ผลการพจิ ารณา ความคดิ เหน็ ข้อสังเกต/ผลการดําเนนิ งาน ส่ิงท่สี ่งมาด้วย ๒ ประเดน็ การ เหน็ ไม่เห็น หน่วยงาน พิจารณา ด้วย ดว้ ย หลัก/รว่ ม ๔. ปัจจุบันมีเมล็ดพันธุ์กัญชงท่ีผ่านการ 3 ปัจจบุ นั กระทรวงสาธารณสขุ โดยสาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยากาํ ลงั เปิด กว้างให้สามารถนําเมล็ดพันธ์ุพ้ืนเมืองในประเทศ เมล็ดพันธุ์นําเข้าท่ีนอกเหนือ รับรองและขึ้นทะเบียนเพียง 4 พันธุ์ โดย จาก 4 พันธ์ุ มาใช้ประโยชน์ได้ ตามร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและ พบว่ าเกษตรกรหาทางไม่ ใช้ พั นธ์ุ ข้ึ น การอนุญาตผลิต นําเข้า ส่งออก จําหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติด ทะเบียน เพราะมคี ่าใช้จ่ายและความยุ่งยาก ให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชง (Hemp) พ.ศ. .... ซ่ึงขณะนี้อยู่ระหว่าง จึงมกี ารรอ้ งเรียนว่าพันธุม์ ปี ญั หา การพิจารณาของสาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕. การปลดล็อคกฎหมายเพือ่ ส่งเสริมการปลูก 3 ปจั จบุ นั กระทรวงสาธารณสุขโดยสํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยากาํ ลงั เปดิ กว้างให้ทุกภาคส่วนสามารถขออนุญาตผลิต นําเข้า ส่งออก จําหน่าย และมีไว้ กัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจ บทเฉพาะกาล ในครอบครองได้ จากเดิมให้เฉพาะหน่วยงานของรัฐเท่าน้ัน โดยได้ยกร่าง ของกระทรวง เร่ือง การขออนุญาตและ กฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนญุ าตผลิต นําเข้า ส่งออก จําหน่าย หรือ การอนุญาตผลิตจําหนา่ ยหรือมไี วค้ รอบครอง มีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เฉพาะกัญชง (Hemp) ซึ่งยาเสพติดให้โทษใน 5 ประเภทแฮมพ์ พ.ศ. .... ซ่งึ ขณะนีอ้ ย่รู ะหวา่ งการพิจารณาของสํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า พ.ศ. 2559 ได้กําหนดให้เฉพาะหน่วยงาน ของรัฐเป็นผู้ผลิต จําหน่าย และมีไว้ใน ครอบครอง โดยกาํ หนดเงอื่ นเวลาไว้ 3 ปี นับ จากวันที่กฎกระทรวงฯ บังคับใช้ (ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 6 มกราคม 2560 และให้บังคับใช้เมื่อพ้นกําหนด 360 วันนับจากประกาศในราชกิจจา ๙
ผลการพิจารณา ความคดิ เหน็ ขอ้ สังเกต/ผลการดาํ เนินงาน สิง่ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๒ ประเดน็ การ เหน็ ไมเ่ ห็น หน่วยงาน พิจารณา ดว้ ย ด้วย หลกั /รว่ ม บทเฉพาะกาลของกระทรวงฯ ดังกล่าว ภายใต้การขับเคลื่อนแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ยังได้กําหนดให้คณะกรรมการยาเสพติด ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ โดยมีคณะกรรมการนโยบายสมุนไพร ให้โทษสามารถประเมินผลการดําเนินงาน แห่งชาติ ซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ เพ่ือเสนอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กระทรวง ท่ีเกี่ยวข้อง ๙ กระทรวง และภาคเอกชนร่วมกันดําเนินการ มีผล สาธารณสุขพิจารณาทบทวนความเหมาะสม ในการอนุญาตให้บุคคลธรรมดาหรือนิติ ๑๐ บุคคลอื่นมาขออนุญาตได้ ขณะน้ีได้มี การจัดทําร่างกฎกระทรวง เพ่ือเสนอให้ มีการทบทวน หากผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการยาเสพติ ดให้ โทษและ รัฐมนตรีฯ แล้วก็จะสามารถปลดล็อคให้ ภาคเอกชนเข้ามาดําเนินการได้เร็วกว่า 3 ปตี ามกฎหมายกําหนดไว้ ข้อสังเกตเรอ่ื งผัก ผลไม้ และสมนุ ไพร ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงสาธารณสุข 3 ร่วมกันพัฒนาให้เกิดฟาร์มผลิตสมุนไพรให้ได้มาตรฐานการทํา เกษตรกรรมแบบเกษตรอินทรีย์ (organic farming) รวมทั้ง
ผลการพิจารณา ความคิดเหน็ ข้อสงั เกต/ผลการดําเนนิ งาน สิง่ ที่สง่ มาดว้ ย ๒ ประเดน็ การ เห็น ไม่เห็น หน่วยงาน พิจารณา ดว้ ย ด้วย หลัก/ร่วม 1. ในปี 2560-2562 สมุนไพรไทยมีมูลค่าในการส่งออกรวมท้ังส้ิน ๖.๖๓ พันล้านบาท มูลค่าการบริโภคผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมท้ังสิ้นเพ่ิมข้ึนเป็น ๕.๒๑ หมน่ื ลา้ นบาท ๒. ถ่ายทอดความรู้เรื่อง GAP/Organic สมุนไพร ให้กับเกษตรกรรายใหม่ โดยในปี 2560-2562 มีพ้ืนท่ีปลูกสมุนไพรที่ได้คุณภาพตามมาตรฐานท่ี กําหนด จาํ นวน 6,556 ไร่ เกิดมูลค่าผลผลติ กว่า 300 ล้านบาท ๓. ลงทุนเพ่ือการวิจัยและนวัตกรรมเพ่ิมข้ึนเป็น 1.25 เท่า หรือกว่า 340 ล้านบาท ซ่ึงเป็นการวิจัย พัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจร กว่า 248 โครงการ เป็นการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยข้ึน กว่า 139.84 ล้านบาท ๔. มีการวิจัยส่งเสริมการใช้สมุนไพร First Line Drug โดยพบว่า ใน ปงี บประมาณ 2561 มีการจ่ายยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นจาก 1,114 ล้านบาท เป็น 1,243 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ๕. ขยายช่องทางการตลาดสมุนไพรและมีการเจรจาการค้า สร้างรายได้ กว่า ๖60 ล้านบาท ร่วมกับการรับรองคุณภาพ PMHA ( Prime Minister Herbal Award) ของสมุนไพร product champions เพิ่มความม่ันใจและ สร้างการยอมรับผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรไทย ๖. พัฒนาเมืองสมุนไพร 13 จังหวัด โดยรัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณ ในการพฒั นาพน้ื ท่ี ไปแลว้ กว่า 800 ลา้ นบาท ส่งผลให้เกิดการพัฒนาสมุนไพร ครบวงจร ทั้งการปลูก การแปรรูป และการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ๑๑
ผลการพจิ ารณา ความคิดเหน็ ขอ้ สงั เกต/ผลการดาํ เนนิ งาน สิ่งท่สี ง่ มาดว้ ย ๒ ประเดน็ การ เห็น ไมเ่ หน็ หนว่ ยงาน พจิ ารณา ด้วย ดว้ ย หลกั /รว่ ม ๑๒
สรุปความเหน็ ของกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ตอ่ รายงานการพิจารณาศึกษา เรอ่ื ง แนวทางการแกไ้ ขปัญหาราคาพชื ผลทางการเกษตรตกต่ํา ของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาศึกษาปญั หาราคาพชื ผลทางการเกษตรตกตาํ่ สภาผแู้ ทนราษฎร กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พิจารณาแล้วเห็นด้วยกับรายงานใน ภาพรวมของการกําหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ํา ซ่ึงมีการวิเคราะห์สาเหตุ และปัจจัยที่มีผลต่อการกําหนดราคาพืชผลการเกษตรของไทย และเสนอแนวทางหรือมาตรการท่ีจะนํามาใช้ แก้ไขปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกตํ่าทั้งในระดับต้นน้ํา กลางนํ้า และปลายน้ํา ทั้งน้ี มีข้อแก้ไขและ ข้อเสนอแนะ ดงั นี้ ข้อแกไ้ ข 1. หน้า 142 แก้ไขจาก “คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์” เป็น “คณะ วิศวกรรมศาสตร์ กาํ แพงแสน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร”์ 2. เพมิ่ ข้อมูลหนา้ 201 บรรทดั ที่ 12 เป็นต้นไป “โดยควรนํา NIR มาใช้ เพ่อื ประโยชน์ในการตรวจสอบคณุ ภาพสินค้า เพื่อการซ้ือ-ขาย หรือคัดแยก สินค้าคุณภาพสูง เช่น ตรวจวัดความสุกของทุเรียน ตรวจปริมาณนํ้ามันในผลปาล์ม ตรวจความช้ืนในแผ่นยาง ดิบ วเิ คราะห์ปรมิ าณเนือ้ ยางแห้งในนํ้ายางพารา วิเคราะห์ปริมาณแป้งในหัวมันสําปะหลัง วิเคราะห์ CCS ของ อ้อยในไร่ วิเคราะห์ความหวานของมะม่วง คัดแยกความหนาของเน้ือมะพร้าวบนสายพานลําเลียง คัดแยก ความหวานผลไมบ้ นสายพานลําเลยี ง เทคนิค NIR นี้สามารถนําไปใช้วิเคราะห์คุณภาพผลผลิตต้ังแต่ในสวน ไร่ โรงคัดบรรจุ โรงรับซ้ือ รวมท้ัง ตลาด หรือ Supermarket ซึ่งจะทําให้สามารถประกันคุณภาพผลผลิต ขายสินค้าได้ในราคาท่ีสูงข้ึน สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรผลิตสินค้าคุณภาพสูง สร้างภาพลักษณ์สินค้าที่ดี และสร้างระบบการซ้ือขายท่ีเป็น ธรรม สามารถยกระดบั มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรของประเทศได้” 3. แก้ไขช่ือ และตาํ แหน่ง ในหนา้ ค-4 หัวข้อ 3.3 3.1 จาก “นาย” เกื้อกูล ปยิ ะจอมขวญั เปน็ : “นางสาว” เกอื้ กูล ปยิ ะจอมขวัญ 3.2 นายศษิ ฏพงศ์ รตั นกิจ จากตาํ แหนง่ “นักวชิ าการส่งเสรมิ การลงทุนปฏบิ ัตกิ าร” เปน็ ตําแหน่ง “นักวเิ คราะหอ์ าวโุ ส” 4. หน้า 335-339 หัวข้อ 7.6.2.5 แนวทางและมาตรการในการแก้ไขปัญหาด้านการเพิ่มมูลค่าให้กับ อ้อยและน้ําตาลทราย ควรเพ่ิมเติมประเด็นด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาตลอดห่วงโซ่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ (ครอบคลุมตั้งแต่พลังงานชีวภาพ เคมีชีวภาพ ท้ัง Bulk Chemical, Fine Chemicals และ 1
ข้อเสนอแนะ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาใน ภาพรวมและแยกเป็นรายพืช ดังน้ี ภาพรวมแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่าํ 1. การเพ่ิมมูลค่าให้กับผลิตผลทางการเกษตรในด้าน Biorefinery หรือ อุตสาหกรรมชีวภาพ มีองค์ประกอบหลักที่สําคัญ 2 ส่วน คือ วัตถุดิบที่เป็นวัตถุดิบทางการเกษตร และวัสดุเหลือทิ้งต่าง ๆ ซึ่งโดย ส่วนใหญ่จะเป็นวัตถุดิบจําพวกลิกโนเซลลูโลส และกระบวนการผลิต ซ่ึงในกระบวนการผลิตจะประกอบด้วย ขั้นตอนท่ีสําคัญ คือ กระบวนการปรับสภาพวัตถุดิบ (Pretreatment/ Fractionation) และกระบวนการ แปรรูปวัตถุดิบเป็นผลิตภัณฑ์สารตัวกลางหรือผลิตภัณฑ์สุดท้าย ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ หรือเคมี ซึ่งอุตสาหกรรมชีวภาพส่วนใหญ่จะเน้นกระบวนการแปรรูปด้วยจุลินทรีย์ ซ่ึงนอกจากจะสามารถผลิตเซลล์ จลุ นิ ทรีย์ท่ีนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ได้โดยตรงแลว้ ยงั สามารถใช้จุลินทรีย์ในการผลิตสารท่ีมีประโยชน์และมูลค่าสูงอีก ด้วย อุตสาหกรรมน้ีเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ โดยประเทศไทยมีการใช้ ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ต่าง ๆ เช่น เอนไซม์ หรือสารเคมีท่ีผลิตจากจุลินทรีย์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็น จํานวนมากในแต่ละปี ซึ่งสัมพันธ์กับตัวเลขการนําเข้าผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในปริมาณสูงมากขึ้นทุกปี ในขณะที่ อุตสาหกรรมท่ีใช้จุลินทรีย์ในการผลิตมีความเข้มแข็งและมีบทบาทสําคัญในการผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ มาตลอด แต่ส่วนใหญ่ยังเป็นการนําเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศหรือเป็นเทคโนโลยีในระดับไม่สูงมากนัก ซึ่งตอ้ งการการสนับสนุนในเชงิ การวิจยั พฒั นา ทผ่ี า่ นมาหนว่ ยงานวจิ ัยท้ังจากภาครัฐและภาคเอกชนในประเทศให้ ความสนใจในการวิจัย พัฒนาด้านการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuels) สารเคมีชีวภาพ (Biochemicals) พลาสติก และวัสดุชีวภาพ (Biomaterials) และผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าสูง (Biospecialty Products) โดยใช้กระบวนการ ทางเคมีและวศิ วกรรมเคมี และเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเป็นการเพ่ิมมูลค่าของวัตถุดิบทางการเกษตรในประเทศมาก ขึน้ จงึ ควรให้ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสําหรับการวิจัยในประเทศต่อไปในอนาคตให้ เพ่ิมมากข้ึนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ เพ่ือตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมเกษตรของ ประเทศไทยในอนาคต และเผยแพร่องคค์ วามรู้และนวตั กรรมซึ่งเป็นการแก้ไขปญั หาระยะยาว 2. ควรมอบหมายหน่วยงานหรือส่ังการให้ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีติดตาม สภาวะการณ์ของโรคและแมลงศัตรูพืช การเจริญเติบโตของผลผลิต การแจ้งเตือนเกษตรกรล่วงหน้าเพื่อ ปอ้ งกนั ผลผลิตเสียหาย ด้วยเทคโนโลยี Remote Sensing จัดทํา Model ทํานายคาดการณ์ผลผลิต ซ่ึงจะเป็น 2
3. ควรมีแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ผลักดันและส่งเสริมให้เกษตรกรทุกพ้ืนที่เข้าถึงเทคโนโลยี อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ตามท่ีรัฐบาลต้องการให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนวิธีการปลูกพืชด้วยเทคโนโลยี ปัจจุบัน เกษตรกรที่ใช้เทคโนโลยีกบั การเกษตรมจี ํานวนนอ้ ยเมื่อเทียบสดั ส่วนกับเกษตรกรทง้ั ประเทศ 4. ควรศกึ ษาถึงสาเหตุที่เกษตรกรไม่ปรับเปล่ยี นวิธีการปลูกพืชตามคําแนะนําของรัฐทั้งที่รู้ว่าต้องพบ กับปัญหาเดิม ๆ เชน่ นํ้าทว่ ม ภัยแล้ง ผลผลติ ราคาตกตา่ํ เป็นตน้ 1. ข้อเสนอแนะแนวทางในการแกป้ ัญหาราคาขา้ วตกต่าํ 1.1 ควรยกเลิกการรับจํานําข้าวเปลือกในราคาท่ีสูงกว่าราคาตลาด เพราะเป็นการสร้างภาระต่อ งบประมาณแผ่นดนิ 1.2 รัฐบาลควรเป็นผู้กําหนดราคารับซ้ือข้าวสด ราคารับซื้อข้าวเปลือก โดยเฉพาะเปอร์เซ็นต์ ความชน้ื ของข้าว เกษตรกรมักจะขายข้าวสดให้กับโรงสี เหตุการณ์นี้จึงเป็นตัวการเร่งให้เกษตรกรขายข้าวได้ใน ราคาต่ําเพราะมีความชื้นสูง หน่วยงานรัฐควรลงทุนจัดหาเครื่องอบลดความชื้นข้าวเปลือก โดยอาจร่วมมือกับ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีของแต่ละจังหวัด เปิดให้บริการอบข้าวเปลือกลดความช้ืนให้ได้มากที่สุด ปิดช่องว่างการขายข้าวสด เกษตรกรจะขายข้าวได้ราคาเพ่ิมขึ้น สร้างโอกาสทางด้านการบริการให้กับนักศึกษา สถาบนั การศกึ ษา หรือกล่มุ สหกรณ์ 1.3 ควรส่งเสริมให้มีการจัดหาอุปกรณ์ตรวจวัดข้าวเปลือกจําหน่ายให้กับเกษตรกรซื้อในราคาท่ีจับ ต้องได้ มีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ควรเป็นเครื่องมือแบบ ปิดพกพาง่ายไมส่ ามารถปรบั แตง่ ฟงั ก์ชันใด ๆ เพื่อใชต้ รวจร่วมกนั กับเคร่อื งตรวจความชืน้ ของโรงสคี วบคกู่ ัน 1.4 ควรให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้านการส่งเสริมผลิตเมล็ดพันธุ์ สร้างความเข้าใจในสิ่งท่ีถูกต้อง หลีกเลย่ี งสภาวะแวดล้อมในแบบเดียวกนั เพอ่ื เปน็ การตดั วงจรของโรคและแมลง 1.5 ควรเจรจากับผู้ประกอบการทางด้านเวชสําอาง ผู้ประกอบการแปรรูปอาหาร ข้าวขาว ข้าวสี ข้าวเพ่ือสุขภาพ รับซื้อผลผลิตที่ผ่านมาตรฐานการรับรอง เช่น มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) มาตรฐาน Thai GAP มาตรฐาน IFOM ฯลฯ ในราคาที่สูงกว่าราคาขายทั่วไป เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้เกษตรทําการเกษตร แบบประณตี มากข้นึ เอาใจใสใ่ นเรอ่ื งของคณุ ภาพเปน็ สําคญั ผบู้ ริโภคปลอดภัย 2. ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หาราคาขา้ วโพดและมันสาํ ปะหลงั ตกต่ํา 2.1 ควรเร่งจัดหาพ้ืนที่ปลูกมันสําปะหลังท่ียังไม่พบโรค หรือพื้นท่ีที่ไม่เคยปลูกมันสําปะหลังมาก่อน พร้อมกับจัดสรรงบประมาณดําเนินการ เพ่ือพัฒนาต้นพันธุ์มันสําปะหลังปลอดโรค แก้ไขโรคใบด่าง มันสําปะหลัง กระจายท่อนพันธ์ุปลอดโรคไปให้พ้ืนท่ีท่ีมีการระบาดของโรคปลูก ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขโดยเร็ว ในอนาคตผลผลิตมันสําปะหลังจะลดลงไปเร่ือย ๆ ถ้าปลูกด้วยท่อนพันธุ์ติดโรคมันสําปะหลังจะไม่สร้างหัว 3
2.2 ส่งเสริมการนําเทคโนโลยีการควบคุมโรคและแมลงหวี่ขาวยาสูบ ซ่ึงเป็นพาหะนําโรคใบด่าง มันสําปะหลัง โดยวธิ ีผสมผสานทงั้ การใชส้ ารเคมี และไบโอคอนโทรล 2.3 ส่งเสริมการนําเทคโนโลยีการให้นํ้าไปใช้กับมันสําปะหลังและข้าวโพด ซึ่งมีผลงานวิจัยเป็นที่ ประจักษ์แล้วในขณะน้ีกับหลายพ้ืนที่ การให้น้ําในปริมาณท่ีเพียงพอและเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา จะช่วย แก้ปญั หาเรื่องหัวมนั มขี นาดเล็กและเปอรเ์ ซ็นต์แป้งตํ่าหรอื ฝกั ข้าวโพดไมไ่ ดข้ นาดตามทตี่ ลาดตอ้ งการ 2.4 ควรเร่งจัดหาระบบชลประทานสําหรับภาคการเกษตรอย่างเร่งด่วนที่สุด เพ่ือแก้ปัญหาในระยะ ยาว หรือเรง่ ศกึ ษาพืชทางเลือกทดแทนที่มีมูลค่าสูงแนะนําให้เกษตรกรปลูกในช่วงฤดูแล้งหรือปลูกทดแทนการ ปลูกมันสําปะหลังและข้าวโพด หรือเป็นการปลูกพืชหมุนเวียน และการปลูกพืชร่วม (Multiple Cropping) เพ่อื ลดการระบาดของโรคใบดา่ งมันสาํ ปะหลัง 2.5 ควรกําหนดมาตรฐานคุณภาพและราคารับซ้ือข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ควรยกเลิกการรับซื้อข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ในราคาที่ไม่เท่ากันระหว่างการเพาะปลูกบนพ้ืนท่ีที่มีเอกสารสิทธิและไม่มีเอกสารสิทธิ ซ่ึงเปรยี บเสมือนเปน็ เครือ่ งมอื กดี กันทางดา้ นราคา 2.6 ควรมีนโยบายกําหนดนําเข้าข้าวโพดเล้ียงสัตว์เฉพาะช่วงเวลาที่ประเทศขาดแคลน หรือช่วงที่มี ปรมิ าณสตอ๊ กขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ตํ่ากว่าปริมาณความต้องการในประเทศ เพ่ือไม่ให้เกิดปริมาณข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ล้นตลาดและราคาตกตาํ่ 2.7 ควรเพ่ิมมาตรฐานการปนเป้ือนกัมมันตภาพรังสี เป็นเง่ือนไขการนําเข้าโดยให้วัตถุดิบท่ีจะนําเข้า มาใช้ทดแทนข้าวโพด และ ถั่วเหลอื ง ในการผลติ เป็นอาหารสตั ว์ เช่น ข้าวสาลี ขา้ วบาร์เลย์ และราํ ข้าว เป็นต้น มีค่าการปนเป้ือนทางกัมมันตภาพรังสีไม่เกินเกณฑ์ที่กําหนด เช่นเดียวกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง มาตรฐานอาหารท่ีปนเป้ือนสารกัมมันตรังสี และเป็นอํานาจหน้าที่ของสํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ อาหารแห่งชาติ (มกอช.) ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และ อํานาจหน้าท่ขี องกรมปศุสัตว์ ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 เพื่อควบคุมคุณภาพ ของวตั ถดุ ิบ อันจะส่งผลในทางอ้อมเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาราคาพชื ผลทางการเกษตรตกตาํ่ ในระยะยาว 3. ข้อเสนอแนะแนวทางในการแกป้ ญั หาราคาผกั ผลไม้ และสมุนไพรตกตาํ่ 3.1 ควรบังคับใช้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) กับผัก ผลไม้ และสมุนไพร เพื่อยกระดับราคา สนิ ค้าของเกษตรกร โดยเฉพาะสมนุ ไพรควรกําหนดโซนพ้ืนที่ปลูกให้เหมาะสม ผลักดันการข้ึนทะเบียนตํารับยา การรักษาเมล็ดพันธ์ุบริสุทธิ์และจดทะเบียนแหล่งที่มาเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ (Bio Bank) ควรมีภาพรวม ของความตอ้ งการใชส้ มุนไพรและสารสกัดจากสมุนไพรล่วงหน้าในแต่ละปี เพื่อให้เกษตรกรวางแผนการปลูกให้ เพียงพอต่อความตอ้ งการใช้ทางดา้ นการแพทย์แผนไทย เวชสําอางค์ ลดการนําเข้าจากต่างประเทศในสัดส่วนที่ ส่งเสริมรายได้ให้กับเกษตรกรในประเทศ สนับสนุนการลงทุนทางด้านโรงเรือน หรือ Plant Factory ควบคุม 4
3.2 ควรมีมาตรการควบคุมราคาผลไม้หรือกําหนดโควต้าการรับซ้ือและส่งออกของแต่ละล้ง เพื่อ ป้องกันไม่ให้ลง้ กําหนดราคารับซ้ือกันเอง ปัจจุบนั ล้งไทยต้องแข่งขนั กับลง้ จีนที่เกิดขึ้นจํานวนมาก โดยเฉพาะล้ง ตามฤดูกาลซึ่งเข้าไปเปิดการรับซ้ือถึงหน้าสวน ไม่มีการจดทะเบียนกับหน่วยงานของรัฐอย่างเป็นทางการ พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) บนฐานข้อมูลชุดเดียวกันทั้งประเทศ เพ่ือควบคุมและติดตาม แหล่งท่ีมา อํานวยความสะดวกให้กับผู้บริโภคติดตามย้อนกลับมายังแหล่งกําเนิดต้นทางผ่าน QR Code ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภัณฑ์ใช้เอง ทดแทนปุ๋ยเคมีและอาหารเสริมเพ่ือลดค่าใช้จ่าย ปัจจุบันกลุ่มคนรักสุขภาพหันมาให้ความสําคัญกับการบริโภคผักและผลไม้ปลอดสารเคมีกันมากขึ้น ส่งผลให้ ราคาผลผลติ สูงขน้ึ ตามไปดว้ ย จะเปน็ การเพ่มิ มลู ค่าผลผลติ ในระยะยาวให้กับเกษตรกร 3.3 ควรเร่งสร้างศูนย์ปฏิบัติการตรวจรับรองคุณภาพบริเวณหน้าด่านช่องทางเข้าออกของประเทศ พร้อมท้ังติดตั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้เพียงพอต่อการตรวจหาสารตกค้างของผลไม้ ซ่ึงมีผลงานวิจัยของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ได้วิจยั เคร่ืองมือตรวจหาสารตกคา้ งต้นแบบไวแ้ ล้วในบางชนิดสารเคมี สามารถ ตรวจหาสารตกคา้ งด้วยเซ็นเซอร์ทาํ ให้รูผ้ ลในระยะเวลาอันส้ัน ลดระยะเวลาการเสียหายของผักและผลไม้ 4. ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หาราคาปาล์มและยางพาราตกตา่ํ 4.1 ควรผลักดันและลงทุนขยายผลให้มีการวิจัยและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีคํานวณปริมาณน้ํามัน จากสีผิวเมล็ดปาล์มโดยไม่ทําลาย ซึ่งมีผลงานวิจัยของ สวทช. โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สามารถนํามาพัฒนาเชิงธุรกิจสนับสนุนการใช้งานให้กับเกษตรกร ใช้เพ่ือ ตัดสินใจเปรียบเทยี บปริมาณนาํ้ มนั ที่คาดว่าจะได้ก่อนขายผลผลติ ให้กบั ผรู้ ับซอื้ 4.2 ควรพิจารณาแผนการใช้น้ํามันปาล์มจากปาล์มนํ้ามันให้ครบวงจร ต้ังแต่งานวิจัยสายพันธ์ุปลอด โรค การปลกู การแปรรูป และการสง่ ออก สง่ เสรมิ การใช้น้าํ มนั ปาล์มในภาคอุตสาหกรรมในด้านตา่ ง ๆ กําหนด มาตรการ Zoning พื้นที่การปลูกยางพาราคุณภาพดีเพื่อยกระดับผลผลิตและราคา ผลักดันมาตรฐานการผลิต น้ํายางคุณภาพตามความต้องการของตลาด (Market Demand) พร้อมทั้งส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตโดยใช้ น้ํายางนํามาแปรรูปให้กับตลาดในประเทศในสัดส่วนให้มากขึ้น เช่น นําไปถนนพาราซอยด์ซีเมนต์ ปัจจุบันมี การนําไปทดลองใช้แล้วในหลายพื้นที่ พบว่าถนนมีคุณภาพดีและเป็นการอุดหนุนยางพาราของเกษตรกรใน ประเทศ หน่วยงานทางด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมหรือการแปรรูปควรเข้าไปช่วยเป็นคนกลางในการติดต่อ การตลาดระหวา่ งเกษตรกรกบั ผซู้ อ้ื ผลผลติ 4.3 มาตรการแก้ปัญหาราคายางพาราตกต่ําอย่างเร่งด่วน โดยใช้นวัตกรรมสําหรับการใช้งานใน ประเทศและเพื่อการส่งออกนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากยางพาราในอนาคต ทําเป็นถนนดินซีเมนต์โดยใช้ น้าํ ยางพาราสดและดนิ เดมิ ในทอ้ งถนิ่ ซึง่ หากมาตรการนส้ี ามารถดําเนินการได้จริงจะสามารถดดู ซับน้าํ ยางพารา สดออกจากระบบไดป้ ระมาณ 1 ล้านตันตอ่ ปี ทงั้ นี้การดําเนินการต้องมีมาตรการควบคุมไมใ่ ห้เกิดการผกู ขาดใน 5
4.4 มาตรการส่งเสริมกระบวนการรวบรวมยางดิบเพื่อการแปรรูปยางขั้นต้น จะสร้างประโยชน์ต่อ กลุ่มเกษตรกรได้เพิ่มมากขึ้น โดยต้องสร้างความเข้มแข็งให้แก่สหกรณ์ และการให้สหกรณ์สามารถแปรรูปเอง ได้ หนว่ ยงานของรัฐต้องช่วยสหกรณใ์ นการหาตลาด เพือ่ ขายยางแปรรูปโดยไมถ่ กู กดราคาต่อไปด้วย 4.5 มาตรการจดั ทาํ โครงการสวนยางพารายง่ั ยนื เปน็ มาตรการทม่ี ีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก เพราะ จะทําให้สามารถมีผลผลิตจากยางพาราและมีรายได้เพิ่มจากพืชอื่น ๆ หรือการเล้ียงสัตว์เพิ่มไปด้วย เพ่ือทําให้ เกษตรกรมีรายไดอ้ ย่างย่งั ยืน ระบบนิเวศเกดิ ความสมดลุ และมีความหลากหลายทางชวี ภาพเพ่ิมมากข้นึ 4.6 การวางเป้าหมายการแก้ปัญหาราคายางพาราตกต่ําด้วยการใช้ยางพาราภายในประเทศเป็นการ วางเป้าที่เหมาะสมและดีมาก ซ่ึงสามารถทําให้เกิดข้ึนจริงได้ แต่ต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะนโยบายต่าง ๆ ท่ีทําให้เกิดการใช้ยางพาราให้มากย่ิงข้ึน รวมถึงต้องมีการช่วยกันระดมความคิดเห็น กันจากหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือหาผลิตภัณฑ์ยางพาราท่ีควรจะผลิต อีกทั้งต้องทําควบคู่ไปกับการให้ความรู้ เกษตรกร สหกรณ์ ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อไมใ่ ห้ถกู เอารดั เอาเปรยี บจากนายทนุ 4.7 สวทช. โดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการแปรรูปยาง สามารถดาํ เนนิ การและยนิ ดีใหก้ ารสนบั สนุนตามมาตรการต่าง ๆ ดงั น้ี 4.7.1 มาตรการการสร้างรายได้เพิ่มจากการแปรรูปยางพาราเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้นเป็น มาตรการท่ีสามารถช่วยแก้ไขปัญหาราคายางพารา และสามารถพัฒนาผู้ประกอบการให้เติบโตได้จริงตามท่ี เสนอโดยสามารถสนบั สนุนด้านเทคโนโลยยี างพารา ตัง้ แต่การพฒั นาผลิตภัณฑ์ไปจนถงึ การจดั ทาํ มาตรฐาน 4.7.2 มาตรการแก้ปัญหาราคายางพาราตกตํ่าในระยะยาว สามารถสนับสนุนด้านเทคโนโลยี ยางพารา ตั้งแต่ต้นน้ําไปจนถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการจัดทํามาตรฐาน โดยทําควบคู่ไปกับนโยบาย การสนับสนนุ จากรฐั บาล เพือ่ ช่วยแกไ้ ขปญั หาราคายางพาราทต่ี กตํา่ ได้ในระยะยาว 5. ข้อเสนแนะแนวทางในการแกป้ ญั หาราคามะพร้าวและสบั ปะรดตกตํา่ 5.1 ส่งเสริมให้มีการวิจัยหรือพัฒนาพันธ์ุมะพร้าวที่ต้านทานต่อแมลงศัตรู เช่น หนอนหัวดํามะพร้าว แมลงดําหนามมะพร้าว แตนเบียนหนอนแมลงดํามะพร้าว และแมลงศัตรูชนิดอื่น ๆ เพ่ือลดอัตราการสูญเสีย ผลผลติ และความเสยี หายของลาํ ตน้ 5.2 ควรทําแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปริมาณความต้องการใช้ผลผลิตมะพร้าวและสับปะรดใน ทุกภาคธรุ กิจทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื ไมใ่ ห้สินค้าลน้ ตลาด กาํ หนดช่วงระยะเวลา ปริมาณการนําเข้า และสต๊อกมะพร้าว จากประเทศเพื่อนบ้าน เพ่อื เป็นการยกระดับราคามะพร้าวและสบั ปะรดภายในประเทศไม่ให้ตกต่ํา 5.3 ควรพิจารณาส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากใบและส่วนอื่น ๆ ของสับปะรด ซ่ึงสามารถนํามาใช้ ประโยชนส์ รา้ งมูลคา่ /รายได้ ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นให้แก่เกษตรกรแทนที่จะถูกกําจัดหรือเผาท้ิงก่อให้เกิด มลภาวะ ในประเทศไทยมีงานวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเส้นใยและวัสดุเหลือทิ้งของสับปะรดอยู่จํานวนหนึ่ง 6
6. ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการแกป้ ัญหาราคาอ้อยตกต่าํ 6.1 ควรเร่งผลักดันให้มีการศึกษาและวิจัยพันธุ์ต้นทานโรคใบขาวอ้อยในทุกสายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากเช้ือ ไฟโตพลาสม่ามีเพล้ียจักจ่ันเป็นพาหนะ เชื้อจะมีปริมาณมากหรือน้อยแตกต่างกันออกไป และหากแมลงพาหะ ไปดูดกินต้นท่มี ีเช้อื กส็ ามารถแพรร่ ะบาดได้เร็วขึ้นและถา่ ยทอดเชอื้ ทําใหป้ ริมาณเชือ้ อาจเพิ่มได้ 6.2 ควรสนับสนุนงบประมาณการจัดทําโมเดลเพ่ือทายผลผลิต และโมเดลการระบาดของศัตรูพืชที่ เก่ียวกับอ้อย ซ่ึง สวทช. โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) เริ่มศึกษาและ พัฒนาโมเดลการทํานายผลผลิตอ้อย และสามารถขยายผลการศึกษาโมเดลออกไปให้ครอบคลุมกับพื้นท่ีปลูก ออ้ ยท่วั ประเทศ 6.3 หน่วยงานทางด้านกํากับดูแลการผลิตไฟฟ้า ควรเร่งศึกษาให้เกิดการลงทุนทางด้านพลังงาน สะอาดโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรต่อรัฐบาล โดยเปิดโอกาสให้นักลงทุนเข้าไปสร้างโรงงานผลิตไฟฟ้าขนาด เล็กโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร (Small Power Generation Plants Using Agricultural Products) เพ่ือใหเ้ กดิ การรับซือ้ ผลผลิตในราคาตลาดและนําไปแปรรูป 6.4 การส่งเสริมการแปรรูปมันสําปะหลังและอ้อยเป็นพลาสติกชีวภาพ ควรพิจารณาการส่งเสริม อย่างครบวงจรตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การผลิตจนถึงการกําจัดเพ่ือใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่ามาก ทสี่ ุดและไม่กอ่ มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ในช่วงต้นทางควรให้ความสําคัญกับการออกแบบผลิตภัณฑ์และพัฒนา/ การคัดเลือกวัสดุที่เหมาะสมกับการใช้งาน/การนํากลับมาใช้ใหม่/การกําจัด ซ่ึงครอบคลุมถึงการออกแบบ เง่ือนไขสภาวะท่ีพลาสติกชีวภาพจะสามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาที่กําหนดให้สอดคล้องกับ รูปแบบการใช้งานและการกําจัดผลิตภัณฑ์ เช่น การแตกสลายใน Industrial Composting Facility ท่ีได้ มาตรฐาน การแตกสลายในดิน การแตกสลายในแหล่งน้ํา เป็นต้น ในช่วงปลายทางควรส่งเสริมให้เกิดการ จัดการ การจัดเก็บและคัดแยกจําแนกวัสดุประเภทต่าง ๆ เพื่อนําไปใช้ซํ้าหรือกําจัดอย่างถูกวิธี ซ่ึงต้องมี โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเหมาะสมรองรับด้วย เช่น Composting Facility ซ่ึงประเทศไทยยังมีค่อนข้างจํากัด นอกจากนี้ ควรให้ความสําคัญในการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวพลาสติกชีวภาพ การออกแบบ Circular Model ท่ีเหมาะสมกับบริบทของชมุ ชนต่าง ๆ 7
ผลงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มผี ลงานวิจยั และพฒั นาที่สามารถสนับสนุน การดําเนินงานตามมาตรการต่าง ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกตํ่า ให้บรรลุเป้าประสงค์ ไดแ้ ก่ 1. สวทช. โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และศูนย์เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) กลมุ่ วิจยั นวัตกรรมการแปรรปู ยาง มผี ลงานวจิ ัยและพฒั นาที่เก่ยี วขอ้ ง ดังน้ี 1.1 เครื่องมือตรวจหาสารตกค้างต้นแบบ สามารถตรวจหาสารตกค้างด้วยเซ็นเซอร์ทําให้รู้ผลใน ระยะเวลาอนั ส้นั ลดระยะเวลาการเสียหายของผักและผลไม้ 1.2 การใช้เทคโนโลยีคํานวณปริมาณนํ้ามันจากสีผิวเมล็ดปาล์ม สามารถนํามาพัฒนาเชิงธุรกิจ สนับสนุนการใช้งานให้กับเกษตรกร ใช้เพื่อตัดสินใจเปรียบเทียบปริมาณนํ้ามันท่ีคาดว่าจะได้ก่อนขายผลผลิต ให้กบั ผรู้ บั ซ้อื 1.3 การพัฒนาโมเดลการทํานายผลผลิตอ้อย และสามารถขยายผลการศึกษาโมเดลออกไปให้ ครอบคลุมกบั พ้ืนท่ปี ลกู อ้อยทัว่ ประเทศ 1.4 เทคโนโลยียางพารา ต้ังแต่ต้นนํ้าไปจนถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการจัดทํามาตรฐาน โดย ทาํ ควบคไู่ ปกับนโยบายการสนบั สนุนจากรัฐบาล เพ่อื ช่วยแกไ้ ขปัญหาราคายางพาราท่ตี กต่าํ ไดใ้ นระยะยาว 2. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีเครื่องมือในการ วเิ คราะห์คุณภาพของพืชผลการเกษตร เพื่อให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาํ หนด ไดแ้ ก่ เคร่อื งวิเคราะหค์ วามสกุ ทุเรยี น 8
เคร่อื งวิเคราะหป์ รมิ าณเน้อื ยางแห้งในนาํ้ ยางพารา เครอื่ งวิเคราะหค์ วามหวานของมะม่วง เคร่ืองคดั แยกความหวานผลไมบ้ นสายพานลําเลียง **************************** 9
1 แบบรายงาน : แนวทางการแกป้ ัญหาราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกตํา่ (ขา้ ว) คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาศึกษาปัญหาราคาพชื ผลทางการเกษตรตกตํ่า ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพิจารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เหน็ ด้วย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) 1.ปฏริ ปู โครงสรา้ งพนื้ ฐานทางการเกษตร องค์กร ชาวนา 1.1 มาตรการแก้ไขปญั หาตน้ น้าํ ในระยะส้นั : ปฏริ ปู โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางการเกษตร องค์กร ชาวนา และปฏริ ปู กระบวนการผลติ ข้าว รวมถึงการประกนั ราคา อยา่ ง smart และ targeted ๑) ปฏิรูปโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเกษตรและองค์กร เห็นด้วย ชาวนา โดยการเพ่มิ ขีดความสามารถ ขององคก์ รชาวนา ในการจัดหา ปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย เครื่องจักรกลการเกษตร สําหรับบริการสมาชิก และความรู้ในการบริหารจัดการผลิต ของสมาชกิ ตลอดจนการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิ ในด้านเมล็ด พันธ์ุ โดยการพัฒนาสายพันธ์ุและการจัดการหน้าที่จะทําให้ ผลผลิตต่อไรส่ งู ขน้ึ ๒) ปฏิรูปกระบวนการผลิตข้าว ให้มีการจัดระบบการ เห็นดว้ ย ปลูกข้าว ปลูกปีละไม่เกิน ๒ ครั้ง มีปุ๋ย พืชสดหรือพืชเสริม ค่ันกลางและบริเวณใกล้เคียงกันต้องปลูกพร้อมกัน เพ่ือความ สะดวกในการบริหารจัดการนํ้า และตัดวงจรระบาดของโรค แมลงศัตรูข้าว ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นท่ี (Site Specific Technology) และใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี (Q - Seed) รวมถึงเน้นเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตชาวนา ต้องทํานาแบบประณีต (Intensive) และหมั่นดูแลแปลงนา ตนเองอยา่ งใกลช้ ิด (ไมใ่ ช่ส่งั การทางมอื ถืออย่างเดยี ว)
2 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เหน็ ดว้ ย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๓) การเพ่ิมเคร่ืองมือและกลไกอุดหนุน โดยไม่ได้อุดหนุน เหน็ ด้วย ทางด้านราคา (Price subsidy) แต่เพียงอย่างเดียว แต่สามารถ ทําการอุดหนุนต้นทุน (Cost Subsidy) ด้านปัจจัยการผลิตได้ นอกจากน้ี การประกันราคาและการจํานํายังทําควบคู่กันได้ โดยประกนั ราคาขา้ วมูลค่าเพ่ิมต่ํา เช่น ข้าวขาว และจํานําข้าว มูลค่าเพิ่มสูง เช่น ข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียว เพื่อเป็น มาตรการลดความเส่ียง 1.2 มาตรการแก้ไขปญั หาตน้ นาํ้ ในระยะกลาง : ปฏริ ปู โครงสรา้ งพนื้ ฐานทางการเกษตร องคก์ ร ชาวนาปฏริ ปู กระบวนการผลติ ขา้ ว และการปรบั พอรต์ ขา้ วของ ประเทศให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ตลาดโลกและความเปน็ ไปไดใ้ นการเพาะปลูก ๑) ปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรและองค์กร เหน็ ด้วย ชาวนา ขยายการพัฒนาแหล่งน้ําและ ระบบชลประทานตาม สภาพพื้นท่ีอย่างทั่วถึง ขยายพ้ืนที่การจัดรูปท่ีดิน (Land Consolidation) เพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทํานา การจัดต้ัง เครือข่ายชาวนาในรูปของสมาคม/สภาชาวนา ที่มีองค์กร ชาวนาต่าง ๆ เป็นสมาชิก ให้องค์กรชาวนาเป็นศูนย์กลาง ประสานงานระหว่างภาครัฐและชาวนาในด้านต่าง ๆ เช่น การถ่ายทอดความรู้ การช่วยเหลือสนับสนุนชาวนา และสร้าง จิตสํานึกให้ชาวนารู้จักพ่ึงพาตนเองมากกว่าพ่ึงรัฐ แต่เพียง อยา่ งเดียว โดยนาํ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใช้ ๒) ปฏิรูปกระบวนการผลิตข้าว มีการจัดทําทะเบียน เหน็ ดว้ ย ชาวนาจําแนกตามเขตส่งเสริมการผลิต เพื่อกําหนดเป้าหมาย
3 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพิจารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เหน็ ด้วย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๓) ปรับพอร์ตความหลากหลายของพันธ์ุข้าว และการทํา เห็นด้วย นาเพ่ือให้ข้าวไทยบุกเบิกเข้าสู่ตลาด Niche ท่ีมูลค่าสูงมากข้ึน ไทยต้องกลับมาปรับพอร์ตข้าวเพ่ือลดปริมาณการปลูกข้าว มูลค่าตํ่าและเพ่ิมข้าวมูลค่า สูง โดยต้องมีการศึกษาความ เปน็ ไปได้ทางเทคนิคของการปรบั พอรต์ ขา้ วในแตล่ ะจังหวดั 1.3 มาตรการแก้ไขปัญหาต้นนํ้าในระยะยาว : ปฏิรูปโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเกษตร องค์กร ชาวนาปฏิรูปกระบวนการผลิตข้าว และการพัฒนาประสิทธิภาพ ตลอดจนการทํานาแบบประณตี ๑) ปฏิรูปโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเกษตรและองค์กร เห็นด้วย สถ. จัดอบรมตามโครงการ อปท. ต้นแบบจัดการน้ํา ชาวนา การพัฒนาระบบ Logistic (ยังฉาง/ระบบการขนส่ง) ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ธนาคารน้ําใต้ดิน) ในระดับชุมชนถึงระดับประเทศ การบริหารจัดการนํ้าใต้ดิน ในพื้นที่ 76 จังหวัด แบ่งเป็นรายภาค จํานวน 6 รุ่น และการจัดตั้งโรงเรียน ข้าวและชาวนา เพื่อเป็นสถานท่ี ในพื้นที่จังหวัดชัยนาท สระแก้ว สตูล กําแพงเพชร ถ่ายทอดความรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์ และการฝึกอบรม อุบลราชธานี และนครพนม มีผู้ผ่านการอบรมแล้วทั้งส้ิน แก่เกษตรกร เพ่ือให้มีทักษะ ความรู้ และพึ่งพาตนเองได้ 1,285 คน และ สถ. จัดสรรงบประมาณให้ สถจ. ทั้ง 76 ตลอดจนเป็นการสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ จังหวัด เพ่ือขยายผลโครงการ โดยจัดประชุมซักซ้อมวาง แผนการจัดทําธนาคารนํ้าใต้ดินลงมือปฏิบัติการจัดทํา
4 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน (เห็นดว้ ย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) สถ. ได้จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดการน้ํา (ธนาคารน้ําใต้ดิน) ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง อย่างน้อยจังหวัดละ 1 อปท. โดยในขั้นต้น พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์บริหาร จัดการน้ําตามโครงการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้นแบบจัดการน้ําตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ธนาคารน้าํ ใต้ดนิ ) จํานวน 6 ศูนย์บรหิ ารจัดการนํา้ ไดแ้ ก่ 1. ทต.หนองมะโมง อ.หนองมะโมง จ.ชยั นาท 2. อบต.หนองมว่ ง อ.โคกสูง จ.สระแก้ว 3. ทต.เจะ๊ บิลัง อ.เมอื งสตูล จ.สตูล 4. อบต.วงั หามแห อ.ขาณุวรลักษบรุ ี จ.กําแพงเพชร 5. อบต.เก่าขาม อ.น้ํายืน จ.อบุ ลราชานี 6. อบต.บ้านผง้ึ อ.เมอื งนครพนม จ.นครพนม
5 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เหน็ ด้วย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) โครงการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้นแบบจัดการ น้ําตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ธนาคารน้ําใต้ดิน) มวี ัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1. อปท. ท่ีได้จัดทําธนาคารน้ําใต้ดินแล้วเสร็จและมีการ ถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ การ สามารถแก้ไขปัญหาการบริหาร จัดการน้ําได้อย่างยั่งยืน โดยสามารถบรรเทาและแก้ไข ปัญหานํ้าท่วมในฤดูฝนหรือฤดูนํ้าหลาก โดยเป็นการเพิ่ม พื้นที่ในการจดั เก็บนํา้ ในชัน้ หินอมุ้ น้ํา 2. ปัญหานํ้าแล้งในฤดูแล้ง โดยการจัดเก็บนํ้าได้เพ่ิม มากข้ึนในรูปแบบของธนาคารนํ้าใต้ดินไว้ในชั้นของหินอุ้ม นํ้าใตด้ ิน เพ่ิมความชุ่มช้ืนให้กับผิวดิน รวมไปจนถึงการเพ่ิม บ่อนํ้าผุดทางธรรมชาติกลุ่มเกษตรในพ้ืนท่ี อปท. ที่ได้ จัดทําธนาคารน้ําใต้ดินแล้วเสร็จ มีน้ําใช้สําหรับการทํา เกษตรกรรมตลอดฤดูกาล ผิวดินมีความชุ่มชื้นและอุดม สมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุมากยิ่งขึ้น แก้ไขปัญหาคุณภาพน้ํา บาดาลได้ดีย่ิงข้ึน ลดปัญหาน้ําเค็ม นํ้ากร่อย ส่งผลให้ ผลผลิตทางการเกษตรดีข้ึน สามารถลดปัญหาหน้ีสินและ เพิ่มรายไดเ้ กษตรกรได้ดยี ิง่ ข้ึน 3. สิ่งแวดล้อมเกิดความยั่งยืนมากยิ่งขึ้นจากการเพิ่ม ความสมดุลทางธรรมชาติโดยการพัฒนาแหล่งนํ้าและการ บริหารจัดการน้ําแบบสมดุลตามแนวคิดการจัดทําธนาคาร
6 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหน่วยงาน (เหน็ ด้วย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ผลการดําเนินงาน มี อปท. ท่ีได้ดําเนินการทั้งส้ิน 76 จังหวัด ดําเนินการทั้งสิ้น 14,018 บ่อ เป็นระบบเปิด 812 บอ่ และระบบปดิ 13,229 บ่อ ๒) ปฏิรูปกระบวนการผลิตข้าว การเขตส่งเสริมการผลิต เห็นด้วย (Zoning) ตามกลุ่มพันธุ์ข้าว รวมท้ัง ข้าวสําหรับตลาดเฉพาะ (Niche Market) เช่น ข้าวอินทรีย์ ข้าว GI และข้าวท่ีมี ลักษณะพิเศษนําระบบ ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) มาใช้เพ่ือความสะดวก ในการแก้ไขปัญหาและสร้างความ เช่ือม่ันใหก้ ับ ผบู้ รโิ ภค พัฒนาและส่งเสริมการใช้เคร่ืองจักรกล การทํานาที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ี การพัฒนาข้าวดัชนีนํ้าตาลต่ําา และการส่งเสริมความรู้ในการปลกู ข้าวทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ๓) ในระยะยาวไทยต้องส่งเสริมประสิทธิภาพและความ เห็นด้วย ประณีตในการเพาะปลูก โดยส่งเสริม ในด้านแรงงานและ เคร่ืองจกั ร ในดา้ นแรงงานนนั้ ไทยตอ้ งสง่ เสริมเกษตรกรรนุ่ ใหม่ ส่วนในด้านเครื่องจักรนั้น ไทยควรลดภาษีการนําเข้า เคร่ืองจักรการเกษตรซ่ึงสูงถึงร้อยละ ๒๐ - ๓๐ เพ่ือให้ เกษตรกรสามารถเข้าถงึ เคร่ืองจกั รการเกษตรได้มากย่ิงขึ้น 2.มาตรการแกไ้ ขปญั หากลางนา้ํ ในระยะสนั้ : ปฏิรปู ระบบการจดั การหลังการเกบ็ เก่ยี ว 2.1 มาตรการแก้ไขปญั หากลางนา้ํ ในระยะสนั้ : ปฏิรปู ระบบการจดั การหลงั การเกบ็ เก่ียว ปฏริ ปู อุตสาหกรรมแปรรปู ข้าว และส่งเสรมิ เรื่องความเปน็ ธรรม ๑) ปฏิรปู ระบบการจัดการหลงั การเก็บเก่ยี ว การสง่ เสรมิ เหน็ ด้วย การรวมกล่มุ เกษตรกร เปน็ กระต้นุ ใหเ้ กษตรกรรายยอ่ ยท่ี
7 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เห็นดว้ ย/ไมเ่ หน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ๒) ปฏิรูปอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว เป็นการเพิ่มมูลค่า เห็นดว้ ย และคณุ คา่ ด้วยการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ใหม่ท่ีมีรูปลักษณ์โดดเด่น เหน็ ด้วย มีความหลากหลายเป็นตัวเลือกให้ผู้บริโภคจะช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมแปรรูปข้าว โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มอาหารและ สินค้าอุปโภคที่ทําจากข้าว การใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของ ข้าว ได้แก่ แป้ง รํา แกลบ และฟางข้าว เป็นการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตข้าว ตลอดจนช่วยเพิ่มโอกาสให้ประเทศ ไทยมีผลผลิต จากข้าวในการส่งออกและนํามาซ่ึงรายได้เข้า ประเทศ ๓) เนื่องจากเกี่ยวข้องกับโรงสีและพ่อค้าคนกลาง มี แนวทางคือการให้ความเป็นธรรมหรือ จัดหามาตรฐานในการ วัดความชื้นของการรับซื้อข้าว โดยอาจจะให้มีมาตรวัดกลาง หรือการวัดความชื้นต้อง ได้รับการรองรับจากบุคคลที่สาม (Third party verification)
8 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน (เหน็ ด้วย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) 2.2 มาตรการแกไ้ ขปญั หากลางนาํ้ ในระยะยาว : ปฏริ ปู ระบบการจดั การหลังการเกบ็ เก่ยี ว ปฏริ ปู อตุ สาหกรรมแปรรปู ข้าว 1) ปฏิรูประบบการบริหารจัดการหลังการเก็บเก่ียว การ เห็นด้วย รวมกลุ่มของผู้ขายร่วมกันเป็นเจ้าของเป็นการร่วมกลุ่มเพื่อ สร้างอํานาจต่อรองในห่วงโซ่อุปทานการค้าข้าว ควรคํานึงถึง ความเทา่ เทยี มต้ังแต่ตน้ ่ํานถงึ ปลายนาํ้ การสร้างอํานาจต่อรอง ให้กับโรงสี โดยมิได้เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชาวนาใน ระยะยะยาว อาทิ การรวมกลุ่มกันปลูกข้าวเป็นระบบและการ รวมกลุ่มปลูกข้าวท่ีใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคนิคท่ีมี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่จะเป็นการลดต้นทุนและ เพิ่มผลผลิต รวมทั้ง การแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลผลิตข้าวจะช่วย เพ่ิมความสามารถการแข่งขันในตลาดทําให้ชาวนามีรายได้ และ คุณภาพชีวิตท่ีดี ตลอดจนการส่งเสริมและพัฒนา เทคโนโลยีการเก็บสินค้า มีโรงอบ ไซโล เป็นต้น ซ่ึงรัฐบาล ควรส่งเสริมหรืออุดหนุนให้เกษตรกรหรือชุมชนมีศักยภาพที่ จะจัดเก็บข้าวได้ด้วยตนเองและมีเทคโนโลยี การจัดเก็บข้าวท่ี เหมาะสม เพอื่ ใหช้ าวนามีอาํ นาจต่อรองกับพ่อค้าคนกลางและ โรงสีมากข้ึน และมีศักยภาพ ท่ีจะจัดเก็บข้าวเอาไว้เพื่อขายใน เวลาท่ีราคาตลาดเหมาะสมได้ นอกจากนี้การจัดเก็บข้าวควร ใช้เทคโนโลยีไซโล มากกว่าการใช้โกดังเก็บข้าว เพื่อป้องกัน การเน่าเสียของข้าวและเพื่อให้จัดเก็บข้อมูลข้าวในคลังได้ อยา่ งเป็นระบบ
9 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพิจารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เห็นด้วย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๒) ปฏิรูปอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว การขยายผลการผลิต เห็นด้วย ลงไปในระดับชุมชนด้วยรูปแบบ วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และระดับอุตสาหกรรม ตลอดจนการนํางานวิจัย และพัฒนาในการสร้างมูลค่าเพิ่มใน เร่ืองข้าว นวัตกรรมข้าวเน่ืองจากประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมี ศักยภาพสูงใน การผลิตข้าวและการส่งออกข้าว ทําให้ผลผลิต ทส่ี ามารถนาํ มาเป็นวตั ถุดบิ ในการแปรรปู ได้หลายอย่าง 2.3 มาตรการแกไ้ ขปญั หากลางนใ้ นระยะยาว : ปฏริ ปู ระบบการจดั การหลงั การเกบ็ เกี่ยว ปฏริ ปู อุตสาหกรรมแปรรปู ขา้ ว รวมถึงการปลดลอ็ คขอ้ จาํ กดั ตา่ งๆ ๑) ปฏิรูประบบการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การนํา เหน็ ด้วย เทคโนโลยีมาช่วยลดความช้ืน (ไซโล) ส่งเสริมให้มีไซโลที่มี มาตรฐาน สาํ หรับใช้ในการเก็บรกั ษาพนั ธข์ุ ้าว ซ่งึ นอกเหนือจะ ทําให้ไม่ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาภัยน้ําาท่วมหรือปัญหาภัย แล้ง ทําให้ไม่มีพันธ์ุข้าวพอเพียง และยังทําให้เกษตรกร สามารถซื้อพันธ์ุข้าว ในราคาท่ีเหมาะสม ไม่ต้องไปพ่ึงพา พ่อค้าคนกลางเป็นการลดต้นทุนและแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือน ของเกษตรกร ชาวนา ตลอดจนเก็บกักข้าวเปลือกเพื่อชะลอ การขาย และลดความช่ืนเพิ่มคุณภาพและรักษามาตรฐานของ ข้าวเปลือกเป็นหลัก และยังมีการแปรรูปข้าวอย่างครบวงจร เพื่อได้ข้าวคุณภาพดีลดปริมาณข้าวคุณภาพต่ํา ที่เป็นส่วนเกิน ของตลาดอันเป็นกลไกที่ใช้ในการพยุงราคาข้าว และตลาด ส่งออกข้าวไปยังต่างประเทศแทน การเก็บข้าวท่ีมีอยู่ จะเป็น โครงการท่ีมีประโยชน์ต่อเกษตรกร ชุมชน ตลอดจนสังคม
10 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เห็นดว้ ย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๒) ปฏิรูปอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว นโยบายรัฐบาลที่ให้ เห็นดว้ ย ความสําคัญกับการพัฒนาและ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตร เห็นด้วย แปรรูป โดยเฉพาะข้าวบนพ้ืนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และนวัตกรรม อุตสาหกรรมแปรรูปข้าว ส่วนใหญ่ยังแปรรูปได้ในระดับขั้นต้น เน่ืองด้วยข้อจํากัดในเร่ือง องค์ความรู้ การวิจัยที่เกี่ยวกับเกษตรและวิทยาศาสตร์ ดังนั้น การพัฒนาและการถ่ายทอดเทคโนโลยี อุตสาหกรรมแปรรูป ข้าวและจูงใจให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ด้วยมาตรการส่งเสริม ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ิมงานวิจัยเพ่ือสร้าง นวัตกรรม และยกระดับมูลค่าผลิตภัณฑ์จากข้าวไปสู่ห่วงโซ่ การผลติ ของ โลกที่มีมูลค่าสูงขนึ้ ๓) รัฐบาลควรจะส่งเสริมให้ชาวนาสามารถรวมตัวกันเพื่อ ส่งออกข้าวไปขายในต่างประเทศ ได้เองโดยไม่จําเป็นต้อง พ่ึงพาพ่อค้าคนกลางหรือบริษัทส่งออกข้าวขนาดใหญ่ ในการ ส่งเสริมให้ชาวนารวมตัว กันส่งออกได้เองน้ันทางภาครัฐต้อง ปลดล็อคข้อจํากัดทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก ข้าวของ เกษตรกรและผู้ประกอบการรายเล็ก เช่น การให้ผู้ ส่งออกข้าวสต๊อกข้าว ๕๐๐ ตัน หรือ ข้ันตอนการขออนุญาต สง่ ออกตา่ งๆ ซ่ึงเม่ือรวมค่าใช้จ่ายแฝงต่างๆ แล้วเป็นค่าใช้จ่าย สงู สาํ หรบั ผ้ปู ระกอบการรายย่อย
11 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เห็นดว้ ย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) 3.ปฏริ ปู ระบบการการตลาด 3.1มาตรการแกไ้ ขปญั หาปลายนาํ้ ในระยะสัน้ : ปฏริ ปู ระบบการการตลาด โดยการเปดิ และป้องกนั ตลาด ให้ภาคเอกชนเป็นหลักในการค้าขายโดยกลไกการค้าเสรี เหน็ ด้วย ไม่มีการแทรกแซงตลาดท่ีบิดเบือน กลไกตลาดมาก และมี ภาระด้านงบประมาณค่อนข้างสูง ภาครัฐส่งเสริมการจับคู่ทาง ธุรกจิ (Business Matching) ระหว่างผู้ผลิตกบั ผู้ซื้อในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น Community Support Agriculture : CSA) จัด ให้มี “ตลาดเกษตรกร” (Farmers' Market) ในท้องถ่ิน เพื่อให้เกษตรกร/องค์กร นําผลผลิตมาจําหน่ายให้ผู้บริโภค โดยตรง ไม่ผ่านพ่อคาคนกลาง โดยความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ กับภาคเอกชน รวมถึงการบุกเบิกตลาดใหม่ ใน ประเทศที่มีปริมาณการนําเข้าข้าวสูง และนําเข้าข้าวในราคา สูง เช่น อิหร่าน ซึ่งมีตลาดนําเข้าข้าวสูงถึง ๑.๖ ล้านตัน และ มีมูลค่านําเข้าเฉลี่ยมากกว่า ๑,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และการเปดิ ตลาด Niche Market 3.2 มาตรการแก้ไขปญั หาปลายนํ้าในระยะกลาง : ปฏริ ปู ระบบการการตลาด โดยการ โปรโมทสนิ ค้าข้าวด้วยการสรา้ งแบรนด์ ภาครัฐอํานวยความสะดวกในการค้า และกํากับดูแลให้ เห็นด้วย ความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายทั้งชาวนา โรงสีผู้ส่งออก และ ผู้บริโภค การซื้อขายต้องโปร่งใส เป็นไปตามชั้นคุณภาพอย่าง แท้จริง ปรับปรุงกฎหมายและ ระเบียบการค้าต่าง ๆ เพ่ือเอ้ือ ต่อการกระตุ้นตลาด รัฐสนับสนุนจัดให้มีตลาดกลาง (ประมูล) ท่ีมีประสิทธิภาพ ในระดับภูมิภาค สําหรับสินค้าที่มีปริมาณ
12 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน (เห็นดว้ ย/ไมเ่ หน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม)
13 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน (เหน็ ดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) 3.3มาตรการแกไ้ ขปญั หาปลายน้ําในระยะยาว : ปฏริ ปู ระบบการการตลาดและการแปรรปู ขา้ มไปสอู่ ตุ สาหกรรมเทคโนโลยชี ีวภาพ และอาหารแปรรปู ในตลาด บน (Hi-touch) ส่งเสริมให้เกษตรกรผู้ผลิตเปล่ียนเป็นผู้ประกอบการ เห็นดว้ ย แยกตลาดปกติออกจากตลาดสินค้า คุณภาพ (O-products) อย่างชัดเจน เพ่อื เปน็ ทางเลือกสําหรับผู้บริโภค หรืออย่างน้อย ให้มี Q-corner ใน Supermarket ทุกแหงจัดให้มี “ระบบ ประกันความเสยี งราคาแปรปรวน” โดยให้เกษตรกรซ้ือประกันด้วย ความสมัครใจและรัฐกําหนด “ราคาเป้าหมาย” (Target price) ที่มีการประกาศล่วงหน้าก่อนฤดูกาลผลิต เกษตรกรท่ีไม่ซื้อ ประกันก็จะไม่ได้รับ การชดเชย โดยใช้เงินจากกองทุนประกัน ความเส่ียงราคาแปรปรวน การสร้างทีมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศในด้านมาตรฐาน และ SPS ให้มีขีดความสามารถ ในการเจรจา ระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ มีคณะกรรมการเจรจาสินค้าเกษตรของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในรูปแบบกรรมการถาวรไม่ใช่เฉพาะกิจ แนวคิดการ มีระบบแบ่งปันรายได้ (Revenue Sharing) คล้ายกับระบบ ๗๐ : ๓๐ ของอ้อย สําหรับพืชอุตสาหกรรมบางชนิดท่ีสําคัญ นอกจากนี้ ควรมีการส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศ ไทยสามารถแปรรูปข้าวข้าวอุตสาหกรรมได้ทั้งในแง่เทคโนโลยี ขั้นสูง (High-tech) เช่น การแปรรูป ไปสู่อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ซ่งึ รวมถึงสารสกัดต่าง ๆ จากข้าว
14 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เห็นด้วย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) 4. โครงการรองรบั ดา้ นการตลาด ๑) การประกนั รายไดใ้ ห้ข้อสังเกตการดําเนินการต้อง เห็นด้วย รดั กมุ โดยเฉพาะเกษตรกรผเู้ ช่าที่นา ๒) โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพสหกรณก์ ารเกษตร ปัจจุบันมีสหกรณ์การเกษตร ๓๗๒ แห่ง ใน ๔๕ จังหวัด มีกลุ่มเกษตรกร ๗ แห่ง โดยประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นชาวนา ๓.๑๙ ล้านคน ซึ่งมีสหกรณ์การเกษตรขนาดใหญ่ที่มีความ พร้อม มีโรงสี ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GMP เพียง ๓๕ แห่ง ขนาดกลางที่สามารถแปรรูปได้ ๘๐ แห่ง และเป็น สหกรณ์ การเกษตรขนาดเล็ก ที่เป็นเพียงแหล่งรวบรวม ข้าวเปลือก ๒๕๗ แห่ง จะเห็นได้ว่า การพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรให้สามารถดําเนินธุรกิจอย่างครบวงจรน้ัน นับว่ามี ความสําคัญและเป็นการลงทุนท่ีคุ้มค่า เพื่อให้ เกษตรกรได้มี การรวมกลุ่มอย่างเข้มแข็ง เพิ่มอํานาจในการต่อรองราคา รวมถงึ สามารถทาํ การคา้ ไดด้ ว้ ยตวั เอง เชน่ - การสนับสนุนเงินกู้ดอกเบี้ยต่ํา (ประมาณ ๑%) และ รัฐบาลชดเชยโดยการรับซื้อข้าว จากเกษตรกร เพ่ือพยุงราคา ไม่ให้โรงสีรับซ้ือข้าวในราคาถูกกว่าความเป็นจริงในท้องตลาด จะทําให้รัฐจ่ายเงิน ชดเชยรายได้น้อยลง โดยมีเง่ือนไข ได้แก่ การรับซื้อข้าวตามราคาจริง และรับซื้อข้าวในราคาที่สูง พอสมควร (ราคาตลาดเป้าหมายนําราคาท่ีเหมาะสม) ให้ ลักษณะกู้ยืมซ่ึงไม่เป็นการเพิ่มภาระงบประมาณ แต่จะทําให้
15 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เห็นดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) - การบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ โดยเพ่ิมศักยภาพ เห็นดว้ ย ให้กับสหกรณก์ ารเกษตร เห็นด้วย - พัฒนาธุรกิจข้าวครบวงจร และขยายธุรกิจเพ่ิมเติม เห็นดว้ ย จากการใหก้ นิ อย่างเดยี ว (รับซอื้ / แปรรูป/สง่ ออก) 5. การปรบั ปรงุ กลไกภาครฐั เหน็ ดว้ ย ๓) โครงการธุรกจิ Start up (New Business Model) รองรับยุคดจิ ทิ ลั - ธุรกิจข้าวครบวงจรรูปแบบ Social Enterprise (ทําธุรกิจครบวงจร และเปิดโอกาสให้ เกษตรกรเป็นเจ้าของ รว่ มธุรกจิ ) ๔) โครงการตลาด Niche Market (ตลาดเฉพาะ) ๕) โครงการพฒั นาตลาดขา้ วล่วงหนา้ ๑) ปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ แนวทางการ แก้ปัญหาโครงสร้างข้าวต้องแก้ท้ังระบบ โดยเริ่มต้นจากการ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานรัฐ เกษตรกร และเอกชนผู้ค้าข้าว ซึ่งขาดการเชื่อมโยง แยกยุทธศาสตร์และการดําเนินงานเป็น แบบแยกส่วน ขณะที่หน่วยงานรัฐขาดการบูรณาการ โครงสร้างข้าว เกี่ยวข้องกับหลายกระทรวงทั้งกระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการอุดมศึกษา
16 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เห็นด้วย/ไมเ่ หน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๒) ปฏิรูปกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง (๑) ยกเลิกหรือปรับปรุง เห็นด้วย กฎหมายที่ลา้ สมยั และเปน็ อุปสรรค ต่อการดํารงชีวิตและการ ประกอบอาชีพของประชาชน ให้มีการทบทวนกฎหมายที่ เก่ียวข้องกับโครงสร้าง พ้ืนฐานการผลิต ของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กฎหมายด้านการตลาดและการส่งออกของ กระทรวง พาณิชย์ และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องในเรื่องข้าว (๒) การมีกลไกของภาครัฐในการผลักดันการปฏิรูป ด้านการ บริหารจัดการ/กลไกและเพ่ิมความเข้มแข็งของสถาบัน เกษตรกร เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการยกระดับ รายได้และ เสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของเกษตรกร ซ่ึงจะเป็น
17 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน (เหน็ ดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ๓) ข้อเสนอจัดตั้งกระทรวงการข้าว เพื่อต้องการสร้างกลไก เหน็ ดว้ ย การควบคุมการผลิตและ จําหน่ายข้าวอย่างเป็นระบบ สร้างความ เหน็ ดว้ ย เป็นธรรมระหว่างชาวนาและผู้รับซ้ือข้าว จึงจําเป็นท่ีจะต้องมีการ จัดต้ัง กระทรวงการข้าว ข้ึน เพ่ือเป็นหน่วยงานในการบริหาร จัดการข้าวทั้งประเทศ ทั้งในด้านการผลิตการแปรรูป และ การตลาด เพื่อให้มีศักยภาพในการแข่งขันทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ ตลอดจนดูแลอาชีพชาวนาให้มี สวัสดิการ และจูงใน ใหค้ นรุ่นใหม่หนั มาสนใจในการทําอาชีพชาวนา มวี ตั ถปุ ระสงค์ (๑) เพื่อให้การบริหาร จัดการข้าวครบวงจร ลดช่องว่างของภาคการ ผลิต การแปรรูป และการตลาดให้มีความย่ังยืน (๒) สร้างความ เป็นธรรมให้กับผู้ผลิต (๓) เพื่อแก้ไขปัญหาหน้ีสินของชาวนา (๔) พัฒนาเทคโนโลยีด้านข้าวให้เข้มแข็งและ เป็นหนึ่งในโลกในด้าน ข้าว (๕) เพื่อหวังให้เป็นของขวัญชาวนา และเพื่อท่ีจะดูแลให้ ชาวนาอายุ ๖๐ ปี มบี าํ นาญและสวัสดกิ าร การต้ังกระทรวงการข้าว มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ หาแนวทางในการ ช่วยแก้ไขปัญหาข้าวและชาวนาไทยให้เป็น ระบบ ตลอดจนพัฒนาให้มีความเจริญรุ่งเรือง สามารถแข่งขัน กับ ต่างประเทศได้ มีการกําหนดแนวทางและยุทธศาสตร์การ สร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่ชาวนาและ เกษตรกรอย่างย่ังยืน มีการกําหนดแผนและแนวทาง ยุทธศาสตร์ไว้อย่างรอบด้าน แต่ยังขาดการผลักดัน ให้เกิดผล
18 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพจิ ารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เหน็ ด้วย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) ๑) พัฒนาระบบการสร้างหลักประกันด้านรายได้ของ เหน็ ดว้ ย ชาวนาและเกษตรกรให้มีความมั่นคง และ ให้ครอบคลุม เหน็ ด้วย เกษตรกรทั้งหมด เพ่ือนําไปสู่การปรับโครงสร้างการผลิตอย่าง เห็นดว้ ย ย่ังยืน ควบคู่ไปกับการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต เพ่ือสร้าง ค ว า ม ม่ั น ใ จ กั บ เ ก ษ ต ร ก ร ใ น ร า ย ไ ด้ ขั้ น ต่ํ า ที่ ส า ม า ร ถ ยึ ด การเกษตรเป็นอาชีพได้ ๒) ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเกษตรกร ให้ดีข้ึน โดยพัฒนาระบบสวัสดิการ ให้ครอบคลุมเกษตรกรใน ทุกสาขาอาชีพ และสนับสนุนการแก้ไขปัญหาหน้ีสินเกษตรกร ให้สามารถพึง่ พาตนเอง ไดอ้ ย่างยง่ั ยืน ๓) สร้างแรงจูงใจให้เยาวชน หรือเกษตรกรรุ่นใหม่ และ แรงงานท่ีมีคุณภาพเข้าสู่อาชีพ เกษตรกรรม เพื่อให้มีจิตสํานึก เห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรและวิถีชีวิตครอบครัวท่ีอบอุ่น ดว้ ยการสนบั สนนุ องคค์ วามรู้อย่างครบวงจร ๔) การจัดหาที่ดินทํากิน สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน รวมท้ังสนับสนุนกระบวนการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีแก่อาชีพ เกษตรกรรม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมการพัฒนาภาค เกษตรของเกษตรกรต้นแบบให้ มากขึ้น
19 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน (เหน็ ดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ๕) การพัฒนาความรู้และความสามารถด้านการตลาด เหน็ ดว้ ย และการบริหารจัดการ และการสนับสนุน สินเช่ือเงื่อนไขผ่อน ปรนท่ีจําเป็นต่อการดําเนินงาน ภายใต้ระบบการควบคุม ตรวจสอบที่รัดกุม รวมท้ัง การเช่ือมโยงบทบาทของสถาบัน เกษตรกร เพื่อร่วมวางแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรกรรม ตามพื้นฐานและ ความตอ้ งการของเกษตรกรอยา่ งเป็นระบบ 6.บทสรปุ และข้อเสนอแนะการบูรณาการและการเชอื่ มโยงอย่างเปน็ ระบบเพ่อื ยกระดบั ราคาขา้ ว จากการศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ และการสัมภาษณ์ข้อมูล เหน็ ดว้ ย จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทั้งกระบวนการผลิตข้าวตลอดห่วง โซ่การผลิต โดยแบ่งเนื้อหาเก่ียวกับปัญหากระบวนการผลิต ข้าวทั้งระบบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและ ข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา จากการศึกษาพบว่า ปัญหา ดังกล่าว มีความสลับซับซ้อนมาก เน่ืองจากมีหลายหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องกับห่วงโซ่การผลิตข้าว ประกอบกับการบูรณา การ เช่ือมโยงการทํางานยังมีน้อย ดังน้ัน คณะผู้ศึกษาจึงได้ วเิ คราะห์ปญั หาขา้ วทง้ั ระบบ 6.1 มาตรการแกไ้ ขปญั หาตน้ น้าํ ในระยะสน้ั : การประกนั ราคาอย่าง Smart และ Targeted มาตรการประกันราคานั้นจําเป็นแต่ไม่ย่ังยืนและไม่ เหน็ ด้วย ส่งเสริมให้เกษตรกรพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต อย่างไรก็ ตามการอุดหนุนไม่จําเป็นต้องทําด้านราคา (Price subsidy) เพียงอย่างเดียว แต่สามารถ ทําการอุดหนุนต้นทุน (Cost subsidy) ด้านปัจจัยการผลิตได้ นอกจากน้ีการประกันราคา
20 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพิจารณาหรอื ผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เหน็ ดว้ ย/ไม่เหน็ ด้วย/ความเหมาะสม) 6.2 มาตรการแกไ้ ขปญั หากลางนา้ํ ในระยะสน้ั : การสร้างความเปน็ ธรรมในระบบ การตรวจสอบความชนื้ ของขา้ ว สําหรับมาตรการแก้ไขปัญหาการจัดเก็บหลังการผลิตใน เห็นด้วย ระยะสั้น ซ่ึงเป็นปัญหาท่ีเกี่ยวข้อง กับ โรงสีและพ่อค้าคน กลาง มีแนวทางคือการให้ความเป็นธรรมหรือจัดหามาตรฐาน ในการวัดความช้ืนของการ รับซ้ือข้าว โดยอาจจะให้มีมาตรวัด กลางหรือการวัดความช้ืนต้องได้รับการรองรับจากบุคคลที่ สาม (Third party verification) 6.3 มาตรการแก้ไขปญั หาปลายน้าํ ในระยะสน้ั : การปอ้ งกันตลาดเดมิ และเปดิ ตลาด Niche Market ด้านการส่งออกข้าวของไทยไปยังตลาดส่งออกหลัก เหน็ ดว้ ย ได้แก่ เบนิน ฟิลิปปินส์ จีน และ แอฟริกาใต้ นั้นข้าวไทยครอง ตลาดและสามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ แต่ตลาดเหล่าน้ีเป็น ตลาดข้าวมูลค่าตํ่า โดยมีราคาส่งออกเฉลี่ยเพียง ๓๐๐ - ๕๐๐ เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ดังน้ันไทยจึงควรบุกเบิกตลาดใหม่ใน ประเทศที่มีปริมาณการนําเข้าข้าวสูง และนําเข้าข้าวในราคา สูง เช่น อิหร่าน ซ่ึงมีตลาดนําเข้าข้าวสูงถึง ๑.๖ ล้านตัน และ มีมลู คา่ นําเข้าเฉล่ียมากกว่า ๑,000 เหรยี ญสหรัฐฯ ตอ่ ตัน 6.4 มาตรการแก้ไขปญั หาตน้ น้ําในระยะกลาง : การปรบั พอรต์ ข้าวของประเทศใหส้ อดคล้อง กบั ความต้องการของตลาดโลกและความเปน็ ไปไดใ้ นการเพาะปลกู เพ่ือ
21 ประเดน็ ความเหน็ ตอ่ แนวทาง ผลการพจิ ารณาหรือผลการดาํ เนินงานของหน่วยงาน (เห็นดว้ ย/ไม่เหน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ให้ข้าวไทยบุกเบิกเข้าสู่ตลาด Niche ท่ีมูลค่าสูงมากข้ึน เห็นด้วย ไทยต้องกลับมาปรับพอร์ตข้าว เพ่ือลดปริมาณการปลูกข้าว มูลค่าต่ําและเพิ่มข้าวมูลค่าสูง โดยต้องมีการศึกษาความ เป็นไปได้ทางเทคนิค ของการปรบั พอร์ตข้าวในแต่ละจังหวัด 6.๕ มาตรการแก้ไขปญั หากลางนาํ้ ในระยะกลาง : การปรบั ปรงุ ระบบและเทคโนโลยี การจดั เกบ็ ข้าว ในการแกไ้ ขปญั หาหลังการเก็บเก่ียวในระยะกลาง รัฐบาล เห็นด้วย ควรส่งเสริมหรืออุดหนุน ให้เกษตรกรหรือชุมชนมีศักยภาพท่ี จะจัดเก็บข้าวได้ด้วยตนเองและมีเทคโนโลยีการจัดเก็บข้าวท่ี เหมาะสม เพ่ือใหช้ าวนามอี าํ นาจต่อรองกับพ่อค้าคนกลางและ โรงสีมากขึ้น และมีศักยภาพที่จะจัดเก็บข้าวเอาไว้เพ่ือขาย ใน เวลาท่ีราคาตลาดเหมาะสมได้ นอกจากนี้ การจัดเก็บข้าวควร ใชเ้ ทคโนโลยไี ซโลมากกว่าการใชโ้ กดังเก็บข้าว เพื่อป้องกันการ เน่าเสียของข้าวและเพื่อให้จัดเก็บข้อมูลข้าวในคลังได้อย่าง เปน็ ระบบ 6.6 มาตรการแก้ไขปญั หาปลายนํ้าในระยะกลาง : การทาํ การการตลาดและสร้างแบรนด์ ของขา้ วไทย ประเทศไทยควรมี Thai Rice Council เพ่ือสร้างแบรนด์ เห็นดว้ ย สร้างความต่างให้กับข้าวไทย และทําหน้าท่ีพลิกโฉมข้าวไทย ใ ห้ เ ป ลี่ ย น จ า ก สิ น ค้ า โ ภ ค ภั ณ ฑ์ สู่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ไ ด้ (Decommoditization) โดยทํางานร่วมกับทูตพาณิชย์ท่ัวโลก ในการประสานงานเขา้ กบั วัฒนธรรมและวธิ ีการกนิ ของคนไทย 6.7 มาตรการแกไ้ ขปญั หาตน้ นา้ ในระยะยาว : การส่งเสริมการปลกู ข้าวอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และประณตี
22 ประเดน็ ความเหน็ ต่อแนวทาง ผลการพิจารณาหรือผลการดาํ เนินงานของหนว่ ยงาน (เห็นด้วย/ไมเ่ หน็ ดว้ ย/ความเหมาะสม) ในระยะยาวไทยต้องส่งเสริมประสิทธิภาพและความ เห็นด้วย ประณีตในการเพาะปลูก ด้านแรงงาน และเครื่องจักร โดยใน ด้านแรงงานนไทยต้องส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่ ส่วนในด้าน เคร่ืองจักรน้ัน ไทยควรลด ภาษีการนําเข้าเครื่องจักร การเกษตรซงึ่ สูงถึงร้อยละ ๒๐ - ๓๐ เพ่ือให้เกษตรกรสามารถ เขา้ ถงึ เคร่อื งจกั ร การเกษตรไดม้ ากยงิ่ ขึน้ 6.8 มาตรการแกไ้ ขปัญหากลางน้าํ ในระยะยาว : การปลดลอ็ คขอ้ จํากดั ทางกฎหมายให้ เกษตรกรสามารถรวมตัวกนั เพ่ือสง่ ออกขา้ วได้ ในระยะยาวรัฐบาลควรจะส่งเสริมให้ชาวนาสามารถรวมตัว เหน็ ด้วย กันเพื่อส่งออกข้าวไปขาย ในต่างประเทศได้เองโดยไม่จําเป็นต้อง พ่ึงพาพ่อค้าคนกลางหรือบริษัทส่งออกข้าวขนาดใหญ่ โดยส่งเสริม ให้ชาวนารวมตัวกันส่งออกได้เองน้ันทางภาครัฐต้องปลดล็อค ข้อจํากัดทางกฎหมายท่ีเป็นอุปสรรคต่อ การส่งออกข้าวของ เกษตรกรและผู้ประกอบการรายเล็ก เช่น การให้ผู้ส่งออกข้าว สต็อกข้าว ๕๐๐ ตัน หรือ ขั้นตอนการขออนุญาตส่งออกต่าง ๆ ซ่ึงเม่ือรวมค่าใช้จ่ายแฝงต่าง ๆ แล้วเป็นค่าใช้จ่ายสูงสําหรับ ผู้ประกอบการ รายยอ่ ย สํานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ขา้ ว กรมการขา้ ว (025614463) 13 กมุ ภาพันธ์ 2563 เรยี บเรยี งจากรายงาน เรือ่ ง แนวทางการแกไ้ ขปญั หาราคาพืชผลทางการเกษตรตกตํ่า ของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณษศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ํา สภาผแู้ ทนราษฎร
4''%6'Đ15 B)4'6'6%6' < 'è B/Ĕ68 £·´°Ã¸¾½°»½Ã¸¾ÁÁĿø¾½¾¼¼¸Â¸¾½ '6&6'4 6N đ'4%6\",¡¢å uuy 2018z}wuyu
รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 1
ตราสัญลักษณ์ ตราสัญลักษณ์ส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นดวงตรารูปทรงดอกบัวตูมหรือหยดน�้ำ มีขนาดกว้าง 2 ใน 3 ของความสูงประกอบดว้ ยอณุ าโลมและรศั มโี ดยรอบ ดา้ นล่างเป็นโล่ และแบง่ พืน้ ท่ีเปน็ 3 สว่ น คอื สว่ นบน เปน็ พานรัฐธรรมนญู ส่วนทีส่ อง จะอยู่ด้านล่างขวาของโล่ เป็นรูปตุลแขวนอยู่บนด้ามพระขรรค์ มีธรรมจักรประกอบ อยดู่ ้านหน้า ส่วนที่สาม จะอยู่ด้านล่างซ้ายของโล่ เป็นรูปกงจักร และมีลูกศรกับสายฟ้าไขว้สอดในกงจักร เบื้องล่างของโล่ เป็นริบบิ้นหรือโบรองอยู่ด้านล่าง และบนแถบโบจะมีช่อชัยพฤกษ์ ผูกวางไวบ้ นรบิ บนิ้ ความหมายของตราสัญลักษณ์ อุณาโลม หมายถึง มหาบุรษุ ความย่ิงใหญ่ รัศมี หมายถงึ การแผไ่ พศาล โล่ หมายถงึ การป้องกันอันเป็นหน้าที่พิเศษของงาน ป.ป.ช. ซ่ึงเป็นการป้องกันมิให้ มผี ้กู ระท�ำการทจุ รติ และในโล่ดงั กล่าวไดแ้ บง่ พ้นื ทอี่ อกเปน็ 3 สว่ น คือ 1. พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสดุ ของประเทศเป็นศูนยอ์ �ำนาจรฐั และก่อใหเ้ กดิ มคี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ขึน้ 2. ตลุ หรอื ตาชัง่ และธรรมจักร หมายถึง ความยตุ ิธรรมและคณุ ธรรม 3. กงจกั ร สายฟ้าและลูกศร หมายถงึ ความรวดเร็วในการปราบปรามการทจุ ริต โบ และช่อชัยพฤกษ์ หมายถึง ความมีชัยชนะท่ีม่ันคงตามแนวปณิธานแห่งความตั้งใจ ที่แน่วแน่ และแข็งแกร่งของ ป.ป.ช. ทอดตัววางอยู่บน ความอ่อนโยนทน่ี ุ่มนวลของพื้นฐานองค์กร ความหมายแหง่ สตี ราสัญลกั ษณ์ สีมว่ ง แสดงถึง วันท่กี ฎหมายรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยประกาศใช้ ซงึ่ เป็นวันเสาร์ สีเขียว แสดงถึง วนั ทีพ่ ระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2542 ประกาศใช้ ซึ่งเปน็ วนั พธุ สีทอง แสดงถึง ความเป็นมงคลความรงุ่ เรอื ง ศกั ดศ์ิ รีและความสง่างาม รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 3
คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. คือ ผู้ท่ีได้รับการสรรหาตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตาม ค�ำแนะน�ำของวุฒิสภา และต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ประกอบด้วย ประธานกรรมการ คนหนง่ึ และกรรมการอืน่ อีกแปดคน โดยมีรายนามคณะกรรมการ ป.ป.ช. ปัจจุบนั ดังตอ่ ไปนี้ พลตำ�รวจเอก วชั รพล ประสารราชกจิ (Pol.Gen. Watcharapol Prasarnrajkit) ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ วสิ ยั ทศั น์ในการทำ�งาน “สามารถ สจุ รติ สากล สามัคคี สร้างสรรค”์ การศกึ ษา l ปี 2519 รัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ โรงเรียนนายร้อยตำ� รวจ รุน่ ที่ 29 l ปี 2523 M.S (Criminal Justice) University of Alabama in Birmingham , U.S.A l ปี 2526 Ph.D (Criminology) Florida State University , U.S.A การอบรม l ปี 2541 วิทยาลัยการยุติธรรม ส�ำนักงานศาลยุติธรรม หลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรม ระดบั สูง” รุ่นท่ี 2 l ปี 2543 วิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร หลักสูตร “การปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร” รุน่ ที่ 42 l ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลกั สตู ร “ผบู้ รหิ ารระดบั สูง” รุ่นท่ี 67 l ปี 2550 สถาบันวิทยาการตลาดทนุ หลักสูตร “ผู้บริหารระดบั สงู ” รุ่นท่ี 5 l ปี 2554 สถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง หลักสูตร “การพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง ระดบั สงู ” รุน่ ที่ 3 l ปี 2555 สถาบันวิทยาการประกันภยั ระดบั สูง หลักสตู ร “วิทยาการประกันภยั ระดับสงู ” รุน่ ที่ 2 ตำ�แหนง่ ทีส่ ำ�คญั ในอดตี l ปี 2531 นายเวรอธบิ ดีกรมต�ำรวจ (พล.ต.อ.เภา สารสนิ ) l ปี 2534 - 2535 , ปี 2557 - 2558 รองเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรีฝา่ ยการเมอื ง l ปี 2539 - 2541 ผบู้ งั คับการกองการตา่ งประเทศ/หัวหน้าตำ� รวจสากลไทย l ปี 2546 - 2549 ผบู้ ญั ชาการตำ� รวจปราบปรามยาเสพติด l ปี 2549 - 2550 สมาชิกสภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติ คร้ังท่ี 1 l ปี 2557 - 2558 สมาชิกสภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 2 l ปี 2549 – 2552 ผู้ชว่ ยผูบ้ ัญชาการตำ� รวจแห่งชาติ l ปี 2551 - 2552 โฆษกส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ l ปี 2552 - 2553 ที่ปรกึ ษา (สบ.10) ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ l ปี 2553 - 2557 รองผ้บู ัญชาการตำ� รวจแห่งชาติ l 24 พฤษภาคม – 30 กนั ยายน 2557 รกั ษาราชการแทนผูบ้ ัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ 4 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ
นายปรีชา เลศิ กมลมาศ (Mr. Preecha Lertkamolmart) กรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ วิสัยทัศนใ์ นการทำ�งาน “ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีคุณภาพ ดว้ ยความมุง่ ม่นั ซื่อสัตย์ และเทยี่ งธรรม” การศกึ ษา l ปี 2516 รฐั ศาสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ l ปี 2535 รัฐศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม l ปี 2546 วิทยาลัยการยุติธรรม ส�ำนักงานศาลยุติธรรม หลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสงู ” รนุ่ ท่ี 6 l ปี 2548 สถาบันพระปกเกลา้ หลักสตู ร “ประกาศนียบัตรชนั้ สูง การเมอื งการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สำ� หรับนกั บรหิ ารระดับสูง” รุน่ 8 ตำ�แหน่งทส่ี ำ�คญั ในอดีต l ปี 2545 ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. (นักบรหิ าร 9) ส�ำนักงาน ป.ป.ช. l ปี 2547 รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (นักบรหิ าร 10) ส�ำนักงาน ป.ป.ช. l ปี 2552 เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (นกั บริหาร 11) ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 5
พลตำ�รวจเอก สถาพร หลาวทอง (Pol.Gen. Sataphon Laothong) กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ วิสัยทศั น์ในการทำ�งาน “มุง่ มน่ั และร่วมตอ่ ต้านการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ ในสงั คมไทย” การศึกษา l ปี 2518 รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต โรงเรียนนายรอ้ ยตำ� รวจ l ปี 2520 พฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานบุคคล สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ l ปี 2525 นติ ศิ าสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ การอบรม l ปี 2539 วิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร หลกั สตู ร “การปอ้ งกันราชอาณาจักร” รุน่ ท่ี 39 l ปี 2543 วิทยาลัยการยุติธรรม ส�ำนักงานศาลยุติธรรม หลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรม ระดบั สงู ” รนุ่ ท่ี 4 l ปี 2545 สถาบนั พระปกเกลา้ หลกั สตู ร “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย สำ� หรบั นักบริหารชั้นสูง” รุ่นท่ี 6 l ปี 2554 วิทยาลัยการยุติธรรมทางปกครอง ส�ำนักงานศาลปกครอง หลักสูตร “นักบริหาร การยตุ ธิ รรมทางปกครองระดบั สูง ” รุ่นท่ี 2 l ปี 2559 วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ หลักสูตร “หลักนิติธรรม เพ่อื ประชาธปิ ไตย” รุน่ ท่ี 5 ตำ�แหนง่ ที่สำ�คัญในอดตี l ปี 2518 รองสารวตั รสืบสวนสอบสวน สถานีต�ำรวจนครบาลบางซ่อื กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล l ปี 2530 รองผู้ก�ำกับการ 2 กองบงั คบั การโรงเรียนนายร้อยตำ� รวจ กรมต�ำรวจ l ปี 2533 ผกู้ �ำกบั การ 1 กองบัญชาการศึกษา กรมต�ำรวจ l ปี 2537 ผบู้ ังคับการกองทะเบียนพล กรมต�ำรวจ l ปี 2547 ผูบ้ ญั ชาการกองบญั ชาการศึกษา ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ l ปี 2548 ผู้บัญชาการต�ำรวจภธู รภาค 3 ส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ l ปี 2550 ผู้ชว่ ยผู้บัญชาการต�ำรวจแหง่ ชาติ l ปี 2553 จเรต�ำรวจแห่งชาติ 6 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ
นายณรงค์ รัฐอมฤต (Mr. Narong Rathamarit) กรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ วสิ ยั ทัศนใ์ นการทำ�งาน “การมสี ว่ นร่วมของประชาชน และความโปรง่ ใส ตรวจสอบไดใ้ นภาครัฐ เปน็ หวั ใจสำ� คญั ในการลดปัญหาการทจุ ริตในประเทศไทย” การศกึ ษา l ปี 2519 นิตศิ าสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง l ปี 2557 นิติศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ติมศักด์ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม l ปี 2559 ศลิ ปศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ กติ ติมศกั ดิ์ สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพธนบุรี การอบรม l ปี 2545 สถาบันพระปกเกลา้ หลักสูตร “ประกาศนยี บัตรชัน้ สงู การเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนกั บรหิ ารระดบั สูง” รนุ่ ท่ี 6 l ปี 2553 ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ประกาศนียบตั รช้นั สูง หลกั สตู ร “นกั บริหารยุทธศาสตรก์ ารป้องกัน และปราบปรามการทจุ รติ ” รุ่นท่ี 1 ตำ�แหน่งท่สี ำ�คัญในอดตี l ปี 2543 ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั ตรวจสอบทรัพย์สนิ 4 สำ� นักงาน ป.ป.ช. l ปี 2546 ผู้อำ� นวยการส�ำนกั คดี สำ� นกั งาน ป.ป.ช. l ปี 2550 ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำ� นักงาน ป.ป.ช. (นักบริหาร 9) l ปี 2552 รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำ� นกั งาน ป.ป.ช. (นักบริหาร 10) l ปี 2555 เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ช. (นกั บริหาร 11) รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 7
นางสาวสุภา ปิยะจติ ติ (Miss Supa Piyajitti) กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ วิสัยทศั นใ์ นการทำ�งาน “คดิ เร็ว ทำ� เร็ว รอบคอบ เปน็ ธรรม” การศึกษา l ปี 2519 บญั ชบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ l ปี 2524 นติ ศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ l ปี 2535 รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ l ปี 2558 ศิลปศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิตกิตตมิ ศกั ดิ์ สาขาการบญั ชี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ การอบรม l ปี 2545 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลกั สตู ร “การปอ้ งกันราชอาณาจกั ร” รนุ่ ที่ 45 l ปี 2551 วิทยาลัยการยุติธรรม ส�ำนักงานศาลยุติธรรม หลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรม ระดับสงู ” รุน่ ท่ี 11 l ปี 2553 สถาบนั วิทยาการตลาดทนุ หลกั สตู ร “ผบู้ ริหารระดับสูง” รุ่นท่ี 8 l ปี 2556 วิทยาลัยการยุติธรรมทางปกครอง ส�ำนักงานศาลปกครอง หลักสูตร “นักบริหาร การยุตธิ รรมทางปกครอง ระดับสูง” รนุ่ ที่ 4 l ปี 2557 วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ หลักสูตร “หลักนิติธรรม เพื่อประชาธิปไตย” รนุ่ ที่ 2 ตำ�แหน่งทส่ี ำ�คัญในอดตี l ปี 2540 ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั รัฐวสิ าหกจิ และหลกั ทรพั ยข์ องรัฐ l ปี 2544 รองอธบิ ดกี รมบัญชีกลาง l ปี 2547 ผตู้ รวจราชการกระทรวงการคลงั ระดบั 10 l ปี 2549 รองปลดั กระทรวงการคลงั l ปี 2552 ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ l ปี 2557 รองปลดั กระทรวงการคลงั 8 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ
นายวิทยา อาคมพทิ ักษ์ (Mr. Vittaya Arkompituk) กรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ วิสัยทัศน์ในการทำ�งาน “เมอ่ื มโี อกาสได้ท�ำงาน จงท�ำใหด้ ที ีส่ ุด เพ่ือองคก์ รและแผ่นดิน” การศกึ ษา l ปี 2521 ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขารฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง l ปี 2549 รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยปทุมธานี l ปี 2560 ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ กติ ติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง การอบรม l ปี 2549 ส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ หลักสูตร “การบรหิ ารงานต�ำรวจชนั้ สูง” รนุ่ ที่ 26 l ปี 2553 สถาบันพระปกเกลา้ หลกั สตู ร “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย สำ� หรบั นักบริหารระดับสูง” ร่นุ ที่ 13 l ปี 2556 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. หลักสูตร “นกั บริหารยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระดบั สูง” รนุ่ ที่ 4 l ปี 2556 สถาบนั วิทยาการพลังงาน หลกั สูตร “ผบู้ รหิ ารระดบั สูงด้านวิทยาการพลงั งาน” รนุ่ ที่ 3 l ปี 2560 ส�ำนักงานศาลรฐั ธรรมนูญ หลกั สตู ร “หลักนติ ิธรรมเพ่อื ประชาธิปไตย” รนุ่ ท่ี 3 l ปี 2560 ส�ำนักงานศาลยตุ ธิ รรม หลกั สตู ร “ผบู้ ริหารกระบวนการยตุ ธิ รรมระดบั สูง” รนุ่ ที่ 21 ตำ�แหนง่ ท่สี ำ�คญั ในอดีต l ปี 2551 ผอู้ �ำนวยการสำ� นักการข่าวและกจิ การพเิ ศษ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. l ปี 2554 ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. สำ� นักงาน ป.ป.ช. (นกั บรหิ าร 9) l ปี 2556 รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. (นกั บรหิ าร 10) l ปี 2557 กรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ (คตง.) สำ� นกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ 9
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 688
Pages: