Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมายที่เกี่ยวกับการกีฬาแห่งประเทศไทย

รวมกฎหมายที่เกี่ยวกับการกีฬาแห่งประเทศไทย

Published by Treerayut Songsin, 2022-07-01 15:12:31

Description: รวมกฎหมายที่เกี่ยวกับการกีฬาแห่งประเทศไทย

Search

Read the Text Version

รวมกฎหมาย ท่ีเกีย่ วกบั การกีฬาแหงประเทศไทย กองพฒั นากฎหมาย สำนักกฎหมาย การกฬี าแหง ประเทศไทย

กฎหมายเก่ียวกับการกฬี าแหงประเทศไทย พระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ และทีแ่ กไขเพิม่ เติม กฎหมายลำดบั รองตามพระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญตั ิกีฬามวย พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไขเพิม่ เตมิ พระราชบัญญตั คิ วบคุมการใชส ารตอ งหามทางการกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๕ และท่แี กไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชกำหนดแกไ ขเพิ่มเตมิ พระราชบัญญตั คิ วบคุมการใชสารตอ งหามทางการกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ พระราชบญั ญัติสง เสรมิ กฬี าอาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ และท่แี กไขเพ่มิ เติม พระราชบญั ญตั คิ ุณสมบตั ิมาตรฐานสำหรบั กรรมการและพนกั งานรฐั วสิ าหกจิ พ.ศ. ๒๕๑๘ และทีแ่ กไขเพ่ิมเติม พระราชบญั ญัตแิ รงงานรัฐวิสาหกิจสัมพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๓ และท่ีแกไ ขเพมิ่ เติม รวบรวมโดย กองพัฒนากฎหมาย สำนกั กฎหมาย การกฬี าแหง ประเทศไทย

คำนำ การกีฬาแหงประเทศไทย สังกัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ไดรวบรวมพระราชบัญญัติ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การกฬี าแหง ประเทศไทย ซง่ึ เกย่ี วกบั การบรหิ ารงานของการกฬี าแหง ประเทศไทย เพื่อใหผ บู รหิ าร พนักงาน ลกู จา ง และผูทเี่ กยี่ วของไดศ ึกษาและใชในการปฏิบัติงาน เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง ชัดเจน และเที่ยงธรรมตามแนวทาง หลกั เกณฑข องการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี แี ละตามหลกั แหง ธรรมาภบิ าล มคี วามจำเปน ตอ งศกึ ษาอา งองิ และ เรียนรูพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และกฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวของกับภารกิจและอำนาจ หนา ทข่ี องการกฬี าแหง ประเทศไทย ทง้ั บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทอ่ี ยใู นความรบั ผดิ ชอบของการกฬี าแหง ประเทศไทย และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของใหครบถวน รวมทั้งการบูรณาการภารกิจงานกับองคกรภาคสวนตาง ๆ อีกเปน จำนวนมาก โดยยึดหลักของบทบัญญัติแหงกฎหมายและระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ การกีฬาแหงประเทศไทย จงึ ให กองพฒั นากฎหมาย สำนกั กฎหมาย ดำเนนิ การรวบรวมพระราชบญั ญตั หิ ลกั จำนวน ๔ ฉบบั พระราชบญั ญตั ิ อื่นที่เกี่ยวของ จำนวน ๒ ฉบับ และภาคผนวก รวบรวมกฎกระทรวง และกฎหมายลำดับรองอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ มาจดั พมิ พเ ปนรูปเลมเพอื่ เผยแพรใ หผ รู ับผดิ ชอบไดใชประโยชนในการปฏิบัติงานตอ ไป กองพัฒนากฎหมาย สำนักกฎหมาย การกีฬาแหงประเทศไทย จดั พมิ พค รัง้ ท่ี ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕

สารบญั หนา ๑. พระราชบญั ญัตกิ ารกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ และที่แกไขเพ่ิมเติม ๑ กฎหมายลำดับรองตามพระราชบญั ญตั ิการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ๓๔ ๑.๑ กฎกระทรวง ๓๕ กำหนดคาธรรมเนยี มตามกฎหมายวาดวยการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓๗ ๑.๒ กฎกระทรวง กำหนดตราเครื่องหมายของการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ ๔๘ ๑.๓ ระเบียบกระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวิธีการเลอื กกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๖๑ ประเภทผูแ ทนสมาคมกฬี าทใี่ ชคำวา “แหง ประเทศไทย” พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๔ ระเบยี บกระทรวงการทองเทีย่ วและกฬี า ๘๐ วา ดว ยหลักเกณฑและวิธีการเลือกกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทย ประเภทผูแทนสมาคมกฬี าแหงจังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๘ ๙๕ ๑.๕ ระเบยี บคณะกรรมการการกีฬาแหง ประเทศไทย วาดว ยหลักเกณฑค ุณสมบตั ิและวิธกี ารในการเลือกหรอื แตง ตัง้ กรรมการ ๙๙ การบริหารกองทนุ พฒั นาการกฬี าแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๐๑ ๑.๖ ระเบยี บคณะกรรมการการกีฬาแหง ประเทศไทย ๑๐๔ วา ดวยการรบั เงิน การจายเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ การบรหิ ารกองทุน ๑๐๘ และการจดั หาผลประโยชนของกองทนุ พฒั นาการกีฬาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๑๒ และทีแ่ กไ ขเพ่มิ เติม ๑๑๖ ๑.๗ ระเบียบคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๑๒๐ วาดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารในการไดมา วาระการดำรงตำแหนง และการพน จากตำแหนงของกรรมการกฬี าจังหวัดตามมาตรา ๓๐ (๔) (๕) (๖) และ (๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑.๘ ประกาศการกฬี าแหง ประเทศไทย วา ดว ยหลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาชนดิ กฬี าเพอ่ื ประกาศ กำหนดเปนชนิดกีฬา ท่ีสามารถขอจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.๙ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย เร่อื ง กำหนดชนดิ กฬี าทส่ี ามารถขอจดทะเบียนจัดตงั้ สมาคมกฬี า ๑.๑๐ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย เร่ือง กำหนดชนดิ กฬี าท่สี ามารถขอจดทะเบียนจดั ตั้งสมาคมกีฬา (ฉบับที่ ๒) ๑.๑๑ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย เรื่อง กำหนดชนิดกีฬาทส่ี ามารถขอจดทะเบยี นจัดตง้ั สมาคมกฬี า (ฉบบั ท่ี ๓) ๑.๑๒ ประกาศคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย เรอ่ื ง กำหนดชนิดกฬี าท่ีสามารถขอจดทะเบียนจัดตง้ั สมาคมกีฬา (ฉบบั ที่ ๔) ๑.๑๓ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย เรื่อง กำหนดชนิดกฬี าทส่ี ามารถขอจดทะเบยี นจัดต้งั สมาคมกีฬา (ฉบบั ที่ ๕) ๑.๑๔ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทย เรอ่ื ง กำหนดชนิดกีฬาทสี่ ามารถขอจดทะเบยี นจดั ตั้งสมาคมกีฬา (ฉบบั ท่ี ๖)

หนา ๑.๑๕ ประกาศคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๑๒๔ เรื่อง กำหนดชนิดกีฬาทส่ี ามารถขอจดทะเบยี นจัดตงั้ สมาคมกฬี า (ฉบับท่ี ๗) ๑๒๘ ๑๓๒ ๑.๑๖ ประกาศคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๑๓๖ เร่ือง กำหนดชนดิ กีฬาทส่ี ามารถขอจดทะเบียนจดั ตงั้ สมาคมกีฬา (ฉบับท่ี ๘) ๑๔๐ ๑๔๔ ๑.๑๗ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย ๑๔๖ เรื่อง กำหนดชนดิ กีฬาทส่ี ามารถขอจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกฬี า (ฉบบั ที่ ๙) ๑๖๙ ๑.๑๘ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทย ๑๗๑ เรอ่ื ง กำหนดชนิดกีฬาทสี่ ามารถขอจดทะเบยี นจัดตัง้ สมาคมกฬี า (ฉบับท่ี ๑๐) ๑๗๘ ๑.๑๙ ประกาศคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๑๘๓ เร่อื ง กำหนดชนิดกีฬาที่สามารถขอจดทะเบยี นจดั ตั้งสมาคมกฬี า (ฉบบั ท่ี ๑๑) ๑๙๖ ๑.๒๐ ประกาศคณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย ๒๐๕ วา ดวยการกำหนดบคุ ลากรกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๐๗ ๒๒๕ ๑.๒๑ ประกาศคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ๒๒๙ วาดวยการจดทะเบยี นสมาคมกฬี า พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๓๓ ๑.๒๒ ขอ บังคับการกีฬาแหงประเทศไทย ๒๔๖ วาดว ยการประชมุ และการดำเนินกิจการของคณะกรรมการการกีฬาแหง ประเทศไทย และคณะอนกุ รรมการ ๑.๒๓ ขอบังคับการกีฬาแหงประเทศไทย วา ดวยกองทุนสงเคราะหหรือการสงเคราะหอืน่ เพอื่ สวัสดกิ ารของพนักงาน ลูกจา ง และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๒๔ ขอบังคบั การกีฬาแหง ประเทศไทย วาดว ยการจัดแบง สว นงานและการบริหารงานของ กกท. พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๒๕ ขอ บงั คบั การกีฬาแหงประเทศไทย วา ดวยการสงเสริมและสนบั สนุนการกีฬา พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑.๒๖ ระเบยี บคณะกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทย วาดวยเครือ่ งแบบผวู าการ พนักงาน และลกู จางของการกีฬาแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑.๒๗ ประกาศการกีฬาแหงประเทศไทย เรื่อง เครื่องแบบของลกู จางการกฬี าแหง ประเทศไทย ๑.๒๘ ขอ บงั คับการกีฬาแหงประเทศไทย วา ดวยวินยั การลงโทษ และการอุทธรณก ารลงโทษพนกั งาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๒๙ ระเบยี บการกฬี าแหงประเทศไทย วาดว ยการบรหิ ารเงนิ สะสมของการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑.๓๐ ขอ บงั คับการกฬี าแหงประเทศไทย วาดวยคาเชา บา นของพนกั งาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๓๑ ระเบียบการกฬี าแหง ประเทศไทย วา ดวยหลักเกณฑและวิธกี ารเก่ียวกบั การเบกิ จา ยเงนิ คาเชา บา นของพนักงาน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๓๒ ขอ บงั คับการกีฬาแหง ประเทศไทย วา ดวยการแขง ขันกีฬาอาวโุ สแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒

หนา กฎหมายลำดับรองตามพระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ซงึ่ ใชบงั คับ ๒๕๕ อยใู นวันกอนทพี่ ระราชบัญญตั ิการกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ใชบ ังคับ (มาตรา ๑๓๘ กำหนดใหย ังคงใหใชบังคับไดตอ ไปเพียงเทา ทไ่ี มข ัดหรอื แยง กบั พระราชบัญญัติ ๒๕๘ การกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ) ๒๖๒ ๑.๓๓ ขอบงั คบั การกีฬาแหงประเทศไทย ฉบบั ที่ ๒ วา ดว ยการขออนญุ าต การอนุญาต และเงื่อนไขในการอนญุ าตใหใ ชค ำวา ๒๖๗ “แหง ประเทศไทย” หรอื มีอักษรหรือเคร่อื งหมายใดแสดงวา เปน สมาคม สโมสร ๒๗๕ หรอื คณะบุคคล ซึ่งมีกิจกรรมเกีย่ วกบั กฬี าในนามของชาตหิ รือประเทศไทย ๒๗๗ ๒๗๙ ๑.๓๔ ขอ บังคับการกฬี าแหงประเทศไทย ฉบบั ที่ ๓ วา ดว ยการขออนุญาต การอนญุ าต และเงือ่ นไขในการอนุญาตใหเขารวมการแขง ขัน ๒๘๖ หรอื สง นกั กฬี าเขารวมการแขงขนั กีฬา หรอื จดั หรอื รวมในการจัดใหมกี ารแขงขนั กฬี า ๒๘๗ โดยแสดงวา เปน การแขง ขนั กฬี าหรอื จดั การแขง ขนั กฬี าในนามของชาตหิ รอื ประเทศไทย ๒๙๐ ๑.๓๕ ขอบังคับการกีฬาแหงประเทศไทย ฉบับท่ี ๖ ๓๑๗ วา ดว ยการควบคุมสมาคมซ่งึ มีวตั ถุประสงคห ลกั เก่ียวกับการกีฬา ๓๒๗ หรอื การสงเสริมการกีฬาโดยตรง ๓๓๖ ๑.๓๖ ขอ บงั คบั การกีฬาแหง ประเทศไทย ฉบับที่ ๗ วาดวยเงินอดุ หนุนสมาคมกีฬา ๑.๓๗ ขอ บังคับการกฬี าแหงประเทศไทย ฉบบั ท่ี ๘ วา ดวยเงินอดุ หนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการกฬี าจงั หวดั ๑.๓๘ ขอบงั คับการกฬี าแหงประเทศไทย ฉบับที่ ๑๐ วา ดวยการกำหนดตำแหนงและอัตราเงนิ เดอื นของพนกั งาน ๑.๓๙ ขอบงั คับการกีฬาแหงประเทศไทย ฉบบั ท่ี ๑๒ วา ดวยการบรรจุ การแตงต้ัง การปรบั อตั ราเงนิ เดอื น การเลื่อนเงนิ เดอื น และการออกจากงานของพนักงาน ๑.๔๐ ขอ บังคับการกีฬาแหงประเทศไทย วาดว ยเงินคา รับรอง พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑.๔๑ ขอบังคบั การกีฬาแหงประเทศไทย วาดวยการจายเงนิ โบนัสคณะกรรมการ และพนักงานการกีฬาแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑.๔๒ ขอบงั คับการกฬี าแหงประเทศไทย วา ดว ยคา ใชจา ยในการเดนิ ทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑.๔๓ ขอ บังคับการกีฬาแหงประเทศไทย วาดวยการแขงขันกีฬาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑.๔๔ ขอ บงั คับการกีฬาแหงประเทศไทย วา ดว ยการแขงขันกีฬาเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑.๔๕ ขอ บังคับการกีฬาแหง ประเทศไทย วาดว ยการจายเงนิ เพอ่ื การศึกษาเพมิ่ เตมิ ฝกอบรม ดูงานหรือปฏบิ ตั ิการวจิ ยั ภายในและตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๐

หนา ๑.๔๖ ขอ บังคับการกฬี าแหง ประเทศไทย ๓๓๙ วา ดว ยมาตรฐานสภาพการจา ง พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑.๔๗ ขอบังคบั การกีฬาแหง ประเทศไทย ๓๕๐ วาดว ยคา ตอบแทน และคาใชจา ยในการเดินทางของวิทยากร ผชู ว ยวทิ ยากร ผตู ดั สนิ ผชู วยผตู ัดสิน และผแู ทนสมาคมกฬี าสมัครเลนแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑.๔๘ ขอบังคับการกฬี าแหงประเทศไทย ๓๕๔ วาดว ยการแขงขันกฬี าคนพกิ ารแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑.๔๙ ขอ บังคับการกีฬาแหง ประเทศไทย ๓๖๑ วาดว ยประมวลจรยิ ธรรมของผวู าการ พนกั งานและลูกจา งของการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑.๕๐ ขอบังคบั การกีฬาแหง ประเทศไทย ๓๖๘ วา ดวยการจายเงิน การรับเงิน และการเก็บรักษาเงิน พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑.๕๑ ระเบยี บการกฬี าแหง ประเทศไทย ๓๘๐ วาดว ยเสือ้ เบลเซอรของการกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑.๕๒ ระเบยี บการกีฬาแหงประเทศไทย ๓๘๑ วา ดวยการใชอาคารทพี่ กั นักกฬี า พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑.๕๓ ระเบียบการกฬี าแหงประเทศไทย ๓๘๓ วาดวยเขม็ วริ ยิ ะ อุทศิ และเกยี รตบิ ตั รของพนกั งาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑.๕๔ ระเบยี บการกีฬาแหงประเทศไทย ๓๘๖ วา ดวยการคดั เลือกเจาภาพระดับภาคในการแขงขันกฬี าแหงชาติ และกีฬาเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑.๕๕ ระเบียบการกฬี าแหงประเทศไทย ๓๘๘ วา ดวยการขอและการใหใ ชอ ุปกรณ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑.๕๖ ระเบยี บการกีฬาแหง ประเทศไทย ๓๙๑ วา ดวยหลกั เกณฑก ารเบกิ จา ยเงนิ โบนสั คณะกรรมการ และพนกั งาน การกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑.๕๗ ระเบยี บการกีฬาแหงประเทศไทย ๓๙๔ วา ดว ยการใชง านระบบคอมพิวเตอรแ ละการเชอื่ มตออนิ เตอรเ นต็ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑.๕๘ ระเบียบการกีฬาแหง ประเทศไทย ๓๙๗ วาดว ยหลักเกณฑการใชสถานกีฬาภายในสนามกฬี าหวั หมาก การกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑.๕๙ ระเบียบการกฬี าแหงประเทศไทย ๔๐๕ วา ดวยคาลว งเวลา คา ทำงานในวันหยุด และคา ลวงเวลาในวันหยุด พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑.๖๐ ระเบยี บการกฬี าแหงประเทศไทย ๔๐๘ วาดว ยการลาของพนกั งาน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖๑ ขอ บงั คบั การกีฬาแหง ประเทศไทย ๔๑๗ วา ดวยการบริหารทรพั ยสนิ และการบริหารจดั การรายไดเงนิ นอกงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

หนา ๒. พระราชบญั ญตั ิกีฬามวย พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไ ขเพม่ิ เติม ๔๒๑ ๓. พระราชบัญญตั คิ วบคุมการใชสารตองหามทางการกฬี า พ.ศ. ๒๕๕๕ ๔๓๗ พระราชกำหนดแกไ ขเพม่ิ เติมพระราชบญั ญตั คิ วบคุมการใชสารตองหา มทางการกฬี า ๔๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๔๕๔ ๓.๑ กฎกระทรวง แบบบตั รประจำตวั พนักงานเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๔๕๖ ๓.๒ ขอ บังคบั คณะกรรมการควบคมุ การใชส ารตองหา มทางการกีฬา ๔๖๐ วาดว ยการประชมุ และการดำเนินงานของคณะกรรมการควบคมุ การใชสารตอ งหาม ทางการกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๗ ๔๖๒ ๓.๓ ระเบียบคณะกรรมการควบคุมการใชสารตอ งหามทางการกีฬา วา ดว ยหลกั เกณฑก ารกำหนดอตั ราคา บรกิ ารในการตรวจสารตอ งหา มของสำนกั งานควบคมุ ๔๖๔ การใชส ารตอ งหา มทางการกฬี าในการปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานเจา หนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓.๔ ประกาศคณะกรรมการควบคมุ การใชสารตองหามทางการกฬี า ๔๖๕ เรอ่ื ง ระดบั ประเภท ชนิดกฬี า การแขงขันกีฬา และบคุ คลที่เปนนกั กีฬาระดบั ชาติ ๔๖๗ ที่ควบคมุ การใชสารตองหาม พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๖๙ ๓.๕ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการใชส ารตอ งหามทางการกีฬา ๔๗๑ เรอ่ื ง การกระทำการอนั เปน การฝา ฝน หลกั เกณฑใ นการใชส ารตอ งหา มหรอื วธิ กี ารตอ งหา ม ๔๗๕ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔๙๒ ๓.๖ ประกาศคณะกรรมการควบคมุ การใชส ารตองหา มทางการกีฬา ๔๙๕ เรอ่ื ง หลกั เกณฑก ารปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องพนกั งานเจา หนา ทใ่ี นการเกบ็ ตวั อยา ง การเคลอ่ื นยา ย ๕๐๗ ตัวอยา ง และการขนสง พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๗ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการใชสารตองหามทางการกีฬา เรื่อง การขออนญุ าตใชสารตองหามหรือวิธีการตองหา มเพื่อการรกั ษา พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๘ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการใชส ารตองหามทางการกฬี า เรือ่ ง หลักเกณฑใ นการพิจารณาโทษของคณะกรรมการพิจารณาโทษ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๙ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการใชส ารตอ งหามทางการกีฬา เร่ือง หลกั เกณฑใ นการกำหนดโทษทางกีฬา พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๑๐ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการใชส ารตองหามทางการกฬี า เรื่อง การวินจิ ฉัยอุทธรณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๔. พระราชบญั ญตั ิสงเสรมิ กฬี าอาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แกไขเพ่ิมเติม ๕. คำสง่ั หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ท่ี ๖๓/๒๕๕๙ ลงวนั ท่ี ๑๒ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ เร่อื ง การสง เสริม สนับสนนุ และปฏิรปู การกีฬาของประเทศ ๖. พระราชบัญญตั คิ ณุ สมบัติมาตรฐานสำหรบั กรรมการและพนกั งานรฐั วิสาหกจิ พ.ศ. ๒๕๑๘ และท่ีแกไขเพิ่มเติม ๗. พระราชบญั ญตั แิ รงงานรฐั วสิ าหกจิ สมั พนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๓ และทีแ่ กไ ขเพิม่ เติม

พระราชบัญญตั ิ กกาารรกกีฬฬี าาแแหหง่ ง่ปปรระะเทเทศศไไททยยพพ.ศ. ๒๕๕๕๘๘ แแลละะทที่แก้ไขเพิ่มเเตตมิ มิ 1

2

พระราชบญั ญัติ การกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เปนปท่ี ๗๐ ในรชั กาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดว ยการกีฬาแหง ประเทศไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของ สภานติ บิ ัญญตั แิ หงชาติ ดังตอไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ เ้ี รยี กวา “พระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา ๓ ใหย กเลิก (๑) พระราชบัญญตั กิ ารกีฬาแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ (๒) พระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “บคุ ลากรกฬี า” หมายความวา บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นาการกฬี า เชน ผตู ดั สนิ ผฝู ก สอน และผูบริหารองคก รดานกฬี า ท้งั น้ี ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด “ภาษี” หมายความวา ภาษีตามกฎหมายวาดวยสุราและคาแสตมปยาสูบตามกฎหมาย วาดวยยาสบู “สมาคมกีฬา” หมายความวา สมาคมกีฬาที่ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬาและได จดทะเบยี นจดั ต้ังตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี “กองทุน” หมายความวา กองทนุ พฒั นาการกฬี าแหง ชาติ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย “กรรมการ” หมายความวา กรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย “ผวู าการ” หมายความวา ผวู าการการกีฬาแหง ประเทศไทย “รองผูว าการ” หมายความวา รองผวู าการการกฬี าแหง ประเทศไทย “พนักงาน” หมายความวา พนักงานของการกีฬาแหงประเทศไทย และหมายความรวมถึง รองผูว า การดวย ๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๒/ตอนที่ ๒๑ ก/หนา ๑/๒๖ มนี าคม ๒๕๕๘ 3

-๒- “ลกู จาง” หมายความวา ลกู จา งของการกฬี าแหง ประเทศไทย “นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนกลางสมาคมกีฬา นายทะเบียนสมาคมกีฬา ประจำกรุงเทพมหานคร หรอื นายทะเบยี นสมาคมกฬี าประจำจงั หวดั แลวแตก รณี “รฐั มนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผูรกั ษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา ๕ ใหร ฐั มนตรีวาการกระทรวงการทองเทยี่ วและกฬี ารักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี และใหมอี ำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดคา ธรรมเนยี มไมเ กินอตั ราทายพระราชบญั ญตั ินี้ และกำหนดกิจการอ่นื หรอื ออกระเบยี บเพ่ือปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี กฎกระทรวงหรือระเบยี บนนั้ เมือ่ ไดประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใชบังคับได หมวด ๑ การจดั ตั้ง ทนุ และทุนสำรอง มาตรา ๖ ใหจัดตั้งองคการขึ้นเรียกวา “การกีฬาแหงประเทศไทย” เรียกโดยยอวา “กกท.” และใหใชชื่อเปนภาษาอังกฤษวา “SPORTS AUTHORITY OF THAILAND” เรียกโดยยอวา “SAT” และใหมี ตราเคร่ืองหมายของ “กกท.” รูปลักษณะตราเคร่ืองหมายตามวรรคหนึง่ ใหก ำหนดโดยกฎกระทรวง มาตรา ๗ ให กกท. เปนนิติบุคคล มีสำนักงานใหญในกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดใกลเคียง และจะจัดตั้งสำนักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่อื่นใดภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรก็ได แตการตั้ง สำนักงานสาขาภายนอกราชอาณาจักรตอ งไดรบั อนุมัตจิ ากคณะรัฐมนตรี มาตรา ๘ กกท. มีวัตถุประสงค ดงั ตอ ไปน้ี (๑) สง เสริมการกีฬา (๒) ทำหนาทเ่ี ปนศนู ยก ลางในการประสานงานเก่ยี วกบั การกีฬา (๓) ศึกษา วิเคราะห วิจัย และจัดทำโครงการ แผนงาน และสถิติเกี่ยวกับการสงเสริมการกีฬา รวมทง้ั ประเมนิ ผล (๔) จดั ชว ยเหลือ แนะนำ และรวมมือในการจัดและดำเนนิ กิจกรรมกีฬา (๕) สำรวจ จดั สรา ง และบรู ณะสถานที่สำหรบั การกฬี า (๖) ติดตอ รว มมอื กบั องคการหรอื สมาคมกีฬาทั้งในและนอกราชอาณาจักร (๗) สอดสอ งและกำกบั ดแู ลการดำเนินกจิ กรรมกีฬา (๘) รเิ ร่ิม พฒั นา สงเสริม และสนับสนุนการกฬี าคนพกิ าร (๙) ประกอบกิจการอื่น ๆ อนั เกย่ี วแกห รอื เพอื่ ประโยชนข องการกีฬา มาตรา ๙ ให กกท. มีอำนาจกระทำกจิ การตาง ๆ ภายในขอบแหง วตั ถุประสงคตามมาตรา ๘ และอำนาจเชน วานใ้ี หร วมถึง 4

-๓- (๑) ถอื กรรมสทิ ธ์ิ หรอื มสี ทิ ธคิ รอบครอง หรอื มที รพั ยสทิ ธติ า ง ๆ สรา ง ซอ้ื จดั หา ขาย จำหนา ย เชา ใหเชา เชา ซอื้ ใหเ ชา ซ้อื ยืม ใหยืม รบั จำนำ รบั จำนอง ทำการแลกเปลย่ี น โอน รับโอน หรือดำเนนิ การใด ๆ เกย่ี วกับทรพั ยสนิ ทัง้ ในและนอกราชอาณาจักรตลอดจนรบั ทรัพยสนิ ท่มี ีผูอุทศิ ให (๒) กยู มื เงินภายในและภายนอกราชอาณาจกั ร ท้งั น้ี ตามขอ บงั คับทค่ี ณะกรรมการกำหนด (๓) ใหกูยืมเงินโดยมีหลักประกันดวยบุคคลหรือทรัพยสินเพื่อประโยชนแกกิจการของ กกท. ทั้งน้ี ตามขอบงั คบั ทีค่ ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๑๐ ทนุ ของ กกท. ประกอบดวย (๑) เงินและทรพั ยสินทโี่ อนมาตามมาตรา ๑๓๑ (๒) เงนิ ท่ไี ดจ ากงบประมาณแผนดนิ ใหเปน ทุนหรอื เพ่อื ดำเนนิ งาน (๓) เงินหรอื ทรัพยสินทีม่ ผี อู ุทิศให (๔) เงินรายไดตามมาตรา ๙๙ มาตรา ๑๑ กกท. อาจมีรายได ดงั ตอ ไปนี้ (๑) รายไดจ ากทรัพยสนิ ของ กกท. (๒) เงินอดุ หนนุ จากรฐั บาล (๓) รายไดจากการจัดการแขงขนั กฬี า (๔) รายไดอ่นื มาตรา ๑๒ เงินสำรองของ กกท. ใหประกอบดวยเงินสำรองธรรมดาซึ่งตั้งไวเผื่อขาดเงิน สำรองเพื่อการไถถอนหนี้สนิ และเงนิ สำรองอ่ืน ๆ ตามความประสงคแ ตละอยา งโดยเฉพาะตามท่ีคณะกรรมการ เหน็ สมควร เงนิ สำรองธรรมดาจะนำออกใชไดกแ็ ตโ ดยมติของคณะกรรมการ มาตรา ๑๓ ทรัพยสนิ ของ กกท. ไมอ ยูในความรบั ผิดแหงการบงั คบั คดี หมวด ๒ คณะกรรมการและผูวา การ มาตรา ๑๔๒ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึง่ เรยี กวา “คณะกรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย” ประกอบดว ย (๑) นายกรฐั มนตรหี รือรองนายกรัฐมนตรีซง่ึ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปน ประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีวา การกระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา เปนรองประธานกรรมการ (๓)๓ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงมหาดไทย และปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร เปน กรรมการ (๔) ประธานคณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และประธาน คณะกรรมการพาราลมิ ปก แหง ประเทศไทย เปนกรรมการ ๒ มาตรา ๑๔ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัตกิ ารกฬี าแหง ประเทศไทย (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓ มาตรา ๑๔ (๓) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒ 5

-๔- (๕) ผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” ซึ่งมาจากการเลือกกันเองของนายก สมาคมกีฬาท่ใี ชคำวา “แหงประเทศไทย” จำนวนหนง่ึ คน เปน กรรมการ (๖) ผูแทนสมาคมกีฬาแหงจังหวัดซึ่งมาจากการเลือกกันเองของนายกสมาคมกีฬาแหงจังหวัด จำนวนหนึ่งคน เปน กรรมการ (๗) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจำนวนไมเกินสามคน โดยใหแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิ ที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณดานกฎหมาย การแพทย การบริหารการกีฬาหรือวิทยาศาสตร การกีฬา เปนกรรมการ ใหผ ูวา การเปนกรรมการและเลขานุการ หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารเลอื กกรรมการตาม (๕) และ (๖) ใหเ ปน ไปตามระเบยี บทร่ี ฐั มนตรกี ำหนด มาตรา ๑๕ กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) และ (๗) ตอ งไมเ ปน พนกั งานหรอื ลกู จา ง และตอ ง มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงาน รฐั วิสาหกิจดว ย มาตรา ๑๖ กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) และ (๗) มวี าระการดำรงตำแหนง คราวละสามป และอาจไดร ับเลือกหรือแตง ต้งั ใหมอ กี ได แตจะดำรงตำแหนง ตดิ ตอกันเกินสองวาระมไิ ด ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพนจากตำแหนงกอนวาระ ใหดำเนินการเลือกหรือแตงตั้ง กรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตำแหนงกรรมการวางลง เวนแตวาระของกรรมการ เหลอื ไมถ งึ สามสิบวัน จะไมเ ลอื กหรือแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีทกี่ รรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) หรอื (๗) พน จากตำแหนงกอ นวาระ หรอื ในกรณที ่ี คณะรัฐมนตรีแตงตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๔ (๗) เพิ่มขึ้นในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระ อยูในตำแหนง ใหผูไดรับเลือกหรือแตงตั้งแทนตำแหนงที่วางหรือเปนกรรมการเพิ่มขึ้นอยูในตำแหนงเทากับ วาระท่เี หลอื อยขู องกรรมการซง่ึ ไดเลือกหรือแตงตง้ั ไวแ ลว เมือ่ ครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมไิ ดม ีการเลอื กหรอื แตงตงั้ กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) หรือ (๗) ขึ้นใหม ใหกรรมการซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระนั้นอยูในตำแหนง เพื่อดำเนินงานตอไป จนกวากรรมการซ่งึ ไดรบั เลอื กหรอื ไดรบั แตง ต้ังใหมเ ขา รับหนา ท่ี มาตรา ๑๗ นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระตามมาตรา ๑๖ กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) และ (๗) พน จากตำแหนง เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เปน คนไรค วามสามารถหรอื คนเสมือนไรค วามสามารถ (๔) ขาดการประชมุ คณะกรรมการเกินสามครง้ั ติดตอ กันโดยไมม เี หตอุ ันสมควร (๕) ขาดคณุ สมบัตหิ รือมลี กั ษณะตอ งหา มอยา งหนึ่งอยา งใดตามมาตรา ๑๕ กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) หรือ (๖) นอกจากตองพนจากตำแหนงตามวรรคหนึ่งแลว ใหพนจากตำแหนงเมื่อพนจากตำแหนงนายกสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” หรือนายกสมาคมกีฬา แหงจงั หวดั แลวแตก รณี กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๗) นอกจากตองพนจากตำแหนงตามวรรคหนึ่งแลว ใหพนจาก ตำแหนงเม่ือคณะรัฐมนตรใี หอ อก 6

-๕- ในกรณที ี่กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) หรอื (๗) พนจากตำแหนงกอนวาระ หรอื ในกรณีที่ ตำแหนงผูวาการวางลงและยังไมมีการแตงตั้งผูดำรงตำแหนงแทน ใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการ เทาที่เหลืออยู แตจะตองมีจำนวนกรรมการรวมกันแลวไมนอยกวาสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด มาตรา ๑๘ เพื่อประโยชนแหงกิจการของ กกท. ใหคณะกรรมการมีอำนาจแตงตั้ง คณะอนุกรรมการเพือ่ ดำเนินกิจการอยา งหน่ึงอยางใดของ กกท. แลวรายงานตอคณะกรรมการ มาตรา ๑๙ ใหคณะกรรมการมอี ำนาจหนา ที่วางนโยบายและควบคมุ ดูแลโดยท่วั ไปซึง่ กจิ การ ของ กกท. อำนาจหนาที่เชน วา นี้ใหรวมถงึ (๑) ออกขอ บังคับหรอื ระเบยี บเพอ่ื ปฏบิ ัตกิ ารใหเ ปน ไปตามมาตรา ๘ และมาตรา ๙ (๒) ออกขอบังคับวา ดวยการประชมุ และการดำเนนิ กิจการของคณะกรรมการ คณะกรรมการ บรหิ ารกองทนุ และคณะอนุกรรมการ (๓) ออกขอบงั คับวาดว ยการจัดแบงสว นงานและการบริหารงานของ กกท. (๔) ออกขอ บงั คบั วา ดว ยการปฏบิ ตั งิ านของผวู า การ และการมอบใหผ อู น่ื ปฏบิ ตั งิ านแทนผวู า การ (๕) ออกขอ บงั คบั กำหนดตำแหนง อตั ราเงนิ เดอื น คา จา ง และเงนิ อน่ื ๆ ของพนกั งานและลกู จา ง (๖) ออกขอบังคับวาดวยการบรรจุ การแตงตั้ง การเลื่อนเงินเดือนหรือคาจาง การพนจาก ตำแหนง วนิ ัย การลงโทษ และการอทุ ธรณก ารลงโทษพนักงานและลูกจาง (๗) ออกระเบียบวาดว ยการรอ งทุกขของพนกั งานและลูกจา ง (๘) ออกขอบังคับวาดวยกองทุนสงเคราะหหรือการสงเคราะหอื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงาน ลูกจา ง และครอบครวั (๙) ออกขอ บงั คบั วา ดว ยคา ใชจ า ยและคา ตอบแทน ใหแ กป ระธานกรรมการ กรรมการ ผวู า การ พนกั งาน ลูกจา ง และผูป ฏบิ ัติงานใหแ ก กกท. โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (๑๐) ออกระเบียบวา ดว ยเครือ่ งแบบผูว า การ พนกั งาน และลกู จาง (๑๑) ออกระเบยี บวา ดว ยการเงินและการบรหิ ารเงนิ รายไดของ กกท. (๑๒) ออกระเบียบวาดวยการรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การบริหารกองทุน และ การจัดหาผลประโยชน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (๑๓) จำหนา ยทรพั ยสนิ จากบัญชเี ปนสูญ ขอบังคบั หรอื ระเบยี บตามวรรคหน่งึ ถา มีขอ ความจำกัดอำนาจของผูวาการในการทำนิตกิ รรม ไวป ระการใด ใหป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๒๐ ใหคณะกรรมการเปนผูแตงตั้งผูวาการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มาตรา ๒๑ ผูวาการนอกจากตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวย คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรฐั วสิ าหกจิ แลวยังตอ งไมมลี กั ษณะตองหา ม ดังตอ ไปนี้ (๑) เปนผมู สี ว นไดเ สยี ในธรุ กจิ การกฬี า (๒) เปนผมู สี วนไดเ สียในสัญญากับ กกท. หรอื ในกิจการท่กี ระทำใหแก กกท. ไมวา โดยทางตรง หรือทางออม เวนแตเปนเพียงผูถือหุนเพื่อการลงทุนโดยสุจริตในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด หรือเปน หุนสวนจำพวกจำกัดความรับผิดในกิจการที่กระทำการอันมีสวนไดเสียเชนวานั้น หรือเปนผูซึ่งคณะกรรมการ มอบหมายใหเปนประธานกรรมการ กรรมการ ผูจัดการ หรือผูดำเนินกิจการในบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชน จำกดั ที่ กกท. เปนผถู ือหนุ 7

-๖- มาตรา ๒๒ ผวู า การพนจากตำแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เปน คนไรความสามารถหรือคนเสมอื นไรค วามสามารถ (๔) ขาดคณุ สมบตั หิ รอื มลี กั ษณะตอ งหามตามมาตรา ๒๑ (๕) คณะกรรมการมมี ติเห็นสมควรใหเ ลิกจา ง (๖) สัญญาจางสิน้ สุดลง มตขิ องคณะกรรมการใหเ ลกิ จางตาม (๕) ตอ งประกอบดวยคะแนนเสยี งไมน อ ยกวา สองในสาม ของจำนวนกรรมการท้ังหมดเทาทม่ี ีอยูนอกจากผูว า การ และใหเ สนอคณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบ มาตรา ๒๓ ผูวาการมีหนาที่บริหารกิจการของ กกท. ใหเปนไปตามวัตถุประสงคและอำนาจ หนาที่ของ กกท. และตามนโยบาย ขอบังคับ และระเบียบที่คณะกรรมการกำหนดกับมีอำนาจบังคับบัญชา พนกั งานและลูกจางทกุ ตำแหนง ผูวาการตอ งรับผดิ ชอบตอคณะกรรมการในการบริหารกจิ การของ กกท. มาตรา ๒๔ ผูวา การมอี ำนาจ (๑) บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือคาจาง ลงโทษทางวินัยพนักงาน และลูกจาง ตลอดจนใหพนักงานและลูกจางออกจากตำแหนงตามขอบังคับหรือระเบียบที่คณะกรรมการ กำหนด แตถา เปน พนักงานหรือลูกจางช้นั ทปี่ รึกษา ผเู ชี่ยวชาญ ผูอ ำนวยการฝา ย หรือผดู ำรงตำแหนงเทียบเทา ขน้ึ ไป จะตอ งไดรับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการกอน (๒) กำหนดเงื่อนไขในการทำงานของพนักงานและลูกจาง และออกระเบียบการปฏิบัติงาน ของ กกท. โดยไมขัดหรือแยงกบั ขอ บังคับหรอื ระเบียบทีค่ ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๒๕ ใหรองผูวาการมีอำนาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางทุกตำแหนงรองจาก ผวู า การ และมอี ำนาจหนา ท่ีดำเนินกจิ การของ กกท. ตามทผ่ี ูวา การมอบหมาย มาตรา ๒๖๔ ในกรณีที่ผูวาการไมอาจปฏิบัติหนาที่ได หรือเมื่อตำแหนงผูวาการวางลงและยัง มิไดแตงตั้งผูวาการ ใหรองผูวาการรักษาการแทนผูวาการ ถาไมมีรองผูวาการหรือรองผูวาการไมอาจปฏิบัติ หนาท่ไี ด ใหคณะกรรมการแตงตัง้ พนกั งานคนใดคนหนง่ึ เปน ผรู ักษาการแทนผูวาการ ในการปฏบิ ัติหนาทข่ี องรองผูว า การหรอื ผรู ักษาการแทนผูวา การตามวรรคหนึง่ ใหรองผวู าการ หรือผรู ักษาการแทนผูวาการมอี ำนาจหนา ทเี่ ชน เดียวกบั ผวู า การ มาตรา ๒๗ ในกจิ การทเ่ี กย่ี วกบั บคุ คลภายนอก ใหผ วู า การเปน ผแู ทนของ กกท. และเพอ่ื การน้ี ผวู า การจะมอบอำนาจใหบ คุ คลใด ๆ ปฏบิ ตั งิ านเฉพาะอยา งแทนกไ็ ด แตต อ งเปน ไปตามขอ บงั คบั ทค่ี ณะกรรมการ กำหนด นิติกรรมทผี่ ูวาการกระทำโดยฝา ฝน ขอ บังคับหรือระเบยี บตามมาตรา ๑๙ ยอ มไมผ ูกพนั กกท. มาตรา ๒๘ ใหประธานกรรมการและกรรมการไดรับประโยชนตอบแทนตามที่คณะรัฐมนตรี กำหนด ๔มาตรา ๒๖ แกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไ ขเพ่ิมเตมิ บทบัญญตั ิแหงกฎหมายทเ่ี กย่ี วกับอำนาจหนา ที่ของผูทำการแทน ผปู ฏบิ ตั ิหนาท่แี ทน ผูรกั ษาการแทน หรือผูร กั ษาการในตำแหนง ผูบริหารของรฐั วิสาหกจิ พ.ศ. ๒๕๖๒ 8

-๗- หมวด ๓ คณะกรรมการกีฬาจังหวัด มาตรา ๒๙ ในแตละจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหมีคณะกรรมการกีฬาจังหวัด และใหสำนักงาน กกท. จังหวัด ทำหนาที่รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาขอมูลและกิจการตาง ๆ ท่ีเกยี่ วกบั งานของคณะกรรมการกฬี าจงั หวดั มาตรา ๓๐ คณะกรรมการกีฬาจงั หวัดประกอบดว ย (๑) ผวู า ราชการจังหวดั เปน ประธานกรรมการ (๒) รองผูว าราชการจงั หวดั ซ่ึงผูว า ราชการจังหวัดมอบหมาย เปน รองประธานกรรมการ (๓) ทองเทีย่ วและกฬี าจังหวัด นายแพทยสาธารณสขุ จงั หวัด นายกองคการบริหารสวนจงั หวดั และนายกสมาคมกฬี าแหงจังหวดั เปน กรรมการ (๔) ผแู ทนผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาในจงั หวดั นน้ั จำนวนหนง่ึ คน เปน กรรมการ (๕) ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่มิใชองคการบริหารสวนจังหวัด จำนวนหนึ่งคน เปน กรรมการ (๖) ผแู ทนองคก รเอกชนในจงั หวดั นั้น จำนวนสองคน เปน กรรมการ (๗) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งผูวาราชการจังหวัดแตงตั้งจำนวนไมนอยกวาสี่คนแตไมเกินแปดคน เปนกรรมการ โดยตองเปนผูที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณดานกีฬาคนพิการอยางนอยหนึ่งคน ใหผูอำนวยการสำนักงาน กกท. จังหวัด เปนกรรมการและเลขานุการ และใหเลขาธิการ สมาคมกฬี าแหงจงั หวัดเปนกรรมการและผูชวยเลขานกุ าร หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการไดม า วาระการดำรงตำแหนง และการพน จากตำแหนง ของกรรมการ ตาม (๔) (๕) (๖) และ (๗) ใหเ ปน ไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา ๓๑ คณะกรรมการกฬี าจังหวดั มีอำนาจหนา ท่ี ดงั ตอ ไปนี้ (๑) เสนอนโยบาย แผนงาน และโครงการสงเสริมกีฬาภายในจงั หวดั ตอคณะกรรมการ (๒) ดำเนนิ การใหเปนไปตามวตั ถปุ ระสงคข อง กกท. ตามมาตรา ๘ (๓) ใหค วามรว มมอื ชว ยเหลอื และสนบั สนนุ กกท. สมาคมกฬี า และหนว ยงานกฬี าทเ่ี กย่ี วขอ ง ในการแขงขนั กีฬาและการดำเนินกิจกรรมกฬี าของจังหวัด (๔) ออกขอ บงั คบั วาดว ยการประชมุ และการดำเนนิ การตามอำนาจหนาท่ี (๕) ปฏิบตั ิงานอน่ื ตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย มาตรา ๓๒ ใหนำมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ มาใชบังคับแกคณะกรรมการกีฬาจังหวัด โดยอนุโลม 9

-๘- หมวด ๔ การสงเสริมและสนับสนุนการกีฬา มาตรา ๓๓ เพอ่ื ประโยชนใ นการสง เสรมิ และสนบั สนนุ การกฬี า คณะกรรมการมอี ำนาจใหท นุ ทรัพยสิน หรือสิทธิประโยชนอื่น แกคณะกรรมการกีฬาจังหวัด สมาคมกีฬา นักกีฬา หรือบุคลากรกีฬา เพื่อใชในการสงเสริมและสนับสนุนการกีฬา ตลอดจนใหคณะกรรมการมีอำนาจใหการสงเคราะหอื่น เพือ่ สวสั ดกิ ารแกนกั กฬี าและบุคลากรกฬี าไดดวย การใหทุน ทรัพยสิน หรือสิทธิประโยชนอื่น ในการสงเสริมและสนับสนุนการกีฬา หรือการ สงเคราะหอื่นเพื่อสวัสดิการแกนักกีฬาและบุคลากรกีฬาตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการจะกำหนดเงื่อนไข ในการใหไวด วยก็ได หลักเกณฑการพิจารณาและการกำหนดประเภทของบุคคลซึ่งพึงไดรับทุน ทรัพยสิน หรือ สิทธิประโยชนอื่น ในการสงเสริมและสนับสนุนการกีฬา หรือการสงเคราะหอื่นตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไป ตามขอบังคบั ทคี่ ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๓๔ คณะกรรมการกีฬาจังหวัด สมาคมกีฬา นักกีฬา หรือบุคลากรกีฬาใด ประสงค จะขอรับทุน ทรัพยสิน สิทธิประโยชน หรือการสงเคราะหอื่นตามมาตรา ๓๓ ใหยื่นคำขอตอ กกท. ตามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และแบบทคี่ ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๓๕ ในกรณีที่คณะกรรมการกีฬาจังหวัด สมาคมกีฬา นักกีฬา หรือบุคลากรกีฬา ที่ไดรับทุน ทรัพยสิน สิทธิประโยชน หรือการสงเคราะหอื่นตามมาตรา ๓๓ ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด ใหคณะกรรมการมีอำนาจสั่งยกเลิกการใหทุน ทรัพยสิน สิทธิประโยชน หรือ การสงเคราะหอื่นทงั้ หมดหรือบางสวนก็ได ถา คณะกรรมการพจิ ารณาเหน็ วา การทฝ่ี า ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามนน้ั มไิ ดเ ปน การกระทำโดยจงใจ คณะกรรมการจะเตือนเปนหนังสือใหแกไขหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในเวลาที่กำหนดก็ได และเมื่อพน กำหนดเวลาดังกลาว คณะกรรมการกีฬาจังหวัด สมาคมกีฬา นักกีฬา หรือบุคลากรกีฬานั้นมิไดแกไข หรือปฏิบัตใิ หถูกตอ ง ใหคณะกรรมการดำเนินการตามวรรคหน่งึ หมวด ๕ กองทนุ พัฒนาการกีฬาแหงชาติ มาตรา ๓๖ ใหจ ดั ตง้ั กองทนุ ขน้ึ กองทนุ หนง่ึ เรยี กวา “กองทนุ พฒั นาการกฬี าแหง ชาต”ิ ใน กกท. เพื่อเปนทุนหมุนเวียนสำหรับใชจายเพื่อการสงเสริม สนับสนุน พัฒนา คุมครอง ชวยเหลือและจัดสวัสดิการ ทเ่ี กีย่ วขอ งกับการกีฬา โดยประกอบดว ยเงนิ และทรพั ยส นิ ดังตอ ไปนี้ 10

-๙- (๑) เงินบำรุงกองทนุ ท่จี ัดเก็บตามมาตรา ๓๗ (๒) เงินและทรัพยสินทโี่ อนมาตามมาตรา ๑๓๓ (๓) เงนิ ทนุ ประเดิมทรี่ ัฐบาลจัดสรรให (๔) เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาลหรือท่ีไดรับจากงบประมาณรายจา ยประจำปต ามความจำเปน (๕) เงนิ รายไดหรือผลประโยชนท ีเ่ กดิ จากกองทนุ (๖) รายไดท เี่ กดิ จากการดำเนินการของกองทนุ (๗) เงินหรอื ทรพั ยส ินท่มี ีผอู ุทศิ ให (๗/๑)๕ เงนิ ทโี่ อนมาโดยผลของกฎหมาย (๗/๒)๖ เงินท่ไี ดจ ากคา ธรรมเนียมและคา ปรบั ตามกฎหมายวาดวยกฬี ามวย (๗/๓)๗ เงินคา ปรับทางปกครองตามกฎหมายวาดวยการสงเสรมิ กีฬาอาชพี (๘) รายไดอืน่ ๆ ให กกท. เก็บรักษาเงินและทรัพยสินของกองทุนและดำเนินการเบิกจายเงินกองทุนตาม พระราชบญั ญตั นิ ้ี เงนิ และทรพั ยส นิ ตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ของ กกท. เพอ่ื ใชป ระโยชนต ามวตั ถปุ ระสงคข องกองทนุ โดยไมต องนำสงคลังเปน รายไดแ ผนดนิ มาตรา ๓๗ ใหกองทุนมีอำนาจจัดเก็บเงินบำรุงกองทุนจากผูมีหนาที่เสียภาษีตามกฎหมาย วาดวยสุราและกฎหมายวาดวยยาสูบ ในอัตรารอยละสองของภาษีที่เก็บจากสุราและยาสูบตามกฎหมายวาดวย สุราและกฎหมายวา ดวยยาสูบ ในการคำนวณเงินบำรุงกองทุนตามอัตราที่กำหนดในวรรคหนึ่ง หากมีเศษของหนึ่งสตางค ใหปดท้ิง มาตรา ๓๘ เพอื่ ประโยชนใ นการจัดเกบ็ และสง เงินบำรุงกองทุน (๑) ใหกรมสรรพสามิตและกรมศุลกากรเปนผูดำเนินการเรียกเก็บเงินบำรุงกองทุน เพื่อนำสง เปนรายไดของกองทุน โดยไมตองนำสงคลังเปนรายไดแผนดิน ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีวาการกระทรวง การคลังกำหนด (๒) เงินบำรุงกองทนุ ใหถ อื เปนภาษี แตไ มใ หน ำไปรวมคำนวณเปนมลู คา ของภาษี มาตรา ๓๙ ใหผูมีหนาที่เสียภาษีตามกฎหมายวาดวยสุราและกฎหมายวาดวยยาสูบ มีหนาที่ สงเงินบำรุงกองทุนตามอัตราที่กำหนดตามมาตรา ๓๗ พรอมกับการชำระภาษีตามระเบียบที่รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลังกำหนด มาตรา ๔๐ ในกรณีที่ผูมีหนาที่เสียภาษีตามกฎหมายวาดวยสุราและกฎหมายวาดวยยาสูบ ไดรับการยกเวนหรือคืนภาษี ใหไดรับการยกเวนหรือคืนเงินบำรุงกองทุนดวย ตามระเบียบที่รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลังกำหนด ๕มาตรา ๓๖ วรรคหนงึ่ (๗/๑) เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตกิ ารกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖ มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง (๗/๒) เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั กิ ารกีฬาแหง ประเทศไทย (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๗ มาตรา ๓๖ วรรคหน่งึ (๗/๓) เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั กิ ารกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 11

- ๑๐ - มาตรา ๔๑ ในกรณีที่ผูมีหนาที่สงเงินบำรุงกองทุนไมสงเงินบำรุงกองทุนหรือสงภายหลัง ระยะเวลาที่กำหนด หรือสงเงินบำรุงกองทุนไมครบตามจำนวนที่ตองสง นอกจากจะมีความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้แลว ใหเสียเงินเพิ่มในอัตรารอยละสองตอเดือนของจำนวนเงินที่ไมสงหรือสงภายหลัง ระยะเวลาที่กำหนดหรือจำนวนเงินที่สงขาดไป แลวแตกรณี นับแตวันครบกำหนดสงจนถึงวันที่สงเงินบำรุง กองทุน แตเงินเพิ่มที่คำนวณไดมิใหเกินจำนวนเงินบำรุงกองทุนและใหถือวาเงินเพิ่มนี้เปนเงินบำรุงกองทุนดวย ในการคำนวณระยะเวลาตามวรรคหน่งึ เศษของเดอื นใหน ับเปนหน่ึงเดอื น มาตรา ๔๒ เงนิ กองทุนใหใ ชจา ยเพ่ือกิจการ ดังตอ ไปน้ี (๑) สง เสรมิ และสนบั สนุนการดำเนนิ กจิ กรรมกีฬาท้งั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ (๒) สง เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นานกั กฬี า บคุ ลากรกฬี า และสมาคมกีฬา (๓) สงเสรมิ และสนบั สนุนการเตรยี มนกั กฬี าเพอ่ื ใหเปนนกั กีฬาทัง้ ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ (๔) สนบั สนนุ เงนิ รางวลั แกน กั กฬี า บคุ ลากรกฬี า และสมาคมกฬี าทใ่ี ชค ำวา “แหง ประเทศไทย” ซง่ึ ประกอบคุณความดแี กการกฬี าของชาตหิ รือนำช่ือเสยี งเกียรติภมู ิมาสปู ระเทศชาติ (๕) สนับสนนุ ทนุ การศกึ ษาแกน ักกฬี าและบคุ ลากรกีฬา (๖) ชวยเหลือดานสวัสดิการแกนักกีฬา บุคลากรกีฬา และผูซึ่งประสบอุบัติเหตุ หรือไดรับ ความเสียหายหรอื อนั ตรายจากการแขง ขันกีฬา และกรณีอื่นอนั ควรแกก ารสงเคราะห (๗) สงเสริมและสนับสนุนกฬี ามวยตามกฎหมายวา ดว ยกฬี ามวย และกีฬาอาชพี ตามกฎหมาย วา ดว ยการสงเสริมกฬี าอาชีพ นอกจากการใชจายเงินกองทุนตามวรรคหนึ่ง ใหจัดสรรเงินกองทุนเพื่อเปนคาใชจายในการ บรหิ ารกองทนุ ตามระเบยี บที่คณะกรรมการกำหนด มาตรา ๔๓ ใหม ีคณะกรรมการบริหารกองทนุ คณะหนง่ึ ประกอบดวย (๑) รองนายกรัฐมนตรีซ่งึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปนประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรวี าการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เปนรองประธานกรรมการ คนทีห่ นงึ่ (๓) ปลัดกระทรวงการทอ งเท่ียวและกีฬา เปน รองประธานกรรมการ คนท่สี อง (๔) ปลดั กระทรวงการคลัง เปนรองประธานกรรมการ คนทสี่ าม (๕) ผูแทนสำนักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลาง ประธานคณะกรรมการโอลิมปค แหงประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ และประธานคณะกรรมการพาราลิมปก แหง ประเทศไทย เปนกรรมการ (๖) ผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” ซึ่งมาจากการเลือกกันเองของนายก สมาคมกีฬาทีใ่ ชคำวา “แหงประเทศไทย” จำนวนหนง่ึ คน เปนกรรมการ (๗)๘ ผแู ทนสมาคมกฬี าแหง จงั หวดั ซง่ึ มาจากการเลอื กกนั เองของนายกสมาคมกฬี าแหง จงั หวดั จำนวนหนงึ่ คน เปน กรรมการ (๘) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งจากบุคคลที่ไมเปนพนักงานจำนวนสองคน โดยใหแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณดานเศรษฐศาสตรหรือการเงิน จำนวนหนง่ึ คน และดา นการแพทยหรือวทิ ยาศาสตรก ารกีฬา จำนวนหนง่ึ คน เปนกรรมการ ใหผ ูวาการเปนกรรมการบรหิ ารกองทนุ และเลขานุการ ๘ มาตรา ๔๒ (๗) เพิ่มโดยคำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๖๓/๒๕๕๙ เรื่อง การสงเสริม สนับสนุน และปฏิรูป การกฬี าของประเทศ 12

- ๑๑ - กรรมการบริหารกองทุนตาม (๖) (๗) และ (๘) จะดำรงตำแหนง กรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) หรือ (๗) ในขณะเดียวกันมไิ ด หลกั เกณฑ คณุ สมบัติ และวธิ ีการในการเลอื กหรือแตงต้ังกรรมการบรหิ ารกองทุนตาม (๖) (๗) และ (๘) ใหเปน ไปตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๔๔ กรรมการบรหิ ารกองทนุ ตามมาตรา ๔๓ (๖) (๗) และ (๘) มวี าระการดำรงตำแหนง คราวละสามป และอาจไดร ับเลอื กหรือแตงต้ังใหมอีกได แตจะดำรงตำแหนง ติดตอ กนั เกนิ สองวาระมไิ ด ในกรณีที่กรรมการบริหารกองทุนตามวรรคหนึ่งพนจากตำแหนงกอนวาระใหดำเนินการเลือก หรอื แตง ต้ังกรรมการบรหิ ารกองทนุ ประเภทเดียวกันแทนภายในเกา สบิ วนั นับแตวนั ทต่ี ำแหนงกรรมการบริหาร กองทุนวางลง เวนแตวาระของกรรมการบริหารกองทุนเหลือไมถึงสามสิบวัน จะไมเลือกหรือแตงตั้งกรรมการ บริหารกองทุนแทนก็ได และใหผูไดรับเลือกหรือแตงตั้งแทนตำแหนงที่วางอยูในตำแหนงเทากับวาระที่เหลืออยู ของผูซงึ่ ตนแทน เมื่อครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการเลือกหรือแตงตั้งกรรมการบริหาร กองทุนตามมาตรา ๔๓ (๖) (๗) หรือ (๘) ขึ้นใหม ใหกรรมการบริหารกองทุนซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระนั้น อยูในตำแหนงเพื่อดำเนินงานตอไปจนกวากรรมการบริหารกองทุนซึ่งไดรับเลือกหรือไดรับแตงตั้งใหม เขา รับหนา ท่ี มาตรา ๔๕ นอกจากการพน จากตำแหนงตามวาระตามมาตรา ๔๔ กรรมการบริหารกองทุน ตามมาตรา ๔๓ (๖) (๗) และ (๘) พน จากตำแหนง เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอน ความสามารถ (๔) เปนบคุ คลลม ละลายหรือเคยเปนบคุ คลลมละลายทจุ ริต (๕) เปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมือนไรค วามสามารถ (๖) ไดร บั โทษจำคกุ โดยคำพพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ ำคกุ เวน แตเ ปน โทษสำหรบั ความผดิ ทไ่ี ดก ระทำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๗) ขาดคณุ สมบัติตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกำหนดตามมาตรา ๔๓ กรรมการบริหารกองทุนตามมาตรา ๔๓ (๖) หรือ (๗) นอกจากตองพนจากตำแหนง ตามวรรคหนึ่งแลว ใหพนจากตำแหนงเมื่อพนจากตำแหนงนายกสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” หรือนายกสมาคมกฬี าแหง จังหวดั แลวแตกรณี ในกรณีทกี่ รรมการบรหิ ารกองทุนตามมาตรา ๔๓ (๖) (๗) หรือ (๘) พนจากตำแหนงกอ นวาระ หรือในกรณีที่ตำแหนงผูวาการวางลงและยังไมมีการแตงตั้งผูดำรงตำแหนงแทน ใหคณะกรรมการบริหาร กองทนุ ประกอบดว ยกรรมการบรหิ ารกองทนุ เทา ทเ่ี หลอื อยู แตจ ะตอ งมจี ำนวนกรรมการบรหิ ารกองทนุ รวมกนั แลว ไมนอ ยกวา สองในสามของจำนวนกรรมการบรหิ ารกองทนุ ทง้ั หมด 13

- ๑๒ - มาตรา ๔๖ ใหค ณะกรรมการบริหารกองทุนมีอำนาจหนาที่ ดังตอ ไปน้ี (๑) บริหารกองทุนรวมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชนและการจัดการกองทุน ใหเ ปน ไปตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกำหนด (๒) พิจารณาอนุมัติโครงการที่ขอรับการสงเสริมหรือสนับสนุนจากกองทุนและติดตามผล การดำเนนิ การของโครงการดงั กลา ว (๓) กำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการใหเงินรางวัลแกนักกีฬา บุคลากรกีฬา และสมาคมกีฬาทีใ่ ชคำวา “แหงประเทศไทย” (๔) กำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการใหทุนการศึกษา และอนุมัติทุนการศึกษา แกน กั กีฬาและบคุ ลากรกีฬา (๕) กำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการชวยเหลือดานสวัสดิการแกบุคคล ตามมาตรา ๔๒ (๖) (๕/๑)๙ กำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชจายเงินของกองทุนเพื่อการ สงเสริมและสนับสนุนกีฬามวยตามกฎหมายวาดวยกีฬามวย และกีฬาอาชีพตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม กฬี าอาชีพ (๖) รายงานสถานะการเงนิ และการบรหิ ารกองทนุ ตอ คณะกรรมการตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการ กำหนด (๗) วางระเบยี บและแนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การดำเนนิ การเพอ่ื ใหเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องกองทนุ (๘) ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ใดตามทก่ี ำหนดไวในพระราชบญั ญตั ินี้ คณะกรรมการบริหารกองทุนอาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและปฏิบัติการ อยา งหนึง่ อยา งใดตามท่คี ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ มอบหมายกไ็ ด มาตรา ๔๗ การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การบริหารกองทุน และการจัดหา ผลประโยชน ใหเปน ไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๔๘ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบดุลและบัญชีทำการสงผูสอบบัญชี ตรวจสอบภายในหน่ึงรอยยส่ี บิ วันนับแตวนั สิ้นปบ ญั ชที ุกป ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูสอบบัญชีของกองทุนทุกรอบปแลวทำรายงานผล การสอบและรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของกองทุนเสนอตอคณะกรรมการภายในหนึ่งรอยหาสิบวัน นับแตว ันสิน้ ปบ ัญชเี พอ่ื คณะกรรมการเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ มาตรา ๔๘/๑๑๐ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนทำรายงานประจำปของกองทุนเสนอ คณะรัฐมนตรี สภาผแู ทนราษฎร และวุฒสิ ภาเพ่อื ทราบภายในหนงึ่ รอยแปดสิบวันนบั แตวันสน้ิ ปบ ญั ชี รายงานน้ี ใหกลา วถงึ ผลงานของกองทุนในปที่ลวงมาแลว พรอ มท้ังงบการเงนิ และรายงานของผูส อบบัญชี ๙ มาตรา ๔๖ วรรคหน่งึ (๕/๑) เพิม่ โดยพระราชบัญญตั กิ ารกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๐ มาตรา ๔๘/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติการกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ 14

- ๑๓ - หมวด ๖ สมาคมกีฬา สวนท่ี ๑ การจัดตั้งสมาคมกฬี า มาตรา ๔๙ สมาคมกีฬาจะมขี ึ้นไดกแ็ ตโ ดยอาศัยอำนาจตามบทบญั ญตั แิ หง พระราชบญั ญัตนิ ้ี สมาคมกีฬาตามวรรคหนึ่งตองมีวัตถุประสงคในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬา โดยมีการจัดการแขงขันกีฬาหรือสงนักกีฬาเขารวมการแขงขัน และอาจมีการดำเนินการอื่นที่เกี่ยวของกับ การกีฬา มาตรา ๕๐ สมาคมกฬี าตองมีขอบงั คบั และตองจดทะเบยี น เม่ือไดจดทะเบียนแลวใหม ีฐานะ เปนนติ บิ ุคคล มาตรา ๕๑ ใหจัดตั้งสำนักงานกลางทะเบียนสมาคมกีฬาขึ้นใน กกท. เพื่อควบคุมการ จดทะเบียนเปนสมาคมกีฬาทั่วราชอาณาจักร และทำหนาที่เปนสำนักงานทะเบียนสมาคมกีฬาประจำ กรงุ เทพมหานคร ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหสำนักงาน กกท. จังหวัด ทำหนาที่เปนสำนักงาน ทะเบียนสมาคมกฬี าประจำจงั หวดั ใหผูวาการหรือผูซึ่งผูวาการมอบหมายเปนนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาและนายทะเบียน สมาคมกีฬาประจำกรุงเทพมหานคร และใหผูอำนวยการสำนักงาน กกท. จังหวัด หรือผูซึ่งผูวาการมอบหมาย เปนนายทะเบียนสมาคมกฬี าประจำจงั หวดั มาตรา ๕๒ ใหคณะกรรมการประกาศกำหนดชนิดกีฬาที่สามารถขอจดทะเบียนจัดตั้ง สมาคมกีฬาไดต ามพระราชบัญญตั ินี้ มาตรา ๕๓ การขอจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬา ใหผูเริ่มกอการจัดตั้งจำนวนไมนอยกวา เจ็ดคนยื่นคำขอพรอมดวยขอบังคับของสมาคมกีฬาอยางนอยสามฉบับตอนายทะเบียนประจำทองที่ ท่จี ะตง้ั สำนกั งาน คุณสมบัติของผูเริ่มกอการจัดตั้งสมาคมกีฬา หลักเกณฑและวิธีการยื่นคำขอจดทะเบียน และการจดทะเบยี นใหเ ปน ไปตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด มาตรา ๕๔ ในการขอจดทะเบียน ถา ไดปฏบิ ตั ถิ กู ตองครบถวนตามที่บญั ญัตไิ วใ นมาตรา ๕๓ มีขอบังคับถูกตองตามมาตรา ๕๖ และขอบังคับนั้นไมขัดตอกฎหมายและวัตถุประสงคของสมาคมกีฬากับทั้ง ผูเริ่มกอการจัดตั้งสมาคมกีฬาทุกคนมีคุณสมบัติถูกตองตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดตามมาตรา ๕๓ วรรคสอง ใหน ายทะเบียนรบั จดทะเบยี นได และใหออกใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนตามแบบท่ีคณะกรรมการ ประกาศกำหนดใหแ กส มาคมกฬี าน้นั การจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬาและการเลิกสมาคมกีฬา ใหนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬา ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา 15

- ๑๔ - ถานายทะเบียนเห็นวาในการขอจดทะเบียนมิไดปฏิบัติใหถูกตองครบถวนตามวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียนมีคำสั่งใหผูยื่นคำขอแกไขหรือเปลี่ยนแปลงใหถูกตอง เมื่อไดแกไขหรือเปลี่ยนแปลงถูกตองแลว ใหน ายทะเบยี นออกใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนใหแกสมาคมกฬี านัน้ ถาผูยื่นคำขอไมแกไขหรือเปลี่ยนแปลงใหถูกตองตามวรรคสามภายในสามสิบวันนับแต วันทราบคำสั่งนายทะเบียน หรือหากนายทะเบียนพิจารณาแลวเห็นวา วัตถุประสงคตามที่ยื่นคำขอมิไดเปนไป ตามที่กำหนดไวในมาตรา ๔๙ วรรคสอง ใหนายทะเบียนมีคำสั่งไมรับจดทะเบียนและแจงคำสั่งไมรับ จดทะเบยี นพรอ มดว ยเหตผุ ลไปยงั ผขู อจดทะเบียนภายในสามสิบวันนบั แตว ันย่นื คำขอ ใหผูขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณคำสั่งนั้นตอคณะกรรมการได โดยทำเปนหนังสือยื่นตอ นายทะเบยี นภายในสามสิบวันนับแตว ันที่ไดรบั แจงคำสัง่ ดงั กลา ว และใหน ายทะเบียนสง หนงั สืออทุ ธรณต อ ไปยัง คณะกรรมการภายในสิบหา วนั นับแตวันทไี่ ดร ับหนังสืออุทธรณดงั กลา ว ใหคณะกรรมการวินิจฉัยใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันที่คณะกรรมการไดรับหนังสือ อทุ ธรณ คำวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการใหเปนทส่ี ุด มาตรา ๕๕ ในกรณีที่ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬาสูญหาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคัญ ใหนายทะเบียนออกใบแทนใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนใหเมื่อสมาคมกีฬารองขอ การขอรบั ใบแทนใบสำคญั แสดงการจดทะเบยี น การออกใบแทนใบสำคญั แสดงการจดทะเบยี น และแบบใบแทนใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และแบบที่คณะกรรมการ ประกาศกำหนด มาตรา ๕๖ ขอบังคับของสมาคมกีฬาอยางนอ ยตอ งมขี อ ความเกยี่ วกับเรอ่ื งดังตอไปนี้ (๑) ชอื่ ซึ่งตอ งมคี ำวา “สมาคมกีฬา” กำกับไวกบั ชอื่ นน้ั ดว ย (๒) วัตถุประสงค (๓) ทต่ี งั้ สำนกั งานและวนั เวลาเปด ทำการ (๔) วิธีการรับสมาชิกและการขาดจากสมาชิกภาพ (๕) ขอกำหนดเก่ยี วกบั สิทธแิ ละหนาท่ีของสมาชิก (๖) อตั ราคา บำรุง (๗) ขอกำหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการสมาคมกีฬา ไดแก จำนวนกรรมการ การตั้งกรรมการ วาระการดำรงตำแหนง การพน จากตำแหนง และการประชุมคณะกรรมการสมาคมกฬี า (๘) ขอ กำหนดเกีย่ วกับการจัดการสมาคมกีฬา การบญั ชี และทรัพยส นิ ของสมาคมกฬี า (๙) ขอกำหนดเก่ียวกับการประชมุ ใหญ (๑๐) ขอกำหนดอน่ื ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกำหนดในราชกิจจานเุ บกษา การกำหนดระยะเวลาของวาระการดำรงตำแหนงตาม (๗) ของกรรมการสมาคมกีฬาทั่วไป และสมาคมกฬี าแหง จังหวดั ตอ งกำหนดใหไ มเ กนิ ส่ปี  การกำหนดระยะเวลาของวาระการดำรงตำแหนง ตาม (๗) ของกรรมการสมาคมกีฬาท่ีใชค ำวา “แหงประเทศไทย” ชนิดกีฬาใด ตองกำหนดใหสอดคลองกับระยะเวลาของวาระการดำรงตำแหนงของ กรรมการบรหิ ารสหพนั ธกฬี านานาชาติของชนดิ กฬี านนั้ ดวย มาตรา ๕๗ สมาคมกีฬาตองใชชื่อซึ่งมีคำวา “สมาคมกีฬา” ประกอบกับชื่อของสมาคมกีฬา 16

- ๑๕ - มาตรา ๕๘ การแกไขหรือเพิ่มเติมขอบังคับของสมาคมกีฬาจะกระทำไดก็แตโดยมติของ ที่ประชุมใหญ และตองนำไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนแหงทองที่ที่สำนักงานของสมาคมกีฬาตั้งอยูภายใน สิบสีว่ นั นับแตวันท่ที ี่ประชุมใหญล งมติ เม่อื นายทะเบียนไดจ ดทะเบียนแลวใหมีผลใชบ ังคับได การยื่นคำขอจดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ ประกาศกำหนด นายทะเบียนมีอำนาจไมรับจดทะเบียนการแกไขหรือเพิ่มเติมขอบังคับของสมาคมกีฬาได เมื่อเห็นวา การแกไขหรือเพ่มิ เตมิ นน้ั ขัดตอวตั ถุประสงคข องสมาคมกีฬาหรอื ขดั ตอ กฎหมาย ในกรณีที่นายทะเบียนไมรับจดทะเบียนการแกไขหรือเพิ่มเติมขอบังคับของสมาคมกีฬา ใหนำ มาตรา ๕๔ วรรคหาและวรรคหก มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๕๙ การแตงตั้งกรรมการสมาคมกีฬาขึ้นใหมทั้งชุดหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการ สมาคมกีฬา ใหกระทำตามขอบังคับของสมาคมกีฬานั้น และสมาคมกีฬาตองนำไปจดทะเบียนตอนายทะเบียน แหงทองที่ที่สำนักงานของสมาคมกีฬาตั้งอยูภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการแตงตั้งหรือเปลี่ยนแปลง กรรมการสมาคมกฬี านนั้ ถานายทะเบียนเห็นวากรรมการสมาคมกีฬาตามวรรคหนึ่งผูใด มีฐานะ ความประพฤติ หรือคุณสมบัติไมเหมาะสมในการดำเนินการตามวัตถุประสงคของสมาคมกีฬาหรือกระบวนการแตงตั้งหรือ เปลี่ยนแปลงกรรมการสมาคมกีฬาขัดตอกฎหมายหรือขอบังคับของสมาคมกีฬา นายทะเบียนจะไมรับ จดทะเบียนกรรมการสมาคมกีฬาผูนั้นก็ได ในกรณีที่นายทะเบียนไมรับจดทะเบียนกรรมการสมาคมกีฬา นายทะเบียนตองแจงเหตุผลที่ไมรับจดทะเบียนใหสมาคมกีฬาทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ยื่นคำขอ จดทะเบยี น โดยใหน ำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม ในระหวา งท่ยี ังไมมีการจดทะเบยี นกรรมการสมาคมกฬี าชุดใหม หากขอบังคบั ของสมาคมกฬี า มิไดกำหนดไวเปนอยางอื่น ใหกรรมการสมาคมกีฬาชุดเดิมปฏิบัติหนาที่กรรมการสมาคมกีฬาตอไปจนกวา จะไดม กี ารจดทะเบยี นกรรมการสมาคมกีฬาชดุ ใหม มาตรา ๖๐ หามมิใหบุคคลใดใชชื่อที่มีอักษรไทยประกอบวา “สมาคมกีฬา” หรืออักษร ตา งประเทศซง่ึ แปลหรืออานวา “สมาคมกฬี า” ในดวงตรา ปา ยช่ือ หรือเอกสารตา ง ๆ โดยมไิ ดเ ปน สมาคมกีฬา เวนแตเ ปน การใชใ นการขอจดทะเบียนจัดต้ังสมาคมกฬี า มาตรา ๖๑ ใหนายทะเบียนมีอำนาจออกคำสั่งเปนหนังสือเรียกบุคคลใด ๆ มาสอบถาม หรอื ใหสง เอกสารมาเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาเก่ยี วกับการขอจดทะเบยี นจดั ตงั้ สมาคมกีฬาได สว นท่ี ๒ ประเภทของสมาคมกฬี า มาตรา ๖๒ สมาคมกีฬาแบง ออกเปน สามประเภท คือ (๑) สมาคมกีฬาทั่วไป (๒) สมาคมกฬี าแหงจงั หวัด (๓) สมาคมกีฬาที่ใชค ำวา “แหงประเทศไทย” 17

- ๑๖ - มาตรา ๖๓ สมาคมกฬี าท่ัวไปเปนสมาคมกีฬาทีจ่ ดั ตง้ั ขน้ึ เพอื่ สง เสริมและสนบั สนนุ การดำเนิน กจิ กรรมท่ีเก่ียวของกบั การกีฬาแกส มาชกิ เปน การทว่ั ไป มาตรา ๖๔ สมาคมกีฬาแหงจังหวัดเปนสมาคมกีฬาทั่วไปที่จัดตั้งขึ้นในแตละจังหวัด โดยมี ผลงานเปนที่ประจักษและมีการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬาซึ่งมีความหลากหลายของชนิดกีฬา และไดรับอนุญาตใหเปนสมาคมกีฬาแหงจังหวัดจากนายทะเบียนตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการประกาศกำหนด ในกรณีที่นายทะเบียนไมอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหนำมาตรา ๕๔ วรรคหาและวรรคหก มาใช บังคบั โดยอนโุ ลม สมาคมกีฬาทั่วไปที่ไดรับอนุญาตใหเปนสมาคมกีฬาแหงจังหวัด ตองใชคำวา “สมาคมกีฬา แหง จังหวัด” ประกอบในชื่อของสมาคมกฬี าน้นั สมาคมกฬี าแหง จงั หวัดอาจรับสมาชิกจากสมาคมกีฬาท่วั ไป ชมรม สโมสร องคกร หรือบุคคล ทว่ั ไปท่ีเก่ียวขอ งกับกจิ กรรมกฬี าซงึ่ อยูใ นวัตถปุ ระสงคข องสมาคมกฬี าแหงจงั หวัดน้ัน มาตรา ๖๕ สมาคมกฬี าแหง จงั หวดั ที่ไดร ับอนญุ าตจากนายทะเบียนตามมาตรา ๖๔ สามารถ ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬา โดยสงนักกีฬาเขารวมการแขงขันกีฬาหรือจัดหรือรวมในการจัดใหมี การแขงขันกีฬา โดยแสดงวาเปนการสงนักกีฬาเขารวมการแขงขัน หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขัน กฬี าในนามของจงั หวดั มาตรา ๖๖ หามมิใหคณะบุคคลหรือบุคคลใดที่มิไดเปนสมาคมกีฬาแหงจังหวัดแสดงตน วาเปน สมาคมกีฬาแหงจงั หวัด มาตรา ๖๗ สมาคมกฬี าทใ่ี ชค ำวา “แหง ประเทศไทย” เปน สมาคมกฬี าทว่ั ไปทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ โดยมี ผลงานเปนที่ประจักษในระดับชาติ และไดรับอนุญาตใหเปนสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” จากนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ในกรณีที่นายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาไมอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหนำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม สมาคมกีฬาทัว่ ไปท่ีไดรับอนญุ าตใหเปนสมาคมกีฬาทใ่ี ชคำวา “แหงประเทศไทย” ตองใชค ำวา “แหง ประเทศไทย” ประกอบในชอื่ ของสมาคมกีฬานน้ั สมาคมกฬี าทใ่ี ชค ำวา “แหง ประเทศไทย” อาจรบั สมาชกิ จากสมาคมกฬี าแหง จงั หวดั สมาคมกฬี า ทั่วไป ชมรม สโมสร องคกร หรือบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวของกับกิจกรรมกีฬาซึ่งอยูในวัตถุประสงคของสมาคมกีฬา ท่ีใชคำวา “แหงประเทศไทย” นั้น ในกรณีที่สมาคมกีฬาแหงจังหวัดไดสมัครเขาเปนสมาชิกของสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” ใหสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” นั้นพิจารณาถึงชนิดกีฬาที่สมาคมกีฬา แหง จงั หวัดนัน้ ดำเนนิ กิจกรรมอยปู ระกอบการพจิ ารณารบั สมัครสมาชกิ ดวย มาตรา ๖๘ สมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” สามารถดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของ กับการกีฬา โดยสงนักกีฬาเขารวมการแขงขันกีฬา หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขันกีฬา โดยแสดงวา เปนการสงนักกีฬาเขารวมการแขงขัน หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขันกีฬาในนามของชาติ หรอื ประเทศไทย 18

- ๑๗ - ในการสงนักกีฬาเขารวมการแขงขันกีฬา หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขันกีฬา ในนามของชาตหิ รอื ประเทศไทยตามวรรคหนง่ึ ตอ งขออนญุ าตจากนายทะเบยี นกลางสมาคมกฬี าเปน รายกรณไี ป ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารทค่ี ณะกรรมการประกาศกำหนด มาตรา ๖๙ หา มมใิ หค ณะบคุ คลหรอื บคุ คลใดทม่ี ไิ ดเ ปน สมาคมกฬี าทใ่ี ชค ำวา “แหง ประเทศไทย” แสดงตนวาเปนสมาคมกฬี าทใี่ ชคำวา “แหงประเทศไทย” หามมิใหสมาคมกีฬาทั่วไป สมาคมกีฬาแหงจังหวัด คณะบุคคล หรือบุคคลใดใชคำวา “แหงประเทศไทย” หรือมีอักษรหรือเครื่องหมายใดที่แสดงวาเปนสมาคม คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งดำเนิน กิจกรรมเกี่ยวของกับการกีฬาในนามของชาติหรือประเทศไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนกลาง สมาคมกีฬา หามมิใหสมาคมกีฬาทั่วไป สมาคมกีฬาแหงจังหวัด คณะบุคคลหรือบุคคลใดเขารวม การแขงขันกีฬา สงนักกีฬาเขารวมการแขงขัน หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขันกีฬาในนามของชาติ หรอื ประเทศไทย เวน แตจ ะไดรับอนญุ าตจากนายทะเบยี นกลางสมาคมกีฬา การขออนญุ าตและการอนญุ าตตามวรรคสองและวรรคสาม ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร ทค่ี ณะกรรมการประกาศกำหนด โดยใหน ำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบ งั คับโดยอนุโลม สวนที่ ๓ การดำเนินกจิ การของสมาคมกฬี า มาตรา ๗๐ ใหสมาคมกีฬามีคณะกรรมการสมาคมกีฬาเปนผูดำเนินกิจการของสมาคมกีฬา และเปนผูแทนของสมาคมกีฬาในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก เพื่อการนี้ คณะกรรมการสมาคมกีฬา จะมอบหมายใหกรรมการสมาคมกฬี าคนหน่ึงคนใดหรอื หลายคนทำการแทนกไ็ ด มาตรา ๗๑ กรรมการสมาคมกีฬาตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามที่กำหนดไว ในขอบงั คบั ของสมาคมกีฬา และตองมคี ุณสมบตั ิและไมม ีลักษณะตองหามดงั ตอ ไปน้ี (๑) มีคุณวุฒิหรือประสบการณเหมาะสมกับการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬา หรอื การสง เสริมกฬี าภายในขอบวตั ถุประสงคของสมาคมกฬี านั้น (๒) ไมเปนบุคคลลม ละลายหรอื เคยเปนบุคคลลมละลายทุจรติ (๓) ไมเปน คนไรค วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค วามสามารถ (๔) ไมเคยไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับความผิด ทไ่ี ดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ (๕) ไมเคยถูกนายทะเบียนสั่งใหพนจากตำแหนงกรรมการสมาคมกีฬาตามมาตรา ๘๖ (๔) เวน แตจะพน กำหนดหาปนับแตวันทถ่ี กู ส่ังใหพ น จากตำแหนง มาตรา ๗๒ สมาชิกของสมาคมกีฬาท่มี ีสทิ ธอิ อกเสยี งจำนวนไมน อ ยกวาหนงึ่ ในหา ของสมาชิก ที่มีสิทธิออกเสียง มีสิทธิขอตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของสมาคมกีฬาได โดยยื่นคำขอเปนหนังสือ ตอสมาคมกฬี านนั้ 19

- ๑๘ - มาตรา ๗๓ หา มมใิ หสมาคมกฬี ากระทำการใด ๆ ดังตอ ไปน้ี (๑) ดำเนินการดวยประการใด ๆ อันอาจเปนภัยตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชนหรอื นำความเสือ่ มเสยี มาสกู ารกฬี าของชาติ (๒) กดี กนั หรอื ขดั ขวางมใิ หผ ใู ดซง่ึ มคี ณุ สมบตั ทิ จ่ี ะเขา เปน สมาชกิ ไดต ามขอ บงั คบั ของสมาคมกฬี า เขาเปนสมาชิก หรือบังคับดวยประการใด ๆ ใหเขาเปนสมาชิกโดยผูนั้นไมสมัครใจ หรือใหสมาชิกออกจาก สมาคมกีฬาโดยเจตนาอนั ไมสจุ ริตหรือขัดตอขอ บงั คับของสมาคมกีฬา (๓) เปด เผยขอ มลู เอกสาร หรอื ขอ ความอนั เกย่ี วกบั ประโยชนไ ดเ สยี โดยเฉพาะของสมาชกิ ผใู ด เวนแตจ ะไดรบั ความยนิ ยอมเปนหนังสือจากสมาชกิ ผนู ัน้ (๔) ใหหรือยอมใหบุคคลอื่นซึ่งมิใชกรรมการสมาคมกีฬาดำเนินกิจการในหนาที่ของกรรมการ สมาคมกีฬาน้ัน (๕) หาผลกำไรหรอื รายไดเ พ่อื มาแบงปน กนั (๖) ใหการสนับสนุนดานการเงินหรอื ทรัพยสนิ แกน กั การเมืองหรอื พรรคการเมืองใด (๗) กีดกนั หรอื ขัดขวางมิใหนักกฬี าเขาแขง ขนั กฬี าโดยมีเจตนาอันไมส จุ ริตหรือขัดตอ ขอบงั คบั ของสมาคมกฬี า สว นที่ ๔ การกำกบั ดแู ลสมาคมกีฬา มาตรา ๗๔ สมาคมกฬี าตอ งปฏิบัติตามขอ บังคบั ที่คณะกรรมการกำหนด ในกรณีที่สมาคมกีฬาใดดำเนินการอันเปนการฝาฝนขอบังคับตามวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียน มีอำนาจสั่งใหสมาคมกีฬานั้นแกไขหรือระงับการดำเนินการฝาฝนดังกลาวภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยใหนำ มาตรา ๕๔ วรรคหาและวรรคหก มาใชบ ังคับโดยอนโุ ลม มาตรา ๗๕ ใหน ายทะเบยี นมอี ำนาจออกคำสง่ั เปน หนงั สอื ใหก รรมการสมาคมกฬี าหรอื สมาชกิ มาชี้แจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของสมาคมกีฬา หรือใหสงเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงานหรือรายงาน การประชมุ ของสมาคมกีฬาได มาตรา ๗๖ นายทะเบียนหรือพนักงานที่ผูวาการมอบหมายอาจเขารวมการประชุมใหญ ของสมาคมกีฬาและอาจช้แี จงแสดงขอคดิ เห็นแกท ีป่ ระชมุ ใหญไ ด แตไมม ีสิทธิออกเสียงลงคะแนน มาตรา ๗๗ สมาคมกีฬาตองจัดใหมีทะเบยี นสมาชิกตามแบบท่นี ายทะเบียนกลางสมาคมกฬี า กำหนด และใหเ ก็บรักษาทะเบียนดงั กลาวพรอมหลักฐานและเอกสารทใ่ี ชป ระกอบการลงทะเบยี นไวทีส่ ำนกั งาน ของสมาคมกฬี า เมื่อมีการรับสมาชิกใหมหรือมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับทะเบียนสมาชิก ใหสมาคมกีฬาแจง การรับสมาชิกใหมหรือการเปลี่ยนแปลงนั้นตอนายทะเบียนภายในกำหนดเกาสิบวันนับแตวันที่รับสมาชิกใหม หรือมีการเปลี่ยนแปลง 20

- ๑๙ - มาตรา ๗๘ ใหสมาคมกีฬาจัดทำงบดุลอยางนอยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือนอันจัดวาเปน รอบปในทางบญั ชีของสมาคมกีฬานนั้ งบดุลนั้นตองมีรายการแสดงจำนวนสินทรัพยและหนี้สินของสมาคมกีฬา กับทั้งบัญชีรายรับ รายจายงบดุลตองทำใหแลวเสร็จและจัดใหมีผูสอบบัญชีตรวจสอบแลวนำเสนอเพื่ออนุมัติตอที่ประชุมใหญ ของสมาคมกฬี าภายในกำหนดหนงึ่ รอยยี่สิบวันนับแตว นั ที่สิ้นปการบัญชี มาตรา ๗๙ ใหสมาคมกีฬาจัดทำรายงานประจำปแสดงผลการดำเนินการของสมาคมกีฬา เสนอตอที่ประชุมใหญในคราวที่เสนองบดุล และใหสงสำเนารายงานกับงบดุลไปยังนายทะเบียนภายในกำหนด สามสิบวนั นับแตวนั ที่มกี ารประชุมใหญ มาตรา ๘๐ ผูใดประสงคจะขอตรวจหรือคัดเอกสาร หรือขอใหคัดและรับรองสำเนาเอกสาร เกีย่ วกับสมาคมกฬี า ใหย่นื คำขอตามแบบทีน่ ายทะเบยี นกลางสมาคมกีฬากำหนด มาตรา ๘๑ นอกเหนือจากการกำกับดูแลสมาคมกีฬาตามที่กำหนดไวในมาตรา ๗๔ ถึง มาตรา ๘๐ เพื่อประโยชนแกการกำกับดูแลการดำเนินการของสมาคมกีฬาแหงจังหวัดและสมาคมกีฬาที่ใช คำวา “แหง ประเทศไทย” ใหนายทะเบียนมีอำนาจดำเนินการตามท่บี ญั ญตั ไิ วในมาตรา ๘๒ ถงึ มาตรา ๘๘ ดวย มาตรา ๘๒ ในกรณีที่เกิดปญหาเกี่ยวกับการดำเนินการของสมาคมกีฬา ใหนายทะเบียน มีอำนาจสั่งใหคณะกรรมการสมาคมกีฬานั้นเรียกประชุมใหญวิสามัญหรือใหคณะกรรมการสมาคมกีฬา มาประชมุ กันเพอื่ พิจารณาหรอื วนิ จิ ฉยั ปญหาของสมาคมกฬี าได มาตรา ๘๓ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาสมาคมกีฬาใดจะดำเนินการไมชอบดวยกฎหมาย หรือขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือนำความเสื่อมเสียมาสูการกีฬาของชาติ ใหนายทะเบียนมีอำนาจสั่งเปนหนังสือใหสมาคมกีฬานั้นแจงวันและเวลาประชุมทุกคราวมาใหนายทะเบียน ทราบลวงหนา ไมนอยกวาสามวัน ในกรณีเชน น้ใี หน ายทะเบียนหรือพนักงานทผี่ วู าการมอบหมายมีอำนาจเขาไป ฟงการประชมุ ได สมาคมกีฬาใดไมแ จงวนั และเวลาประชมุ ตามคำสงั่ ของนายทะเบยี นภายในระยะเวลาท่ีกำหนด ใหนายทะเบียนมีอำนาจสั่งใหสมาคมกีฬานั้นงดการประชุมไดครั้งหนึ่งไมเกินเกาสิบวันนับแตวันที่นายทะเบียน มีคำสงั่ ในกรณีที่นายทะเบียนมีคำสั่งใหงดการประชุม ใหนำมาตรา ๕๔ วรรคหาและวรรคหก มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม มาตรา ๘๔ เมื่อสมาชิกของสมาคมกีฬาซึ่งมีสิทธิออกเสียงจำนวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของ จำนวนสมาชิกซึ่งมีสิทธิออกเสียง กรรมการสมาคมกีฬาจำนวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการ สมาคมกีฬาเทาที่มีอยู หรือพนักงานซึ่งเขารวมในการประชุมกรรมการสมาคมกีฬาหรือการประชุมใหญ ของสมาคมกีฬารองขอวาการประชุมกรรมการสมาคมกีฬาหรือการประชุมใหญของสมาคมกีฬานั้น ไดนัดเรียก หรือไดประชุมกันหรือไดลงมติฝาฝนตอกฎหมายหรือขอบังคับของสมาคมกีฬา ใหนายทะเบียนมีอำนาจสั่งให เพกิ ถอนมติของทป่ี ระชมุ กรรมการสมาคมกฬี าหรอื มติของทป่ี ระชุมใหญท เี่ กดิ ขึ้นในการประชุมที่ไดเรยี กหรอื ได ประชุมกนั หรือไดลงมติฝาฝนตอ กฎหมายหรือขอ บังคับของสมาคมกีฬานัน้ เสยี ได 21

- ๒๐ - การรองขอใหเพิกถอนมติของที่ประชุมกรรมการสมาคมกีฬาหรือมติของที่ประชุมใหญตาม วรรคหนึ่ง สมาชกิ ของสมาคมกีฬา กรรมการสมาคมกีฬา หรอื พนักงาน ตองรอ งขอภายในสามสิบวนั นบั แตวันท่ี ทีป่ ระชุมลงมติ ในกรณที น่ี ายทะเบยี นมคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนมตขิ องทป่ี ระชมุ ตามวรรคหนง่ึ ใหน ำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๘๕ ในกรณีที่กรรมการสมาคมกีฬาหรือเจาหนาที่ของสมาคมกีฬากระทำการใด อันกอใหเกิดความเสียหายแกสมาคมกีฬา หรือกระทำการในประการที่นาจะทำใหประเทศชาติเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ถาสมาคมกีฬาไมรองทุกขหรือฟองคดี ใหนายทะเบียนรองทุกขหรือฟองคดีได โดยใหพนักงานอยั การรับวาตา งใหก ไ็ ด การดำเนินการตามวรรคหน่ึง หากจะตอ งมคี าใชจ า ยใหทดรองจา ยจากเงินกองทนุ ใหส มาคมกฬี าชดใชค า ใชจา ยทีเ่ ก่ยี วกบั การรองทุกข การฟองคดี หรอื การวา ตางใหแ กกองทุน หรือพนกั งานอัยการ แลว แตกรณี มาตรา ๘๖ ในกรณีที่คณะกรรมการสมาคมกีฬาหรือกรรมการสมาคมกีฬากระทำการ หรืองดเวนกระทำการในการปฏิบัติหนาที่ของตนจนทำใหเสื่อมเสียประโยชนของสมาคมกีฬา หรือดำเนินการ อยางหนึ่งอยางใดในประการที่นาจะนำความเสื่อมเสียมาสูการกีฬาของชาติไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ใหน ายทะเบยี นมอี ำนาจออกคำสั่งเปนหนงั สือใหป ฏบิ ตั ิการ ดงั ตอ ไปนี้ (๑) ใหคณะกรรมการสมาคมกีฬาหรือกรรมการสมาคมกีฬาระงับการปฏิบัติการที่เปนเหตุ ใหเ กดิ ความเสอ่ื มเสียประโยชนข องสมาคมกฬี าหรือการกีฬาของชาติ (๒) ใหคณะกรรมการสมาคมกีฬาหรือกรรมการสมาคมกีฬาแกไขขอบกพรองตามวิธีการ และระยะเวลาที่นายทะเบียนกำหนด (๓) ใหค ณะกรรมการสมาคมกฬี าหรือกรรมการสมาคมกีฬาหยดุ ปฏบิ ัตหิ นาทเี่ ปนการชวั่ คราว เพอื่ แกไขขอบกพรองนั้นใหเ สรจ็ ตามวิธีการและภายในระยะเวลาทนี่ ายทะเบยี นกำหนด (๔) ใหคณะกรรมการสมาคมกีฬาพนจากตำแหนงทั้งคณะหรือใหกรรมการสมาคมกีฬา ซึง่ เก่ยี วขอ งกับการนั้นพน จากตำแหนง กรรมการ ในกรณที น่ี ายทะเบยี นมคี ำสง่ั ตาม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) ใหน ำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม มาตรา ๘๗ เมื่อนายทะเบียนสั่งใหคณะกรรมการสมาคมกีฬาพนจากตำแหนงทั้งคณะ ใหนายทะเบียนแตงตั้งคณะกรรมการสมาคมกีฬาชั่วคราวขึ้นคณะหนึ่ง มีอำนาจหนาที่ และมีสิทธิเชนเดียวกับ คณะกรรมการสมาคมกฬี า ในกรณที ีไ่ มม ีการอทุ ธรณค ำส่ังของนายทะเบยี นตามมาตรา ๘๖ (๔) ใหคณะกรรมการสมาคม กีฬาชั่วคราวจัดใหมีการประชุมใหญเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมกีฬาขึ้นใหมทั้งคณะใหเสร็จสิ้น ภายในส่ีสบิ หา วันนบั แตวนั ทไี่ ดร ับแตงตง้ั ในกรณีที่มีการอุทธรณคำสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๘๖ (๔) หามมิใหมีการเลือกตั้ง คณะกรรมการสมาคมกีฬาขึ้นใหมจนกวาคณะกรรมการจะไดวินิจฉัยอุทธรณแลวเสร็จและใหคณะกรรมการ สมาคมกีฬาชั่วคราวจัดใหมีการประชุมใหญเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมกีฬาขึ้นใหมทั้งคณะใหเสร็จสิ้น ภายในส่สี ิบหาวนั นบั แตว ันทีไ่ ดรับแจงผลการอทุ ธรณ 22

- ๒๑ - มาตรา ๘๘ เมื่อนายทะเบียนสั่งใหกรรมการสมาคมกีฬาคนใดพนจากตำแหนงกรรมการ ใหสมาคมกีฬาดำเนินการตั้งผูเปนกรรมการสมาคมกีฬาแทนภายในสามสิบวันนับแตวันที่กรรมการสมาคมกีฬา พนจากตำแหนง ถามิไดตั้งหรือตั้งไมไดตามกำหนดเวลาและนายทะเบียนเห็นสมควร นายทะเบียนอาจแตงตั้ง สมาชิกคนใดคนหนึ่งเปนกรรมการสมาคมกีฬาแทน และใหผูซึ่งไดรับแตงตั้งนั้นอยูในตำแหนงกรรมการสมาคม กีฬาเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน แตถาวาระของกรรมการสมาคมกีฬาผูนั้นเหลืออยูไมถึงหนึ่งรอย แปดสิบวัน สมาคมกีฬาจะตั้งกรรมการสมาคมกีฬาแทนหรือนายทะเบียนจะดำเนินการแตงตั้งกรรมการสมาคม กฬี าแทนหรอื ไมก ็ได สวนท่ี ๕ การเลกิ สมาคมกฬี า มาตรา ๘๙ สมาคมกฬี ายอ มเลิกดวยเหตุหน่ึงเหตใุ ด ดงั ตอ ไปน้ี (๑) เมื่อมีเหตตุ ามท่กี ำหนดในขอบงั คับของสมาคมกีฬา (๒) ถาสมาคมกีฬาตั้งข้นึ ไวเ ฉพาะระยะเวลาใด เม่ือสิ้นระยะเวลานั้น (๓) เมื่อที่ประชุมใหญม มี ตใิ หเลิก (๔) เมอื่ สมาคมกฬี าลมละลาย (๕) เมื่อนายทะเบยี นถอนชื่อสมาคมกีฬาออกจากทะเบยี นตามมาตรา ๙๐ (๖) ศาลสั่งใหเลกิ ตามมาตรา ๙๒ เมอ่ื เลิกสมาคมกีฬาตามวรรคหนึง่ ใหประกาศการเลกิ สมาคมกีฬาในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๙๐ ใหนายทะเบียนมีอำนาจสั่งถอนชื่อสมาคมกีฬาออกจากทะเบียนไดในกรณี ดงั ตอไปนี้ (๑) เมื่อปรากฏในภายหลังการจดทะเบียนวา วัตถุประสงคของสมาคมกีฬาขัดตอกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือกอใหเกิดความเสื่อมเสียแกการกีฬาของชาติ และนายทะเบียนไดสั่งให แกไ ขแลว แตสมาคมกฬี าไมปฏบิ ตั ิตามภายในระยะเวลาทนี่ ายทะเบียนกำหนด (๒) เมื่อปรากฏวาการดำเนินกิจการของสมาคมกีฬาขัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีของ ประชาชน หรือกอ ใหเกดิ ความเส่ือมเสยี แกก ารกีฬาของชาติ (๓) เมือ่ สมาคมกฬี าหยดุ ดำเนินกิจการติดตอ กนั ตง้ั แตส องปขึน้ ไป (๔) เมื่อปรากฏวาสมาคมกีฬาใหหรือปลอยใหบุคคลอื่นซึ่งมิใชกรรมการสมาคมกีฬาเปน ผูดำเนินกิจการของสมาคมกฬี า (๕) เมือ่ สมาคมกีฬามีสมาชกิ เหลือนอยกวา สบิ รายมาเปนเวลาติดตอกนั กวา สองป (๖) เมื่อสมาคมกีฬาไมแกไขหรือระงับการดำเนินการตามที่นายทะเบียนสั่งตามมาตรา ๗๔ วรรคสอง และการฝา ฝน ดงั กลา วกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายอยา งรา ยแรงแกส มาคมกฬี า หรอื กอ ใหเ กดิ ความเสอ่ื มเสยี แกการกีฬาของชาติ ในกรณีที่สมาคมกีฬาตาม (๖) เปนสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” นายทะเบียน จะเพิกถอนการอนุญาตใหใชคำวา “แหงประเทศไทย” โดยไมถอนชื่อสมาคมกีฬานั้นออกจากทะเบียนก็ได 23

- ๒๒ - มาตรา ๙๑ เมื่อนายทะเบียนมีคำสั่งใหถอนชื่อสมาคมกีฬาใดออกจากทะเบียนตาม มาตรา ๙๐ วรรคหนึ่ง หรือเพิกถอนการอนุญาตใหใชคำวา “แหงประเทศไทย” ตามมาตรา ๙๐ วรรคสองแลว ใหน ายทะเบียนแจงคำสั่งพรอ มดว ยเหตผุ ลไปยังสมาคมกฬี านน้ั โดยมชิ กั ชา กรรมการสมาคมกีฬาคนหนึ่งคนใด หรือสมาชิกของสมาคมกีฬาจำนวนไมนอยกวาสามราย มีสิทธิอุทธรณคำสั่งของนายทะเบียนตามวรรคหนึ่งตอคณะกรรมการได โดยใหนำมาตรา ๕๔ วรรคหา และวรรคหก มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม มาตรา ๙๒ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๙๐ ผูมีสวนไดเสียอาจรองขอใหนายทะเบียนถอนชื่อ สมาคมกีฬาออกจากทะเบียนได ถานายทะเบียนไมปฏิบัติตามคำรองขอ โดยไมแจงเหตุผลใหผูรองขอทราบ ภายในเวลาอันสมควร หรือนายทะเบียนไดแจงเหตุผลใหทราบแลวแตผูรองขอไมพอใจในเหตุผลดังกลาว ผูรอ งขอนัน้ จะรองขอตอศาลใหส งั่ เลิกสมาคมกฬี านน้ั เสียกไ็ ด มาตรา ๙๓ เมื่อสมาคมกีฬามีเหตุตองเลิกตามมาตรา ๘๙ ใหคณะกรรมการสมาคมกีฬา ทีอ่ ยใู นตำแหนง ขณะมีการเลกิ สมาคมกีฬาแจง การเลิกสมาคมกฬี าตอ นายทะเบยี นภายในสิบสี่วัน นับแตวันทม่ี ี การเลิกสมาคมกีฬา ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดใหสมาคมกีฬาลมละลายตามมาตรา ๘๙ (๔) หรอื มคี ำสงั่ ถงึ ที่สุดใหเลิกสมาคมกฬี าตามมาตรา ๙๒ ใหศ าลแจง คำพพิ ากษาหรือคำส่ังดงั กลา วใหนายทะเบียน ทราบดวย มาตรา ๙๔ เมื่อสมาคมกีฬาใดตองเลิกไมวาดวยเหตุใด ๆ ใหมีการชำระบัญชีสมาคมกีฬานั้น และใหนำความในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยการชำระบัญชีหางหุนสวนจดทะเบียน หา งหุน สวนจำกดั และบริษทั จำกัด มาใชบ ังคับโดยอนุโลม มาตรา ๙๕ เมื่อไดชำระบัญชีแลว ถามีทรัพยสินเหลืออยูเทาใดจะแบงใหแกสมาชิกของ สมาคมกีฬานั้นไมได ทรัพยสินที่เหลือนั้นจะตองโอนใหแกสมาคม มูลนิธิ หรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค เกี่ยวกับการสาธารณกุศล ตามที่ไดระบุชื่อไวในขอบังคับของสมาคมกีฬา หรือถาขอบังคับไมไดระบุชื่อไว กใ็ หเ ปน ไปตามมตขิ องทป่ี ระชมุ ใหญ แตถ า ขอ บงั คบั ของสมาคมกฬี าหรอื ทป่ี ระชมุ ใหญม ไิ ดร ะบผุ รู บั โอนทรพั ยส นิ ดงั กลา วไว หรอื ระบไุ วแตไมส ามารถปฏบิ ัตไิ ด ใหท รพั ยสินท่เี หลืออยนู ้นั ตกเปนของแผนดิน หมวด ๗ การรองทุกขแ ละการสงเคราะห มาตรา ๙๖ พนกั งานและลกู จางมีสทิ ธิรองทกุ ขไ ดต ามระเบยี บท่คี ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๙๗ ให กกท. จัดใหมีกองทุนสงเคราะหหรือการสงเคราะหอื่นเพื่อสวัสดิการของ พนักงาน ลูกจาง และครอบครัว ในกรณีพนจากตำแหนง ประสบอุบัติเหตุ เจ็บปวย ตาย หรือกรณีอื่นอันควร แกก ารสงเคราะห ทง้ั นี้ ตามขอ บงั คบั ที่คณะกรรมการกำหนด 24

- ๒๓ - การจัดใหมีกองทุนสงเคราะหหรือการสงเคราะหอื่นตามวรรคหนึ่ง การกำหนดหลักเกณฑ การออกเงินสมทบเขากองทุนสงเคราะห การกำหนดประเภทของผูที่พึงไดรับการสงเคราะหและหลักเกณฑ การสงเคราะห ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหใหเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการกำหนด หมวด ๘ การเงิน การบญั ชี และการตรวจสอบ มาตรา ๙๘ กกท. ตองทำงบประมาณประจำป โดยใหแยกเปนงบลงทุนและงบทำการ สำหรับงบลงทุนใหนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและใหความเห็นชอบ สวนงบทำการใหนำเสนอ คณะรัฐมนตรเี พอื่ ทราบ มาตรา ๙๙ รายไดท ี่ กกท. ไดร บั จากการดำเนนิ งานในปหนึ่ง ๆ ใหต กเปน ของ กกท. สำหรบั เปนคาใชจายในการดำเนินงาน และเมื่อไดหักรายจายสำหรับการดำเนินงาน คาภาระตาง ๆ ที่เหมาะสม รวมตลอดถึงคาบำรุงรักษา คาเสื่อมราคา เงินสำรองตามมาตรา ๑๒ และเงินสมทบกองทุนสงเคราะหหรือการ สงเคราะหอนื่ ตามมาตรา ๙๗ แลว เหลอื เทา ใดใหสะสมไวเปนเงนิ สำหรับใชจ า ยตอ ไป มาตรา ๑๐๐ กกท. ตอ งเปด บญั ชเี งนิ ฝากไวก บั ธนาคารตามระเบยี บทก่ี ระทรวงการคลงั กำหนด มาตรา ๑๐๑ กกท. ตองวางและรักษาไวซึ่งระบบการบัญชีที่เหมาะสมตามหลักการบัญชีที่ รับรองโดยท่ัวไป และใหม กี ารตรวจสอบบญั ชีภายในเปนประจำ มาตรา ๑๐๒ กกท. ตองจัดทำงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน สงผูสอบบัญชี ภายในหน่ึงรอยย่ีสบิ วันนบั แตวนั สนิ้ ปบ ัญชี มาตรา ๑๐๓ ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูสอบบัญชี ทำการตรวจสอบ รับรอง บญั ชแี ละการเงนิ ทกุ ประเภทของ กกท. ทุกป มาตรา ๑๐๔ ผูสอบบัญชีมีอำนาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานของ กกท. เพ่ือการน้ี ใหมอี ำนาจสอบถามประธานกรรมการ กรรมการ ผวู า การ พนักงาน และลูกจางของ กกท. มาตรา ๑๐๕ ผูส อบบัญชีตอ งทำรายงานผลการสอบบัญชีและการเงินเสนอตอคณะกรรมการ ภายในหนง่ึ รอ ยหกสิบวนั นบั แตว นั สิ้นปบ ญั ชี เพือ่ คณะกรรมการเสนอตอ รฐั มนตรี มาตรา ๑๐๖ ใหคณะกรรมการทำรายงานปละครั้งเสนอตอคณะรัฐมนตรี รายงานนี้ ใหกลาวถึงผลงานของ กกท. ในปที่ลวงมา พรอมทั้งคำชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการ โครงการ และแผนงานทจี่ ะจดั ทำในปถ ัดไป ให กกท. โฆษณารายงานประจำปทสี่ ิ้นไป โดยแสดงงบดลุ บัญชีทำการ และบญั ชีกำไรขาดทุน ที่ผูสอบบัญชีรับรองวาถูกตองแลว รวมทั้งรายงานสรุปผลงานในปที่ลวงมา ภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต วันสนิ้ ปบ ญั ชีของ กกท. 25

- ๒๔ - หมวด ๙ การกำกับและควบคุม มาตรา ๑๐๗ ใหร ฐั มนตรมี อี ำนาจหนา ทก่ี ำกบั โดยทว่ั ไปซง่ึ กจิ การของ กกท. เพอ่ื การนจ้ี ะสง่ั ให กกท. ชี้แจงขอเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ทำรายงาน หรือยับยั้งการกระทำของ กกท. ที่ขัดตอนโยบายของ รัฐบาลหรือมติของคณะรัฐมนตรี ตลอดจนมีอำนาจที่จะสั่งใหปฏิบัติการตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติของ คณะรฐั มนตรี และสัง่ สอบสวนขอเทจ็ จริงเก่ยี วกับการดำเนินการได มาตรา ๑๐๘ ในกรณีที่ กกท. ตองเสนอเรื่องใด ๆ ไปยังคณะรัฐมนตรี ให กกท. นำเรื่อง เสนอรัฐมนตรีเพอื่ เสนอตอ ไปยงั คณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๐๙ กกท. ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกอนจึงจะดำเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) กยู ืมเงนิ หรอื ใหกยู ืมเงนิ มีจำนวนเกนิ คราวละหา ลานบาท (๒) จำหนา ยอสงั หารมิ ทรพั ยอนั มีราคาเกินหน่ึงลา นบาท หมวด ๑๐ บทกำหนดโทษ มาตรา ๑๑๐ ผมู หี นา ทส่ี ง เงนิ บำรงุ กองทนุ ตามมาตรา ๓๗ ผใู ดไมส ง เงนิ บำรงุ กองทนุ หรอื สง เงนิ บำรุงกองทุนไมครบตามจำนวนที่ตองสง ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตหาเทาถึงยี่สิบเทา ของเงินบำรุงกองทุนทจ่ี ะตอ งนำสง หรอื ท้งั จำท้ังปรบั ความผดิ ตามวรรคหนง่ึ ใหอ ธบิ ดกี รมสรรพสามติ หรอื ผทู ไ่ี ดร บั มอบหมายจากอธบิ ดกี รมสรรพสามติ มอี ำนาจเปรยี บเทยี บได ทง้ั น้ี ใหน ำบทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั การเปรยี บเทยี บคดตี ามกฎหมายวา ดว ยสรุ าและกฎหมาย วาดวยยาสบู มาใชบงั คับกับการเปรยี บเทียบคดีตามพระราชบญั ญตั ินโ้ี ดยอนโุ ลม มาตรา ๑๑๑ ผใู ดดำเนนิ กจิ การของคณะบคุ คลหรอื สมาคมใดทม่ี ใิ ชส มาคมกฬี าโดยกระทำการ อยางหนึ่งอยางใดใหบุคคลอื่นหลงเชื่อวากิจการนั้นเปนสมาคมกีฬาที่ไดจดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจำคุกไมเกนิ สามป หรือปรบั ไมเกินหกหม่นื บาท หรือท้งั จำทง้ั ปรบั มาตรา ๑๑๒ ผูใดเปนสมาชิกของคณะบุคคลหรือสมาคมใดที่ใชชื่อหรือแสดงออกวาเปน สมาคมกฬี า โดยรอู ยแู ลว วา คณะบคุ คลหรอื สมาคมนน้ั มไิ ดเ ปน สมาคมกฬี าทไ่ี ดจ ดทะเบยี นตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ตองระวางโทษปรบั ไมเกินหา พนั บาท มาตรา ๑๑๓ ผูใดโฆษณา ชี้ชวน หรือจัดการใหคณะบุคคลหรือบุคคลใดเขาเปนสมาชิก ของคณะบุคคลหรือสมาคมที่ใชชื่อหรือแสดงออกวาเปนสมาคมกีฬา โดยที่มิไดจดทะเบียนเปนสมาคมกีฬาตาม พระราชบญั ญตั ินี้ ตองระวางโทษจำคุกไมเ กนิ สองป หรือปรับไมเกนิ ส่หี ม่นื บาท หรือทง้ั จำทงั้ ปรบั 26

- ๒๕ - มาตรา ๑๑๔ สมาคมกีฬาใดฝาฝนมาตรา ๕๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท และปรบั อีกไมเกินวนั ละหารอยบาทจนกวาจะไดป ฏิบัตใิ หถูกตอ ง มาตรา ๑๑๕ สมาคมกีฬาใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๗๓ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) มาตรา ๗๗ มาตรา ๗๘ มาตรา ๗๙ หรือมาตรา ๙๔ ตองระวางโทษปรับไมเกิน หนึ่งหมืน่ บาท มาตรา ๑๑๖ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๐ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท และปรับอีก ไมเกนิ วนั ละหารอยบาทจนกวา จะเลกิ ใช มาตรา ๑๑๗ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๖ หรือมาตรา ๖๙ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน สามป หรือปรบั ไมเกนิ หกหม่นื บาท หรือท้งั จำท้งั ปรับ มาตรา ๑๑๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๙ วรรคสอง ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสองป หรือปรับ ไมเ กินส่หี ม่นื บาท หรอื ท้ังจำทั้งปรบั มาตรา ๑๑๙ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๙ วรรคสาม ตองระวางโทษปรับไมเกินสามหมื่นบาท มาตรา ๑๒๐ สมาคมกีฬาใดไมย อมใหสมาชิกของสมาคมกีฬาตรวจสอบกิจการและทรัพยสนิ ของสมาคมกฬี านั้นตามมาตรา ๗๒ ตองระวางโทษปรบั ไมเกนิ หนง่ึ หม่นื บาท มาตรา ๑๒๑ สมาคมกีฬาใดฝาฝน มาตรา ๗๓ (๑) ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกินหน่งึ แสนบาท มาตรา ๑๒๒ สมาคมกฬี าใดฝา ฝน มาตรา ๗๔ วรรคหนง่ึ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเ กนิ หนง่ึ หมน่ื บาท มาตรา ๑๒๓ ผใู ดไมป ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ของนายทะเบยี นตามมาตรา ๗๕ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเ กนิ หาพันบาท มาตรา ๑๒๔ สมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” หรือสมาคมกีฬาแหงจังหวัดใด ไมปฏิบัติตามคำสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๘๓ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกิน หาพนั บาท มาตรา ๑๒๕ กรรมการสมาคมกฬี าหรอื เจา หนา ทข่ี องสมาคมกฬี าผใู ดกระทำการอนั กอ ใหเ กดิ ความเสียหายแกสมาคมกีฬา หรือกระทำการในประการที่นาจะทำใหประเทศชาติเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือ ถกู เกลียดชงั ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเ กินสองป หรือปรบั ไมเกนิ สี่หมืน่ บาท หรือทัง้ จำทั้งปรับ มาตรา ๑๒๖ ผูใดไมปฏิบัติตามคำสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๘๖ (๔) หรือยังขืน เปนกรรมการหรือสมาชิกของสมาคมกีฬาที่เลิกตามมาตรา ๘๙ หรือตามมาตรา ๑๓๖ วรรคหนึ่งแลว ตอ งระวางโทษจำคุกไมเกินสองป หรอื ปรับไมเ กินสหี่ มน่ื บาท หรือทง้ั จำท้งั ปรบั มาตรา ๑๒๗ ในกรณีที่คณะกรรมการของสมาคมกีฬาไมแจงการเลิกสมาคมกีฬาตอ นายทะเบยี น ภายในระยะเวลาท่ีกำหนดตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง กรรมการของสมาคมกฬี านน้ั ตอ งระวางโทษ ปรับไมเกินคนละหนึ่งหมื่นบาท เวนแตกรรมการผูใดของสมาคมกีฬานั้นจะพิสูจนไดวาการที่มิไดแจงนั้น มิได เกิดจากการกระทำของตน มาตรา ๑๒๘ ผูใดแบงหรือโอนทรัพยสินที่เหลืออยูเมื่อไดชำระบัญชีแลวใหแกบุคคลใด อันเปนการฝาฝน มาตรา ๙๕ ตอ งระวางโทษจำคุกไมเ กินสามป หรือปรบั ไมเ กนิ หกหมืน่ บาท หรือทั้งจำทงั้ ปรบั 27

- ๒๖ - บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๒๙ ใหคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยและคณะกรรมการกีฬาจังหวัด ซึ่งดำรงตำแหนงอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ คงอยูในตำแหนงตอไปจนกวาจะมีการแตงตั้ง คณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยและคณะกรรมการกีฬาจังหวัด แลวแตกรณีตามพระราชบัญญัตินี้ ซง่ึ ตองไมเ กินหนงึ่ รอยแปดสบิ วนั นบั แตวนั ทพ่ี ระราชบัญญตั ินใ้ี ชบ งั คบั มาตรา ๑๓๐ ใหผูวาการการกีฬาแหงประเทศไทยซึ่งดำรงตำแหนงอยูในวันกอนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนผูวาการการกีฬาแหงประเทศไทยตามพระราชบัญญัตินี้ และใหดำรงตำแหนง ตอ ไปจนครบวาระ มาตรา ๑๓๑ ใหโ อนบรรดากจิ การ ทรพั ยส นิ สทิ ธิ หนา ท่ี หน้ี พนกั งาน ลกู จา ง และงบประมาณ ของการกีฬาแหงประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ ไปเปนของการกีฬา แหง ประเทศไทยตามพระราชบญั ญัติน้ี มาตรา ๑๓๒ ในวาระเริ่มแรก ใหคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยตามมาตรา ๑๒๙ หรอื คณะกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทยตามมาตรา ๑๔ แลว แตก รณี ทำหนา ทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ ไปพลางกอ นจนกวา จะมคี ณะกรรมการบริหารกองทุนตามพระราชบญั ญัติน้ี มาตรา ๑๓๓ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนี้ ตลอดจนงบประมาณของกองทุน การศึกษาของนักกีฬาตามขอบังคับการกีฬาแหงประเทศไทยวาดวยการบริหารกองทุนการศึกษาของนักกีฬา พ.ศ. ๒๕๔๗ กองทนุ พฒั นาการกีฬาแหงชาติตามระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาการกีฬาแหง ชาติ วาดวยการจัดการเงินกองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๘ และกองทุนสวัสดิการนักกีฬาตามระเบียบ คณะกรรมการบรหิ ารกองทุนสวัสดิการนกั กฬี าวาดว ยการบริหารการใชจ า ยเงนิ กองทุน พ.ศ. ๒๕๔๕ ไปเปนของ กองทุนพัฒนาการกฬี าแหงชาติตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๑๓๔ ใหบ รรดาสมาคมทไ่ี ดร บั อนญุ าตจาก กกท. ตามมาตรา ๕๓ แหง พระราชบญั ญตั ิ การกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ และไดจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย อยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนสมาคมกีฬาทั่วไปตามมาตรา ๖๒ (๑) แหงพระราชบัญญัตินี้และให นายทะเบียนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยขดี ชื่อสมาคมนัน้ ออกจากทะเบียนสมาคม ใหสมาคมตามวรรคหนึง่ ทีไ่ ดรบั อนญุ าตจาก กกท. ใหจ ดั ตัง้ เปน สมาคมกีฬาจังหวัดเปนสมาคม กฬี าแหงจังหวัดตามมาตรา ๖๒ (๒) แหง พระราชบัญญตั นิ ้ี ใหสมาคมตามวรรคหนึ่งที่ไดรับอนุญาตใหใชคำวา “แหงประเทศไทย” ตามมาตรา ๕๙ แหงพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ เปนสมาคมกีฬาที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” ตามมาตรา ๖๒ (๓) แหงพระราชบญั ญตั ิน้ี ใหนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬาใหแกสมาคมตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม 28

- ๒๗ - มาตรา ๑๓๕ ใหค ณะบคุ คลหรอื บคุ คลใดท่ไี ดร ับอนุญาตใหใชคำวา “แหงประเทศไทย” หรือ มีอักษรหรือเครื่องหมายใดแสดงวาเปนคณะบุคคลหรือบุคคลซึ่งมีกิจกรรมเกี่ยวกับกีฬาในนามของชาติ หรือ ประเทศไทยตามมาตรา ๕๙ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ เปน คณะบุคคลหรอื บุคคลทไี่ ดร ับอนุญาตตามมาตรา ๖๙ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญัติน้ี ใหคณะบุคคลหรือบุคคลใดที่ไดรับอนุญาตใหเขารวมการแขงขันหรือสงนักกีฬาเขารวม การแขงขันกีฬา หรือจัดหรือรวมในการจัดใหมีการแขงขันกีฬา โดยแสดงวาเปนการแขงขันกีฬาหรือจัดการ แขง ขนั กฬี าในนามของชาตหิ รอื ประเทศไทยตามมาตรา ๕๙ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญตั กิ ารกฬี าแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ เปนคณะบุคคลหรือบุคคลทีไ่ ดร บั อนุญาตตามมาตรา ๖๙ วรรคสาม แหง พระราชบัญญัติน้ี มาตรา ๑๓๖ สมาคมที่ไดรับการรับรองใหเปนสมาคมกีฬาตามมาตรา ๑๓๔ ตองดำเนินการ แกไขปรับปรุงขอบังคับและการดำเนินการตาง ๆ ของสมาคมใหเปนไปตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติน้ี ภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ โดยหากไมแกไขปรับปรุงหรือดำเนินการ ภายในกำหนดระยะเวลาดังกลาว ใหถือวาเปนอันเลิกและใหนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาขีดชื่อสมาคมนั้น ออกจากทะเบยี นสมาคมกีฬา ถาสมาคมไมพอใจในคำสั่งของนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาที่ใหขีดชื่อออกจากทะเบียน สมาคมกฬี ากม็ สี ทิ ธอิ ทุ ธรณค ำสง่ั นน้ั ได โดยทำเปน หนงั สอื ยน่ื ตอ นายทะเบยี นกลางสมาคมกฬี าภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั แจง คำสง่ั ดงั กลา ว และใหน ายทะเบยี นกลางสมาคมกฬี าสง หนงั สอื อทุ ธรณต อ ไปยงั คณะกรรมการ ภายในสบิ หา วันนบั แตว นั ที่ไดร บั หนังสืออทุ ธรณดังกลาว ใหคณะกรรมการวินิจฉัยใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันที่คณะกรรมการไดรับหนังสือ อุทธรณ คำวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการใหเ ปน ที่สุด มาตรา ๑๓๗ บรรดาคำขออนุญาตจัดตั้งสมาคมซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกีฬาหรือ การสง เสรมิ การกฬี าโดยตรง คำขออนญุ าตใชค ำวา “แหง ประเทศไทย” หรอื มอี กั ษรหรอื เครอ่ื งหมายใด แสดงวา เปนสมาคม สโมสร หรือคณะบุคคลซึ่งมีกิจกรรมเกี่ยวกับกีฬาในนามของชาติหรือประเทศไทย และคำอุทธรณ การไมอนุญาตตามคำขอดังกลาวทไ่ี ดย น่ื ไวตามพระราชบญั ญตั กิ ารกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ กอ นวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหถือวาเปนคำขอจดทะเบียน คำขออนุญาต และคำอุทธรณตามพระราชบัญญัติน้ี แลวแตกรณี และหากจำเปนนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาอาจขอใหส งเอกสารเพิ่มเติมได มาตรา ๑๓๘ บรรดากฎกระทรวง ระเบยี บ ขอ บงั คบั หรอื ประกาศ ทอ่ี อกตามพระราชบญั ญตั ิ การกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหยังคงใชบังคับ ไดต อไปเพยี งเทา ทไี่ มข ดั หรือแยง กับพระราชบญั ญตั นิ ้ี จนกวา จะมีกฎกระทรวง ระเบียบ ขอ บังคบั หรือประกาศ ตามพระราชบญั ญัติน้ีใชบังคับ ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา นายกรฐั มนตรี 29

- ๒๘- อัตราคาธรรมเนียม (๑) ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท จัดตั้งสมาคมกีฬา ฉบับละ ๒๐๐ บาท ฉบับละ (๒) ใบแทนใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท จัดตั้งสมาคมกีฬา ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท ครั้งละ ๑,๐๐๐ บาท (๓) ใบอนุญาตใหเปนสมาคมกีฬาแหงจังหวัด ครั้งละ (๔) ใบอนุญาตใหเปนสมาคมกีฬา ๕๐ บาท ๕๐ บาท ที่ใชคำวา “แหงประเทศไทย” (๕) ใบอนุญาตอยางอื่นนอกจาก (๓) และ (๔) (๖) การตรวจหรือคัดเอกสารเกี่ยวกับสมาคมกีฬา (๗) การขอใหคัดและรับรองสำเนาเอกสาร เกี่ยวกับสมาคมกีฬา 30

- ๒๙ - หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญัตฉิ บับน้ี คือ โดยท่พี ระราชบญั ญัตกิ ารกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดใชบังคับมาเปนเวลานาน จึงมีบทบัญญัติบางประการไมสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน สมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการกีฬาแหงประเทศไทยเสียใหม และกำหนดใหมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนา การกีฬาแหงชาติขึ้นในการกีฬาแหงประเทศไทยเพื่อใชในการสงเสริม สนับสนุน พัฒนา คุมครอง ชวยเหลือ และจัดสวัสดิการที่เกี่ยวของกับการกีฬา กำหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมกีฬา เพื่อให สมาคมที่มีวัตถุประสงคในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬาสามารถจดทะเบียนจัดตั้งเปนสมาคมกีฬา ไดตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑและมาตรการในการกำกับดูแลการดำเนินการของสมาคม กีฬาและการกระทำการตาง ๆ ของคณะกรรมการสมาคมกีฬาและกรรมการสมาคมกีฬา เพื่อใหการกำกับดูแล การดำเนินการของสมาคมกีฬาและการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการกีฬามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเปน ตองตราพระราชบญั ญตั ิน้ี คำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๖๓/๒๕๕๙ เรื่อง การสงเสริม สนับสนุน และปฏิรูปการกีฬา ของประเทศ๑๑ ขอ ๔ ใหบรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง หรือหลักเกณฑของคณะกรรมการ กีฬามวยตามพระราชบัญญัติกีฬามวย พ.ศ. ๒๕๔๒ ในสวนที่เกี่ยวกับกองทุนกีฬามวยและของคณะกรรมการ บริหารกองทุนสงเสริมกีฬาอาชีพและกองทุนสงเสริมกีฬาอาชีพตามพระราชบัญญัติสงเสริมกีฬาอาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่คำสั่งนี้ใชบังคับ ใชบังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง หลักเกณฑ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนตามพระราชบัญญัติ การกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ กำหนด ขอ ๕ ใหการกีฬาแหงประเทศไทยดำเนินการแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อใหเปนไปตามมติ คณะรัฐมนตรีเมอื่ วนั ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๘ เรอื่ ง ความคืบหนาและการดำเนินการเพ่มิ เติมตามมตคิ ณะรฐั มนตรี วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. ๒๕๕๘ และคำสั่งนี้ ใหแลวเสร็จ ภายในสองเดือนนบั แตว ันที่คำส่ังน้ีมผี ลใชบังคับ ขอ ๖ ในกรณีเห็นสมควร นายกรัฐมนตรีหรือหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของอาจเสนอใหคณะ รกั ษาความสงบแหงชาตแิ กไขเปล่ยี นแปลงคำส่ังนี้ได ขอ ๗ คำส่งั น้ใี หใ ชบ งั คับตงั้ แตวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป พระราชบญั ญตั ิการกฬี าแหงประเทศไทย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐๑๒ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตน ไป เวนแตม าตรา ๔ ใหใชบ ังคับตง้ั แตวันที่ ๑๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เปน ตน ไป ๑๑ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๒๓๘ ง/หนา ๖/๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙ ๑๒ ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๔/ตอนที่ ๑๐๖ ก/หนา ๑/๑๐ ตลุ าคม ๒๕๖๐ 31

- ๓๐ - มาตรา ๗ ใหกรรมการตามมาตรา ๑๔ (๕) (๖) และ (๗) แหงพระราชบัญญัติการกีฬา แหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งดำรงตำแหนงอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ดำรงตำแหนง ตอไปจนกวา จะครบวาระตามพระราชบญั ญัตกิ ารกีฬาแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๘ ใหร ฐั มนตรีวา การกระทรวงการทองเที่ยวและกฬี ารักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๘ เห็นชอบใหควบรวมกองทุนสงเสริมกีฬาอาชีพและกองทุนกีฬามวยเขาเปนสวนหนึ่งของ กองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติตามพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ และหัวหนาคณะ รักษาความสงบแหงชาติไดอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ออกคำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๖๓/๒๕๕๙ เรื่อง การ สงเสริม สนับสนุน และปฏิรูปการกีฬาของประเทศ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เพื่อแกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติสงเสริมกีฬาอาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ และพระราชบัญญัติกีฬามวย พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่อควบรวมกองทุนทั้งสามกองทุนดังกลาวแลว ในการนี้ เพื่อให กองทุนพัฒนาการกีฬาแหงชาติสามารถดำเนินการสงเสริมและสนับสนุนการกีฬาตามกฎหมายวาดวยการกีฬา แหงประเทศไทย กฎหมายวาดวยกีฬามวย และกฎหมายวาดวยการสงเสริมกีฬาอาชีพไดอยางสมบูรณยิ่งขึ้น และสอดคลอ งกบั การควบรวมกองทนุ สมควรแกไขเพิม่ เตมิ บทบญั ญัติทเ่ี ก่ยี วของกับการดำเนินการของกองทนุ พัฒนาการกีฬาแหงชาติ รวมทั้งสมควรแกไขเพิ่มเติมองคประกอบของคณะกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย เพื่อใหมีความเหมาะสมและสามารถขับเคลื่อนการดำเนินการของการกีฬาแหงประเทศไทยและกองทุนพัฒนา การกฬี าแหงชาติไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ จึงจำเปน ตองตราพระราชบญั ญัตนิ ี้ พระราชบญั ญตั แิ กไ ขเพม่ิ เตมิ บทบญั ญตั แิ หง กฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั อำนาจหนา ทข่ี องผทู ำการแทน ผปู ฏบิ ตั หิ นา ทแ่ี ทน ผรู ักษาการแทน หรือผูรักษาการในตำแหนงผูบรหิ ารของรัฐวิสาหกจิ พ.ศ. ๒๕๖๒๑๓ มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปจจุบันกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ หลายฉบับกำหนดใหผูบริหารของรัฐวิสาหกิจเปนกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ โดยตำแหนง และกำหนดบทบัญญตั เิ ก่ียวกับผทู ำการแทน ผูปฏบิ ัตหิ นา ทแ่ี ทน ผูรักษาการแทน หรือผูร กั ษาการ ในตำแหนง ผบู รหิ ารของรฐั วสิ าหกจิ ในกรณที ต่ี ำแหนง ผบู รหิ ารของรฐั วสิ าหกจิ นน้ั วา งลง หรอื ในกรณที ผ่ี บู รหิ ารนน้ั ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได โดยจำกัดอำนาจหนาที่ของบุคคลที่ทำหนาที่แทนผูบริหารของรัฐวิสาหกิจดังกลาว มิใหมีอำนาจหนาที่ในฐานะกรรมการ ซึ่งกอใหเกิดปญหาตอองคประกอบและการปฏิบัติหนาที่ของ คณะกรรมการของรฐั วสิ าหกิจ เพ่อื แกไ ขปญหาดังกลา ว สมควรแกไ ขกฎหมายจัดตั้งรัฐวสิ าหกจิ ใหผ ูทำการแทน ผูปฏิบัติหนาที่แทน ผูรักษาการแทน หรือผูรักษาการในตำแหนงผูบริหารของรัฐวิสาหกิจมีอำนาจหนาที่ เชนเดียวกับผูบริหารของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงอำนาจหนาที่ของผูบริหารในฐานะกรรมการในคณะกรรมการของ รฐั วิสาหกิจ เพื่อใหคณะกรรมการของรฐั วสิ าหกิจสามารถปฏบิ ัติหนาท่ไี ด จึงจำเปนตอ งตราพระราชบัญญัตนิ ้ี ๑๓ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖/ตอนท่ี ๕๐ ก/หนา ๒๙/๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ 32

- ๓๑ - พระราชบัญญตั ปิ รบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒๑๔ มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป มาตรา ๑๖ บรรดาบทบัญญัติแหงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คำสั่ง และมติ ของคณะรัฐมนตรีใดที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ อางถึง “กระทรวงศึกษาธิการ” “รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ” “ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ” หรือผูดำรงตำแหนง หรือผูปฏิบัติหนาที่ ในกระทรวงศกึ ษาธิการ หากเกยี่ วกบั การอดุ มศกึ ษาหรอื การจดั ตั้งสถาบนั อดุ มศึกษา ซ่ึงอยใู นอำนาจหนา ทข่ี อง กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม ใหถ อื วา บทบญั ญตั นิ น้ั อา งถงึ “กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” “รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” “ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” หรือผูดำรงตำแหนงหรือผูปฏิบัติหนาที่ใน กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี แลว แตก รณี ใหเปลี่ยนแปลงองคประกอบของสภาหรือคณะกรรมการตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับการโอน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไปเปนสวนราชการตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง เพื่อให สอดคลองกับการโอนอำนาจหนาที่และการเปลี่ยนแปลงผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามที่กำหนด ในบัญชี ๔ ทายพระราชบัญญตั นิ ี้ ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองไมใชบังคับแกสถาบันการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีจัดตงั้ ขนึ้ ตามกฎหมายวา ดวยการอาชีวศกึ ษา มาตรา ๑๗ ใหน ายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม เปนกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศใหเจริญเติบโตอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อรองรับความ เปลี่ยนแปลงของโลกที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สมควรจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรมขึ้น เพื่อใหมีการบูรณาการ การเรียนการสอน การวิจัย และการสรางสรรคนวัตกรรมดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศาสตรอื่นเขาดวยกัน และใหเกิดความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ระหวาง สถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยในทิศทางที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผน และนโยบายในการพัฒนา ประเทศ จงึ จำเปนตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี ๑๔ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๗ ก/หนา ๑/๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ 33

กฎกระทรวง กําหนดคา ธรรมเนยี มตามกฎหมายวาดว ยการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. 2559 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปน้ี ใหก ําหนดคา ธรรมเนียม ดังตอไปนี้ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๑) ใบสําคญั แสดงการจดทะเบยี นจัดตง้ั สมาคมกีฬา ฉบับละ 2๐๐ บาท (๒) ใบแทนใบสาํ คญั แสดงการจดทะเบียนจัดตง้ั สมาคมกีฬา ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท (๓) ใบอนุญาตใหเปนสมาคมกฬี าแหง จงั หวัด ฉบบั ละ ๒,๐๐๐ บาท (๔) ใบอนญุ าตใหเ ปนสมาคมกีฬาท่ใี ชคาํ วา “แหง ประเทศไทย” ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๕) ใบอนุญาตอยางอน่ื นอกจาก (๓) และ (๔) ครัง้ ละ ๕๐ บาท (๖) การตรวจหรือคัดเอกสารเกย่ี วกับสมาคมกฬี า ครง้ั ละ ๕๐ บาท (๗) การขอใหค ดั และรับรองสําเนาเอกสารเกย่ี วกบั สมาคมกีฬา ใหไ ว ณ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2559 กอบกาญจน วฒั นวรางกูร รัฐมนตรวี า การกระทรวงการทอ งเท่ียวและกีฬา 34

กฎกระทรวง กําหนดตราเครื่องหมายของการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. 2559 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึง และมาตรา ๖ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ การกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปน้ี ตราเคร่ืองหมายของการกีฬาแหงประเทศไทยมีลักษณะเปนรูปคลายพระอินทรทรงชาง เอราวัณ (ชางสามเศียร) เบื้องลางมีชอชัยพฤกษโอบข้ึนสองขางและมีอักษร “กกท” อยูดานลางโคงสัมพันธ กบั ชอชัยพฤกษ ตามแบบทายกฎกระทรวงนี้ ใหไว ณ วนั ท่ี 20 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2559 กอบกาญจน วฒั นวรางกูร รัฐมนตรีวา การกระทรวงการทอ งเทย่ี วและกีฬา 35

-2- ตราเครอ่ื งหมายของการกีฬาแหงประเทศไทย ทายกฎกระทรวงกาํ หนดตราเคร่ืองหมายของการกฬี าแหงประเทศไทย พ.ศ. 2559 36

ระเบียบกระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา วา ดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการเลือกกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” พ.ศ. 2558 โดยที่เปนการสมควรกําหนดหลักเกณฑและวิธีการเลือกกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาที่ใชคาํ วา “แหงประเทศไทย” อาศัยอํานาจตามความมาตรา ๑๔ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ รฐั มนตรีวาการกระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า จึงออกระเบยี บไว ดงั ตอ ไปน้ี ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา วาดวยหลักเกณฑ และวิธีการเลือกกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” พ.ศ. 2558” ขอ ๒1 ระเบียบน้ใี หใ ชบังคับตงั้ แตวันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป ขอ ๓ ในระเบียบน้ี “คณะกรรมการดําเนินการเลือก” หมายความวา คณะกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการ การกฬี าแหง ประเทศไทยประเภทผแู ทนสมาคมกฬี าทใี่ ชคาํ วา “แหง ประเทศไทย” “ประธานกรรมการดําเนินการเลือก” หมายความวา ประธานกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการ การกีฬาแหง ประเทศไทยประเภทผแู ทนสมาคมกฬี าทีใ่ ชคําวา “แหง ประเทศไทย” “กรรมการดํ าเนิ นการเลื อก” หมายความวา กรรมการดํ าเนิ นการเลื อกกรรมการ การกฬี าแหง ประเทศไทยประเภทผูแ ทนสมาคมกฬี าทใี่ ชค าํ วา “แหง ประเทศไทย” หมวด ๑ คณะกรรมการดาํ เนินการเลอื กกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทย ประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาที่ใชคาํ วา “แหงประเทศไทย” ขอ ๔ เพื่อใหการเลือกกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ดําเนินไปดวยความเรียบรอย ใหรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการ การกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแ ทนสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ขึ้นคณะหน่ึง ประกอบดวย ประธานกรรมการดาํ เนนิ การเลอื กหนึง่ คน และกรรมการดําเนนิ การเลอื กอีกจํานวนไมเกนิ หกคน ขอ ๕ ประธานกรรมการดําเนินการเลือกและกรรมการดําเนินการเลือกตองไมเปนนายก สมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” กรรมการสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” หรือผูดํารง ตําแหนงอืน่ ในสมาคมกฬี าทีใ่ ชคาํ วา “แหง ประเทศไทย” 1ราชกจิ จานเุ บกษาเลม ๑๓๒/ตอนพเิ ศษ 132 ง/หนา ๑/10 กันยายน ๒๕๕๘ 37

-2- ขอ ๖ ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกมีอํานาจหนาท่ีในการดําเนินการเกี่ยวกับการเลือกกรรมการ การกฬี าแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชค ําวา “แหงประเทศไทย” อาํ นาจหนาทีเ่ ชน วานี้ ใหรวมถึง (๑) จัดทํารายช่ือนายกสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ผูมีสิทธิลงคะแนน และผูมี สทิ ธิสมคั รรับเลือก (๒) ดาํ เนนิ การรบั สมัครรับเลอื ก (๓) ตรวจสอบคณุ สมบัติและหลกั ฐานการสมัครรบั เลอื ก (๔) ประกาศรายชื่อผสู มัครรบั เลอื กและผมู สี ิทธิลงคะแนน (๕) กําหนดรปู แบบบัตรลงคะแนนท่มี ีรายละเอียดเกี่ยวกับชองลงคะแนน รายชื่อผูสมคั รรับเลือก และหมายเลขประจาํ ตวั ผสู มคั รรบั เลือก (๖) พิจารณาตัดสิทธลิ งคะแนนของผมู ีสทิ ธิลงคะแนนท่ีฝา ฝน หรือไมปฏบิ ตั ิตามระเบยี บนี้ (๗) ประกาศผลการเลอื ก (๘) แตง ตั้งคณะอนุกรรมการประจําสถานท่ีเลือกและตรวจนับคะแนน หรือคณะอนุกรรมการอื่น เพ่ือชวยดาํ เนนิ การตามระเบียบนี้ ให น า ย ท ะ เบี ย น ก ล า งส ม า ค ม กี ฬ าให ค ว า ม ช ว ย เห ลื อ ห รื อ ส นั บ ส นุ น แ ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ดําเนนิ การเลือกตามทคี่ ณะกรรมการดําเนนิ การเลือกรองขอ ขอ ๗ เมื่อจะมีการเลือกกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ใหนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬาสงบัญชีรายช่ือนายกสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ใหแ กค ณะกรรมการดําเนนิ การเลือก ขอ ๘ การลงมติวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการดาํ เนนิ การเลือกใหถ ือเสยี งขางมาก กรรมการดําเนินการเลือกคนหนึ่งใหมีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธาน กรรมการดําเนนิ การเลือกออกเสยี งเพิ่มข้ึนอกี เสียงหนึ่งเปนเสยี งช้ขี าด หมวด ๒ การสมัครรับเลอื กเปน กรรมการการกฬี าแหงประเทศไทย ประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาท่ีใชคาํ วา “แหงประเทศไทย” ขอ ๙ ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกจัดทําประกาศการรับสมัครรับเลือกเปนกรรมการการกีฬา แหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” โดยตองกําหนดวัน เวลา สถานท่ี และ รายละเอยี ดการรบั สมคั รรบั เลือก และวันทีจ่ ะเลอื กและสถานทีเ่ ลอื กไวดว ย ท้งั นี้ วันทจี่ ะเลือกตอ งเปน วันหยดุ ราชการ และสถานท่เี ลอื กตองจัดในเขตกรุงเทพมหานครหรือปริมณฑล ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกจัดสงประกาศตามวรรคหนึ่งไปยังสถานท่ีตั้งสํานักงานใหญ ของสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ตามที่ปรากฏในทะเบียนของนายทะเบียนกลางสมาคมกีฬา โดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ และถือวาสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” นั้นไดรับแจงประกาศ ดงั กลาวแลวเม่ือครบเจ็ดวันนับแตว ันสง 38

-3- ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกปดประกาศตามวรรคหน่ึงไว ณ ท่ที ําการ กกท. สาํ นักงานใหญ พรอมท้ังเผยแพรทางเว็บไซตของการกีฬาแหงประเทศไทย หรือจะประกาศทางสื่อมวลชนอ่ืนเพิ่มเติม หรือปด ประกาศ ณ สาํ นกั งาน กกท. จงั หวัด ตามทเี่ ห็นสมควรดวยกไ็ ด ขอ ๑๐ ผูสมัครรับเลือกเปนกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬา ท่ีใช คําวา “แหงประเทศไทย” นอกจากตองดํารงตําแหนงนายกสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” และไมเปน พนกั งานหรอื ลูกจางของการกีฬาแหงประเทศไทยแลว ตองมีคณุ สมบัติและไมม ีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) มสี ัญชาติไทย (๒) มีอายุไมเกนิ หกสบิ หา ปบรบิ ูรณใ นวนั สมคั ร (๓) ไมเ ปน บุคคลลม ละลาย หรือไมเ คยเปน บคุ คลลม ละลายทุจรติ (๔) ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได กระทาํ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (๕) ไมเ ปนบุคคลวกิ ลจรติ หรอื จติ ฟนเฟอนไมสมประกอบ (๖) ไมเคยตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดนิ เพราะรํ่ารวยผิดปกติ หรือมีทรพั ยสนิ เพิ่มข้ึนผิดปกติ (๗) ไมเปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วุฒสิ ภา สมาชิกสภาทองถน่ิ หรือผบู ริหารทอ งถิ่น (๘) ไมเ ปนขาราชการการเมือง เวนแตเ ปนการดํารงตําแหนง กรรมการตามบทบญั ญัติแหง กฎหมาย (๙) ไมเ ปนผูดาํ รงตาํ แหนง ใดในพรรคการเมอื ง หรอื เจา หนาทข่ี องพรรคการเมอื ง (๑๐) ไมเ คยถูกไลอ อก ปลดออก หรอื ใหอ อกจากงาน เพราะทุจริตตอหนาที่ (๑๑) ไมเปนกรรมการ หรือผูบริหาร หรือผูมีอํานาจในการจัดการ หรือมีสวนไดเสียในนิติบุคคล ซึ่งเปนผูรวมทุน หรือมีประโยชนไดเสียเกี่ยวของกับกิจการของการกีฬาแหงประเทศไทย เวนแตเปนประธาน กรรมการ กรรมการ หรือผูบริหารโดยการมอบหมายของการกฬี าแหง ประเทศไทย (๑๒) ไมเปนผูดํารงตําแหนงกรรมการในรัฐวิสาหกิจอื่นเกินกวาสองแหง ท้ังนี้ ใหนับรวมการเปน กรรมการโดยตาํ แหนง และการไดร ับมอบหมายใหป ฏบิ ตั ริ าชการแทนในตาํ แหนงกรรมการดว ย ขอ ๑๑ ใหนายกสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ท่ีประสงคจะสมัครรับเลือกเปน กรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ยื่นใบสมัครตามแบบ คกก. ๑ ทายระเบยี บนตี้ อ คณะกรรมการดาํ เนนิ การเลอื ก พรอมดว ยเอกสารและหลกั ฐาน ดงั ตอไปนี้ (๑) สาํ เนาบัตรประจาํ ตวั ประชาชนหรอื บตั รอื่นทท่ี างราชการออกให (๒) ภาพถา ยสาํ เนาทะเบียนบา น (๓) รปู ถายหนา ตรงไมส วมหมวกขนาด ๔ x ๖ เซนตเิ มตร ถา ยมาแลว ไมเ กินหกเดือนนับถึงวันสมัคร จํานวนสองรูป (๔) รูปถายหนาตรงไมสวมหมวกขนาด ๔ x ๖ น้ิว ถายมาแลวไมเกินหกเดือนนับถึงวันสมัคร จํานวนสองรปู (๕) หลักฐานแสดงการเปนนายกสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ท่ีนายทะเบียนกลาง สมาคมกีฬาออกให 39

-4- ขอ ๑๒ เมื่อคณะกรรมการดําเนินการเลือกไดรับใบสมัครพรอมดวยเอกสารและหลักฐาน ตามขอ ๑๑ แลว ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตรวจสอบความถูกตองของใบสมัครและความครบถวนของ เอกสารและหลกั ฐานประกอบใบสมคั ร ในกรณีท่ีใบสมัครท่ียื่นไวไมถูกตองหรือเอกสารหรือหลักฐานประกอบใบสมัครไมครบถวน ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกแนะนําใหผูสมัครรับเลือกแกไขเพ่ิมเติมใบสมัครใหถูกตองหรือนําเอกสาร หรือหลกั ฐานมายน่ื เพิม่ เติมภายในเวลาท่ีคณะกรรมการดาํ เนินการเลอื กกําหนด ในกรณีท่ีผูสมัครรับเลือกไมแกไขเพิ่มเติมใบสมัครหรือไมจัดสงเอกสารหรือหลักฐานใหถูกตอง และครบถวนภายในเวลาตามวรรคสอง ใหถือวาผูสมัครรับเลือกไมประสงคจะสมัครรับเลือกเปนกรรมการการกีฬา แหงประเทศไทยประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาทใ่ี ชคําวา “แหง ประเทศไทย” ขอ ๑๓ ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกจัดทําบัญชีรายช่ือและหมายเลขประจําตัวผูสมัคร รับเลือกเปนกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ตามลําดับ การสมัครรับเลือกพรอมบัญชีรายชื่อผูมีสิทธิลงคะแนน สงไปยังสถานที่ต้ังสํานักงานใหญของสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหง ประเทศไทย” โดยทางไปรษณยี ลงทะเบยี นตอบรบั กอนกาํ หนดวันเลือกไมน อยกวา สิบสวี่ นั ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกปดประกาศบัญชีรายชอ่ื และหมายเลขประจําตัวผูสมัครรับเลือก เปนกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” และบัญชีรายชื่อ ผูมีสิทธิลงคะแนนไว ณ ที่ทําการ กกท. สํานักงานใหญ พรอมท้ังเผยแพรทางเว็บไซตของการกีฬาแหงประเทศไทย หรือจะประกาศทางส่ือมวลชนอน่ื เพิ่มเตมิ หรือปด ประกาศ ณ สํานักงาน กกท. จังหวดั ตามที่เห็นสมควรดวยกไ็ ด ขอ ๑๔ กอนกําหนดวันเลือกไมนอยกวาหาวัน ถาผูมีสิทธิลงคะแนนผูใดยังไมไดรับบัญชีรายชื่อ และหมายเลขประจําตัวผูสมัครรับเลือกเปนกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาที่ใชคําวา “แหงประเทศไทย” ใหผูนั้นแจงตอคณะกรรมการดําเนินการเลือกเพ่ือดําเนินการใหตนทราบรายชื่อและหมายเลข ประจําตัวผสู มคั รรับเลอื ก ขอ ๑๕ ในกรณีที่คณะกรรมการดําเนินการเลือกพบวาบัญชีรายชื่อหรือหมายเลขประจําตัว ผูสมัครรับเลือกเปนกรรมการการกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” หรือบัญชีรายช่ือผูมีสิทธิลงคะแนนมีขอผิดพลาด ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกดําเนินการแกไขใหถูกตอง กอนกําหนดวันเลือกไมนอยกวาสามวัน เพื่อใหคณะอนุกรรมการประจําสถานที่เลือกและตรวจนับคะแนนนําไป ปด ประกาศตามขอ ๑๖ (๔) หมวด ๓ การดาํ เนนิ การเลือกกรรมการการกฬี าแหง ประเทศไทย ประเภทผูแ ทนสมาคมกีฬาใชคาํ วา “แหงประเทศไทย” ขอ ๑๖ ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกแตงต้ังคณะอนุกรรมการประจําสถานท่ีเลือกและ ตรวจนับคะแนนขึ้นคณะหน่ึง ประกอบดวยประธานอนุกรรมการหน่ึงคนและอนุกรรมการอีกจํานวนไมเกินสิบคน มีอาํ นาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้ 40

-5- (๑) จดั ทําบัตรลงคะแนน (๒) จัดเตรียมสถานทล่ี งคะแนน สถานทตี่ รวจนับคะแนน และสถานท่ีสังเกตการณ (๓) จัดหาอุปกรณสําหรับใชลงคะแนน ดงั ตอไปนี้ (ก) หีบบตั รลงคะแนน (ข) คูหาลงคะแนน (ค) เครื่องเขียน (ง) กระดานดาํ กระดาษ หรอื อุปกรณอ ยา งอ่นื ท่ีคลายคลึงกันเพื่อใชใ นการตรวจนบั คะแนน (๔) ปดประกาศบัญชีรายชื่อ หมายเลขประจําตัวพรอมรูปถายของผูสมัครรับเลือกเปนกรรมการ การกีฬาแหงประเทศไทยประเภทผูแทนสมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” และบัญชีรายชื่อผูมีสิทธิ ลงคะแนน (๕) จัดระเบียบและควบคุมดูแลใหความสะดวกแกผูมีสิทธลิ งคะแนน เพ่ือใหการลงคะแนนเปนไป ดวยความเรียบรอย รวมทั้งตองมิใหผูใดเขาไปในสถานที่ลงคะแนน เวนแตผูมีหนาที่เก่ียวของกับการลงคะแนน ในระหวางเวลาเปดการลงคะแนน (๖) ตรวจสอบหลักฐานการแสดงตนของผูมีสทิ ธลิ งคะแนน บนั ทึกชื่อและหมายเหตลุ งในบัญชี รายชอ่ื ผูมสี ิทธลิ งคะแนน (๗) สงบตั รลงคะแนนใหกบั ผมู ีสิทธลิ งคะแนนเพอ่ื ใชส ิทธิลงคะแนน (๘) จดั ระเบียบในการเขา ไปลงคะแนนใหเ ปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย (๙) ดาํ เนนิ การตรวจนบั คะแนน (๑๐) รักษาความสงบเรียบรอยในสถานท่ีตรวจนับคะแนนเพ่ือใหการตรวจนับคะแนนเปนไป ดวยความเรียบรอย รวมทั้งตองมิใหผูใดเขาไปในสถานที่ตรวจนับคะแนน เวนแตผูมีหนาท่ีเก่ียวของกับการ ตรวจนบั คะแนนในระหวา งท่มี กี ารตรวจนบั คะแนน ขอ ๑๗ ในกรณีที่ปรากฏตอคณะกรรมการดําเนินการเลือกวา ผูสมัครรับเลือกผูใดตาย หรือขาด คุณสมบัตหิ รอื มีลักษณะตองหามตามท่ีกาํ หนดไวในขอ ๑๐ ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกแจงใหคณะอนุกรรมการ ประจําสถานท่ีเลือกและตรวจนับคะแนนทราบ และใหคณะอนุกรรมการประจําสถานท่ีเลือกและตรวจนับคะแนน ปด ประกาศรายชอ่ื ผูสมัครรบั เลอื กผูนัน้ ไว ณ สถานทล่ี งคะแนน เพ่อื ใหผมู สี ทิ ธิลงคะแนนทราบ ขอ ๑๘ ในวันเลอื กใหค ณะกรรมการดําเนนิ การเลือกมอบหมายใหกรรมการดาํ เนินการเลอื กจาํ นวน ไมนอยกวาสามคนมาประจํา ณ สถานท่ีลงคะแนนและสถานที่ตรวจนับคะแนน เพื่อใหการดําเนินการเลือกกรรมการ การกีฬาแหง ประเทศไทยประเภทผแู ทนสมาคมกีฬาท่ใี ชค ําวา “แหงประเทศไทย” เปน ไปตามระเบยี บนี้ ขอ ๑๙ สมาคมกีฬาท่ีใชคําวา “แหงประเทศไทย” ที่ประสงคจะสงบุคคลใดมาเปนผูสังเกตการณ ในการลงคะแนนหรือการตรวจนับคะแนน ใหยื่นหนังสือแตงตั้งผูสังเกตการณจาํ นวนหนงึ่ คนตอคณะกรรมการ ดาํ เนินการเลือกกอ นวนั เลอื กไมนอยกวาสามวัน ผูสังเกตการณตองอยูในสถานที่ที่คณะอนุกรรมการประจําสถานที่เลือกและตรวจนับคะแนน กาํ หนดไว โดยสามารถมองเหน็ การปฏบิ ตั งิ านของคณะอนุกรรมการประจําสถานทีเ่ ลือกและตรวจนับคะแนนได หากผู สั งเกตการณ กระทํ าการอั นเป นอุ ปสรรคแก การลงคะแนนหรื อการป ฏิ บั ติ งานของ คณะอนุกรรมการประจําสถานที่เลือกและตรวจนับคะแนน ใหประธานอนุกรรมการประจําสถานที่เลือกและตรวจ นับคะแนนมอี ํานาจส่งั ใหผูนน้ั ออกไปจากสถานทส่ี ังเกตการณได 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook