Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3 ผนวก ข(2)

(4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3 ผนวก ข(2)

Published by agenda.ebook, 2020-09-03 06:09:14

Description: (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.3 ผนวก ข(2) การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 29 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 10 กันยายน 2563

Search

Read the Text Version

เรือ่ งทคี่ ณะกรรมาธิการ พิจารณาเสรจ็ แลว้ คร้งั ท่ี 29 (สมัยสามญั ประจาปคี รง้ั ท่หี น่ึง) วนั ที่ 10 กนั ยายน 2563 ระเบยี บวาระท่ี 4.3 ภาคผนวก ข (๒)

๗.๒.๔ ระบบการตรวจสอบ (การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ องคก์ รอสิ ระ การตรวจสอบทมี่ าและการใช้อานาจของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมอื ง องค์กรตลุ าการ องค์กรอิสระ ขา้ ราชการ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ และการมีสว่ นรว่ มของประชาชน)

สรุปขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะเกีย่ วกับ การศกึ ษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพ่ิมเตมิ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สภาผแู้ ทนราษฎร ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเหน็ ความคาดหวัง สานักงานคณะกรรมการ หน่วยงานต่างๆ ท้ังหน่วยงานผู้ปฏิบัติและหน่วยงานตรวจสอบมีความรู้ความ ค้มุ ครองผู้บรโิ ภค เข้าใจในขอบเขตอานาจของตนท่ีชัดเจนและสอดคล้องกัน อันจะทาให้หน่วยงาน (แบบสอบถามความคิดเห็น) ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติงานและป้องกันไม่ให้หน่วยงานตรวจสอบกระทา เกนิ อานาจอนั อาจเปน็ การแทรกแซงหรอื ควบคมุ การทางานของหนว่ ยงานรัฐ สภาพปญั หา ระบบการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐยงั ขาดความชัดเจน มีหน่วยงานจานวนมาก และมีเขตอานาจการตรวจสอบทับซ้อนไปมา หน่วยงานตรวจสอบที่เป็นองค์กร อิสระอาจใช้อานาจเกินขอบเขตของการตรวจสอบจนกลายเป็นการแทรกแซงการ ทางานของหน่วยงานรฐั ขอ้ เสนอแนะ 1. ปรับโครงสร้างหน่วยงานของรัฐให้มีภารกิจและขอบอานาจท่ีชัดเจน ลดภารกจิ งานท่ีทบั ซอ้ นกัน 2. อบรมหลกั การตรวจสอบการใชอ้ านาจของหน่วยงานรฐั เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจ ร่วมกัน ความคาดหวงั กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนาคตหากมีการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก อยากหลากหลาย อนรุ ักษ์พลงั งาน เพิ่มมากข้ึน “ระบบการตรวจสอบ” ท้ังของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการเมือง (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) รวมถึงภาคประชาชน ควรเป็นไปโดยยึดถือผลประโยชน์ของรัฐ และประชาชนเป็น สาคัญ

๔๒๓ ประเดน็ ข้อคดิ เหน็ และเสนอแนะ ท่ีมาของความเห็น สภาพปัญหา ไม่พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกใน “ระบบการตรวจสอบ” ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ โดยหลักการแล้วต้องสามารถ สานักงานสถติ ิแห่งชาติ ควบคุม ตรวจสอบซงึ่ กันและกันได้ ท้ังน้ี เพราะอานาจท้ังสาม มไิ ด้แบง่ แยกออกจาก (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) กันโดยเด็ดขาด หากแต่มีการถ่วงดุลกัน(check and balance) โดยจะต้องไม่มี อานาจใดอานาจหน่ึงมีอานาจเหนืออีกอานาจหนึ่ง เพื่อให้สิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนไดร้ บั ความค้มุ ครองอยา่ งแทจ้ รงิ ความคาดหวัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐในรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ครอบคลุมแล้ว (แบบสอบถามความคิดเห็น) ทัง้ นี้ ควรใหป้ ระชาชนมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ขอ้ เสนอแนะ ควรมีการทาประชาพิจารณ์.เพ่ือทราบความต้องการหรือความเห็นของ ประชาชน หรือการแสดงประชามติ ในส่วนทเี่ กย่ี วกับนโยบายสาคัญ ความเหน็ อื่น ๆ (ถา้ ม)ี หน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีควบคุมตรวจสอบควรมีความเป็นอิสระและเป็นกลาง สานกั งานขบั เคล่อื นการปฏิรูป รวมทั้งต้องปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดม่ันในหลักนิติธรรมและการส่งเสริมธรรมาภิบาล ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และ ในการดาเนินงาน ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบต้องไม่สร้างภาระในการปฏิบัติ การสรา้ งความสามัคคีปรองดอง ตามภารกิจของหน่วยงานเกินความจาเปน็ (แบบสอบถามความคิดเห็น)

๔๒๔ ประเด็น ข้อคดิ เหน็ และเสนอแนะ ทีม่ าของความเหน็ รัฐไทยดาเนินการบริหารจัดการระบบการตรวจสอบอย่างเป็นตรรกะท้ังระบบ มลู นธิ ิรักษ์เด็ก ของการปฏิบัติภารกิจ นับแต่เป้าหมายสูงสุด วัตถุประสงค์ กระบวนการ กิจการ (แบบสอบถามความคิดเห็น) กิจกรรม การประเมินค่า ผลกระทบ และความคุ้มค่าของปัจจัยตัวป้อน การดาเนินการตรวจสอบมีทั้งการตรวจสอบภายในและการตรวจสอบจากภายนอก บุคคลตรวจสอบตนเองและบุคคลอนื่ ตรวจสอบ ทง้ั นมี้ กี ารเช่อื มสมั พนั ธก์ ันทงั้ ระบบ ข้อเสนอแนะ รัฐไทยควรตอ้ งใชก้ ระบวนการแหง่ อรยิ สัจและอทิ ธบิ าทธรรม ระบบตรวจสอบที่มีความเป็นกลาง ไม่ถูกการแทรกแซง และมีความยุติธรรม สถาบันนติ วิ ิทยาศาสตร์ อยา่ งแทจ้ รงิ (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) สภาพปัญหา บางองค์กรใช้จานวนของการตรวจสอบเป็นตัวชี้วัด ซึ่งอาจทาให้เกิดปัญหาของ ความถูกตอ้ งของการตรวจสอบ ความคาดหวัง มหาวิทยาลยั เจ้าพระยา การตรวจสอบองค์กรต่างๆ ควรมีการให้องค์กรเอกชน หรือ องค์กรของ (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ประชาชนที่ตั้งข้ึนมาโดยเอกชน และ องค์กรท่ีจะให้ตรวจสอบ ควรมีหลายองค์กร ในการตรวจสอบท่ีมากกวา่ 1 องค์กร สภาพปัญหา การตรวจสอบในปัจจบุ ัน ยงั ไม่มคี วามโปรง่ ใสพอ ยังถูกควบคุมโดยรัฐ ข้อเสนอแนะ ให้มีการตรวจสอบขององค์กรโดยประชาชนเอง และในการตรวจสอบในแต่ละ ด้านควรมมี ากกวา่ 1 องคก์ ร ในการตรวจสอบ

๔๒๕ ประเดน็ ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐเป็นหลักการสาคัญของการปกครองในระบอบ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า ประชาธิปไตย ภายใต้หลักนิติรัฐ รัฐเป็นผู้ใช้อานาจอธิปไตย ซึ่งเป็นอานาจสูงสุด และพันธ์ุพืช โดยรัฐใช้บังคับกับประชาชน โดยผ่านกลไกลต่างๆ ของรัฐ อันได้แก่ ระบบราชการ (แบบสอบถามความคิดเห็น) แต่อย่างไรก็ดีการใช้อานาจรัฐโดยบทบัญญัติ แห่งกฎหมายน้ันเป็นการใช้อานาจ ท่ีผูกพันกับกฎหมายอย่างเคร่งครัด อันถือเป็นความรับผิดชอบ ในการใช้อานาจ ดังนั้น เมื่อมีการใช้อานาจรัฐบังคับกับประชาชน จึงต้องมีกลไกลท่ีใช้ในการ ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เพื่อป้องกันมิให้รัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้อานาจตาม อาเภอใจ กระบวนการตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั จงึ เป็นส่ิงจาเปน็ อย่างยงิ่ ความคาดหวงั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ 1. ฝา่ ยนิตบิ ัญญตั ิ ฝ่ายบริหาร และฝา่ ยตลุ าการ ต้องสามารถควบคุม ตรวจสอบ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) และยับย้ังซึ่งกันและกันได้ ท้ังนี้ เพราะอานาจท้ังสามมิได้แบ่งแยกออกจากกัน โดยเด็ดขาดหากแตม่ ีการถ่วงดุลกัน (check and balance) เพือ่ ให้สทิ ธแิ ละเสรีภาพ ของประชาชนไดร้ บั ความคมุ้ ครอง 2. มีการควบคุมและตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ท้ังการควบคุมและตรวจสอบ ภายในองค์กรและการควบคมุ และตรวจสอบโดยองค์กรภายนอก สภาพปัญหา รฐั ธรรมนูญได้บญั ญัติใหบ้ รรดาคาสงั่ หรอื การกระทาใด ๆ ของหวั หน้าคณะรักษา ความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติซ่ึงมีสถานะ เป็นคาส่ังหรือกระทาหรือการปฏิบัติท่ีชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญและเป็น ทีส่ ุด ปฏบิ ัติตามประกาศหรือคาส่ังนั้นไม่ว่าจะกระทาก่อนหรือหลังวันที่รัฐธรรมนูญ น้ีใช้บังคับ เป็นประกาศหรือคาสั่งหรือการปฏิบัติท่ีชอบด้วยกฎหมาย และชอบด้วย รัฐธรรมนูญและเป็นท่ีสุด ซึ่งหมายความว่าศาลรัฐธรรมนูญจะไม่มีอานาจในการ ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบรรดาคาสั่ง ประกาศและการกระทา ดังกล่าว ซึ่งย่อมมีผลกระทบต่อสิทธ์ิและเสรีภาพของประชาชน อันเป็นสาระสาคัญ

๔๒๖ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ของหลักการตรวจสอบและการถ่วงดุลการใช้อานาจซ่ึงเป็นหลักสาคัญของการ ปกครองระบบประชาธิปไตยของรฐั เสรีประชาธิปไตย ขอ้ เสนอแนะ ประชาชนมีส่วนร่วมในการริเร่ิม เช่น การเข้าชื่อถอดถอนให้ออกจากตาแหน่ง และการเสนอเรื่องไปยังผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา โดยองค์กรของรัฐ เช่น การควบคมุ โดยองคก์ รศาล และการควบคมุ ตรวจสอบโดยองคก์ รอืน่ ๆ ความคาดหวัง กรมบญั ชีกลาง ระบบการตรวจสอบ เป็นกลไกท่ีสาคัญในการให้ความเช่ือมั่นกับประชาชนและ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) สังคม เกี่ยวกับการทางานของรัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งควรมี ความโปร่งใส ปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยมุ่งประโยชน์เพ่ือประชาชนและ ประเทศชาตเิ ปน็ สาคัญ ควรต้องมีกลไกป้องกัน ปราบปราม และปราบปรามการทุจริตประพฤตมิ ิชอบ ท่ีไม่มคี วามเหล่ือมลา้ สร้างความเปน็ ธรรมและเสมอภาค สภาพปัญหา องค์กรอิสระหรือหน่วยงานท่ีทาหน้าที่ในการตรวจสอบด้วยกันหลายองค์กร อาจทาใหก้ ารบรู ณาการข้อมลู เพ่อื นามาใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั ยังไม่สมบรู ณ์ ขอ้ เสนอแนะ ๑. ควรมีการบูรณาการระบบการทางานขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีทา หน้าที่ในการตรวจสอบ ๒. ควรมกี ารสรา้ งระบบการตรวจสอบซงึ่ รวมองค์กรหรือหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ๓. สง่ เสรมิ บทบาทการตรวจสอบจากภาคประชาชนให้มสี ว่ นรวม ๔. ระบบการตรวจสอบ ควรมีหน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ทาหน้าท่ีร่วมกนั และมีการประสานงานซึ่งกันและกนั

๔๒๗ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทมี่ าของความเห็น ความคาดหวงั กรมเช้อื เพลงิ ธรรมชาติ การตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ เป็นกลไกท่ีมีบทบาทสาคัญในการควบคุม กระทรวงพลงั งาน ให้การใช้อานาจของรัฐดาเนินไปเพื่อบรรลุภารกิจของรัฐ อีกทั้ง ยังเป็นการป้องกัน (แบบสอบถามความคิดเห็น) การใช้อานาจอย่างบิดเบือน นอกจากน้ี เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน ท่เี ก่ียวข้องกับการใช้อานาจของรฐั ดงั กล่า ขอ้ เสนอแนะ กรมเช้ือเพลิงธรรมชาติได้ออกประกาศ เรื่อง นโยบายความโปร่งใสและการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมของกรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ ประกาศ ณ วันท่ี 30 มกราคม 2560 เพ่ือส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการประพฤติมิชอบในภาครัฐ หน่วยงาน ภาครัฐดาเนินการอย่างโปร่งใส มีแนวทางในการป้องกันความเส่ียงที่อาจก่อให้เกิด การทจุ รติ รวมทง้ั สามารถยับยั้งการทุจรติ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ได้ ดงั น้ี (1) ด้านนโยบายของผู้บรหิ าร ความพยายามหรือรเิ รม่ิ ในการสรา้ งความโปร่งใส และการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยกาหนดข้ันตอนการดาเนินงาน และผู้รับผิดชอบในแต่ละภารกิจอย่างชัดเจน เพ่ือให้มีการกล่ันกรอง ควบคุม และ กากับดูแลให้มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ทั้งด้านผู้รับบริการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชน และบุคลากรภายในองคก์ ร (2) ด้านการเปิดเผย การมีระบบตรวจสอบภายในองค์กร และการมีส่วนร่วม กาหนดให้ผู้บริหารร่วมกันตรวจสอบแผนงานและแนวทางปฏิบัติร่วมกัน เพ่ือ ป้องกันและรักษาซึ่งประโยชน์ส่วนรวม โดยอยู่บนพ้ืนฐานความถูกต้องของ กฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง หน่วยงานรับผิดชอบชี้แจงและบริการข้อมูล เกี่ยวกับภารกิจองค์กร รวมท้ังสร้างเครือข่ายในพ้ืนท่ีเพ่ือสร้างการมีส่วนร่วม และ สร้างช่องทางในการเผยแพร่ขอ้ มลู ภารกิจองค์กรเพ่มิ มากขึน้ (3) ด้านการใช้ดุลยพินิจ โดยจัดทาคู่มือ และหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมัติ อนุญาตท่ีชัดเจนเพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการ และลดการใช้ดุลยพินิจ

๔๒๘ ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเห็น ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กาหนดหลักเกณฑ์การพัฒนาบุคลากร และการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน (4) ด้านการมีระบบหรือกลไกจัดการเร่ืองร้องเรียน กาหนดระเบียบปฏิบัติ ในการดาเนินการต่อข้อร้องเรียน มีหน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบโดยตรง และมี ชอ่ งทางการรบั เรื่องร้องเรียนทเ่ี ขา้ ถงึ โดยงา่ ย สามารถติดตามผลได้ มาตรา ๑๗๘ วรรคสอง กาหนดว่า “หนังสือสัญญาอื่นท่ีอาจมีผลกระทบต่อ กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ ง ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการค้าหรือการลงทุนของประเทศอย่าง ประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ กว้างขวาง ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา” และมาตรา ๑๗๘ วรรคสาม (แบบสอบถามความคิดเห็น) กาหนดว่า “หนังสือสัญญาอ่ืนท่ีอาจมีผลกระทบต่อความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรอื การค้าหรือการลงทุนของประเทศอย่างกวา้ งขวาง ได้แก่ หนงั สือสญั ญาเกย่ี วกับ การค้าเสรี เขตศุลกากรร่วมหรือการให้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือทาให้ประเทศ ต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน หรือหนังสือสัญญาอ่ืน ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ถ้อยคาดังกล่าวเป็นการใช้ถ้อยคาที่มีความหมายกว้างและ อาจทาให้เกิดปัญหาในการตีความว่าหนังสือสัญญาประเภทใดที่เข้าข่ายตาม บทบัญญัติของมาตรา ๑๗๘ วรรคสองและวรรคสาม เนื่องจากไม่มีเกณฑ์การ พิจารณาท่ีชัดเจนว่าการมี “ผลกระทบฯ อย่างกว้างขวาง” หรือ “การเสียสิทธิ ในทรัพยากรบางส่วน” เป็นอย่างไร เคยมีกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีต้องส่งเร่ืองให้ศาล รัฐธรรมนญู วนิ ิจฉัย ข้อเสนอแนะ ควรพิจารณาปรับปรุงแก้ไขถ้อยคาของมาตรา ๑๗๘ ให้มีความชัดเจนย่ิงขึ้น โดยเฉพาะถ้อยคาของมาตรา ๑๗๘ วรรคสอง ท่ีระบุว่า “... หนงั สือสัญญาอื่นที่อาจ มีผลกระทบต่อความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการค้าหรือการลงทุนของ ประเทศอย่างกว้างขวาง ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา” และมาตรา ๑๗๘ วรรคสาม ท่ีระบุว่า “หนังสือสัญญาอ่ืนที่อาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงทาง

๔๒๙ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น เศรษฐกิจ สังคม หรือการค้าหรือการลงทุนของประเทศอย่างกว้างขวาง ได้แก่ หนังสือสญั ญาเกย่ี วกับการค้าเสรี…” “... หนังสือสัญญาที่มีเน้ือหาสาระท่ีส่งผลกระทบต่อการค้าเสรีอย่างกว้างขวาง อันจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางสังคมหรือทางเศรษฐกิจ หรือส่งผลกระทบต่อ การค้า การลงทุนในระดับชาติ” เพ่ือให้สอดคล้องกับแนวคาวินิจฉัยของศาล รัฐธรรมนูญ และป้องกันไม่ให้หนังสือสัญญาท่ีเกี่ยวกับการค้าเสรีทุกฉบับต้องได้รับ ความเหน็ ชอบของรัฐสภา ซงึ่ จะเป็นภาระและอปุ สรรคตอ่ การทาความตกลงระหว่าง ประเทศทเี่ กีย่ วกับการค้าเสรี ความคาดหวัง กรมธรุ กิจพลังงาน กระทรวง การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐในกระบวนการพิจารณาอนุญาตมีความชัดเจน พลังงาน มากยิ่งขึ้น โดยประชาชนสามารถเข้าถึงและรับทราบข้อมูลการให้บริการ ข้ันตอน (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ระยะเวลาท่ีต้องใช้และช่องทางในการให้บริการต่าง ๆ ของภาครัฐ ที่ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน ทาให้หน่วยงานของรัฐสามารถพิจารณาอนุมัติคาขอได้อย่าง ถกู ต้อง และแล้วเสร็จภายในระยะเวลาทก่ี าหนด สภาพปัญหา พระราชบญั ญัตกิ ารอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ซ่ึงกาหนดหลักเกณฑ์ในการอานวยความสะดวกในการพิจารณา อนุญาตแก่ประชาชน ยังคงไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร เนื่องจากหน่วยของรัฐอาจ ประกาศขยายเวลาที่ใช้ในการพิจารณาอนุญาต เพราะไม่สามารถพิจารณาอนุญาต ได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด ขอ้ เสนอแนะ อาจเพิ่มมาตรการเพื่อกากับให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามข้ันตอนและกาหนด ระยะเวลาที่ระบุไว้ หรือ อาจให้หน่วยงานของรัฐสามารถกาหนดระยะเวลาเพิ่มเติม

๔๓๐ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็น ซ่ึงส่งผลให้หน่วยงานของรัฐไม่สามารถพิจารณาอนุญาต ภายในระยะเวลาทก่ี าหนดได้ ระบบการตรวจสอบจะมีประสิทธิภาพมากข้ึน ปัจจุบันการตรวจสอบไม่มีความ นางสาวมนต์รสิ สา โรจนว์ ดี น่าเชื่อถือ คนทาผิดไม่ถูกลงโทษตามกฎหมาย แต่กลับจริงจังกับการใช้กฎหมาย ภิญโญ ลงโทษคนดี ที่ไม่ปฏิบัติตามผู้บังคับบัญชาท่ีทาผิด เช่น กรณีผู้พิพากษายิงตัวตาย (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ฯลฯ จะมีการใชค้ ุณธรรม เหตุผล และกฎหมายประกอบกัน สภาพปัญหา - คนที่ทาผิดศีลธรรมและกฎหมาย กลับกลายเป็นถูก ขณะท่ี คนที่ยืนหยัดบน ความถกู ต้อง และเปน็ คนดีมีคณุ ธรรม กลบั ถูกคนเลวใช้กฎหมายเล่นงาน สาเหตุเกิด จากผูม้ ีอานาจของรัฐใช้อานาจในทางทีม่ ิชอบ - ผู้มีอานาจของรัฐ จานวนไม่น้อย ขาดคุณภาพและขาดธรรมาภิบาลท้ังการ บรหิ ารงานภายในองคก์ ร และการบรหิ ารราชการแผ่นดิน ข้อเสนอแนะ - ปฏิบัติตามคาสอนของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ที่ทรงสอนไว้ว่า “....ในบ้านเมืองน้ัน มีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะ ทาให้คนทุกคนเป็นคนดีได้ท้ังหมด การทาให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึง มิใช่การทาให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครอง บ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอานาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้...” โดยการส่งเสริมให้คนดีมีคุณภาพ มีอานาจปกครองบ้านเมือง หรือเป็นผู้บริหาร องคก์ รของรฐั - นักการเมือง หรือผู้บรหิ ารองค์กรรัฐท่ีทาผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม และขาดธรร มาภบิ าล ต้องลงโทษใหเ้ ดด็ ขาด และไม่ให้ดารงตาแหน่งทางการบริหาร

๔๓๑ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ผู้จะมาดารงตาแหน่งต่างๆทางการเมือง การเข้าสู่อานาจต้องกลั่นกรองโดยให้ พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย ประชาชนที่เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ให้เผยแพร่ประวัติบุคคลท่ีเข้าสู่ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) อานาจใหป้ ระชาชนทราบอยา่ งกว้างขวาง เม่ืออยู่ในอานาจ การใช้อานาจต้องให้โปร่งใส ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร หน่วยงานของรัฐตอ้ งใหข้ อ้ มูลขา่ วสารทันทีเมื่อประชาชนร้องขอ เม่ือประชาชนเห็นว่า บุคคลใดคระใด กระทาการโดยทุจริตให้แก้กฎหมาย ให้ประชาชนเป็นผู้เสียหายโดยตรง สามารถทาคดีข้ึนสู่ศาลได้ และให้มีเงินสินบน ให้ประชาชนผู้นาคดีขึ้นสู่ศาล กรณีคดีถึงที่สุด และผู้ถูกฟ้อง ถูกริบทรัพย์ ถูกปรับ ใหป้ ระชาชนผ้รู ้อง 20-30% ของสินทรพั ยน์ ัน้ สภาพปัญหาในปจั จุบนั เมื่อเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ หรือนักการเมือง ทจุ รติ ประชาชน ไม่สามารถนาคดีข้ึนสู่ศาลโดยตนเองได้ ศาลจะไม่รับฟ้องโดกยกล่าวว่าประชาชน ไม่ใช่ผู้เสียหาย ต้องไปร้อง ผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือ ปปช. หรือตารวจ สุดท้าย หนว่ ยงานดงั กล่าวไม่ฟ้องคดี หรอื ถกู ศาลยกฟ้องโดยอา้ งวา่ ผู้ฟ้องไมใ่ ชผ่ ้เู สยี หาย การทาให้ขา้ ราชการประจาถ่วงดลุ กบั ข้าราชการการเมือง นายธรี ะชยั ภูวนาถนรานุบาล ไม่มีประเทศใดที่บริหารเศรษฐกิจได้ดี ถ้าหากประเทศน้ันไม่มีกระบวนการป้อง อดีตรฐั มนตรีวา่ การ ปรามการทุจริตคอร์รัปชันด้วยวิธีให้มีการถ่วงดุลระหว่างข้าราชการประจากับ กระทรวงการคลงั ขา้ ราชการการเมือง ผเู้ ขียนมคี วามเหน็ วา่ รฐั ธรรมนูญปี 2560 ยังมีข้อดอ้ ยในเรื่องน้ี (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) เพราะถึงแม้กฎหมายจะให้ความคุ้มครองข้าราชการประจาไว้หลายประการ รวมทั้ง มีบทลงโทษหนัก แต่ที่ผ่านมาก็จะพบว่ามีข้าราชการประจาที่ยอมตัวรับใช้ ข้าราชการการเมอื งเพื่อแลกเปลย่ี นกบั ความกา้ วหน้าในตาแหน่ง ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญจึงควรปรับปรุงให้การโยกย้ายข้าราชการประจาปลอด จากอิทธิพลของข้าราชการการเมืองอย่างแท้จริง โดยให้เป็นอานาจเฉพาะของ คณะกรรมการทป่ี ระกอบด้วยข้าราชการประจาปัจจุบันและอดีตเท่านัน้ เว้นแต่กรณี

๔๓๒ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเหน็ ที่ข้าราชการการเมืองมีหลักฐานว่าข้าราชการประจาผู้น้ันมีความประพฤติส่อไป ในทางทุจรติ การสร้างความเปน็ ธรรมในระบบการป้องปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ไม่มีประเทศใดที่บริหารเศรษฐกิจได้ดี ถ้าหากประเทศนั้นไม่มีกระบวนการ ตรวจสอบถ่วงดุลกับองค์กรอิสระกรณีถ้าหากองค์กรนั้นไม่ทาหน้าที่ป้องปรามการ ทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเต็มที่ ผู้เขียนมีความเห็นว่ารัฐธรรมนูญปี 2560 ยังมีข้อด้อยในเร่ืองน้ี เพราะรัฐธรรมนูญปี 2550 มาตรา 275 และมาตรา 276 เคยบัญญัติไว้ว่า กรณีท่ีผู้พบผู้ที่ดารงตาแหน่งสูงกระทาความผิด และได้ยื่นคาร้อง ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่ไม่รับไต่สวนหรือดาเนินการล่าช้าเกินสมควร หรือ ไต่สวนแล้วเห็นว่าไม่ผิด แต่ผู้กล่าวหายังติดใจก็สามารถย่ืนคาร้องต่อท่ีประชุมใหญ่ ศาลฎีกาเพ่ือขอให้พิจารณาแต่งต้ังผู้ไต่สวนอิสระซ่ึงมีความเป็นกลางทางการเมือง และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นท่ีประจักษ์ให้ไต่สวนได้ แต่ปรากฏว่าในรัฐธรรมนูญ ปี 2560 นน้ั ทางเลือกแก่พลเมืองในกรณีข้างต้นถูกตัดท้ิงไปอย่างไมเ่ ป็นธรรม การจดั การการขดั กันแห่งผลประโยชน์ของข้าราชการประจา ถึงแม้มีหมวด 9 เกี่ยวกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ แต่ระบุเฉพาะกรณีของ สมาชิกผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และรัฐมนตรี แต่ในทางปฏิบัติ เกิดมีหลาย กรณที ่ีมีการขดั กันแหง่ ผลประโยชน์ที่เกยี่ วขอ้ งกบั ข้าราชการประจา การตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั สมาคมฟา้ สีรุง้ แห่งประเทศไทย 1. ระบบการตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั ควรเป็นในรูปแบบถ่วงดลุ และตรวจสอบ (แบบสอบถามความคิดเห็น) การใช้อานาจของแต่ละฝ่าย และศาลควรเป็นองค์กรอิสระ ที่สามารถดาเนินการ ตรวจสอบผลการดาเนิน หรือการทุจริตของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารได้ ท้ังน้ี ควรมีการเพ่ิมเติม คือให้ประชาชนในฐานะที่เป็นผู้เลือกผู้แทนราษฎร ควรมีอานาจ และมีสิทธิในการได้รับข่าวสารท่ีถูกต้อง เมื่อมีการดาเนินโครงการใด ๆ ควรมีการ จัดทาข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชน และประชาชนมีอานาจในการลง

๔๓๓ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ทมี่ าของความเหน็ นามถอดถอนบุคคลท่ีใช้อานาจของรัฐในทางที่ผิดได้ การดาเนินการตรวจสอบควร ใหป้ ระชาชนเขา้ มสี ่วนร่วมเพ่ิมมากข้นึ 2. ควรมีการจัดระบบการแบกแยกอานาจให้มีความชัดเจน และมองถึงปัญหา ที่เกิดข้ึนในสังคมจริง ทั้งน้ีควรมีการประชาสัมพันธ์ถึงความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ต่อประชาชนทั่วไปภายในประเทศ ให้มีความรู้ความเข้าใจ เพราะการท่ีประชาชน ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิเละเสรีภาพของตน ทาให้บางคร้ังเผชิญกับความยุติธรรม ก็ไม่สามารถโต้แย้ง หรือทราบถึงช่องทางในการดาเนินงานได้ ควรมีการแนะนา ประชาชนถงึ ชอ่ งทางในการร้องเรียนพบการใช้อานาจรัฐท่ไี ม่เป็นธรรม และทุกคร้งั ท่ี ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ มีการตรวจสอบการใช้อานาจของ ซ่งึ กันและกนั ควรมีการเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ และฟังมติจากประชาชนวา่ มีข้อ สงสัยในระบบการตรวจสอบหรือไม่ หรือคิดว่าการตรวจสอบเป็นไปโดยชอบธรรม หรือไม่ เพราะเร่ืองดังกล่าวมีความเก่ียวเนื่องกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนของ บคุ คล ความคาดหวงั กรมทรัพยากรน้าบาดาล ระบบการตรวจสอบ จะเปน็ ระบบทที่ าให้หนว่ ยงานราชการปฏิบัตติ ามกฎหมาย (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) อย่างเคร่งครัด ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ประชาชน อย่างไรก็ตามผู้ที่มีอานาจตรวจสอบ ควรพิจารณาตรวจสอบความชอบของกฎหมาย ส่วนในเร่ืองใดที่กฎหมายใหด้ ุลพินิจ แก่หน่วยงานรัฐกระทาการตามอานาจหน้าที่ ผู้ท่ีมีอานาจตรวจสอบไม่ควรก้าวล่วง การใช้ดุลพินิจในการบริหารราชการของหน่วยงานรัฐ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของ หน่วยงานรัฐเป็นไปอย่างยืดหยุ่นสอดคล้องกับข้อเท็จจริงและเกิดประสิทธิภาพ สูงสดุ สภาพปญั หา นอกจากการที่ผู้มีอานาจตรวจสอบได้ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายต่อ หน่วยงานราชการ ก็ได้มีการก้าวล่วงการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน

๔๓๔ ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็นและเสนอแนะ ท่มี าของความเหน็ ราชการ เป็นเหตุให้การปฏิบัติตามอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานราชการล่าช้าและ สง่ ผลกระทบต่อ การปฏิบตั ริ าชการ ขอ้ เสนอแนะ หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีตรวจสอบ ตามระบบการตรวจสอบต้องปฏิบัติตามอานาจ หน้าที่ของตนท่ีได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น ๆ และควรมีการให้ ข้อมูลหน่วยงานราชการในเร่ืองดังกล่าวเพ่ือให้เข้าใจระบบการตรวจสอบไปในทาง ทิศทางเดยี วกัน ระบบการตรวจสอบ เป็นเครื่องมือ กลไก ในการควบคุมตรวจสอบการ สานักงานปลัดกระทรวง ปฏิบัติงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการใช้อานาจตาม พาณชิ ย์ อาเภอใจหรือเกินไปกว่าที่กฎหมายกาหนด โดยอาจมีหน่วยงานหรือองคก์ รอิสระทา (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) หนา้ ท่ีในการตรวจสอบดังกล่าว ซง่ึ ต้องเป็นไปดว้ ยความสุจริต ยตุ ิธรรมและชอบดว้ ย กฎหมาย นอกจากหนี้ระบบการตรวจสอบอาจเร่ิมต้นที่ผู้บังคับบัญชาไปตลอดจน ฝา่ ยตุลาการหรือศาลในท้ายท่สี ุด การใช้อานาจตรวจสอบขององค์กรอิสระและองค์กรตุลาการมีความเป็นอิสระ กรมบงั คบั คดี มีความเป็นกลางปราศจากความอคติ และปฏิบัติหน้าท่ีโดยสุจริตไม่เห็นแก่ (แบบสอบถามความคิดเห็น) ผลประโยชนใ์ ด ๆ องค์กรอิสระตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและองค์กรตุลาการท่ีมีหน้าท่ีในการ ตรวจสอบข้อราชการและเจาหน้าท่ีของรัฐควรมีความโปร่งใสและมีความเป็นกลาง ในการปฏิบัติงาน ในทางตรงกันข้ามรัฐก็ควรมีมาตรการการตรวจสอบการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในองค์กรอิสระให้ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่กระทาการโดยทุจริต นอกจากน้ีรัฐควรมกี ารประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนไดท้ ราบ ถงึ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามทกี่ ฎหมายรฐั ธรรมนญู กาหนดไว้ดว้ ย

๔๓๕ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทมี่ าของความเห็น รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันระบบการตรวจสอบขาดการถ่วงดุลของอานาจทั้งสาม พลตารวจตรี สุพศิ าล ภักดนี ฤ อันได้แก่ นิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ และได้พบว่ามีความชัดเจนจาก นาถ (สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร) ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนของการได้มาขององค์กรอิสระบางองค์กรตามรัฐธรรมนูญน้ัน (แบบสอบถามความคดิ เห็น) มาจากอานาจของผู้ยึดอานาจด่ืมทป่ี กครองประเทศในช่วงท่ีผ่านมาอย่างชัดเจนการ ใช้อานาจตามมาตรา 44 องค์กรอิสระการมิได้มีความยึดโยงจากอานาจประชาชน จากการตรวจสอบที่มา และ ยังบกพร่องในการใช้อานาจท่ีจะต้องดาเนินการของผู้ ดารงตาแหน่งทางการเมือง องค์กรตุลาการ องค์กรอิสระ ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี ของรัฐและการมีส่วนร่วมของประชาชนอีกมาก ขาดความโปร่งใสไม่สามารถตอบ ประชาชนได้ชัดเจนและรดเร็วทันต่อเวลา ระบบการตรวจสอบขาดความสมดุลย และการถว่ งดุลจากการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนชัดเจน สภาพปญั หา องค์กรอิสระต่างๆ ขาดหน่วยงานที่จะมาตรวจสอบการทางานขององค์กรอิสระ ตามรฐั ธรรมนญู นี้ อันปรากฏอยู่ในหมวด 12 ของรัฐธรรมนูญในส่วนท่ี 2 ถึง ส่วนท่ี 6 ท้ังห้าองค์กรดังกล่าว แม้มีประชาชนที่จะร้องเรียนผ่านระบบต่างๆก็ตาม แต่อานาจจากปวงชนชาวไทยก็ไม่สามารถมีอานาจเข้าไปสร้างสมดุลยของอานาจ ขององค์กรอิสระท่ีเกิดขึ้นตามแล้วธรรมนูญดังกล่าวได้อย่างชัดเจน จึงทาให้องค์กร อิสระต่างๆท่ีเกิดข้ึนน้ันใช้อานาจและหน้าท่ี ตลอดจนการใช้ดุลยพินิจขององค์กร ได้อย่างอิสระ จนอาจเกินแก่อานาจตามสายประชาชนท่ีปรากฏตามตามข่าวสาร และส่ือมวลชนเสมอมา แม้วา่ จะมีการร้องเรียนหรือฟ้องร้องกนั อย่างต่อเน่อื งอันเกิด จากผลกระทบจากการใช้อานาจหน้าท่ีก็ตาม แต่ปรากฏการณ์ดังกล่าวยังเกิดขึ้นกับ สังคมไทย เช่น ใน รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 222 กาหนดให้คณะกรรมการ เลือกตั้ง(กกต)ประกอบด้วยกรรมการจานวนเจ็ดคนซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรงแต่ง ตั้ง ตามคาแนะนาของวุฒิสภาฯ นั้น เป็นที่ทราบชัดแน่นอนว่าวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญ ฉบับน้ีมิได้ยึดโยงจากภาคประชาชนแต่อย่างใด ถูกแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบ เรียบร้อยแห่งชาติ(คสช.)ที่เป็นรัฎฐาธิปัตย์จากการยึดอานาจ มิได้มาจากอานาจ

๔๓๖ ประเดน็ ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ท่ีแท้จริงของประชาชนหรือปวงชนชาวไทยแต่อย่างใด ตลอดจนในการดาเนินการ ยงั ระบุให้มกี องทุนพัฒนาการเมอื งตามกฎหมาย กกต.ก็เป็นผู้ควบคุมกฎทั้งหมดเป็น ผอู้ นุญาตในระบบการสมคั รโดยใช้ดุลย์พินจิ ระเบยี บ กกต.อปั เดตไมท่ นั บรบิ ทของ สังคม เช่น วิธีการนับคะแนนของพรรคการเมืองพึงมี ไม่ประกาศความชัดเจน. หรอื ถา้ ขายสินค้าออนไลนเ์ พ่อื เปน็ เงินบริจาคเข้าพรรคการเมอื งก็ไม่มฯี เป็นต้น ข้อเสนอแนะ ควรมีองค์กรใดองค์กรหนึ่งท่ีถูกสร้างขึ้นมา เพื่อเข้าตรวจสอบการใช้อานาจและ หน้าที่ขององค์กรอิสระท้ัง5ดังกล่าวและยึดโยงกับภาคประชาชนด้วยการกาหนดไว้ ในรัฐธรรมนูญอย่างชดั เจน และต้องไม่ยึดโยงกับอานาจของฝ่ายบริหารโดยเด็ดขาด หรืออยู่ในอาณัติและครอบงาของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ระบบการตรวจสอบโดยความสมดุลอย่างแท้จริง องค์กรดังกล่าวนี้จะได้มา จากทางตรงหรือทางอ้อมของภาคประชาชนก็ตาม แต่จะต้องมีการยึดโยงจาก ภาคเอกชนโดยแท้จริงด้วย เช่น จัดให้มีการเลือกตั้งคณะองค์กรดังกล่าวมาจาก ประชาชนโดยตรง หรือโดยอ้อมจากการถูกการคัดสรรเลือกสรรโดยสภา ผู้แทนราษฎรอันเป็นผู้แทนของปวงชนชาวไทยก็ตาม จะทาให้มรี ะบบการตรวจสอบ แบบถ่วงดุลอย่างแท้จริงและไม่เป็นปัญหาอย่างเช่นทุกวันนี้ ด้วยการแก้ไขกฎหมาย ลูกของรัฐธรรมนูญฉบับไหนก็ได้ที่เกี่ยวข้อง ในขณะท่ียังไม่สามารถยกร่าง รัฐธรรมนญู ฉบบั ใหมไ่ ด้ ความคาดหวงั พรรคชาตพิ ฒั นา ควรแกไ้ ขเพม่ิ เติมใหร้ ัฐสภาเปน็ ผู้มอี านาจแต่งต้งั และถอดถอนองคก์ รอิสระต่าง ๆ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) เหตผุ ล เน่ืองจากองค์กรอิสระต่าง ๆ เป็นผมู้ ีอานาจหน้าทใ่ี นการตรวจสอบการใช้อานาจ รัฐของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร แต่กลับไม่มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล อานาจในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรอิสระ ดังน้ัน จึงควรสร้างระบบถ่วงดุลเกิดข้ึน

๔๓๗ ประเดน็ ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ระหว่างฝา่ ยนิติบัญญัติกบั องค์กรอิสระ ทั้งนี้เพือ่ ให้องค์กรอิสระปฏิบัติหน้าที่ของตน ดว้ ยความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ เห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมให้ผู้ที่มีอานาจเสมอได้แก่ คณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร และประชาชนผู้เป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยเท่าน้ัน โดยตัดอานาจของศาล ฎีกา ศาลรฐั ธรรมนญู และองค์กรอสิ ระทเี่ กีย่ วขอ้ งออกไป เหตผุ ล เนื่องจากศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระท้ังหลาย มิได้มาจาก ประชาชนโดยตรง แต่มาจากระบบบริหารราชการฝา่ ยตุลาการ และมาจากการสรร หาโดยคณะกรรมการสรรหาแล้วแต่กรณีตามลาดบั มิได้ยึดโยงกับประชาชนโดยตรง ตามวถิ ที างและครรลองของการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ความคาดหวงั สานักงานปลดั สานัก ระบบการตรวจสอบท่ีดีควรเป็นท่ีพ่ึงให้กับประชาชนได้ รับฟังเสียงของ นายกรฐั มนตรี ประชาชนเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ให้ความสาคัญกับกลไกการตรวจสอบของภาค (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ประชาชน มีความเป็นเอกภาพดารงรักษาไว้ซ่ึงความเป็นธรรมในสังคม ไร้ซึ่งการ แทรกแซง สามารถเป็นหูเป็นตาให้กับประชาชนในการตรวจสอบให้การบริหาร ราชการแผ่นดินเป็นไปตามรัฐธรรมนูญและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน เพ่ือความยุติธรรม เป็นเครื่องมือกากับให้หน่วยงานภาครัฐดาเนินการตาม แนวนโยบายแห่งรัฐแห่งบทบัญญตั ิรฐั ธรรมนูญ สภาพปญั หา ปญั หาท่ีได้รับการพูดถึงในวงกว้างเก่ียวกับรฐั ธรรมนูญฉบับน้ี ซึ่งเปลี่ยนแปลงไป จากรัฐธรรมนูญฉบับเดิม คือ การให้อานาจสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ในการแต่งตั้ง องคก์ รอิสระทั้ง 7 หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) ตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

๔๓๘ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ท่ีมาของความเห็น แห่งชาติ (ป.ป.ช.) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา จึงทาให้ เกิดข้อครหาในการเอ้ือผลประโยชน์ให้พวกพ้อง ความเหมาะสมและความสามารถ ของผู้ได้รับคัดเลือกให้ดารงตาแหน่งสาคัญในระบบการตรวจสอบ ซ่ึงส่งผลโดยตรง ต่อความเชอ่ื มนั่ ของประชาชนในกระบวนการยตุ ธิ รรม ขอ้ เสนอแนะ ควรมีการทบทวนและปรับปรุงวิธีการสรรหา ส.ว. ซง่ึ จะมาทาหน้าท่ีคดั สรรผู้มา ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ จนถึงวิธีการการคัดเลือกผู้ท่ีจะมาดารงตาแหน่ง ในองค์กรอิสระให้มีความเหมาะสม โดยรับฟังเสียงประชาชน เปิดโอกาสการมีส่วน ร่วมของภาคประชาชน เพื่อให้เป็นไปตามแนวนโยบายแห่งรัฐตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญที่กาหนดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ การตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทังการ ตัดสินใจทางการเมือง และการอ่ืนใด บรรดาท่ีอาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือ ชมุ ชน ระบบตรวจสอบการใช้อานาจของหน่วยงานองค์กรภาครัฐต่าง ๆ ควรเป็นไป กรมคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการประกันว่าการใช้อานาจขององค์กรภาครัฐต่าง ๆ กระทรวงยุตธิ รรม จะเป็นไปโดยชอบดว้ ยกฎหมาย (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ระบบตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ ควรมีความเท่ียงธรรมและเด็ดขาดเป็น มาตรฐานเดียวกนั ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กาหนดให้มีการ กรมคุมประพฤติ ตรวจสอบโดยองค์กรศาล คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (แบบสอบถามความคิดเห็น) ผู้ตรวจการแผ่นดิน ท่ีใช้อานาจในการตรวจสอบเป็นไปอย่างสุจริต เที่ยงธรรม โปรง่ ใส

๔๓๙ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น สภาพปัญหา การสรา้ งความรบั รู้ ความเข้าใจ ตอ่ ประชาชน ขอ้ เสนอแนะ กาหนดแนวทางการสร้างความรบั รู้ ความเข้าใจ ตอ่ ประชาชน รัฐส่งเสริมให้ผู้ถูกสืบเสาะและพินิจ ผู้ถูกคุมความประพฤติ หรือบุคคลที่อยู่ใน ความดูแลของกรมคมุ ประพฤติมีงานทา รัฐส่งเสริมให้ผู้ถูกสืบเสาะและพินิจ ผู้ถูกคุมความประพฤติ หรือบุคคลที่อยู่ใน ความดูแลของกรมคุมประพฤตมิ ีงานทา ความคาดหวงั กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน ควรใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการการตรวจสอบในปัจจบุ นั มากขน้ึ (แบบสอบถามความคิดเห็น) ความคาดหวัง สานกั งานปลดั กระทรวง กาหนดกลไกเพ่ือจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้น คมนาคม ด้วยการจัดโครงสร้างหน้าที่และอานาจขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ และ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) สัมพันธภาพระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารให้เหมาะสม การให้สถาบันศาล และองค์กรอิสระ ซึ่งมหี นา้ ที่ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐสามารถปฏิบัติหนา้ ทไี่ ด้อยา่ ง มีประสิทธิภาพ สุจริต เที่ยงธรรม และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด เพ่อื มิให้ผู้บริหารเขา้ มามีอานาจในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อานาจตาม อาเภอใจ

๔๔๐ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น ความคาดหวงั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ระบบการตรวจสอบควรมปี ระสิทธภิ าพ มคี วามเป็นกลาง มีความเปน็ ธรรม (แบบสอบถามความคิดเห็น) สภาปญั หา การตรวจสอบการใช้อานาจรฐั และองค์กรอสริ ะขาดความน่าเชื่อถือ ข้อเสนอแนะ พยายามคัดเลือกคนท่ีเป็นกลาง มาจากหลายภาคส่วน มีกลไกที่จะตรวจสอบ ความเป็นธรรมาภิบาลของระบบการตรวจสอบ ความคาดหวัง กรมโรงงานอุตสาหกรรม การมีระบบตรวจสอบเป็นหลักการที่ดี แต่ระบบการตรวจสอบและบุคคล (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ผู้มีอานาจตรวจสอบควร มีความโปร่งใส มีมาตรฐานการปฏิบตั ิหน้าที่ เช่น มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม ไม่เลือกปฏบิ ัติ ซึ่งผลการตรวจสอบต้องสามารถ อธิบายหรือช้ีแจงใหผ้ ู้ได้รับผลกระทบโดยตรงและประชาชนได้รับทราบ และผลการ ตรวจสอบควรได้รับการยอมรับจากประชาชน และระบบการตรวจสอบควรมี ข้อกาหนดเปน็ กฎหมาย หรอื หลกั เกณฑ์ สภาพปญั หา - องค์กรตรวจสอบไม่มีการอธิบายเหตุผลหรือข้อมูล คาวินิจฉัยท่ีแพรห่ ลายและ ทั่วถงึ - ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงระบบการตรวจสอบได้มากพอ ส่งผลต่อความ เช่อื ม่นั ในการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ คาพิพากาหรือคาวินิจฉัยอันเป็นที่สนใจของประชาชนควรมีการเปิดเผยและ ชี้แจงต่อสาธารณชนถึงผลของคาวินิจฉัยหรือคาพิพากษาเพ่ือให้ประชาชนสามารถ เข้าใจได้

๔๔๑ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ความคาดหวงั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ให้หน่วยงานรัฐ องค์กรตรวจสอบการใชอ้ านาจของผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมือง (แบบสอบถามความคดิ เห็น) องค์กรตุลาการ องค์กรอิสระ ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตรวจสอบ ค่ามาตรฐานของกฎหมาย ภายใต้หลักนติ ิธรรมอย่างแทจ้ ริง สภาพปญั หา ถกู เอามาใช้เป็นเครอื่ งมือทางการเมืองมากไป ซ้าซ้อน หลากหลาย มากกว่าเอา มาใชก้ ับประชาชนเพ่ือผดุงความยุตธิ รรม ขอ้ เสนอแนะ ใหม้ ีระบบตรวจสอบนกั การเมืองโดยตรง ไม่ควรเอาองคาพยพไปตรวจสอบ ได้กาหนดให้มีองค์กรในการตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐและเจ้าหน้าที่รัฐ กรมการค้าตา่ งประเทศ หลายองคก์ รด้วยกนั ซึ่งถือว่าเป็นการควบคมุ การใชอ้ านาจและการปฏิบตั ิหน้าท่ขี อง (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) รัฐได้เป็นอยา่ งดี แต่อยา่ งไรก็ตามระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพต้องสามารถ ดาเนินการได้ด้วยความรวดเร็ว เป็นธรรม และไม่เป็นการสร้างภาระหรืออุปสรรค ในการปฏิบัติหน้าที่หรือการดาเนินนโยบายของรัฐด้วย นอกจากน้ีเห็นว่าระบบการ ป้องปราบ เพื่อไม่ให้เกิดการกระทาความผิดก็เป็นส่ิงท่ีสาคัญไม่ย่ิงหย่อนไปกว่า ระบบการตรวจสอบดังกล่าว ความคาดหวัง สานกั งานคณะกรรมการป้องกัน ระบบการตรวจสอบอานาจรัฐมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องกาหนดไว้ใน และปราบปรามการทจุ รติ ใน รัฐธรรมนูญเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปช่ัน แต่ส่ิงสาคัญคือการ ภาครัฐ (ป.ป.ท.) ปอ้ งกันและการแก้ไขปัญหาทจุ รติ คอรร์ ัปช่ันอย่างไรให้มีความย่ังยืน ให้ประชาชนได้ (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ตระหนักถึงความรุนแรงของการทุจริตคอร์รัปช่ัน และมีการปลูกฝ่ังในเด็กและ เยาวชน ซง่ึ ขน้ึ อยู่กับปัจจัย 3 ประการ คอื ตอ่ เนื่อง เป็นระบบ และเอาจรงิ เอาจัง

๔๔๒ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ปรับฐานความคิดและสร้างความตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้ง กาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและพรรคการเมอื งมีการปฏิบตั ิตามเจตจานง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตให้ชัดเจน ทั้งในส่วนการกาหนดนโยบายและ การนาไปปฏิบัติต้องมกี ารเสริมสร้างความโปรง่ ใส ตรวจสอบไดห้ นว่ ยงานของรัฐดา้ น การป้องกันและปราบปรามการทุจริตจะต้องปฏิบัติงานในเชิงรุกอย่างเด็ดขาด รวดเร็ว ในการแกไ้ ขปัญหาการทุจรติ รวมทั้งกาหนดหน้าท่ขี องรัฐไว้ดว้ ยว่า “รัฐตอ้ ง ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจาการทุจริตและ ประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี ประสิทธิภาพป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวเพ่ือมีส่วนรวมในการรณรงค์ ให้ความรู้ต่อต้านการทุจริต หรือชี้เบาะแส ความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมาย บัญญัติ ต้องมุ่งเน้นในการส่งเสริมและพัฒนา “คน” ให้เป็นส่วนท่ีมีความสาคัญใน การแก้ไขปัญหาการทุจริต ท่ีสาคัญต้องยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลให้เป็นไปตาม เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับใหมท่ มี่ เี รยี กวา่ เป็น “ฉบบั ปราบโกง” และใหเ้ ป็นไป ตามวสิ ัยทัศน์ของยุทธศาสตรช์ าติ ควรกาหนดให้มีระบบการตรวจสอบการใช้อานาจ รวมทั้งการตรวจสอบท่ีมา สานักงานนโยบายและแผน ของการใช้อานาจรัฐ และองค์กรอิสระ ให้มีความชัดเจนเพ่ือให้ประชาชนและ ทรพั ยากรธรรมชาติและ หน่วยงานของรัฐสามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน และเป็นการส่งเสริมการทางาน สงิ่ แวดล้อม ของเจ้าหน้าที่ให้มีความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในการคัดเลือก (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง องค์กรตุลาการ องค์การอิสระ ข้าราชการและ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องมีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ การตรวจสอบ เจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ทอ่ี ย่ใู นรปู ของคณะกรรมการท่ไี ด้รับกระทาไดย้ ากเพราะ

๔๔๓ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทมี่ าของความเหน็ สภาพปญั หา 1. การตรวจสอบข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐบางประเภทอาจกระทายาก เนื่องจากมขี น้ั ตอนในการดาเนินการค่อนขา้ งยาก 2. ระบบการตรวจสอบในปัจจุบันยังมีความล้าช้า ไม่ทันต่อสถานการณ์ ในปจั จบุ นั 3. รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 ได้วางกลไกในการตรวจสอบการใช้อานาจ ของรัฐไว้เป็นอย่างดี แต่การตรวจสอบเป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติเพราะหน่วยงาน ของรัฐสามารถพิสูจน์ได้โดยการแสดงหลักฐานจากการปฏิบัติงานซ่ึงโดยทั่วไป หลักฐานน้ันรัฐเป็นผู้จัดทาข้ึนเองเป็นส่วนใหญ่ จึงเกิดความไม่เสมอภาคขึ้นระหว่าง หน่วยงานของรัฐและประชาชน โดยอาจเป็นช่องว่างทาให้ไม่สามารถตรวจสอบการ ใชอ้ านาจรัฐไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ ควรกาหนดให้มีขั้นตอนหรือเงื่อนไขในการตรวจสอบระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะองค์กรอิสระ เพื่อคานอานาจซงึ่ กันและกนั ตรวจสอบความโปร่งใสและเป็นธรรมโดยคิดถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็น สมาคมอาสาสมคั ร หลัก ประชาสงเคราะหจ์ งั หวดั สภาพปญั หา พษิ ณโุ ลก การตรวจสอบที่ไม่มีความโปร่งใส ไม่สามารถหาที่มาท่ีไปได้อย่างชัดเจน (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในเจ้าหน้าท่ีรัฐที่เป็นผู้ตรวจสอบ รวมไปถึงผลการ ตรวจสอบทอ่ี อกมาไมส่ อดคลอ้ งกับความเปน็ จรงิ ทเ่ี กิดข้ึน ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีทาหน้าที่ตรวจสอบ ควรเป็นคนท่ีประชาชนไว้วางใจและมีส่วน ร่วมในการเลือกรวมไปถึงความมีบทลงโทษต่อเจ้าหน้าท่ีรัฐที่ปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง หรอื เลอื กปฏบิ ัติ

๔๔๔ ประเดน็ ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะ ทีม่ าของความเห็น 1. รัฐจะไม่แทรกแซงการใช้อานาจหรือการดาเนินการตรวจสอบขององค์กร มหาวิทยาลัยราชภฎั กาญจนบุรี อิสระ องคก์ ร ตลุ าการ และองค์กรอนื่ ๆ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) 2. รัฐพึงมีกระบวนการตรวจสอบผู้สมัครเข้าดารงตาแหน่งต่างๆที่สาคัญ ก่อนมี การสรรหาหรือเลอื กตั้ง 3. องคก์ รอสิ ระอาจไมส่ ามารถดาเนนิ การได้อยา่ งอสิ ระอย่างแท้จรงิ 4. องค์กรอิสระควรมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่โดยปราศจากการถูกแทรกแซง การดาเนินงาน 5. ควรมีการจัดตั้งองค์กรอิสระชั่วคราว เพ่ือดาเนินการในประเด็นสาคัญ ณ ช่วงเวลาหนึ่งเพ่อื แก้ไขปญั หาเฉพาะกิจและไม่ให้ถูกแทรกแซงต่อการดาเนินงาน “ระบบการตรวจสอบ” ควรเป็นระบบการกากับดูแลอย่างใกล้ชิดและมีระบบ กรมการคา้ ข้าว กระทรวง การบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผลเพื่อมีการควบคุมและแก้ไขอย่าง เกษตรและสหกรณ์ ต่อเน่ือง โดยแต่ละองค์กร จะมีสิทธิในการคานอานาจและถ่วงดุลอานาจกันและกัน (แบบสอบถามความคดิ เห็น) โดยแต่ละองค์กรมีอิสระในการท าหน้าที่ของตนโดยไม่ทาให้องค์กรใดองค์กรหน่ึง มอี านาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด หรอื เกดิ การคุมอานาจท่ีใดที่หน่ึง 1. การตรวจสอบท่ีดีน้ันควรมีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่ผลที่ตกกระทบไปยัง พรรคชาติไทยพัฒนา ประชาชนเป็นสาคญั และมคี วามชัดเจนไม่คลุมเครอื ง่ายตอ่ การปฏบิ ัติ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) 2. บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญท่ีเก่ียวกับการตรวจสอบน้ัน มีปัญหาเน้นการ ลงโทษมากกว่า เพ่ือการเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน จึงทาให้ปัญหาอุปสรรค ในการทางานตอบสนองประชาชน นอกจากนั้นบทบัญญัติแต่ละส่วนก็ไม่ชัดเจนต้อง ใช้ดุลพนิ ิจมากเกินไป และนาไปสคู่ วามไม่เปน็ ธรรม 3. แก้ไขบทบัญญัติโดยให้ดูผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อประชาชน โดยเน้นเร่ือง เจตนารมณ์เป็นสาคัญ และบทบัญญัติแต่ละส่วนต้องมีความชัดเจนในตัวเองไม่ให้ ใช้ดลุ พินจิ มากเกนิ ไป เพราะจะนาไปสู่ความไมเ่ ปน็ ธรรมได้

๔๔๕ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น ความคาดหวงั พรรครกั ษผ์ ืนปา่ ประเทศไทย - ระบบการตรวจสอบจะตอ้ งเปดิ โอกาสให้ประชาชนอย่างกวา้ งขวาง (แบบสอบถามความคิดเห็น) - ผู้นาองค์กรอิสระจะต้องผ่านการคัดสรรจาก ส.ว. และความเห็นชอบจาก ประชาชน สภาพปญั หา 1. ระบบการตรวจสอบโดยเฉพาะผู้นาองค์กรท่ีได้รับการแต่งตั้งโดยไม่รับฟัง ความคดิ เห็นของประชาชน ทาให้เกิดระบบพวกพ้องและการตรวจสอบอย่างไม่เป็น ธรรม 2. รัฐมนตรีมีอานาจโดยตรงและอานาจแฝงในการแต่งต้ังโยกย้ายข้าราชการ ทาให้เกิดการใชก้ ฎหมายอย่างไม่เป็นธรรม ระบบพวกพอ้ ง และคอรปั ช่นั ขอ้ เสนอแนะ ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาองคก์ รอสิ ระโดยด่วน หน่วยงานที่ตรวจสอบ ต้องไม่รับสิ่งของ หรือเงินสินบนจากผู้มีอานาจเพ่ือเอ้ือ พรรคพลังสงั คม ประโยชน์หรือให้ดาเนินการทางการเมืองอย่างผิดกฎหมาย ระบบตรวจสอบควร (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา ยุติธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรม ตรวจสอบแบบใช้ มาตรฐานเดียวกนั ระบบการตรวจสอบควรจะเป็นระบบที่มีความละเอยี ด รอบคอบ มปี ระสทิ ธิภาพ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบัน และครอบคลุมกาตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ องค์กรอิสระ การตรวจสอบท่ีมา ครอบครัว และการใช้อานาจของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง องค์กรตุลาการ องค์กรอิสระ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ขา้ ราชการ และเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

๔๔๖ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ทีม่ าของความเห็น ระบบตรวจสอบควรเป็นอิสระ และเข้มแข็งการตรวจสอบควรเป็นไปอย่าง สภาวชิ าชีพวิทยาศาสตรแ์ ละ มีประสิทธภิ าพ เทคโนโลยี (แบบสอบถามความคดิ เห็น) 1. คาพพิ ากษา คาวินิจฉัย คาตดั สิน จะเกิดการตรวจสอบไดถาหน่วยงานของรัฐ สภาเภสัชกรรม มกี ารเผยแพรรายละเอียดเหลาน้ันตอสาธารณะ โดยอาจปกปดช่ือบคุ คลที่เก่ยี วของ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) หรอื เผยแพรโดยมมี าตรการคุมครองความลับสวนบคุ คล 2. หนวยงานของรัฐตองเผยแพรขอมูลสูสาธารณะผานระบบสารสนเทศ ไมตอง รอให ประชาชนเดินทางไปขอดูข อมูลท่ีหน วยงานนั้นซ่ึงเป นการสร างภาระหรือ ขน้ั ตอนอย่างหนงึ่ 3. ควรมชี องทางในการรับฟงความเห็นเก่ียวกับความเหมาะสมของบคุ คลตาง ๆ ก่อนเขาสูตาแหนงน้ัน หรือหนวยงานของรัฐตองมีชองทางรับฟงความเห็นใน ประเดน็ ตาง ๆ เพื่อใหผูบริหารหรือองคกรตรวจสอบไดพิจารณา แลวมกี ารตอบกลับ ความคบื หนา ความคาดหวงั กรมพนิ จิ และคุ้มครองเด็กและ รัฐควรส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการ เยาวชน ทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน จัดให้มีมาตรการและกลไก (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ที่มีประสิทธิภาพเพ่อื ปอ้ งกันและขจัดการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบท้ังในภาครฐั และ ภาคเอกชนอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อ มีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครอง จากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ มีการคัดกรองคุณสมบัติก่อนเข้าสู่เส้นทางการเมือง มีบทลงโทษนักการเมืองที่ทุจริตการเลือกต้ัง มีการย่ืนเร่ืองถอดถอนนักการเมือง องค์กรอิสระมหี นา้ ทีร่ ัดเข็มขัดไม่ให้เกดิ ประชานยิ ม

๔๔๗ ประเดน็ ข้อคดิ เหน็ และเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ สภาพปัญหา ควรตรวจสอบ ถ่วงดุล ของประเทศยังไม่เป็นเอกภาพและทิศทางเดียวกัน มีมาตรฐานท่ีแตกต่างกันมาก และยังไม่สามารถสร้างผลสัมฤทธ์ิในการบริหาร ประเทศได้อย่างโปร่งใส เปน็ ธรรมตรวจสอบได้ ข้อเสนอแนะ ความอิสระของการตรวจสอบ ความเชี่ยวชาญของการตรวจสรุป ความโปร่งใส ของเอกสารตรวจสอบ การมีส่วนร่วมของผู้แทนแต่ละภาคส่วนทันทีจรงิ เพ่ือพิทักษ์ สิทธิประโยชนข์ องตวั เองได้ - ระบบการตรวจสอบท่มี ีประสทิ ธิภาพ และมีมาตรฐาน “เดียวกนั ” คณะสังคมศาสตร์ - เนน้ ในเร่อื งของบทบาทของวฒุ สิ ภา และองค์กรอสิ ระ มหาวิทยาลยั นเรศวร - ตรวจสอบแบบสภาคู่ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) - กลไกเชิงสถาบนั องค์การ และอานาจหน้าที่ในระบบการตรวจสอบในปัจจุบัน ไม่ไดเ้ กดิ ขึน้ จากรฐั ธรรมนญู 2560 แตเ่ กดิ ขึน้ จากผลของการรฐั ประหาร 2557 - ดาเนินการสรรหาวฒุ ิสภาตามรัฐธรรมนูญ 2560 - ดาเนนิ การสรรหาองค์กรอสิ ระใหม่ท้ังหมดตามรัฐธรรมนูญ 2560 ระบบการตรวจสอบควรต้องมีความเป็นอิสระจากการควบคุมของนักการเมือง กรมธนารกั ษ์ และควรให้ประชาชนมีส่วนรว่ มในระบบการตรวจสอบด้วย (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ต้องได้คนที่ดี เก่ง กล้า มีประสบการณ์ ความรู้ คู่คุณธรรม มีกลไก เจ้าหน้าที่ สมาคมมวยไทยท้องถน่ิ และ คุณภาพ มีความรวดเร็วทันการสามารถนาเสนอหรือลงโทษคงไม่ดี ให้สังคม นานาชาติ ประจกั ษ์มคี วามเชอื่ ถอื ศรทั ธา (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ตอ้ งมกี ารประชาสมั พนั ธ์ ตอบโต้ข่าวเท็จที่หวงั ผลสรา้ งกระแส สรา้ งองคก์ ร วธิ กี าร กาจดั ส่ือเทจ็ แบง่ ฝ่ายให้เดด็ ขาด

๔๔๘ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น เห็นดว้ ยกับรฐั ธรรมนูญฉบับปัจจุบนั สานักงานการปฏริ ูปท่ีดินเพ่ือ เกษตรกรรม (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) หน่วยงามตามรัฐธรรมนญู ตอ้ งทาหน้าทีท่ ีบ่ ัญญัติไว้ตามรฐั ธรรมนูญ กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ (แบบสอบถามความคิดเห็น) สิทธิในการคานอานาจและถว่ งดุลอานาจกนั และกนั กรมหม่อนไหม (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) - ควรมอี งค์กรอสิ ระคนพิการ กล่มุ นกั กฎหมายคนพิการ - ไมม่ หี น่วยงานใดรับผิดชอบในการปฏิบตั เิ ชิงรุก (แบบสอบถามความคิดเห็น) สภาพปัญหา มหาวทิ ยาลยั พายัพ รฐั ใช้อานาจไมเ่ ป็นธรรม ขาดความโปร่งใส ซึง่ ระบบตรวจสอบขาดประสทิ ธิภาพ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) อยา่ งย่งิ - ระบบการตรวจสอบควรมีประสิทธภิ าพ มคี วามเปน็ กลาง มคี วามเป็นธรรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ - การตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั และองคก์ รอิสระ ขาดความน่าเชอ่ื ถือ (แบบสอบถามความคิดเห็น) - พยายามคัดเลอื กคนทเ่ี ปน็ กลาง มาจากหลายภาคส่วน - มีกลไกทีจ่ ะตรวจสอบความมีธรรมาภิบาลของระบบการตรวจสอบ

๔๔๙ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ท่ีมาของความเห็น ความคาดหวัง มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุราษฎร์ ระบบการตรวจสอบขององค์กรตุลาการอย่างเป็นการ และมีประสทิ ธิภาพในการ ธานี คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) สภาพปัญหา การตรวจสอบของศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๗๔ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนูญว่าด้วย พิธพี ิจารณาของศาลรัฐธรรมนญู พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นเหตุใหอ้ านาจ ตลุ าการกวา้ งขวางทาลายกลไกการแบ่งแยกอานาจ ข้อเสนอแนะ จากดั กรอบการใช้อานาจศาลรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน และควรแก้ไขมาตรา ๗๔ พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วิธพี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑ การใช้อานาจตลุ าการ โดยเฉพาะ มาตรา 213 ของศาลรัฐธรรมนูญควรสามารถ มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เพ่ือคุม้ ครองสทิ ธิของประชาชนในฐานะท่ีพ่งึ สดุ ท้าย (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) สภาพปัญหา มาตรา 213 พระราชบัญญัติประกอบวิธีพิจารณาคดีความรัฐธรรมนูญ ทาให้ กระบวนการตาม มาตรา 213 ใหส้ ามารถใช้บังคับได้ และอาจขดั ตอ่ รฐั ธรรมนูญ ข้อเสนแนะ ปรับแก้มาตรา 213 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีความรัฐธรรมนูญ และควร ใหน้ ักกฎหมายทางด้านรัฐธรรมนูญเข้าไปเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ - ยดึ ความถกู ต้อง เปน็ ผลประโยชน์และประเทศเป็นที่ตงั้ มหาวทิ ยาลยั นานาชาติแสตม - มีความสลับซบั ซ้อนเชิงอานาจและการตัดสนิ ใจ ฟอรด์ - เลอื กคนดี เกง่ ใหอ้ านาจลดการแทรกแซง (แบบสอบถามความคดิ เหน็ )

๔๕๐ ประเดน็ ขอ้ คิดเหน็ และเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น องค์กรอิสระ น้ันถือเป็นเครื่องมือของภาคประชาชนในการท่ีจะถูกตรวจสอบ กรมการท่องเทยี่ ว บ้านเมือง รวมถึงหาแนวทางการป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดขึ้นกับบ้านเมือง โดยเฉพาะ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) เรอื่ งทจุ รติ คอรปั ชน่ั สภาพปัญหา องค์กรอิสระ คือ องค์กรทจ่ี ัดต้ังข้ึนตามรัฐธรรมนูญ มีเจตนาใหเ้ ป็นองค์กรอิสระ ปลอดจากอานาจแทรกแซง ปราศจากความครอบงาของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายอ่ืนใด รวมถึงทาหน้าที่ตรวจสอบ การบริหาราชการแผ่นดิน หรือกิจการของรัฐซึ่งปัจจุบัน ถูกต้ังข้อสังเกตจากประชาชนเป็นจานวนมากถึงความเป็นอิสระตามเจตนารมณ์ดั่ง เดิม ความคาดหวัง มหาวิทยาลยั ราชภัฎเลย ระบบตรวจสอบควรมีประสิทธิภาพ เป็นกลางและยุติธรรม มุ่งประโยชน์ของ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ชาติ สภาพปญั หา ระบบตรวจสอบมีลักษณะที่ไม่เปน็ กลาง ยังมีระบบอุปถัมภ์ในการตรวจสอบหาก ผู้ที่มีอานาจการตรวจสอบไม่เป็นกลาง ใช่ดุลพินิจไม่ชอบ จะมีผลกระทบต่อ ประเทศชาติอยา่ งร้ายแรง ขอ้ เสนอแนะ ระบบการคัดสรรบคุ คล ทมี่ ีหน้าทต่ี รวจสอบต้องเครง่ ครดั มากขน้ึ ความคาดหวงั มหาวิทยาลยั ภาค การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐควรเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการรับรู้ ตะวันออกเฉียงเหนือ นโยบายของรัฐให้องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรตุลาการ ข้าราชการและ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) เจ้าหน้าท่ีของรัฐ จัดให้มีระบบตรวจสอบ ให้มีความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูลของ ประชาชน

๔๕๑ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ท่ีมาของความเหน็ สภาพปัญหา ประชาชนไม่เข้าถึงการตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ เนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจต่อบทบาทหน้าท่ีการใช้อานาจขององค์กรอิสรภาพตามรัฐธรรมนูญ องคก์ รตลุ าการ และเจ้าหน้าท่ขี องรฐั ข้อเสนอแนะ ให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนและการเพิ่มช่องทางการตรวจสอบในสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือความสะดวกรวดเร็วเยยี วยาได้ทันทว่ งที ความคาดหวงั กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง ควรเป็นแบบตรวจสอบท่ีโปร่งใส ยุติธรรม มีความทันสมัย สามารถ แสดงผล (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ตรวจสอบได้ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชาชนมีสิทธิท่ีจะเข้าถึงระบบการ ตรวจสอบดงั กลา่ วได้อยา่ งอสิ ระและเทา่ เทียมกัน สภาพปัญหา ปัญหาเกี่ยวกับระบบการตรวจสอบการใช้อานารัฐ ท่ีมา และการใช้อานาจของ ผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมือง องค์กรตุลาการ องค์กรอิสระ ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี ของรัฐ และมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การตรวจสอบดังกล่าวประชาชนอาจ เข้าถึงได้ยาก ยังควรเพิ่มประสิทธิภาพด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้อย่างเท่าเทยี มกัน ความคาดหวงั พิสจู นห์ ลักฐานจังหวัดอ่างทอง ระบบการตรวจสอบเป็นกระบวนการท่ีสาคัญในการบริหารประเทศ ทาให้ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ อยู่ในกรอบกติกาแต่ปัจจุบันระบบการตรวจสอบมีความ เอื้อประโยชน์ให้กนั โดยเฉพาะผูม้ ีอานาจทางการเมอื ง

๔๕๒ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ความคาดหวัง กองร้องทุกข์ สานกั งาน การมีการตรวจสอบอย่างเข้มงวดมากย่ิงข้ึน โดยเปิดช่องให้มีบุคคลให้ข้อมูลโดย คณะกรรมการข้าราชการ สุจริตแก่ องค์กรท่ีมีอานาจตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ตารวจ (แบบสอบถามความ เกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิหน้าที่ การใช้อานาจตา่ ง ๆ คดิ เหน็ ) ความคาดหวงั กรมชลประทาน (แบบสอบถาม - การตรวจสอบควรให้ประชาชนมีส่วนรว่ ม ความคดิ เห็น) สภาพปัญหา - ประชาชนเข้าถึงการตรวจยังมคี วามยงุ่ ยากและซบั ซ้อน ข้อเสนอแนะ - ควรมกี ารตรวจสอบผา่ นระบบสื่อเลก็ ทรอนกิ ส์ ความคาดหวงั สานกั งานขับเคลือ่ นการปฏิรูป หน่วยงานท่ีทาหน้าที่ควบคุมตรวจสอบควรมีความเป็นอิสระและเป็นกลาง ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และ รวมทั้งต้องปฏิบัติหน้าที่โดยยึดมั่นในหลักนิติธรรมและการส่งเสริมธรรมาภิบาล การสร้างความสามัคคีปรองดอง ในการดาเนินงาน ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบ้องไม่สร้างภาระในการปฏิบัติตาม (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ภารกิจของหนว่ ยงานเกินความจาเป็น ความคาดหวัง สานักงานปลัดกระทรวง มรี ะบบตรวจสอบท่เี ครง่ ครดั ยุตธิ รรม รวดเรว็ เขา้ ถงึ งา่ ย มกี ารทบทวนกฎหมาย กลาโหม (แบบสอบถามความ ตามท่ีกฎหมายกาหนด มีมาตรการลงโทษต่อบุคคลท่ีกระทาผิดท่ีชัดเจนเพื่อป้องกัน คิดเหน็ ) การกลับมาในระบบอกี ระบบการตรวจสอบขาดประสทิ ธิภาพโดยเฉพาะกลไกด้านบุคลากร

๔๕๓ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ข้อเสนอแนะ - ศึกษาข้อมูลระบบตรวจสอบอย่างรอบด้านและรีบแก้ไขปัญหาและอุปสรรค อย่างตอ่ เน่อื ง - องค์การต่าง ๆ ต้องกาหนดตัวช้ีวัดการปฏิบัติหน้าท่ีขององค์การและบุคลากร ภาครัฐที่ชดั เจนนาไปแสดงและสือ่ ประชาสมั พันธใ์ หป้ ระชาชนได้รบั ทราบอยา่ งท่ัวถึง โดยอาจออกกฎหมายรองรับวิธีการในการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ ดงั กลา่ วอยา่ งจรงิ จังและเป็นระบบ - สร้างความตระหนักและการรับรู้ให้กับประชาชน บุคลากรภาครัฐและผู้ที่ เกี่ยวขอ้ งถงึ ผลกระทบตอ่ ระบบการตรวจสอบท่ีขาดประสิทธิภาพ ความคาดหวงั สานักงานเศรษฐกิจ ระบบการตรวจสอบท่ีเก่ียวกับข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐควรเป็นระบบ อตุ สาหกรรม (แบบสอบถาม การตรวจสอบที่เปน็ ธรรม โดยยึดจากเจตนา และผลที่เกิดขน้ึ เป็นหลัก มากกว่าการ ความคดิ เหน็ ) ยึดติดท่ีกระบวนการและตัวอักษรตามบัญญัติ และควรสามารถแยกได้ระหว่าง มูลเหตุแห่งทุจริต และมูลเหตุเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพและตอบสนองต่อ สภาวะโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป สภาพปัญหา ใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบนาน ซึ่งบางครั้งมีการร้องขอเอกสารจากส่วน ราชการในกรณีของผู้ที่เกษียณอายุราชการไปนานหลายปีแล้ว และเป็นเพียง ผูเ้ ขา้ ร่วมประชุมโดยไม่มีเหตุเก่ียวข้องกบั การทุจริตหรือการกระทาผิดที่ชม้ี ูล ซึ่งเป็น ภาระตอ่ สว่ นราชการในการดาเนนิ การตามคาร้องของในเรอื่ งดังกล่าว ข้อเสนอแนะ ถึงแม้ว่าจะกาหนดให้การทุจริตไม่มีอายุความ แต่ควรเร่งพิจารณาระบบการ ตรวจสอบให้รวดเร็วย่ิงขึ้น โดยควรให้น้าหนักมูลเหตุแห่งเจตนาประกอบ หากเป็น

๔๕๔ ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็นและเสนอแนะ ทีม่ าของความเหน็ กรณีของผู้เข้าร่วมประชุมซึ่งไม่ได้มีมูลเหตุแห่งการทุจริตร่วมด้วย ควรจากัดวงใน การตรวจสอบเพ่ือลดภาระดา้ นเวลาและเอกสารท่ีเก่ยี วข้อง ความคาดหวัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ ระบบการตรวจสอบในปัจจุบันถือว่ามีเพียงพอแล้ว เพราะหน่วยงานแต่ละ จอมเกลา้ ธนบรุ ี (แบบสอบถาม หน่วยงานมีระบบการตรวจสอบที่ใช้กันอยู่แล้ว แต่สิ่งท่ีขาดอยู่ คือ เรื่องการใช้ ความคดิ เห็น) อานาจในการตรวจสอบหรือดุลพินิจของผู้ตรวจสอบ ควรกาหนดให้ชัดเจนโดยเป็น หลักเกณฑ์ที่ใช้เป็นบรรทัดฐาน หรือควรใช้ หรือกาหนดเทคโนโลยีเข้ามาช่วย เช่น การทา AI มาช่วยในการตรวจสอบ สภาพปัญหา การใช้ดุลยพินิจเพ่ือประโยชน์ของพวกพ้องโดยไม่ตรวจสอบให้เป็นมาตรฐาน เดียวกนั ร่วมทั้งการกาหนดกฎหมายทใี่ หอ้ านาจในการใช้ดลุ ยพินิจมากเกนิ ไป ข้อเสนอแนะ ควรพฒั นาหรอื ทาเทคโนโลยี AI มาช่วยในการตรวจสอบ ความคาดหวงั กองเทคโนโลยแี ละศนู ย์ขอ้ มูล ควรมีธรรมาภิบาล และประชาชนควรมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง รัฐเปิดกว้างให้ การตรวจสอบ กรมสอบสวนคดี ประชาชนเข้ามาแสดงความเหน็ ได้ พิเศษ (แบบสอบถามความ คิดเห็น) ความคาดหวัง ศูนย์สบื สวนสะกดรอยและการ ระบบตรวจสอบต้องมีอิสระ สามารถปฏิบัติได้จริง และมีความเป็นธรรมต่อทุก ข่าว (ศ.สรช.) กองปฏบิ ตั ิการ ฝา่ ย ไม่ถูกแทรกแซงจากผู้มอี ิทธิพล พเิ ศษ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (แบบสอบถามความคดิ เหน็ )

๔๕๕ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเหน็ สภาพปัญหา การคัดเลือกบุคคลท่ีมีหน้าท่ียังไม่โปร่งใสเพียงพอ เพราะอาจมีช่องว่างในการ คัดเลือกกลุ่มบุคคลที่มีอานาจและฝักใฝ่กับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ ซึ่งอาจนาไปสู่การมี อคตขิ องตัวผู้ดารงตาแหน่งหน้าทีใ่ นการตรวจสอบได้ ข้อเสนอแนะ ควรให้มกี ารเลอื กตัง้ ทวั่ ไปในตาแหนง่ ที่เกี่ยวกับองค์กรตรวจสอบระดับชาติ ความคาดหวงั ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการคดีพเิ ศษเขต ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ จะต้องไม่มีหน่วยงานใด ได้รับการยกเว้น พ้นื ที่ ๕ กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ ไมว่ ่าจะเป็นหนว่ ยทหารตารวจต่อให้เป็นงบลบั ก็สามารถตรวจสอบการใชไ้ ด้เชน่ กนั (แบบสอบถามความคดิ เห็น) การได้มาขององค์กรตุลาการ องค์กรอิสระ ต้องโปร่งใส ปลอดจากการเมือง อยา่ งสิ้นเชิง สภาพปญั หา - ปัจจุบันยังมีหลายหน่วยงานของรัฐ ท่ีระบบตรวจสอบเข้าไม่ถึงหรือเข้าถึงก็ไม่ สามารถตรวจสอบได้ เพราะแต่ละท่ีให้อานาจการใช้งบลับ รวมทั้งหากมีการทุจริต สามารถหลกี เลยี่ งการตรวจสอบเส้นทางการเงนิ - ประเทศเพ่ือนบ้านที่ยังเอื้อในการนาเงินจากการทุจริต คดโกง ให้สามารถ นาไปฝากได้ ขอ้ เสนอแนะ - แก้กฎหมายให้มีการตรวจสอบ การใช้งบลับว่า เพ่ือประโยชน์ทางราชการ สว่ นรวมหรอื ไม่ โดยอาจไม่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณะชน - ทาความตกลงร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้านในการตรวจสอบเส้นทางการเงิน การเคลือ่ นย้ายเงนิ จานวนมากไปตา่ งประเทศต้องมีท่ีมาท่ีไป - ผู้ที่จะเข้ามาเปน็ คณะกรรมการองค์กรอิสระไม่ควรมีตารวจ ทหาร

๔๕๖ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเห็น ความคาดหวัง กองปฏบิ ตั ิการคดีพิเศษภาค ระบบการตรวจสอบมีกลไก และขั้นตอนที่ถูกต้อง มีการใช้กฎหมายตามหลัก กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ นิติศาสตร์อย่างแท้จริง หน่วยงานที่เก่ียวข้องต้องมีการแถลงหรือออกข่าวให้ (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ประชาชนโดยท่วั ไปทราบถึงเหตแุ ละผลในการพจิ ารณา สภาพปญั หา การดาเนินการตรวจสอบของคณะกรรมการ ปปช.ช้าไม่ทันต่อสถานการณ์ และ ประชาชนส่วนใหญ่มองว่ามคี วามไมเ่ ป็นกลางในการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะ มีการเข้าสู่ตาแหน่งตามข้ันตอนท่ีถูกต้อง และประกาศให้สาธารณชนทราบโดย ท่ัวกันและมีการเสนอข่าวสารให้ทราบเก่ียวกับขั้นตอนการดาเนินการตรวจสอบ เพ่ือป้องกนั การบิดเบอื นขา่ วสารและปอ้ นข่าวสารที่ให้รา้ ยต่อองคก์ ร ความคาดหวงั กองคดภี าษีอากร กรมสอบสวน หน่วยงานตรวจสอบควรมีระบบการตรวจสอบที่รวดเร็ว ถูกต้อง และยุติธรรม คดีพิเศษ (แบบสอบถามความ ไม่แบง่ พวกพอ้ งหรือฝา่ ยใด คิดเหน็ ) สภาพปญั หา ประชาชนไม่ไว้วางใจระบบการตรวจสอบ การตรวจสอบเอื้อประโยชน์ให้ผู้มี อานาจในรัฐบาล และใช้ระบบการตรวจสอบกลั่นแกล้งฝ่ายตรงข้าม ทาให้เกิดความ ไม่ยุตธิ รรม ขอ้ เสนอแนะ หน่วยงานที่ใช้อานาจตรวจสอบต้องมีการตรวจสอบท่ีโปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ กับฝา่ ยใดฝา่ ยหนึง่ เพอื่ ให้เกิดความไวว้ างใจและยอมรบั จากผ้ไู ด้รับการตรวจสอบ

๔๕๗ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทมี่ าของความเหน็ ความคาดหวงั กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (2) การเขา้ ถงึ การตรวจสอบองคก์ รต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนญู ยังมีน้อย ด้วยเหตุผลทว่ี ่า (แบบสอบถามความคิดเห็น) กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับน้ี ยังคงให้อานาจคณะกรรมการสรรหาต่าง ๆ แต่งตั้ง องค์กรต่าง ๆ โดยไมย่ ดึ โยงกบั ประชาชน สภาพปญั หา รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้ให้อานาจที่องค์กรท่ีไม่ได้มาจากการเลือกต้ัง ไปต้ัง องค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ ดังน้ัน องค์กรเหล่านั้นจึงไม่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอานาจอธิปไตยที่แท้จริง ตัวอย่างเช่น การเข้าช่ือถอดถอน นักการเมือง ส.ส. และ ส.ว. น้ัน ประชาชนกระทาไม่ได้ เป็นอานาจของศาล รฐั ธรรมนูญ ซึง่ ไมไ่ ด้มาจากประชาชน เปน็ ผู้ถอดถอน หรอื เปน็ ผูต้ รวจสอบ ขอ้ เสนอแนะ ควรแก้ไขกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกับองค์กรตา่ ง ๆ ตามรฐั ธรรมนูญ ให้มีตวั แทนภาค ประชาชนมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบองคก์ รตา่ ง ๆ ไดม้ ากข้ึน ความคาดหวงั กรมสอบสวนคดีพิเศษ (3) ระบบการตรวจสอบท่ียอมรับได้มีความเป็นธรรม เป็นกลางสามารถอธิบายได้ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) อยา่ งไมเ่ กิดข้อสงสัย สภาพปัญหา มคี วามไมเ่ ช่ือมั่นในระบบตรวจสอบ ความคาดหวงั กรมสอบสวนคดีพิเศษ (4) ต้องมีมาตรการท่ีเข้มแข็งในการตรวจสอบ มีกลไก และวิธีการตรวจสอบเพื่อ (แบบสอบถามความคิดเห็น) ป้องกนั และแกไ้ ข ปอ้ งกันการทุจรติ คอรปั ชั่น

๔๕๘ ประเดน็ ข้อคิดเหน็ และเสนอแนะ ที่มาของความเหน็ สภาพปญั หา ระบบตรวจสอบไม่มีความเข้มแข็ง ไม่มีประสิทธิภาพ อยู่ภายใต้การควบคุม กากับ กับผู้มีอานาจในทางการเมอื ง ขาดความเป็นอิสระอย่างแท้จริง เฉพาะฝ่ายนิติ บัญญัติมีความสัมพนั ธ์กับฝา่ ยรัฐบาลหรอื ฝา่ ยบรหิ ารอย่างใกล้ชดิ ขอ้ เสนอแนะ ปฏิรูปการทาหน้าท่ีของคณะกรรมการ กรรมาธิการต่าง ๆ ต้องสร้างทัศนคติที่ดี ให้คานึงถึงหลักคุณธรรม คานึงถึงศักด์ิศรี ของการทาหน้าท่ี การกาหนดคุณสมบัติ อานาจหน้าท่ี ข้ันตอนการตรวจสอบน่าจะกระทาได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านระบบ รัฐสภาเพื่อใหก้ ารตรวจสอบมปี ระสิทธภิ าพ ไม่เกรงกลัวอานาจบารมี ความคาดหวัง สานักงานตารวจแห่งชาติ ภ.จว.ภูเก็ต เห็นว่า มองภาพหรือคาดหวังต่อ “ระบบการตรวจสอบ” การใช้ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) อานาจรัฐอย่างจริงจัง เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ป้องกันมิให้มีการใช้อานาจ รัฐไปเพ่ือประโยชนส์ ่วนตน ปรับระบบการตรวจสอบให้มีความเที่ยงตรง เป็นไปเพ่ือ ส่วนรวม ภ.จว.พงั งา เห็นว่า ควรมีการตรวจสอบโดยใชม้ าตรฐานเดยี วกัน ภ.จว.นครศรีธรรมราช เห็นว่า ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ องค์กร อิสระ ฯลฯ จาต้องมีการตรวจสอบโดยองค์กรที่มีความยึดโยงกับประชาชนเป็น สาคัญ ดังจะเห็นได้จากข่าวกรณีการยุบ พรรค อนาคตใหม่โดยองค์กรอิสระ คือ ศาลรฐั ธรรมนญู ซ่ึงประกอบด้วยตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญ จานวน ๙ ทา่ น ซ่ึงมไิ ดม้ า จากการเลือกต้ังของประชาชน แต่กลับมีอานาจยุบพรรคการเมืองที่ประชาชนเลือก เข้ามา อันแสดงถงึ ความไมส่ อดคล้องในการใช้อานาจขององค์กรตรวจสอบ สภาพปัญหา ภ.จว.ภูเก็ต เห็นว่า ระบบการตรวจสอบในปัจจุบัน มีสภาพปัญหาไม่สามารถ ตรวจสอบได้อย่างจรงิ จัง

๔๕๙ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น ภ.จว.พังงา เห็นว่า บางกรณีมองเห็นได้ว่า มีการใช้องค์กรอิสระดาเนินการกับ ฝ่ายตรงข้ามคแู่ ข่งทางการเมอื ง ไมเ่ ปน็ มาตรฐานเดียวกันกบั ฝ่ายรัฐบาล ภ.จว.นครศรีธรรมราช เห็นว่า เม่ือองค์กรท่ีทาการตรวจสอบมิได้ความยึดโยง ผูกพันกับประชาชนเป็นสาคัญ การใช้อานาจย่อมสะท้อนให้เห็นความคลุมเครือใน บริบทการใชอ้ านาจดงั กล่าวว่าจะเปน็ การชอบด้วยหลักนิตธิ รรมหรือไม่ ข้อเสนอแนะ ภ.จว.ภูเก็ต เห็นว่า ควรวางระบบกลไกการตรวจสอบให้ปราศจากความสงสัย มีองค์กรตรวจสอบทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ภ.จว.พังงา เห็นว่า ควรปรับปรุงแก้ไขกระบวนการสรรหา และวิธีการได้มาซึ่ง ตาแหนง่ ในองค์กรอิสระ ภ.จว.นครศรีธรรมราช เห็นว่า องค์กรที่ทาหน้าที่ตรวจสอบจาต้องมีองคาพยพ ท่ีมาจากประชาชนเป็นสาคัญ แม้ว่าอาจไม่ได้มาจากการเลือกต้ังของประชาชน แต่ควรมาจากการพิจารณาสรรหาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีประชาชนเลือกต้ัง เข้ามา ใหม้ ีสัดสว่ นเหมาะสมกับท่ีสรรหาหรอื แตง่ ตั้งเขา้ มา ความคาดหวัง กองบินตารวจ สานักงานตารวจ ระบบการตรวจสอบควรสามารถตรวจสอบได้ง่าย โปร่งใส และเปน็ ข้ันตอนแลบ แหง่ ชาติ สามารถเข้าใจไดง้ ่าย (แบบสอบถามความคิดเห็น) สภาพปญั หา มีการตรวจสอบที่ไม่โปร่งใส แบ่งเป็นฝักฝ่าย (อ้างอิงจากโทรทัศน์) ทาให้ฝ่าย ตรงข้ามสามารถโต้แยง้ ได้ และมกี ารดาเนินการทีไ่ มเ่ ทา่ เทยี ม ขอ้ เสนอแนะ ควรคัดเลือกบุคคลที่มีจรรยาบรรณในการทางานในคณะตรวจสอบ ไม่ควรเอา พวกใครพวกมันมาเปน็ ตัวชวี้ ัด

๔๖๐ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทมี่ าของความเห็น ความคาดหวงั กองทะเบียนพล สานักงาน ระบบการตรวจสอบควรมมี าตรฐานท่ีชดั เจน ประชาชนสามารถเขา้ ไปตรวจสอบ กาลงั พล สานักงานตารวจ ได้ และต้องมีเหตุผลรองรับในการตรวจสอบตา่ ง ๆ แห่งชาติ (แบบสอบถามความ สภาพปญั หา คิดเห็น) องค์กรอิสระต่าง ๆ ในส่วนมามาจากการแต่งต้ัง ทาให้เกิดการครอบงา การใช้ อานาจในการตรวจสอบทาให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในการตรวจสอบและการ ตรวจสอบในปัจจุบัน ไม่มีการมีส่วนร่วมของประชาชนเท่าที่ควร ทาให้อาจเกิดข้อ ครหาตามมาได้ ขอ้ เสนอแนะ องค์กรท่ีมีอานาจตรวจสอบ ควรจะมาจากการเลือกต้ังและสรรหาจากผู้มีความ เช่ียวชาญในเรอ่ื งน้นั ๆ โดยได้รับการยอมรับจากหนว่ ยงานและประชาชน ความคาดหวัง กองบัญชี สานกั งานตารวจ ระบบการตรวจสอบไม่ควรถูกครอบงาโดยผู้มีอานาจทางการเมือง หรือผู้มี แห่งชาติ (แบบสอบถามความ อิทธิพล เพื่อให้ผู้ท่ีทาหน้าที่ตรวจสอบได้ทาหน้าที่ได้อย่างเต็มที่ และเต็ม คิดเหน็ ) ความสามารถ สภาพปญั หา ผู้มีหน้าที่หรือผู้ทาหน้าท่ีตรวจสอบไม่สามารถทาหน้าท่ีได้อย่างเต็มท่ีและเต็ม ความสามารถ เพราะถูกครอบงาโดยผ้มู ีอานาจทางการเมือง หรอื ผู้มีอิทธพิ ล ความคาดหวัง พสิ ูจน์หลักฐาน จังหวดั ชยั นาท ๑. ในการตรวจสอบเกิดขึ้นโดยองค์กรอิสระ ไม่อยู่ภายใตก้ ารควบคุมหรือบงการ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ โดยผมู้ ีอานาจ (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) ๒. ระบบการตรวจสอบโดยให้ประชาชน หรือตัวแทนของประชาชนท่ีเป็นอิสระ เข้ามาร่วมตรวจสอบ

๔๖๑ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ๓. ตามข้อ ๑ และ ๒ ตอ้ งไดร้ ับการคมุ้ ครองโดยบทบัญญตั ิ สภาพปัญหา ๑. ผู้มีอานาจหรอื บงการได้เข้ามามีบทบาทต่อการตรวจสอบ ๒. องคก์ รอสิ ระ ไม่มอี านาจอยา่ งแท้จริงในระบบการตรวจสอบ ๓. ประชาชนไมส่ ามารถเขา้ ถึงระบบการตรวจสอบ และไม่มีความเขา้ ใจถงึ ระบบ การตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ให้องค์กรอิสระ ประชาชน ตัวแทนท่ีเป็นอิสระ รวมถึงส่ือมวลชนมีส่วนร่วมใน การตรวจสอบ ความคาดหวงั ตารวจภธู รจงั หวดั ราชบรุ ี ควรมีหน่วยงานอิสระท่ีสามารถทาหน้าที่ตรวจสอบการทางานได้ โดยไม่อยู่ สานกั งานตารวจแห่งชาติ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของผใู้ ด มคี วามเปน็ อิสระอย่างแท้จริง (แบบสอบถามความคดิ เห็น) สภาพปัญหา การตรวจสอบบางหนว่ ยงานอสิ ระให้มอี ิสระในการตรวจสอบอย่างแท้จริง มีการ ถ่วงดุลอานาจระหวา่ งกนั ความคาดหวงั สถาบนั สง่ เสริมงานสอบสวน ทุกหน่วยงานของภาครัฐ การถูกตรวจสอบได้อย่างสม่าเสมอ และระบบ (1) (แบบสอบถามความ ตรวจสอบถือความเปน็ กลางและยตุ ธิ รรม คิดเหน็ ) สภาพปญั หา หน่วยงานรัฐบาล ไม่อาจถูกตรวจสอบได้ มักถูกแทรกแซงจากอานาจรัฐใน รปู แบบต่าง ๆ

๔๖๒ ประเด็น ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ ท่ีมาของความเหน็ ความคาดหวงั สถาบันส่งเสรมิ งานสอบสวน เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการตรวจสอบ สามารถบังคับใช้ (2) (แบบสอบถามความ กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปราศจากการแทรกแซงของผู้มีอิทธิพล หรือของผู้ คดิ เห็น) มอี านาจที่ถูกตรวจสอบ ความคาดหวัง สถาบันส่งเสริมงานสอบสวน เห็นว่าทุกองค์กรจะต้องสามารถตรวจสอบได้ในทุกมิติ ต้องเป็นการตรวจสอบ (3) (แบบสอบถามความ อย่างชอบธรรม จริงจัง คดิ เหน็ ) สภาพปัญหา ปัจจบุ นั หลายหนว่ ยงานไมส่ ามารถตรวจสอบได้ ขาดความโปร่งใส ความคาดหวงั โรงเรียนนายร้อยตารวจ - ควรมีการตรวจสอบอยา่ งยตุ ธิ รรมภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย (แบบสอบถามความคดิ เห็น) - ควรมีการตรวจสอบอยา่ งมคี วามยุติธรรม ความคาดหวงั คณะนิติศาสตร์ โรงเรยี นนาย ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ ตามรัฐธรรมนูญปี ๒๕๖๐ นั้น ร้อยตารวจ (แบบสอบถามความ มอี งคก์ รอิสระขน้ึ มาตรวจสอบหลายหนว่ ยงานตามรฐั ธรรมนูญฉบบั นี้ คอื คิดเหน็ ) ๑) คณะกรรมการเลือกตง้ั ๒) ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ๓) คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ ๔) คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดิน ๕) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน องค์กรอิสระเป็นองค์กรที่จัดต้ังขึ้นตามรัฐธรรมนูญ และได้รับมอบภารกิจตาม รัฐธรรมนูญ ท่ีถือเป็นองค์กรของรัฐที่มีสถานะพิเศษ ซึ่งมีหลักอิสระ ปลอดพ้นจาก

๔๖๓ ประเดน็ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเห็น การแทรกแซงขององคก์ รอ่นื ของรัฐ โดยจัดให้ทาหน้าท่ตี รวจสอบ และถ่วงดุลอานาจ รัฐ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการใช้อานาจรัฐ คุ้มครองด้านสิทธิ มนุษยชน โดยรัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ น้ี ได้เพิ่มปรับปรุงอานาจขององค์กรท้ัง ๕ ให้เข้มแข็ง รวดเร็วมีประสิทธิภาพ กาหนดให้องค์กรอิสระร่วมมือกัน ช่วยเหลือกัน ในการปฏบิ ตั ิงานของแต่ละองค์กร ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐในปัจจุบันจึงมีอานาจ เข้มแข้. มีอิสระใน การตรวจสอบเพ่ือครองครองประชาชน สภาพปัญหา ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐในปัจจุบันมี ๕ องค์กร และฝ่ายตุลา การรัฐธรรมนูญฉบับน้ีจึงรับรองฐานะขององค์กรอิสระท้ังหลายให้มีความเป็นอิสระ ในการปฏบิ ัติหน้าท่ี และกาหนดเร่ืองการสรรหาบุคคลที่สมควรได้รบั การแต่งต้ังเป็น ผ้ดู ารงตาแหนง่ ในองค์กรอิสระ คุณสมบัติต้องห้าม และการพ้นจากตาแหน่งของผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ รวมถึงการมหี น่วยงานธรุ การขององค์กรอสิ ระแต่ละแหง่ รัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ ฉบับนี้มีการหลักการใหม่ คือการให้ศาลรัฐธรรมนูญ และ องค์กรอิสระร่วมกันกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติ หน้าที่ในองค์กรต่าง ๆ กาหนดให้องค์กรอิสระร่วมมือ และช่วยเหลือกันเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรอิสระและถ้าองค์กรอิสระใดเห็นว่า มีผู้กระทาอันไม่ชอบด้วยกฎหมายอยู่ในหน้าท่ีและอานาจขององค์กรอิสระอ่ืน ให้แจ้งใหอ้ งคก์ รอสิ ระนัน้ ทราบ เพือ่ ดาเนนิ การตรวจสอบกันเองในองคก์ รอิสระ ปัจจุบันจึงมีหน่วยตรวจสอบการใช้อานาจรัฐมากขึ้น ความรับผิดชอบเร่ืองหนึ่ง จึงมีองค์กรอิสระเข้ามาตรวจสอบหลายองค์กรจนเป็นความซับซ้อนในอานาจหน้าท่ี ในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ

๔๖๔ ประเดน็ ข้อคิดเห็นและเสนอแนะ ทม่ี าของความเหน็ ความคาดหวัง ฝา่ ยกิจการนกั เรยี น กองบงั คับ สามารถตรวจสอบได้ทุกหนว่ ย ไม่มีข้อยกเว้น หากพบหรือสงสัยว่ามีการกระทา การปกครอง โรงเรยี นนายรอ้ ย ความผิดให้ออกจากการดารงตาแหนง่ การเป็นสมาชิกภาพของทางการเมืองจนกว่า ตารวจ (แบบสอบถามความ จะมขี ้อยุติ ไมใ่ หม้ บี ทบาทหนา้ ท่ใี ด ๆ อยา่ งเดด็ ขาด คดิ เหน็ ) สภาพปญั หา ผู้ต้องสงสัยว่ากระทาความผิด มีมูลเหตุ ในการมีส่วนการกระทาความผิด ยังมี บทบาทหนา้ ทใ่ี นการดารงตาแหนง่ ยังไม่ยุตบิ ทบาท เพ่ือพิสูจน์การกระทาการมสี ว่ น ร่วมของการกระทา เช่น การกระทาความผิดในการบุกรุกท่ีดินป่าสงวน หรือการ กระทาความผิดหรือเกี่ยวจ้องกับการกระทาความผิดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ยงั ไมม่ กี ารใหย้ ุตบิ ทบาทหน้าทแ่ี ตอ่ ย่างใด ขอ้ เสนอแนะ แก้ไขกฎระเบียบข้อบังคับ บทกาหนดโทษ การยุติบทบาท จัดอบรมจริยธรรม จรรยาบรรณนักการเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้มีจิตสานึกต่อการเป็นพลเมือง การรสู้ ึกรับผดิ ชอบชัว่ ดี ความคาดหวัง กองบังคบั การปกครอง ระบบการตรวจสอบถือเป็นเครื่องมือและกลไกที่สาคัญอย่างยิ่งในการแก้ปัญหา โรงเรยี นนายร้อยตารวจ การทุจริต หรือการควบคุมประสิทธาภาพในการทางานขององค์กรภาครัฐ ทัง้ นี้หาก (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) มีระบบตรวจสอบท่ีมีประสิทธิภาพย่อมทาให้เกิดผลประโยชน์ที่แท้จริงต่อภาค ประชาชน สภาพปญั หา ต้ อ ง ส ร้ า ง ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ ห้ ป ร ะ จั ก ษ์ แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ว่ า ร ะ บ บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ มีประสิทธิภาพ เพ่ือส่งเสริมการทางานของรัฐได้ ซึ่งในปัจจุบันยังมีความเคลือบ แคลงสงสัยจากภาคประชาชนบางส่วน ว่าองค์กรหรือหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีดังกล่าว ขาดอิสระและปราศจากการแทรกแซง หรือไม่ มากน้อยเพยี งใด

๔๖๕ ประเด็น ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะ ที่มาของความเหน็ ขอ้ เสนอแนะ สรา้ งระบบสรรหา จดั ตงั้ จากบุคลากรผ้ทู าหน้าท่ีในองคก์ รดังกล่าวให้สอดคล้อง กับแนวทางประชาธิปไตย กล่าวคือ ต้องทาให้องค์กรอิสระหรือผู้ทาหน้าท่ีการ ตรวจสอบมีอานาจเหนอื การเมอื งอยา่ งแทจ้ รงิ เพ่อื สรา้ งความมั่นใจใหแ้ กป่ ระชาชน ความคาดหวัง โรงเรยี นนายร้อยตารวจ การตรวจสอบก็ยังหาความยุติธรรมได้ยาก (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ความคาดหวัง ฝา่ ยปกครอง ๒ กองบังคับการ การตรวจสอบท้ังภายในองค์กร และภายนอกองค์กร ต้องโปร่งใสตรวจสอบได้ ปกครอง โรงเรียนนายรอ้ ย ตามหลักธรรมาภบิ าล ตารวจ (แบบสอบถามความ สภาพปญั หา คิดเห็น) - การถูกแทรกแซงในการตรวจสอบ - การใช้อานาจรัฐบางประการ ไม่สามารถตรวจสอบได้อยา่ งแทจ้ รงิ ความคาดหวัง โรงเรียนนายร้อยตารวจ ไมค่ าดหวัง (แบบสอบถามความคิดเหน็ ) สภาพปัญหา ไม่ม่นั ใจ ความคาดหวงั กองตรวจสอบเลขทะเบียน เปน็ ส่อื จาเปน็ ของสังคมประชาธิปไตย ประวตั ิ สานกั งาน สภาพปญั หา คณะกรรมการขา้ ราชการ มีหนว่ ยงานตรวจสอบจานวนมากแต่ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

๔๖๖ ประเดน็ ขอ้ คดิ เห็นและเสนอแนะ ทีม่ าของความเห็น ขอ้ เสนอแนะ ตารวจ (แบบสอบถามความ จากัดกรอบอานาจ ป.ป.ช. ให้ดาเนินการเฉพาะตาแหน่งระดับสูง และเฉพาะ คิดเห็น) เร่อื งทจุ ริต ความคาดหวัง กองบังคบั การตารวจทางหลวง ๑) หน่วยงานตรวจสอบต้องมีท่ีมาโดยปลอดจากการเมือง และการท่ีจะเข้าสู่ (แบบสอบถามความคิดเห็น) ตาแหนง่ จะต้องไมม่ ที ี่มาโดยการแตง่ ตงั้ ของฝา่ ยบรหิ าร ๒) องค์กรตุลาการ ต้องใช้อานาจโดยอิสระ โดยไม่ให้ถูกครหาว่ามีอคติหรือ มีความโนม้ เอียงไปกบั ฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ ๓) การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่รัฐทุกหน่วยงาน จะต้องตรวจสอบได้ทุก หน่วยงาน สภาพปญั หา ๑) ถูกแทรกแซงจากฝ่ายบริหาร และการแต่งตั้งขององค์กรตรวจสอบมาจาก ฝา่ ยบริหาร ๒) เป็นเครื่องมือให้กับฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง เพื่อทาลายฝ่ายตรงข้ามและช่วยเหลือ ฝา่ ยตน ๓) การวินิจฉัยปัญหาข้อผิดพลาด ไม่มีมาตรฐานเดียวกัน หรือเป็นไปตาม พยานหลกั ฐานโดยแท้จรงิ ข้อเสนอแนะ ๑) การแต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตรวจสอบ ต้องไม่ให้ฝ่ายการเมืองเป็นผู้ แต่งตั้ง เพราะจะเปน็ การช่วยเหลือเกือ้ กลู กัน ๒) กาหนดให้องค์กรตรวจสอบ ปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดหลักนิติรัฐ (Legal State) และหลกั นิติธรรม (The Rule of Law)

๔๖๗ ประเดน็ ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ ทมี่ าของความเห็น ความคาดหวัง บก ปปป. ข้อความตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหมาะสมแล้วเนื่องจากผ่านการลง (แบบสอบถามความคดิ เห็น) ประชามตมิ าแล้ว ความคาดหวงั กรมการขนสง่ ทางราง ระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นหลักการ กระทรวงคมนาคม เดียวกับระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐของรัฐธรรมนูญ ฉบับ ๒๕๔๐ ซึ่งเป็น (แบบสอบถามความคดิ เห็น) การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐอย่างครบถ้วนแล้วและองค์กรอิสระท่ีตรวจสอบการ ใช้อานาจรัฐขององคก์ รตามรฐั ธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐยังจะต้องถูกตรวจสอบ เช่นเดียวกัน จึงเป็นการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐและองค์กร อิสระตามรัฐธรรมนูญให้มีการคานและดุลอานาจซ่ึงกันและกัน ตามบทนิยามของ รัฐธรรมนูญที่หมายถึงกฎหมายสูงสุดในเร่ืองการปกครองประเทศและกาหนด ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่าง ๆ ภายในรัฐ อีกท้ังได้มหี น่วยงานตรวจสอบภายใน ของรัฐดาเนินการอกี ทางหนง่ึ แล้ว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไม่รับรองสิทธิการ สานักนโยบายและแผนพลังงาน ตรวจสอบและถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาล (แบบสอบถามความคดิ เหน็ ) ปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุด ซึ่งมีพฤติการณ์ร่ารวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริต ต่อหน้าท่ี ส่อว่ากระทาผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทาผิดต่อตาแหน่ง หน้าท่ีในการยุติธรรม หรือส่อจงใจใช้อานาจหน้าทีข่ ัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย โดยการใหป้ ระชาชนผู้มีสทิ ธเิ ลอื กตัง้ เขา้ ช่ือถอดถอนได้ ซ่ึงเห็นสมควร เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ โดยการถอดถอนผู้ดารง ตาแหน่งตา่ ง ๆ ไวด้ ้วย ซึ่งเรื่องดงั กล่าวปรากฏในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ และรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐

๔๖๘ ประเดน็ ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะ ทมี่ าของความเห็น หน่วยงานคาดหวังว่าหน่วยงานของรัฐ องค์กรอิสระ ข้าราชการทุกประเภท ตารวจชายแดน สามารถถูกตรวจสอบได้ เพ่ือเป็นการยับย้ัง ไมใ่ ห้ใช้อานาจตามอาเภอใจ ซึ่งปจั จุบัน (แบบสอบถามความคิดเห็น) ระบบตรวจสอบการเข้าถึงองค์กรอิสระมีข้ันตอนยุ่งยาก เห็นควรกาหนดให้ระบบ ตรวจสอบมีความสะดวก ไม่ซับซ้อน จึงจะทาให้การตรวจสอบมีประสิทธิภาพมาก ย่ิงข้ึน เช่นการที่ประชาชนร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยความชอบด้วย รัฐธรรมนูญของกฎหมาย ยังไม่มีประสทิ ธภิ าพเทา่ ที่ควร เขา้ ถึงยาก อกี ท้ังในปัจจบุ ัน บางองค์กรท่ีมีอานาจหน้าที่ตรวจสอบ แต่เนื่องจากผู้บริหารองค์กร มาจากการสรร หา โดยผ่านคาแนะนาของ ส.ว. จึงไม่เป็นอิสระอย่างแท้จริงในการปฏิบัติหน้าท่ี ทาให้เกิดความเคลอื บแคลงในการทาหนา้ ท่ตี รวจสอบ ดังน้ันควรกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของ องค์กรอิสระต่าง ๆ กาหนดช่องทาง และวิธีการให้ประชาชนเข้าถึงการตรวจสอบ การใชอ้ านาจขององค์กรอสิ ระได้ง่ายขึ้น ส่วนการตรวจสอบเจา้ หนา้ ที่ของรัฐปจั จบุ ัน สามารถดาเนินการไดห้ ลายชอ่ งทางและมปี ระสิทธิภาพอยู่แล้ว ความคาดหวงั ตารวจภูธร ภาค ๙ ๑. ในการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบควรทาการตรวจสอบได้อย่างมอี ิสระ โดยต้องมี (แบบสอบถามความคิดเห็น) ความเท่ียงธรรม ซ่ือสัตย์ สุจริต มีจริยธรรม และมีความเช่ียวชาญในเรื่องท่ีทาการ ตรวจสอบ ๒. ประชาชนทกุ คนสามารถเข้าไปมสี ่วนร่วมในการตรวจสอบได้อย่างเต็มท่ี สภาพปญั หา ๑. รัฐบาลยังไม่ค่อยให้ความสาคัญกับระบบการตรวจสอบจากประชาชน เท่าท่ีควร ๒. ในการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบยังไม่มีอิสระเท่าที่ควร มีการถูกแทรกแซงจาก ภายนอก

๔๖๙ ประเดน็ ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ ท่มี าของความเห็น ข้อเสนอแนะ ควรมีการตรวจสอบอย่างเปิดเผยและรวดเร็ว โดยจะต้องชี้แจงผลการตรวจสอบ ใหป้ ระชาชนทราบ โดยปราศจากขอ้ สงสยั ความคาดหวงั สานักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี ประชาชนสามารถตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ไม่มีระบบอุปถัมภ์ เกิดความ (แบบสอบถามความคิดเห็น) โปร่งใสทกุ ภาคสว่ น สภาพปัญหา รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันไม่ได้ให้อานาจประชาชนเข้าช่ือกันถอดถอนผู้ดารง ตาแหนง่ ทางการเมอื งไว้ ขอ้ เสนอแนะ เห็นควรบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐ ถึงการรับรองสิทธิของประชาชนให้มี สิทธิในการเข้าชื่อรอ้ งขอถอดถอนบุคคลออกจากตาแหน่ง ความคาดหวัง สานักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี เป็นระบบท่ีมีกลไกความเป็นอิสระและเป็นกลางปราศจากอคติ ไม่ลาเอียง (แบบสอบถามความคดิ เห็น) สามารถดารงความยุติธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ปราศจากการแทรกแซงขององค์กร ของรัฐอื่น หรือสถาบนั การเมืองรวมท้ังอยเู่ หนือกระแสและการกดดันใด ๆ ทเ่ี กิดข้ึน ภายในสังคมในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งซ่ึงมุ่งหมายที่จะคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนมิใหถ้ ูกละเมดิ โดยบทบญั ญัติแหง่ กฎหมาย ตามหลักของนติ ริ ฐั สภาพปญั หา การปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรภายใต้ระบบการตรวจสอบไม่ได้รับการยอมรับจาก ประชาชน และเริ่มเกิดกระแสขาดความเช่ือม่ันขององค์กรต่าง ๆ ภายใต้ระบบการ ตรวจสอบ ทาให้กลไกบางประการในระบบการตรวจสอบไมส่ ามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ือประโยชนส์ งู สุดของประชาชนทแ่ี ทจ้ ริง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook