Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิเคราะห์งบประมาณ 2564

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณ 2564

Published by agenda.ebook, 2020-06-12 06:05:46

Description: จำแนกตามหน่วยรับงบประมาณ (มาตรา 14 – มาตรา 22)

Search

Read the Text Version

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม สถาบนั การบนิ พลเรอื น (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เลม่ ท่ี 14 หนา้ 371) 1. วิสัยทัศน์ เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศในวิชาชีพด้านการบินโดยมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากลเพื่อ สนบั สนุนอุตสาหกรรมการบินของชาตแิ ละภมู ิภาคอาเซยี น 2. พนั ธกิจ 1. ผลิตและพฒั นาบุคลากรดา้ นอุตสาหกรรมการบนิ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล อยา่ งเพยี งพอ ตอ่ ความต้องการภายในประเทศ และสอดคล้องกบั ความต้องการของภูมภิ าค 2. ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับอุตสาหกรรมการบิน เผยแพร่ความรู้ให้คาปรึกษา แนะนาเพอื่ เพ่ิมศกั ยภาพในการแขง่ ขันของระบบขนส่งทางอากาศของไทยในภูมิภาค 3. เพ่ิมขีดความสามารถในการให้บริการซอ่ มบารงุ อากาศยาน 4. ให้บรกิ ารอากาศยานและสรา้ งบรกิ ารใหม่ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกับอุตสาหกรรมการบนิ เพอื่ ฝกึ ทกั ษะ การปฏบิ ตั ิงานจรงิ ให้กบั นกั ศึกษาและใหบ้ รกิ ารกบั หน่วยงานภายนอก 5. สนบั สนนุ กระทรวงคมนาคมในการดาเนินงานตามนโยบายของภาครฐั เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามพนั ธกรณี ตามอนุสญั ญาวา่ ด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ และดาเนนิ การทดสอบบคุ ลากรด้านการบิน เพอื่ ขอรับ ใบอนุญาตบุคคลตามที่ได้รบั มอบหมาย 3. ภาพรวมงบประมาณ สถาบนั การบนิ พลเรอื น (ลา้ นบาท) 700 600 588.4038 500 412.1350 400 236.5763 394.3801 321.4845 300 200 194.4355 100 190.3741 0 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 สถาบันการบินพลเรือนได้รับการจัดสรรงบประมาณใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 321.4845 ล้านบาท คดิ เป็นร้อย ละ 0.14 ของงบประมาณของกระทรวงคมนาคมท้ังหมด ลดลงจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 266.9193 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 45.36 โดยมีเงินนอกงบประมาณที่นามาสมทบกับเงิน งบประมาณ จานวน 579.7453 ล้านบาท สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 88

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม แผนงำน ปงี บประมำณ เพมิ่ /-ลดจำกปี 2563 2563 2564 จำนวน รอ้ ยละ รวมทงั้ สนิ้ แผนงำนบคุ ลำกรภำครัฐ 588.4038 321.4845 -266.9193 -45.36 แผนงำนพน้ื ฐำน 83.5796 84.9430 1.3634 1.63 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 501.2042 236.5415 -264.6627 -52.81 แผนงำนบรู ณำกำร 501.2042 236.5415 -264.6627 -52.81 เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 3.6200 0.0000 -3.6200 -100.00 3.6200 0.0000 -3.6200 -100.00 เม่ือจาแนกตามแผนงาน พบว่า ได้รับการจัดสรร งบประมาณสูงที่สุด คือ แผนงานพ้ืนฐานด้านการ สร้าง ความสามารถในการแข่งขัน จานวน 236.5415 ล้านบาท ลดลง จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 264.6627 ล้านบาท สาหรับแผนงานบุคลากรภาครัฐ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 84.9430 เพิ่มข้ึน 1.3634 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.63 ท้ังนี้ เมื่อพิจารณาจาแนกตามงบรายจ่าย พบว่า งบรายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงที่สุด คืองบลงทุน ในการคา่ ก่อสรา้ งอาคารเรียน ศูนย์พฒั นาบุคลากรด้านการบิน และจัดการเรียนการสอนทางการบิน จานวน 183.5419 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 57.09 ของงบประมาณทั้งหมด และ ในสว่ นทีเ่ หลือเป็นงบเงินอุดหนนุ 137.9426 ลา้ นบาท 4. การวิเคราะหส์ ัดส่วนงบประมาณในระดับผลผลติ -โครงการ งบประมาณ รอ้ ยละ (ลา้ นบาท) ประเภทรายจ่าย-โครงการ-ผลผลติ 26.42 84.9430 24.36 งบประมาณรายจา่ ยบุคลากร 49.22 ผลผลติ ท่ี 1 การผลติ และพัฒนาบคุ ลากรด้านการบนิ 78.3016 โครงการก่อสรา้ งอาคารเรยี นศนู ยพ์ ัฒนาบคุ ลากรด้านการบนิ อาคารฝา่ ย 158.2399 อานวยการและสิง่ กอ่ สร้างประกอบพร้อมครภุ ัณฑข์ องสถาบันการบนิ พลเรือน (ปี 60-64 งบประมาณรวม 957.2280 ล้านบาท+เงนิ นอกงบประมาณ 321.4845 100.00 445.5220 ลา้ นบาท) รวม สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 89

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต-โครงการ ที่ใช้งบประมาณสูงท่ีสุด คือ โครงการก่อสร้างอาคารเรียนศูนย์พัฒนาบุคลากร ด้านการบิน อาคารฝ่ายอานวยการและส่ิงก่อสร้างประกอบพร้อมครุภัณฑ์ของสถาบันการบินพลเรือน ใช้งบประมาณจานวน 158.2399 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 49.22 ของงบประมาณสถาบนั การบนิ พลเรอื นท้งั หมด ในสว่ นของงบประมาณรายจา่ ยบุคลากร ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ 84.9430 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 26.42 5. ลกั ษณะการใชง้ บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการใชง้ บประมาณ (ลา้ นบาท) 1. แผนงานพื้นฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ผลผลติ ที่ 1 การผลติ และพฒั นาบุ 78.3016 - คา่ ครุภัณฑก์ ารศกึ ษา จานวน 4 รายการ คลกรดา้ นการบิน (เงนิ นอกงบประมาณ 52.1416) - ค่าใชจ้ า่ ยดาเนนิ งาน โครงการท่ี 1 โครงการกอ่ สร้าง 158.2399 - ค่าก่อสร้างอาคารเรียน ศูนย์พัฒนาบุคลากร อาคารเรยี นศูนยพ์ ฒั นาบคุ ลากรดา้ น (เงินนอกงบประมาณ 18.3458) ด้านการบิน อาคารฝ่ายอานวยการและ การบิน อาคารฝา่ ยอานวยการและ ส่งิ กอ่ สร้างก่อสร้างประกอบพร้อมครภุ ณั ฑ์ สิ่งก่อสรา้ งประกอบพรอ้ มครุภณั ฑ์ ของสถาบันการบินพลเรือน (ปี 60-64 งบประมาณรวม 957.2280 ลา้ นบาท+เงนิ นอก งบประมาณ 445.5220 ล้านบาท) 6. ขอ้ มลู รายงานการเงิน 2561 หน่วย : ล้านบาท การแสดงฐานะการเงิน 2562 เพมิ่ (ลด) ร้อยละ สนิ ทรพั ย์ 1,956.9601 2,223.6781 186.3 10.5 หนส้ี ิน 761.4853 1,008.4132 85.85 12.71 ทนุ 1,215.2649 97.45 8.87 1,195.4748 การแสดงผลการดาเนนิ งาน 2561 2562 เพม่ิ (ลด) รอ้ ยละ รายได้ (4) 652.6483 645.3263 คา่ ใชจ้ ่าย (5) 530.8376 612.1509 32.72 5.28 กาไรสาหรบั ปี (6) 121.8107 24.7375 35.65 7.2 -2.92 -2.34 คา่ ใช้จ่ายตอ่ รายได้ (5)/ (4) 0.81 0.95 ROA (6)/ (1) 33% 29% ROE (6)/(3) 10% 2% ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 90

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ภารกิจด้านการคมนาคมขนส่งทางนา้ (กรมเจา้ ทา่ ) การขนส่งทางน้าแบ่งออกเป็นการขนส่งทางลาน้าและการขนส่งทางชายฝั่ง โดยประเทศไทยมีแม่น้า สายหลักอยู่จานวน 22 สาย มีความยาวรวมกันประมาณ 5,800 กิโลเมตร แต่แม่น้าที่มีการใช้ขนส่งสินค้าทาง น้าในปริมาณมากมีจานวนเพียง 5 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าแม่กลอง แม่น้าบางปะกง และแม่น้าท่าจีน มีความยาวรวมกันประมาณ 1,400 กิโลเมตร โดยแม่น้าเจ้าพระยาเป็นแม่น้าสายหลักท่ีมี ปริมาณการขนส่งสนิ ค้ามากที่สดุ และเปน็ ทีต่ งั้ ของเรือภายในประเทศและท่าเรือระหว่างประเทศท่ีสาคัญ 1. เส้นทางการเดินทางทางน้า ของประเทศไทย สามารถแบ่งเป็น 2 วัตถุประสงค์ ได้แก่ การขนส่ง สนิ ค้าและการเดินทางของคน การขนส่งสินคา้ 1) การขนส่งสินค้าทางลาน้า มีเส้นทางการขนส่งทางลาน้ามี 2 เส้นทาง คือ เส้นทางการขนส่ง สินค้าภายในประเทศ และเส้นทางการขนส่งสนิ คา้ ระหวา่ งประเทศ (1) เส้นทางการขนส่งสินค้าภายในประเทศ ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แมน่ ้าบางปะกง แมน่ า้ แม่กลอง และแม่น้าท่าจนี โดยช่วงของลานา้ ที่สามารถใชใ้ นการขนส่งสินคา้ ภายในประเทศ เส้นทางลานา้ ระยะทาง (กิโลเมตร) ช่วงการขนสง่ 1. แมน่ า้ เจ้าพระยา 170 ตง้ั แต่ปากแมน่ ้า (จังหวัดสมทุ รปราการ) ถงึ อาเภอเมอื ง จังหวัดอ่างทอง 2. แมน่ ้าป่าสกั 47 ตง้ั แต่จุดบรรจบแมน่ า้ เจ้าพระยาบรเิ วณจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ถึงอาเภอท่าเรอื จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา 3. แมน่ ้าบางปะกง 10 ตัง้ แต่ปากแมน่ ้า (จังหวดั ฉะเชงิ เทรา) เขา้ ไปประมาณ 10กโิ ลเมตร 4. แมน่ ้าแมก่ ลอง - บริเวณปากแม่น้า 5. แมน่ ้าท่าจีน 78 ต้ังแต่ปากแมน่ า้ (จังหวัดสมทุ รสาคร) ถึงอาเภอนครชัยศรี จงั หวดั นครปฐม (2) เส้นทางการขนส่งสนิ ค้าทางลาน้าระหว่างประเทศ ได้แก่ การขนส่งในแมน่ ้าโขงระหวา่ งกลุ่ม ประเทศส่ีเหลี่ยมเศรษฐกิจ (จีน เมียนมา ลาว และไทย) โดยมีท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน จังหวัดเชียงรายเป็น ทา่ เรอื หลกั ในการขนส่งสนิ ค้า 2) การขนส่งสินค้าทางชายฝ่ัง มีเส้นทางการขนส่งโดยมากจะมีจุดต้นทางหรือปลายทางอยู่ บริเวณชายฝัง่ ของภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย ภูมิภาค จานวนทา่ เรอื (แห่ง) ทา่ เรอื ภาคกลาง 1 ท่าเรอื กรงุ เทพ ภาคตะวนั ออก 2 ท่าเรอื แหลมฉบงั ทา่ เรอื มาบตาพดุ ภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทย 11 ท่าเรือบริเวณจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 5 แห่ง ท่าเรอื บริเวณจงั หวดั ปตั ตานี 1 แห่ง ท่าเรือบริเวณจังหวัดนราธิวาส 1 แห่ง ท่าเรือบริเวณจังหวัดสงขลา 3 แหง่ ทา่ เรือบรเิ วณจังหวัดชุมพร 1 แห่ง ภาคใต้ฝ่งั ทะเลอันดามัน 29 ทา่ เรือบรเิ วณจังหวัดกระบ่ี 9 แห่ง ท่าเรอื บริเวณจงั หวัดตรงั 4 แห่ง ทา่ เรอื บรเิ วณจงั หวดั สตลู 4 แห่ง ท่าเรอื บริเวณจังหวดั ระนอง 3 แหง่ ทา่ เรอื บริเวณจงั หวัดพงั งา 4 แหง่ ทา่ เรือบรเิ วณจังหวดั ภเู กต็ 5 แห่ง สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 91

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ตารางสรปุ ปริมาณการขนสง่ สินค้าทางน้า การขนส่งสนิ ค้า ปรมิ าณสินค้า ปี 2560 (ล้านตัน) ปีปฏิทิน (ม.ค. – ธ.ค. ปงี บประมาณ (ต.ค. 2559 – ก.ย. 2560) 2560) ทางลาน้า 53.026 53.339 ทางชายฝ่ัง 60.850 57.050 รวม 113.876 110.389 การเดินทางของคน เส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งทางน้าส่วนใหญ่จะอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีเส้นทางสาคัญ ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา (เรือด่วนเลียบฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา และเรือยนต์ข้ามฟาก) และ คลองแสนแสบ (เรอื คลองแสนแสบ) เส้นทาง การให้บริการ จานวนผู้โดยสาร (คนต่อปี) แมน่ า้ เจา้ พระยา เรอื ดว่ นเลียบฝ่งั แม่น้าเจ้าพระยา 13,672,756 เรือยนตข์ ้ามฟาก 36,350,354 คลองแสนแสบ เรือคลองแสนแสบ 19,252,256 รวม 69,275,366 “แม่น้าเจา้ พระยาและป่าสักเป็นแม่นา้ ทีม่ ปี รมิ าณการขนสง่ มากท่ีสดุ แต่ยงั ตดิ ปัญหาด้านกายภาพของลาน้า” จากข้อมูลของกรมเจ้าท่า พบว่า แม่น้าเจ้าพระยาและป่าสักเป็นแม่น้าท่ีมีปริมาณการขนส่งมากท่ีสุด ในไทย โดยสินค้าส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มสินค้าเทกอง โดยมวี ัสดุก่อสร้าง (ดิน หิน ทราย) เป็นสินค้าทพ่ี บมากที่สุด ที่เข้าออกท่าเรือบนแม่น้าเจ้าพระยา และสินค้าจาพวกแร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน) และซีเมนต์คือสินค้าท่ีพบมาก ท่สี ดุ ท่มี ีตน้ ทางหรอื ปลายทางคือท่าเรือในแม่นา้ ปา่ สัก Tongtawee, S., and Rudjanakanoknad, J. (2014) ดาเนินการวิเคราะห์ระบบการขนส่งทาง ลาน้าว่าควรมีเทคนิควิธีการศึกษาท่ีเป็นระบบอย่างไร และถ้านาเทคนิคนั้นไปประยุกต์ใช้กับกรณีขนส่งสินค้า เกษตรทางแม่น้าเจ้าพระยาและป่าสกั แล้ว จะนาไปใชส้ ร้างจดั ลาดบั แผนงานโครงการในการพัฒนาอย่างไร การวิเคราะห์ระบบการขนส่งทางลาน้าต้องมองในท้ังมิติพื้นที่และระบบขนส่งประกอบกัน จากการ สารวจ พบว่า ลาน้าเจ้าพระยาและป่าสักในแต่ละช่วงมีความแตกต่างกันมาก จึงได้แบ่งช่วงวิเคราะห์โดยแม่น้า เจ้าพระยาแบ่งเป็น 7 ช่วง จากปากน้าเจ้าพระยาข้ึนไปจนถึง อ.เมือง จ.อ่างทอง (C1-C7) และ แม่น้าป่าสัก แบ่งเป็น 2 ช่วง (P1-P2) โดยแต่ละช่วงได้เก็บข้อมูลอย่างละเอียด ทั้งลักษณะกายภาพของลาน้า ท่าเรือที่ใช้ เชือ่ มโยงกบั ถนนสายหลกั ตลอดจนสมั ภาษณผ์ เู้ ดินเรือและเจ้าของทา่ เรือในพนื้ ที่ คณะผู้วิจัยได้ศึกษาเกณฑ์จดั ช้ันลาน้าในสหภาพยุโรป และประยุกต์เกณฑ์ดังกล่าวกับเรือในลาน้าไทย โดยต้ังเกณฑ์คะแนนองค์ประกอบย่อยตั้งแต่ 1 (เป็นอุปสรรคอย่างมาก) 2 (เป็นอุปสรรคบ้าง) 3 (ดี) และ 4 (ดมี าก) สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 92

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ตารางแสดงเกณฑจ์ ดั ชนั้ ลาน้าในการคมนาคมขนสง่ แม่นา้ เจา้ พระยาและป่าสกั Physical Component C1 C2 C3 C4 C5 C6 C7 P1 P2 River Min. River Width (m) 433332221 Min. River Curve Radius (m) 432231211 Min. Water Depth (m) 444443221 Min. Vertical Clearance (m) 4 1.5 1.5 2 2 2 3 1 1 Min. Horizontal Clearance (m) 422221211 Port Average Berth Length (m) 433432222 Type of Highway Connecting River Port 4 3 3 3 2 2 2 2 2 Level of Port Equipment 423322232 จากผลการศึกษา พบว่า สภาพการเดินเรือจะดีข้ึนเรื่อย ๆ เมื่อเข้าใกล้ปากแม่น้า (C1) ซ่ึงจะเห็นว่า เกณฑ์การสรา้ งสะพานและทา่ เรอื ดขี ึ้นและสภาพลาน้ากว้างข้นึ ขณะทีต่ น้ นา้ (ช่วง C6และP2) จะมอี ุปสรรคท้ัง โค้งน้า ระยะห่างตอม่อสะพาน ฯลฯ ที่เป็นอุปสรรคสาคัญในการเดินเรือ ซ่ึงตารางผลการศึกษานี้จะช่วยให้ สามารถเห็นปัญหาการขนส่งท้ังระบบได้ชัดเจนย่ิงข้ึน สามารถวางแผนจัดลากับความสาคัญในการดาเนิน โครงการพฒั นาการคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพย่งิ ขึ้น สาหรับการขนส่งชายฝั่งเกิดขึ้นระหว่างแท่นขุดเจาะน้ามันในอ่าวไทยหรือทะเลอันดามันกับท่าเรือริม ฝัง่ โดยมสี ินค้าหลักปโิ ตรเลียม รองลงมาคือสินค้าเบด็ เตล็ด ขณะท่ีการใช้ประโยชน์ในการขนส่งสินค้าอื่น ๆ ยัง มไี ม่มากนัก แต่ปริมาณการขนส่งสินค้ารวมมากถึง 51.9 ล้านตัน โดยมีปรมิ าณตู้สินค้าผ่านท่าเรือกรุงเทพในปี พ.ศ. 2559 จานวน 1.4 ล้าน TEUs และท่าเรือแหลมฉบังจานวน 6.6 ล้าน TEUs ขณะที่ขีดความสามารถใน การรองรับสนิ คา้ ของท่าเรือกรงุ เทพและท่าเรอื แหลมฉบัง อย่ทู ่ี 1.34 และ 10.8 ลา้ น TEUs ตามลาดับ ตารางแสดงปรมิ าณสนิ ค้าทข่ี นสง่ ทางแม่น้า แยกตามแม่น้าต้นทางหรอื ปลายทาง ปี พ.ศ.2559 ลาดบั แมน่ ้าเจา้ พระยา แมน่ ้าป่าสกั ประเภทสนิ ค้า ปรมิ าณ (ตัน) ร้อยละ ประเภทสินค้า ปริมาณ (ตัน) รอ้ ยละ 1 ดนิ หนิ ทราย 10,554,636 53.1 แร่เช้ือเพลิง 13,198,400 42.6 2 ข้าว 2,299,380 11.6 ซีเมนต์ 7,618,120 24.6 3 ปยุ๋ 1,873,800 9.4 ปยุ๋ 2,016,000 6.5 4 น้าตาล 1,244,000 6.3 เครอื่ งบรโิ ภค 1,738,200 5.6 5 ซีเมนต์ 944,796 4.8 มันสาปะหลัง 1,736,000 5.6 4.0 ดนิ หินทราย 1,374,634 4.4 6 แร่ธาตอุ ืน่ ๆ 786,830 2.7 แร่ธาตอุ น่ื ๆ 3.1 2.4 ขา้ ว 951,300 2.6 7 เคร่อื งบริโภค 534,740 2.0 อาหารสตั ว์ 805,642 2.6 1.3 ปิโตรเลยี ม 797,800 1.6 8 มนั สาปะหลัง 473,704 2.5 อ่ืน ๆ 485,642 0.8 100.0 รวม 503,532 100.0 9 อาหารสตั ว์ 392,200 30,961,978 10 โลหะภณั ฑ์ 264,046 - อ่นื ๆ 503,532 รวม 19,871,664 ที่มา : สถาบันการขนสง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 93

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ตารางแสดงปรมิ าณสนิ คา้ ทข่ี นส่งทางชายฝั่งในประเทศ แยกเปน็ ขาเขา้ ขาออก ปี พ.ศ.2559 ลาดบั เรอื ค้าชายฝั่ง-ขาเขา้ เรอื คา้ ชายฝั่ง-ขาออก ประเภทสนิ คา้ ปริมาณ (ตนั ) รอ้ ยละ ประเภทสนิ ค้า ปรมิ าณ (ตนั ) รอ้ ยละ 1 ปโิ ตรเลยี ม 20,313,945 72.1 ปโิ ตรเลียม 19,110,213 80.6 2 สนิ ค้าเบด็ เตล็ด 6,046,457 21.5 สินคา้ เบด็ เตลด็ 2,758,002 11.6 3 เคมภี ณั ฑ์ 498,240 1.8 เคมภี ณั ฑ์ 503,810 2.1 4 ผลผลติ เกษตรอืน่ 352,618 1.3 ผลผลติ เกษตรอน่ื 340,738 1.4 5 ขา้ ว 169,668 0.6 โลหะภณั ฑ์ 329,624 1.4 6 ข้าวโพด 154,542 0.6 ซเี มนต์ 147,797 0.6 7 แร่ธาตุอื่น ๆ 130,897 0.5 แร่ธาตอุ น่ื ๆ 128,256 0.5 8 โลหะภณั ฑ์ 127,562 0.5 ข้าว 103,085 0.4 9 อาหารสตั ว์ 107,258 0.4 ไม้ 101,649 0.4 10 ไม้ 82,240 0.3 วสั ดุกอ่ สร้าง 48,385 0.2 - อน่ื ๆ 175,612 0.6 อ่ืน ๆ 141,885 0.6 รวม 28,159,038 100.0 รวม 23,713,444 100.0 ที่มา : สถาบนั การขนส่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั จากการศึกษาข้อมูลการคมนาคมขนส่งทางน้าของประเทศ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคต่อการ พัฒนาการคมนาคมขนสง่ ได้ ดงั น้ี 1. ทา่ เรือหลายแห่งไมส่ ามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มศกั ยภาพ เชน่ ท่าเรอื ระนอง ท่าเรอื เชียงแสน และ ท่าเรือเชียงของ สาเหตุสาคัญมาจากจุดท่ีต้ังของท่าเรือไม่เหมาะสม อาทิ ร่องน้าตื้นเขินเร็วเน่ืองจากต้ังอยู่ใกล้ บริเวณปากแม่น้าอยู่ห่างไกลจากแหล่งอุตสาหกรรม และการเข้าถึงของระบบโครงข่ายเชื่อมโยง ซ่ึงการแก้ไข ปัญหาท่ีเกิดขึ้นเป็นภาระเงินงบประมาณท่ีจะต้องจัดสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ิมเติมอีกเป็นจานวนมาก ท้ังใน ด้านโครงข่ายการคมนาคมเช่ือมโยงระหว่างท่าเรือและแหล่งผลิต และ/หรือการพัฒนาอุตสาหกรรมหลังท่า และการขดุ ลอกร่องนา้ ตลอดจนผลกระทบสง่ิ แวดล้อมจากการพฒั นาดงั กลา่ วด้วย 2. ท่าเรือแหลมฉบังไม่มีท่าเทียบเรือชายฝั่งเป็นการเฉพาะ ปัจจุบันตู้สินค้าที่ขนส่งด้วยเรือชายฝั่งมี แนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยตลอดระยะเวลา 4 -5 ปีมีปริมาณเพ่ิมขึ้นเฉล่ียกว่าร้อยละ 50 ในขณะที่เรือ ชายฝั่งต้องเข้าเทียบท่าเรือระหว่างประเทศ เพ่ือขนถ่ายตู้สินค้าส่งออกข้ึนท่า รอบรรทุกลงเรือสินค้าระหว่าง ประเทศหรอื รับต้สู นิ คา้ ขาเขา้ จากท่าเทียบเรอื ระหวา่ งประเทศโดยตรงแตเ่ นื่องจากผปู้ ระกอบการท่าเทียบเรือจะให้ ความสาคัญแก่เรือสินคา้ ระหว่างประเทศเป็นลาดบั แรก ในการเขา้ เทียบท่าเพ่ือขนถ่ายสินค้า (Window) ทาให้เรือ ชายฝั่งจาเป็นต้องไปเทียบท่าอ่ืนแทน หรือจอดเรือรอนอกท่า (บริเวณใกล้เขื่อนกันคลื่น) ทาให้เรือชายฝ่ังที่ใช้ท่า ร่วมกับเรือสินค้าระหว่างประเทศประสบปัญหาความล่าช้าในการเข้ารับสินค้าขาเข้าขณะเดียวกันสินค้าขา ออกมี ความเสี่ยงในการส่งตู้สินค้ามาต่อเรือที่แหลมฉบังไม่ทัน เพราะผู้ให้บริการท่าเทียบเรือต้องปรับเวลาเข้าออกของ เรือชายฝงั่ ตามตารางของเรือแม่ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 3. ปญั หาการเดินเรือ โดยเฉพาะในลาน้าเจ้าพระยาและป่าสัก ในชว่ งฤดูแล้งน้าน้อยทาให้เรือสินค้าติด ตื้น ในขณะที่ช่วงฤดูฝนน้ามากทาให้เรือสินค้าติดช่องลอดใต้สะพานและสายไฟ โดยเฉพาะความสูงช่องลอดและ ระยะห่างของตอม่อสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าป่าสัก เช่น สะพานพุทธ สะพานนวลฉวี สะพานวัด กษัตราธริ าช และสะพานสายเอเชีย เป็นต้น นอกจากน้ี การท่ตี ้องรอชว่ งน้าขึ้นลง ประกอบกบั ในลาน้าดังกล่าวไม่ มพี น้ื ทจ่ี ัดพกั เรอื ทาให้เกิดปัญหาการกีดขวางการเดินเรือตามมาด้วย 4. กฎหมายและระเบียบซ้าซ้อนและล้าสมัย ได้แก่ พระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481 และ พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนา้ ไทย พ.ศ. 2456 รวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องยังไม่สามารถปรับปรงุ แกไ้ ข ให้สอดคล้องกฎกติกาสากลและทันต่อสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ด้านการขนสง่ และพาณิชยน์ าวีทาให้เกิด สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 94

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ปัญหาในทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่และผู้ท่ีเก่ียวข้อง เช่น ความรับผิดของเจ้าของเรื่องเมื่อเกิดอุบัติเหตุรวมท้ัง การประกนั ภยั สนิ คา้ เป็นต้น 5. การรุกล้าลาน้าและชายฝง่ั ปัจจุบันกลไกการกากับดูแลและบารงุ รักษาร่องน้าของไทย รวมทั้งการ บริหารจัดการน้าท้ังระบบยังขาดประสิทธิภาพ ส่งผลให้ปัจจุบันมีการรุกล้าลาน้าและชายฝั่งเป็นจานวนมาก ซ่ึงนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเดินเรือแล้ว ยังส่งผลต่อเน่ืองทาให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมตามมาด้วย ที่ สาคัญได้แก่ ปัญหาการพังทลายของตล่ิง และกดั เซาะชายฝัง่ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 95

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 10. กรมเจ้าทา่ บทวเิ คราะห์งบประมาณ การขนส่งสินค้าทางน้าถือว่าเป็นการขนส่งสินค้าท่ีมีต้นทุนการขนส่งท่ีต่าท่ีสุดเมื่อเปรียบเทียบกับการ คมนาคมขนส่งทุกรูปแบบ โดยมีต้นทุนการขนส่งสินค้าประมาณ 0.52 บาท/ตัน-กิโลเมตร แต่ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีปริมาณการขนส่งทางน้าไม่มากนัก เนื่องจากติดปัญหาทางกายภาพและโครงสร้างอน่ื กีดขวาง ลาน้า จากข้อมูลในรายงานโครงสร้างพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 มีการขนส่งสินค้าทางลาน้า ปรมิ าณ 60.850 ล้านตัน และมกี ารขนส่งสินค้าทางชายฝั่งปริมาณ 53.026 ล้านตัน รวมเป็น 113.876 ล้านตัน คิดเป็น ร้อยละ 14.064 ของปริมาณขนส่งสินค้าทุกรูปแบบ โดยแม่น้าเจ้าพระยาและป่าสักเป็นแม่น้าที่มีการ ขนส่งสินค้ามากท่ีสุด ถ้าหากประเทศไทยมีการพัฒนาเส้นทางและองค์ประกอบของการคมนาคมขนส่งทางน้า ให้ดีข้ึน ก็จะส่งผลให้สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางน้าเพ่ิมขึ้น ช่วยลดต้นทุนการขนส่งสินค้า นาไปสู่การเพ่ิม ความสามารถในการแข่งขันไดใ้ นท่ีสุด ตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 กรมเจ้าท่าซ่ึงมีภารกิจพัฒนาระบบ ขนสง่ ทางนา้ ได้รับการจดั สรรงบประมาณจานวน 4,867.2663 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 2.10 ของงบประมาณ กระทรวงคมนาคมท้ังหมด เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 496.2802 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึน ร้อยละ 11.35 เพื่อดาเนินการตามภารกิจ จานวน 3 ผลผลิต และ 4 โครงการ โดยจะมีผลผลสัมฤทธิ์ท่ีจะเกิด การใช้จา่ ยงบประมาณทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ ขดุ ลอกและบารุงรักษาร่องน้า ใช้งบประมาณจานวน 1,500.1055 ล้านบาท หรือร้อยละ 30.82 ของ งบประมาณทั้งหมด ในการขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าชายฝ่ังทะเลและร่องน้าภายในประเทศ จานวน 117 รอ่ งนา้ รวมเน้ือดนิ 20.3949 ลา้ น ลบ.ม. ก่อสร้างเข่ือนป้องกันตล่ิงและชายฝ่ัง ใช้งบประมาณจานวน 946.6605 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.4495 ของงบประมาณท้ังหมด ในการกอ่ สรา้ ง/ปรบั ปรงุ เข่ือนเพอื่ ปอ้ งกันตลิง่ พงั หรือกดั เซาะชายฝั่ง จานวน 12 แห่ง ก่อสร้าง/ปรับปรุงท่าเรือและท่าเทียบเรือ ใช้งบประมาณจานวน 467.9594 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.61 ของงบประมาณทัง้ หมด ในการก่อสร้าง/ปรบั ปรงุ ทา่ เรอื และท่าเทยี บเรือ จานวน 20 แห่ง ครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ใช้งบประมาณจานวน 844.5448 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.35 ของ งบประมาณทั้งหมด ในการจัดซื้อและก่อสร้างเพื่อการกากับดูแลขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี/ผลิตบุคลากร ทางพาณิชยนาวี ข้อสงั เกต/ข้อเสนอแนะของ PBO จากการวิเคราะห์งบประมาณที่ใช้ดาเนินโครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบว่า เป็น การรักษาลักษณะทางกายภาพของลาน้าภายในประเทศและชายฝั่งทะเล โดยการขดุ ลอกและบารงุ รักษาแม่น้า สายหลัก ขุดลอก และบารุงรักษาลาน้าและชายฝั่ง ซ่ึงอาจจะส่งผลต่อการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งไม่มาก นัก เพอ่ื ให้พฒั นาระบบคมนาคมขนส่งทางนา้ ไดม้ ีประสิทธิภาพมากขึ้น PBO จึงมขี อเสนอแนะ/ข้อสงั เกตในการ พัฒนาระบบคมนาคมขนสง่ ทางนา้ เพมิ่ เติม ดงั น้ี 1. เพิ่มประสิทธิภาพเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางน้า ด้วยการสารวจปัญหา แก้ไข ปรับปรุง กายภาพของลาน้าในประเทศ รวมไปถึงบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวในการสารวจโครงสร้างอ่ืนที่กีดขวาง เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่ง เพื่อเพิ่มสัดส่วนปริมาณของการคมนาคมขนส่งทางน้าที่ต้นทุนต่ากว่าการ ขนสง่ ในรปู แบบอืน่ ให้มากขน้ึ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 96

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 2. พัฒนาการเช่ือมตอ่ กับการคมนาคมรูปแบบอื่น ด้วยการบูรณาการกับหนว่ ยงานที่มีภารกิจในการ พัฒนาการคมนาคมรูปแบบอ่ืน เพ่ือวางแผนการดาเนินงานพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานแต่ละรูปแบบให้มีการ เชอ่ื มตอ่ กัน และมสี ่งเสริมความสะดวกในการเปล่ยี นถา่ ยสนิ คา้ ระหวา่ งรูปแบบการขนส่ง 3. พัฒนาท่าเรือ โดยการพิจารณาที่ต้ังท่าเรือชายฝ่ังให้เหมาะสม รวมไปถึงการพัฒนาพ้ืนที่แนวหลัง นาเข้า-สง่ ออกสินคา้ ผ่านทา่ เรือให้มีความสะดวกรวดเรว็ ย่งิ ขนึ้ บูรณาการกับหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องเพอ่ื พจิ ารณา การตง้ั นิคมอุตสาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนุนกันในเชิงพื้นท่ีกบั ท่าเรือ 4. พัฒนาบุคลากร ด้วยเร่งพัฒนาบุคลากรด้านการกากับดูแลการขนส่งทางน้าให้เพียงพอกับความ ตอ้ งการในปจั จบุ ันและในอนาคต 5. ในปัจจุบันท่าเรือขนส่งสินค้าที่มีอยู่มีพื้นที่ไม่สอดคล้องกับอุปสงค์ ควรดาเนินการเร่งขยายขีด ความสามารถในการรองรับสินค้าท่าเรือที่มีปริมาณเข้า-ออก สินค้า เต็มความจุ และควรมีมาตรการจูงใจเพ่ือ เพ่ิมปริมาณสินค้าในท่าเรือที่มีอุปสงค์ต่ากว่าความสามารถในการรองรับสินค้า เพื่อให้งบประมาณท่ีลงทุนไป เป็นไปถูกใช้ประโยชน์ได้เตม็ ประสิทธิภาพ 6. กรมเจ้าท่าควรมีแผนพัฒนาระบบคมนาคมส่งทางน้าแม่น้าสายหลักที่มีประสิทธิภาพที่จะพัฒนา สง่ เสริมท่จี ะเพิ่มปรมิ าณคมนาคมขนส่งทางน้าได้ กรมเจา้ ทา่ (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เล่มท่ี 5 หนา้ 75) 1. วสิ ยั ทศั น์ พัฒนาระบบขนส่งทางน้าอย่างเชื่อมโยง มีมาตรฐาน เพ่ือให้เกิดความสะดวก ปลอดภัย และเพิ่ม ศกั ยภาพการแข่งขนั ของประเทศ 2. พันธกิจ กากับดูแล การส่งเสริม การพัฒนาระบบขนส่งทางน้าและการพาณิชยนาวี ให้มีการเช่ือมต่อกับระบบ การขนส่งอ่ืน ๆ ท้ังการขนส่งผู้โดยสาร และสินค้า ท่าเรือ อู่เรือ กองเรือไทย และกิจการเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้ ประชาชนไดร้ บั ความสะดวก รวดเรว็ ทั่วถึง และปลอดภยั ตลอดจนสนับสนุนภาคการส่งออกใหม้ ีความเข้มแข็ง โดยมีอานาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ 1. ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเดนิ เรือในนา่ นน้าไทย กฎหมายว่าดว้ ยเรือไทย กฎหมายว่าด้วย การป้องกันเรือโดนกัน กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวี กฎหมายว่าด้วยการขนส่งต่อเน่ืองหลาย รปู แบบ และกฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษาและวิเคราะห์เพอื่ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานการขนส่งทางน้า 3. สง่ เสรมิ และพัฒนาเครือข่ายระบบขนสง่ ทางน้าและกจิ การพาณชิ ยนาวี 4. ดาเนนิ การจัดระเบียบการขนส่งทางน้าและกิจการพาณิชยนาวี 5. ร่วมมอื และประสานงานกับองคก์ ารและหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศในดา้ น การขนส่งทางน้า การพาณชิ ยนาวี และในส่วนที่เกี่ยวกบั อนสุ ญั ญาและความตกลงระหว่างประเทศ 6. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรี หรือ คณะรัฐมนตรมี อบหมาย 3. ภาพรวมงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมเจ้าท่าได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 4,867.2663 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 2.10 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคม เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 496.2802 ล้านบาท หรอื เพม่ิ ขึ้น รอ้ ยละ 11.35 สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 97

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณกรมเจ้าท่า (ล้านบาท) 6,000 5,510.7355 5,538.2583 5,500 5,000 4,867.2663 4,500 4,742.1296 4,859.3292 4,000 4,631.0757 4,370.9861 3,500 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 แผนงำน ปงี บประมำณ เพมิ่ /-ลดจำกปี 2563 2563 2564 จำนวน ร้อยละ รวมทง้ั สนิ้ 4,370.9861 4,867.2663 496.2802 11.35 แผนงำนบคุ ลำกรภำครัฐ 743.0878 732.6758 -10.4120 -1.40 แผนงำนพนื้ ฐำน 2,328.4087 2,436.1501 107.7414 4.63 2,328.4087 2,436.1501 107.7414 4.63 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 1,299.4896 1,698.4404 398.9508 30.70 แผนงำนบรู ณำกำร 81.6000 212.8160 131.22 160.80 สร้างรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว 47.6619 47.4391 -0.22 -0.47 พฒั นาพน้ื ทรี่ ะดบั ภาค 899.1677 1,234.6536 พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 271.0600 203.5317 335.4859 37.31 บริหารจัดการทรัพยากรน้า -67.53 -24.91 เมื่อจาแนกตามแผนงาน พบว่า แผนงานที่ได้รับ งบประมาณสูงที่สุด คือ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณ จานวน 2,436.1501 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 107.7414 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 4.63 ส่วน แผนงานที่ได้รับการจัดสรร ส่วนแผนงานที่ได้รับงบประมาณ เพ่ิมข้ึนมากที่สุดคือ แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและ ระบบโลจิสติกส์ ท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ 1,234.6536 ล้าน บาท เพ่ิมข้ึน 335.4859 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 37.31 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 98

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ท้ังน้ี เม่ือพิจารณาจาแนกตามงบรายจ่าย พบว่า งบรายจ่ายท่ีได้รับงบประมาณสูงสุด คือ งบ ลงทุน ซึ่งได้รับการจัดสรร 3,856.7560 ล้านบาท คิด เป็นร้อยละ 79.24 ของงบประมาณทั้งหมด ในส่วน ข อ ง ร า ย จ่ า ย ป ร ะ เ ภ ท อื่ น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ส ร ร งบประมาณเรียงลาดับจากมากไปนอ้ ยได้ดงั น้ี 2) งบบุคลากร 719.4608 ลา้ นบาท 3) งบดาเนินงาน 284.0043 ล้านบาท 4) งบเงินอุดหนนุ 5.5533 ล้านบาท และ 5) งบรายจ่ายอนื่ 1.4829 ลา้ นบาท 4. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2563 พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมเจ้าท่ามีผลการเบิกจ่ายงบประมาณจานวน 1,786.5169 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 40.87 ของ งบประมาณรายจ่ายประจาปี ส่วนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2561 กรมเจ้าท่ามีผลการเบิกจ่าย งบประมาณคิดเปน็ ร้อยละ 78.51 และ 56.83 ตามลาดบั กรมเจ้าท่า 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 2559 2560 2561 2562 2563 (ณ 10 ก.ค.2563) ้ลานบาท 5,463.0400 3,919.9000 4,815.3300 3,404.4900 5,445.4800 3,094.9100 4,643.6000 3,645.6100 4,370.9861 1,786.5169 งบประมาณหลงั โอนเปลยี่ นแปลง ผลการเบิกจ่าย 5. การวเิ คราะหส์ ัดส่วนงบประมาณในระดบั ผลผลติ -โครงการ งบประมาณ รอ้ ยละ (ลา้ นบาท) ประเภทรายจา่ ย-โครงการ-ผลผลติ 15.05 732.6758 29.03 งบประมาณรายจา่ ยบคุ ลากร 1,412.8095 ผลผลติ ที่ 1 การพฒั นาและบารงุ รกั ษาโครงสรา้ งพ้นื ฐานด้านการขนส่ง 19.24 ทางนา้ 936.4858 1.78 ผลผลติ ท่ี 2 การกากับดแู ลขนสง่ ทางน้าและพาณชิ ยนาวี 86.8548 4.37 ผลผลติ ที่ 3 ผลิตบคุ ลากรและสง่ เสรมิ กิจการพาณิชยนาวี 212.8160 โครงการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานเพือ่ สนับสนนุ การทอ่ งเทยี่ ว (ปี 62-65 งบประมาณรวม 719.0000 ลา้ นบาท) สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 99

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ประเภทรายจา่ ย-โครงการ-ผลผลิต งบประมาณ ร้อยละ (ล้านบาท) 0.97 โครงการยกระดับอตุ สาหกรรมประมงการเพาะเลยี้ งกุ้งและสัตว์นา้ ชายฝง่ั 25.37 ภาคใต้ชายแดน (ปี 61-64 งบประมาณรวม 784.6630 ลา้ นบาท) 47.4391 4.18 โครงการพัฒนาและบารงุ รักษาโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพื่อสนบั สนุนระบบ โลจสิ ติกส์ (ปี 60-67 งบประมาณรวม 7,934.6544 ล้านบาท) 1,234.6536 100.00 โครงการพัฒนาและบารงุ รกั ษาโครงสรา้ งพื้นฐานเพ่ือสนบั สนนุ การบริหาร จดั การทรพั ยากรนา้ (ปี 60-66 งบประมาณรวม 1,610.1647 ลา้ นบาท) 203.5317 รวม 4,867.2663 ผลผลติ -โครงการ ทใ่ี ชง้ บประมาณสงู ที่สุด คือ โครงการพัฒนาและบารงุ รกั ษาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อ สนับสนุนระบบโลจิสติกส์ ใช้งบประมาณจานวน 1,412.8095 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.03 ของ งบประมาณท้ังหมด โดยเป็นการใช้งบประมาณในการขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าชายฝ่ังทะเล/ขุดลอกและ บารุงรักษาร่องน้าภายในประเทศ/งานก่อสร้างเข่ือน/กาแพง/เสริมทราย ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ก่อสร้าง/ ปรับปรงุ ทา่ เทยี บเรอื ก่อสร้างเขอื่ นป้องกันตลง่ิ แม่นา้ พงั ในพนื้ ท่ที ั่วประเทศ ลาดับถัดมา คือ โครงการพัฒนาและบารุงรักษาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสนับสนุนระบบโลจิสติกส์ ใช้งบประมาณ 1,234.6536 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.37 ของงบประมาณทั้งหมด เพ่ือดาเนินการจ้างเหมา ขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าชายฝ่ัง/แม่น้าโขง/ก่อสร้างเพื่อพัฒนาท่าเทียบเรือ 5 แห่ง และก่อสร้างเขื่อน ป้องกันตล่ิงในแม่น้าป่าสัก 2 แห่ง และพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงาน การให้บรกิ ารประชาชนเพือ่ รองรับงาน NSW 6. สรุปลักษณะการใชง้ บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการใช้งบประมาณ (ลา้ นบาท) 1. แผนงานพ้นื ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ผลผลติ ที่ 1 การพัฒนาและบารุงรกั ษา 1,412.8095 งบดาเนินงาน โครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นการขนส่งทางน้า - คา่ ตอบแทน ใช้สอยวสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค งบลงทุน - ดาเนนิ การพฒั นาระบบเพื่อการบารุงรกั ษาท่าเรือชายฝ่ัง, ซ่อมเรือใหญ่แม่น้าและทะเลรวม 12 ลา , ซ้ือทุ่น เครือ่ งหมายการเดินเรือพร้อมอุปกรณ์จานวน 6 ชดุ - งานศกึ ษา สารวจออกแบบ ทัง้ หมด 8 งาน - ปรบั ปรุงส่ิงก่อสร้าง 22 รายการ - ขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้าชายฝ่ังทะเล 53 ร่องน้า เน้อื ดินรวมประมาณ 6,235,800 ลบ.ม. - ขุดลอกและบารงุ รักษาร่องนา้ ภายในประเทศจานวน 54 ร่องน้า เนือ้ ดนิ รวมประมาณ 4,124,000 ลา้ นบาท - ปรับปรงุ เขือ่ นปอ้ งกันตลง่ิ ประจาปี 3 แหง่ - กอ่ สรา้ งหลักไฟเครือ่ งหมายในการเดนิ เรือ 25 หลกั - งานก่อสร้างเข่ือน/กาแพง/เสริมทราย ป้องกันการกัด เซาะชายฝ่งั , ก่อสรา้ ง/ปรบั ปรงุ ท่าเทียบเรือ, ก่อสร้างเข่อื น ป้องกันตลิง่ แมน่ า้ พงั รวมท้งั หมด19 แห่ง สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 100

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการใชง้ บประมาณ (ลา้ นบาท) ผลผลติ ท่ี 2 การกากบั ดูแลขนสง่ ทางน้า 936.4858 งบดาเนินงาน และพาณชิ ยนาวี - ประกอบด้วย ค่าตอบแทน ใชส้ อยวัสดุ อปุ กรณส์ านักงาน คา่ เช่ารถ 13 คัน คา่ เช่าสานกั งาน ค่าสาธารณปู โภค งบลงทุน - ประกอบด้วย เรอื ตรวจการณ์/เรือกูภ้ ยั รวม 10 ลา, และ ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 5 รายการ, ครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ 4 รายการ, ค่าซอ่ มเรอื จานวน 9 ลา - ค่าก่อสร้างอาคารสานักงานและอาคารชุดพักอาศัย 20 หน่วย, คา่ ควบคมุ งานก่อสร้าง, โครงการจัดตัง้ ศนู ยค์ วบคมุ ระบบบริหารรักษาความปลอดภัยด้วยกล้องโทรทัศน์วงจร ปิด 2 แห่ง, จ้างที่ปรึกษาสารวจจัดทาแผนที่และ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง สิ่ ง ล่ ว ง ล้ า ล า น้ า บ ริ เ ว ณ ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล ทะเลสาบ และแมน่ ้าภายในประเทศ งบเงนิ อดุ หนนุ ประกอบด้วยค่าบารุงสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ 3 รายการ งบรายจา่ ยอ่นื - คา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมเจา้ พนกั งานนารอ่ ง ผลผลติ ท่ี 3 ผลติ บุคลากรและส่งเสริม 86.8548 - ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุประจาสานักงาน และค่า กจิ การพาณชิ ยนาวี สาธารณูปโภค งบลงทุน ประกอบด้วย ครุภัณฑ์การศึกษา 2 รายการ, ครุภัณฑ์ เคร่ืองจักรกลซ่อมเรือฝึก 2 ลา, ปรับปรุงอาคารและสิ่ง ประกอบ 1 รายการ 2. แผนงานบรู ณาการสร้างรายได้จากการท่องเทีย่ ว โครงการท่ี 1 โครงการพฒั นาโครงสร้าง 212.8160 - ค่าจ้างท่ีปรึกษาศึกษา/สารวจออกแบบ/วางแผน 5 พนื้ ฐานเพอ่ื สนับสนนุ การท่องเทีย่ ว (ปี รายการ 62-65 งบประมาณรวม 719.0000 ลา้ น - ก่อสร้าง/ปรบั ปรุง ท่าเรอื /ทา่ เทยี บเรือ จานวน 4 แหง่ บาท) 3. แผนงานบรู ณาการพฒั นาพน้ื ท่ีระดับภาค โครงการท่ี 1 โครงการยกระดับ 47.4391 - ค่าศึกษาความเหมาะสม และสารวจออกแบบ เพื่อ อุตสาหกรรมประมงการเพาะเลี้ยงกุ้ง พฒั นาท่าเทยี บเรอื ในอา่ วปตั ตานี และสตั ว์น้าชายฝงั่ ภาคใต้ชายแดน (ปี - ค่ากอ่ สร้างปรับปรุงทา่ เรอื สินค้าชายฝ่ังปัตตานี 61-64 งบประมาณรวม 784.6630 ลา้ น บาท) 4. แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ โครงการท่ี 1 โครงการพฒั นาและ 1,234.6536 - พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อเพ่ิม บารุงรกั ษาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การให้บริการประชาชนเพื่อ สนับสนนุ ระบบ รองรับงาน NSW โลจสิ ติกส์ (ปี 60-67 งบประมาณรวม - จ้างที่ปรึกษาศึกษา วางแผน/ควบคมุ งานก่อสรา้ ง รวม 3 7,934.6544 ลา้ นบาท) โครงการ สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 101

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการใชง้ บประมาณ (ล้านบาท) - จ้างเหมาขดุ ลอกและบารุงรกั ษารอ่ งนา้ ชายฝ่ัง/แมน่ ้าโขง 9 แห่ง เนื้อดินรวมประมาณ 9,535,100 ลบ.ม. - ก่อสร้างเพื่อพัฒนาท่าเทียบเรือ 5 แห่ง และก่อสร้าง เขอื่ นป้องกนั ตลิ่งในแม่น้าป่าสกั 2 แห่ง 5. แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา้ โครงการท่ี 1 โครงการพฒั นาและ 203.5317 - ศึกษาออกแบบรายละเอียด/สารวจออกแบบ สาหรับ บารงุ รักษาโครงสร้างพน้ื ฐานเพอ่ื โครงการขุดลอกและบารงุ รักษาแม่นา้ สายหลัก 5 โครงการ สนบั สนนุ การบริหารจดั การทรพั ยากร - จ้างเหมาขุดลอกร่องน้ากลางทะเลสาบสงขลาตอนล่าง น้า (ปี 60-66 งบประมาณรวม เนอื้ ดนิ ประมาณ 500,000 ลบ.ม. 1,610.1647 ล้านบาท) 7. งบประมาณจดั อบรมสัมมนา แผนงาน – ผลผลิต งบ งบ งบลงทนุ งบเงิน งบรายจา่ ย เงินนอกฯ รวม บุคลากร ดาเนนิ งาน 99.0993 แผนงานพืน้ ฐานด้านการ - อดุ หนนุ อื่น สรา้ งความสามารถใน - 97.6164 22.0984 การแขง่ ขัน - - 1.4829 - ผลผลติ การพฒั นาและ - 22.0984 22.0984 บารุงรกั ษาโครงสร้าง - - -- 75.7889 พน้ื ฐานดา้ นการขนสง่ ทาง - 22.0984 - นา้ (หน้า 85) - 74.3060 -- - คา่ จา้ งเหมาบรกิ าร - 1.4829 - ผลผลติ การกากบั ดแู ล ขนสง่ ทางน้าและพาณชิ ย นาวี (หน้า 93) 1. ค่าจา้ งเหมาบรกิ าร - 70.2161 - -- - 70.2161 - 2.8534 - - 1.4829 - 4.3363 2. ค่าใช้จา่ ยในการสัมมนา - 1.2365 - - 1.2365 และฝกึ อบรม - 1.2120 - -- - 1.2120 -- 3. คา่ ใช้จา่ ยในการ - 1.2120 - - 1.2120 ประชาสมั พันธ์ -- ผลผลติ ผลติ บุคลากรและ ส่งเสริมกิจการพาณชิ ย นาวี (หนา้ 99) ค่าจา้ งเหมาบริการ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 102

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ภารกิจดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทางราง (กรมการขนส่งทางราง/การรถไฟแหง่ ประเทศไทย/การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย) “เส้นทางรถไฟสว่ นใหญเ่ ป็นรางเดยี่ ว ทาใหท้ างขนส่งทางรางยังคงไมส่ ามารถทาความเร็วได้มากนัก” ปจั จบุ ันการรถไฟแห่งประเทศไทยมโี ครงข่ายเส้นทางรถไฟรวมทั้งสิน้ 4,043 กโิ ลเมตร ครอบคลุมพน้ื ท่ี 47 จังหวัดทั่วประเทศ ประกอบด้วยทางเด่ียว 3,764 กิโลเมตร ทางคู่ 174 กิโลเมตร และทางสาม 105 กิโลเมตร เน่ืองจากทางรถไฟทางคู่และทางสามระยะทางค่อนข้างน้อย ทาให้เสียเวลาในการรอสับหลีก อีกทั้ง โครงข่ายทางรถไฟยังมีสภาพทรุดโทรม (มากกว่าร้อยละ 60 ของรางมีอายุเฉล่ียเกิน 30 ปีขึ้นไป) ที่ขาดการ ซ่อมบารุง นอกจากนี้ ยังมีทางลักผ่านของชุมชนและมีจานวนจุดตัดระหว่างถนนกับทางรถไฟทั่วประเทศ จานวน 2,460 จุด โดยเป็นทางผ่านระดับถนนที่รถไฟจะต้องหยุดหรือชะลอความเร็ว ซึ่งเป็นจุดที่เกิดอุบัติเหตุ ได้บ่อยคร้ังจานวน 2,200 จุด จึงทาให้การขนส่งทางรางยังคงไม่สามารถทาความเร็วได้มากนัก โดยขบวนรถ โดยสารมีความเร็วเฉลี่ยประมาณ 60 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง และขบวนรถสินค้ามีความเร็วเฉลี่ยประมาณ 35 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ภาพทีแ่ สดงโครงข่ายทางรถไฟในปัจจบุ ัน ทม่ี า : ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานดา้ นคมนาคมขนสง่ ของไทย พ.ศ. 2558-2565 สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 103

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม สัดส่วนรางรถไฟภายในประเทศ 2.60% 4.30% ทางเดยี่ ว ทางคู่ ทางสาม 93.10% สถานีรถไฟซึ่งอยู่ตามแนวรถไฟทุกเส้นทาง มีระยะห่างของสถานีไม่มากนักเมื่อเทียบกับสถานีขนส่ง ผู้โดยสาร ซึ่งเป็นจุดได้เปรียบท่ีสาคัญในการให้บริการประชาชนตาม แนวเส้นทางรถไฟ อย่างไรก็ตาม ด้วย เส้นทางการให้บริการซึ่งเป็นข้อจากัดที่สาคัญ จึงเห็นได้ว่าเมื่อพิจารณาระยะการเข้าถึงสถานี ในรัศมีที่ 20 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรประมาณ 27.5 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 41.8 ของประชากรท้ังประเทศ ขณะที่ระยะการเข้าถึงสถานีในรัศมี 40 กโิ ลเมตร จะครอบคลุมประชากรกวา่ 37.5 ลา้ นคนหรอื คิดเป็นร้อยละ 57.4 และระยะการเข้าถึงสถานีในรัศมี 60 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรถึง 43.9 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อย ละ 66.8 ของประชากรท้ังประเทศ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีภาคใต้ เมื่อพิจารณาระยะการเข้าถึงสถานีในรัศมี 40 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรถึงกว่าร้อยละ 80 ของภูมิภาค ด้วยเหตุนี้ จึงเห็นได้ว่าภาคใต้มีประชาชนใช้ บริการรถไฟเพือ่ การเดินทางระหว่างชุมชนหรือระหวา่ งจงั หวดั มากกว่าภมู ิภาคอ่นื ๆ ในประเทศ ภาพแสดงการเขา้ ถงึ สถานีรถไฟของประชาชนในแตล่ ะระยะทาง นอกจากน้นั ยังมีโครงข่ายระบบรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนภายใตก้ ารกากบั ดูแลของการรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย การรถไฟแหง่ ประเทศไทย และกรงุ เทพมหานคร ทเ่ี ปิดบริการแลว้ 108 กิโลเมตร ไดแ้ ก่ - สายสีเขียวเขม้ หมอชติ -แบริง่ ระยะทาง 22.25 กิโลเมตร - สายสเี ขียวออ่ น สนามกีฬาฯ-บางหว้า ระยะทาง 14.2 กิโลเมตร - สายสีนา้ เงนิ บางซือ่ -หวั ลาโพง ระยะทาง 20 กโิ ลเมตร สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 104

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม - สายสมี ่วง บางใหญ่-เตาปูน ระยะทาง 23 กิโลเมตร - รถไฟฟา้ สุวรรณภมู ิ พญาไท-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ ระยะทาง 28.5 กโิ ลเมตร จากสถิติผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะในประเทศไทย พบว่าในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารระบบรถไฟฟ้า ใต้ดิน รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ และรถไฟฟ้าบีทีเอส รวมกันมากกว่ารถโดยสาร ขสมก. แม้ว่าข้อมูลรถ โดยสารยังขาดกลุ่มรถร่วม รถตู้โดยสารและรถขนาดเล็กจานวนมาก แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระบบขนส่งมวลชนทาง รางในเขตเมืองนั้นมีสัดส่วนท่ีเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ และมีแนวโน้มขยายตัวตามการเปิดเส้นทางและสถานีใหม่ ๆ ขณะท่ีระบบ รถโดยสารมแี นวโน้มผูโ้ ดยสารลดลง ตารางแสดงสถิตผิ ู้ใชบ้ รกิ ารขนสง่ สาธารณะในประเทศไทย (หนว่ ย:พนั คน) ปี 2555 2556 2557 2558 2559 317,278 รถโดยสาร ขสมก. 355,134 341,540 315,362 324,747 103,248 21,170 รถไฟฟ้าใตด้ นิ 80,602 84,680 92,421 95,019 237,047 รถไฟฟ้าแอรพ์ อรต์ เรลลงิ ก์ 14,932 15,613 17,064 19,307 7,286 30,552 รถไฟฟ้าบีทเี อส 194,113 208,765 219,422 229,854 115,282 35,238 รถโดยสาร บขส. 10,112 9,599 8,620 7,781 รถไฟ 41,761 37,343 36,425 35,127 ทางนา้ 110,636 108,992 102,810 104,101 ทางอากาศ 16,566 19,412 25,748 31,376 ท่ีมา : สถาบนั การขนส่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในส่วนของการขนส่งสินค้าภายในเมืองผ่านระบบรางยังมีอยู่ในวงจากัด เนื่องจากการขนส่งทางราง ไม่สามารถไปสู่จดุ หมายได้โดยตรง ต้องมกี ารเปล่ียนระบบ ซึ่งต้องใช้อปุ กรณ์ยกขน เสียเวลาและค่าใช้จ่าย ในการเข้าออกระบบ ไม่คุ้มค่าเม่ือเทียบกับการขนส่งทางถนน ที่พบบริการขนส่งสินค้ามีเฉพาะการรับส่ง เอกสารและพัสดขุ นาดเล็กดว่ นทีม่ ผี ้รู ับสินคา้ ในแต่ละสถานีขนสง่ มวลชนให้บริการเทา่ นน้ั สาหรับการขนส่งระหวา่ งเมือง พบว่า สินค้าที่ขนสง่ ทางรถไฟมี 3 กลุม่ หลัก คอื 1) สนิ ค้าเทกอง (Bulk Good) ซงึ่ ประกอบไปด้วย สนิ ค้าเทกองแห้ง (ถ่านหิน หิน ทราย ปนู ซีเมนต์ แร่ นา้ ตาล ธญั พืช เศษไม้ ฯลฯ) และสินค้าเหลว (สารเคมี น้ามนั ปโิ ตรเลยี ม) ซงึ่ เป็นสนิ คา้ ที่พบมากท่สี ดุ 2) สินค้าตู้คอนเทนเนอร์ เป็นสินค้าท่ีขนทางรถไฟ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือไปส่งท่าเรือหรือไปรับ จากท่าเรืออีกช้ันหนง่ึ ซึ่งเรยี กว่าการขนส่งตอ่ เนือ่ งหลายรปู แบบ (Multimodal Transport) 3) สินคา้ อื่น ๆ เช่น สนิ คา้ ทั่วไป รถยนต์ พัสดภุ ัณฑ์ สินคา้ เบ็ดเตล็ด ฯลฯ โดยสินค้าท่ีขนส่งทางรางนั้น มคี วามแตกต่างกนั ไปตามประเภทอุตสาหกรรมในแต่ละประเทศ จากข้อมูลของการรถไฟแห่งประเทศไทย พบว่า สินค้าท่ีขนสง่ มากที่สุด คือ สินคา้ เบ็ดเตล็ด ซ่ึงคิดเป็น ประมาณร้อยละ 70-75 ของปริมาณการขนส่งทางรางทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และซีเมนต์ ในส่วนของปริมาณสินคา้ นั้นมแี นวโน้มคงที่ เนือ่ งจากขอ้ จากดั ดา้ นความจขุ องโครงขา่ ยรถไฟไทย สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 105

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ตารางแสดงปรมิ าณสินค้าที่ขนสง่ ทางรถไฟไทย (หน่วย:พนั ตนั ) ประเภทสนิ ค้า 2555 2556 2557 2558 2559 สินค้าเบด็ เตลด็ 6,861 7,527 7,746 7,578 7,669 ผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลียม 2,541 2,719 2,208 2,536 2,513 ซเี มนต์ 903 1,099 662 755 1,306 เครือ่ งใช้ในครัวเรือน 314 403 122 7 6 วัสดกุ อ่ สร้าง 115 35 29 0 0 เครอ่ื งบริโภคอื่น ๆ 5 30 26 19 9 ดนิ หิน ทราย 11 1 0 0 0 โลหะก่อสร้าง 7 2 0 0 0 ผลผลติ เกษตรอืน่ ๆ 1 1 0 0 1 รวม 10,758 11,817 10,792 10,895 11,503 ทีม่ า : สถาบนั การขนสง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในปี พ.ศ. 2556 การเดินทางของคนโดยใช้ระบบรางยังมีจานวนน้อย แต่จะมีจานวนสูงข้ึนในปี พ.ศ. 2570 และพ.ศ. 2575 แต่ไมเ่ กนิ ระดบั 150,000 คน-เท่ียว/วนั ในแตล่ ะเสน้ ทางบรกิ ารของรถไฟ โดยส่วน ใหญ่อยู่ในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ส่วนท่ีติดกับภาคกลาง) และภาคใต้ (ตอนบนและ ตอนกลาง) แตห่ ากได้มีการปรับปรงุ โครงสร้างพน้ื ฐานทางรางตามแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 การเดินทางของคนโดยใช้ระบบรางจะมีจานวนสูงข้ึนมากกว่า ระดับ 250,000 คน-เที่ยว/วัน ในแต่ละเส้นทางบริการของรถไฟ โดยเฉพาะพื้นท่ีภาคกลาง พร้อมท้ังมี การเดินทางของคนโดยใช้ระบบรางกระจายไปสู่พ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั้งประเทศตามแนวเส้นทางการบริการของรถไฟ ซึ่งสอดคล้องต่อนโยบายของกระทรวงคมนาคมในการเพิ่มปริมาณการขนส่งคนทางรางในระดับ 75 ล้านคน- เที่ยว/ปี จากการศึกษาข้อมูลการคมนาคมขนส่งทางรางของประเทศ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคต่อการ พฒั นาการคมนาคมขนสง่ ได้ ดังนี้ 1) การเปล่ียนแปลงในสาระสาคัญของบางโครงการ เม่ือเปลี่ยนรัฐบาล อาทิ รูปแบบการลงทุน เทคโนโลยี ทาใหก้ ารดาเนินการไม่เป็นไปตามแผน ความไม่แน่นอนของการพัฒนาระบบรางของประเทศเพ่ือน บา้ น สดั ส่วนผโู้ ดยสารและสินค้าทางรถไฟระหว่างเมอื งลดลงเนือ่ งจากข้อจากัดในการใหบ้ ริการของ รฟท. 2) โครงข่ายรถไฟฟ้าเขตเมืองยังมีจากัด ในขณะที่รางรถไฟระหว่างเมืองมีสภาพทรุดโทรม เส้นทาง สว่ นใหญเ่ ป็นทางเดย่ี วทาให้มีข้อจากัดมากในการเดินรถ รถจักร รถโดยสาร แคร่ ทรดุ โทรม ไม่เพียงพอ ปัญหา ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบการจัดการเดินรถยังค่อนข้างล้าสมัย ปัญหาจุดตัดทางรถไฟเสมอระดับโดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งทางลักผ่าน การเชื่อมโยงสถานยี ังไมส่ ะดวก 3) การประกอบการรถไฟฟ้ายังมีน้อยราย ปัญหาการขาดทุนของ รฟท. การประกอบรถไฟโดยสาร ระหว่างเมืองเป็นแบบผูกขาด การประกอบการรถไฟขนส่งสินค้าโดยเอกชนยังมีจากัด ปัญหาความขัดแย้งใน บทบาทกากบั /ประกอบการ ยงั ตอ้ งพ่ึงพาเทคโนโลยตี า่ งประเทศ สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 106

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ตารางสรุปโครงขา่ ยการคมนาคมขนส่งทางราง ประเภทราง ระยะทางราง (กิโลเมตร) หมายเหตุ ปี 2561 ปี 2562 1. รถไฟระหวา่ งเมือง (รฟท.)* 4,507.884 4,507.884 - ทางเดย่ี ว 3,618.764 กม. 1.1 สายเหนอื 975.029 975.029 - ทางคู่ 251.830 กม. 1,143.150 1,143.150 - ทางสาม 106.719 กม. 1.2 สายตะวนั ออกเฉียงเหนือ 699.138 699.138 - แมก่ ลอง 65.283 กม. 1.3 สายตะวันออก 1,625.284 1,625.284 (สายวงเวยี นใหญ่ – แม่ 1.4 สายใต้ 65.283 กลอง) 1.5 สายมหาชัย – แม่กลอง 65.283 2. รถไฟฟ้า 124.800 136.800 2.1 การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (สายสีแดงออ่ น) 15.000 15.000 2.2 บรษิ ัท รถไฟฟา้ ร.ฟ.ท. จากดั (Airport Rail Link) 28.500 28.500 เปดิ 23 สิงหาคม 2553 2.3 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย 2.3.1 สายเฉลิมรัชมงคล (สายสนี า้ เงิน) 21.000 21.000 (1) ชว่ งบางซื่อ-หวั ลาโพง 20.000 20.000 (2) ช่วงบางซอื่ -เตาปูน 1.000 1.000 2.3.2 สายฉลองรัชธรรม (สายสีมว่ ง) 23.000 23.000 ชว่ งบางใหญ-่ เตาปนู 2.4 กรงุ เทพมหานคร 2.4.1 สายสขุ มุ วิท 22.800 34.800 (1) ชว่ งหมอชติ – อ่อนนชุ 16.500 16.500 (2) ชว่ งอ่อนนุช – แบร่งิ 5.500 5.500 (3) ชว่ งแบริง่ – สาโรง 0.800 1.800 (4) ช่วงสาโรง – สมทุ รปราการ - 11.000 2.4.2 สายสลี ม 14.500 14.500 (1) ชว่ งสนามกีฬาแหง่ ชาติ – สะพานตากสนิ 7.000 7.000 (2) ช่วงสะพานตากสนิ – วงเวียนใหญ่ 2.200 2.200 (3) ชว่ งวงเวียนใหญ่ – บางหวา้ 5.300 5.300 รวม 1 – 2 4,632.684 4,644.684 พืน้ ทปี่ ระเทศไทย (ตร.กม.) 513,120 513,120 ความหนาแน่นทางราง (กม. ต่อ ตร.กม.) 0.009 0.009 สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 107

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 11. กรมการขนสง่ ทางราง บทวิเคราะห์งบประมาณ ในปัจจุบันรัฐบาลได้กาหนดยุทธศาสตร์และแผนในระดับนโยบายด้านคมนาคมขนส่งผลักดันให้ ระบบรางเป็นรูปแบบการคมนาคมขนส่งหลักของประเทศ และส่งเสริมให้ประชาชนใช้ระบบขนส่งสาธารณะ มากขึ้น กรมการขนส่งทางราง ซึ่งเป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงคมนาคม จัดต้ังข้ึนตาม พระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2562 มีหน้าที่กากับดูแลระบบขนส่งทางรางทั่วประเทศให้ เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงการเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานการกากับดูแลกิจการขนส่งทาง รางให้เป็นมาตรฐาน จึงมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการขนส่งทางรางของประเทศให้ สามารถแขง่ ขนั และเชื่อมตอ่ การขนสง่ รปู แบบอน่ื และประเทศเพื่อนบา้ นได้ กรมการขนส่งทางรางได้รับการจัดสรรงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 127.7165 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.06 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคมท้ังหมด เพิ่มจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 54.3507 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 74.08 เพื่อดาเนินการตามภารกิจ จานวน 1 ผลผลิต และ 1 โครงการ โดยจะมผี ลสัมฤทธ์ทิ ีจ่ ะเกิดการใชจ้ า่ ยงบประมาณท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ การจ้างทป่ี รึกษาศกึ ษาพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางราง ใชง้ บประมาณจานวน 41.4105 ล้านบาท หรือร้อยละ 32.42 ของงบประมาณท้ังหมด เพื่อดาเนินการจ้างที่ปรึกษาศึกษาเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่ง ทางราง 9 ประเดน็ ดังน้ี 1) ศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจาลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนา โครงขา่ ยระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล (พ้นื ทีต่ ้องเน่ือง) 2) ศึกษาบูรณาการจุดเปล่ียนถ่ายการเดินทางขนส่งล้อ-ราง-เรือ อย่างไร้รอยต่อ ภายในพื้นท่ี กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล 3) ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงข่ายรถไฟให้ครอบคลุมและเช่ือมโยงพื้นท่ีท่ัวประเทศและ รองรบั การขนส่งต่อเนอ่ื งหลายรปู แบบไดอ้ ย่างไร้รอยต่อ 4) ศกึ ษาการสรา้ งการรบั รเู้ พือ่ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการเดนิ ทางดว้ ยระบบรางอย่างย่ังยนื 5) ศึกษาการจัดทามาตรฐานระบบไฟฟ้าและระบบอาณัตสิ ัญญาณ ระยะที่ 1 6) ศึกษาการกากับการใช้ประโยชน์รางและจัดทากฎระเบียบเพื่อรองรับการขนส่งทางรางในเส้นทาง หลักของประเทศและระหว่างประเทศ 7) ศึกษา วิเคราะห์ ประเภทและคุณลักษณะของรถขนส่งทางรางให้สอดคล้องกับโครงสร้างพื้นฐาน ดา้ นขนส่งทางราง 8) ศึกษาและจัดทาระบบประเมินประสิทธิภาพการดาเนินงานการขนส่งทางรางในแต่ละสายทางของ ประเทศ 9) ศกึ ษาการพฒั นาระบบกากับดูแลความปลอดภัยและความมั่นคงของการขนส่งทางราง ข้อสงั เกต/ข้อเสนอแนะของ PBO จากการวิเคราะห์งบประมาณที่ใช้ดาเนินโครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เห็นได้ว่า กรมการขนส่งทางรางให้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับระบบคมนาคมขนส่งทางรางในประเด็นต่าง ๆ เพ่ือ ประกอบการ เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนการพัฒนากากับดูแลการบริการ กฎหมาย และมาตรฐาน ความปลอดภัย ถือเป็นจุดเร่ิมต้นในการเปล่ียนรูปแบบการคมนาคมขนส่งทางรางให้เป็นรูปแบบหลักของ ประเทศตามท่ียุทธศาสตรแ์ ละแผนงานในระดับนโยบายกาหนดไว้ ดังน้ันภารกิจดังกล่าวจึงเป็นภารกิจทสี่ าคัญ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 108

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม และเร่งด่วน ดังน้ันกรมการขนส่งทางรางจึงจาเป็นต้องเร่งดาเนินการเพ่ือให้มี กฎหมาย มาตรฐานมาตรฐาน และแผนการดาเนินการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางราง ซ่ึงต้องพิจารณาถึงการเช่ือมต่อกับการคมนาคม ขนส่งในรูปแบบอ่ืนประกอบด้วย นอกจากนี้ต้องกาหนดมาตรฐานและศึกษาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทางรางเพ่อื รองรับการทปี่ ระเทศจะตอ้ งใช้ระบบรางเปน็ รูปแบบการคมนาคมหลักในอนาคต กรมการขนสง่ ทางราง (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 5 หน้า 61) 1. วสิ ัยทศั น์ เป็นองค์กรกากับดูแลระบบการขนส่งทางราง เพื่อยกระดับความปลอดภัยและคุณภาพการให้บริการ ระดับสากล 2. พนั ธกิจ 1. เสนอแนะนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน และจัดทาแผนการพัฒนาการขนส่งทางรางและขบั เคลื่อน ให้เกดิ ผลในการปฏิบตั ิ 2. พฒั นามาตรฐานและกากับดแู ลการขนสง่ ทางรางให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล 3. กากบั ดแู ลการขนสง่ ทางรางให้เป็นไปตามกฎหมาย 4. พฒั นาคุณภาพการให้บริการสู่ความเป็นเลิศ 5. ปฏิบตั ิงานดว้ ยหลักธรรมาภบิ าล ตอบสนองผู้มสี ว่ นไดเ้ สียทกุ ฝา่ ย 3. ภาพรวมงบประมาณ กรมการขนส่งทางรางได้รับการจดั สรรงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 127.7165 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.06 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคมทั้งหมด เพิ่มจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 54.3507 ลา้ นบาท หรือเพ่ิมข้นึ ร้อยละ 74.08 เม่ือจาแนกตามแผนงาน พบว่า แผนงานท่ีได้รับ งบประมาณสูงท่ีสุด คือ แผนงานพ้นื ฐานด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ซึ่งได้รับงบประมาณจานวน 100.8941 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 55.3483 ในส่วนแผนงานบุคลากรภาครัฐได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 16.8224 เพิ่มขึ้น 3.4775 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึน้ ร้อยละ 26.06 แผนงำน ปงี บประมำณ เพมิ่ /-ลดจำกปี 2563 รวมทง้ั สน้ิ 2563 2564 จำนวน ร้อยละ แผนงำนบคุ ลำกรภำครฐั แผนงำนพน้ื ฐำน 73.3658 127.7165 54.3507 74.08 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 13.3449 16.8224 3.4775 26.06 แผนงำนบรู ณำกำร 45.5458 100.8941 55.3483 121.52 พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 45.5458 100.8941 55.3483 121.52 สานกั งบประมาณของรัฐสภา 14.4751 10.0000 -4.4751 -30.92 14.4751 10.0000 -4.4751 -30.92 หนา้ 109

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ทั้งน้ี เม่ือพิจารณาแยกตามงบรายจ่าย พบว่า งบรายจ่ายท่ีได้รับงบประมาณสูงสุด คือ งบรายจ่ายอื่น จานวน 45.8719 ล้านบาท ใน ส่ว นข อ งง บร า ยจ่ า ยป ระ เ ภ ท อ่ืน ที่ ได้ รั บ งบประมาณเรยี งจากมากไปน้อย ดงั นี้ 2) งบลงทุน จานวน 42.4547 ล้านบาท 3) งบดาเนนิ งาน จานวน 22.2586 ลา้ นบาท 4) งบบุคลากร จานวน 16.7845 ล้านบาท และ 5) งบเงินอุดหนุน จานวน 0.3800 ล้านบาท 4. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง ณ วันท่ี 10 กรกฎาคม 2563 พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563กรมการ ขนส่งทางรางมีผลการเบิกจ่ายงบประมาณจานวน 37.5953 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 51.24 ของ งบประมาณรายจ่ายประจาปี ส่วนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมการขนส่งทางรางมีผลการ เบิกจ่าย งบประมาณคดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.99 5. การวิเคราะหส์ ดั ส่วนงบประมาณในระดับผลผลติ -โครงการ งบประมาณ ร้อยละ (ลา้ นบาท) ประเภทรายจ่าย-โครงการ-ผลผลิต 16.8224 13.17 งบประมาณรายจา่ ยบุคลากร ผลผลติ ท่ี 1 นโยบายและแผนการพัฒนาการขนสง่ ทางราง และมาตรฐานเกีย่ วกบั 100.8941 79.00 การขนส่งทางราง โครงการท่ี 1 โครงการการคมนาคมขนสง่ ทางรางมคี วามสะดวก รวดเร็ว และมี 10.0000 7.83 ประสิทธภิ าพ (ปี 62-65 งบประมาณรวม 46.6500 ล้านบาท) 127.7165 100.00 รวม ผลผลิต-โครงการ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงท่ีสุด คือ ผลผลิตท่ี 1 นโยบายและแผนการ พัฒนาการขนส่งทางราง และมาตรฐานเกย่ี วกับการขนส่งทางราง งบประมาณ 100.8941 ลา้ นบาท คิดเป็น ร้อยละ 79.00 ของงบประมาณทั้งหมด โดยเป็นการใช้งบประมาณในการจ้างท่ีปรึกษาดาเนินการศึกษาเพ่ือ พัฒนาการคมนาคมขนส่งทางราง 7 โครงการ 6. สรุปลักษณะการใชง้ บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลักษณะการใชง้ บประมาณ (ล้านบาท) 1. แผนงานพน้ื ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลติ ท่ี 1 นโยบายและแผนการ 100.8941 ประกอบดว้ ย การจา้ งทปี่ รึกษาดาเนนิ การ พัฒนาการขนส่งทางราง และ โครงการเดิม ไดแ้ ก่ มาตรฐานเก่ียวกบั การขนสง่ ทางราง 1) ศกึ ษาการสร้างการรบั รเู้ พ่ือส่งเสรมิ และสนับสนุนการ เดินทางด้วยระบบรางอยา่ งยง่ั ยนื 2) ศึกษาการจัดทามาตรฐานระบบไฟฟ้าและระบบ อาณัติสัญญาณ ระยะที่1 (โครงข่ายรถไฟสายประธาน สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 110

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการใชง้ บประมาณ (ลา้ นบาท) ของประเทศไทย) (ปี63-64 งบประมาณรวม 14.3234 ล้านบาท) 3) ศึกษาการกากับการใช้ประโยชน์รางและจัดทา กฎระเบียบเพอื่ รองรับการขนส่งทางรางในเส้นทางหลัก ของประเทศและระหวา่ งประเทศ (ปี 63-65 งบประมาณ รวม 20.2000 ลา้ นบาท) 4) ศึกษา วิเคราะห์ ประเภทและคุณลักษณะของรถ ขนสง่ ทางรางให้สอดคลอ้ งกับโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นการ ขนส่งทางราง (ปี63-64 งบประมาณรวม 9.7065 ล้าน บาท) โครงการใหม่ ได้แก่ 5) ศึกษาและจัดทาระบบประเมินประสิทธิภาพการ ดาเนินงานการขนส่งทางรางในแต่ละสายของประเทศ (ปี64-65 งบประมาณรวม 15.1400 ลา้ นบาท) 6) ศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจาลองการคาดการณ์ความ ตอ้ งการเดินทางด้วยระบบราง และการพัฒนาโครงข่าย ระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล (พื้นที่ต่อเน่ือง) ระยะที่ 2 (ปี64 -65 งบประมาณรวม 61.2747 ล้านบาท) 7) ศกึ ษาบรู ณาการจุดเปล่ียนถา่ ยการเดินทางขนส่ง ล้อ- ราง-เรือ อย่างไร้รอยต่อ ภายในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (ป6ี 4-65 งบประมาณรวม 17.6804 ล้าน บาท) 8) ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงข่ายรถไฟให้ ครอบคลุมและเช่อื มโยงพื้นทีท่ ั่วประเทศและรองรับการ ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบได้อย่างไร้รอยต่อ (ปี64-65 งบประมาณรวม 25.7454 ล้านบาท) น อ ก จ า ก น้ั น เ ป็ น ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ใ ช้ ส อ ย วั ส ดุ ใ น หน่วยงาน จัดซื้อครุภัณฑ์ประจาสานักงาน ค่า สาธารณูปโภค ค่าเช่ารถยนต์พร้อมพนักงานขับรถยนต์ คา่ ทด่ี นิ และสิ่งก่อสรา้ งต่าง ๆ คา่ บารงุ สมาชกิ UIC 2. แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ โครงการท่ี 1 โครงการการคมนาคม 10.0000 จา้ งศึกษาการพฒั นาระบบกากบั ดูแลความปลอดภยั และ ขนสง่ ทางรางมีความสะดวก รวดเรว็ ความมัน่ คงของการขนส่งทางราง (ปี63-65 งบประมาณ และมปี ระสทิ ธิภาพ (ปี 62-65 รวม 25.0000 ลา้ นบาท) งบประมาณรวม 46.6500 ลา้ น บาท) สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 111

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 7. งบประมาณจดั อบรมสมั มนา แผนงาน – ผลผลิต งบ งบ งบลงทนุ งบเงิน งบรายจา่ ย เงนิ นอก รวม - อุดหนนุ อืน่ ฯ บคุ ลากร ดาเนินงาน - 49.1815 - 45.8719 - 39.1815 รวมทั้งสนิ้ - 3.3096 - - 35.8719 - - 3.3096 แผนงานพืน้ ฐานด้าน - - - .9728 การสร้าง - .9728 - ความสามารถในการ - -- - 1.2967 ผแลขผ่งขลตินั นโยบายและ - 1.2967 แผนการพฒั นาดา้ นการ - 1.0401 - -- - 1.0401 ขนสง่ ทางราง - - 35.8719 - 35.8719 - 1. ค่าใชจ้ า่ ยในการ - - - .0000 ประชาสมั พันธ์ -- - 10.0000 - 10.0000 -- - 2. ค่าจา้ งเหมาบรกิ าร 3. ค่าใชจ้ ่ายในการ เจรจาและประชุม นานาชาติ 4. คา่ จา้ งทป่ี รึกษา แผนงานบูรณาการการ พฒั นาด้านคมนาคม และระบบโลจสิ ตกิ ส์ ผลผลติ โครงการ -- - 10.0000 - 10.0000 คมนาคมขนส่งทางราง มีความสะดวก รวดเรว็ มปี ระสทิ ธิภาพ -- - 10.0000 10.0000 ค่าจ้างที่ปรกึ ษา สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 112

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 12. การรถไฟแห่งประเทศไทย บทวเิ คราะห์งบประมาณ ปจั จุบนั การรถไฟแหง่ ประเทศไทยมโี ครงขา่ ยเส้นทางรถไฟรวมท้ังส้ิน 4,507.884 กิโลเมตร ครอบคลุม พื้นท่ี 47 จังหวัดท่ัวประเทศ ประกอบด้วยทางเดี่ยว 3,616.764 กิโลเมตร ทางคู่ 251.830 กิโลเมตร และทาง สาม 106.719 กิโลเมตร เน่ืองจากทางรถไฟทางคูแ่ ละทางสามระยะทางค่อนข้างน้อย ทาให้เสียเวลาในการรอ สับหลกี อีกทั้งโครงข่ายทางรถไฟยังมีสภาพทรุดโทรม (มากกวา่ ร้อยละ 60 ของรางมีอายุเฉล่ียเกิน 30 ปขี ้ึนไป) ท่ีขาดการซ่อมบารุง นอกจากน้ี ยังมีทางลักผ่านของชุมชนและมีจานวนจุดตัดระหว่างถนนกับทางรถไฟท่ัว ประเทศ จานวน 2,460 จุด โดยเป็นทางผา่ นระดับถนนท่ีรถไฟจะตอ้ งหยดุ หรอื ชะลอความเร็ว ซึ่งเปน็ จุดท่ีเกิด อุบัติเหตุได้บ่อยคร้ังจานวน 2,200 จุด จึงทาให้ทางขนส่งทางรางยังคงไม่สามารถทาความเร็วได้มากนัก โดย ขบวนรถโดยสารมีความเร็วเฉลี่ยประมาณ 60 กิโลเมตรต่อช่วั โมง และขบวนรถสินค้ามีความเร็วเฉลี่ยประมาณ 35 กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง ทง้ั นี้ ด้วยสถานการณ์ในปัจจุบัน รัฐบาลได้กาหนดยุทธศาสตร์และแผนในระดับนโยบายด้านคมนาคม ขนส่งผลักดันให้ระบบรางเป็นรูปแบบการคมนาคมขนส่งหลักของประเทศ และส่งเสริมให้ประชาชนใช้ระบบ ขนส่งสาธารณะมากข้ึน การรถไฟแห่งประเทศไทยซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีให้บริการระบบรางของรัฐท่ีมีโครงข่าย ครอบคลุมพ้ืนทท่ี ่ัวประเทศจึงจาเป็นตอ้ งเรง่ พฒั นาโครงข่ายและยกระดบั การใหบ้ ริการตามภารกิจให้ดยี ิ่งขึ้น ตามร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้รับการ จัดสรรงบประมาณจานวน 18,108.86 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.81 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคม ทั้งหมด เพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 1,993.1394 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.40 เพื่อ ดาเนินการตามภารกิจ จานวน 1 ผลผลติ และ 17 โครงการ โดยจะมีผลสัมฤทธ์ิท่ีจะเกิดการใชจ้ ่ายงบประมาณ ทส่ี าคญั ได้แก่ สนับสนุนการให้บริการระบบขนสง่ ผู้โดยสาร ใช้งบประมาณจานวน 3,074.6814 ล้านบาท เพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน อุดหนุนสาหรับชดเชยผลขาดทุนและชดเชยรายได้ค่าโดยสารท่ีลดราคาให้บุคคลบาง ประเภท และเงนิ อดุ หนุนบรกิ ารสาธารณะ (PSO) ปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณไฟสี ใช้งบประมาณจานวน 214.6283 ล้านบาท เพ่ือจ้างท่ีปรึกษาจัด ประกวดราคาพร้อมควบคุมงานก่อสร้าง+จ้างผู้รับเหมาก่อสร้าง จัดหาระบบอาณัติสัญญาณเส้นทางสาย ตะวันออก ปรับปรุงรางรถไฟ ใช้งบประมาณจานวน 1,029.7211 ล้านบาท หรือรอ้ ยละ 5.69 ของงบประมาณ ทง้ั หมด เพือ่ ดาเนินการปรับปรงุ คณุ ภาพรางรถไฟ 39 แหง่ ทั่วประเทศ โครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชน จีนในการพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูงเพ่ือเชื่อมโยงภูมิภาคช่วงกรุงเทพมหานคร-หนองคาย 2 ระยะ ใช้ งบประมาณจานวน 902.3590 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.98 ของงบประมาณท้ังหมด ในการจ้างท่ีปรึกษา ออกแบบรายละเอยี ด (ระยะที่ 2) และค่าเวนคืนท่ดี ินและรือ้ ย้ายส่ิงปลูกสร้าง (ระยะที่ 1) จงั หวดั นครราชสีมา โครงการรถไฟความเรว็ สงู เชื่อม 3 สนามบิน ใช้งบประมาณจานวน 3,146.7218 ล้านบาท หรือรอ้ ย ละ 13.55 ของงบประมาณทัง้ หมด เพือ่ เวนคนื และรอื้ ยา้ ยสงิ่ ปลูกสร้างจังหวดั ชลบรุ ี การบริหารจัดการหน้ีภาครัฐ ใช้งบประมาณจานวน 9,025.8490 ล้านบาท หรือร้อยละ 49.84 ของ งบประมาณท้งั หมด เพ่อื ชาระต้นเงนิ กูแ้ ละคา่ ดอกเบ้ยี เงินกู้ โครงการท่ีกอ่ สรา้ งระบบราง จานวน 12 โครงการ สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 113

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม ขอ้ สงั เกต/ข้อเสนอแนะของ PBO จากการวเิ คราะห์ โครงการ/กิจกรรม ทั้งหมด เห็นได้ว่า การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ให้ความสาคัญใน การก่อสร้าง/ปรับปรุง เส้นทางรถไฟ ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหลักของระบบขนส่งทางรางท่ัวประเทศ ท้ังน้ี การท่ี ยุทธศาสตร์และแผนงานในระดับนโยบายกาหนดให้ประเทศเปลี่ยนรูปแบบให้การคมนาคมขนส่งทางรางเป็น ระบบหลัก จึงมีความจาเป็นต้องพัฒนาองค์ประกอบอื่น ๆ อย่างเร่งด่วน PBO จึงมีข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตใน การพัฒนา ดังนี้ 1. พัฒนาความสามารถในการเข้าถึงการบริการ เน่ืองจากในปัจจุบันมีประชาชนที่เข้าถึงรัศมีการ ให้บริการของสถานีรถไฟยังน้อยกว่าสถานีรถโดยสารประจาทางเม่ือเปรียบเทียบในรัศมีทีเ่ ท่ากัน ดงั น้ันจึงควร พัฒนาการเข้าถึงสถานีรถไฟ (Accessibility) โดยเฉพาะในรัศมี 40 กิโลเมตรจากสถานีรถไฟ ด้วยการ บูรณา การกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาท้ังในเรื่องของการพัฒนาถนน การกาหนดเส้นทาง และที่ตั้งของสถานี รถไฟ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง เนื่องจากในปัจจุบันประเทศทางรถไฟทางคู่และทางสามระยะทาง ค่อนข้างน้อย ทาให้เสียเวลาในการรอสับหลีก อีกท้ังโครงข่ายทางรถไฟยังมีสภาพทรุดโทรม (มากกว่าร้อยละ 60 ของรางมีอายุเฉล่ียเกิน 30 ปีขึ้นไป) ส่งผลให้การขนส่งทางรางยังคงไม่สามารถทาความเร็วได้มากนัก โดย ขบวนรถโดยสารมีความเร็วเฉล่ียประมาณ 60 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง และขบวนรถสินค้ามีความเร็วเฉล่ียประมาณ 35 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ดังนั้นการรถไฟแห่งประเทศไทยควรเร่งพัฒนารถไฟทางคู่ ท้ังในส่วนของขั้นตอนก่อน การอนมุ ตั ิดาเนินการกอ่ สรา้ งและขนั้ ตอนการก่อสร้างเพ่ือจงู ใจให้มีปริมาณสัดส่วนการใชบ้ ริการรถไฟสงู ขึ้น 3. บรู ณาการกบั หนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพื่อพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพอื่ พัฒนาระบบขนสง่ สาธารณะ เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการเขา้ ถึงสถานีรถไฟฟ้า 4. ส่งเสริมพัฒนาการเปลี่ยนระบบการขนส่งสินค้าออกจากระบบราง ซึ่งจะส่งผลในการลดต้นทุน การขนส่งทางรางของผู้ประกอบการ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการใช้ระบบคมนาคมทางรางในการขนส่งสินค้า มากข้นึ 5. การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ระบุมีการกู้เงินในประเทศมาก ปี 2563-2567 จานวน 169,442.81 ล้านบาท (เอกสารคาดแดง เล่มท่ี 14 หน้า 223) ซึ่งส่งผลให้มีต้นทุนทางการเงินที่เพ่ิมขึ้นอย่าง มาก รฟท. มีแนวทางการบริหารจัดการหน้ีจานวนน้ีอย่างไร ท้ังน้ี จากรายงานการตรวจสอบของสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน พบว่า ปี 2561 รฟม. มีเงินกู้ยืมระยะยาว 202,706.11 ล้านบาท มีต้นทุนทางการเงินท่ี เกดิ จากดอกเบ้ยี จานวน 3,183.3673 ลา้ นบาท สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 114

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม 6. ความเห็นสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตอ่ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กจิ การ ปี 2561 สตง.ไม่สามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและเฉพาะกิจการเนื่องจาก สตง.ไม่สามารถหา หลกั ฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอยา่ งเพยี งพอ โดยสรุปประเด็นสาคัญ เชน่  การไม่แสดงความเห็นเก่ียวกับรายได้จากการบริหารสินทรัพย์ เนื่องจาก รฟท.ไม่ส่งสัญญาเช่าให้ ตรวจสอบและไม่ไดท้ าทะเบียนคมุ สนิ ทรัพย์เพ่ือใชด้ าเนินงานและสนิ ทรพั ย์ทม่ี ีไวห้ าประโยชน์  การไม่แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับยอดเงินกู้คงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 จานวน 32,229.15 ล้านบาทของโครงการระบบขนส่งรถไฟเช่ือมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและสถานีรับสง่ ผู้โดยสารใน เมือง เน่ืองจากขาดเอกสารหลักฐานเพ่ิมเติมที่เพียงพอและเหมาะสมท่ีจะสรุปได้ว่าเงินกู้ดังกล่าวเป็นภาระหนี้ ของการรถไฟแห่งประเทศไทยหรอื ไม่  การรถไฟฯ ไม่ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เชน่ การรบั ร้รู ายได้คา่ เช่ารับลว่ งหน้า การประมาณการภาระบาเหน็จและบานาญตกทอด นอกจากน้ี สตง. ไดเ้ นน้ เกย่ี วกับหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ดังน้ี  เงินค้างรับจากรัฐบาลสาหรับโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ระยะเร่งด่วน 101,743.11 ล้านบาท (หมายเหตุข้อ 4.12) ซึ่งคณะรฐั มนตรมี ีมติให้ปรบั ลดวงเงินโครงการเหลือ 98,901.57 ลา้ นบาท  หน้ีสินท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องคดีชดใช้ค่าเสียหาย ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณา 61 คดี เป็น จานวน 14,306.85 ล้านบาท ในจานวนนี้มี 1 คดี จานวนเงนิ 12,388.75 ลา้ นบาท (หมายเหตขุ ้อ 4.45.2) การรถไฟแห่งประเทศไทย (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 14 หน้า 221) 1. วิสัยทศั น์ เป็นผใู้ หบ้ รกิ ารระบบรางของรฐั ทด่ี ที สี่ ดุ ในอาเซียนในปี 2570 2. พนั ธกจิ 1. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย มุ่งเน้นการบริการทต่ี อบสนองต่อความต้องการของผู้ใชบ้ ริการเพื่อสรา้ ง รายได้และผลกาไรให้แก่องค์กร รวมถงึ การพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการให้บริการอย่างต่อเนอ่ื ง เพ่ือเป็น ทางเลอื กในการขนส่งท่ีมีประสิทธภิ าพ 2. การรถไฟแห่งประเทศไทย ดาเนินการใหบ้ ริการขนสง่ ในเชิงสงั คม เพ่ือประโยชนส์ ่วนรวมของ ประชาชนและประเทศ และตอบสนองนโยบายในการให้บริการขนส่งราคาต่า และมีประสิทธิภาพของภาครัฐ 3. ตอบสนองนโยบายของรัฐในการพฒั นา ขยายและเชื่อมโยงโครงขา่ ยการขนสง่ ผ้โู ดยสารและสินคา้ 3. ภาพรวมงบประมาณ การรถไฟแห่งประเทศไทยได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 18,108.86 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.81 ของงบประมาณกระทรวงคมนาคม เพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 4,533.9735 ลา้ นบาท หรือเพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 33.40 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 115

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (ล้านบาท) 30,000 24,636.9921 25,000 20,000 18,108.8687 15,000 19,285.6124 17,959.5246 13,574.8952 10,000 12,913.8123 5,000 9,086.9687 0 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 แผนงำน ปงี บประมำณ เพมิ่ /-ลดจำกปี 2563 2563 2564 จำนวน ร้อยละ รวมทง้ั สน้ิ 13,574.8952 18,108.8687 4,533.9735 33.40 แผนงำนบคุ ลำกรภำครฐั 306.1533 315.0921 แผนงำนพน้ื ฐำน 1,063.8013 1,074.6814 8.9388 2.92 10.8801 1.02 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 1,063.8013 1,074.6814 แผนงำนยทุ ธศำสตร์ 1,619.3410 2,000.0000 10.8801 1.02 มาตรการแบบเจาะจงกลมุ่ เป้าหมายเพอ่ื แกป้ ัญหาเฉพาะกลมุ่ 380.6590 23.51 แผนงำนบรู ณำกำร 1,619.3410 2,000.0000 พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 2,552.0654 5,693.2462 380.6590 23.51 เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 2,098.3161 2,453.2593 3,141.1808 123.08 งบประมำณรำยจำ่ ยเพอื่ ชำระหนภี้ ำครัฐ แผนงานบริหารจัดการหน้ภี าครัฐ 453.7493 3,239.9869 354.9432 16.92 8,033.5342 9,025.8490 2,786.2376 614.05 8,033.5342 9,025.8490 992.3148 12.35 992.3148 12.35 เมอ่ื จาแนกตามแผนงาน พบว่า แผนงาน ท่ีได้รับงบประมาณสูงที่สุด คือ แผนงานบริหาร จัดการหนี้ภาครัฐ ซ่ึงได้รับงบประมาณจานวน 9,025.8490 ลา้ นบาท เพมิ่ ขึน้ จากปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 992.3148 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อย ละ 12.35 ในส่วนแผนงานที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณเพิ่มข้ึนมากที่สุดคือ แผนงานบูรณาการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับการจัดสรร จานวน 3,239.9869 ล้านบาท เพ่ิมข้ึน 2,786.2376 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึน้ ถึง 7.14 เทา่ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 116


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook