Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

Published by agenda.ebook, 2020-11-24 16:21:00

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 2-3 ธันวาคม 2563

Search

Read the Text Version

นายกติ ติ ล้มิ พงษ์ นายทนิ กร เขมะวชิ านรุ ตั น์ ผู้ตรวจราชการสำ� นักงาน ป.ป.ช. ผู้ตรวจราชการส�ำนักงาน ป.ป.ช. นายสิทธิพงษ์ ปึงวงศานรุ กั ษ์ นายพิเศษ นาคะพนั ธ์ุ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. นายชาตรี ทองสาริ นายพงศ์เอก วจิ ิตรกูล ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผูช้ ่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ฑ รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ

นายสุรพงษ์ อินทรถาวร นายอภินนั ทน์ ไพบูลย์ ผชู้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. นายสุทธนิ ันท์ สาริมาน นายมนต์ชยั วสุวตั ผูช้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. นายสกุ จิ บุญไชย นายนติ พิ ันธ์ุ ประจวบเหมาะ ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ฒ

พลตำ� รวจตรี อรุณ อมรวิรยิ ะกุล นายสาโรจน์ พงึ รำ� พรรณ นายมงคล สารสิ ุต ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 นายประทปี จูฑะศร พนั ต�ำรวจตรี ชัชนพ ผดุงกาญจน์ นายสมบุญ หาญเลศิ ฤทธ์ิ ผ้ชู ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภาค 4 ภาค 5 ภาค 6 นายพเิ ชฐ พมุ่ พันธ์ นายสมพล กาญจนโสภณ นายสน่ัน ทองจีน ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผ้ชู ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภาค 7 ภาค 8 ภาค 9 ณ รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

ค�ำนำ� คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จัดตั้งข้ึน ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ต่อเนื่องมาจนถึงรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีเจตนารมณ์เพื่อให้เป็นองค์กรท่ีท�ำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ไดบ้ ัญญตั ิ ใหส้ ำ� นักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (สำ� นกั งาน ป.ป.ช.) เป็นสว่ นราชการและมฐี านะเป็นนติ ิบคุ คล รับผดิ ชอบขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอี ำ� นาจหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ งานธุรการและด�ำเนินการ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ประสานงาน ให้ความร่วมมือ ส่งเสริมและสนับสนุน การปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประสานความร่วมมอื ระหว่างประเทศ รวบรวม วิเคราะห์ ศกึ ษาวิจัย และเผยแพรข่ ้อมูลต่าง ๆ เกยี่ วกบั การทุจริตประพฤตมิ ิชอบ และจดั ทำ� ระบบสารสนเทศข้อมลู เก่ียวกับเรือ่ งท่ีอยู่ ในระหวา่ งการดำ� เนินการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพ่อื ใหก้ รรมการ ป.ป.ช. สามารถตรวจสอบขอ้ มลู ได้ตลอดเวลา พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 มาตรา 29 ได้บัญญัติให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่พร้อมข้อสังเกต ต่อรัฐสภาทุกปี โดยประธานกรรมการ หรือกรรมการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย มาแถลงรายงาน ดงั กลา่ วต่อรฐั สภา และให้ประกาศรายงานดงั กล่าวในราชกจิ จานุเบกษาและเปดิ เผยตอ่ สาธารณะ รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ส�ำคัญ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ตามหน้าท่ีและอ�ำนาจที่กฎหมายบัญญัติ มสี าระส�ำคัญประกอบด้วย ทีม่ าและบทบัญญัตขิ องกฎหมาย งบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และสมั ฤทธผิ ลของการดำ� เนนิ งานครอบคลมุ ตามหน้าทีแ่ ละอ�ำนาจของสำ� นักงาน ป.ป.ช. ตามทก่ี ฎหมายกำ� หนด ไดแ้ ก่ ภารกจิ ด้านปราบปรามการทจุ ริต ภารกิจด้านป้องกนั การทจุ ริต ภารกิจดา้ นตรวจสอบทรัพย์สินและหน้ีสิน ภารกิจด้านสนับสนุน และสัมฤทธิผลของการด�ำเนินงานตามระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ เพื่อเสนอมาตรการและข้อเสนอแนะด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตต่อคณะรัฐมนตรี และรัฐสภา เพอื่ การบูรณาการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ รปู ธรรม รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ ด



สารบัญ หนา้ ค ตราสญั ลักษณ ์ ง-ฏ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาต ิ ฐ-ณ ผบู้ ริหารส�ำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ ค�ำน�ำ ด บทสรุปผูบ้ รหิ าร 1 บทนำ� 12 ทม่ี าและบทบัญญัติของกฎหมาย 12 - 21 หนา้ ที่และอำ� นาจ และโครงสรา้ งองคก์ ร 22 - 24 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และยุทธศาสตรข์ ององคก์ ร 25 - 26 ภาพรวมด้านทรพั ยากรบุคคลและงบประมาณ ความเช่ือมโยงผลการดำ� เนินงานของสำ� นกั งาน ป.ป.ช. ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ูปประเทศ 27 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ รวมท้งั การทำ� งานเชงิ บูรณาการกับภาคีเครือข่ายทเี่ กีย่ วข้อง 28 - 35 ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ภาพรวมการเปรยี บเทยี บงบประมาณระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กับปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 38 1. งบประมาณที่สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ไดร้ ับจดั สรรจำ� แนกรายการคา่ ใชจ้ ่าย 2. ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ 38 ผลการดำ�เนนิ งานตามหน้าท่แี ละอำ�นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. 41 - 137 สมั ฤทธิผลของการด�ำเนนิ งานในภาพรวมครอบคลุมการด�ำเนินงานตามอ�ำนาจหน้าท่ี 138 - 166 ตามที่กฎหมายกำ� หนด 167 - 174 1. ด้านปราบปรามการทจุ ริต 175 - 178 2. ดา้ นปอ้ งกนั การทจุ รติ 179 - 184 3. ดา้ นตรวจสอบทรัพยส์ นิ และหนส้ี ิน 4. ดา้ นกฎหมาย 5. ดา้ นการพัฒนาบุคลากร รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ ถ

สารบญั (ต่อ) 6. ดา้ นการพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มภายในองคก์ ร หน้า 185 - 188 7. ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 189 - 194 8. ด้านการวจิ ยั 195 - 209 9. ด้านการตา่ งประเทศ 210 - 212 10. กองทนุ ป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (กองทนุ ป.ป.ช.) 213 - 216 11. ดา้ นส่อื สารองค์กร 217 - 220 สมั ฤทธผิ ลของการด�ำเนนิ งานตามระบบการประเมนิ ผลภาคราชการแบบบรู ณาการ 221 - 224 ภาคผนวก 226 - 246 ภาพกิจกรรม 247 - 351 แผนงานบูรณาการตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 252 - 261 ตารางสรุปผลการด�ำเนนิ การตามมาตรา 94 แหง่ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู 262 - 263 ว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 งบแสดงสถานะการเงนิ 264 งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงนิ 265 - 278 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน รายงานรายไดแ้ ผน่ ดนิ 279 ท รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ

บทสรปุ ผบู้ ริหาร รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นรายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562 จัดท�ำข้ึนโดยอาศัยอ�ำนาจ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 29 ท่ีก�ำหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าท่ีพร้อมข้อสังเกตต่อรัฐสภาทุกปี โดยประธานกรรมการ หรือกรรมการท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย มาแถลงรายงานดังกล่าวต่อรัฐสภา และให้ประกาศรายงานดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษาและเปิดเผยต่อสาธารณะ โดยมีผลการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญ ดังนี้ ผลความสำ�เรจ็ ของการดำ�เนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปราม การทจุ ริตแห่งชาติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ด�ำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการ/ กจิ กรรมภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติวา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพ่ือประเมินผลส�ำเร็จของการด�ำเนินโครงการในมิติประสิทธิภาพ มิติประสิทธิผล และมิติผลกระทบ และความคุ้มค่าของโครงการท้ังทางตรงและทางอ้อมท่ีมีต่อการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ไปสู่การบรรลุเป้าประสงค์ ท่ีก�ำหนดไว้ โดยประเมินโครงการ/กิจกรรม จ�ำนวน 134 โครงการ วงเงินงบประมาณ 376,973,227 บาท จากโครงการ/กิจกรรมท่ไี ด้รบั จัดสรรงบประมาณของส�ำนกั งาน ป.ป.ช. จำ� นวน 510 โครงการ วงเงนิ งบประมาณ รวมทงั้ สิ้น 639,372,251 บาท จากการประเมินความส�ำเร็จของโครงการต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 พบว่า ในการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมของส�ำนักงาน ป.ป.ช. มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ปานกลาง คะแนนเฉล่ีย อยู่ที่ 3.16 คะแนน โดยมีความส�ำเร็จสูงสุดในมิติการประเมินต้นทาง คะแนนเฉล่ีย 3.91 คะแนน รองลงมา คอื มิติประสทิ ธผิ ล คะแนนเฉลีย่ 3.48 คะแนน และต่�ำสดุ คือ มิตปิ ระสทิ ธิภาพ คะแนนเฉลี่ย 2.75 คะแนน รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ 1

ข้อสรุปส�ำคัญจากการติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 พบว่า การออกแบบโครงการที่ดี จะต้องเร่ิมจากการวางแผนโครงการ การก�ำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม และการประเมินผลท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 และนอกจากนี้การออกแบบโครงการ ของหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้สามารถบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ในการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยแล้ว ควรน�ำประเด็นข้อค�ำถามที่แหล่งข้อมูลใช้ ในการค�ำนวณดัชนีการรับรู้การทุจริต ทั้ง 9 แหล่ง ท่ีองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติใช้เป็นฐานการประเมิน ในการค�ำนวณคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทย โดยต้องออกแบบโครงการภายใต้ภารกิจ หน่วยงานทสี่ ามารถตอบสนองตอ่ ยทุ ธศาสตร์และแกป้ ญั หาการทุจรติ ในสง่ิ ทเี่ ป็นจุดเนน้ ของข้อคำ� ถาม ผลการดำ�เนินงานตามหนา้ ทีแ่ ละอำ�นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. 1. ผลงานดา้ นปราบปรามการทจุ ริต ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดพ้ ิจารณารบั เรอื่ งกล่าวหารอ้ งเรียนและตรวจสอบ การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบเจา้ พนกั งานของรัฐทุกระดบั ตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการปอ้ งกัน และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 โดยมีผลงานสำ� คัญดา้ นการปราบปรามการทจุ รติ ดังนี้ n การตรวจรับคำ� กลา่ วหารอ้ งเรียนการทุจริต และประพฤติมชิ อบ สถิติค�ำกล่าวหาร้องเรียนท่ีเข้าสู่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 10,382 เร่ือง โดยประเภท ของค�ำกล่าวหารอ้ งเรียนท่เี ขา้ มามากท่ีสดุ 3 ลำ� ดบั แรก ได้แก่ หนงั สือรอ้ งเรียน จำ� นวน 4,855 เรอื่ ง (รอ้ ยละ 46.76) รองลงมาเปน็ บัตรสนเท่ห์ จ�ำนวน 2,632 เรอื่ ง (ร้อยละ 25.35) และหนังสอื ราชการ จำ� นวน 2,143 เรอ่ื ง (ร้อยละ 20.64) มรี ายละเอยี ด ดังน้ี ประเภทคำ�กลา่ วหา จำ�นวนคำ�กล่าวหา รอ้ ยละ (เร่อื ง) (%) หนังสือร้องเรียน 4,855 46.76 บตั รสนเทห่ ์ 2,632 25.35 หนังสือราชการ 2,143 20.64 ร้องเรียนผ่านเวบ็ ไซต์ 529 5.10 รอ้ งเรียนดว้ ยวาจา 184 1.77 เหตคุ วรสงสยั (ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.) 30 0.29 แจง้ เบาะแส 9 0.09 10,382 100.00 รวม ท้ังน้ี ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้แบ่งประเภทค�ำกล่าวหาออกเป็น 2 กลุ่ม โดยพิจารณาจากความครบถ้วน ตามมาตรา 60 แหง่ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ดงั นี้ 2 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

กลุ่มท่ี 1 เป็นกลุ่มมีรายละเอียดค�ำกล่าวหาครบถ้วนตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2561 จำ� นวน 7,212 เร่อื ง คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้พจิ ารณาผลการตรวจรับคำ� กลา่ วหาและมีมติแลว้ ท้งั สนิ้ 7,212 เรื่อง (ร้อยละ 100) ประเภทคำ�กล่าวหา จำ�นวนคำ�กล่าวหา ผลการตรวจรบั รอ้ ยละ (เรอื่ ง) (เรื่องเสรจ็ ) (%) หนังสือร้องเรยี น 4,855 4,855 100.00 หนงั สือราชการ 2,143 2,143 100.00 รอ้ งเรียนด้วยวาจา 184 184 100.00 เหตุควรสงสัย 30 30 100.00 7,212 7,212 100.00 รวม กล่มุ ที่ 2 เปน็ กล่มุ ท่มี รี ายละเอียดค�ำกลา่ วหาไมค่ รบถ้วนตามมาตรา 60 แห่งพระราชบญั ญตั ิประกอบ รัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 จำ� นวน 3,170 เรือ่ ง ซ่งึ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้พจิ ารณาผลการตรวจรบั คำ� กล่าวหาและมีมติแลว้ ท้งั สิน้ 1,761 เรอื่ ง (ร้อยละ 55.55) ประเภทคำ�กลา่ วหา จำ�นวนคำ�กล่าวหา ผลการตรวจรบั ร้อยละ (เรอื่ ง) (เรอ่ื งเสรจ็ ) (%) บัตรสนเทห่ ์ 2,632 1,438 54.64 รอ้ งเรยี นผ่านเวบ็ ไซต์ 529 320 60.49 แจ้งเบาะแส 9 3 33.33 3,170 1,761 55.55 รวม n การตรวจสอบเบื้องตน้ และการไตส่ วนข้อเทจ็ จริง ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มีปริมาณเรื่องกลา่ วหาคงเหลอื ยกมา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 จ�ำนวน 16,232 เร่อื ง มเี รือ่ งกลา่ วหารบั ใหม่ทัง้ ส้ิน จ�ำนวน 3,285 เร่ือง โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำ� เนนิ การเสรจ็ ในช้นั การตรวจสอบเบอื้ งตน้ และในช้ันการไตส่ วนข้อเท็จจรงิ รวมทง้ั สิ้น 5,893 เร่อื ง ดังน้ี 1. เร่ืองกล่าวหาที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จในชั้นการตรวจสอบเบ้ืองต้น จ�ำนวน 5,470 เรื่อง แบ่งเป็นเร่ืองกล่าวหาท่ีด�ำเนินการเสร็จส้ินแล้ว จ�ำนวน 4,744 เรื่อง และเรื่องกล่าวหาท่ีรับไว้ด�ำเนินการไต่สวน ขอ้ เทจ็ จริง จำ� นวน 726 เรอ่ื ง 2. เรื่องกล่าวหาท่ีด�ำเนินการเสร็จในชั้นการไต่สวนข้อเท็จจริง จ�ำนวน 423 เร่ือง ท้ังน้ี จากการไต่สวนข้อเท็จจริงและวินิจฉัย คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิดทางวินัยและหรืออาญา และฐานร่�ำรวยผิดปกติ จ�ำนวนทั้งสิ้น 300 เรื่อง 3. คงเหลือเรื่องกล่าวหาท่ีอยู่ระหว่างด�ำเนินการตรวจสอบเบ้ืองต้นและการไต่สวนข้อเท็จจริง จำ� นวน 14,350 เรือ่ ง รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3

เรอื่ งตรวจสอบเบอื้ งตน้ จ�ำนวน เร่อื งไตส่ วนขอ้ เท็จจรงิ จ�ำนวน 1. ไมร่ บั /ไมย่ กขึน้ พิจารณา/ไม่รับไว้พจิ ารณาตามมตคิ ณะ 2,106 เร่อื ง 1. ให้ข้อกล่าวหาตกไป/ไมย่ กขน้ึ พิจารณา/ยตุ ิการด�ำเนินคดี/ 105 เรื่อง อนุกรรมการกล่นั กรองฯ (กรรมการ ป.ป.ช. ทกี่ �ำกบั ดูแล) จ�ำหนา่ ยเร่อื งออกจากสารบบ 2. ไมร่ บั ไวไ้ ต่สวนขอ้ เทจ็ จริง 1,255 เรอ่ื ง 1.1 ไต่สวนแลว้ ขอ้ กล่าวหาไมม่ มี ลู (ให้ข้อกลา่ วหาตกไป) 95 เร่ือง 3. ยุตกิ ารสอบสวน 44 เรื่อง 1.2 ไมย่ กขนึ้ พจิ ารณา/ยุตกิ ารด�ำเนนิ คดี 10 เรือ่ ง 4. รับไว้ไต่สวนข้อเทจ็ จรงิ 726 เรื่อง 2. สง่ เรอ่ื งกลับไปยังพนกั งานสอบสวนมาตรา 89 (กฎหมายเก่า) - เรอื่ ง 5. สง่ เร่ืองใหผ้ ู้บังคบั บญั ชาฯ/พนักงานสอบสวนด�ำเนนิ การ 3 เรือ่ ง 3. ส่งเรอื่ งให้ผบู้ งั คบั บัญชาฯ/พนกั งานสอบสวนดำ� เนินการ - เรอื่ ง ตามมาตรา 89/2 (กฎหมายเกา่ ) ตามมาตรา 89/2 (กฎหมายเกา่ ) 6. ส่งเร่ืองใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ท. ด�ำเนนิ การตามมาตรา 62 354 เร่ือง 4. สง่ เรื่องให้คณะกรรมการ ป.ป.ท. ด�ำเนินการตามมาตรา 62 1 เรือ่ ง (กฎหมายใหม่) (กฎหมายใหม)่ 7. ส่งเร่อื งกลับไปยงั พนักงานสอบสวนตามมาตรา 61 28 เรอ่ื ง 5. สง่ เรอ่ื งใหผ้ ้บู งั คบั บัญชาฯ ตามมาตรา 64 (กฎหมายใหม่) 14 เร่อื ง (กฎหมายใหม่) 8. สง่ เรื่องใหพ้ นกั งานสอบสวนและผบู้ งั คับบัญชาฯ ด�ำเนิน 453 เร่ือง 6. สง่ เรือ่ งให้พนกั งานสอบสวนและผบู้ งั คับบญั ชาฯ ดำ� เนนิ การ 2 เรอ่ื ง การตามมาตรา 63, 64 (กฎหมายใหม่) ตามมาตรา 63, 64 (กฎหมายใหม)่ 9. ส่งเร่ืองกลับไปยงั พนักงานสอบสวนและส่งให้ผู้บงั คับบญั ชาฯ 6 เร่ือง 7. กลา่ วโทษตอ่ พนักงานสอบสวนตามพระราชบัญญัติว่าดว้ ย 1 เรอ่ื ง ด�ำเนนิ การตามมาตรา 61, 64 (กฎหมายใหม่) ความผดิ เก่ยี วกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2542 10. ส่งเรอ่ื งให้พนกั งานสอบสวนตามมาตรา 63 (กฎหมายใหม)่ 171 เรื่อง 8. เร่ืองทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ช้ีมลู ความผดิ จ�ำแนกเป็น 300 เรอ่ื ง 11. สง่ เร่ืองให้ผ้บู ังคบั บัญชาฯ ตามมาตรา 64 (กฎหมายใหม่) 8.1 ชี้มลู รำ่� รวยผดิ ปกติ 1 เรอ่ื ง 12. สง่ เร่ืองกลับไปยังพนกั งานสอบสวนและส่งให้พนักงาน 315 เรอื่ ง 8.2 ช้ีมูลความผดิ ทางอาญา 32 เรื่อง 35 เรื่อง สอบสวนด�ำเนินการตามมาตรา 61, 63 (กฎหมายใหม)่ 1 เรอ่ื ง 8.3 ชม้ี ลู ความผดิ ทางวินัย และส่งใหผ้ ู้บงั คับบญั ชาฯ ด�ำเนินการตามมาตรา 64 8.4 ช้มี ูลความผดิ ทางวินัยและอาญา 232 เรือ่ ง (กฎหมายใหม่) 13. กลา่ วโทษต่อพนักงานสอบสวนตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วย 8 เร่ือง ความผดิ เกยี่ วกับการเสนอราคาต่อหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 รวม 5,470 เรอื่ ง รวม 423 เรอ่ื ง ทง้ั น้ี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ด�ำเนนิ การไตส่ วนขอ้ เทจ็ จริงแลว้ มมี ตวิ ่าการกระท�ำเปน็ ความผดิ ทางวนิ ัย อาญา วนิ ยั และอาญา รำ�่ รวยผิดปกติ ค�ำรอ้ งขอถอดถอน มีมลู ความผิด ทเี่ ปน็ เร่ืองสำ� คัญ จ�ำนวน 29 เรื่อง ดังน้ี (ซ่งึ ปรากฏรายละเอียดในภารกจิ ดา้ นปราบปรามการทจุ ริต) • เรื่องกลา่ วหาผู้ดำ� รงต�ำแหนง่ ทางการเมือง จ�ำนวน 12 เร่อื ง • เรื่องกล่าวหาเจ้าหน้าทขี่ องรฐั จ�ำนวน 15 เรอ่ื ง • เรอ่ื งกลา่ วหาเจา้ หน้าทรี่ ฐั วสิ าหกจิ จ�ำนวน 2 เรอื่ ง 2. ผลงานด้านปอ้ งกนั การทจุ ริต ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เปน็ ปแี ห่งการเปลย่ี นแปลงครั้งสำ� คัญของการพัฒนางานดา้ นการป้องกัน การทุจริต ทั้งด้านกฎหมาย ด้านโครงสร้างองค์กร และด้านยุทธศาสตร์ของประเทศ เน่ืองจากมีการประกาศใช้ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องหลายฉบับ มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ 23 ดา้ น คณะกรรมการ ป.ป.ช. และส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลัก ในการขับเคลือ่ นงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศจึงได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและพัฒนาการท�ำงาน ในหลายมิติ โดยเฉพาะภารกิจงานด้านการป้องกันการทุจริตที่มีการพัฒนาให้มีความเป็นรูปธรรมและชัดเจน เพื่อรองรับกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ซึ่งการด�ำเนินนโยบายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะใช้ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นแผนหลักในการขบั เคลอ่ื นงาน ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ มาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมเี ปา้ หมายส�ำคญั คอื ในปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยต้องมี อันดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) อยู่ในระดับ 1 ใน 54 4 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ

และ/หรอื ไดค้ ะแนนไม่ต�่ำกวา่ 50 คะแนน ซงึ่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มกี ารด�ำเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ภายใต้ยทุ ธศาสตรท์ ส่ี ำ� คัญ ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญ ในกระบวนการการปรับภาพสังคมให้เกิดภาวะที่ “ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยเริ่มต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลา ทางสังคมในทุกระดับช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัย เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต เป็นการด�ำเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนท่ีท�ำหน้าที่ในการกล่อมเกลาทางสังคม ให้มีความเป็นพลเมืองที่ดี ท่ีมีจิตสาธารณะ จิตอาสา และเสริมสร้างให้ทุกภาคส่วนมีพฤติกรรมท่ีไม่ยอมรับ และต่อต้านการทจุ ริตในทกุ รูปแบบ โดยมโี ครงการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ทส่ี ำ� คญั คอื โครงการ STRONG - จติ พอเพยี งต้านทุจรติ เปน็ โครงการท่ีเน้นกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ในการป้องกันและป้องปรามการทุจริตที่มีความเส่ียงหรือเกิดข้ึนในพื้นท่ี โดยในปี พ.ศ. 2562 ได้ด�ำเนินการ ใน 76 จังหวัดและกรุงเทพมหานคร โดยจัดต้ังชมรม STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตของทุกจังหวัด ข้ึน สมาชิกในชมรม STRONG ประกอบด้วย ประชาชน และผู้ทม่ี ีเจตจำ� นงตา้ นทจุ รติ เริม่ ตน้ ที่ 100 คน เพ่ือช่วยกนั สอดสอ่ งและแจ้งเบาะแส (Watch & Voice) ปัจจุบันมจี ำ� นวนประชาชนในเครือขา่ ยชมรม STRONG ทั่วประเทศ 58,582 คน ครอบคลุมทุกกลุ่มอายุ และอาชีพ โดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด เป็นฝ่ายอ�ำนวย ความสะดวกในการด�ำเนินการของสมาชิก ในชมรม STRONG ภายใต้งบประมาณท่ีได้รับการจัดสรร จากสำ� นักงาน ป.ป.ช. ผลงานส�ำคัญของการด�ำเนินโครงการ STRONG - จิตพอเพียงต้านทุจริต ได้สร้างความต่ืนรู้ และไมเ่ พิกเฉยตอ่ สถานการณก์ ารทจุ ริต อาทเิ ช่น อาหารกลางวนั ของนกั เรียนทไี่ มม่ คี ุณภาพ (ขนมจนี คลกุ นำ้� ปลา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี) เปน็ ตน้ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือผลักดันหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการน�ำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพ่ือใช้กับ กลุ่มเป้าหมาย จ�ำนวน 38,773 แห่ง โดยผ่านหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ท้ัง 5 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต), หลักสตู รอดุ มศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”), หลักสูตรกลุ่มทหารและต�ำรวจ (ตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและต�ำรวจ), หลักสูตรวิทยากร ป.ป.ช./บคุ ลากรภาครฐั และรัฐวิสาหกจิ (สรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ� การเปล่ียนแปลงสู่สงั คมท่ไี ม่ทนต่อ การทจุ ริต), หลกั สตู รโคช้ (โค้ชเพอื่ การรคู้ ิดตา้ นทุจริต) โครงการปลกู ฝงั วิธคี ิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตวั และผลประโยชน์ส่วนรวม ในปี พ.ศ. 2562 ได้ดำ� เนินการจัดอบรมใหแ้ กผ่ เู้ ข้ารบั การอบรมวทิ ยากรตวั คูณ จ�ำนวนท้ังส้นิ 874 คน เพอ่ื ปลกู ฝงั วธิ ีคิดแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม และมอบหมายให้บุคลากรที่ผ่านการอบรม เป็นผู้ขับเคล่ือน การขยายองค์ความรใู้ หแ้ กป่ ระชาชนในทกุ ช่วงวยั ในสังคมหลากหลายมิติ ให้สามารถน�ำองคค์ วามร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ กับการพัฒนาหน่วยงาน เสริมสร้างระบบธรรมาภิบาล สร้างจิตส�ำนึกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อย่างเข็มแข็ง และเกิดจิตส�ำนึกความอายต่อการท�ำทุจริตและสร้างพฤติกรรมท่ีไม่ทนต่อการทุจริตให้เกิดขึ้น ในสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ ที่มาจากการแสดงออกซ่ึงเจตจ�ำนงทางการเมืองของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายท่ีไม่ยอมรับและไม่อดทนต่อ การทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ ความต้องการให้การบริหารราชการแผ่นดนิ ของรฐั บาลและการปฏิบัติงานของเจ้าหนา้ ทรี่ ัฐ เป็นไปด้วยความโปร่งใสปราศจากการทุจริตประพฤติมิชอบ โครงการและการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ท่ีส�ำคัญ ไดแ้ ก่ โครงการสง่ เสริมการแสดงเจตจำ� นงทางการเมืองในการต่อตา้ นการทุจรติ โครงการส่งเสริมทอ้ งถ่นิ ปลอดทจุ ริต และโครงการก�ำกับติดตามยทุ ธศาสตร์ชาติ “ยกระดบั เจตจำ� นงทางการเมอื งในการตอ่ ต้านการทจุ ริต” รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 5

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย การทุจริตเชิงนโยบาย (Policy Corruption) เป็นปัญหาที่พบมากในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลเสียต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างมหาศาล ซง่ึ จากผลการวิจัย พบวา่ การทจุ ริตเชิงนโยบายมักเกิดจากการใช้ช่องทางกฎหมายเขา้ แสวงหาประโยชน์ส่วนตน โดยพบต้ังแต่ขั้นตอนการก�ำหนดนโยบายของพรรคการเมือง การใช้อ�ำนาจอย่างไม่โปร่งใส ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จึงจัดท�ำเกณฑ์ชี้วัดความเส่ียงต่อการทุจริตเชิงนโยบาย ซึ่งมีลักษณะเป็นเคร่ืองมือในการป้องกันการทุจริต ท่ีมีลักษณะของการต้ังประเด็นค�ำถามต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริต ได้แก่ การประเมินความเส่ียง ต่อการทุจริต ความเสี่ยงของนโยบาย การประเมินและบริหารจัดการความเส่ียงต่อการทุจริตในนโยบาย การเสรมิ สร้างความโปร่งใสในการพัฒนานโยบาย และการส่ือสารการบริหารจัดการความเสย่ี งในการน�ำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส�ำนักงาน ป.ป.ช. ยังได้จัดท�ำมาตรการ ความเห็น ข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันการทุจริต ตามมาตรา 32 แหง่ พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 โดยเสนอมาตรการปอ้ งกันการทจุ ริตตอ่ คณะรฐั มนตรี ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 : พฒั นาระบบปอ้ งกนั การทุจริตเชิงรกุ ยุทธศาสตรน์ ม้ี งุ่ เน้นการพัฒนากลไกและ กระบวนงานด้านการป้องกันการทุจริตของประเทศไทย ให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เพื่อลด โอกาสการทุจรติ หรือท�ำใหก้ ารทจุ ริตเกิดยากข้ึนหรอื ไม่เกิดขึน้ โดยอาศัยทั้งการก�ำหนดกลไกดา้ นกฎหมาย กลไก ทางการบริหาร และกลไกอื่น ๆ ตลอดจนเสริมสร้างการปฏิบัติงานของหน่วยงานท้ังภาครัฐ และเอกชนให้มี ธรรมาภิบาลมากยิ่งข้ึน โครงการที่ส�ำคัญ คือ โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐที่เข้ารับการประเมิน 8,299 หน่วยงาน ผลการประเมิน ITA ในภาพรวมของประเทศไทย คะแนนเฉล่ยี 66.74 คะแนน (ระดบั C) มหี นว่ ยงานท่ีผา่ นเกณฑ์ 85 คะแนนข้นึ ไป 970 หนว่ ยงาน คิดเปน็ ร้อยละ 11.69 ของหนว่ ยงานท้งั หมดทีเ่ ขา้ รับการประเมิน รวมทัง้ ได้มีการจดั ท�ำโครงการ ส่งเสรมิ มาตรฐานคณุ ธรรมและความโปร่งใสของหนว่ ยงานภาคธุรกจิ เอกชน โดยศึกษาทบทวนกรอบการประเมิน จากท้ังต่างประเทศและในประเทศเพ่ือพัฒนามาตรวัดข้ึนมาใหม่ ชื่อว่า “เครื่องมือตรวจสอบระดับภูมิคุ้มกัน การทุจรติ ขององคก์ ร” (Verified Private Company for Anti - Corruption (VPAC) สำ� หรบั น�ำไปใช้กบั บริษัท ท่ีเป็นคู่ค้า คู่สัญญา หรือได้รับสัมปทานจากหน่วยงานภาครัฐในโครงการขนาดใหญ่/มีมูลค่าสูง/จ�ำนวนมาก หรือจดทะเบยี นในตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย โครงการที่เกี่ยวข้องในการป้องกันการทุจริตเชิงรุกอีกหลากหลาย เช่น โครงการแลกเปลี่ยน องค์ความรู้เพอ่ื ต่อตา้ นการทจุ ริตระหว่างหนว่ ยงาน องค์กร ผู้ประกอบการภาคธุรกจิ เอกชน โครงการมอบรางวัล องค์กรโปร่งใส (NACC Integrity Awards) โครงการบูรณาการประสานความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน ป.ป.ช. และหอการค้าร่วมต่างประเทศในประเทศไทย เป็นต้น พร้อมท้ังให้ความส�ำคัญต่อการขับเคล่ือนมาตรการฯ ทไ่ี ดเ้ สนอไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ใหเ้ กิดการน�ำไปส่กู ารปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การตดิ ตามผลการด�ำเนินการ ตามมาตรการป้องกันการทุจริตในการเรียกรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ตอบแทนเพื่อโอกาสในการเข้าเรียน ในสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การติดตามผลการด�ำเนินการตามมาตรการ ป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณาบนทางสาธารณะ และการติดตาม ผลการด�ำเนินการตามข้อสังเกตของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เก่ียวกับการน�ำรถยนต์ส่วนกลางไปใช้เสมือนเป็น รถประจำ� ต�ำแหนง่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต มุ่งเน้นการปรับปรุง และพัฒนากลไกและกระบวนการต่าง ๆ ของการปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้สามารถด�ำเนินการได้อย่าง รวดเร็ว มุง่ เน้นการเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการตรากฎหมาย (Legislation) การบังคบั ใชก้ ฎหมาย (Enforcement) การตัดสินคดีและลงโทษผู้กระท�ำผิด (Judiciary) การบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ในกระบวนการ ปราบปรามการทุจริต และมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารทท่ี ันสมัยในการพฒั นากลไก การดำ� เนนิ งาน 6 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยได้จัดท�ำโครงการเสริมสร้างทักษะเทคนิคเฉพาะด้านสายงานปราบปรามการทุจริต ของส�ำนักงาน ป.ป.ช. โดยวิธีการพี่สอนน้อง (Coaching) เพ่ือเพ่ิมสมรรถนะ องค์ความรู้เชิงสหวิทยาการ และทักษะที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงานด้านการไต่สวนให้แก่เจ้าหน้าที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด และโครงการอบรมการสืบสวนสอบสวนคดีเก่ียวกับการทุจริตคอร์รัปชัน เพ่ือเสริมสร้างองค์ความรู้ การสืบสวน สอบสวนคดีเกี่ยวกับการทุจริตให้กับพนักงานสอบสวน รวมท้ังด�ำเนินโครงการก�ำกับ ติดตาม โครงการตาม ยุทธศาสตร์ชาติ “ปฏริ ปู กลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ ริต” และถอดบทเรยี นการด�ำเนินงานมาใช้ ในการปรับปรุงและพฒั นาโครงการท่จี ะเกิดขึน้ ในอนาคต ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 : ยกระดบั คะแนนดัชนกี ารรับรกู้ ารทจุ ริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย ดชั นกี ารรบั ร้กู ารทุจรติ (Corruption Perceptions Index : CPI) หรือ CPI คือ ดชั นที ่สี ะทอ้ นภาพลักษณ์ การทุจริตคอร์รัปชันของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งมีความส�ำคัญในการท่ีนักลงทุนประเมินความเส่ียงการทุจริต ในการเข้ามาลงทุนในแต่ละประเทศ ส�ำหรับประเทศไทย CPI มีความส�ำคัญเป็นอย่างย่ิง โดยถูกน�ำมาเป็น เป้าหมายของแผน/ยุทธศาสตร์ของประเทศไทย ซ่ึงในการจัดท�ำดัชนีการรับรู้การทุจริตขององค์กรเพื่อความโปร่งใส นานาชาติ ได้รวบรวมขอ้ มลู ด้านการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั จากฐานข้อมูลท่ีเป็นการจดั อันดบั หรอื ดัชนีชวี้ ัด ซง่ึ จดั ท�ำขึน้ โดยหนว่ ยงานทนี่ า่ เชื่อถือตา่ ง ๆ ทัว่ โลกซ่งึ เรยี กวา่ “แหล่งขอ้ มลู ” จำ� นวน 13 แหล่งขอ้ มลู สำ� หรับประเทศไทย ในปี 2562 องค์กรเพ่อื ความโปรง่ ใสนานาชาตคิ ำ� นวณดชั นี CPI จาก 9 แหลง่ ขอ้ มลู โดยในปี 2562 ประเทศไทย ไดค้ ะแนน 36 จาก 100 คะแนน อยูใ่ นลำ� ดบั ที่ 101 จากจ�ำนวน 180 ประเทศ การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย เป็นการก�ำหนดยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานด้านความโปร่งใสและการจัดการ การยกระดับค่าดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ประเด็นการประเมินและวิธีการ ตามแตล่ ะแหลง่ ขอ้ มูล และเร่งรัด ก�ำกับ ตดิ ตามให้หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งปฏบิ ัติหรือปรับปรงุ การท�ำงาน รวมไปถึง การบรู ณาการการท�ำงานรว่ มกันระหว่างภาครัฐ หนว่ ยงานในกระบวนการยตุ ิธรรม ภาคเอกชน และต่างประเทศ ทั้งน้ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้จัดท�ำข้อเสนอแนะเพ่ือยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ไปยงั คณะรฐั มนตรี เพ่อื พิจารณาตามนัยมาตรา 32 แหง่ พระราชบัญญตั ปิ ระกอบ รัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 3. ผลงานดา้ นตรวจสอบทรพั ย์สนิ และหนส้ี ิน ผลการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหน้ีสินของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองระดับชาติ ระดบั ทอ้ งถน่ิ และเจา้ หน้าทขี่ องรฐั รวมท้ังสิน้ 8,219 บญั ชี ดงั น้ี 1. บัญชีคา้ งสะสม 14,376 บัญชี 2. บญั ชรี ับใหม ่ 10,031 บัญชี รวมทั้งสน้ิ 24,407 บญั ชี 3. บญั ชที ต่ี รวจแลว้ เสร็จ (คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติแลว้ ) 8,219 บญั ชี (1) ตรวจสอบปกต ิ 7,837 บัญชี (2) ตรวจสอบเพอื่ ยนื ยันข้อมลู 337 เรอ่ื ง (3) ตรวจสอบเชิงลึก 45 เรือ่ ง 4. คงเหลอื 16,188 บญั ชี รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 7

เรือ่ งทีส่ ่งศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผู้ด�ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื งวนิ จิ ฉัยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จำ� นวน 47 เร่ือง จำ� แนกเปน็ เร่อื งไมย่ ่ืนบญั ชี จ�ำนวน 3 เร่ือง ย่ืนบญั ชีเท็จ จ�ำนวน 43 บัญชี ทรัพยส์ นิ เพิ่มขึ้นผิดปกติ หรอื รำ่� รวยผิดปกติ จำ� นวน 1 เรอ่ื ง โดยมีมูลคา่ ทรัพยส์ นิ ท่ีรอ้ งขอใหต้ กเป็นของแผ่นดิน เป็นเงิน 216,062,819.54 บาท คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด นายพนม ศรศิลป์ ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ กรณที รพั ย์เพ่มิ ข้นึ ผิดปกติหรือร�่ำรวยผดิ ปกติ จำ� นวน 1 เรอื่ ง ค�ำพพิ ากษาให้ทรัพย์สนิ ตกเป็นของแผ่นดิน จ�ำนวน 2 ราย คือ 1. พันตรี วีระวฒุ ิ วจั นะพุกกะ ต�ำแหนง่ ผูช้ ่วยเลขานกุ ารรฐั มนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ 2. นางระพิพรรณ พงศ์เรอื งรอง ตำ� แหนง่ สมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎร 4. ผลงานดา้ นกฎหมาย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดจ้ ัดทำ� อนุบัญญตั ิต่าง ๆ เพือ่ ให้การบังคับใช้ กฎหมายมีประสิทธิภาพ เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม แล้วเสร็จจ�ำนวนท้ังสิ้น 40 เร่ือง แยกเป็น ประเภท ดงั นี้ 1) ดา้ นปราบปรามการทจุ ริต จ�ำนวน 4 เรือ่ ง 2) ด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน จำ� นวน 14 เรอ่ื ง 3) ด้านปอ้ งกนั การทจุ ริต จำ� นวน 1 เรือ่ ง 4) ด้านการบริหารงานทัว่ ไป จ�ำนวน 6 เรอื่ ง 5) ดา้ นบรหิ ารงานบุคคล จ�ำนวน 15 เรอ่ื ง 5. ผลงานด้านการพัฒนาบคุ ลากร ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ด�ำเนินการพัฒนาบุคลากรท้ังภายในและภายนอกด้วยรูปแบบการพัฒนา ทหี่ ลากหลาย อาทิเช่น การฝึกอบรม การสมั มนา การใหท้ นุ การศกึ ษา การศกึ ษาดูงาน ฯลฯ ผลการดำ� เนินการ ด้านดงั กล่าว สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ได้พฒั นาบคุ ลากรไปแลว้ ทั้งสิ้น 59,307 คน แบ่งเปน็ บคุ ลากรภายใน ซงึ่ เปน็ การพัฒนา บุคลากรตามสายงาน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติงาน จ�ำนวน 2,197 คน และ บคุ ลากรภายนอก ซ่งึ เป็นการพัฒนาดว้ ยการฝกึ อบรม/สมั มนา และการพัฒนาบุคลากรภายนอกในรปู แบบอ่นื ๆ จ�ำนวน 57,110 คน 6. ผลงานด้านการพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มภายในองค์กร ทรัพยากรบุคคลถือเป็นหัวใจสำ� คญั ของการพฒั นาองคก์ ร ดังนน้ั การสร้างสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ที่ดีให้แก่บุคลากรจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้จัดให้มี “กองทุนสวัสดิการส�ำนักงาน ป.ป.ช.” เพอื่ ส่งเสรมิ ให้ทรัพยากรบคุ คลสามารถดำ� เนินงานตามภารกจิ หลกั ขององค์กรไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดให้มี สวัสดิการต่าง ๆ ส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เช่น การจัดให้มีการตรวจสุขภาพประจ�ำปี จัดท�ำประกัน อบุ ัติเหตุกลุ่มให้กบั เจ้าหนา้ ท่ีสำ� นกั งาน ป.ป.ช. จดั กจิ กรรมมอบทุนการศกึ ษา จดั กจิ กรรมเตน้ แอโรบิคและโยคะ ฯลฯ รวมทั้งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีนโยบายในส่วนของการพัฒนาองค์กร ให้มีการก่อสร้างอาคารที่ท�ำการถาวรส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดพร้อมที่พักอาศัยให้ครบทั้ง 76 จังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพล สนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของส่วนปฏิบัติการในพื้นที่ รองรับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี สร้างขวัญก�ำลังใจให้แก่เจ้าหน้าท่ีมีที่พักอาศัย อย่างเหมาะสมและมน่ั คงปลอดภัยเปน็ สวสั ดิการใหแ้ กข่ ้าราชการ 8 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ

7. ผลงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ได้พฒั นาปรับปรงุ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือขับเคลือ่ นไปสกู่ ารทำ� งาน แบบ Digital Platform ตามนโยบายของรัฐบาลท่ีจะก้าวไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 และมุ่งเน้นการบูรณาการข้อมูล กับหน่วยงานรฐั และสถาบันการเงิน เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการดำ� เนนิ งานของสำ� นักงาน ป.ป.ช. และพัฒนา ระบบเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลในเรื่องร้องเรียน และน�ำมา พัฒนาต่อยอดเป็นระบบฐานข้อมูลคดีทุจริตโดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลกันด้วยเทคโนโลยี Web Service พร้อมท้ังได้ด�ำเนินการปรับปรุงระบบเปิดเผยข้อมูล ด้านคดีทุจริตและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน รวมท้ังผลการตรวจสอบบัญชีให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 เพ่ือให้ประชาชน สามารถติดตามผลการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ และมีการพัฒนาระบบสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือใช้ ประโยชน์ในการบริหารจัดการส�ำนักงาน ป.ป.ช. ให้มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ ดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ 8. ผลงานดา้ นการวิจัย สำ� นักงาน ป.ป.ช. ดำ� เนินการวิจัยและพฒั นางานวิชาการเพอื่ ภารกิจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ซึ่งมีท้ังการสนับสนุนทุนวิจัยแก่บุคคลภายนอกให้ท�ำการศึกษาวิจัยในโครงการท่ีมีผลกระทบ ในวงกว้าง และเจ้าหนา้ ที่ของสำ� นกั งาน ป.ป.ช. ด�ำเนินการวิจยั เอง เพื่อใหม้ ีองคค์ วามรู้และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การปฏิบัติในการแก้ปัญหาการด�ำเนินงานในการป้องปรามการทุจริต และพัฒนางานของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ให้มี ประสทิ ธิภาพมากข้ึน โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ไดม้ ีการด�ำเนินโครงการวจิ ยั แล้วเสร็จ จ�ำนวน 7 เรอ่ื ง 9. ผลงานดา้ นการต่างประเทศ การประสานงานและการดำ� เนนิ คดีทจุ รติ ระหว่างประเทศ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ใหค้ วามสำ� คัญ เป็นอย่างย่ิงตอ่ การแก้ไขปัญหาคดีทจุ รติ ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะคดสี ินบนข้ามชาติ ซง่ึ เปน็ คดีที่มีความส�ำคัญ เน่ืองจากลักษณะการกระท�ำความผิดมีความซับซ้อน มีมูลค่าความเสียหายมาก และด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ที่มีความก้าวหน้า ท�ำให้มีการยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินไปยังต่างประเทศได้อย่างรวดเร็ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงมุ่งเน้นการติดตามเอาทรัพย์สินของผู้กระท�ำความผิดกลับคืนสู่ประเทศไทยควบคู่ไปกับการน�ำตัวผู้กระท�ำ ความผิดมาลงโทษ เพื่อไม่ให้เป็นเย่ียงอย่างในการทุจริต โดยการประสานความร่วมมือทางคดีกับหน่วยงาน ที่เกย่ี วขอ้ ง ท้ังในประเทศและต่างประเทศ และการแลกเปลยี่ นขอ้ มูลทางการขา่ ว โดยมกี ารบูรณาการการท�ำงาน ร่วมกันกับหน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศไทยผ่านคณะกรรมการประสานและเร่งรัดการด�ำเนินคดีทุจริตระหว่าง ประเทศ ซ่ึงประกอบดว้ ยผ้แู ทนจากหลายหน่วยงาน เชน่ ส�ำนกั งานอัยการสูงสุด และส�ำนกั งาน ปปง. เป็นต้น 10. ผลงานกองทุนปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ (กองทุน ป.ป.ช.) กองทุน ป.ป.ช. จัดต้ังข้ึนตามมาตรา 162 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ก�ำหนดให้จัดตั้งกองทุนป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาตขิ น้ึ ในสำ� นกั งาน ป.ป.ช. เรยี กโดยยอ่ ว่า “กองทุน ป.ป.ช.” ปจั จุบันสำ� นักงาน ป.ป.ช. ไดป้ ระกาศใช้ ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติว่าด้วยกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ พ.ศ. 2562 เมื่อวนั ที่ 8 กุมภาพนั ธ์ 2562 และได้ดำ� เนินการสรรหา/แต่งตัง้ คณะกรรมการกองทุน ป.ป.ช. รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 9

ได้ครบองคป์ ระกอบเรียบร้อยแล้ว พรอ้ มท้งั ไดม้ ีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และวธิ ปี ฏบิ ตั เิ กีย่ วกับการบรหิ าร และการจัดการกองทุน ป.ป.ช. และการใชจ้ ่ายเงินกองทุน ป.ป.ช. 11. ผลงานด้านสอ่ื สารองคก์ ร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ใหค้ วามสำ� คญั อย่างมากในการร่วมสร้างสังคมท่ีไมท่ น ต่อการทุจริต จึงได้ปรับบริบทในการส่ือสารให้มีความหลากหลาย และเท่าทันความเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล เพ่ือสร้างกระแสสังคมให้มีความตื่นตัวในการไม่ยอม ไม่ทน ไม่เฉยต่อการทุจริตในทุกรูปแบบมุ่งการส่ือสาร ภายใต้แนวคดิ “Zero Tolerance คนไทยไมท่ นตอ่ การทุจรติ ” โดยเนน้ เน้ือหาการสือ่ สาร ดงั นี้ (1) ปลกู ฝัง วางรากฐานทางความคิดพน้ื ฐานของประชาชนในการตอ่ ต้านการทุจริต (2) ป้องกัน สง่ เสรมิ คา่ นยิ มทถี่ ูกตอ้ งและมาตรการตอ่ ต้านการทุจรติ (3) ปราบปราม เสรมิ พลงั การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนและบรู ณาการทุกภาคส่วนเพอ่ื รว่ มกนั ต่อตา้ นการทจุ รติ (4) สร้างวัฒนธรรมสุจริตในสังคมไทยให้ยั่งยืน โดยปลูกจิตส�ำนึกความซ่ือสัตย์ สุจริต ไม่นิ่งเฉย หากพบเหน็ การทจุ รติ รกั ษาคนดี และส่งเสรมิ ยกยอ่ งคนดี เปิดพืน้ ที่ใหค้ นดมี ที ี่ยืนในสังคมอยา่ งภาคภูมิใจ สมั ฤทธผิ ลของการดำ�เนินงานตามระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับองค์กรที่ 3.4427 คะแนน ซึง่ กรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการระดับองคก์ รน้ี พจิ ารณาใน 4 มิติ ประกอบดว้ ย มิติท่ี 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ โดยวัดจากความส�ำเร็จของความร่วมมือการยกระดับ ดัชนีชี้วัดการรับรู้การทุจริต (CPI) และความส�ำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 และแผนงานบรู ณาการ มติ ทิ ี่ 2 ดา้ นคุณภาพของการตอบสนองตอ่ ผมู้ สี ่วนได้เสีย โดยวดั จากความเชื่อมน่ั ตอ่ ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. มติ ิที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ โดยวัดจากผลติ ภาพของการตรวจสอบและไต่สวน และผลิตภาพของการตรวจสอบทรัพยส์ ิน มติ ทิ ่ี 4 ด้านการพัฒนาองค์กร โดยวัดจากความส�ำเร็จของการตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ความส�ำเร็จของการบูรณาการภารกิจ ดา้ นการป้องกันการทุจรติ และความสำ� เร็จของการบริหารความเส่ยี งองค์กร จากกรอบการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการระดบั องค์กรทั้ง 4 มติ ิทกี่ ล่าวมาข้างตน้ สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ได้รบั การประเมนิ ผลคะแนนในแตล่ ะมิติ ดังนี้ มติ ทิ ่ี ดา้ นการประเมิน น้�ำหนกั (รอ้ ยละ) คะแนน 1 ประสิทธิผลตามแผนยทุ ธศาสตร์ 40 4.2918 2 คณุ ภาพของการตอบสนองตอ่ ผู้มสี ว่ นไดเ้ สีย 10 1.1687 3 ประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั ริ าชการ 30 2.5588 4 การพัฒนาองค์กร 20 4.2071 100 3.4427 ผลการประเมนิ ในภาพรวม 10 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ

บทน�ำ ◆ ท่ีมาและบทบญั ญัติของกฎหมาย ◆ หนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจ และโครงสรา้ งองค์กร ◆ วิสัยทศั น์ พันธกจิ และยุทธศาสตร์ขององค์กร ◆ ภาพรวมดา้ นทรพั ยากรบคุ คลและงบประมาณ ◆ ความเชอื่ มโยงผลการด�ำเนนิ งานของสำ� นกั งาน ป.ป.ช. ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทง้ั การทำ� งานเชิงบูรณาการกับภาคเี ครือข่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ◆ ยุทธศาสตร์ชาติวา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564)

บทน�ำ ท่ีมาและบทบญั ญตั ิของกฎหมาย รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 234 (4) บัญญตั ิใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าท่ีและอ�ำนาจอน่ื ทบ่ี ัญญัติไว้ในรฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2561 มาตรา 29 บัญญัติใหเ้ ป็นหน้าท่ีและอ�ำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. “ในการรายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี พรอ้ มขอ้ สงั เกตตอ่ รัฐสภาทกุ ป”ี ท้ังน้ี ให้ประธานกรรมการ หรือกรรมการทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย มาแถลงรายงานดังกล่าวตอ่ รฐั สภา และใหป้ ระกาศรายงานดังกลา่ วในราชกจิ จานุเบกษาและเปดิ เผยต่อสาธารณะ หน้าทแ่ี ละอำ�นาจ และโครงสร้างองค์กร หนา้ ท่ีและอ�ำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 มาตรา 235 และมาตรา 144 บญั ญัติให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าท่แี ละอำ� นาจดงั ต่อไปน้ี มาตรา 234 (1) ไต่สวนและมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ใดมีพฤติการณ์ร่�ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าท่ี หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อ�ำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง เพ่ือด�ำเนินการต่อไปตามรัฐธรรมนูญ หรือตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ (2) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่�ำรวยผิดปกติ กระท�ำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือ กระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม เพ่ือด�ำเนินการต่อไป ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต (3) ก�ำหนดให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และเจ้าหน้าท่ีของรัฐย่ืนบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยัง ไม่บรรลุนิติภาวะ รวมท้ังตรวจสอบและเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหน้ีสินของบุคคลดังกล่าว ท้ังนี้ ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต (4) หน้าท่แี ละอ�ำนาจอ่ืนทีบ่ ญั ญัตไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมาย 12 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม (1) (2) และ (3) ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจรติ แหง่ ชาตทิ จ่ี ะต้องจดั ใหม้ ีมาตรการหรือแนวทางทจ่ี ะทำ� ให้การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีมีประสิทธภิ าพ เกิดความรวดเรว็ สุจริต และเท่ียงธรรม ในกรณีจ�ำเป็นจะมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐท่ีมีหน้าที่และอ�ำนาจ เก่ียวข้องกับ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตด�ำเนินการแทนในเร่ืองที่มิใช่เป็นความผิดร้ายแรง หรือที่เป็นการกระท�ำ ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐบางระดับหรือก�ำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีของหน่วยธุรการของคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้ด�ำเนินการสอบสวนหรือไต่สวนเบื้องต้น ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีบญั ญัติไว้ในพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ กไ็ ด้ มาตรา 235 ภายใตบ้ งั คบั มาตรา 236 ในกรณีท่มี เี หตอุ ันควรสงสัยหรือมกี ารกล่าวหาวา่ ผ้ดู �ำรงตำ� แหน่ง ทางการเมืองเฉพาะที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ใดมีพฤติการณ์ ตามมาตรา 234 (1) ใหค้ ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติไต่สวนข้อเทจ็ จรงิ และหากมมี ติ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เห็นว่าผู้นั้นมีพฤติการณ์หรือกระท�ำความผิด ตามท่ีไตส่ วนใหด้ ำ� เนนิ การดังต่อไปนี้ (1) ถา้ เปน็ กรณีฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างรา้ ยแรง ใหเ้ สนอเรอื่ ง ต่อศาลฎีกา เพื่อวินิจฉัย ท้ังน้ี ให้น�ำความในมาตรา 226 วรรคเจ็ด มาใช้บังคับแก่การพิจารณาพิพากษาของศาลฎีกา โดยอนโุ ลม (2) กรณอี ืน่ นอกจาก (1) ให้ส่งสำ� นวนการไตส่ วนไปยงั อยั การสงู สดุ เพ่ือดำ� เนินการฟ้องคดี ตอ่ ศาลฎกี า แผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง หรือด�ำเนินการอื่นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ การไต่สวนข้อเท็จจริงและมีมติตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริต เมื่อศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองประทับรับฟ้องให้ผู้ถูกกล่าวหา หยุดปฏิบัติหน้าท่ีจนกว่าจะมีค�ำพิพากษา เว้นแต่ศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมืองจะมคี �ำสงั่ เปน็ อย่างอืน่ ในกรณีท่ศี าลฎีกาหรือศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผู้ด�ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมือง มีค�ำพิพากษาว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์หรือกระท�ำความผิดตามที่ถูกกล่าวหาแล้วแต่กรณีให้ผู้ต้องค�ำพิพากษาน้ัน พ้นจากต�ำแหน่งนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าท่ี และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ังของผู้นั้นและจะเพิกถอนสิทธิ เลอื กต้ังมีกำ� หนดเวลาไม่เกนิ สบิ ปดี ว้ ยหรือไมก่ ็ได้ ผูใ้ ดถูกเพกิ ถอนสทิ ธิสมคั รรับเลอื กตั้งไมว่ า่ ในกรณใี ด ผู้นน้ั ไมม่ ีสทิ ธสิ มัครรบั เลือกต้งั หรือสมคั รรบั เลือก เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ินตลอดไป และไม่มีสิทธิ ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมอื งใด ๆ ในกรณีท่ีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองพิพากษาว่าผู้ถูกกล่าวหามีความผิด ฐานร�่ำรวยผิดปกติหรือทุจริตต่อหน้าที่ ให้ริบทรัพย์สินท่ีผู้น้ันได้มาจากการกระท�ำความผิด รวมทั้งบรรดาทรัพย์สิน หรือประโยชนอ์ ื่นใดทไี่ ดม้ าแทนทรพั ยส์ นิ นัน้ ตกเปน็ ของแผ่นดิน การพิจารณาของศาลฎีกาและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ให้น�ำส�ำนวน การไต่สวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นหลักในการพิจารณา และเพื่อประโยชน์ แหง่ ความยตุ ิธรรม ใหศ้ าลมอี ำ� นาจไต่สวนขอ้ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานเพ่มิ เติมได้ ให้น�ำมาตราน้ีมาใช้บังคับแก่กรณีที่บุคคลตามมาตรา 234 (3) จงใจไม่ย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินหรือหน้ีสินอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ และมพี ฤติการณ์อันควรเชือ่ ได้ว่ามีเจตนาไมแ่ สดงทีม่ าแหง่ ทรัพย์สินหรือหนีส้ ินนั้นด้วยโดยอนุโลม รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ 13

มาตรา 144 ในการพจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจำ� ปงี บประมาณ ร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายเพมิ่ เติม และรา่ งพระราชบญั ญัตโิ อนงบประมาณรายจ่าย สมาชกิ สภา ผู้แทนราษฎรจะแปรญัตติ เปล่ียนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมรายการหรือจ�ำนวนในรายการมิได้ แต่อาจแปรญัตติในทางลดหรือตัดทอนรายจ่าย ซึ่งมใิ ช่รายจา่ ยตามข้อผูกพนั อย่างใดอยา่ งหนงึ่ ดงั ต่อไปนี้ (1) เงนิ ส่งใชต้ ้นเงินกู้ (2) ดอกเบย้ี เงินกู้ (3) เงนิ ท่ีก�ำหนดใหจ้ ่ายตามกฎหมาย ในการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือคณะกรรมาธิการ การเสนอ การแปรญัตติ หรือ การกระท�ำด้วยประการใด ๆ ท่ีมีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการมีส่วนไม่ว่า โดยทางตรงหรือทางออ้ มในการใช้งบประมาณรายจ่าย จะกระทำ� มไิ ด้ ในกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจ�ำนวน สมาชิกท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่ของแต่ละสภา เห็นว่ามีการกระท�ำท่ีฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคสองให้เสนอความเห็น ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา และศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับแต่ วันที่ได้รับความเห็นดังกล่าว ในกรณีท่ีศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามีการกระท�ำที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคสอง ให้การเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทำ� ดงั กล่าวเป็นอันสิน้ ผล ถ้าผกู้ ระทำ� การดงั กลา่ วเป็นสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร หรอื สมาชิกวฒุ สิ ภา ให้ผู้กระท�ำการนน้ั ส้นิ สดุ สมาชกิ ภาพนับแตว่ นั ทศ่ี าลรฐั ธรรมนูญมีค�ำวนิ ิจฉยั และใหเ้ พิกถอน สิทธิสมัครรับเลือกต้ังของผู้นั้น แต่ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้กระท�ำการหรืออนุมัติให้กระท�ำการหรือรู้ว่า มีการกระท�ำดังกล่าวแล้วแต่มิได้สั่งยับยั้ง ให้คณะรัฐมนตรีพ้นจากต�ำแหน่งทั้งคณะนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญ มีค�ำวินิจฉัย และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของรัฐมนตรีท่ีพ้นจากต�ำแหน่งนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตน มิไดอ้ ยู่ในท่ปี ระชมุ ในขณะทม่ี มี ติ และให้ผกู้ ระท�ำการดังกล่าวตอ้ งรบั ผิดชดใชเ้ งนิ นนั้ คืนพร้อมดว้ ยดอกเบ้ีย เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดจัดท�ำโครงการหรืออนุมัติหรือจัดสรรเงินงบประมาณโดยรู้ว่ามีการด�ำเนินการ อันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ถ้าได้บันทึกข้อโต้แย้งไว้เป็นหนังสือหรือมีหนังสือแจ้ง ให้คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาตทิ ราบ ใหพ้ ้นจากความรับผิด การเรียกเงินคืนตามวรรคสามหรือวรรคส่ี ให้กระท�ำได้ภายในย่ีสิบปีนับแต่วันท่ีมีการจัดสรร งบประมาณน้นั ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้รับแจ้งตามวรรคสี่ให้คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติด�ำเนินการสอบสวนเป็นทางลับโดยพลัน หากเห็นว่ากรณีมีมูลให้เสนอ ความเหน็ ตอ่ ศาลรัฐธรรมนญู เพอื่ ดำ� เนนิ การตอ่ ไปตามวรรคสาม และไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใด คณะกรรมการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตแิ ละศาลรัฐธรรมนูญหรอื บคุ คลใดจะเปิดเผยขอ้ มูลเกีย่ วกับผแู้ จง้ มิได้ 14 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 28 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 35 มาตรา 88 และมาตรา 138 บัญญัตใิ ห้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นา้ ท่ีและอำ� นาจดงั ต่อไปนี้ มาตรา 28 (1) ไต่สวนและมีความเห็นกรณีมีการกล่าวหาผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผ้ดู ำ� รงต�ำแหนง่ ในองคก์ รอสิ ระ ผู้ใดมพี ฤติการณ์ร�่ำรวยผดิ ปกติ ทจุ รติ ต่อหนา้ ท่ี หรือจงใจปฏบิ ตั ิหน้าทีห่ รือใช้ อ�ำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม อย่างรา้ ยแรง (2) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร�่ำรวยผิดปกติ กระท�ำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรอื กระทำ� ความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ที่ราชการ หรอื ความผิดตอ่ ต�ำแหนง่ หน้าที่ในการยตุ ิธรรม (3) ก�ำหนดให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รวมทั้ง ตรวจสอบและเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สนิ และหนส้ี นิ ของบคุ คลดงั กล่าว (4) ไต่สวนเพื่อด�ำเนินคดีในฐานความผิดอื่นท่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีก�ำหนด หรอื ท่ีมกี ฎหมายก�ำหนดใหอ้ ยู่ในหนา้ ทีแ่ ละอำ� นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (5) หน้าท่ีและอ�ำนาจอื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี หรอื กฎหมายอ่ืน ในการด�ำเนินการตาม (4) ในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะด�ำเนินการเอง หรือมอบหมายให้หน่วยงานที่มีหน้าที่และอ�ำนาจในการด�ำเนินการ เปน็ ผู้ดำ� เนนิ การก็ได้ มาตรา 32 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าท่ีและอ�ำนาจเสนอมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะ ตอ่ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือองคก์ รอยั การในเรือ่ งดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ปรับปรุงการปฏบิ ัติราชการ หรือวางแผนงานโครงการของสว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ หรือหนว่ ยงาน ของรัฐ เพื่อป้องกันหรือปราบปรามการทุจริต การกระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือการกระท�ำ ความผิดต่อต�ำแหนง่ หนา้ ท่ใี นการยตุ ธิ รรม (2) จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ท้งั ในภาครัฐและภาคเอกชนอยา่ งเขม้ งวด (3) เสนอแนะให้มีการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมาตรการใดท่ีเป็นช่องทาง ให้มีการทจุ รติ หรอื ประพฤตมิ ชิ อบ หรือเป็นเหตุให้เจ้าหนา้ ที่ของรัฐไม่อาจปฏบิ ตั ิหนา้ ทีใ่ ห้เกิดผลดตี อ่ ราชการได้ ในการจดั ท�ำมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะตามวรรคหนงึ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจจดั ให้มี การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะในเรื่องที่กระทบต่อประโยชน์สาธารณะก็ได้ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด เมื่อองค์กรตามวรรคหน่ึงได้รับแจ้งมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้วหากเป็นกรณีที่ไม่อาจด�ำเนินการได้ ให้แจ้งปัญหาและอุปสรรคต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบต่อไป ทั้งน้ี ไมเ่ กินเกา้ สบิ วันนับแต่ไดร้ บั แจ้งจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาตรา 33 เพ่ือให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนดมาตรการและกลไกท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินการ ในเรือ่ งดงั ตอ่ ไปน้ี รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 15

(1) การส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้ีเบาะแส โดยได้รับความคุ้มครอง รวมท้ังจัดให้มีช่องทางการแจ้งข้อมูล เบาะแส หรือพยานหลักฐาน ส�ำหรับการกระท�ำ ความผิดที่อยู่ในหน้าที่และอ�ำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยช่องทางดังกล่าวต้องมีวิธีการท่ีง่าย สะดวก ไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก และไม่ก่อผลร้ายกับผู้แจ้งดังกล่าว รวมท้ังด�ำเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ตลอดจน เสริมสรา้ งทัศนคติและคา่ นิยมเกี่ยวกบั ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต (2) ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนหน่วยงานของรัฐในการจัดให้มีกลไกการแจ้งเตือนกรณีพบว่า มีพฤติการณ์ท่ีส่อวา่ อาจมีการทจุ รติ ในหน่วยงานของตน (3) ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับอันตรายของการทุจริต รวมถึงค่านิยมท่ีเน้นการพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ในสังคม เพื่อให้เกิดการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ อยา่ งกวา้ งขวาง (4) รับฟังข้อเสนอแนะจากประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐเพื่อน�ำไปปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสำ� นกั งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้ึน ในการดำ� เนินการตาม (1) (2) และ (3) ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการขน้ึ คณะหนงึ่ เพือ่ ให้คำ� เสนอแนะ ชว่ ยเหลือ และร่วมมือกนั ด�ำเนนิ การ คณะกรรมการตามวรรคสองให้ประกอบด้วย ประธานกรรมการเปน็ ประธาน กรรมการท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายจ�ำนวนหนึ่งคน เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ประธาน กรรมการการอุดมศึกษา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ เป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง ผู้แทนจากภาคเอกชน และภาคประชาสังคมท่ีเก่ียวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตไม่เกินส่ีคน และผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน สามคนซ่ึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่งต้ังเป็นกรรมการ การแต่งต้ังผู้แทนจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม และผู้ทรงคุณวุฒิให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด โดยให้ผู้แทนจากภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และผทู้ รงคณุ วุฒมิ วี าระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละสามปี ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยให้เลขาธิการแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ไม่น้อยกว่าสองคน ทั้งนี้ คณะกรรมการดังกล่าวอาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือในการปฏิบัติหน้าที่ หรอื ปฏบิ ัติการใด ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย มาตรา 35 ในกรณีท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ มีการดำ� เนินการอย่างใดในหนว่ ยงาน ของรัฐอันอาจน�ำไปสู่การทุจริตหรอื ส่อว่าอาจมกี ารทุจริต ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำ� เนินการตรวจสอบโดยเรว็ ถ้าผลการตรวจสอบปรากฏว่ากรณีมีเหตุอันควรระมัดระวัง คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมีมติด้วยคะแนนเสียง ไม่นอ้ ยกวา่ สองในสามของกรรมการทง้ั หมดเท่าทม่ี อี ยมู่ ีหนังสือแจง้ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดงั กลา่ วและคณะรฐั มนตรี ทราบ พร้อมด้วยขอ้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไข หน่วยงานของรัฐและคณะรัฐมนตรีมีหน้าที่ต้องด�ำเนินการตามควรแก่กรณี เพื่อป้องกันมิให้เกิดการทุจริต หรือเกิดความเสียหายต่อประโยชน์ของรัฐหรือประชาชนโดยเร็วและถ้าไม่เก่ียวกับความลับของทางราชการ ให้เปดิ เผยใหป้ ระชาชนทราบเปน็ การท่ัวไป มาตรา 88 เมื่อความปรากฏตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือเม่อื คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดร้ บั แจ้งจาก เจ้าหน้าที่ของรัฐตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 144 วรรคสี่ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ด�ำเนินการ สอบสวนเปน็ ทางลับโดยพลนั และไม่ว่าในกรณีใดผ้ใู ดจะเปดิ เผยข้อมลู เกย่ี วกบั ผแู้ จ้งมไิ ด้ เจ้าหน้าท่ีของรัฐรวมท้ังผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินซึ่งจัดท�ำโครงการหรืออนุมัติหรือจัดสรรเงินงบประมาณ โดยรู้ว่ามีการด�ำเนินการอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 144 วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง จะพ้นจากความรับผิดตามรัฐธรรมนูญเฉพาะเม่ือได้แจ้งต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก่อนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะไดด้ �ำเนินการสอบสวน 16 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ

การสอบสวนตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำ� หนด เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. สอบสวนแล้วเห็นว่ามีมูล ให้เสนอความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยเร็ว และใหศ้ าลรัฐธรรมนูญดำ� เนินการต่อไปตามบทบัญญัตแิ หง่ รฐั ธรรมนูญ มาตรา 144 วรรคสาม ในกรณีจ�ำเป็นและได้รับค�ำร้องขอ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. จัดให้มีการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง เชน่ เดยี วกบั การคมุ้ ครองพยานตามมาตรา 131 มาตรา 138 ในการด�ำเนินการด้านการต่างประเทศเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี น้าทแ่ี ละอำ� นาจในเร่ืองดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เป็นหน่วยงานกลางในการด�ำเนินการเพ่ือให้ความร่วมมือระหว่างประเทศตามพันธกรณีและ ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศในการต่อตา้ นการทุจริต (2) ด�ำเนินการตามค�ำร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในคดีทุจริตในกรณีที่ผู้ประสานงาน กลางตามกฎหมายวา่ ดว้ ยความรว่ มมือระหว่างประเทศในเร่ืองทางอาญาสง่ ใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ด�ำเนินการ หรือพิจารณาให้ความช่วยเหลือกับต่างประเทศในคดีทุจริตซึ่งมิใช่ค�ำร้องขอความช่วยเหลือตามกฎหมายว่าด้วย ความร่วมมือระหวา่ งประเทศในเร่ืองทางอาญา โครงสรา้ งองคก์ ร หน้าที่และอ�ำนาจของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 มีดังต่อไปนี้ มาตรา 141 ให้มีส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “สำ� นกั งาน ป.ป.ช.” เป็นสว่ นราชการและมฐี านะเปน็ นิตบิ คุ คล รับผิดชอบข้ึนตรงตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มาตรา 142 สำ� นักงานมหี น้าท่ีและอ�ำนาจดังต่อไปนี้ (1) รบั ผิดชอบงานธรุ การ และดำ� เนนิ การเพื่อให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. บรรลภุ ารกิจและหนา้ ทีต่ ามที่ ก�ำหนดไว้ในรฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนูญนีแ้ ละกฎหมายอืน่ (2) อ�ำนวยความสะดวก ประสานงาน ให้ความร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ (3) ประสานงานและใหค้ วามร่วมมอื ระหวา่ งประเทศเกี่ยวกบั การป้องกนั และปราบปรามการทุจริต (4) ด�ำเนินการหรือจัดให้มีการรวบรวม วิเคราะห์ ศึกษาวิจัย และเผยแพร่ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับ การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบและอนั ตรายของการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบทงั้ ในภาครัฐและภาคเอกชน (5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้เี บาะแส ตามกลไกท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนดตามมาตรา 33 (6) เสนอแนะและให้ค�ำปรึกษาแก่หน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ สว่ นท้องถนิ่ หรอื เจ้าพนักงานของรัฐ หรือภาคเอกชน เกยี่ วกับการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ (7) จัดท�ำระบบสารสนเทศของข้อมูลเก่ียวกับเรื่องที่อยู่ในระหว่างการด�ำเนินการของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุผู้รับผิดชอบและความคืบหน้าของการด�ำเนินการของแต่ละเร่ือง เพื่อกรรมการจะได้ตรวจสอบ ได้ตลอดเวลา (8) ปฏบิ ตั กิ ารอ่นื ตามท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย และตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ ในการด�ำเนินการ (6) ส�ำนักงานต้องตอบข้อหารือภายในสามสิบวัน เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจ�ำเป็น อันไม่อาจด�ำเนินการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาดังกล่าว ประธานกรรมการอาจขยายระยะเวลาออกไปตามที่ จำ� เปน็ ได้แตร่ วมแล้วต้องไม่เกินเกา้ สบิ วัน รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 17

มาตรา 143 ในการก�ำกบั ดแู ลส�ำนกั งาน ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอำ� นาจออกระเบยี บ หรอื ประกาศ ในเร่อื งดงั ต่อไปน้ี (1) การจัดแบง่ ส่วนงานภายในของสำ� นกั งาน และขอบเขตหนา้ ที่ของส่วนงานดังกลา่ ว (2) การบรหิ ารและจัดการการเงนิ และทรพั ย์สนิ การงบประมาณ และการพัสดขุ องสำ� นกั งาน (3) การวางระเบยี บวา่ ดว้ ยการจดั ทำ� การเปดิ เผย การเผยแพร่ การเกบ็ รักษา และการท�ำลายเอกสาร และข้อมูลทอี่ ยใู่ นความครอบครองของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และส�ำนักงาน ทัง้ น้ี ในการเผยแพรข่ อ้ มูล ใหจ้ ดั ท�ำ ส�ำหรับคนพิการท่ีจะสามารถเขา้ ถึงไดด้ ้วย (4) วางระเบียบเก็บรักษาและบริหารจัดการพยานหลักฐานของกลางในคดีและทรัพย์สิน รวมทั้ง การจำ� หนา่ ย การมอบหมายใหผ้ ้อู ื่นเก็บรักษา หรือจำ� หน่ายทรพั ย์สินดงั กลา่ ว (5) ก�ำหนดหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจ่ายคา่ เบ้ยี เลี้ยง ค่าที่พกั ค่าเดนิ ทาง คา่ ใช้จ่ายอน่ื และค่าตอบแทน ของพยานบุคคลหรือผู้ซึ่งช่วยปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำร้องขอของพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการปฏิบัติหน้าทต่ี ามพระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญนี้ (6) วางระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะบุคคล เพื่อช่วยเหลือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือส�ำนักงานในการปฏิบัติหน้าท่ีที่ไม่ใช่การไต่สวน และก�ำหนดเบี้ยประชุมให้แก่บุคคล ทไ่ี ดร้ ับแตง่ ตง้ั ดังกลา่ ว (7) วางระเบียบเกยี่ วกับการกำ� หนดเบยี้ ประชุมของคณะกรรมการไตส่ วนตามมาตรา 51 คณะกรรมการ ตามมาตรา 33 วรรคสอง และคณะอนกุ รรมการตามมาตรา 33 วรรคสาม การดำ� เนนิ การตาม (1) ต้องคำ� นงึ ถึง ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และความคล่องตัว ระเบียบหรือประกาศตามวรรคหน่ึง ให้ประธานกรรมการ เปน็ ผู้ลงนามและเมอื่ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา 148 ให้ส�ำนักงานมีเลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของส�ำนักงาน และรับผดิ ชอบการปฏิบัตงิ านของสำ� นกั งาน ขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะก�ำหนด ใหม้ ีรองเลขาธกิ าร ผูช้ ่วยเลขาธกิ าร หรือต�ำแหน่งอน่ื ท่เี ทยี บเท่า เป็นผ้ชู ่วยสัง่ และปฏิบัติราชการดว้ ยก็ได้ วธิ ีการได้มาซึ่งเลขาธิการใหเ้ ปน็ ไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด เม่ือมีกรณีท่ีจะแต่งต้ังเลขาธิการ รองเลขาธิการ หรือต�ำแหน่งอื่นท่ีเทียบเท่าให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอเรอื่ งต่อนายกรฐั มนตรีเพ่ือน�ำความกราบบงั คมทลู เพ่อื ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตงั้ ตอ่ ไป 18 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการและอัตราก�ำลงั สำ� นักงาน ป.ป.ช. โครงสรางการแบง สว นราชการและอตั รากําลังสํานักงาน ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ช. จจำ� ํานนววนน 119 ส�ำํานัก 1 สถาบัน สำ� นกั งาน ป.ป.ช 3,554 แแลละะ 22 กกลมุ่ งาน เลขาธิการฯ 1 --รรอองงเเลลขาธกิ ารฯ : บส 6 อัตรา --ผผู้ตตู รรววจราชการ ::บบสส22ออตั ตั รราา --ผผู้ชชู ่ววยยเลขาธิการฯ ภาค ::บบตต99ออัตัตรารา --ผผชู้ ูชว่ วยยเลขาธิการฯ : บสต 1100ออตั ตั รราา ผ้ตู รวจราชการส�ำนักงาน ป.ป.ช. 2 ต�ำแหน่งประจ�ำสำ� นกั งาน 20 รายงานประจําปง บประมาณ พ.ศร.าย2ง5าน6ป2ระจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจหรนิตาแห3่งช5าติ 19

รายละเอยี ดโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการและอัตราก�ำลังของส�ำนักงาน ป.ป.ช. 1. แบ่งกลุ่มภารกจิ ออกเปน็ 7 กลมุ่ จำ� นวน 122 หนว่ ยงาน ดงั น้ี 1.1 หน่วยงานขน้ึ ตรงเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. จำ� นวน 6 หนว่ ยงาน 1.2 กลุ่มภารกิจป้องกนั การทจุ ริต จำ� นวน 6 หนว่ ยงาน 1.3 กลมุ่ ภารกจิ ตรวจสอบทรัพยส์ นิ จำ� นวน 5 หนว่ ยงาน 1.4 กลุ่มภารกจิ ไตส่ วนการทุจริต จ�ำนวน 7 หนว่ ยงาน 1.5 กลุ่มภารกิจอ�ำนวยการยตุ ิธรรม จำ� นวน 5 หนว่ ยงาน 1.6 กลุ่มภารกิจสนับสนนุ จำ� นวน 8 หนว่ ยงาน 1.7 กลุ่มภารกิจปฏิบัติการพื้นที่ จ�ำนวน 85 หน่วยงาน (ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ภาค 9 หน่วยงาน และส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวดั 76 หนว่ ยงาน) 2. แบง่ เป็นหนว่ ยงานสว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค ดงั น้ี 2.1 สว่ นกลาง จ�ำนวน 35 หนว่ ยงาน ได้แก่ 34 สำ� นกั 1 สถาบัน และ 2 กลุ่มงาน 2.2 ส่วนภูมิภาค จ�ำนวน 85 หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ภาค จ�ำนวน 9 แห่ง และส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวดั จำ� นวน 76 จงั หวัด 3. อัตราก�ำลังขา้ ราชการสำ� นักงาน ป.ป.ช. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สว่ นราชการ อัตรากำ�ลัง (คน) หนว่ ยงานขน้ึ ตรงเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. 120 1. สำ�นกั กจิ การคณะกรรมการ ป.ป.ช. 44 2. สำ�นกั การประชมุ 21 3. สำ�นักบรหิ ารงานกลาง 31 4. สำ�นักตรวจสอบภายใน 10 5. กลุ่มตรวจราชการสำ�นกั งาน ป.ป.ช. 12 6. กลมุ่ ทีป่ รึกษาสำ�นกั งาน ป.ป.ช. 2 กลมุ่ ภารกิจป้องกันการทุจริต 118 1. สำ�นกั เฝ้าระวังและประเมนิ สภาวการณท์ จุ ริต 18 2. สำ�นกั ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส 15 3. สำ�นักต้านทุจรติ ศึกษา 17 4. สำ�นักมาตรการเชงิ รกุ และนวตั กรรม 17 5. สำ�นักส่งเสรมิ และบรู ณาการการมีส่วนร่วมตา้ นทุจริต 27 6. สำ�นักพฒั นาและส่งเสรมิ ธรรมาภบิ าล 24 กลุม่ ภารกจิ ตรวจสอบทรัพยส์ นิ 116 1. สำ�นักพฒั นาระบบตรวจสอบทรัพยส์ นิ 24 2. สำ�นักตรวจสอบทรัพย์สนิ ภาคการเมือง 22 3. สำ�นกั ตรวจสอบทรพั ย์สนิ ภาครัฐและรัฐวสิ าหกิจ 1 24 4. สำ�นกั ตรวจสอบทรัพย์สนิ ภาครฐั และรัฐวิสาหกจิ 2 23 5. สำ�นกั ตรวจสอบทรพั ย์สินภาครฐั และรฐั วสิ าหกิจ 3 23 20 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

สว่ นราชการ อตั รากำ�ลงั (คน) กลุ่มภารกิจไตส่ วนการทุจริต 283 1. สำ�นกั ไต่สวนการทุจรติ ภาคการเมืองและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ 44 2. สำ�นกั ไตส่ วนการทจุ รติ ภาครัฐ 1 47 3. สำ�นักไตส่ วนการทจุ ริตภาครัฐ 2 55 4. สำ�นักไตส่ วนการทุจรติ ภาครัฐ 3 42 5. สำ�นักไต่สวนการทจุ ริตภาครฐั วิสาหกิจ 1 31 6. สำ�นกั ไต่สวนการทจุ ริตภาครฐั วิสาหกจิ 2 30 7. สำ�นกั ไต่สวนคดที รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 34 กลมุ่ ภารกิจอำ�นวยการยุติธรรม 157 1. สำ�นกั กฎหมาย 32 2. สำ�นักกจิ การและคดที ุจรติ ระหวา่ งประเทศ 28 3. สำ�นักการขัดกันแห่งผลประโยชน ์ 11 4. สำ�นักคด ี 51 5. สำ�นักสบื สวนและกจิ การพเิ ศษ 35 กลมุ่ ภารกิจสนับสนุน 267 1. สำ�นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 47 2. สำ�นกั นโยบายและยุทธศาสตร ์ 41 3. สำ�นักบรหิ ารงานคลัง 44 4. สำ�นักบริหารทรัพยส์ ิน 22 5. สำ�นกั บรหิ ารทรพั ยากรบุคคล 43 6. สำ�นกั วจิ ัยและบรกิ ารวิชาการด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต 16 7. สำ�นกั ส่ือสารองคก์ าร 16 8. สถาบนั การป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ สญั ญา ธรรมศักด ์ิ 38 กลุ่มภารกิจปฏิบัตกิ ารพน้ื ท ่ี 1,269 1. สำ�นกั งาน ป.ป.ช. ภาค 9 แห่ง 286 2. สำ�นักงาน ป.ป.ช. ประจำ�จงั หวดั 76 จังหวดั 913 ตำ�แหน่งท่บี รรจุและแตง่ ตั้งตามมตกิ ารประชุม กปปช. ในการประชมุ 70 ครั้งที่ 5/2562 เม่ือวนั ที่ 28 มนี าคม 2562 ประกอบดว้ ย ผู้ชว่ ยพนักงานไต่สวน 45 เจา้ พนกั งานตรวจสอบทรัพยส์ ินปฏิบัติการ 25 ผู้บริหาร 19 รวมท้ังสิน้ 2,349 รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ 21

วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และยทุ ธศาสตรข์ ององค์กร ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ขับเคลื่อนภารกิจหลักโดยใช้แผนยุทธศาสตร์ส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นเครื่องมือ มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 แผนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 - 2555 โดยมุ่งเน้นการท�ำหน้าท่ีของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในการปลูกฝังจิตส�ำนึก สร้างวัฒนธรรมสุจริต เสริมสร้างภาคีเครือข่ายร่วมป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และพัฒนากลไกตรวจสอบ และลงโทษผูก้ ระทำ� ผดิ ในช่วงเวลาตอ่ มาดว้ ยเงอื่ นไขตามบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 ส่งผลให้ภารกิจของส�ำนักงาน ป.ป.ช. กว้างขวางขึ้นทั้งในมิติเชิงบทบาทและเชิงพ้ืนท่ี และท�ำให้ทิศทางของ แผนยุทธศาสตรส์ �ำนักงาน ป.ป.ช. ระยะที่ 2 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 - 2560 นอกเหนือจากผลกั ดันภารกจิ หลกั อย่างต่อเน่ือง ยังได้ให้ความส�ำคัญกับบทบาทท้ังในการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมและการบูรณาการในการด�ำเนินงาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม มีการขยาย ขอบเขตการด�ำเนินงานไปยังต่างจังหวัด โดยได้มีการจัดต้ังส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจ�ำจังหวัด และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจ�ำจังหวัดข้ึน มีการขยายผลความร่วมมือไปยังต่างประเทศ เพ่ิมมากข้ึน และให้ความสำ� คญั กบั การนำ� เอาเครอ่ื งมอื การบริหารการสอ่ื สารมาใช้ในหนว่ ยงาน แผนแม่บทส�ำนักงาน ป.ป.ช. ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ได้จัดท�ำข้ึนในมิติท่ีต่างไปจากเดิม ท้ังในมิติเร่ืองกรอบระยะเวลาและความสอดคล้องกับกรอบทิศทางในการด�ำเนินงานของประเทศ กล่าวคือ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 4 ตุลาคม 2559 เห็นชอบให้ทุกส่วนราชการจัดท�ำแผนงานในภารกิจหลัก ของหน่วยงานระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยให้ก�ำหนดรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมท่ีจะด�ำเนินการ และผลที่จะได้รับในแต่ละระยะ โดยประเมินและทบทวนแผนงานทุก ๆ 5 ปี ซ่ึงในการจัดท�ำแผนแม่บท ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ไดน้ ำ� ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนแมบ่ ทบูรณาการปอ้ งกนั ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) มาใช้เป็นกรอบทิศทางในการด�ำเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มแี ผนแม่บทส�ำนักงาน ป.ป.ช. ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ทก่ี า้ วทนั ต่อนวัตกรรมและเทคโนโลยตี ่าง ๆ และใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดท�ำโครงการ/กจิ กรรม เพ่อื ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ภายใต้แผนแมบ่ ทสำ� นกั งาน ป.ป.ช. ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และเกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมต่อไป โดยการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ค่าเป้าหมายและตัวช้ีวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ไว้ ดังตอ่ ไปนี้ วสิ ัยทัศน์ “ผสานพลัง สรา้ งประเทศไทยใสสะอาด ปราศจากทุจรติ ” พนั ธกจิ 1. บูรณาการความร่วมมือกับทกุ ภาคสว่ นในการผลักดันการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ 2. การสรา้ งวัฒนธรรมสุจริตในสงั คมไทย 3. พฒั นามาตรการและกลไกในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ 4. มงุ่ ส่กู ารเป็นองค์กรคุณธรรม ยึดหลกั  ความซอ่ื สตั ย์ เป็นธรรม มอื อาชีพ 5. ติดตามและประเมนิ ผลความสำ� เรจ็ อย่างต่อเน่อื ง 22 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ

วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างให้ทุกภาคส่วนตระหนักและมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็น รปู ธรรม 2. เพอ่ื ให้คนไทยมีวัฒนธรรมสจุ รติ และไม่เพิกเฉยตอ่ การทจุ รติ 3. เพ่ือให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้เป็นท่ี ยอมรับในระดบั สากล 4. เพ่อื ให้มกี ารบริหารจัดการองค์กรโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล และม่งุ สู่การเป็นองคก์ รคณุ ธรรม 5. เพื่อติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานป้องกันและปราบปราม การทจุ ริต ค่าเปา้ หมายและตวั ช้ีวดั 1. เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐและประชาชนทกุ ภาคส่วนมคี วามละอายต่อการกระท�ำการทจุ รติ เพม่ิ ขน้ึ ตัวชี้วัด : ระดับความละอายของเจ้าหน้าท่ีของรัฐและประชาชนทุกภาคส่วนต่อการกระท�ำ การทุจรติ เพมิ่ ข้นึ 2. การดำ� เนนิ งานในการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตมีประสิทธิภาพเพม่ิ ขน้ึ ตวั ชว้ี ดั : ระดับความเช่อื มัน่ ของทกุ ภาคส่วนในการดำ� เนินงานของสำ� นักงาน ป.ป.ช. เพ่มิ ขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร ์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ประสานและบูรณาการความร่วมมอื ในการปลกู ฝังวัฒนธรรมสจุ รติ ของทกุ ภาคส่วน ค่าเปา้ หมายและตัวชวี้ ัด 1. การมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมป้องปรามการทุจรติ ตวั ชว้ี ดั : ระดบั การมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในการปอ้ งปรามการทจุ ริต ตวั ชว้ี ัด : ระดับการปรับเปลี่ยนฐานความคดิ ของทุกภาคสว่ นในการต่อตา้ นการทจุ รติ 2. การมีสว่ นร่วมของภาครฐั ในการรว่ มป้องปรามการทจุ รติ ตัวชว้ี ดั : ระดับการมีส่วนรว่ มของหนว่ ยงานภาครฐั ในการป้องปรามการทุจริต กลยทุ ธ์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนทุกภาคส่วนให้ปรับฐานความคิด สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตน และสว่ นรวม 2. สง่ เสริมการปลกู ฝังวฒั นธรรมสุจรติ 3. บูรณาการความร่วมมอื ทุกภาคสว่ นในการปอ้ งปรามการทจุ ริตในทกุ มิติ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการปอ้ งกันการทจุ รติ เชงิ รุก ค่าเป้าหมายและตัวช้ีวัด 1. การด�ำเนนิ งานในการปอ้ งกนั การทุจรติ มีประสิทธิภาพเพิ่มขนึ้ ตวั ชี้วัด : ระดบั การรับรู้ของประชาชนถงึ ผลกระทบเร่อื งการทจุ ริต ตัวชีว้ ดั : ร้อยละของคดีการทจุ ริตลดลง ตวั ชว้ี ดั : รอ้ ยละความสำ� เร็จของผลการด�ำเนนิ การปอ้ งกนั การทุจรติ 2. คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยงานภาครัฐท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำ� เนนิ งาน (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 23

กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอ่ืน ของรฐั จดั ทำ� แผนปฏิบตั กิ ารป้องกนั การทจุ ริตอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ส่งเสรมิ การด�ำเนินงานเพื่อยกระดับดชั นกี ารรับร้กู ารทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) และสนบั สนนุ ให้มกี ารติดตามการดำ� เนนิ งานในภาพรวม 3. เพมิ่ ประสิทธิภาพระบบและกลไกการปอ้ งกนั การทุจรติ รวมถงึ การตรวจสอบทรพั ย์สินอย่างเทา่ ทนั ต่อพลวตั การทุจริต 4. ผลักดันให้หน่วยงานภาครัฐน�ำผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA ) ไปใช้ในการพัฒนา ปรบั ปรงุ องค์กร รวมทงั้ หาแนวทางสง่ เสริม ใหภ้ าคเอกชนน�ำไปประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาองคก์ รในระยะต่อไป ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากลไกและประสทิ ธิภาพในการปราบปรามการทจุ รติ คา่ เปา้ หมายและตัวชีว้ ดั การด�ำเนนิ งานในการปราบปรามการทุจรติ มปี ระสิทธิภาพเพ่มิ ขึ้น ตวั ชวี้ ดั : รอ้ ยละของเรอ่ื งกลา่ วหารอ้ งเรยี นดำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ เพม่ิ ขึ้น ตัวช้วี ัด : รอ้ ยละความสำ� เรจ็ ของผลการดำ� เนนิ การปราบปรามการทุจริต กลยุทธ์ 1. พัฒนา ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตให้รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ เท่าทันต่อพลวัต ของการทุจรติ และมาตรฐานสากล 2. สง่ เสรมิ ให้มีการปรับปรงุ กฎหมายใหเ้ ทา่ ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง และเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการบงั คับใช้ 3. เพ่ิมประสิทธภิ าพการด�ำเนนิ มาตรการคมุ้ ครองพยานและผ้แู จ้งเบาะแส 4. ยกระดบั ประสิทธิภาพการดำ� เนินการและประสานงานคดีทจุ ริตระหวา่ งประเทศ 5. จัดท�ำฐานข้อมูลด้านการปราบปรามการทจุ ริตให้มคี วามเชอื่ มโยงกบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง 6. การบรู ณาการองคก์ รเพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการปราบปรามการทจุ รติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการองคก์ ร ค่าเปา้ หมายและตวั ช้วี ดั 1. ประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั งิ านของสำ� นกั งาน ป.ป.ช. เพมิ่ ขนึ้ ตัวชวี้ ัด : ร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายมีความพึงพอใจในการดำ� เนินงานของสำ� นักงาน ป.ป.ช. กลยุทธ์ 1. พฒั นาสมรรถนะบุคลากรในดา้ นระบบเทคโนโลยี การบรหิ ารองค์กร และการวจิ ยั ของสำ� นักงาน ป.ป.ช. ใหส้ อดคลอ้ งกับภารกจิ ทรี่ ับผิดชอบ และพลวตั การทจุ รติ ท่ีมีการเปล่ยี นแปลงไป 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริต 3. พฒั นาระบบการส่อื สารเพอ่ื การตอ่ ต้านการทุจรติ 4. พัฒนาสำ� นักงาน ป.ป.ช. ให้เปน็ องคก์ รคณุ ธรรมและมธี รรมาภิบาล 5. สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รให้มีความซอ่ื สัตย์ เปน็ ธรรม มอื อาชพี 24 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

ภาพรวมด้านทรัพยากรบคุ คลและงบประมาณ 1. ภาพรวมด้านทรัพยากรบคุ คล ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 สำ� นักงาน ป.ป.ช. มีขา้ ราชการจ�ำนวนท้งั สิน้ 2,349 อัตรา โดยจ�ำแนกตาม ต�ำแภหานพง่ แรวลมะสดาายนงทานรพั ปยราากกฏรบตาคุ มคตลาแรลางะงดบังนป้ี ระมาณ 1. ภาพรวมดา นทรัพยากรบุคคล หนว่ ย : คน ตำ�แใหนนป่งง บประมาณ พ.ศ. 2562 สํานสั่วกนงากนลาปง. ป.ช. มีขาราสช่วกนาภรจูมําภิ นาวคน ท้ังส้ิน 2,34จ9ำ�อนัตวรนา 1.โด ผยบู้ จราํ หิแานรก ตามตาํ แหนง และสายงาน ปรากฏตามตาราง 1ด9งั น้ี 9 28 432 ... พ 13233ผผ.....ูอู้้เน21ชผผผำัก3�ียู่อูเบู นกสชง.ําวร1ย่ีารวานหิชวขะนยกวาาชบรากยรไญาะตทกวาญบา/่สร่ัวนตวรผ/วไกําผนปทู้นแูทาก รห รารงนรงยคยคงตุ ุตุณุณธิ ธิ วรวรฒุรฒุรมมิ ิ สว นกลาง 2 สว นภูมภิ า-ค จํานหวนนว2ย : คน 19 9 28 2 12 - 2 12 23 76 99 12 355 560 12 915 5. เจา้ พ3.น2กั สงาาขนาทปวั่ อ้ ไงปกนั การทุจริต 23 106 76 157 99 263 7 6 .. เต746577 จ.... ำ..�า้ 21เพตเแ77 จจพ ําน..หาา ปป 12 แนพกัพ นรรห ปปงักนน ะะง่นา รรงักักสเเน งะะาภภงง สนเเไ นาาภภตททน นนับททรตส บั ทวตปสวววทรสิชร่ัวอ นมชิน่ัววนวางไาไจ ุนจนุปกกปกสสนั าา ออกรรบบา รทททรรุจัพัพรยิตยสนิ์สิน 355 93 560 250 921635343 106 157 343422 93 299 250123 422265 299 171 123 94 2625 ,349 171 1,080 941,269 รวม 1,080 1,269 2,349 2. ภาพ2ร.วภมาดพ้ารนวงมบดปา นรงะบมปาณระมาณ ในปีงบประมาในณปงพบป.ศร.ะม2า5ณ6พ2.ศส. �ำ25น6ัก2งสาํานนักปงา.ปน.ปช.ป.ไชด. ้รไดับรกับากรารจจัดัดสสรรงบบปปรระมะามณาจณําจน�วำนทว้ังนสทิ้นั้งสิ้น 2,232,82,3786,17,6310,3000บาบทาท(ส(สอองพงพันันสสอองงรร้ออยยสามสิบแปดลลา้านนเเจจ็ด็ดแแสสนนหหกกหหมมื่นื่นหนห่ึงนพ่ึงันพสันาสมารมอรย้อบยาบทาถทวนถ)้วซน่ึง)ไดซรึ่งับได้รับ งบปงรบะปมราะณมาลณดลดงจลางจกาปกีงปบงปบรปะรมะามณาณพพ.ศ.ศ..2255661 จําำ� นววนน118877,9,9667,74,0400บาบทาท(หน(ห่ึงรนอง่ึ ยรแ้อปยดแสปิบดเสจิบ็ดลเจาด็นลเก้าานแเกสน้าแสน หกหหมกื่นหมเจ่นื ็ดเจพ็ดนั พสันีร่ ส้อี่รยอ บยาบทาถทว้ถนวน) )หหรรอื อื คคดิ ิดเเปปน็ นลลดลงรอ้ ยละ 77..7744 โดยจ�ำแนกงบโปดรยะจมําแาณนกทง่ีไบดป้รรับะจมัดาสณรทรี่ไตดารมับหจมัดวสดรราตยากมาหรมคว่าดใรชา้จย่ากยาดร้คานาใบชุคจลายากดรานในบกุคาลราจกัดรการ และใบนกริหาราจรัดอกงาครก์แรละแบลระิหใานรลอกังคษกณระแคลา่ ะคในรลภุ ักณษฑณ์ ะทคี่ดาินครแภุ ลัณะฑสงิ่ ทกดี่ ่อินสรแ้าลงะสปง่ิ รกาอ กสฏรตางามปแราผกนฏภตาาพมแดผงันนภ้ี าพ ดงั นี้ แผนภแาผพนภทาี่ พ1ทภี่ 1าภพารพวรวมมงงบปปรระะมมาณาปณรปะจราํ ะปจง บำ� ปปรีงะบมาปณระพม.ศา. ณ256พ2.ศ. 2562 ครภุ ัณฑ ทีด่ ินและ สิง่ กอ สราง 5.49% การจดั การและ บคุ ลากร บริหารองคก ร 60.85% 33.66% รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 25

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มีการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวนท้ังส้ิน 1,960,077,533.24 บาท (หน่ึงพันเก้าร้อยหกสิบล้านเจ็ดหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยสามสิบสามบาทยี่สิบสี่สตางค์) หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 87.55 ของงบประมาณทไี่ ด้รับจดั สรรทั้งหมด โดยจำ� แนกตามหมวดรายการค่าใช้จา่ ยปรากฏ ตามตาราง ดังนี้ หมวดรายการค่าใช้จ่าย ไดร้ ับจดั สรร ใช้จา่ ย รอ้ ยละ 1. บุคลากร 1,362,205,000 1,252,585,267.50 91.95 2. การจดั การและบรหิ ารองคก์ ร 78.19 3. ค่าครุภัณฑ์ ทดี่ นิ และส่งิ ก่อสรา้ ง 753,512,300 589,136,879.17 96.19 รวม 123,044,000 118,355,386.57 87.55 2,238,761,300 1,960,077,533.24 ทมี่ า: สำ� นักบริหารงานคลงั สำ� นักงาน ป.ป.ช. 26 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

ควคาวมาเชมื่อเชมอื่โยมงโยผงลผกลากราดรำ� ดเนําเินนงินางนาขนอขงอสงำ� สนาํ ักนงักางนานป.ป.ปช.ชย.ทุ ยธุทศธาศสาตสรตช์ ราชตาิตแิผแนผกนากราปรฏปิรฏูปริ ปู รปะรเทะศเทแศผแนผพนัฒพฒันานเศาเรศษรฐษกฐิจกแิจลแะลสะังสคงัมคแมหแง่ หชงาชตาิ ติ รวรมวทม้ังทก้ังากราทร�ำทงํางนาเชนิงเชบิงูรบณูราณกาากรากรบั กภับาภคาีเคเีรคอื รขือ่าขยาทยเ่ี ทก่ียเกวีย่ ขว้อขงอง ยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 แผนการปฏริ ูปประเทศ และภารกิจของสํานกั งาน ป.ป.ช. รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 27

ยุทธศาสตร์ชาตวิ า่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เร่มิ ตน้ เมื่อวนั ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2559 โดย พลต�ำรวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการ ป.ป.ช ได้มอบ นโยบายให้คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2561 - 2565) และคณะยกรา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติฯ ให้ดำ� เนินการยกร่างยทุ ธศาสตร์ชาตฯิ ระยะท่ี 3 ตามกระบวนการทางวิชาการ ให้สอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปีของประเทศไทย รวมท้ังให้รับฟังความคิดเห็นจากผู้บริหารองค์กรอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหาร และผู้ปฏบิ ตั ใิ นภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมอยา่ งรอบด้านเพอ่ื ก�ำหนดเป็นยุทธศาสตรช์ าติ ทส่ี ามารถ ยกระดับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม มีกลไกการบูรณาการการท�ำงาน ท่ีมีประสิทธภิ าพ สามารถส่งผลให้การทุจริตในสงั คมไทยลดลง แผนยุทธศาสตร์ช าติฯ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 -2564) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหปรับใชเป็นหวงเวลาเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และเม่ือวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดม้ ีมติ เห็นชอบยุทธศาสตรช์ าติวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ฉบับสมบูรณ์ ทก่ี ำ� หนดวิสัยทศั น์ “ประเทศไทย ใสสะอาด ไทยท้งั ชาติต้านทุจรติ (Zero Tolerance and Clean Thailand)” ก�ำหนดพันธกิจหลัก เพ่ือสร้างวัฒนธรรมการต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน และปฏิรูปกระบวนการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตทง้ั ระบบ ใหม้ ีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผ่านยุทธศาสตร์ 6 ดา้ น โดยมีเปา้ ประสงค์ “ประเทศไทยมคี ่าดชั นกี ารรบั รู การทุจริต (CPI) สงู กว่าร้อยละ 50 เพอื่ ให้เป็นมาตรฐาน เปน็ ที่ยอมรับจากทัง้ ภายในและตา่ งประเทศ” รวมทั้งมกี ารก�ำหนดแนวทางและกลไก ในการด�ำเนนิ งานทช่ี ดั เจน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างทันท่วงที ทั้งน้ี คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในการประชุมเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559 และเห็นชอบใหหน่วยงานภาครัฐ แปลงแนวทางและมาตรการ ตามยุทธศาสตร์ชาติวาด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 -2564) สู่การปฏิบัติ โดยกำ� หนดไวใ้ นแผนปฏบิ ัตริ าชการ 4 ปแี ละแผนปฏิบัติราชการประจำ� ป รวมทัง้ สนับสนนุ งบประมาณตามแผนงาน บูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นตนไป โดยใหหน่วยงานภาครฐั ดำ� เนนิ การให้สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี และแผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ดว้ ย ผลความส�ำเร็จของการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ ทจุ รติ แห่งชาติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) โครงการประเมินผลส�ำเร็จของโครงการ/กิจกรรมภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เป็นโครงการท่ีอยู่ภายใต้ชุดโครงการสหยุทธ์ ตามแผนปฏิบัติการของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลส�ำเร็จของการด�ำเนินโครงการในแต่ละปีงบประมาณของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีได้รับการจัดสรร งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และงบประมาณ ประจ�ำปีของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซ่ึงในการประเมินผลส�ำเร็จ ของโครงการนี้จะประเมินผลส�ำเร็จของการด�ำเนินโครงการใน 3 มิติ ประกอบด้วย มิติประสิทธิภาพ มติ ปิ ระสิทธิผล และมิตผิ ลกระทบและความคมุ้ ค่า โดยมีการประเมนิ ผลกระทบของโครงการ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม 28 รายงานประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ

ท่ีมีผลต่อการขับเคล่ือนไปสู่การบรรลุเป้าประสงค์ตามรายยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทจุ รติ แห่งชาติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) และจะมกี ารประเมินผลโครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบัตกิ าร แแลหะ่งแชผานติกราะรยใะชท้ง่ี บ3ป(รพะ.ศม.า2ณ5ร6า0ย-จ2่า5ย6ป4ร)ะแจล�ำะปจีอะยม่าีกงาตร่อปเรนะ่ือเมงินในผทลโุกคปรีงกเปาร็น/รกาิจยกยรุทรมธตศามสแตผรน์แปลฏะิบภัตาิกพารรวแมลขะอง ยแุทผธนศกาสรใตชร้ง์ชบาปตริฯะมราณะยระายทจี่ ่า3ยปโรดะยจเราป่ิมีอดย�ำ่าเนงติน่อกเนาร่ือตงใั้งนแทตุก่ปปีงีบเปปน็ รระามยายณุทธศพา.สศต. ร2์แ5ล6ะ1ภาเพพร่ือวมปขรอะงโยุทชธนศ์ใานสกตารร์ชจาัดตสิฯรร งรบะปยระะทมี่ 3าณโดแยลเระม่ิ คดัดาเเลนือินกกโาครรตงั้ กแาตร่ปทีงบ่ีสปามระามรถาณสนพับ.สศน. 2ุน5แ6ล1ะเนพ�ำอื่ ไปรสะู่กโยารชบนร์ในรกลาุเปรจ้าดัปสรระรสงงบคป์เรชะิงมยาุทณธแศลาะสคตัดรเ์เลมือื่อกสิ้น แโผคนรงยกุทาธรศทาีส่ สาตมรา์รถสนบั สนุนและนาไปส่กู ารบรรลเุ ป้าประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์เม่ือสิ้นแผนยุทธศาสตร์ สสาห�ำหรับรบั โคโครงรกงการาทรท่ีข่ขีับับเคเคลลื่อือ่นนยยุททุธศธศาสาสตตร์ชรช์าตาติฯิฯรระะยยะะทที่ 3ี่ 3ปปรระะจจา�ำปปีงีงบบปปรระะมมาณาณพพ.ศ.ศ. 2. 5265262ปประรกะอกบอดบ้วดยว้ ย โโคครรงงกกาารรทท่ี่ีไไดด้ร้รับับจจัดัดสสรรรรงงบบปปรระะมมาาณณตตามาแมผแนผงนางนาบนูรบณูราณกาากรตา่รอตต่อ้านตก้าานรกทาุจรรทิตุจแรลิตะแปลระะปพรฤะตพิมฤิชตอิมบิชอแบละแโคลระงโคการรงกทาี่ ร ทดี่ดา�ำเนเนินินกกาารรภภาายยใตใต้ง้งบบปปรระะมมาาณณปปรระะจจา�ำขขอองหงหนน่ว่ยวยงางนานรวรมวมททั้งสั้งส้ินิ้นจจาน�ำนวนวน515010โคโรคงรกงากรารวงวเงงินเงงินบงปบรปะรมะามณารณวรมวม 663399,,337722,,251 บาท ในส่วนของโครงกกาารร//กกิจิจกกรรรรมมทที่ออ่ี ยยู่ใใู่นนขขออบบขข่า่ายยทท่ีนี่นามำ� มาปาประรเะมเมินินมีจมาีจน�ำวนนวทน้ังทส้งั ้ินส้ิน131434โคโรคงรกงากราร หหรรือือคคิดิดเเปปน็ ็นรรอ้ ้อยยละ 58.96 ของงบบปปรระะมมาาณณโโคครรงงกกาารรททั้งั้งหหมมดดทที่ดีด่ า�ำเนเนินนิ กกาารรในในปปีงบงี บปประรมะมาณาณพพ.ศ..ศ2. 5265262รวรมววมงวเงินเงิน งงบบปปรระะมมาาณ 376,973,227 บาาททโโดดยยแแบบ่งง่เปเป็น็น 1. โคร1ง.กโาครรทง่ีไกดา้รทับี่ไจดัด้รสับรจรัดงสบรรปงรบะปมราะณมาตณามตาแมผแนผบนูรบณูรณากากาารรตต่อ่อตต้า้ นการททุจุจรริติตแแลละะปประรพะฤพตฤิมติชิมอิชบอบ จจำ� านนววนน11222 โครงการ วงเงินงงบบปปรระะมมาาณณรรววมม337722,6,6440,09,49242บาบทาท 2. โคร2ง.กโาครรทง่ีไกดา้รัทบ่ีไกดา้รรับจกัดาสรรจรัดงสบรรปงรบะปมราะณมปาณระปจร�ำะขจาอขงอหงนห่วนย่วงยางนานจจ�ำานนววนน 12 โโคครรงงกการารวงวเงินเงิน งงบบปปรระะมมาาณรวม 4,328,285 บบาาทท เกเ(1กณ)ณฑ ฑโก์ คาก์ ร(ร1างคร)กัดคโาคเดัรลรทเืองลคี่กกือาาโกดครโทวรคงา่คี่ รกจางาะดกรสวา/า่ง่ กรจผ/ิจะลกกสกจิร่งรกรผะมรลทรเกพบมรอ่ืตะเพททอ่ ่อืากบกทาตาร�ำ่อรขกกปับาารเรรคะขปเลบัมรอ่ื เะินคนเลมยปอ่ืินุทรนะธปยกศุทรอาะธบสกศตดอาร้วสบ์ยตดร้ว์ ย (2) โคร(2ง)กโาครรทง่ีใกชา้งรบทปี่ใชรง้ะบมปาณระสมูงาณสูง (3) โค(ร3ง)กโาครทงกี่ดา�ำรเทนี่ดินากเนาินรแกลาร้วแเสล้วรเ็จสภรา็จยภใานยสใน้ินสเ้ินดเือดนือมนิถมุนิถุนายายนน2255662 หรรือือโโคครรงงกการาเรรเ่ิมร่ิมีผมลีผผลลผิตลิต แแลละะออยยใู่ ใู่ นนขน้ั ทจ่ี ะมกี ารใชป้ ระะโโยยชชนน์ไไ์ดด้ ้ซซง่ึ ึ่งจจะะททาำ�กกาารรปประระเมเมนิ นิเฉเพฉพาะากะจิ กกจิ รกรรมรทม่ีแทลีแ่ ้วลเส้วรเสจ็ ร็จ (4) โค(ร4ง)กโาครรแงลกการเปแลย่ีกนเปเรลยี่ นรเรรู้ ยี ะนดรบั ู้รชะาดตับิ ชาติ (5) โค(ร5ง)กโาครรกง�ำกกาบัรกตาิดกตบั าตมิดชตดุ าโมคชรุดงกโคารงสกหายรสทุ หธย์ภุทายธ์ภใตา้ยทุใตธ้ยศทุ าธสศตารส์ทตัง้ ร์ท6งั้ ย6ุทธยศทุ าธสศตารส์ตร์ จจากากเกเกณณฑฑ์ด์ดังกังกลล่าว่าจวึจงไึงดได้เล้เลือือกกโคโครงรกงากราทรที่น่ีนาม�ำามปาประรเะมเินมเินพเ่ืพอเ่ือปเ็นปต็นัวตแัวทแนทขนอขงอโงคโรคงรกงากราภราภยาใยตใ้ยตุท้ยธุทศธาศสาตสรต์ชรา์ชตาิฯติฯ รระะยยะะทที่ ี่ 3 ((ยยุทุทธธศศาาสสตตรร์ท์ท่ี 1่ี 1- -6)6จ) าจน�ำวนนว5น85โ8ครโงคกรางรกคาิดรเปค็นิดวเงปเ็นงินวงบเงปินรงะบมปารณะทม้ังาสณ้ินท2ั้ง6ส6้ิน,12546,60,81654บ,า0ท86หรบือาท หเทรือ่ากเทับ่ารก้อับยลร้อะย7ล0ะ.6070ข.อ6ง0โคขรองงกโาครรทง่ีดกาาเรนทินี่ดก�ำาเรนเสินรก็จาสร้ินเสหร็จือสเริ้น่ิมหมรีผือลเผร่ิมลิตมทีผ่ีใลชผ้ปลริตะทโย่ีใช้ปน์ไรดะ้โแยลชะนค์ไิดเ้ ปแ็นลระ้อคยิดลเะป็น ร4อ้ 1ย.6ล3ะ ข4อ1ง.6โค3รขงกอางรโ/คกรจิ งกกรารรม/กภิจายกใรตร้ยมุทภธาศยาใสตตย้ รทุ ์ทธี่ ศ1า-ส6ตรดท์ ังี่แ1ผน- ภ6าดพงั ทแ่ี ผ1นภาพที่ 1 โครงการทั้งหมด โครงการทเ่ี ป็นประชากรเป้าหมาย โครงการที่เป็นกลมุ่ ตวั อย่าง 510 โครงการ* 134 โครงการ* 58 โครงการ* 639.372 ลา้ นบาท* 376.973 ลา้ นบาท* 266.154 ลา้ นบาท* โครงการตามแผนงานบรู ณาการ โครงการตามแผนงานบรู ณาการ 98.85% โครงการตามแผนงานบรู ณาการ 100% ต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ 97.38% ตอ่ ต้านการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ต่อตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ โครงการท่ดี าเนนิ การภายใต้ 2.62% โครงการท่ดี าเนนิ การภายใต้ 1.15% งบประมาณประจาของหนว่ ยงาน งบประมาณประจาของหน่วยงาน รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศร.า2ยง5า6น2ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รหิตนแห้า่ง2ชา8ติ 29

สรุปผลการประเมินผลส�ำเร็จของโครงการในภาพรวมของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ความส�ำเรจ็ ของโครงการในภาพรวมตามยุทธศาสตรช์ าติฯ ระยะท่ี 3 ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 พ (กส5ารบรุปตวทผัว่าุจลชรก้วีมิตคาดัีผวรร)1ลาปะไม.กย รดสาะะตค้ํารเทัวมะเปี่รชินแ3็จร้วี ผนขะ(ัดลพนอเดมสง.เศา้ฉํโินาคน.เลเรรฉ2ก่ยีจ็ง5ลลขก36ี่ยุ่มาอ0.อรเ9งปใโย1–นค้าู่ท2ภหรค่ี5งาะม3ก6พแาา4.ร1นยร)ว6เในมหนตมภ(คาจาาะมาะพแยกสรุทนควมธนะมกศแขบัานออสวยนงตัตยู่ใเรถตนุทชปุม็รธาระศต5ะดาิฯสสับครงตะะครปแย์ชไะนาาดทนนต้ค่ีกิว)3ะาลซแปดาึง่ นวรปงะนยรจกสโะําดางูกปรยสอปงมุดบบอีคปด4งวกร.ว้ า6ะันยม3มแสาลคณ�ำะะเปรแพ็จรน.าใศนบน. ปม2ร5ิตา6ิดม2้านต้นทาง พบวา มีผล2ก.า รตปวั รชะี้วเมดั ินดเา้ ฉนลกี่ยจิ อกยรูทรี่ ม3เ.1ห6มาคะะสแมนกนับอกยลูใุม่นเรปะา้ดหับมปายานไกดลค้ าะงแโนดนยม4ีค.4ว8ามคสะําแเรน็จนในมิติดานตนทาง (5 ตัวชว้ี ัด) 3ได. ค ตะวัแชน้วีนดัเฉดล้าี่ยน3เน.9้อื 1หคาะ/แเอนกนส(าจรากเหคมะแานะนสเมตก็มับ5กจิคะกแรนรนม)แซลง่ึะปกรละุม่กอเปบา้ดหวยมาย ได้คะแนน 4.34 คะแนน 1. 45ตตต..วัวััวชชช ตต้ี้ีวว้วี ััววดัดััดชชดดดววี้ี้าาานนนดัดั เกกดดนิจลา้า้ ือ้ กุมนนหรเกวปารตัา/มา เรถหเอหปุปมกมราสรายะะาะเเรสหสมเงหมมนิ คมากผ์สะาับลสะอกเมสดลหมกุคมมบักเลาปบัวอ้ะาตักงสหถิจกมมปุกับากรรยรตะับมสัวกไแงชดิจคลค้วี กะะัดไกรดแตรลคนามมุะนมเแปไย4นดาทุ.น4ค้หธส8มะศูงาแคสายนะุดสแนไต4ดนนร.คน6์อ้ ะไ3ยดแคทนค้ ะนส่ีะแแดุ น4น.น(3น24.33ค8.ะ7แค1นะนคแะนแนน)น 2. 3. เต ปเตนนัววัร่ืื่ออชชะงง้ีวสวี้ จจัดัดทิ าาดดธกก4ส5า้าผิ ..กกนํานลสหตตาากกำ�วััวรรรา(าชชัหบใใร2ชชร้ีว้วีใมรชใดััด้จตจบัิตชจดด่าาวั ิปมจ้ายาายชย่ารตินนงงว้ี ะยงวกบปิบดั สบงตัาป)ปริทบปรถะรไรปธปุรปดสะะิภระรรค้ิทมมะมะาะะเธาาพสามมแณณภิณงินาคน(า2ไผไณสนไพมมลดอตเเ่เเฉดปัปวหไ(12ดลคชมน็น.8้ีลวย่ี้าตไไ2ัด1อะปปัว3)ง.สคตช8ตก.ไม4ะ2ว้ีาดาบั ก8แมัดมคตบั นค)แะแวัคกแนะผไชผะิจดนแ้ีวนนแกแ้คนัดนทนทรลตเะนร่ีฉกนะ่ีกาแมลํตาม�ำน(่ีแยหัวหไยปนดชลนุทน2รเค้ีวะธ.ดฉะด7ัดะตศกลไ5ไแดาัวววยี่อนาสคช้บนนรตะ2ี้วรดวนกแร.ดัว7ม้วานอมดไ5รยถยนดถ้าดึทงคคนึงตําอก่สีะกะเกัวยาแุดนแาชูใารนินนรนรว้ี(ดน2ดรงดัดนํา.าะ�ำ3ำ�ด3เนดเ8อนเ.า้นั7บตนิยนนค1ิานปินู่ใกกะมนากคงแาาแนาราะนรรผกนะรแนบไนลไดนมต)รมาไบันเารดง่เปมลปป (น3แเุาป็นป.ไนผ6รไป้า9นปะกหตกลไตคมาดอาาะมา้บงมแยแ3ดนแ(ตผ.ปว6ผนานยร9นม)ะตกคสวั อะช่วบแี้วนดนัดมว้ไนิตดย)ิ้ 4ส.ว0น3มคิตะิปแรนะนสิทแธลิผะลตวั (ช2ีว้ ตัดวั ดชา้ ้ีวนัดก) ลไดมุ่ คเปะา้แหนมนาเฉยลน่ยี ำ� ผ3ล.4ผ8ลิตคไะปแในชนใ้ น(กปารระปกอฏบบิ ดัตวิงยานตไัวดช้ 2้วี ดั.9ด3า คนะกแารนบนร)รพลบุเปวาา่ หกมารยดตำ� าเมนนิ โครงการ สตัวาชมี้วาัดรไถดบ 4ร.0ร3ลุเคปะ้าแหนนมาแยลตะตามัวชตี้วัวัดชดี้วาัดนทกล่ีกมุ �ำเหปานหดมไาวย้ไนดาํ ้ ผแลตผ่กลิตลไุ่มปเใปชใ้านหกมาราปยฏมิบีกัตาิงรานน�ำไดผ ล2ผ.9ล3ิตคไะปแในชน้ใ)นพกบาวราปฏิบัติงาน กตเใกแสกกพนาาาผาาายีมรรรเนรมดปาดงปปกแรรืาํอฏรราถะผเนะิบระนสดนดเัตรเกินบัมมาํุภปิงันโปินเินาภคานยานผาตรยินนาพงลอใงเยกกรสพนางลวานำ�นแียเมราเดแลงรสกง2รืลอ็จวาาะท5วรเมขนดสเป6ง้ัาอสกับนรรร2งรั็นะจปถี้เโ็จนเตคบายมทใือ่นนรารินา�ำงงมรกเยผใจดกลลแลหนาือาุเาสผกป้ในรงํานนม2าตกเรทหภีขบ5าัน็จ้ัง้อมมาา6ยขนจยายงา2อี้เยำ�ตใยุทนงกนตนโัวธซ่ือคดัาเชศง่ึงดรมก2จี้วงาใือ5ตากานัสด6รนัวากต/โป2ชรกมคบรต้ีรวัีนขทช์ราาัะดอยํมาางงเทมจใตยากกี่หกําินุยทิฯิาจําใกผนธรนกหัดรศลทบรนะกา2ส่ีราปสดยา5ำ�งมตรไะรเ6ตวรปรยทะ2ัวไจ็ชรังเดี่ชขาะม3ไซี้วตอมเแิน่ึดังมฯิไง่ตสใด/นิบโนกบรคาด้ผาะลโามรังลงคยงุมงนาสโกะรกเรคี้ ํปาิจทงา ถเกรการี่รป3รงหทา็จรกรรมีร่ขไมดะทะาาอยดยรยเ่ีปงงัมงัะมมโไรคนิมนเีกีแะวร้ีสาผลผเงารมลากนมนินใไาากนําดรบรผากทถ้าลราป่ีรสงผรดะรโาปล�ยะคำมิตรเะเรมาะนไเงินปวรเิกนมลผถใางนิชาลสราใใตไรมนนดน้อุปี แงภแลาล้วพ้วเเสรสวรรม็จ็จ แผนภแากพผานทรี่ภป2า้อภพปงารกทพานั ่ีบร2แวปมลรภผาะาลมปพกกราราารรวบปทมปรุจผะรรลเิตามกมินราะกผรยลาปะสรทรทําะี่เจุร3เ็จมร(ขติพินอ.ผศงรโ.ละค2ยสร5ะำ�ง6กทเ0ราี่็จร3–/ขก2(อิจพ5งก6.โศร4คร).รมป2งตง5กาบ6ามปร0ยร/ทุ ะก-ธมิจศ2ากา5ณสร6ตรพ4รม.)ชศตา.ปาต2ีงมิว5บาย6ดป2ทุ วรธยะศกมาาารสณปตอรงพ์ชก.าันศตแ.วิล2ะ่า5ด6ว้ 2ย 3.91 คะแนน มติ ิการประเมนิ ตน ทาง วัตถปุ ระสงคส อดคลองกับตวั ชี้วัดยุทธศาสตร 3.71 กลมุ เปา หมายเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค 4.63 3.16 คะแนน 2.75 คะแนน มติ ปิ ระสิทธภิ าพ กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย 4.48 เนอ้ื หา/เอกสารเหมาะสมกับกจิ กรรมและกลมุ เปา หมาย 4.34 การประเมินผลเหมาะสมกับกิจกรรม 2.38 3.48 คะแนน มิตปิ ระสิทธผิ ล การใชจา ยงบประมาณ 1.82 การดาํ เนนิ งานตามแผน 3.69 การบรรลเุ ปา หมายตวั ชว้ี ัด 4.03 กลมุ เปาหมายนาํ ผลผลติ ไปใชในการปฏบิ ัตงิ าน 2.93 3ร0ายงราายนงปานระปรจะาํจป�ำปงีงบบปปรระะมมาณาณพ.พศ..ศ2.562256ค2ณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ หนา 46

ปัจจัยความส�ำเร็จในการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการด�ำเนินโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 1 - 6 พบว่า การออกแบบโครงการท่ีดี เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ เน่ืองจากเป็นขั้นเริ่มแรกท่ีจะส่งผลต่อคุณภาพการท�ำโครงการและความส�ำเร็จในการขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 โดยผู้ด�ำเนินโครงการควรเร่ิมจากการศึกษาและท�ำความเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ของยุทธศาสตร์แล้วท�ำการออกแบบโครงการท่ียึดโยง กับยทุ ธศาสตรน์ นั้ เพื่อให้โครงการส่งผลต่อเปา้ หมายของโครงการท่แี ทจ้ ริงอนั สง่ ผลตอ่ การขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ โดยการออกแบบโครงการต้องเริ่มตั้งแต่การก�ำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการท่ีมีส่วนช่วยในการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์ ซ่ึงการเขียนวัตถุประสงค์โครงการไม่ควรมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์กว้างที่ไม่ได้เกิดจาก โครงการโดยตรง เพราะหากมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์โครงการให้เฉพาะเจาะจงในผลผลิตโดยตรงท่ีเกิดขึ้น จากโครงการ จะท�ำให้เห็นภาพความส�ำเร็จของโครงการได้ชัดเจนและตรงประเด็นมากกว่า รวมทั้งการก�ำหนด กลุ่มเปา้ หมาย เน้ือหา/เอกสารทใี่ ช้ในการด�ำเนนิ โครงการ รูปแบบของกิจกรรมทเ่ี หมาะสมกับโครงการทอี่ อกแบบไว้ เนื่องจากการด�ำเนินโครงการมีหลายประเภท ซึ่งในแต่ละประเภทโครงการมีวัตถุประสงค์และบริบท ของการด�ำเนินโครงการที่แตกต่างกัน ท�ำให้มีผลต่อการก�ำหนดรายละเอียดของโครงการ นอกจากการก�ำหนด รายละเอียดข้างต้นแล้ว ควรมีการก�ำหนดการติดตามประเมินผลที่เหมาะสมกับกิจกรรมไว้ในเอกสารด�ำเนินโครงการ เพื่อเป็นการวัดผลความส�ำเร็จของโครงการ รวมถึงน�ำข้อคิดเห็นที่ได้ไปท�ำการปรับปรุงหรือพัฒนาโครงการ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้ึน เช่น โครงการประเภทอบรม ที่มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือสร้างองค์ความรใู้ หก้ บั ผเู้ ขา้ ร่วมอบรม ควรมีการท�ำแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจในบริบทท่ีอบรมก่อนและหลังการอบรม เพ่ือประเมินว่าผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด ซึ่งการประเมินดังกล่าวดีกว่าการใช้แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ เน่ืองจากไม่สามารถสะท้อนถึงความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมอบรมได้อย่างแท้จริง ซ่ึงข้อค�ำถามที่ใช้วัดผล ควรเป็นข้อค�ำถามเก่ียวกับองค์ความรู้ที่สามารถเอาไปใช้ได้หรือมาจากการอบรม และหลังจากการด�ำเนินโครงการ เสร็จสิ้นระยะหนึ่ง ผู้จดั ท�ำโครงการควรวางแผนการตดิ ตามประเมินผลการน�ำความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นทางปฏิบตั ิ เน่ืองจากอาจต้องมีการผลกั ดันหรอื แก้ไขปรับปรุงให้มีการน�ำความรู้ที่ไดไ้ ปสกู่ ารปฏบิ ัติ เพ่อื ให้การจัดท�ำโครงการ บรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเกดิ ประโยชนม์ ากทีส่ ดุ เป็นตน้ นอกจากการออกแบบโครงการท่ีเร่ิมตั้งแต่การวางแผนโครงการ การก�ำหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม และการประเมินผลท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกันแล้ว ผู้ด�ำเนินโครงการควรมีการวางแผน การด�ำเนินโครงการให้มีการใช้งบประมาณที่มีประสิทธิภาพ มีการด�ำเนินงานตามแผนที่ก�ำหนดไว้ รวมถึง ควรให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินโครงการท่ีมุ่งให้เกิดการบรรลุตามเป้าหมายของโครงการ และการประเมินผล ด้านกลุ่มเป้าหมายน�ำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การด�ำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และขับเคล่ือนไปสู่ผลสำ� เร็จของตัวชี้วัดยทุ ธศาสตร์มากทีส่ ดุ 2. การออกแบบโครงการให้เหมาะสมกับจุดเน้นของยุทธศาสตร์และภารกิจหน่วยงาน ซึ่งหาก จะสามารถบรรลุเป้าหมายยทุ ธศาสตร์ในการยกระดับคะแนนดชั นีการรบั รู้การทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยแล้ว ควรน�ำประเด็นข้อค�ำถามจากแหล่งข้อมูลท่ีใช้ในการค�ำนวณดัชนีการรับรู้ การทุจริตตามแหล่งข้อมูล 9 แหล่ง ซ่ึงองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติใช้ในการค�ำนวณคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริต (CPI) ของประเทศไทยใช้เป็นฐานการประเมิน เป็นตัวตั้งและออกแบบโครงการภายใต้ภารกิจหน่วยงาน ท่ีจะตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และแก้ปัญหาการทุจริตในส่ิงที่เป็นจุดเน้นของข้อค�ำถาม ท้ังนี้ จากแหล่งข้อมูล ท้งั 9 แหล่งที่ใชป้ ระกอบในการค�ำนวณค่าดัชนีการรับรู้การทุจริต ขอ้ มลู สว่ นใหญม่ าจากการส�ำรวจกลุ่มนักธุรกจิ ในมมุ มองและความคิดเห็นเก่ยี วกบั การดำ� เนินการในการจดั ตง้ั บริษัท การทำ� ธรุ กจิ ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับประสบการณ์การจ่ายสินบนให้แก่เจ้าหน้าที่รัฐและการใช้อ�ำนาจหน้าท่ีโดยมิชอบ รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 31

ในการแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ความโปร่งใสในกระบวนการ/ขั้นตอนเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณ ของประเทศ นอกจากน้ี การจัดท�ำดัชนียังได้มีการน�ำประเด็นท่ีเป็นบริบทเข้ามาร่วมพิจารณาด้วย ไม่ว่าจะเป็น ระบบการเมือง กระบวนการยุติธรรม ความเป็นกลางของศาล และการบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การที่ประเทศไทยพยายามยกระดับคะแนนค่าดัชนีการรับรู้การทุจริตให้สูงขึ้นได้ จะต้องด�ำเนินการหลายด้าน พรอ้ มกันและต้องแสดงให้นักธุรกิจเห็นเป็นรูปธรรมว่า การท�ำงานของเจ้าหน้าท่ีรฐั ระดบั การเมอื ง กระบวนการ ยตุ ิธรรมมีความเปน็ ธรรม โปร่งใสอยา่ งแทจ้ ริง นอกจากนี้ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลักในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะท่ี 3 ซ่ึงได้ท�ำการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) และน�ำเสนอแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริต (CPI) ต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือมีมติเห็นชอบข้อเสนอให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องถือปฏิบัติแล้ว ดังน้ันเพ่ือเป็นการด�ำเนินโครงการที่เป็นรูปธรรม และให้หน่วยงานรัฐที่เก่ียวข้องด�ำเนินโครงการที่มีผลโดยตรง กับการผลักดันและยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ควรออกแบบโครงการ ที่สอดคล้องกับประเด็นค�ำถามและกลุ่มเป้าหมายจากแหล่งข้อมูลที่องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (TI) ใช้ในการค�ำนวณ ค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทยร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพือ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและมีเป้าหมายรว่ มกัน ซ่งึ โครงการท่ีด�ำเนินการต้องสอดรับการภารกิจของหนว่ ยงานนั้น ๆ ตาราง ข้อเสนอแนะการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) เพ่ือยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย ตามแหล่งขอ้ มูล แหล่งข้อมูล/ประเดน็ คำ� ถาม ขอ้ เสนอแนะการดำ� เนนิ โครงการเพอ่ื ยกระดับคา่ คะแนน ยทุ ธศาสตร์/ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดชั นกี ารรับรกู้ ารทุจรติ กลยทุ ธ์ที่ เกย่ี วขอ้ ง ประสบการณก์ ารจ่ายสนิ บนใหแ้ กเ่ จา้ หน้าท่รี ัฐและการใชอ้ ำ� นาจหน้าท่ีโดยมชิ อบในการแสวงหาประโยชนส์ ่วนตน 1. Global Insight Country (1) โครงการทบทวนและพัฒนาระบบ - สำ� นกั งาน ป.ป.ช. Risk Rating (GI) (1.1) ควรด�ำเนินโครงการทบทวนและพัฒนาระบบ ย.4 (ก.3) - ส�ำนักงาน ป.ป.ท. 2. IMD World การออกใบอนุญาตหรือเอกสารประกอบต่าง ๆ - หน่วยงานที่มีอ�ำนาจ Competitiveness ในการประกอบธุรกิจ หรือการเป็นส่วนหนึ่งของใบอนุญาต หนา้ ที่ในการบญั ญตั ิ/ Yearbook (IMD) หรอื ค�ำขอตา่ ง ๆ เพอื่ ลดข้นั ตอนและระยะเวลาท่ีเกินจ�ำเป็น บงั คับใช้กฎหมาย 3. World Economic Forum รวมถึงควรลดจ�ำนวนใบอนุญาต และค�ำขอท่ีไม่มี - หนว่ ยงานที่มอี �ำนาจ Executive Opinion ความจำ� เปน็ หนา้ ทเ่ี กย่ี วกับการ Survey (EOS) (WEF) (1.2) ควรบูรณาการระบบการท�ำงานของหน่วยงาน ย.4 (ก.1) ออกใบอนญุ าต/ 4. World Justice Project ในรปู แบบตา่ ง ๆ นำ� เทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยเพ่ิมประสิทธภิ าพ อนมุ ัติ/ใบรบั รอง ฯลฯ Rule of Law Index (WJP) การท�ำงาน และอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการ - กระทรวงพาณิชย์ รวมถึงยังเป็นการลดโอกาสของเจ้าหน้าที่รัฐในการเรียกรับ - กระทรวงอตุ สาหกรรม สินบนจากผู้มารับบรกิ ารได้ - หน่วยงานภาครฐั (2) โครงการดา้ นการประชาสัมพันธ์ ย.3 (ก.4) ท่เี ก่ยี วข้อง ควรด�ำเนินการประชาสัมพันธ์และสร้างความรู้ ย.4 (ก.4) - สอ่ื มวลชน ความเข้าใจในการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ ย.5 (ก.8) การจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงาน การออกใบอนุญาต หรือ คำ� ขอต่าง ๆ พร้อมระยะเวลาและคา่ ใช้จา่ ยในข้นั ตอนต่าง ๆ โดยจัดท�ำคู่มือที่เก่ียวข้องกับการท�ำธุรกรรมทางการค้า การลงทนุ ดา้ นแรงงาน ฯลฯ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศทเี่ ปน็ สากล 32 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

แหล่งข้อมลู /ประเดน็ คำ� ถาม ขอ้ เสนอแนะการด�ำเนินโครงการเพอ่ื ยกระดับค่าคะแนน ยทุ ธศาสตร/์ หน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง ดัชนีการรบั รกู้ ารทุจริต กลยทุ ธ์ท่ี เกีย่ วขอ้ ง และจัดท�ำส่ือประชาสัมพันธ์ท่ีเข้าใจง่ายในรูปแบบและ เนื้อหาที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในระดับต่าง ๆ เช่น นักลงทุน ประชาชน ฯลฯ โดยเผยแพร่สื่อดังกล่าวไปยัง ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และประชาชนผ่านทางช่องทางต่าง ๆ เช่น สื่อออนไลน์ โทรทัศน์ ฯลฯ และขอความร่วมมือจาก สื่อมวลชนเพ่ือให้การประชาสัมพันธ์เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ไดค้ รอบคลุมมากขน้ึ (3) โครงการอบรม/สัมมนา/แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ย.1 (ก.1) - ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. (3.1) จดั ประชมุ ชีแ้ จงมาตรการป้องกนั การใหส้ ินบน/ ย.2 (ก.3) - ส�ำนักงาน ป.ป.ท. การใช้อ�ำนาจหน้าที่โดยมิชอบเพื่อแสวงผลประโยชน์ส่วน ย.3 (ก.1 - หน่วยงานทมี่ อี �ำนาจ ตนของประเทศไทย บทลงโทษ ช่องทางการร้องเรียน/ ย.4 (ก.1-4) หน้าทใี่ นการบญั ญตั ิ/ ติดตามเรื่องร้องเรียนให้แก่นักลงทุน และประเด็นที่ ย.5 (ก.7) บงั คับใช้กฎหมาย เกี่ยวข้องอื่น ๆ จากทุกภาคส่วน เพ่ือให้ทราบถึงแนวทาง - หน่วยงานทม่ี อี �ำนาจ การปฏบิ ตั ิทปี่ ระเทศไทยได้ดำ� เนนิ การ และเพ่อื เป็นการรบั ฟงั หนา้ ท่ีเก่ยี วกบั การ ความเห็น/ข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงว่า ออกใบอนุญาต/ ควรด�ำเนินการ/พัฒนาระบบการให้บริการหรือกฎหมาย/ อนุมตั /ิ ใบรับรอง ฯลฯ ระเบียบต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่างไรเพ่ือแก้ไขปัญหา - กระทรวงพาณิชย์ การรับสินบน/การใช้อ�ำนาจหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ - กระทรวงอตุ สาหกรรม ซึ่งการจัดประชุมน้ีไม่เพียงแต่จะได้ในส่วนของเน้ือหาสาระ - หนว่ ยงานภาครฐั แต่ยังแสดงให้นักลงทุน ทั้งชาวต่างชาติและชาวไทยเห็นว่า ทเ่ี ก่ียวข้อง ประเทศไทยไม่ได้น่ิงนอนใจ ในการแกไ้ ขปญั หาและพรอ้ มท่ี - สื่อมวลชน จะรบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะจากทกุ ภาคสว่ นท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนา ระบบ/กฎหมายให้มีประสทิ ธิภาพมากข้ึน ความโปร่งใสในกระบวนการ/ขัน้ ตอนเกี่ยวกบั การจัดสรรงบประมาณของประเทศ 5. Economist Intelligence (1) โครงการพฒั นาระบบ - รัฐบาล Unit Country Risk Rating (1.1) พัฒนาระบบงบประมาณให้มีการเปิดเผยข้อมูล ย.2 (ก.4) - สภาผ้แู ทนราษฎร (EIU) และสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการงบประมาณของ ย.3 (ก.3) - วุฒสิ ภา ทุกหน่วยงานภาครัฐ ต้ังแต่เร่ิมจัดท�ำค�ำของบประมาณ ย.4 (ก.1) - ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จนถึงการใช้งบประมาณและประเมินผลการใช้งบประมาณ - ส�ำนักงบประมาณ รวมถึงควรมีช่องทางให้ประชาชนและทุกภาคส่วนสามารถ - สำ� นักงานการ ตรวจสอบ/แสดงความเห็น/ข้อสังเกต/แจ้งเบาะแส ตรวจเงนิ แผ่นดนิ เม่ือพบว่ากระบวนการงบประมาณหรือมีการใช้จ่าย - ส�ำนกั งานสภา งบประมาณท่ีส่อถึงการทุจริต ซ่ึงช่องทางการให้ประชาชน พฒั นาการเศรษฐกิจ หรือภาคส่วนต่าง ๆ แสดงความเห็น/ต้ังข้อสังเกต/ และสังคมแห่งชาติ แ จ ้ ง เ บ า ะ แ ส ค ว ร เ ป ็ น ช ่ อ ง ท า ง ท่ี ส ะ ด ว ก ป ล อ ด ภั ย - หนว่ ยงานท่มี ีอ�ำนาจ และสามารถติดตามความคบื หน้า/ผลการด�ำเนินการได้ หน้าทีใ่ นการบญั ญัต/ิ (1.2) พัฒนาระบบการตรวจสอบควบคุมภายในและ ย.2 (ก.4 ก.6) บังคับใช้กฎหมาย ก�ำกับดูแลการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ ย.3 (ก.1) - หน่วยงานภาครัฐ ให้มีความรวดเร็วและเข้มงวด โดยใช้กลไกการควบคุม ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ภายในและภายนอก - สอื่ มวลชน รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 33

แหล่งข้อมลู /ประเดน็ คำ� ถาม ข้อเสนอแนะการด�ำเนินโครงการเพ่ือยกระดบั ค่าคะแนน ยทุ ธศาสตร/์ หนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ดชั นีการรบั รูก้ ารทุจริต กลยทุ ธ์ท่ี เกย่ี วข้อง (2) โครงการส่ือประชาสมั พนั ธ์ ย.3 (ก.4) (2.1) จัดท�ำส่ือประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับกระบวนการ ย.4 (ก.3 ก.8) งบประมาณและช่องทางการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ/ ย.5 (ก.8) แจ้งเบาะแสเมื่อพบว่า มีกระบวนการ/จ�ำนวนงบประมาณ ที่ไม่เหมาะสมในการด�ำเนินงานและส่อให้เห็นถึงการทุจริต โดยจัดท�ำเป็นภาษาต่างประเทศท่ีเป็นสากล เพื่อให้ ทุกภาคส่วนมีความเข้าใจ และทราบถึงช่องทาง/บทบาท ในการมีส่วนร่วมตรวจสอบและแจ้งเบาะแส/ตั้งข้อสังเกต เมื่อพบว่าอาจมีการทุจริตเกิดข้ึนในการด�ำเนินการของ หน่วยงานต่าง ๆ โดยเผยแพร่ส่ือดังกล่าวไปยังบรรษัท ขา้ มชาติ นักลงทุน ทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และประชาชน ผ่านทางช่องทางตา่ ง ๆ เช่น สอ่ื ออนไลน์ โทรทศั น์ ฯลฯ และ ขอความร่วมมือจากสื่อมวลชน เพื่อให้การประชาสัมพันธ์ เข้าถงึ กลุม่ เป้าหมายได้ครอบคลมุ มากข้นึ (3) โครงการอบรม/สัมมนา ย.2 (ก.4) (3.1) ควรจัดสัมมนาเพ่ือระดมความเห็นจากภาคส่วน ย.3 (ก.1) ต่าง ๆ ในการพัฒนาจัดสรรและกระบวนการงบประมาณ ย.4 (ก.8) เพอื่ พฒั นาระบบงบประมาณใหม้ ีความโปรง่ ใสมากขน้ึ สถานการณป์ ญั หาการทุจริตและการบงั คบั ใช้กฎหมายเมื่อมีการทจุ ริตเกิดข้ึน 6. Bertelsmann (1) โครงการพฒั นาระบบ ย.5 (ก.1 ก.2 - ส�ำนักงาน ป.ป.ช. Foundation (1.1) โครงการพัฒนาระบบเชิงบูรณาการภายใน ก.5 ก. 8) - ส�ำนกั งาน ป.ป.ท. Transformation Index หน่วยงานและระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม/ - หน่วยงานใน 7. Political and Economic หน่วยงานภาครัฐ ต้ังแต่การรับเรื่องร้องเรียน/การติดตาม กระบวนการยุตธิ รรม Risk Consultancy (PERC) เร่ืองร้องเรียนแบบออนไลน์ การแจ้งเบาะแสท่ีประชาชน - หน่วยงานท่มี อี �ำนาจ มคี วามเช่อื มัน่ ไวใ้ จ ระบบการตรวจสอบการเคลื่อนไหวของ หนา้ ที่ในการบญั ญตั /ิ ทรัพย์สินและหน้ีสิน พร้อมรายงานสถานะความคืบหน้า บังคบั ใช้กฎหมาย และผลการด�ำเนินคดีเมื่อพบว่าเจ้าหน้าที่รัฐกระท�ำการทุจริต - หน่วยงานภาครัฐ โดยระบบต้องมีลักษณะที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย ไม่ซับซ้อน ที่เก่ียวข้อง และประชาสมั พันธ์ให้ทุกภาคส่วนรับรแู้ ละเข้าใจอยา่ งท่วั ถงึ - สือ่ มวลชน (2) โครงการด้านการประชาสมั พนั ธ์ ย.4 (ก.4) (2.1) จัดท�ำส่ือประชาสัมพันธ์เป็นภาษาต่างประเทศ ย.5 (ก.8) ที่เปน็ สากลเกย่ี วกับ - กฎหมายและมาตรการป้องกันการทุจริตรูปแบบต่าง ๆ ที่หน่วยงานด�ำเนินการ รวมถึงชอ่ งทางการรับเร่ืองร้องเรียน การทจุ รติ /การติดตามเรอื่ งร้องเรียน - ผลการด�ำเนินงานและความคืบหน้าเก่ียวกับคดีทุจริต ที่มีการตัดสินลงโทษผู้กระท�ำความผิดฐานทุจริต โดยเฉพาะ อย่างย่ิงคดีใหญ่ ๆ ท่ีส�ำคัญและเป็นท่ีสนใจของสาธารณะ เพื่อให้เจ้าหน้าที่รัฐตระหนักถึงโทษของการกระท�ำทุจริต และไม่กล้าตัดสินใจกระท�ำทุจริต และให้เป็นท่ีรับรู้ถึง นานาชาตวิ า่ ประเทศไทยมกี ารบงั คบั ใชก้ ฎหมายกบั ผทู้ กี่ ระทำ� ทจุ ริตอย่างจริงจงั และไม่เลอื กปฏิบตั ิ 34 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ

แหลง่ ขอ้ มลู /ประเด็นค�ำถาม ข้อเสนอแนะการดำ� เนินโครงการเพ่ือยกระดบั ค่าคะแนน ยทุ ธศาสตร์/ หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง ดชั นกี ารรับรูก้ ารทจุ ริต กลยทุ ธ์ที่ การทุจรติ ภาคการเมอื ง เกยี่ วขอ้ ง 8. Political Risk Services I nternational Country ท้ังนี้ ควรเผยแพร่ส่ือดังกล่าวไปยังบรรษัทข้ามชาติ Risk Guide (ICRG หรือ นกั ลงทุนชาวต่างชาติ ทุกภาคส่วนที่เกีย่ วข้อง และประชาชน PRS) ผ่านทางช่องทางต่าง ๆ เช่น สื่อออนไลน์ โทรทัศน์ ฯลฯ 9. Varieties of Democracy ร ว ม ถึ ง ค ว ร ข อ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก สื่ อ ม ว ล ช น เ พ่ื อ ใ ห ้ Project (VDEM)* การประชาสมั พนั ธ์เขา้ ถงึ กลมุ่ เป้าหมายไดค้ รอบคลุมมากข้ึน (3) โครงการอบรม/สัมมนา ย.5 (ก.4 ก.7) (3.1) โครงการสัมมนาระหว่างหน่วยงานในกระบวนการ ยุติธรรมและหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน/ นักลงทุน ภาคประชาสังคมเพื่อแลกเปลี่ยนความเห็น เก่ียวกับปัญหาอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายเพ่ือหา แนวทางการปรับแก้กฎหมายและบูรณาการการรับเร่ือง ร้องเรียน/แจ้งเบาะแส/ติดตามสถานะเรื่องร้องเรียน ฯลฯ ให้มีประสิทธิภาพ (1) โครงการประกาศเจตจำ� นง ย.2 (ก.1) - ภาคการเมือง ควรด�ำเนินโครงการประกาศเจตจ�ำนงทางการเมือง - สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ของนักการเมอื ง/ผบู้ ริหารในระดับชาตแิ ละระดบั ท้องถ่ิน - องคก์ ารปกครอง (2) โครงการพฒั นาระบบ ย.2 (ก.6) สว่ นทอ้ งถ่ิน ค ว ร ด� ำ เ นิ น โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ น วั ต ก ร ร ม - หน่วยงานภาครัฐ ในการรายงานผลการด�ำเนินงานของภาคการเมือง ทั้งใน ที่เกยี่ วข้อง ระดับชาติและระดับท้องถิ่น เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการตรวจสอบและแจ้งเบาะแสได้ และน�ำไปสู่ขั้นตอน การไตส่ วนและดำ� เนนิ คดขี องหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง (3) โครงการประชาสมั พันธ์ ย.4 (ก.3 ก.8) เม่ือระบบนวัตกรรมในการรายงานผลการด�ำเนินงาน ย.5 (ก.8) ของภาคการเมืองท้ังในระดับชาติสามารถใช้ได้จริงแล้ว ควรจัดท�ำสื่อประชาสัมพันธ์และระดับท้องถิ่น เป็นภาษา ต่างประเทศที่เป็นสากล และเผยแพร่สื่อดังกล่าวไปยัง ทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และประชาชน ผา่ นทางชอ่ งทางตา่ ง ๆ ร ว ม ถึ ง ค ว ร ข อ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก สื่ อ ม ว ล ช น เ พื่ อ ใ ห ้ การประชาสัมพันธเ์ ข้าถงึ กลุ่มเปา้ หมายได้ครอบคลุมมากขนึ้ หมายเหตุ: (1) อักษาย่อ ย. แทน ยทุ ธศาสตร์ และ ก. แทน กลยุทธ์ (2) ส�ำหรับรายละเอียดของกลยุทธ์ในแต่ละยุทธศาสตร์ สามารถดูรายละเอียดได้ในยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 35



ภาพรวมการเปรียบเทียบงบประมาณระหวา่ ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ◆ งบประมาณทส่ี ำ� นกั งาน ป.ป.ช.ไดร้ ับจดั สรรจำ� แนกรายการคา่ ใช้จา่ ย ◆ ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ 37

ภาพรวมการเปรียบเทยี บงบประมาณ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กับปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. งบประมาณทส่ี ำ�นกั งาน ป.ป.ช. ไดร้ บั จัดสรรจำ�แนกรายการค่าใช้จา่ ย ล�ำดับ หมวดรายการคา่ ใช้จ่าย งบประมาณทีไ่ ดร้ ับจัดสรร เพิม่ ขนึ้ /ลดลง รอ้ ยละ 1 บคุ ลากร 2561 2562 จ�ำนวน (1.45) 2 การจัดการและบริหารองคก์ ร 1,382,262,600 1,362,205,000 (20,057,600) (0.82) 3 คา่ ครุภัณฑ์ ทีด่ ินและส่งิ ก่อสรา้ ง 759,707,300 753,512,300 (6,195,000) (56.79) รวมท้ังสน้ิ 284,758,800 123,044,000 (7.75) 2,426,728,700 2,238,761,300 (161,714,800) (187,967,400) ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ�ำนวน 2,238,761,300 บาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 187,967,400 บาท คิดเป็นร้อยละ 7.75 โดยจ�ำแนกตามหมวดรายการค่าใช้จ่ายได้ ดงั นี้ - ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร จ�ำนวน 1,362,205,000 บาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 20,057,600 บาท คดิ เป็นร้อยละ 1.45 - ค่าใช้จา่ ยในการจัดการและบรหิ ารองค์กร จ�ำนวน 753,512,300 บาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำ� นวน 6,195,000 บาท คดิ เป็นร้อยละ 0.82 - ค่าใชจ้ า่ ยครุภัณฑ์ ทีด่ ินและสิ่งก่อสรา้ งจำ� นวน 123,044,000 บาท ลดลงจากปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 161,714,800 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.79 2. ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ ลำ� ดบั ปปรระะเภมทาณงบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เรพ้อ่มิ ยขลึ้นะ/ งบทปีไ่ รดะร้ มับาณ งบทปี่ไรดะ้รมบั าณ ลดลง เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ เบกิ จ่าย ร้อยละ 3.06 1 บุคลากร 1,310,210,830.00 1,215,354,735.77 92.76 1,362,205,000.00 1,252,585,267.50 91.95 2.75 2 การจัดการและ 767,137,486.40 573,393,995.51 74.74 753,512,300.00 589,136,879.17 78.19 (66.08) บรหิ ารองค์กร (8.31) 3 ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน 349,380,383.60 348,915,723.20 99.86 123,044,000.00 118,355,386.57 96.19 และสิ่งกอ่ สร้าง รวมทงั้ สิน้ 2,426,728,700.00 2,137,664,454.48 88.09 2,238,761,300.00 1,960,077,533.24 87.55 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มีการใชจ้ ่ายงบประมาณ จ�ำนวน 1,779,711,743.94 บาท และกนั เงินเหลื่อมปี จำ� นวน 180,365,789.30 บาท รวมงบประมาณรายจ่ายทงั้ สิ้น จำ� นวน 1,960,077,533.24 บาท โดยเมือ่ เทียบกบั การใช้จ่ายกบั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แลว้ ลดลงร้อยละ 8.31 38 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ

1. งบประมาณท่ีสำ� นักงาน ป.ป.ช. ได้รับจัดสรรจำ� แนกตามหมวดรายการคา่ ใชจ้ า่ ย ผลการดำ� เนนิ ขงอางนคตณาะมกหรนรา้ มทกี่แาลระอป�ำ.ปน.าชจ.ลำ�ดบั หมวดรายการคา่ ใชจ้ า่ ย งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร เพ่มิ ขึน้ /ลดลง ร้อยละ 2561 2562 จำ�นวน 1 บคุ ลากร 2 การจดั การและบรหิ ารองค์กร 3 คา่ ครุภัณฑ์ ที่ดนิ และสิ่งกอ่ สรา้ ง รวมทัง้ ส้นิ 2. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ l สัมฤทธผิ ลปขีงบอปงระกมาาณรพด.ศำ�. 2เ5น61นิ งานในภาพรวมครปอีงบบปคระลมามุณ พก.ศา. ร25ด62ำ� เนินงาน ตามงอบปำ� รนะมาาณจหนา้ ทตี่ าเบมิกจท่ายีก่ ฎหมราอ้ ยยลกะ �ำหนงดบประมาณ รอ้ ยละ ลำ�ดบั ประเภทงบ เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ เพ่มิ ขนึ้ / ลดลง ประมาณ ◆ ทีไ่ ดดร้ บั ้านปราบปรามการทุจรติ ทไี่ ด้รับ 1 บคุ ลากร ◆ ด้านปอ้ งกันการทุจริต 2 การจดั การและ ◆ ดา้ นตรวจสอบทรพั ยส์ ินและหนี้สิน บรหิ ารองคก์ ร ◆ ด้านกฎหมาย ◆ ด้านการพฒั นาบคุ ลากร 3 ค่าครภุ ัณฑ์ ทดี่ ิน และสงิ่ ก่อสร้าง รวมท้งั สน้ิ ◆ ดา้ นการพฒั นาสงิ่ แวดล้อมภายในองคก์ ร ◆ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ◆ ด้านการวจิ ัย ◆ ด้านการต่างประเทศ ◆ กองทุนปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ ◆ ด้านสือ่ สารองค์กร l สัมฤทธิผลของการด�ำเนินงานตามระบบการประเมนิ ผล ภาคราชการแบบบรู ณาการ รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ 39

ผลการด�ำเนนิ งานตามหนา้ ท่ีและอำ� นาจ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สัมฤทธผิ ลของการดำ�เนนิ งานในภาพรวมครอบคลุมการดำ�เนนิ งาน ตามอำ�นาจหน้าที่ ตามทก่ี ฎหมายกำ�หนด หลงั จากประกาศใช้รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 และพระราชบัญญตั ิประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 21 กรกฎาคม 2561) มีผลใช้บังคับ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีการปรับเปล่ียนบทบาทหน้าท่ีให้สอดคล้องกับ บทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นด้านการปราบปรามการทุจริตท่ีต้องตรวจสอบผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน รวมถึง เจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกระดับต�ำแหน่ง ว่ามีพฤติการณ์ร่�ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าท่ีหรือใช้ อ�ำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม อย่างร้ายแรง หรือกระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม หรือไม่ และต้องด�ำเนินการภายใต้กรอบระยะตามที่กฎหมายก�ำหนด ขณะเดียวกันสามารถมอบหมาย ให้หน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องไปด�ำเนินการแทนในบางเรื่องบางระดับได้เพื่อให้เกิดความรวดเร็วมากข้ึน ในด้านการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินได้ก�ำหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐที่ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญๆ มีหน้าท่ีย่ืนบัญชี ทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส (รวมถึงคู่สมรสท่ีอยู่กินกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสด้วย) และบตุ รทยี่ งั ไมบ่ รรลุนติ ภิ าวะของบคุ คลนนั้ ๆ ด้วย อนั เปน็ กลไกทสี่ ำ� คัญในการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศ และการเพิ่มบทบาทในงานดา้ นการสง่ เสรมิ และการปอ้ งกันการทุจรติ โดยการส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการรณรงค์ ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้ช่องเบาะแสโดยได้รับการคุ้มครอง รวมถึงการสร้างกลไก มาตรการหรือแนวทางในการท่ีจะท�ำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยปราศจากการทุจริตคอรร์ ัปช่ัน โดยผลการด�ำเนนิ งานตามหนา้ ที่และอำ� นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสำ� นักงาน ป.ป.ช. ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 สรุปสาระส�ำคญั ไดด้ ังน้ี 40 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ

1. ดา้ นปราบปรามการทุจรติ หน้าที่และอำ� นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้านปราบปรามการทุจรติ ไตส่ วนกรณีกล่าวหาผดู้ ำ� รงต�ำแหน่งทางการเมอื ง ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ผดู้ ำ� รงตำ� แหน่งในองค์กรอิสระ ร่ำ� รวยผดิ ปกติ ทจุ ริตตอ่ หนา้ ท่ี จงใจปฏิบัตหิ นา้ ท/่ี ใช้อ�ำนาจขดั รัฐธรรมนญู /กฎหมายหรอื ฝา่ ฝืน/ ไม่ปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอย่างรา้ ยแรง ไตส่ วนกรณกี ลา่ วหาเจา้ หน้าทขี่ องรฐั เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐต่างประเทศ เจา้ หน้าทข่ี ององคก์ รระหว่างประเทศ ร่�ำรวยผดิ ปกติ ทจุ รติ ตอ่ หน้าท่ี ความผิดตอ่ ต�ำแหนง่ หนา้ ท่ี ความผดิ ต่อต�ำแหน่งหน้าท่ี ราชการ ในการยุติธรรม 1. กระบวนการตรวจรบั คำ� กลา่ วหา รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 วรรคสอง บัญญัติใหก้ ารปฏบิ ตั ิ หนา้ ที่ตาม (1) (2) และ (3) ให้เป็นหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาตทิ ี่จะต้องจดั ให้มีมาตรการหรือแนวทางที่จะท�ำให้การปฏิบัติหน้าท่ีมีประสิทธิภาพ เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเที่ยงธรรม ในกรณีจ�ำเป็นจะมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่และอ�ำนาจเก่ียวข้องกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตด�ำเนินการแทนในเรื่องที่มิใช่เป็นความผิดร้ายแรง หรือที่เป็นการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ของรัฐบางระดับ หรือก�ำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีของหน่วยธุรการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นผู้ด�ำเนินการสอบสวนหรือไต่สวนเบ้ืองต้นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตก็ได้ ประกอบกับพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 มาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา 63 มาตรา 64 มาตรา 65 และมาตรา 66 ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 วรรคสอง กำ� หนดไว้ ดังนี้ มาตรา 61 ในกรณีที่ผู้เสียหายได้ร้องทุกข์หรือมีผู้กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน ให้ดําเนินคดี กับเจ้าพนักงานของรัฐหรือบุคคลอื่นใดในข้อหาใดๆ บรรดาท่ีอยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้พนักงานสอบสวนแสวงหาข้อเท็จจริง รวมทงั้ รวบรวมพยานหลักฐานเบ้อื งตน้ แลว้ ส่งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในสามสิบวนั นับแตว่ ันทีไ่ ดร้ ับการรอ้ งทุกข์หรือกล่าวโทษ ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วเห็นว่าเร่ืองท่ีได้รับมาตามวรรคหน่ึง ไม่อยู่ในหน้าที่ และอาํ นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือแม้จะอยใู่ นหน้าทแ่ี ละอํานาจแต่เปน็ เรือ่ งไมร่ ้ายแรง ทเ่ี ป็นการกล่าวหา เจ้าพนักงานของรัฐ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรมอบหมายให้พนักงานสอบสวนเป็นผู้ดําเนินการ ก็ให้ส่งเรื่องคืนพนักงานสอบสวนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเร่ืองจากพนักงานสอบสวน โดยจะกําหนด ระยะเวลาในการดาํ เนินการให้พนกั งานสอบสวนตอ้ งปฏิบตั ิด้วยกไ็ ด้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการด�ำเนนิ การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเร็ว ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. จัดทำ� คมู่ ือ แจกจ่ายให้พนักงานสอบสวนอย่างท่ัวถึง เพ่ือให้พนักงานสอบสวนทราบว่าเร่ืองใดบ้างท่ีอยู่ในหน้าที่และอ�ำนาจ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รายงานประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 41

ในกรณีท่ีมีเหตุจะต้องขอให้ศาลออกหมายจับบุคคลตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ให้พนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจช้ันผู้ใหญ่มีอ�ำนาจย่ืนค�ำร้องต่อศาลที่มีเขตอ�ำนาจเพื่อให้ออกหมายจับ บุคคลดังกล่าวได้ หรือในกรณีที่มีเหตุจ�ำเป็นอย่างอ่ืนท่ีจะจับโดยไม่มีหมายจับได้ให้พนักงานสอบสวน หรือพนกั งานฝ่ายปกครองหรือตำ� รวจมีอำ� นาจจับบุคคลดังกล่าวได้ ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจที่จับบุคคลดังกล่าวไว้ ส่งตัวผู้ถูกจับพร้อมท้ังบันทึกการจับมายัง พนักงานสอบสวนหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในสี่สิบแปดชั่วโมง นับแต่เวลาท่ีผู้ถูกจับมาถึงที่ท�ำการ ของพนักงานสอบสวน โดยมิให้นับระยะเวลาเดินทางตามปกติที่น�ำตัวผู้ถูกจับจากท่ีจับมายังท่ีท�ำการ ของพนักงานสอบสวน รวมเข้าในก�ำหนดเวลาสี่สิบแปดชั่วโมงน้ันด้วย ในกรณีท่ีไม่จ�ำต้องมีการควบคุมตัวผู้ถูกจับไว้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจปล่อยตวั ผ้ถู ูกจับไป โดยมปี ระกัน หรอื ไมม่ ีประกนั กไ็ ด้ ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องมีการควบคุมตัวผู้ถูกจับไว้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ย่ืนค�ำร้องต่อศาล เพื่อให้ศาลออกหมายขังผู้ถูกจับไว้ได้ ตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาส�ำหรับความผิดท่ีมีการร้องทกุ ข์กล่าวโทษนน้ั มาตรา 62 ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งดํารงตําแหน่งต้ังแต่อํานวยการระดับสูงหรือเทียบเท่าลงมา มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทําผิด หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดในเรื่องที่มิใช่เป็นความผิดร้ายแรง ท้ังน้ี บรรดาท่ีอยู่ในหน้าท่ีและอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมอบหมายให้ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการของฝ่ายบริหาร ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ดําเนินการแทนคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ได้ ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้รับเรื่องตามวรรคหนึ่ง ให้สํานักงานดําเนินการส่งเร่ืองที่ได้รับไว้ ให้สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐเพ่ือดําเนินการต่อไปภายในสามสิบวัน นับแต่วนั ทีส่ าํ นักงานไดร้ บั เรอื่ ง การเทยี บตาํ แหนง่ ตามวรรคหน่งึ ให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด เพอ่ื ประโยชนใ์ นการดําเนนิ การตามวรรคหน่ึงให้เกดิ ความรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะวางหลักเกณฑ์การดําเนินการไต่สวนและการช้ีมูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐให้สอดคล้องกับการดําเนินการ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู นี้ก็ได้ ในการดําเนินการตามหน้าท่ีและอํานาจตามวรรคหน่ึง ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครัฐดําเนินการตามกําหนดระยะเวลาท่ีกําหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนญู น้ี มาตรา 63 ในกรณที ่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาเหน็ สมควร อาจสง่ เรอ่ื งทอี่ ยใู่ นหนา้ ท่แี ละอํานาจ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามมาตรา 28 (2) และ (4) ที่มใิ ช่ความผดิ ร้ายแรง ให้พนักงานสอบสวนดําเนินการ ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญาตอ่ ไปก็ได้ มาตรา 64 ในกรณีทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาเหน็ วา่ เรือ่ งท่มี ีการกล่าวหาเรอ่ื งใด มใิ ชเ่ ปน็ ความผดิ ร้ายแรง หรือกล่าวหาในเรื่องท่ีมิได้อยู่ในหน้าท่ีและอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะส่งเร่ืองให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจแต่งต้ังหรือถอดถอนของผู้ถูกร้องดําเนินการทางวินัยไปตามหน้าที่ และอํานาจกไ็ ด้ มาตรา 65 เม่ือคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายใหห้ น่วยงานของรฐั ตามมาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา 63 และมาตรา 64 แล้ว ให้หน่วยงานของรัฐน้ันดําเนินการไปตามหน้าท่ีและอํานาจของตนและรายงานผลให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการและภายในกําหนดระยะเวลาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด 42 รายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ

มาตรา 66 ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่เหน็ ดว้ ยกับผลการดาํ เนินการตามรายงานตามมาตรา 65 หรือมกี รณเี หน็ วา่ ผถู้ ูกรอ้ งอาจไม่ได้รับความเปน็ ธรรม หรือการดาํ เนนิ การนน้ั จะไม่เท่ยี งธรรม ใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจสั่งการอย่างใดอย่างหน่ึง หรืออาจเรียกสํานวนการไต่สวนหรือสอบสวนมาเพื่อดําเนินการได้ โดยจะดําเนินการไต่สวนใหม่ท้ังหมด หรือนําผลการไต่สวนหรือสอบสวนของหน่วยงานของรัฐน้ันท้ังหมด หรอื บางส่วนมาถือเป็นการไตส่ วนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. กไ็ ด้ จากหลักการของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 วรรคสอง และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ตามมาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา 63 มาตรา 64 มาตรา 65 และมาตรา 66 ดงั กล่าวข้างตน้ จะเห็นได้ว่า กฎหมาย ได้ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่และอ�ำนาจเกี่ยวข้องกับการปราบปรามการทุจริตเจ้าพนักงานของรัฐ ทุกระดับ และเพ่ือให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความรวดเร็ว สุจริต และเท่ียงธรรม คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมอบหมายให้พนักงานสอบสวนด�ำเนินการในกรณีท่ีเห็นว่า เรื่องท่ีได้รับมาไม่อยู่ในหน้าท่ีและอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือแม้จะอยู่ในหน้าที่และอํานาจ แต่เป็น เรื่องไม่ร้ายแรง หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมอบหมายให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครัฐด�ำเนินการในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ึงดํารงตําแหน่งต้ังแต่อํานวยการระดับสูงหรือเทียบเท่าลงมา ถูกกล่าวหาว่ากระทําผิด หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดในเรื่องที่มิใช่เป็นความผิดร้ายแรง หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจส่งเร่อื งท่ีอย่ใู นหน้าทแี่ ละอาํ นาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามมาตรา 28 (2) และ (4) ทีม่ ิใชค่ วามผดิ ร้ายแรง ใหพ้ นกั งานสอบสวนดาํ เนินการตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญากไ็ ด้ หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจแต่งตั้งหรือถอดถอนของผู้ถูกร้อง ดําเนนิ การทางวินยั ไปตามหน้าที่และอาํ นาจกไ็ ด้ ในกรณที ม่ี ิใช่เป็นความผดิ รา้ ยแรง หรอื กลา่ วหาในเรือ่ งท่มี ิได้อยู่ ในหน้าท่ีและอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายให้หน่วยงานของรัฐ ตามมาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา 63 และมาตรา 64 แล้ว ให้หน่วยงานของรัฐนั้นดําเนินการไปตามหน้าที่ และอํานาจของตนและรายงานผลใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบ ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการและภายในกําหนด ระยะเวลาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด และในกรณีทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่เหน็ ด้วยกบั ผลการดาํ เนินการ ตามรายงานตามมาตรา 65 หรือมีกรณีเห็นว่าผู้ถูกร้องอาจไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือการดําเนินการนั้น จะไม่เท่ียงธรรม คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจส่ังการอย่างใดอย่างหน่ึง หรืออาจเรียกสํานวนการไต่สวน หรือสอบสวนมาเพ่ือดําเนินการได้ โดยจะดําเนินการไต่สวนใหม่ทั้งหมด หรือนําผลการไต่สวนหรือสอบสวน ของหนว่ ยงานของรฐั น้นั ท้งั หมดหรอื บางสว่ นมาถือเป็นการไต่สวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็ได้ ดว้ ยหลกั การของบทบญั ญัติของกฎหมายดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นศูนย์กลาง ของการรับเรื่องกล่าวหาร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าพนักงานของรัฐทุกระดับโดยพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ซึ่งมีผลใช้บังคับต้ังแต่วันท่ี 22 กรกฎาคม 2561 ดังน้ัน ในปีงบประมาณ 2562 จึงเป็นปีแรกที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่และอ�ำนาจ รับเร่ืองกล่าวหาร้องเรียนและตรวจสอบการทุจริตและประพฤติมิชอบเจ้าพนักงานของรัฐทุกระดับ ท�ำให้ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. โดยส�ำนักเทคโนโลยีสารสนเทศด�ำเนินการพัฒนาระบบตรวจรับค�ำกล่าวหา (Preliminary Examination System on Corruption Accusation : PESCA) ขึ้นมาใหม่ เพ่อื รองรับบทบัญญัติของรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ซึง่ กำ� หนดใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ดำ� เนินการตรวจสอบค�ำกล่าวหาวา่ จะ รับไว้ในการดำ� เนินการตามหนา้ ท่ีและอ�ำนาจหรือมอบหมายใหห้ น่วยงานของรัฐตามมาตรา 61 มาตรา 62 มาตรา 63 และมาตรา 64 แล้วให้หน่วยงานของรัฐนั้นดําเนินการไปตามหน้าท่ีและอํานาจของตนและรายงานผลให้ รายงานประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook