กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
ISBN : 978-616-11-4649-8 ท่ปี รึกษา นายอนุทนิ ชาญวรี กลู รองนายกรัฐมนตรีและรฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ แพทย์หญงิ อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ์ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแพทยข์ วัญชยั วศิ ษิ ฐานนท์ รองอธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก นายแพทยธ์ ิติ แสวงธรรม รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก นายแพทยส์ ุรยิ ะ วงศค์ งคาเทพ อดีตอธิบดแี ละท่ปี รกึ ษากรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ศาสตราจารย์ ดร.ภก.ชยันต์ พเิ ชยี รสุนทร, ราชบณั ฑติ สำ� นกั วิทยาศาสตร์ ราชบัณฑติ ยสภา ดร.ภญ.อัญชลี จูฑะพุทธิ ท่ปี รกึ ษากรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก นางเสาวณยี ์ กลุ สมบูรณ์ ท่ีปรึกษากรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ดร.นันทศักด์ิ โชติชนะเดชาวงศ์ ผอู้ ำ� นวยการกองคุ้มครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บ้านไทย พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 สิงหาคม ๒๕64 จ�ำนวนพิมพ์ 1,000 เล่ม เรียบเรยี งและจดั พมิ พ์โดย กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ พมิ พ์ที่ บริษทั สามเจริญพาณิชย์ (กรงุ เทพ) จำ� กัด สนบั สนุนการพิมพโ์ ดย กองทนุ ภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ห้ามจร�ำายหกนาร่าตย�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สาร กระทรวงสาธารณสุขมีบทบาทในการฟื้นฟูและส่งเสริมให้การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรกลับมา มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของคนไทยในระบบสาธารณสุขมาอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ ท่ีส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรประมาณ ๖๐ ชนิด ในสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งน�ำไปสู่ การวจิ ยั และพฒั นาและบรรจยุ าจากสมนุ ไพรเขา้ ในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ เปน็ ตน้ มา จนถงึ ปจั จบุ นั มียาแผนไทยและยาพัฒนาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติรวมท้ังส้ิน ๗๔ รายการ ความก้าวหน้าที่ส�ำคัญคือ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานได้เข้าเป็นส่วนหน่ึงของระบบบริการสุขภาพ (service plan) ของกระทรวงสาธารณสุข ต้ังแต่ปลาย พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นมา ท�ำให้ปัจจุบันประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ การแพทย์แผนไทยและยาจากสมุนไพรได้อย่างท่ัวถึงมากข้ึน มีผลให้ผู้ป่วยนอกท่ีได้รับบริการการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสานมีจ�ำนวนสูงกว่าเป้าหมายท่ีร้อยละ ๒๐ ของจ�ำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมดเป็นครั้งแรก ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ นอกจากส่งเสริมการให้บริการการแพทย์แผนไทยในระบบบริการสุขภาพแล้ว กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ยังมีบทบาทภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริม ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ ในการคุ้มครองต�ำรับยาและต�ำราการแพทย์แผนไทยที่มีประโยชน์ หรือมีคุณค่าทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขให้เป็น “ต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทย ของชาติ” ท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ประกาศก�ำหนดต�ำรา การแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ถงึ วนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖4 จ�ำนวน 31 ฉบบั คุ้มครองตำ� ราการแพทย์แผนไทยของชาติ จำ� นวน 514 รายการ ศลิ าจารึก จำ� นวน 536 แผน่ และต�ำรับยาแผนไทยของชาติในต�ำราและศิลาจารึกดังกล่าว จ�ำนวน 40,541 ต�ำรับ และเพื่อเป็นการส่งเสริม การใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเหล่านี้ในการดูแลสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุข จึงคัดเลือกต�ำรับยาที่ดี มีประสิทธิผล และความปลอดภัยจากต�ำรับยาแผนไทยของชาติเหล่าน้ี ให้เป็น “รายการ ต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ” ด�ำเนินการโดยแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์แผนไทยและนักวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง เป็นคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะท�ำงานชุดต่าง ๆ เพื่อท�ำหน้าท่ีในการพิจารณา กลั่นกรอง และคัดเลือกต�ำรับยาที่เหมาะสม จากน้ันจึงน�ำต�ำรับยาที่คัดเลือกเข้าสู่กระบวนการประชาพิจารณ์ มีประโยชน์ ในการเรียนการสอนวิชาชีพแพทย์แผนไทย การส่งเสริมการผลิตยาโดยภาคอุตสาหกรรมและโรงพยาบาลของรัฐ และการคดั เลอื กเขา้ สรู่ ายการยาแผนไทยในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาตติ อ่ ไปในอนาคต กระบวนการจดั ทำ� ตำ� รบั ยาแผนไทย แห่งชาติดังกล่าว จึงถือได้ว่ารายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติฉบับน้ีผ่านกระบวนการพิจารณากล่ันกรองคัดเลือก มาอย่างเข้มข้นและได้รับการยอมรับโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง “รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ” ฉบับน้ีเป็น ผลการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖0-2563 ของ “โครงการจัดท�ำรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ” และเป็นผลงานทางวิชาการส�ำคัญของกระทรวงสาธารณสุข น�ำสู่การต่อยอดในระบบสุขภาพ เศรษฐกิจ ทรัพย์สิน ทางปัญญาและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข -ก-
ทา้ ยทสี่ ดุ นี้ ขอขอบคณุ คณะกรรมการอำ� นวยการจดั ทำ� ตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ คณะกรรมการคมุ้ ครอง และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย คณะอนุกรรมการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ คณะท�ำงานกล่ันกรอง ตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาตทิ ัง้ ๓ ชุด และคณะทำ� งานอื่น ๆ รวมทั้งกองทุนภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ท่ีไดส้ นบั สนุน งบประมาณในการจดั ท�ำผลงานครั้งนี้ (นายอนุทิน ชาญวรี กูล) รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ -ข- รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
คำ� นำ� กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขับเคล่ือนภารกิจด้านการคุ้มครองและส่งเสริม ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ได้แบ่งภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย 3 ประเภท ได้แก่ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทย ของชาติ ต�ำรับยาแผนไทยทั่วไปหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยทั่วไป และต�ำรับยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือต�ำรา การแพทย์แผนไทยส่วนบุคคล โดยให้อ�ำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศคุ้มครองรายการ ต�ำรับยาแผนไทยในต�ำราการแพทย์แผนไทย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนด ต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ จ�ำนวน 31 ฉบับ ต�ำราการแพทย์แผนไทย 514 รายการ ต�ำรับยาแผนไทย 40,541 ต�ำรับ และศิลาจารึก 536 แผ่น ในจ�ำนวนดังกล่าวเป็นต�ำราและ แผ่นศลิ าจารึกจาก “ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ ” โดยประกาศเปน็ ตำ� ราการแพทย์ แผนไทยของชาติฉบับแรก และยังเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศรับรองขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจ�ำแห่งโลก (Memory of the World) เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๔ นอกจากน้ี “ศิลาจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” ยังมีความส�ำคัญเนื่องจากเป็นต�ำรา การแพทย์แผนไทย ๑ ใน ๔ รายการ ของต้นสาแหรกต�ำราการแพทย์แผนไทยด้ังเดิม อีกทั้งมีความส�ำคัญ ทางประวตั ศิ าสตร์ กลา่ วคอื พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี ๓) เมอื่ ครง้ั ยงั ทรงดำ� รงพระราชอสิ รยิ ยศ เป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงเป็นแม่ทัพคุมทหารไปตั้งทัพอยู่ท่ีเมืองกาญจนบุรี พระองค์ ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพได้ผ่านคลองบางกอกใหญ่เข้าคลองด่าน เมื่อเสด็จถึง วดั จอมทอง หรือวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร อันเป็นวัดโบราณ กเ็ สดจ็ หยดุ ประทับแรมที่หนา้ วัดและได้ทรงกระทำ� พิธีเบิกโขลนทวารตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ วัดนี้ ในพิธีดังกล่าวน้ีได้ทรงอธิษฐานขอให้เสด็จไปราชการทัพ คราวนห้ี ากประสบความสำ� เรจ็ และเสดจ็ กลบั มาโดยสวสั ดภิ าพจะสรา้ งวดั ถวายใหใ้ หม่ ครน้ั เสดจ็ กลบั ถงึ พระนครแลว้ ก็ทรงเริ่มปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่ทั้งหมด ได้เสด็จมาประทับคุมงานและตรวจตราการก่อสร้างด้วยพระองค์เอง แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย พระองค์ได้ให้เหล่านักปราชญ์รวบรวม และคัดเลือกสรรพความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยส่วนหนึ่ง มาจารึกประดับเป็นแผ่นหินอ่อนสีเทารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างยาว ด้านละ ๓๓ เซนตเิ มตร ตดิ ประดบั อยทู่ ่ผี นงั ดา้ นนอกของระเบยี งพระวิหารพระพุทธไสยาสนแ์ ละผนัง ศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์ พร้อมทั้งขยายอาณาเขตพระอาราม ใช้เวลานานถึง ๑๖ ปี ๗ เดือน ในการนีโ้ ปรดให้เหลา่ นกั ปราชญ์ ราชบัณฑิตในวชิ าการสาขาตา่ ง ๆ ค้นคว้า รวบรวม ตรวจสอบและคัดสรรต�ำราวิชาการต่าง ๆ ให้ถูกต้อง จารึกประดับไว้ในอาคารเขตพุทธาวาส เพื่อเผยแพร่ความรู้ แก่ราษฎรวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร (วัดโพธ์ิ) จึงเป็นแหล่งเรียนรู้ของปวงชนที่ใฝ่หาความรู้ เปรียบเสมือนเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งแรกของเมืองไทย” ที่รวมเอาภูมิปัญญาไทยไว้เป็นมรดกให้ลูกหลานไทย ไดเ้ รยี นรู้ และเปน็ มรดกแหง่ ภมู ปิ ญั ญาไทยใหค้ งอยคู่ ปู่ ระเทศไทย คณะรฐั มนตรจี งึ ไดม้ มี ตเิ มอ่ื วนั ท่ี 16 มถิ นุ ายน 2558 เห็นชอบการถวายพระราชสมัญญา “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย” แด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจา้ และกำ� หนดใหว้ ันท่ี 29 ตุลาคม ของทุกปี เปน็ “วนั ภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยแหง่ ชาติ” กระทรวงสาธารณสุข -ฃ-
กระทรวงสาธารณสุขมนี โยบายพฒั นาและก�ำหนดให้มีรายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ โดยมอบหมาย ให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ด�ำเนินการกล่ันกรอง วิเคราะห์ และคัดเลือกต�ำรับยาแผนไทย จากแหล่งส�ำคัญ ได้แก่ ต�ำรับยาจากต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ต�ำรับยาเกร็ด ต�ำรับยาจากบัญชียาจาก สมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติและประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ ต�ำรับยาจากแหล่งทั้งหลายเหล่าน้ี ได้ผ่านการพิจารณา กล่ันกรอง และคัดเลือกบนพื้นฐานองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย โดยอาศัยกลไกคณะท�ำงาน กล่ันกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ๓ ชุด คณะอนุกรรมการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ คณะกรรมการ อ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ และคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ประกาศเป็น “รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ (National Thai Traditional Medicine Formulary)” ทัง้ นี้ ไดผ้ า่ นการรับฟงั ความคดิ เหน็ เพอื่ ใหร้ ายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติดงั กลา่ ว เป็นที่ยอมรับอยา่ งเปน็ ทางการ ให้ใช้ในการประกอบวิชาชีพและการเรียนการสอนแพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย เป็นรายการยาในระบบบริการ สขุ ภาพของประเทศ และในการผลติ ยาแผนไทยในระดับอตุ สาหกรรมและสถานบริการสุขภาพ ด้วยเหตุผลและความส�ำคัญของหนังสือรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ เล่มน้ี ได้จัดพิมพ์จ�ำนวน 324 ต�ำรับ เพื่อนำ� ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์และอ้างอิงทางวิชาการ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ตำ� ราเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ ในวงกว้างแก่ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ด้านการแพทยแ์ ผนไทย บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยและสาธารณสุขตอ่ ไป (แพทยห์ ญิงอัมพร เบญจพลพทิ กั ษ)์ อธิบดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก -ค- รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
คำ� แนะน�ำการใช้รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ข้อมูลที่ให้ในบท “ค�ำแนะน�ำการใช้รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ” น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ืออธิบาย ท่ีมาของรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ รวมท้ังความหมายของเนื้อหาในแต่ละบท แต่ละหัวข้อ และภาคผนวก ของรายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติเล่มนี้ ต�ำราเล่มนี้ คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ รวมทั้งคณะอนุกรรมการและ คณะท�ำงานท่ีเกี่ยวข้อง มุ่งหวังให้เป็น “รายการต�ำรับยาแห่งชาติ” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า “National Formulary” ของต�ำรับยาแผนไทย จึงมีช่ือเรียกว่า “รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ (National Thai Traditional Medicine Formulary)” ซง่ึ เปน็ เอกสารทางการทร่ี วบรวมตำ� รบั ยาแผนไทยจากแหลง่ สำ� คญั ๔ แหลง่ ได้แก่ ต�ำรับยาจากต�ำรายาแผนไทยชาติ ต�ำรับยาเกร็ดท่ีผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยยังนิยมใช้ปรุงยา ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย ตำ� รบั ยาจากบญั ชยี าจากสมนุ ไพรในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ และประกาศยาสามญั ประจำ� บา้ นแผนโบราณ ต�ำรับยาจากแหล่งเหล่าน้ีได้ผ่านการพิจารณา กล่ันกรอง และคัดเลือกบนพ้ืนฐานองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย โดย คณะทำ� งานกล่ันกรองต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ๓ ชดุ และ คณะอนุกรรมการจัดทำ� ต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ อันประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์แผนไทย คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับ ยาแผนไทยแห่งชาติ และ คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ท้ังน้ี ได้ผ่านการ ท�ำประชาพิจารณ์เพื่อให้รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเป็นท่ียอมรับอย่างเป็นทางการ น�ำไปใช้เป็นรายการยา ในระบบบริการสุขภาพของประเทศ การประกอบวิชาชีพและการเรียนการสอนด้านการแพทย์และเภสัชกรรม แผนไทย รวมทัง้ การผลติ ยาแผนไทยในระดับอุตสาหกรรมและในสถานบริการสุขภาพ รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ประกอบด้วยต�ำรับยา 324 ต�ำรับ ส�ำหรบั กลุม่ โรค/อาการ 15 กล่มุ ได้แก่ กลุ่มโรคเด็ก กลุ่มโรคสตรี กลุ่มโรคลม กลุ่มยาบ�ำรุง อายุวัฒนะ กลุ่มโรคกระษัย กล่อน กลุ่มโรคผิวหนัง แผล โรคเร้ือน กลุ่มโรคฝี กลุ่มโรคในปาก ในคอ กลุ่มโรคทางเดินปัสสาวะ กามโรค กลุ่มอาการท้องเสีย ท้องเดิน บิด ปว่ ง กล่มุ โรคริดสีดวง กล่มุ โรคหอบ ไอ หอบหดื กลุ่มโรคทอ้ งมาน กลุ่มไข้ และกลุ่มอ่นื ๆ ซง่ึ ตำ� รับยาท่ีกล่นั กรอง หรอื คัดเลือกมานั้นยังไม่ใช่รายการยาทงั้ หมดส�ำหรับแต่ละกลมุ่ โรค/อาการเหล่าน้ี คณะท�ำงานฯ คณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการฯ ที่เกี่ยวข้องยังจะต้องพิจารณาแก้ไข ปรับปรุง เพ่ิมเติมรายการต�ำรับยาส�ำหรับกลุ่มโรค/ อาการอื่น ๆ อยา่ งต่อเน่ืองตอ่ ไป ข้อมูลต�ำรับยาแผนไทยในรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเล่มน้ี ได้น�ำมาเรียบเรียงไว้ในรูปแบบ ท่ีเรียกว่า “มอโนกราฟ” (monograph) โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือให้ความรู้แก่แพทย์แผนไทยและนักศึกษาแพทย์ แผนไทยทสี่ นใจเก่ียวกับท่มี าของต�ำรบั ยา สตู รตำ� รบั การปรงุ ยา สรรพคณุ ขนาดและวิธีการใช้ เปน็ ต้น เพ่ือประโยชน์ ในการน�ำไปใช้ปรุงยา ส่ังยา หรือจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และมีประสิทธิผล มิใช่รายละเอียด ของยาท่ีระบุวิธีการตรวจวิเคราะห์หรือการควบคุมคุณภาพของต�ำรับยาในลักษณะของต�ำรามาตรฐานยาแผนไทย (Thai Traditional Preparation Pharmacopoeia) กระทรวงสาธารณสขุ -ฅ-
คำ� อธิบายความหมายของมอโนกราฟของต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ โครงสร้างของมอโนกราฟของต�ำรับยาแผนไทยแต่ละต�ำรับประกอบด้วย ช่ือต�ำรับยา ช่ืออ่ืน (ถ้ามี) ท่ีมาของตำ� รับยา สูตรต�ำรบั ยา สรรพคณุ รูปแบบยา วิธปี รงุ ยา (ถา้ มี) ขนาดและวิธีการใช้ รวมทัง้ คำ� เตอื น ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวัง ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ (ถา้ มี) และเอกสารอ้างองิ แต่ละหัวขอ้ มีรายละเอียดและความหมาย ดงั น้ี ช่ือต�ำรบั ยา (Name of medicinal preparation) เปน็ ชอื่ ภาษาไทยของต�ำรับยาท่รี ะบไุ ว้ใน “ต�ำรายาแผนไทยแหง่ ชาติ” “บญั ชยี าจากสมนุ ไพรในบญั ชี ยาหลักแห่งชาติ” หรือ “ประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ” กรณีมีการสะกดชื่อยาหลายแบบหรือมีชื่อ ยาหลายช่ือ จะเลือกช่ือท่ีนิยมใช้มากที่สุด หรือใช้ค�ำที่นิยมเขียนหรือสะกดกันในปัจจุบันเป็นช่ือต�ำรับยา เช่น ยามหาสดมภ์ ส่วนชื่อท่ีสะกดแบบอื่นจะเก็บไว้ในหัวข้อ “ช่ืออื่น” ในกรณีที่ในคัมภีร์ไม่ระบุชื่อต�ำรับยา ได้ใช้วิธี น�ำชอ่ื โรคหรอื อาการทตี่ ำ� รับยานน้ั ใช้แก้มาตง้ั เปน็ ช่ือตำ� รบั ยา เช่น ยาแกต้ านซางและตานขโมย ยาแก้เจบ็ คอ แกไ้ อ แกอ้ าเจียน แกส้ ะอกึ ชอ่ื อ่ืน (Other name) ยาบางต�ำรับ นอกเหนือจากชื่อท่ีใช้เป็นชื่อต�ำรับยาแล้ว ยังมีช่ือเรียกอื่นอีกหลายชื่อ หรือมีวิธีการสะกด ชือ่ ยาหลายแบบ ชอื่ เหลา่ นั้น จะระบุไวใ้ นช่อื อื่น ท่ีมาของตำ� รบั ยา (Source of origin) เปน็ ชอื่ คมั ภรี ห์ รอื ตำ� ราดง้ั เดมิ ทเ่ี ปน็ ตน้ กำ� เนดิ หรอื แหลง่ ทมี่ าของตำ� รบั ยานน้ั พรอ้ มทงั้ เลขหนา้ หรอื เลขท่ี แผ่นศิลาจารึกเพ่ือการอ้างอิง และระบุข้อความเดิมเก่ียวกับสูตรต�ำรับยาน้ันไว้ด้วยอักษรตัวเอนในเคร่ืองหมาย อญั ประกาศ ในบางกรณยี าตำ� รบั หนงึ่ อาจมกี ารระบไุ วใ้ นตำ� รายามากกวา่ ๑ เลม่ เชน่ ยาแกต้ านทราง ทอี่ ยใู่ นเวชศาสตร์ ฉบบั หลวงรัชกาลท่ี ๕ กบั ยาแก้ทรางฝา้ ย ที่อยู่ในแพทยศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๘ เป็นยาทม่ี ีสูตรตำ� รับเหมือนกัน จึงระบทุ ่มี าจากทั้ง ๒ แหลง่ ส�ำหรบั ตำ� รับยาทมี่ าจาก “บัญชียาจากสมนุ ไพรในบัญชยี าหลกั แห่งชาต”ิ เน่ืองจากบางต�ำรบั ไดม้ ีการใช้ เป็นยาสามัญประจ�ำบา้ นแผนโบราณมาก่อนเป็นเวลานานหลายสบิ ปแี ละปรับปรงุ สตู รต�ำรับไปบา้ ง ดังนั้น สตู รต�ำรบั จึงอาจไม่ตรงกับต�ำรับยาในคัมภีร์หรือต�ำรายาดั้งเดิม เช่น น�้ำหนักของตัวยาบางตัวอาจต่างไป ตัวยาบางตัว อาจหายไป หรือมีการเพ่ิมตวั ยาบางตวั ข้ึนมา แต่ยังคงมีเคา้ โครงของตำ� รบั ยาทใ่ี กล้เคยี งกบั ต�ำรับยาทอี่ ย่ใู นคัมภรี ห์ รือ ตำ� รายาดงั้ เดมิ ในกรณเี ชน่ น้ี ไดน้ ำ� ตำ� รบั ยาจากคมั ภรี ห์ รอื ตำ� รายาดงั้ เดมิ ทใี่ กลเ้ คยี งกนั นน้ั มาอา้ งองิ ไวใ้ นหวั ขอ้ “ทมี่ า” เพอ่ื การศกึ ษาเปรยี บเทยี บ สำ� หรบั ขอ้ มลู อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั ประวตั กิ ารคดั เลอื กเขา้ สบู่ ญั ชยี าสามญั ประจำ� บา้ นแผนโบราณ และบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติได้นำ� ไปกลา่ วไวใ้ นหัวข้อ “ขอ้ มูลเพมิ่ เติม” ส่วนต�ำรับยาท่ีมาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาลที่อยู่ในบัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้พยายามสืบค้นถึงที่มาให้ชัดเจนที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ว่าโรงพยาบาลใดพัฒนายาต�ำรับน้ีเป็นแห่งแรกส�ำหรับใช้เป็น เภสัชต�ำรับโรงพยาบาลจากสมุนไพร หรือผู้ใดเป็นผู้พัฒนาต�ำรับยาน้ัน ต�ำรับยาบางต�ำรับหมอพื้นบ้านเป็นผู้พัฒนา สตู รตำ� รบั ขน้ึ ใชร้ กั ษาผปู้ ว่ ยในชมุ ชนอยา่ งไดผ้ ลดมี ากอ่ น หากผบู้ รหิ ารโรงพยาบาลชมุ ชนใกลเ้ คยี งยอมรบั ในประสทิ ธผิ ล และความปลอดภัย และหมอพื้นบ้านเจ้าของต�ำรับยาอนุญาต โรงพยาบาลก็สามารถน�ำต�ำรับยาน้ันมาเป็นรายการ ยาในเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล เพื่อผลิตและใช้กับผู้ป่วยในโรงพยาบาลให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างต่อไป คณะท�ำงาน กลนั่ กรองตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาตจิ งึ ไดเ้ สนอตำ� รบั ยาเหลา่ นใ้ี หค้ ณะอนกุ รรมการฯ และคณะกรรมการฯ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง พิจารณาคดั เลอื กเขา้ ในรายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ -ฆ- รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สตู รตำ� รับยา (Medicinal preparation formula) เป็นรายละเอียดเก่ียวกับสูตรและส่วนประกอบของต�ำรับยานั้น โดยระบุว่ามีตัวยา (ไม่ว่าจะเป็นพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ หรอื ธาตุวตั ถ)ุ รวมทั้งหมดก่ชี นิด ปรมิ าณรวมของตวั ยาทงั้ หมดกีก่ รมั หรือทัง้ หมดกี่สว่ นในกรณีทส่ี ตู รต�ำรบั ระบตุ วั ยาเป็นสว่ น จากนนั้ จึงระบรุ ายละเอียดของตวั ยาแต่ละชนิดและน้ำ� หนกั ยา โดย - ตัวยา (Medicinal material, materia medica) คือ ชื่อเครื่องยาท่ีน�ำมาใช้ปรุงยา ไม่ใช่ชื่อพืชสมุนไพรซึ่งเป็นท่ีมาของเครื่องยา ส�ำหรับข้อมูลตัวยาหรือเคร่ืองยาแต่ละชนิดว่ามีท่ีมาจากพืชสมุนไพร หรือสัตว์ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์อย่างไร หรือมีช่ือเครื่องยาเป็นภาษาละตินซึ่งเป็นช่ือสากลอย่างไร รวมทั้งส่วนท่ีใช้ของ พืชและสัตว์แต่ละชนิด ได้รวบรวมไว้ใน “ภาคผนวก ๑ เภสัชวัตถุ” หากมีการวงเล็บส่วนที่ใช้ก�ำกับไว้ท้ายตัวยา หมายถงึ เป็นส่วนท่ใี ช้อน่ื ทีแ่ ตกต่างจากตวั ยาท่ีแพทยแ์ ผนไทยนยิ มใช้กนั โดยท่ัวไป - ปริมาณ (Amount) ส่วนมากแสดงน้�ำหนกั เป็นกรัมหรือเป็นส่วน มีบ้างทกี่ ำ� หนดนำ�้ หนักหรอื ปรมิ าณเป็นหนว่ ยวัดอื่น เชน่ กลบี ก�ำมอื ดอก ผล แว่น หัว องคลุ ี หรือแสดงปริมาณตวั ยาเป็นหนว่ ยน้ำ� หนักแบบไทย (ตำ� ลึง บาท สลงึ เฟ้อื ง ไพ) ซง่ึ ไดแ้ ปลงหน่วยนำ�้ หนกั แบบไทยในต�ำรายาให้เป็นกรัม โดยเทียบน�้ำหนกั ดังนี้ 1 ช่งั เทา่ กบั 20 ตำ� ลึง เทา่ กบั 1,200 กรัม เทา่ กับ ๖๐ กรัม ๑ ต�ำลึง เทา่ กับ ๔ บาท เทา่ กับ ๑๕ กรมั เทา่ กบั ๓.๗๕ กรัม ๑ บาท เทา่ กบั ๔ สลงึ เทา่ กบั ๑.๘๗๕ กรัม เท่ากบั 0.46875 กรมั ๑ สลงึ เทา่ กบั ๒ เฟอ้ื ง เท่ากบั 1,000 มิลลลิ ติ ร เท่ากบั 150 มิลลลิ ติ ร ๑ เฟอ้ื ง เท่ากบั ๔ ไพ เทา่ กบั 50 มลิ ลลิ ิตร 1 ไพ 1 ทะนาน 1 ถ้วย 1 จอก สรรพคุณ (Therapeutic use) คุณสมบัติในการแก้หรือบ�ำบัดรักษาโรคหรืออาการของต�ำรับยานั้นตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย หรือจากรายงานการศึกษาวิจัยทางคลินิกท่ีสนับสนุนข้อบ่งใช้ เช่น สรรพคุณบรรเทาอาการปวดประจ�ำเดือน ของยาประสะไพล หรือสรรพคุณขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อของยาธาตุอบเชย ส�ำหรับความหมายของ สรรพคณุ ท่ีเป็นศัพท์การแพทย์แผนไทยนั้น ไดใ้ ห้คำ� อธิบายศัพท์ไวใ้ น “ภาคผนวก ๔ อภิธานศพั ท์” กระทรวงสาธารณสขุ -ง-
รปู แบบยา (Dosage form) ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ยาตำ� รบั นนั้ ๆ เช่น เปน็ ยาต้ม ยาผง ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาเม็ดพิมพ์ ยาแคปซูล ยาน้�ำมัน ยาประคบ บางต�ำรับยามีรูปแบบยาได้มากกว่า ๑ รูปแบบ เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ส�ำหรับยาเมด็ ยาเมด็ พิมพ์ หรอื ยาลูกกลอน บางต�ำรับจะระบขุ นาดน้ำ� หนกั ต่อเมด็ ไวด้ ้วย วิธีปรงุ ยา (Compounding method) ในมอโนกราฟของยาบางต�ำรับอาจมีวิธีการเตรียมเฉพาะ ซึ่งแตกต่างจากท่ีระบุไว้ในภาคผนวก 3 กจ็ ะอธิบายวิธีเตรียมไว้ในหัวข้อน้ี ขนาดและวธิ ใี ช้ (Dosage and administration) ตำ� รบั ยาทค่ี ดั เลอื กจาก “บญั ชยี าจากสมนุ ไพรในบญั ชยี าหลกั ชาต”ิ หรอื จาก “ประกาศยาสามญั ประจำ� บา้ น แผนโบราณ” ได้ระบุขนาดและวิธีใช้ไว้แล้วโดยละเอียดทุกต�ำรับ โดยระบุขนาดใช้ของยาเป็นระบบเมตริก คือ เปน็ กรัม หรอื มิลลิกรมั และยาน�ำ้ ก�ำหนดปรมิ าตรเปน็ มิลลลิ ติ ร ส่วนต�ำรับยาแผนไทยท่ีมาจากคมั ภีรแ์ ละตำ� รายาแผนไทยของชาตติ า่ ง ๆ มักไม่ได้ระบขุ นาดและวิธใี ชไ้ ว้ การกำ� หนดขนาดและวธิ ใี ชข้ องตำ� รบั ยากลมุ่ นเี้ ปน็ เนอื้ หาสว่ นทย่ี ากทส่ี ดุ ในการจดั ทำ� รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ จึงต้องอาศยั ประสบการณ์การเตรยี มยาและการส่งั ใช้ยาของคณะทำ� งานฯ คณะอนุกรรมการฯ ท่ีเป็นแพทย์แผนไทย ผเู้ ชยี่ วชาญ ในการใหข้ อ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพอ่ื กำ� หนดขนาดและวธิ ใี ชท้ เ่ี หมาะสม โดยใชว้ ธิ รี ะบขุ นาดของยาเมด็ ยาเมด็ พมิ พ์ หรอื ยาลกู กลอนเปน็ มลิ ลกิ รมั ตอ่ เมด็ แลว้ ระบขุ นาดใชเ้ ปน็ จำ� นวนเม็ดสำ� หรบั ผใู้ หญแ่ ละเด็ก โดยขนาดยา ของเด็กจะลดลงเป็นสัดส่วนกับอายุของเด็ก ถ้าเป็นยาน้�ำจะระบุเป็นจ�ำนวนช้อนชาหรือจ�ำนวนช้อนโต๊ะ โดยวงเล็บ ปริมาตรเป็นซีซีหรอื มลิ ลลิ ิตรไวใ้ ห้ด้วยเพอ่ื ความสะดวกหากใชถ้ ้วยตวงยา โดยคิดคำ� นวณวา่ ๑ ชอ้ นชา เท่ากับ ๕ ซีซี (มิลลลิ ติ ร) และ ๑ ชอ้ นโตะ๊ เท่ากับ ๑๕ ซีซี ข้อห้ามใช้ (Contraindication) ข้อมูลท่ีอธิบายว่าต�ำรับยาน้ีห้ามใช้ในคนกลุ่มใด เพ่ือความปลอดภัยของผู้บริโภค เช่น ยาประสะไพล หา้ มใชใ้ นหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผทู้ ่ีมีไข้ ค�ำเตอื น (Warning) ข้อความที่ผู้บริโภคและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยควรทราบก่อนการใช้หรือการสั่งใช้ยา ต�ำรับนั้น หรือควรใช้ด้วยความระมัดระวังในผู้ป่วยกลุ่มใด เช่น ยาเขียวหอม ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ท่ีสงสัยว่าเป็น ไขเ้ ลอื ดออก เนอื่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลอื ดออก นอกจากนี้ ยงั อธบิ ายเกย่ี วกบั อาการไมพ่ งึ ประสงค์ (adverse drug reaction) ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ต�ำรับยาน้ัน (ถ้ามี) รวมทั้งผลเสียต่อร่างกายที่อาจเกิดข้ึนจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างต�ำรับยาน้ันกับยาแผนปัจจุบันบางชนิดหากมีการใช้ร่วมกัน (herb-drug interaction) เช่น ยาบางต�ำรับ ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelet) เพราะอาจเพิ่มความเสีย่ งของการเกดิ เลือดออก (bleeding) -จ- รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อควรระวัง (Precaution) ข้อความแจ้งเตือนเกี่ยวกับสิ่งท่ีอาจเกิดขึ้นระหว่างการใช้ยาต�ำรับ ที่ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยควรทราบ เช่น ต�ำรับยาที่มีการบูรเป็นส่วนประกอบ จะมีข้อควรระวังว่า “ควรระวังการใช้ยา อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและ เกิดพษิ ได”้ ข้อมูลเพมิ่ เติม (Additional information) ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตำ� รบั ยาทค่ี วรทราบ เชน่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ทม่ี าของตำ� รบั ยา หรอื การตดั ตวั ยาบางตวั ออกจาก สูตรต�ำรับด้ังเดิมพร้อมทั้งเหตุผล หรือเป็นข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับโรคหรืออาการที่ใช้ต�ำรับยานั้นในการบ�ำบัดรักษา คำ� แนะน�ำเกี่ยวกบั การเตรียมยา การใช้ยา กระสายยา ข้อมูลเก่ยี วกบั ค�ำแนะน�ำในการปฏบิ ัติตัวของผู้ปว่ ยเพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หอ้ าการเลวลง เช่น งดของแสลง ของเยน็ ของเผด็ ร้อน ข้อมลู เก่ยี วกบั ปรมิ าณท่ที ำ� ให้เกดิ พิษจากการกินการบรู หรอื ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั ตำ� รับยาท่ีมกี ญั ชาเป็นส่วนผสม เอกสารอ้างอิง (Reference) การเขียนเอกสารอ้างอิงท้ังภาษาไทยและอังกฤษใช้หลักของแวนคูเวอร์ (Vancouver style) แต่การใช้ เครอื่ งหมายวรรคตอนของเอกสารอา้ งอิงภาษาไทยใช้ตาม “หลักเกณฑก์ ารใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอนและเคร่ืองหมาย อื่น ๆ หลกั เกณฑ์การเวน้ วรรค หลกั เกณฑ์การเขยี นค�ำยอ่ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พมิ พค์ รง้ั ที่ ๗ (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ )” อยา่ งไรกต็ าม ตวั ยา สรรพคณุ ของตำ� รบั ยา ขนาดและวธิ ใี ชท้ รี่ ะบใุ นแตล่ ะตำ� รบั ยานนั้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เป็นตัวยา สรรพคุณของต�ำรับยา ขนาดและวิธีใช้ท่ียอมรับในการขึ้นทะเบียนต�ำรับ แจ้งรายละเอียดหรือจดแจ้ง การอา้ งอิงตวั ยา สรรพคณุ ของตำ� รับยา ขนาดและวธิ ใี ชเ้ พ่ือการขอขึน้ ทะเบียนต�ำรบั แจ้งรายละเอียดหรอื จดแจง้ นน้ั ให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั ผิ ลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และ ฉบบั แก้ไขเพ่ิมเติม รวมทั้งกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ภาคผนวกของรายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ตอนท้ายของรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ มีภาคผนวกอยู่ 4 ภาคผนวก เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่ ผ้อู า่ นเก่ยี วกบั ตัวยาต่าง ๆ ที่ใช้ในตำ� รับยาทั้ง 324 ต�ำรบั ได้แก่ เภสัชวตั ถุ การเตรียมตัวยาก่อนใชป้ รุงยา วิธีการ ปรุงยา อภิธานศัพท์ด้านการแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวข้องกับโรคและอาการต่าง ๆ ที่กล่าวถึงในรายการต�ำรับยา แผนไทยแหง่ ชาติ มีรายละเอยี ดพอสังเขป ดงั ตอ่ ไปนี้ ภาคผนวก ๑ เภสัชวัตถุ (Medicinal material, Materia Medica) เป็นภาคผนวกที่รวมตัวยาหรือเภสัชวัตถุ ท้ังพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุท้ังหมดท่ีเป็นส่วนประกอบ ในตำ� รบั ยาทั้ง 324 ตำ� รับ ในรปู ของตาราง โดยแตล่ ะช่องจะให้ข้อมลู ดังน้ี ● ช่ือตวั ยา (Thai title) หมายถงึ ชอื่ ตวั ยาที่ระบใุ นสูตรตำ� รับยา โดยเป็นชือ่ ทเี่ รยี กหรอื รจู้ ักเปน็ สากล ในปัจจุบัน ซ่ึงอาจแตกต่างจากช่ือท่ีใช้เรียกหรือเขียนในเอกสารต้นฉบับเดิม โดยเรียงชื่อตัวยาตาม ล�ำดบั อกั ษรภาษาไทย ก-ฮ ในแบบพจนานุกรม กระทรวงสาธารณสขุ -ฉ-
● ส่วนท่ใี ช้ (Part used) หมายถงึ สว่ นของพืชสมุนไพรที่นำ� มาใชเ้ ปน็ ตัวยา เช่น เหงา้ ราก ใบ ดอก เกสร ผล เมล็ด ฯลฯ ทั้งนี้ ส่วนท่ีใช้จะยึดตามหลักทางพฤกษศาสตร์ ไม่ใช่ชื่อที่เรียกเครื่องยา ตามต�ำรายาไทย เชน่ ดปี ลี สว่ นทใ่ี ช้ คอื ชอ่ ผล ไมใ่ ช่ดอก แมว้ ่าในตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยมกั เรยี ก ช่อผลทมี่ ีสีแดงวา่ ดอกดีปลี ส�ำหรับตัวยาใดท่ีมีส่วนที่ใช้มากกว่า ๑ ส่วน และมีเครื่องหมายดอกจันทน์ “*” ก�ำกับไว้ หมายความวา่ เป็นสว่ นท่ใี ช้ของตัวยาทีแ่ พทยแ์ ผนไทยนยิ มใช้กันโดยท่ัวไป ● ชือ่ ละตนิ (Latin title) เป็นชื่อตวั ยาในภาษาละตินทก่ี �ำหนดใหม้ ีไว้เพอ่ื ความเป็นสากล เนือ่ งจาก ต�ำรายา (Pharmacopoeia) หรือรายการต�ำรับยาแห่งชาติ (National Formulary) ของหลาย ประเทศและขององค์การอนามัยโลกก็ใช้ชื่อละตินเป็นช่ือทางการของตัวยาต่าง ๆ ในท่ีน้ีเพื่อความ สะดวกในการสืบค้นช่ือ จึงได้น�ำส่วนท่ีใช้เป็นยา เป็นค�ำลงท้ายชื่อ แทนที่จะใช้เป็นค�ำน�ำหน้า เช่นเดียวกบั ในตำ� ราอ้างองิ ยาสมุนไพรไทยของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ศัพท์ภาษาละตินส�ำหรับส่วนต่าง ๆ ของพืชสมุนไพร ได้แก่ Bulbus (หัวอย่างหัวหอม), Caulis (เถา), Cormus (หวั อยา่ งหัวเผอื ก), Cortex (เปลือกต้น), Exocarpium (เปลือกผลช้นั นอก หรือ ผวิ ผล), Flos (ดอก), Folium (ใบ), Fructus (ผลหรอื ฝัก), Galla (ปุม่ หูด), Herba (ทัง้ ตน้ ), Lignum (แกน่ ), Mesocarpium (ผนงั ผลชน้ั กลาง), Pedunculatum (กา้ นชอ่ ผล), Pericarpium (เปลือกผล), Pulpa (เนื้อในผลหรือฝกั ), Radix (ราก), Rhizoma (เหง้า), Semen (เมลด็ ), Stamen (เกสรเพศผ)ู้ และ Stigma (ยอดเกสรเพศเมยี ) ศพั ทภ์ าษาละตนิ สำ� หรบั ผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดจ้ ากสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ Aetheroleum (นำ�้ มนั ระเหยงา่ ย), Extractum (ส่ิงสกดั จากสมุนไพร), Latex (ยาง), Oleum (นำ้� มนั ) และ Resina (ชนั ) ทงั้ นี้ ชอื่ ละติน จะใชต้ ามชอื่ ทปี่ รากฏในตำ� รายาของตา่ งประเทศหากเปน็ ตวั ยาสมนุ ไพรเดยี วกนั หรอื ใชช้ อื่ วทิ ยาศาสตร์ ของสมุนไพรที่เป็นต้นก�ำเนิดของตัวยามาแปลงเป็นภาษาละติน ในกรณีท่ีตัวยามาจากสมุนไพร ไดห้ ลายชนดิ จะใชช้ อื่ วทิ ยาศาสตรข์ องสมนุ ไพรหลกั ทนี่ ยิ มใชม้ าแปลงเปน็ ชอ่ื ละตนิ เพยี ง ๑ ชอ่ื เทา่ นนั้ ● ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรที่เป็นต้นก�ำเนิดของตัวยา ประกอบด้วย ชอื่ สกุล (genus) เขยี นดว้ ยตัวเอน ขนึ้ ตน้ ด้วยอักษรตวั พมิ พใ์ หญ่ ตามด้วยช่อื ระบุชนิด (specific epithet) ซ่ึงเขียนด้วยตัวเอนเช่นกัน ข้ึนต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์เล็ก และชื่อผู้ต้ังชื่อ (author’s name) ทเ่ี ขยี นดว้ ยตวั อกั ษรปรกติ ขน้ึ ตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่ ทง้ั นอี้ าจใชช้ อื่ ยอ่ ตามทก่ี ำ� หนด ในหนังสือ Authors of Plant Names* ฐานข้อมูล The Plantlist** และฐานข้อมูล Plants of the World Online*** หากพชื สมนุ ไพรชนดิ ใดสามารถระบพุ นั ธ์ุ (variety) หรอื พนั ธป์ุ ลกู (cultivar) ได้ กจ็ ะระบไุ ว้หลงั ชือ่ โดยใชต้ ัวย่อ var. หรือ cv. ตามล�ำดบั แล้วตามด้วยชือ่ พนั ธห์ุ รอื ชอื่ พนั ธุ์ปลูก * Brummit RK, Powell CE. Authors of Plant Names. London: Royal Botanic Gardens, Kew. 1992. ** The Plant List (2013). Version 1.1. Published on the Internet; http://www.theplantlist.org/ (accessed 1st December 2020). *** Board of Trustees of the Royal Botanic Gardens, Kew Published on the Internet; http://www.plantsoftheworldonline.org/ (accessed 1st December 2020). -ช- รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ภาคผนวก ๒ การเตรยี มตัวยากอ่ นใช้ปรงุ ยา (Prepreparation of crude drug) เนอื่ งจากตัวยาบางชนิดมฤี ทธแ์ิ รงเกนิ ไปหรือมีพิษมาก อาจเปน็ อนั ตรายต่อผู้ปว่ ยได้ หรือตัวยาบางชนดิ อาจไม่สะอาด มเี ชอ้ื โรคปนเป้ือน หรอื มีความชน้ื มากเกินไป ตัวยาเหล่าน้ีจึงต้องผ่านกระบวนการประสะ สะตุ หรอื ฆ่าฤทธ์ิ ก่อนนำ� มาใชป้ รงุ ยา เพอื่ ความปลอดภัยของผู้บรโิ ภค ภาคผนวกนจ้ี งึ น�ำเสนอข้อมลู เกยี่ วกบั การประสะ สะตุ หรือฆา่ ฤทธขิ์ องตวั ยาบางชนดิ ก่อนนำ� ไปใช้ ภาคผนวก ๓ วิธีการปรุงยา (Compounding of traditional medicinal preparation) รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ มีรูปแบบของยาเตรียมที่ส�ำคัญ 14 วิธี ได้แก่ ยาต้ม ยาน้�ำมัน ยาดอง ยาฝน ยาทา ยาผง ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลกู กลอน ยาพอก ยาประคบ ยาชง ยาสด และยาขี้ผึ้ง ซ่ึงภาคผนวกน้ีได้อธิบายกระบวนการผลิตยาแต่ละรูปแบบโดยละเอียด รวมท้ังเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ ท่ตี อ้ งใชใ้ นการผลิตยา ขน้ั ตอนการผลติ รวมท้งั การควบคุมคณุ ภาพระหวา่ งการผลิต ภาคผนวก ๔ อภิธานศัพท์ (Glossary) ภาคผนวกนี้เป็นบัญชีค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย โรคหรืออาการทางการแพทย์แผนไทย รวมท้ังศัพท์ทางเภสัชกรรมไทยที่กล่าวถึงในรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติน้ี เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านได้ศึกษาเพ่ิมเติม และท�ำความเข้าใจค�ำศัพท์ท่ีเป็นภาษาไทยดั้งเดิมท่ีใช้ในคัมภีร์หรือต�ำราแพทย์แผนไทยของชาติด้วยการให้ ความหมายเปน็ ภาษาไทยทใี่ ชใ้ นปจั จบุ นั ความหมายของคำ� ศพั ทเ์ หลา่ น้ี สว่ นใหญน่ ำ� มาจาก “พจนานกุ รมศพั ทแ์ พทย์ และเภสัชกรรมแผนไทย” ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ส่วนค�ำศัพท์ท่ียังไม่มีในพจนานุกรม ดังกล่าว คณะท�ำงานฯ และคณะอนุกรรมการฯ ท่ีเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการแพทย์แผนไทยได้ร่วมกันพิจารณา ปรับแก้ เพอ่ื จัดท�ำความหมายของค�ำศัพทเ์ หล่านนั้ ข้นึ กระทรวงสาธารณสขุ -ซ-
สารบัญ สาร หน้า ค�ำน�ำ -ก- คำ� แนะนำ� การใช้รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาต ิ -ฃ- สารบัญ -ฅ- ❀ รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาตมิ ดี ังนี้ -ฌ- ยากษัยเสน้ 1 ยาแกไ้ ข้ สตู ร 1 28 ยาก�ำลงั ราชสีห์ สูตร 1 2 ยาแก้ไข้ สตู ร 2 29 ยาก�ำลงั ราชสหี ์ สตู ร 2 4 ยาแก้ไขต้ ัวร้อน 30 ยาแก้กลอ่ น 6 ยาแก้ไข้ทับระดูหรอื ระดูทับไข้ สูตร 1 31 ยาแก้กลอ่ นในเด็ก 8 ยาแกไ้ ขท้ ับระดูหรือระดูทบั ไข้ สูตร 2 32 ยาแกก้ ลอ่ นลม 9 ยาแกไ้ ข้ทับระดหู รือระดทู ับไข้ สตู ร 3 34 ยาแก้กลอ่ นลมกลอ่ นแห้ง 10 ยาแกไ้ ข้เพอื่ เสมหะ สูตร 1 35 ยาแกก้ ล่อนลมอัมพาต 11 ยาแก้ไขเ้ พอ่ื เสมหะ สูตร 2 36 ยาแก้กล่อนลมอทุ ธังคมาวาต 12 ยาแกไ้ ขส้ ันนิบาต 37 ยาแก้กล่อน 5 จำ� พวก 13 ยาแกค้ อแหง้ กระหายนำ้� 39 ยาแกก้ ลอ่ นแห้ง 14 ยาแก้คอแหบ 40 ยาแกก้ ลากพรรนยั 15 ยาแก้คุดทะราด 41 ยาแกก้ ลากเหล็ก 16 ยาแก้งูสวดั สูตร 1 42 ยาแก้กษัยกลอ่ น สูตร 1 17 ยาแกง้ สู วัด สตู ร 2 43 ยาแก้กษัยกลอ่ น สตู ร 2 19 ยาแก้ช้ำ� ร่ัว สตู ร 1 44 ยาแกก้ ษัยกลอ่ น สูตร 3 20 ยาแก้ชำ�้ ร่ัว สูตร 2 45 ยาแกก้ ษยั ดาน 21 ยาแก้ซางขุม 46 ยาแก้กษัยเพือ่ เตโชธาต ุ 22 ยาแกซ้ างเพลิง 47 ยาแก้กษยั เลอื ดลม 23 ยาแก้ดากออกในเด็ก 49 ยาแกก้ �ำเดา 24 ยาแก้ตับทรุด 50 ยาแก้กฏุ ฐัง 25 ยาแก้ตาน 51 ยาแกโ้ กฏฐาสยาวาตอติสาร 26 ยาแก้ตานขโมย 53 ยาแกข้ ีเ้ รื้อน 27 ยาแกต้ านซาง 54 -ฌ- รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกเ้ ถาดาน 55 ยาแก้มานหิน สตู ร 2 หน้า ยาแกท้ อ้ งขึ้น 57 ยาแกม้ ตุ ฆาต สตู ร 1 ยาแก้ทอ้ งข้นึ ในเด็ก 58 ยาแก้มตุ ฆาต สตู ร 2 91 ยาแกท้ ้องเสียในเดก็ อ่อน 59 ยาแกร้ ะดูขัด 92 ยาแกท้ กั ขณิ มาน 60 ยาแกร้ �ำมะนาด 94 ยาแกโ้ ทสนั ฑฆาต 63 ยาแกร้ ดิ สีดวงจมกู สตู ร 1 96 ยาแกธ้ าตุระสำ�่ ระสาย 65 ยาแก้ริดสีดวงจมูก สตู ร 2 97 ยาแก้นอนไมห่ ลับ/ยาแกไ้ ข้ผอมเหลือง 66 ยาแก้รดิ สดี วงทวารหนกั สตู ร 1 98 ยาแก้น้ำ� เหลืองเสีย 67 ยาแกร้ ิดสดี วงทวารหนัก สูตร 2 99 ยาแกแ้ น่นในยอดอก 69 ยาแก้ริดสดี วงทวารหนัก สตู ร 3 100 ยาแก้ประจำ� เดือนมาไมป่ รกติ 70 ยาแกร้ ดิ สดี วงทวารหนกั สตู ร 4 101 ยาแก้ประดง 71 ยาแกร้ ดิ สดี วงลำ� คอ สตู ร 1 102 ยาแก้ปวดท้องผสมคนทสี อ 72 ยาแกร้ ดิ สีดวงล�ำคอ สตู ร 2 103 ยาแก้ปวดหลงั 73 ยาแกร้ ิดสดี วงล�ำไส ้ 104 ยาแกป้ ัตฆาต 74 ยาแก้เริมแลงสู วัด 105 ยาแก้แผลในปากและลิน้ 75 ยาแก้เรื้อนกวาง 106 ยาแก้ฝี 76 ยาแกโ้ รคจติ 107 ยาแกฝ้ ีในกระพุ้งแก้มและในปาก สูตร 1 77 ยาแกล้ ม สตู ร 1 107 ยาแก้ฝใี นกระพุ้งแก้มและในปาก สตู ร 2 78 ยาแกล้ ม สูตร 2 108 ยาแกฝ้ ีในคอ 80 ยาแก้ลมกล่อน สตู ร 1 110 ยาแก้ฝีในหู 81 ยาแก้ลมกล่อน สูตร 2 111 ยาแกฝ้ ีมานทรวง 82 ยาแกล้ มกลอ่ นใหจ้ กุ 112 ยาแก้ฝีหัวควำ�่ 83 ยาแกล้ มกษยั 113 ยาแกฝ้ เี อน็ 84 ยาแกล้ มกษยั กล่อน 114 ยาแก้พยาธโิ รคเรื้อน 85 ยาแกล้ มกษัยลูกอัณฑะใหญ่ 115 ยาแกพ้ ิษฝ ี 86 ยาแก้ลมกุจฉสิ วาตอติสาร 116 ยาแกฟ้ กบวมเม่ือยขบ 87 ยาแก้ลมตา่ ง ๆ 117 ยาแกม้ ะเรง็ ไร 88 ยาแกล้ มทนุ ะยกั ษวาโย 118 ยาแก้มานลม 89 ยาแกล้ มปะกงั 120 ยาแก้มานหิน สตู ร 1 90 ยาแก้ลมปตั ฆาต สูตร 1 121 122 123 กระทรวงสาธารณสขุ -ญ-
ยาแกล้ มปัตฆาต สตู ร 2 124 ยาแก้ไอคอแหบแหง้ หน้า ยาแก้ลมพาหรุ วาโย 126 ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาแกล้ มพุทยักษ์ 127 ยาแก้ไอผสมตรีผลา 162 ยาแกล้ มมหาสดมภ ์ 128 ยาแกไ้ อผสมมะขามปอ้ ม 163 ยาแก้ลมมหาสดมภ์และลมอมั พาต 129 ยาแกไ้ อผสมมะนาวดอง 164 ยาแก้ลมวาระยักขะวาโย 130 ยาแก้ไอพน้ื บา้ นอีสาน 165 ยาแก้ลมสรรพวาระจักรโมละ 132 ยาแกไ้ อเพ่อื ลม 166 ยาแกล้ มสนั ดาน สตู ร 1 133 ยาขผ้ี ้งึ กดั แผล แลฝมี ีปลวก 167 ยาแกล้ มสันดาน สูตร 2 134 ยาข้ีผึ้งแกโ้ รคผิวหนงั 168 ยาแกล้ มสุนทรวาต 135 ยาขี้ผ้งึ แดงใส่ฝ ี 169 ยาแก้ลมหทยั วาตะกำ� เรบิ สูตร 1 137 ยาขผ้ี ้ึงใบมะระ 170 ยาแก้ลมหทยั วาตะก�ำเรบิ สตู ร 2 138 ยาเขยี วนอ้ ย 171 ยาแกล้ มออกตามหูและตา 139 ยาเขียวเบญจขนั ธ์ 172 ยาแกล้ มอคั วารนั ตวาโย 140 ยาเขยี วพิกุลทอง 173 ยาแก้ลมอมั พฤกษ ์ 142 ยาเขยี วหอม 174 ยาแกล้ มอัมพฤกษอ์ ัมพาต สูตร 1 143 ยาครรภร์ ักษา 175 ยาแกล้ มอมั พฤกษ์ อัมพาต สูตร 2 145 ยาคนั ธารส 176 ยาแกล้ มอุทธังคมาวาตา 147 ยาคุดทะราด 178 ยาแก้ละอองพระบาท 148 ยาฆ้องไชย 179 ยาแก้วาโยกำ� เริบ 149 ยาจนั ทนล์ ลี า 180 ยาแกส้ นั ทฆาต 151 ยาจนั ทนส์ ามโลก 181 ยาแก้สารพดั ลม 152 ยาจ�ำเริญอาย ุ 182 153 ยาจติ รวาโย 183 ยาแก้เส้นปตั ฆาต 154 ยาชักดากให้หดเขา้ 184 ยาแก้เสียงแหง้ 155 ยาช�ำระโลหติ นำ�้ นม 186 ยาแกห้ ดื 156 ยาชิรนัคคีจร 187 ยาแกอ้ ยไู่ ฟไมไ่ ด ้ 157 ยาชุมนมุ วาโย 188 ยาแกอ้ ทุ รวาตอติสาร 158 ยาดาวดึงษา 189 ยาแก้ไอ สูตร 1 159 ยาตม้ แก้กษัยเส้น 190 ยาแก้ไอ สตู ร 2 160 ยาตม้ แกเ้ หน็บ 193 ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ สตู ร 1 161 ยาตรีผลา 195 ยาแกไ้ อ ขบั เสมหะ สตู ร 2 196 197 -ฎ- รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาตรผี ลาใหญ่ 199 ยาธาตุบรรจบ หน้า ยาตรีหอม 200 ยาธาตอุ บเชย ยาตดั กำ� ลงั ไข้ 202 ยานนทเสน 238 ยาถา่ ยไขพ้ ิษไขก้ าฬ 203 ยานาดธิจร 240 ยาถา่ ยดีเกลอื ฝรง่ั 204 ยานารายณ์ประสิทธิ ์ 241 ยาถา่ ยพยาธิ 206 ยานารายณ์พงั ค่าย 242 ยาถ่ายพยาธพิ รหมกจิ 207 ยาน�้ำมนั แกแ้ ผลเป่อื ย 244 ยาถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในโรคกษยั สตู ร 1 208 ยานำ้� มนั ช�ำระแผล 245 ยาถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในโรคกษยั สตู ร 2 210 ยานำ้� มนั ประสาน 247 ยาถา่ ยลมถา่ ยเสมหะในโรคกษยั สตู ร 3 211 ยาน�้ำมันมหาจกั ร 248 ยาทววิ าตาธคิ ุณ 212 ยาน้�ำมนั สน่นั ไตรภพ 249 ยาทองเน้ืองาม 214 ยาน�้ำมนั สมานแผล สูตร 1 250 ยาทองพนั ชั่ง 216 ยานำ้� มนั สมานแผล สูตร 2 251 ยาทาแก้ฝี สตู ร 1 217 ยาน้�ำมนั สทิ ธิโยคี 253 ยาทาแก้ฝี สูตร 2 218 ยาน�้ำมนั หยอดหู 254 ยาทาแกฝ้ ี สูตร 3 219 ยาบรมไตร 255 220 ยาบำ� รุงธาตเุ จรญิ อาหาร 257 ยาทาแกฝ้ ี สูตร 4 221 ยาบำ� รุงธาตหุ ลังฟ้ืนไข้ 258 ยาทาแก้ฝี สูตร 5 222 ยาบำ� รุงเลือด สตู ร 1 259 ยาทาแกเ้ รือ้ นกวาง 223 ยาบำ� รุงเลือด สูตร 2 260 ยาทาแก้เรื้อนข้นี ก 224 ยาบ�ำรุงเลือด สตู ร 3 261 ยาทาแก้เร้อื นวิลา 225 ยาบ�ำรงุ สตรี 262 ยาทาแก้โรคผิวหนงั 226 ยาบำ� รุงสำ� หรบั บรุ ษุ สตู ร 1 263 ยาทาทอ้ ง สูตร 1 227 ยาบ�ำรุงสำ� หรับบรุ ษุ สตู ร 2 265 ยาทาท้อง สูตร 2 229 ยาบุพประสิทธ ิ 266 ยาทาทอ้ ง สูตร 3 230 ยาเบญจกลู 267 ยาทาทอ้ ง สตู ร 4 231 ยาเบญจขันธ์ 268 ยาทาพระเส้น 232 ยาเบญจธาตุ 269 ยาทิพดารา 234 ยาเบญจอ�ำมฤต 270 ยาทิภาวธุ 235 ยาประคบ 272 ยาธรณสี ันฑะฆาต 237 ยาประคบคลายเส้น 273 ยาธาตเุ ด็ก 274 275 กระทรวงสาธารณสขุ -ฏ-
ยาประสะกะเพรา 276 ยาพระแสงจกั ร หน้า ยาประสะกะเพรานอ้ ย 278 ยาพอกแผลพอกฝี ยาประสะกานพล ู 280 ยาพอกฝี สูตร 1 315 ยาประสะจนั ทนแ์ ดง 282 ยาพอกฝี สตู ร 2 317 ยาประสะเจตพังคี 283 ยาพอกฝี สูตร 3 318 ยาประสะน้�ำนม 285 ยาพัดในล�ำไส ้ 319 ยาประสะน้�ำมะนาว 286 ยาไพสาลี 320 ยาประสะเปราะใหญ ่ 287 ยาไฟประลัยกัลป ์ 321 ยาประสะผลสมอไทย 289 ยาไฟห้ากอง 322 ยาประสะผิวมะกรูด 290 ยามหากะเพรา 324 291 ยามหาก�ำลงั 325 ยาประสะพริกไทย 292 ยามหาจกั รใหญ่ 326 ยาประสะไพล 294 ยามหาไชยวาตะ 328 ยาประสะมะแวง้ 296 ยามหานลิ แทง่ ทอง 329 ยาประสะลม 297 ยามหาวาตาธคิ ณุ 331 ยาประสะว่านนางค�ำ 298 ยามหาวาโย 333 ยาประสะสมอ 299 ยามหาสดมภ ์ 335 ยาปราบชมพทู วปี 301 ยามหาอำ� มฤต 337 ยาปลกู ไฟธาตุ 30๒ ยามันทธาตุ 338 ยาปะโตลาธิคุณ 303 ยารดิ สีดวงทางเดินปสั สาวะ 340 ยาปตั ฆาตใหญ่ 305 ยาริดสดี วงมหากาฬ 342 ยาแปรไข้ 306 ยาลุลม 344 ยาผสมโคคลาน 307 ยาเลือดงาม 345 ยาผสมเถาวัลย์เปรียง 308 ยาวาตาธิจร 347 ยาผสมเพชรสงั ฆาต 309 ยาวาตาประสิทธิ 348 ยาผายโลหติ 310 ยาวาโยสมุฏฐาน 349 ยาแผ้วฟ้า 311 ยาวิรุณนาภี 350 ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร 312 ยาวิสมั พยาใหญ่ 352 ยาพรหมพกั ตร ์ 313 ยาศขุ ไสยาศน์ 353 ยาพระเปน็ เจา้ มงกฎลม 314 ยาศภุ มิตร 355 ยาพระวิลาศ 357 358 -ฐ- รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาสตรีหลังคลอด สูตร 1 359 ยาหอมนอ้ ย หนา้ ยาสตรหี ลงั คลอด สตู ร 2 360 ยาหอมเบญโกฏ ยาสมมิทกมุ ารนอ้ ย 361 ยาหอมอินทจกั ร์ 389 ยาสหศั ธารา 364 ยาหา้ ราก 391 ยาส�ำหรับเด็ก 366 ยาเหลืองปิดสมุทร 393 ยาสทิ ธจิ ร 368 ยาอนนั ตคุณ 396 ยาสมุ กระหมอ่ มเดก็ สตู ร 1 369 ยาอภยั สาล ี 397 370 ยาอมแก้เจ็บคอ เสยี งแหบแห้ง 399 ยาสุมกระหม่อมเด็ก สตู ร 2 371 ยาอัคคนิ ีวคณะ 401 ยาสวุ รรณเกษรา 373 ยาอัคนีจร 402 ยาเสมหะพนิ าศ 374 ยาอศั ฏาธิวรรค 403 ยาแสงหมกึ 376 ยาอายวุ ฒั นะ สูตร 1 405 ยาใสบ่ าดแผลฝกี ระอกั ปากหม ู 377 ยาอายุวฒั นะ สตู ร 2 406 ยาหทยั วาตาธคิ ณุ 378 ยาอ�ำมฤควาที 408 ยาหอมแกล้ มวิงเวียน 380 ยาอ�ำมฤต 410 ยาหอมทิพโอสถ 383 ยาอินทจร 411 ยาหอมเทพจิตร 386 ยาอินทร์ประสทิ ธิ์ 413 ยาหอมนวโกฐ 414 415 ภาคผนวก ภาคผนวก 1 เภสัชวัตถุ 417 ภาคผนวก 2 การเตรยี มตัวยากอ่ นใช้ปรงุ ยา 445 ภาคผนวก 3 วิธกี ารปรงุ ยา 453 ภาคผนวก 4 อภธิ านศพั ท ์ 467 รายชือ่ คณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และคณะท�ำงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง 483 เอกสารอา้ งอิง 503 กระทรวงสาธารณสขุ -ฑ-
รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำ� นวน ๓๒๔ ตำ� รับ
ยากษยั เส้น ทม่ี าของตำ� รับยา สตู รตำ� รบั นี้มที ม่ี าจากเภสัชตำ� รับโรงพยาบาล โรงพยาบาลสงู เนนิ จังหวดั นครราชสมี า เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับท่ีตั้งข้ึนตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [1] สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๒๙ ชนิด รวมปรมิ าณ ๒๓๖ กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ๔๐ กรมั ดปี ล ี ๒๔ กรมั ชะพล ู ๒๐ กรัม ขิง ๑๒ กรมั สะคา้ น ๑๐ กรมั กระชาย ๑๐ กรัม ก�ำลงั ววั เถลงิ ๑๐ กรัม โพคาน ๑๐ กรัม เถาวลั ย์เปรยี ง ๑๐ กรมั พริกไทย (เถา) ๑๐ กรัม ไพล ๑๐ กรมั ม้ากระทบื โรง ๑๐ กรมั แสมสาร ๘ กรมั เจตมลู เพลิงแดง ๖ กรัม การบรู ๔ กรมั กระวาน ๔ กรัม กะทอื ๔ กรมั กานพล ู ๔ กรัม ชะเอมเทศ ๔ กรัม พริกไทยล่อน ๔ กรมั ลูกจันทน์ ๔ กรัม ว่านน้�ำ ๔ กรัม อบเชยเทศ ๒ กรัม โกฐน้ำ� เต้า ๒ กรมั ดอกจันทน ์ ๒ กรัม บวั หลวง ๒ กรัม บนุ นาค ๒ กรัม พิกุล ๒ กรมั มะล ิ ๒ กรมั สารภ ี กระทรวงสาธารณสุข 1
สรรพคณุ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเม่อื ยตามร่างกาย รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 0.75-๑ กรมั กินวันละ ๔ ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั เยน็ และกอ่ นนอน ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชก้ ับหญงิ ตัง้ ครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร และเดก็ อายตุ ่�ำกว่า 12 ปี ขอ้ ควรระวงั - ควรระวงั การใช้ยาในผปู้ ่วยที่แพล้ ะอองเกสรดอกไม้ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิม (anticoagulant) และ ยาตา้ นการจบั ตัวของเกล็ดเลอื ด (antiplatelet) - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตับ ไต เน่อื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พิษได้ อาการไม่พงึ ประสงค ์ แสบรอ้ นยอดอก ข้อมูลเพมิ่ เตมิ - ตัวยาโคคลานตามสูตรต�ำรับในประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ คือ โพคาน ท่ีมีชื่อ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae [1] - ตวั ยาโกฐนำ�้ เตา้ ต้องนึ่งก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.6) เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรือ่ ง บญั ชียาหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 310). ยาก�ำลังราชสีห์ สูตร 1 ชอื่ อืน่ ยาก�ำลังราชสหี ์ ท่ีมาของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ [๑, ๒] “ยาช่อื กำ� ลงั ราชสีห์ เอาผลจันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู เลอื ดแรด สิง่ ละส่วน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชยี ง โกฐจฬุ าลัมพา โกฐหวั บวั เทียนดำ� เทยี นแดง เทยี นขาว เทยี นข้าวเปลือก เทียนตาต๊ักแตน สงิ่ ละ ๒ สว่ น เจตมูลเพลงิ สะค้าน ดีปลี ขิงแหง้ รากชา้ พลู ดอกพกิ ุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบวั หลวง ดอกมะลิ ดอกจำ� ปา ดอกกระดังงา ดอกค�ำ กฤษณา กระล�ำพัก ชะลูด ขอนดอก อบเชยเทศ ชะเอมเทศ จันทน์แดง จันทน์ขาว สง่ิ ละ ๔ ส่วน ฝางเสน ๙ ส่วน ตม้ ตามวธิ ใี หก้ ิน บำ� รงุ โลหิตใหง้ ามบริบูรณว์ เิ ศษนัก ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓๗ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑17 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ๙ สว่ น ฝางเสน ๔ ส่วน กระดงั งา ๔ ส่วน กระลำ� พกั ๔ ส่วน กฤษณา ๔ ส่วน ขอนดอก ๔ ส่วน ขงิ แหง้ 2 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ค�ำไทย ๔ สว่ น จนั ทนข์ าว ๔ ส่วน จันทน์แดง ๔ ส่วน จำ� ปา ๔ ส่วน เจตมูลเพลงิ แดง ๔ ส่วน ชะพลู ๔ สว่ น ชะลูด ๔ สว่ น ชะเอมเทศ ๔ ส่วน ดีปล ี ๔ ส่วน บวั หลวง ๔ ส่วน บนุ นาค ๔ สว่ น พกิ ุล ๔ ส่วน มะลิ ๔ ส่วน สะค้าน ๔ ส่วน สารภ ี ๔ ส่วน อบเชยเทศ ๔ ส่วน โกฐเขมา ๒ ส่วน โกฐจุฬาลมั พา ๒ สว่ น โกฐเชียง ๒ ส่วน โกฐสอ ๒ สว่ น โกฐหัวบวั ๒ ส่วน เทยี นขาว ๒ สว่ น เทียนข้าวเปลอื ก ๒ ส่วน เทียนดำ� ๒ ส่วน เทยี นแดง ๒ สว่ น เทียนตาต๊กั แตน ๒ สว่ น กระวาน ๑ สว่ น กานพล ู ๑ สว่ น ดอกจันทน ์ ๑ ส่วน ลกู จนั ทน์ ๑ ส่วน สรรพคุณ บ�ำรุงโลหิต รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ด่ืมขณะ ยายังอุ่น ยา ๑ หมอ้ ใชต้ ิดต่อกนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ นุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทุกคร้งั กอ่ นใชย้ า กระทรวงสาธารณสขุ 3
ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้กบั ผ้ปู ่วยที่มปี ระวตั แิ พ้เกสรดอกไม้ ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละผูท้ มี่ ีไข้ ขอ้ มูลเพ่มิ เติม ในสูตรต�ำรับนี้เดิมมีตัวยา “เลือดแรด” ซ่ึงเป็นสัตว์วัตถุ แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับ เนอื่ งจากแรดเปน็ สตั วส์ งวนใกลส้ ญู พนั ธ์ุ และเปน็ สตั วท์ อ่ี ยใู่ น “อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ ระหว่างประเทศซ่ึงชนดิ พนั ธุส์ ัตวป์ ่าที่ใกล้สูญพนั ธุ์ (CITES)” เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์ เล่ม ๓. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ;์ ๒๕๕๗. หน้า ๒๔๙. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยากำ� ลงั ราชสหี ์ สตู ร ๒ ชอ่ื อ่ืน ยาก�ำลังราชสีห์ ทีม่ าของตำ� รบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ [๑, ๒] “ยาชื่อก�ำลังราชสีห์ ท่านให้เอา กฤษณา ๑ กะล�ำภัก ๑ ขอนดอก ๑ โกฐสอเทศ ๑ โกฐเชียง ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ โกฐบัว ๑ โกฐก้านพรา้ ว ๑ เทียนดำ� ๑ เทยี นแดง ๑ เทยี นขาว ๑ เทยี นเขา้ เปลือก ๑ เทียนเยาวภานี ๑ ดอกกะดังงา ๑ ดอกจ�ำปา ๑ เกสรบัวขาว ๑ เกสรบุนนาก ๑ เกสรบัวหลวง ๑ เกสรบัวแดง ๑ เกสรบัวขม ๑ เกสรบัวเผ่ือน ๑ เกสรสัตบงกช ๑ อบเชย ๑ สมุลแว้ง ๑ เถาวัลเปรียงแดง ๑ ก�ำลังวัวเถลิง ๑ เถามวกท้ัง ๒ รากหญ้านาง ๑ ตรีกฏุก ๑ ฝางเสน ๑ เลือดแรด ๑ เอาสิ่งละ ๑ บาท ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กานพลู ๑ การะบูร ๑ ส่ิงละ ๒ สลึง ดอกค�ำไทย ๕ ต�ำลึง ท�ำเปนจุณน�้ำดอกไม้เปนกระสายบดท�ำแท่งไว้ ถ้าจะให้ชูก�ำลัง น�ำ้ ตาลกรวดพมิ เสนร�ำหดั ใหก้ ิน ถา้ จะแก้โลหิต แกล้ มแก้เส้น ละลายน�้ำผึ้งพิมเสนร�ำหัดให้กินหายวเิ ศษนักแล” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๓๙ ชนดิ รวมปริมาณ 825 กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ค�ำไทย ๓๐๐ กรมั กฤษณา ๑๕ กรมั กระลำ� พกั ๑๕ กรัม กระดังงา ๑๕ กรมั ก�ำลังววั เถลิง ๑๕ กรัม โกฐกา้ นพร้าว ๑๕ กรมั 4 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตวั ยา ปริมาณตัวยา โกฐเชียง ๑๕ กรมั โกฐบวั ๑๕ กรมั โกฐพงุ ปลา ๑๕ กรมั โกฐสอเทศ ๑๕ กรมั ขอนดอก ๑๕ กรมั ขิงแหง้ ๑๕ กรมั จ�ำปา ๑๕ กรมั ดปี ล ี ๑๕ กรมั เถาวลั ยเ์ ปรยี ง ๑๕ กรมั เทียนขาว ๑๕ กรัม เทียนขา้ วเปลือก ๑๕ กรัม เทยี นด�ำ ๑๕ กรัม เทยี นแดง ๑๕ กรัม เทียนเยาวพาณี ๑๕ กรัม บวั ขม ๑๕ กรัม บวั ขาว ๑๕ กรมั บัวแดง ๑๕ กรัม บวั เผอ่ื น ๑๕ กรัม บวั หลวง ๑๕ กรัม บุนนาค ๑๕ กรัม ฝางเสน ๑๕ กรมั พรกิ ไทย ๑๕ กรมั มวกขาว ๑๕ กรมั มวกแดง ๑๕ กรัม ยา่ นาง ๑๕ กรมั สมลุ แว้ง ๑๕ กรมั สัตบงกช ๑๕ กรมั อบเชย ๑๕ กรัม กานพลู 7.5 กรัม การบูร 7.5 กรัม ดอกจันทน ์ 7.5 กรมั ลูกจันทน ์ 7.5 กรัม กระทรวงสาธารณสุข 5
สรรพคุณ บ�ำรงุ โลหิต บ�ำรงุ รา่ งกาย รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ ๑.๕-๒ กรมั ละลายนำ�้ กระสายยากนิ วนั ละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น กระสายยาทใ่ี ช้ - ถ้าจะใหช้ กู �ำลัง น้ำ� ตาลกรวด พมิ เสน รำ� หดั ให้กนิ - ถา้ จะแก้โลหติ แก้ลม แกเ้ ส้น ละลายน้�ำผ้งึ พมิ เสน รำ� หดั ให้กนิ ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญิงตัง้ ครรภแ์ ละผู้ทม่ี ีไข้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ในสูตรต�ำรับน้ีเดิมมีตัวยา “เลือดแรด” ซ่ึงเป็นสัตว์วัตถุ แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับ เน่ืองจากแรดเป็นสัตว์สงวนใกล้สูญพันธุ์ และเป็นสัตว์ท่ีอยู่ใน “อนุสัญญาว่าด้วย การคา้ ระหวา่ งประเทศซง่ึ ชนิดพันธ์สุ ตั ว์ป่าท่ีใกล้สญู พันธ”ุ์ เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาแกก้ ล่อน ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “๏ ยากล่อน ท่านใหเ้ อา โกฐจฬุ าลัมพา โกฐสอเทศ โกฐหวั บวั เทยี นด�ำ เทียนสตั ตบุษย์ เทียนตาต๊ักแตน เบญจกูลทัง้ ๕ ดองดึง เกลอื สินเธาว์ มหาหงิ ค์ุ ยาดำ� กัญชา วา่ นน�ำ้ ๑ รากช้าพลู หวั อุตพิด ชะเอม หนกั สิ่งละ ๑ บาท พริกไทย เท่ายาท้งั หลาย ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 20 ชนดิ รวมปรมิ าณ 600 กรมั ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา พริกไทย 300 กรมั ชะพลู 30 กรมั กัญชา 15 กรมั เกลือสนิ เธาว์ 15 กรัม โกฐจุฬาลมั พา 15 กรมั โกฐสอเทศ 15 กรัม โกฐหัวบัว 15 กรัม ขิง 15 กรัม 6 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา เจตมูลเพลงิ แดง 15 กรัม ชะเอมเทศ 15 กรมั ดีปลี 15 กรัม ดองดงึ 15 กรมั เทียนด�ำ 15 กรัม เทียนตาต๊กั แตน 15 กรมั เทยี นสตั ตบษุ ย ์ 15 กรมั มหาหิงค ์ุ 15 กรัม สะค้าน 15 กรัม ยาด�ำ 15 กรมั ว่านน�้ำ 15 กรัม อตุ พดิ 15 กรมั สรรพคุณ แกก้ ล่อน รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 1 ชอ้ นชา (5 กรัม) กินวันละ 3 ครงั้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ ผทู้ ่มี ไี ข้ และเด็กอายุตำ่� กว่า ๑๒ ปี ข้อมลู เพ่ิมเตมิ - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับนี้ต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทยตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตัวยากญั ชาต้องคัว่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.4) - ตวั ยาดองดึงต้องนงึ่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตัวยามหาหิงค์ตุ อ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาอุตพิดตอ้ งคว่ั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒57. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและ ตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 7
ยาแก้กล่อนในเด็ก ท่มี าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “๏ ยาเด็กเป็นกลอ่ น เอาหญ้าคา ๑ เปลอื กจกิ นา ๑ แกแล ๑ ฝาง ๑ แก่นขนุนละมุดส่ิงละ ๕ บาท สารสม้ ๑ บาท พริกไทยเท่าอายุ ตม้ กนิ กล่อนเด็กหายแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 7 ชนิด รวมปริมาณ ๓๙๐ กรัม* ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 75 กรมั แกแล 75 กรมั ขนุนละมดุ 75 กรัม จกิ นา 75 กรัม ฝาง 75 กรมั หญ้าคา 15 กรัม สารสม้ จ�ำนวนผลตามอายุผู้ปว่ ย พริกไทย *ไมร่ วมปริมาณพรกิ ไทย สรรพคุณ แก้เดก็ เป็นกล่อน รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 100 มิลลลิ ิตร กินวันละ 3 ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ดม่ื ขณะ ยายงั อนุ่ ยา ๑ หมอ้ ใช้ตดิ ต่อกัน ๕-๗ วนั โดยให้อุน่ นำ้� สมนุ ไพรทกุ ครง้ั ก่อนใช้ยา ข้อมลู เพิม่ เตมิ - อาการเด็กเปน็ กล่อน คล้ายกับอาการของตานโจร - ตวั ยาสารสม้ ต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ ี 314. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑41 ง. หน้า 1. 8 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกก้ ล่อนลม ทีม่ าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยากล่อนลมอัมพฤกษ์ มันให้เจ็บหลังยืดตัวข้ึนมิใคร่ได้ ถ้ากินยานี้มิพักนวดแล ให้เอาหัวบุกทั้ง ๒ กลอย ๑ หวั บอนแดง ๑ กะทอื ๑ เทยี นทัง้ ๕ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ ดีปลี ๑ เปลา้ ทั้ง ๒ กระเทียมสกุ ๑ สหัสคุณเทศ ๑ ยาทั้งน้ีเอาสิ่งละ ๒ ต�ำลึง พริกไทย ๒ ต�ำลึง บอระเพ็ด ๒ ต�ำลึง จ�ำเพาะตัวต�ำด้วยครกเหล็ก ให้ละเอยี ด เอา น้าํ มันงาจอก ๑ น้าํ ผึ้งทะนาน ๑ กวนพอปน้ั ไดก้ ินเท่าลกู พทุ ราหาย ตาํ รานีห้ าค่ามไิ ด้เลย ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 21 ชนิด รวมปรมิ าณ 2,280 กรัม* ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา กระเทียม 120 กรมั กลอย 120 กรมั กะทือ 120 กรัม ดอกจันทน ์ 120 กรมั ดีปลี 120 กรัม เทยี นขาว 120 กรมั เทียนขา้ วเปลอื ก 120 กรมั เทยี นดำ� 120 กรัม เทยี นแดง 120 กรัม เทยี นตาตัก๊ แตน 120 กรมั บอนแดง 120 กรมั บอระเพด็ 120 กรมั บกุ คางคก 120 กรมั บุกรอ 120 กรมั เปลา้ น้อย 120 กรมั เปลา้ ใหญ่ 120 กรัม พริกไทย 120 กรัม ลูกจนั ทน์ 120 กรัม หัสคณุ เทศ 120 กรัม น�้ำผึง้ 1,000 มิลลลิ ติ ร นำ้� มนั งา 50 มลิ ลลิ ติ ร *ไมร่ วมปริมาณนำ้� ผง้ึ และน�ำ้ มนั งา สรรพคณุ แกก้ ล่อนลมอัมพฤกษ์ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ 500 มลิ ลกิ รมั กนิ วันละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ กระทรวงสาธารณสขุ 9
ข้อมลู เพ่ิมเติม - ตัวยากลอยตอ้ งควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.3) - ตวั ยาบุกรอต้องควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) - ตัวยาบุกคางคกตอ้ งควั่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.19) - ตวั ยาหัสคุณเทศตอ้ งค่ัวก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 339. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาแกก้ ลอ่ นลมกล่อนแห้ง ทมี่ าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกก้ ลอ่ นลมจกุ เสยี ดแลกลอ่ นแหง้ ทา่ นใหเ้ อา พรกิ ไทย ๑ ดปี ลี ๑ ขงิ ๑ กระเทยี ม ๑ เกลอื สนิ เธาว์ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐพุงปลา ๑ เทียนด�ำ ๑ กานพลู ๑ ใบขีเ้ หล็ก ๑ เอาเสมอภาคตำ� ผงละลายเหล้าก็ได้ น้าํ ส้มสายชกู ็ได้ แกก้ ล่อนลม กลอ่ นแหง้ หายแล ๚” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 10 ชนดิ รวมปรมิ าณ 10 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระเทียม 1 ส่วน กานพลู 1 สว่ น เกลือสินเธาว์ 1 สว่ น โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐพงุ ปลา 1 สว่ น ขิง 1 ส่วน ข้เี หลก็ (ใบ) 1 สว่ น ดีปลี 1 สว่ น เทียนด�ำ 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน สรรพคณุ แกก้ ล่อนลมจกุ เสยี ดและกล่อนแห้ง รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 1 ชอ้ นชา (5 กรมั ) ละลายสุราหรอื นำ�้ สม้ สายชกู นิ วนั ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ขอ้ หา้ มใช ้ กรณีละลายสรุ า ห้ามใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเดก็ อายุต�ำ่ กวา่ 12 ปี ค�ำเตือน กรณลี ะลายสุรา ระมัดระวังการใช้ในผปู้ ่วยโรคตับและโรคพษิ สุราเร้ือรงั 10 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ มลู เพม่ิ เติม ตัวยาขเี้ หลก็ ต้องนง่ึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.7) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 278. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. ยาแก้กล่อนลมอัมพาต ทีม่ าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแก้กล่อนแลลมกล่อนแลอัมพาต ให้เจ็บปวด ยืนตัวมิขึ้นน้ีกินยานี้เถิด อย่าพ่ึงนวดเร็ว ให้เอา บุกรอ ๑ หวั บอนแดง ๑ หวั กะทอื ๑ ไพล ๑ เทียน ๑ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ ดีปลี ๑ เปล้าทั้ง ๒ เสมอภาค สิง่ ละ ๑ ช่งั จุกกก ๑ หสั คณุ ๒ ต�ำลงึ พรกิ ๓ ชง่ั บอระเพ็ด 2 ตำ� ลึง จ�ำเพาะต�ำเป็นผง จงึ เอา นำ�้ มันจอก ๑ น�้ำผึ้งทะนาน ๑ กวนให้ฝื่นดันแล้วจึงเอายาฝี ๑ ใส่ลงก้อนไฟพับกินปั้นเท่าลูกพุทรา จึงกินเถิดดีนักแล ๏ ต�ำรา หาคา่ มิไดเ้ ลยเสยี เงนิ ๓ ต�ำลึง จงึ ได้ต�ำรานี้มาไว้แล” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 20 ชนิด รวมปรมิ าณ 1,704 กรมั * ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา พรกิ ไทย 360 กรัม กะทือ 120 กรัม จุกกก (จุกกระเทยี ม) 120 กรมั ดอกจนั ทน ์ 120 กรมั ดปี ลี 120 กรมั เทียนขาว 120 กรัม บอนแดง 120 กรมั บุกรอ 120 กรมั เปล้าน้อย 120 กรัม เปลา้ ใหญ ่ 120 กรมั ไพล 120 กรมั ลกู จันทน์ 120 กรัม บอระเพ็ด 12 กรัม หสั คณุ เทศ 12 กรัม น�ำ้ ผึง้ 100 มลิ ลิลิตร นำ้� มนั ยางนา** 5 มลิ ลลิ ิตร * ไม่รวมปรมิ าณนำ�้ ผง้ึ และน�ำ้ มันยางนา ** ต�ำรบั นใ้ี ช้น้�ำมนั ยางนาแทนน�้ำมันดบิ กระทรวงสาธารณสขุ 11
สรรพคุณ แก้กลอ่ น ลมกล่อน และอัมพาต รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 1 กรมั กนิ วนั ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ใหก้ ินตดิ ตอ่ กนั อยา่ งน้อย ๓ เดอื น ข้อมูลเพิม่ เตมิ - เนอื่ งจากปริมาณรวมของสมนุ ไพรข้างต้นมปี ริมาณที่มากเกินไป จงึ ลดทอนปริมาณ ของสมนุ ไพรแตล่ ะชนดิ ลงมา 10 เทา่ - การใสล่ งกอ้ นไฟทรี่ ะบใุ นยาตำ� รบั น้ี หมายถงึ การนำ� นำ้� มนั ดบิ และนำ้� ผงึ้ กวนใหเ้ ขา้ กนั จากนั้นนำ� ผงยาที่บดผสมกันแลว้ มาใสภ่ ายหลัง - ตัวยาบุกรอตอ้ งควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตัวยาหสั คุณเทศต้องคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 264. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. ยาแกก้ ล่อนลมอุทธงั คมาวาต ท ีม่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาแก้กล่อน แก้ลมอุทธังคะวาต ภาคหนึ่ง กระเทียม ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ พริกไทย ๑ เปราะหอม ๑ ว่านน�ำ้ 1 เจตมลู เพลิง ๑ ใบขี้เหล็ก ๑ ยาท้งั นีส้ ่งิ ละ ๑ ตำ� ลึง สารสม้ ๑ บาท เกลือ ๑ บาท ๒ สลงึ แก้กลอ่ นลงฝัก แกล้ มอุทธงั คะวาต ให้เสียดแทงในทรวงอกบำ� รุงธาตุ แก้โรครำ� เพร�ำพดั แก้คณุ หายแล ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 10 ชนดิ รวมปริมาณ 517.50 กรมั ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 60 กรัม กระเทยี ม 60 กรมั ขิง 60 กรัม ขเี้ หลก็ (ใบ) 60 กรัม เจตมูลเพลิงแดง 60 กรมั ดีปล ี 60 กรัม เปราะหอม 60 กรมั พริกไทย 60 กรมั ว่านน้�ำ เกลอื 22.50 กรัม สารส้ม 15 กรัม 12 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคณุ แก้กลอ่ นลงฝัก แก้ลมอทุ ธงั ควาต ใหเ้ สียดแทงในทรวงอก บ�ำรุงธาตุ แก้โรครำ� เพรำ� พดั รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 3 ช้อนโต๊ะ (45 มิลลิลิตร) ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน้�ำสมุนไพร ทุกคร้งั ก่อนใช้ยา ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ หญงิ ให้นมบุตร ผ้ทู มี่ ไี ข้ และเดก็ อายุตำ่� กว่า 12 ปี ข้อมลู เพิ่มเติม - สารสม้ ทีใ่ ชใ้ นต�ำรับนีไ้ ม่ตอ้ งสะตุ - ตวั ยาเกลือต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.5) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 236. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. ยาแก้กลอ่ น 5 จำ� พวก ท่ีมาของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยากล่อน ๕ จ�ำพวก เอา บอระเพ็ด ๕ ต�ำลึง ดีปลี ๕ บาท สะค้าน ๑ บาท เจตมูลแดง ๓ บาท ลกู สลอด ๕ สลงึ ละลายน�้ำผึง้ กนิ เท่าลกู นุน่ ทวีขน้ึ ไปแล ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 453.75 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา บอระเพ็ด 300 กรัม ดีปลี 75 กรมั เจตมลู เพลิงแดง 45 กรัม สลอด 18.75 กรัม สะคา้ น 15 กรมั สรรพคุณ แกก้ ลอ่ น 5 จ�ำพวก รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 250 มลิ ลกิ รัม กินวันละ 1 คร้ัง ก่อนนอน อาจปรบั ปรมิ าณยาตามธาตุหนักเบา ของผู้ปว่ ยแตล่ ะราย ข้อมลู เพ่ิมเติม - ยาตำ� รบั นีเ้ คยมผี ใู้ ช้แกก้ ลอ่ นดนิ พบวา่ ไดผ้ ลดี - ตัวยาสลอดตอ้ งฆ่าฤทธ์ิก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.36) กระทรวงสาธารณสขุ 13
เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒69. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. ยาแกก้ ล่อนแหง้ ทีม่ าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “แก้กลอ่ นแหง้ และพรรดกึ ผอมแห้ง เอา บอระเพด็ ๑ เจตมูลเพลิง ๑ พรกิ ๑ ขงิ ๑ ลูกสลอด ๑ ตำ� เปน็ ผงละลายนำ�้ ผงึ้ กนิ เท่าลูกฝา้ ยแล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ขิง 1 สว่ น เจตมลู เพลงิ แดง 1 ส่วน บอระเพ็ด 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน สลอด 1 ส่วน สรรพคณุ แก้กลอ่ นแห้งและพรรดึกผอมแห้ง รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ ๒๕๐ มลิ ลิกรัม กนิ วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน อาจปรบั ปริมาณยาตามธาตหุ นักเบา ของผูป้ ่วยแตล่ ะรายได้ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงตัง้ ครรภ์ ผู้ทม่ี ไี ข้ และเดก็ ทีอ่ ายุต�ำ่ กว่า ๑๒ ปี ข้อมูลเพมิ่ เตมิ ตวั ยาสลอดตอ้ งฆา่ ฤทธ์กิ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.36) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 264. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-2. 14 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้กลากพรรนัย ท่ีมาของตำ� รับยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) [1, 2] “๏ ในล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะกิลาสะโรคคือกลากน้ันต่อไป ตามอาจารย์ ทา่ นกลา่ วไวใ้ นวธิ กี ฏุ ฐโรคแจง้ วติ ถารอยใู่ นบน้ั ปลายโนน้ ตา่ ง ๆ จะคดั เอามาแจง้ ไวใ้ นทน่ี แ้ี ต่ ๔ จำ� พวก พอบคุ คลทง้ั หลาย พึงรู้โดยสังเขปเป็นแต่ละน้อย คือกลากพรรนัยจ�ำพวก ๑ คือกลากเหล็กจ�ำพวก ๑ คือเมถุน กลากจ�ำพวก ๑ คอื กลากโอจ่ ำ� พวก ๑ อนั วา่ ลกั ษณะกลากทง้ั ๔ จำ� พวก ซง่ึ กลา่ วมานบ้ี งั เกดิ เพอ่ื กรรมลามกพบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ เหตุ แลจะไดถ้ ึง ซ่ึงอันตรายแก่ชีวิตนั้นมิได้ โรคอันนี้เกิดแต่ผิวหนังตามอาจารย์กล่าวไว้ดังน้ี ฯ ในที่น้ีจะว่าแต่กลากพรรนัยนั้น ก่อนเป็นปฐม เมื่อจะบังเกิดนั้นเป็นวงแล้วเป็นเม็ดขึ้นกลางวงแล้วก็ลามต่อ ๆ กันออกไปเต็มทั้งกายเป็นขนนุงให้คัน เปน็ ก�ำลงั ถ้าแก่เข้า รกั ษามหิ ายกก็ ลายเปน็ วงขดติด ๆ กนั ไปกม็ ี บางทีเป็นแนว ๆ ดุจดงั ไม้เรียวตีกม็ ี ถา้ จะรกั ษา เอาจณุ ขีเ้ หล็ก รากทองพันชงั่ รากเจตมลู เพลงิ มะขามเปยี ก กระเทยี มทอกเอาเสมอภาค บดทา แกก้ ลิ าสะโรค คือ โรคกลากพรรนยั นั้นหายดีนัก ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา กระเทียมทอก 1 สว่ น เจตมลู เพลิงแดง 1 สว่ น ทองพันชั่ง (ราก) 1 สว่ น จุณข้เี หล็ก 1 ส่วน มะขาม (เนื้อในฝกั ) 1 สว่ น สรรพคุณ แก้กลาก รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ผสมน�้ำต้มสกุ หรอื น�้ำมะขามเปยี กทาแผลวันละ 2 ครัง้ เชา้ และเย็น เป็นยาใชภ้ ายนอก ห้ามกนิ ขอ้ ห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นแผลตดิ เช้อื แผลเนา่ เป่ือยเร้ือรงั ข้อมูลเพิ่มเติม - น�ำเน้อื มะขามไปย่างใหพ้ อแห้ง แล้วบดเปน็ ผง - การเตรียมตัวยาจณุ ขีเ้ หล็กกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.10) เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เลม่ 2. พิมพค์ รง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสขุ 15
ยาแก้กลากเหล็ก ที่มาของตำ� รบั ยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “ในล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะกิลาสะโรค คือกลากเหล็กน้ัน เป็นค�ำรบ ๒ เมื่อจะบังเกิดน้ันเกิดแต่ผิวหนังก�ำเริบก็ดี ผิวหนังหย่อนก็ดี ผิวหนังพิการก็ดีกล่าวคือ กองปัถวีธาตุให้เป็นเหตุ กระท�ำให้คันผิวเน้ือ และให้ผิวเนื้อน้ันชาสากไป แล้วก็ผุดข้ึนมาเป็นเม็ดรี เม็ดยาว เม็ดกลม แลเป็นวง มีผิวอันด�ำ ดุจผิวเหล็ก กระท�ำให้คันเป็นก�ำลัง ยิ่งเกายิ่งคัน ครั้นหายคันแล้ว กระท�ำให้แสบร้อน ต่อเสโทออก จึงคันอีกเล่า ถ้าบุคคลผู้ใดเปน็ ดงั กลา่ วมาน้ี โลกสมมตุ วิ ่าเปน็ ชาตกิ รรมลามกโรคว่าโรคเกดิ แตก่ ายอันไปบม่ ิได้บริสุทธิ์ โดยอธิบาย แห่งอาจารย์วา่ ไว้ดงั นี้ ฯ ถา้ แพทยจ์ ะรกั ษาใหก้ ระท�ำศรีรงั ษะวถิ เี สียกอ่ น คือกระท�ำใหก้ ายแลเครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคนัน้ ให้สุทธิแล้วจึงแต่งยากินยาทารักษาต่อไปโดยนัยดังน้ี ฯ ยากินภายใน เอาเบญจข้ีเหล็กต้น เบญจเถาวัลย์เหล็ก เบญจพญามือเหล็ก เบญจชุมเหด็ เทศ สิง่ ละ ๒ ต�ำลงึ ๒ บาท ยาขา้ วเย็นทั้งสอง หวั ยั้ง กำ� มะถนั หนอนตายหยาก สง่ิ ละ ๕ ต�ำลึง เอาสรุ าเปน็ กระสายต้มตามวธิ ใี ห้กนิ แกก้ ิลาสะโรค คือโรคกลากเหล็กน้นั หายวิเศษนัก ฯ ยาขนานน้ี ได้ใชม้ ามากแลว้ อยา่ สนเทห่ ์เลย ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 9 ชนิด รวมปรมิ าณ 2,100 กรัม ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา กำ� มะถันเหลือง 300 กรมั ขา้ วเยน็ ใต ้ 300 กรมั ข้าวเยน็ เหนอื 300 กรัม ยง้ั 300 กรมั หนอนตายหยาก 300 กรมั ขี้เหลก็ (ทั้ง 5) 150 กรมั ชมุ เหด็ เทศ (ท้ัง 5) 150 กรัม เถาวัลย์เหล็ก (ทงั้ 5) 150 กรัม พญามือเหล็ก (ทั้ง 5) 150 กรมั สรรพคณุ แก้กลากเหล็ก (ผวิ หนังเป็นปื้นสดี ำ� มอี าการแสบร้อน คันตามผิวหนงั ผิวสากชา) รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.1) วธิ ปี รงุ ยา นำ� ตัวยาคลกุ เคล้ากับสรุ าก่อน แลว้ จึงนำ� ไปต้มตามวธิ ี ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 50-150 มิลลิลติ ร ดม่ื วันละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ใหด้ ม่ื ตามอาการ ของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ด่ืมขณะยายังอ่นุ ยา 1 หม้อ ใชต้ ิดต่อกัน 5-7 วัน โดยให้ อ่นุ น�้ำสมนุ ไพรทกุ คร้ังกอ่ นใชย้ า คำ� เตอื น ควรระวงั การใชใ้ นผู้ปว่ ยโรคหัวใจ 16 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อมูลเพม่ิ เตมิ - ตัวยาก�ำมะถนั เหลือง ควรใชใ้ นรปู แบบกอ้ น - การใช้ยาต�ำรับน้ี ให้ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยาอะม็อกซีซิลลิน (amoxicillin) - ตวั ยาหวั ยง้ั ต้องคว่ั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.45) เอกสารอ้างอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เลม่ 2. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาแกก้ ษัยกล่อน สตู ร 1 ที่มาของต�ำรับยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 [1 ,2] “ถ้าจะแกท้ ่านให้เอา สคา้ น ๑ วา่ นนำ้� ๑ ผกั แพวแดง ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑ โกฐสอ ๑ โกฐพุงปลา โกฐจุลาล�ำพา ๑ กนั ชา ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดปี ลี ๑ แก่นแสมทเล ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ หวั อตุ พิด ๑ หัวดองดงึ ๑ ยาทั้งนี้เสอมภาค เอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ต�ำเปนผงละลายน้�ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง กินยานี้ ๗ วันแล้วจึงกินยา ทเุ ลาเสยี ครงั้ ๑ แล้วจึงทำ� ยาขนานนก้ี นิ ตอ่ ไปเถิด” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 16 ชนิด รวมปรมิ าณ 30 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 15 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น กญั ชา 1 ส่วน โกฐจุฬาลัมพา 1 ส่วน โกฐพุงปลา 1 ส่วน โกฐสอ 1 ส่วน เจตมูลเพลงิ แดง 1 สว่ น ชะเอมเทศ 1 ส่วน ดองดงึ 1 ส่วน ดีปลี 1 ส่วน ผกั แพวแดง 1 สว่ น มหาหิงคุ์ 1 สว่ น ยาดำ� กระทรวงสาธารณสุข 17
ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ว่านน้ำ� 1 ส่วน สะค้าน 1 ส่วน แสมทะเล 1 สว่ น อุตพิด 1 สว่ น สรรพคณุ แก้กษยั กล่อน รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 0.9-1.5 กรมั กนิ วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ต้งั ครรภ์ ผู้ท่มี ไี ข้ และเด็กอายุตำ่� กวา่ 12 ปี คำ� เตือน - ควรระมดั ระวงั การใชใ้ นผสู้ งู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลือด - ควรระวงั การใชร้ ว่ มกบั ยาเฟนโิ ทอิน (phenytoin), โพรพาโนลอล (propranolol), ทีโอฟิลลีน (theophylline) และไรแฟมพิซิน (rifampicin) เนื่องจากต�ำรับน้ี มพี ริกไทยในปรมิ าณสูง ข้อมูลเพ่ิมเติม - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมการใช ้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทยตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอ่ื นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตัวยากัญชาต้องค่วั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.4) - ตัวยาดองดึงต้องนึ่งกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตวั ยามหาหงิ คุ์ต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยายาด�ำตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตวั ยาอตุ พดิ ตอ้ งคัว่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอ้างอิง 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. 18 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกก้ ษัยกลอ่ น สตู ร ๒ ทม่ี าของตำ� รบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 [1, 2] “เอาผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ สมุลแว้ง ๑ เทียนด�ำ ๑ ผักแพวแดง ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ ดีปลี ๑ ขิงแห้ง ๑ กะเทียม ๑ หัวบุก ๑ หัวกลอย ๑ หัวอุตพิด ๑ กระตาดท้ัง ๒ ยาทั้งน้ี เอาสิง่ ละบาท เอาพริกไทย ๕ ตำ� ลึง การะบูร ๒ บาท ตำ� ผงละลายนำ้� ผึง้ ก็ได้ น้ำ� ร้อนก็ได้ นำ�้ สม้ สายชูกไ็ ด้ กินหายแล” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 18 ชนดิ รวมปรมิ าณ 570 กรัม ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา พริกไทย 300 กรัม การบรู 30 กรมั กระดาดขาว 15 กรมั กระดาดแดง 15 กรัม กระเทียม 15 กรมั กระวาน 15 กรัม กลอย 15 กรัม กานพลู 15 กรัม ขิงแห้ง 15 กรมั เจตมลู เพลงิ แดง 15 กรมั ดอกจันทน ์ 15 กรมั ดปี ลี 15 กรัม เทยี นด�ำ 15 กรัม บกุ 15 กรัม ผกั แพวแดง 15 กรมั ลูกจันทน ์ 15 กรัม สมุลแว้ง 15 กรมั อุตพิด 15 กรัม สรรพคุณ แก้กษัยกลอ่ น รูปแบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครัง้ ละ 0.9-1.5 กรมั กนิ วนั ละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ หา้ มใช้ หา้ มใช้ในหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผ้ทู ม่ี ีไข้ และเด็กอายุต�่ำกวา่ 12 ปี กระทรวงสาธารณสขุ 19
คำ� เตือน - ควรระมดั ระวังการใชใ้ นผสู้ งู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนื่องจากต�ำรบั นมี้ ีพริกไทยในปรมิ าณสูง ข้อมูลเพ่มิ เตมิ - ตัวยากระดาดขาวตอ้ งปิง้ ไฟหรอื น่งึ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.1) - ตัวยากระดาดแดงทตี่ ้องป้ิงไฟหรอื นึ่งก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.2) - ตัวยากลอยต้องค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) - ตวั ยาบุกต้องค่วั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.17) - ตัวยาอุตพดิ ต้องค่วั ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอ้างองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒6. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาแก้กษัยกลอ่ น สูตร 3 ที่มาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้กระษัยกล่อนมนั ให้เสยี งแหบแสบไส้ ทา่ นให้เอา สมอเทศ ๑ บาท สมอไทย ๑ บาท สมอพิเภก ๑ บาท สมอรองแรง ๒ สลงึ บอระเพด็ ๑ บาท สะค้าน ๑ บาท ตาํ เปน็ ผงละลายนํา้ ผ้ึงกินแก้กระษยั กลอ่ นดนี ักแล ยาตาอินโสให้ท่านมิมีจึงให้แก่ท่านท่องไว้ ขอให้เป็นกรรมประสิทธิแก่ข้าเถิด๚ ได้มาแต่ปีมะเมีย วันจันทร์ แรม ๙ ค่ำ� เดอื น ๓ เพลาเช้า” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 6 ชนิด รวมปริมาณ 82.5 กรมั ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา บอระเพด็ 15 กรัม สมอเทศ (เน้ือผล) 15 กรัม สมอไทย (เนอ้ื ผล) 15 กรมั สมอพิเภก (เนือ้ ผล) 15 กรมั สะค้าน 15 กรัม สมอรอ่ งแรง่ 7.5 กรมั 20 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แกก้ ษยั กลอ่ น รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 500 มิลลิกรัม กนิ วนั ละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ การเตรียมเนื้อสมอทุกชนิดควรใช้วิธีผึ่งแดดหรือนึ่ง เพ่ือให้เน้ือหลุดล่อนจากเมล็ด ได้ง่าย เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 239. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หน้า ๑-3. ยาแก้กษยั ดาน ทมี่ าของต�ำรับยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 [1, 2] “ขนานหนึ่งเอา ตรีกฏกุ มหาหงิ คุ์ ๑ เจตพังคี ๑ สิง่ ละ ๑ สว่ น สมอเทศ ๑ สมอไทย ๑ สง่ิ ละ ๓ ส่วน เทยี นดำ� ๔ ส่วน โกฐน้�ำเตา้ ๖ สว่ น ต�ำเปนผงบดละลายน้�ำมะขามเปยี กกนิ หนัก ๑ สลึง แก้ไกษยดานหายวเิ ศษนกั ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 9 ชนิด รวมปรมิ าณ 21 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา โกฐน้�ำเตา้ 6 ส่วน เทียนด�ำ 4 ส่วน สมอเทศ (เนือ้ ผล) 3 สว่ น สมอไทย (เนื้อผล) 3 ส่วน ขงิ แหง้ 1 ส่วน เจตพงั คี 1 ส่วน ดปี ลี 1 สว่ น พริกไทย 1 ส่วน มหาหิงค ุ์ 1 สว่ น สรรพคณุ เปน็ ยาถา่ ย ขับลม ส�ำหรบั ผู้ป่วยโรคกษัยดาน รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 3.75 กรัม ละลายน้�ำมะขามเปยี กกินวนั ละ ๑ ครั้ง กอ่ นนอน กระทรวงสาธารณสุข 21
ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ - ตัวยาโกฐนำ้� เตา้ ตอ้ งนึง่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๖) - ตัวยามหาหิงค์ุตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาแกก้ ษัยเพอื่ เตโชธาตุ ที่มาของต�ำรบั ยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 [๑, ๒] “ไกษยอันหน่ึงมันเกิดเพ่ือเตโชธาตุอันช่ือว่าสันตัปปัคคี มันให้เย็นทั่วตัว แต่ว่าให้ร้อนภายในเปนกำ� ลัง มันต้ังขึ้นใต้สดือ ๓ นิ้ว มันให้จุกแดกมันให้ล่ันขึ้นลั่นลง ให้เสียดสีข้างจะพลิกตัวไปมามิได้ ประดุจเปนปัตฆาฏ ใหเ้ จบ็ ใหป้ วดสสี ะให้วงิ เวยี นหน้าตา ถ้าจะแก้ใหเ้ อา ตรผี ลา ๑ ดองดงึ ๑ เทียนทง้ั ๕ เอาส่ิงละ ๑ บาท มหาหงิ ค์ุ ๒ สลงึ กะเทยี มเอาท้งั หวั รากใบเท่ายาทง้ั หลาย ต�ำเปนผงละลายนำ�้ ผึ้งกนิ หาย” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 11 ชนิด รวมปริมาณ 285 กรมั ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม (ทง้ั ตน้ ) 142.5 กรมั ดองดงึ เทยี นขาว 15 กรัม เทียนขา้ วเปลือก 15 กรัม เทยี นด�ำ 15 กรมั เทยี นแดง 15 กรัม เทียนตาต๊กั แตน 15 กรัม มะขามป้อม (เน้อื ผล) 15 กรัม สมอไทย (เนอ้ื ผล) 15 กรัม สมอพเิ ภก (เนื้อผล) 15 กรมั มหาหิงค ุ์ 15 กรมั 7.5 กรัม สรรพคุณ แก้กษัยอันเกิดจากเตโชธาตุ (สันตัปปัคคี) พิการ ท่ีท�ำให้มีอาการจุกเสียด ปวดศีรษะ วิงเวียน รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ 0.9-1.5 กรมั กนิ วันละ 2 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น 22 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อมูลเพ่ิมเติม - ตัวยาดองดึงตอ้ งนง่ึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) - ตวั ยามหาหิงค์ตุ ้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒6. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาแก้กษัยเลือดลม ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแก้กระษัยเลอื ดลม ริดสีดวงตา่ ง ๆ ไดท้ ำ� แล้ววเิ ศษนกั เวน้ เสยี แตก่ รรมใหผ้ ล เอา ยาดำ� ๑ บาท ไพล ๑ บาท เกลือ ๑ บาท ใบข้ีเหลก็ ๑ บาท ใบมะขาม ๑ บาท ผวิ มะกรูด ๑ บาท ต�ำเป็นยาสดกนิ แกส้ ารพดั โรค มีตานทรางเปน็ ต้นต่าง ๆ วิเศษแล ๚๛” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 6 ชนดิ รวมปริมาณ 90 กรัม ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 15 กรมั เกลือ 15 กรัม ข้เี หล็ก (ใบ) 15 กรมั ไพล 15 กรมั มะกรดู 15 กรัม มะขาม 15 กรัม ยาด�ำ สรรพคณุ แกก้ ษยั เลอื ด กษยั ลม รูปแบบยา ยาสด (ดูภาคผนวก 3.10) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ ๑ ช้อนโต๊ะ (๑๕ กรัม) กินวันละ ๒ ครั้ง หลังอาหาร เช้าและเย็น หรือ เม่อื มอี าการ ขอ้ หา้ มใช ้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับและไต หญิงต้ังครรภ์ ผู้มีไข้ และเด็ก อายตุ �ำ่ กว่า ๑๒ ปี ค�ำเตือน ควรระวงั การใช้ยาในผูป้ ว่ ยทมี่ ภี าวะความดนั โลหิตสูงและผู้สูงอาย ุ ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ - ตำ� รบั ยาน้ีมมี ะขามและไพลซ่งึ มีฤทธิ์ร้อนสามารถคุมฤทธ์ิของขี้เหล็กในต�ำรับได้ - ตวั ยาขีเ้ หลก็ ต้องนึ่งก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.7) - ตัวยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) กระทรวงสาธารณสขุ 23
เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 221. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. ยาแกก้ �ำเดา ทมี่ าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ขนานหนึ่งแก้ก�ำเดาให้ตามัวมืด เวียนศีรษะเจ็บกระบอกตาลมระคนก�ำเดา เอามะกรูด ๓ ลูก ไพล ๑ ต�ำลงึ ตม้ ให้สกุ เอาดินประสิวขาว ๑ บาท หวั หอม ๑ ตำ� ลึง ตำ� เคล้าสม้ มะขามสุกสมุ ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 470 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 235 กรัม มะขามเปยี ก 100 กรมั มะกรดู (ผล) 60 กรมั ไพล 60 กรมั หอม 15 กรมั ดินประสวิ ขาว สรรพคุณ แก้ลมก�ำเดา ให้ตามวั มืด เวียนศรี ษะเจ็บกระบอกตาลมระคนก�ำเดา รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) วธิ ีปรุงยา น�ำมะกรูดและไพลมาต้มให้สุก ส่วนดินประสิวขาวและหัวหอมน�ำมาต�ำพอหยาบ จากนน้ั นำ� ยาทงั้ หมดมาเคลา้ กับมะขามเปยี ก ขนาดและวธิ ีการใช้ พอกบริเวณศรี ษะเมอ่ื มอี าการ เปน็ ยาใช้ภายนอก หา้ มกนิ ระวังอยา่ ให้เขา้ ตา ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใชบ้ รเิ วณผวิ หนงั ที่มบี าดแผลหรอื แผลเปดิ ข้อมลู เพิ่มเติม - ดินประสิวขาวท่ีขายตามร้านขายยา ส่วนมากท่ีมีสีเหลือง ๆ ด�ำ ๆ แสดงว่า ยังไมส่ ะอาดพอ ตอ้ งตม้ กรอง และตกผลึกอีกหลาย ๆ ครง้ั จนได้สขี าวสะอาด - ตัวยาดินประสวิ ต้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.14) เอกสารอ้างอิง ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หน้า ๑-4. 24 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้กุฏฐัง ท่มี าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยากลนั่ ตำ� รับ 2 ๏ ขนานหนง่ึ ทา่ นให้เอา หวั ลิงท้งั 5 แกน่ ขี้เหล็ก 1 ชุมเหด็ โทนต้น 1 หนอนตาย หยาก 1 ยาท้ังน้ีเอาสิ่งละ 5 ต�ำลึง แล้วกลั่นเป็นขี้ท้ังทา ทั้งกินก็ได้แล ๚ แก้กุฏฐัง แก้มะเร็งไส้ แก้ขี้เรื้อนกวาง ข้เี รือ้ นเกล้ือนกลาก หายหมดแล ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 4 ชนดิ รวมปริมาณ 1,200 กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ขเ้ี หล็ก 300 กรัม ชุมเห็ดไทย (ทงั้ ตน้ ) 300 กรัม หนอนตายหยาก 300 กรมั หัวลิง 300 กรัม สรรพคณุ แก้กุฏฐงั เรอื้ นกวาง กลากเกล้ือน รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) วิธปี รุงยา ยาทั้งหมดบดให้ละเอียด เติมน�้ำ แล้วน�ำไปเค่ียวด้วยไฟอ่อนให้ตัวยาเป็นยางเหนียว แล้วปั้นเปน็ ลกู กลอน ขนาดและวิธีการใช้ ยาทา ละลายสรุ าทาบรเิ วณทีเ่ ป็นวนั ละ 2 คร้งั เชา้ และเยน็ ยากิน ครั้งละ 1 กรัม กินวนั ละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ขอ้ ควรระวัง ตัวยาในต�ำรับนี้มีรสเบื่อเมา จึงควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต้การควบคุมดูแล ของแพทย์แผนไทย ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาชุมเห็ดโทนในยาต�ำรับน้ี หมายถึง ชุมเห็ดไทย (Senna tora L.) ท่ีขึ้น เปน็ ต้นเด่ยี ว ๆ (ไม่ใช่ชมุ เห็ดท่ขี ้นึ เปน็ กลมุ่ ) - ยากลั่นต�ำรับนี้เป็นรูปแบบยาของหมอพ้ืนบ้านอีสาน เตรียมโดยการสกัดตัวยา ดว้ ยการตม้ น้�ำ แลว้ เคยี่ วจนเป็นยางเหนียว วิธกี ารเตรียมยาแบบนี้ เรียก กลั่นเปน็ ขี้ - ตัวยาหวั ลงิ ให้ใช้ได้ทกุ สว่ น (ทง้ั 5) ยกเวน้ เมลด็ เนือ่ งจากมีพิษ ไมม่ วี ิธีเตรียมยา เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 278. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 25
ยาแก้โกฏฐาสยาวาตอติสาร ทม่ี าของต�ำรับยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ [1, 2] “จะกล่าวลกั ษณะโกฎฐาสยาวาตอตสิ าร อนั เป็นปัจจบุ นั กรรมน้ันเป็นค�ำรบ ๔ เกิดตามล�ำไส้ ลมจ�ำพวกนี้ เล้ียงสัตว์ทั้งหลายถ้าพัดมิได้ตลอดเมื่อใด ย่อมให้ลงไป บริโภคสิ่งอันใด ก็เป็นส่ิงอันน้ันออกมา สมมุติว่า ไส้ตรง ลมกองน้ีพัดอุจจาระ ปัสสาวะให้ลงสู่คูถทวาร ๆ ก็เปิดลมกับทวารหากรู้กันเอง ถ้ามิได้รู้กันตราบใดอาการ ก็แปรไปต่าง ๆ ดจุ กล่าวแตห่ นหลังนัน้ … ถา้ จะแกเ้ อาโกฐสอ โกฐเชยี ง โกฐกระดูก โกฐหวั บัว โกฐพุงปลา ลูกสมอเทศ สมอไทย พริกไทย ขิง ดีปลี กะทือ ไพล ว่านร่อนทอง ว่านนางค�ำ การบูร ลูกจันทน์ มหาหิงคุ์ เสมอภาค ท�ำเป็นจุณบดปั้นแท่งไว้ละลายน�้ำ แกแลต้ม กินแก้โกฎฐาสยาวาตอตสิ ารหาย ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 17 ชนดิ รวมปรมิ าณ 17 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา 1 ส่วน กะทอื 1 ส่วน การบรู 1 สว่ น โกฐกระดกู 1 ส่วน โกฐเชยี ง 1 ส่วน โกฐพุงปลา 1 สว่ น โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหัวบัว 1 สว่ น ขงิ 1 สว่ น ดปี ล ี 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน ไพล 1 ส่วน มหาหงิ ค์ ุ 1 สว่ น ลูกจนั ทน์ 1 ส่วน ว่านนางคำ� 1 สว่ น วา่ นร่อนทอง 1 สว่ น สมอเทศ 1 สว่ น สมอไทย สรรพคณุ แกท้ ้องเสีย เนอื่ งจากอาหารไมย่ ่อย รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครง้ั ละ 0.6-1 กรมั ละลายน�้ำต้มแกแลกินวนั ละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อมูลเพมิ่ เติม ตัวยามหาหงิ คุต์ อ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) 26 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์ เลม่ ๒. พมิ พค์ รั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกข้ ี้เรื้อน ทม่ี าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกข้ ีเ้ ร้อื น ท่านใหเ้ อา โลดทะนง 1 รากนมราชสีหต์ ้น 1 ลกู กระเบา 1 ยา 3 ส่งิ เผาไฟใหไ้ หม้กนิ เท่าลกู พทุ รา แก้ขเ้ี รอ้ื น ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 3 ชนิด รวมปรมิ าณ 3 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 1 ส่วน กระเบา 1 ส่วน นำ�้ นมราชสหี ์ 1 สว่ น โลดทะนง สรรพคณุ แก้โรคผิวหนังเรอื้ รงั ตา่ ง ๆ เช่น โรคเรอื้ น โรคสะเกด็ เงิน รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) วธิ ีปรุงยา ยาท้งั หมดเผาไฟให้ไหม้ แลว้ บดให้ละเอียด ป้ันเป็นเมด็ ขนาดเทา่ ลกู พุทรา ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครง้ั ละ 500 มลิ ลกิ รมั กินวนั ละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญงิ ตงั้ ครรภ์ หญิงให้นมบุตร เดก็ อายตุ ่�ำกวา่ 12 ปี และผู้ปว่ ยโรคหัวใจ ข้อควรระวัง เมล็ดกระเบาและรากโลดทะนงมีรสเบ่ือเมา จึงควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต ้ การควบคุมดแู ลของแพทย์แผนไทย ข้อมูลเพ่มิ เตมิ นำ�้ มนั กระเบามสี ารไซยาโนเจนกิ ไกลโคไซด์ (cyanogenic glycoside) จงึ ควรระมดั ระวงั การใชย้ าในผู้ปว่ ยโรคหัวใจ เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 342. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 27
ยาแกไ้ ข้ สตู ร 1 ทีม่ าของตำ� รับยา คัมภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๑ [1] “ยาแก้ไข้ เอารากคนทา รากหญ้านาง รากเท้ายายม่อม รากชิงชี่ รากมะเด่ือชุมพร ลูกสมอทั้ง ๓ ลกู มะขามป้อม แก่นข้เี หล็ก แกน่ จันทนท์ ง้ั ๒ เถาวัลยเ์ ปรียง เอาสง่ิ ละ ๔ บาท บอระเพ็ด ลูกกระดอม เกษสรบัวหลวง ขมน้ิ ออ้ ย เอาส่งิ ละ ๒ บาท หญา้ แพรก ๑ กำ� มือ หญ้าปากควาย ๑ ก�ำมือ ตม้ กนิ เช้าเยน็ แก้ไขต้ า่ ง ๆ ไขจ้ บั เช่ือมซึม ดีนักแล” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 19 ชนิด รวมปรมิ าณ 930 กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา 60 กรมั ขเ้ี หล็ก 60 กรมั คนทา 60 กรมั จนั ทนข์ าว 60 กรมั จันทน์แดง 60 กรัม ชิงช ่ี 60 กรัม เถาวัลยเ์ ปรียง 60 กรัม มะขามปอ้ ม 60 กรมั มะเด่ืออุทุมพร 60 กรมั ไม้เทา้ ยายมอ่ ม 60 กรัม ยา่ นาง 60 กรัม สมอเทศ 60 กรัม สมอไทย 60 กรมั สมอพิเภก 30 กรัม กระดอม 30 กรมั ขมน้ิ อ้อย 30 กรมั บอระเพ็ด 30 กรัม บวั หลวง 15 กรัม หญ้าแพรก 15 กรมั หญ้าปากควาย สรรพคุณ แกไ้ ข้ต่าง ๆ ไขเ้ ช่ือมซึม รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 150 มิลลิลติ ร ดม่ื วนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ดม่ื ขณะยายังอ่นุ ยา 1 หม้อ ใชต้ ดิ ต่อกนั 5-7 วัน โดยใหอ้ นุ่ นำ้� สมุนไพรทกุ คร้งั ก่อนใช้ยา เอกสารอา้ งองิ 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. 28 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 532
Pages: