Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

Description: การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย.

Search

Read the Text Version

การจดั การความร้มู วยไทย 5 สาย Knowledge Management for Muaythai Knowledge 5 Styles นายจรสั เดช อลุ ติ ดร.แสวง วิทยพทิ ักษ์ นายสนอง แสงสขุ นายศรณ์ สุขพิมาย นางพฒั นา บญุ วงศ์ ร.อ.ธานี หอมจาปา โครงการน้ไี ดร้ บั งบประมาณสนับสนนุ จากกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม พ.ศ. 2556

(ก) ชือ่ เร่อื งวจิ ัย การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ช่อื ผู้วิจยั นายจรัสเดช อลุ ิต บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมา เอกลักษณ์ กระบวนท่า ระเบียบ ประเพณี และวัฒนธรรมประเพณีของมวยไทย 5 สาย คือ มวยไทยสายไชยา มวยไทยสายโคราช มวยไทยสายลพบุรี มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย และมวยไทยสายพลศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวจิ ยั คร้ังนป้ี ระกอบด้วย กลุม่ ผ้รู ู้ กลุ่มครมู วย เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์และ การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมโดยการศกึ ษาภาคสนาม ผลการศกึ ษาพบวา่ มวยไทยสายไชยา 1. ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายไชยา พบวา่ มวยไทยสายไชยาจากอดตี ถึงปัจจุบัน สามารถแบง่ ออกเป็น 4 ยคุ 1.1 ยุคแรก กาเนิดข้ึนจากพ่อท่านมาหรือหลวงพ่อมา อดีตนายทหารจากพระนคร สมัย รชั กาลท่ี 3 ฝึกมวยใหก้ ับชาวเมอื งไชยา และพระยาวจีสตั ยารักษ์ เปน็ ปฐมศษิ ย์ 1.2. ยุคเฟ่ืองฟู ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 พระองค์ทรงโปรดฯ ให้มกี ารชกมวยหน้าพระท่ีนั่งในงานพระเมรุ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุ พงศ์รัชสมโภช จากน้ันได้พระราชทานบรรดาศักดิ์แก่นักมวยจากเมืองไชยา คือ นายปรง จานงทอง เป็น หม่นื มวย มชี ือ่ ตาแหน่งกรมการพเิ ศษเมืองไชยา ถือศักดินา 300 และผู้อยู่เบื้องหลังมวยไทย สายไชยา คอื พระยาวจีสตั ยารกั ษ์ และคณุ ชนื่ ศรยี าภัย 1.3. ยุคเปล่ียนแปลง ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 นักมวยคาดเชือกชื่อนายแพ เลี้ยงประเสริฐ ชกกับนายเจียร์ พระตะบอง ถึงแก่ความตาย รัฐบาล จึง ประกาศให้มีการสวมนวมแทนการคาดเชือก และในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 เกิดข้ึนเพราะต้องรื้อเวทีและพระครูโสภณเจตสิการาม (เอ่ียม) เจ้าอาวาสวัด บรมธาตุไชยา มรณภาพลงมวยไทยสายไชยาจงึ สน้ิ สดุ ลง 1.4. ยุคอนุรักษ์ หลังจากส้ินสุดสมัยพระครูโสภณเจตสิการาม (เอ่ียม) มวยไทยสาย ไชยา เรมิ่ เลอื นหายไปจากความทรงจาของชาวไชยา อย่างไรก็ตามยังมีผู้ท่ีเคยเรียนมวยไทยสายไชยา แล้วนามาสืบทอดต่ออีกหลายท่าน เช่น ปรมาจารยเ์ ขตร ศรียาภัยปรมาจารย์เจือ จักษุรักษ์ นายวัลลภิศร์ สดประเสรฐิ นายทองหลอ่ ยา และ นายอมรกฤต ประมวญ นายกฤดากร สดประเสริฐ นายเอล็ก ซุย และพันเอกอานาจ พุกศรีสุข เป็นตน้ 2. เอกลักษณ์ของมวยไทยสายไชยา พบว่า มีทั้งหมด 6 ด้าน คือ การต้ังท่ามวยหรือการจดมวย ทา่ ครหู รอื ทา่ ยา่ งสามขมุ การร่ายราไหว้ครู การพันหมัดแบบคาดเชอื ก การแตง่ กายและการฝึกซอ้ ม 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายไชยา พบว่า มีทั้งหมด 5 ชุด คือ แม่ไม้มวยไทยสายไชยา ท่าบริหารกายเพื่อพาหุยุทธ์ ท่ามวยไทยสายไชยาพาหุยุทธ์ เคล็ดมวยไทยสายไชยา และลูกไม้ มวย ไทยสายไชยา 4. ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายไชยาและระเบยี บการแขง่ ขนั มวยไทยสายไชยา

(ข) มวยไทยสายโคราช 1. ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายโคราช มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึง สมัยรัตนโกสินทร์ เพราะชาวไทยมีการฝึกการต่อสู้ด้วยอาวุธส้ันประกอบกับศิลปะมวยไทย โดยมี เป้าหมายในการปกป้องประเทศชาติ อีกท้ังโคราชเป็นเมืองหน้าด่านช้ันเอก ท่ีต้องทาการรบกับ ผู้รุกรานอยู่เสมอ จึงทาใหช้ าวโคราชมคี วามเปน็ นกั สู้โดยสายเลอื ดมาหลายชัว่ อายคุ น เมื่อบ้านเมืองสงบ มวยไทยจึงพัฒนามาเป็นศิลปวัฒนธรรมทางการต่อสู้ป้องกันตัวประจาชาติไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นห้วงเวลาที่มวยคาดเชือกรุ่งเรือง มีการจัดการแข่งขันมวยคาดเชือกหน้า พระท่ีน่ังพลับพลาทรงธรรม สวนมิสกวัน ในงานศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัช สมโภช ในวันที่ 18 - 21 มีนาคม ร.ศ.128 (พ.ศ.2452) โดยให้หัวเมืองท่ัวประเทศ คัดเลือกนักมวย ฝีมือดีเข้ามาแข่งขัน นักมวยฝีมือดีชนะคู่ต่อสู้หลายคนจนเป็นท่ีพอพระราชหฤทัย ทรงโปรดฯ พระราชทานยศและบรรดาศกั ด์ิ ใหก้ ับนกั มวยจากมณฑลนครราชสีมา เปน็ ขุนหม่ืนครูมวย ถือศักดินา 300 คอื นายแดง ไทยประเสริฐ ลกู ศิษย์ลูกศิษย์ของพระเหมสมาหาร เจ้าเมืองโคราช เป็นหมื่นชงัด เชิงชก นอกนี้ยังมีนักมวยจากโคราชอีกหลายคน ท่ีมีฝีมือดีท่ีเดินทางเข้าไป ฝึกซ้อมมวยกับกรมหลวง ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ณ วังเปรมประชากร 2. เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายโคราช พบว่า สวมกางเกงขาส้ันไม่สวมเสื้อ สวมมงคลท่ีศีรษะ ขณะชกและที่พิเศษท่ีแตกต่างไปจากมวยภาคอ่ืน ๆ คือ การพันหมัดแบบคาดเชือกตั้งแต่หมัดข้ึนไป จรดข้อศอก เพราะมวยไทยสายโคราช เวลาต่อย เตะวงกวา้ ง และใช้หมดั เหวี่ยงควาย 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายโคราช พบว่า มีการฝึกตามขั้นตอน ฝึกโดยการใช้ธรรมชาติ เมื่อเกิดความคล่องแคล่วแล้วทาพิธียกครู แล้วให้ย่างสามขุมและฝึกท่าอยู่กับท่ี 5 ท่า ท่าเคล่ือนท่ี 5 ท่า ท่าฝึกลูกไม้แก้ทางมวย 11 ท่า ฝึกท่าแม่ไม้สาคัญสาคัญ ประกอบด้วย ท่าแม่ไม้ครู 5 ท่า และ ท่าแม่ไม้สาคัญโบราณ 21 ท่า แล้วก็มีโครงมวยเป็นคติสอนนักมวยด้วย พร้อมท้ังคาแนะนาเตือนสติ ไม่ใหเ้ กรงกลัวคู่ตู่สู้ 4. ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายโคราช วิธีจัดการชกมวยนิยมจัดชกในงานศพท่ีลานวัด การเปรยี บมวยให้ทหารตีฆอ้ งไปตามหม่บู า้ นแล้วรอ้ งบอก ให้ทราบท่ัวกัน เม่ือเปรียบได้แล้วให้นักมวย มาชกประลองฝีมือกันก่อนหากฝีมือทัดเทียมกันก็ให้ชก แล้วนัดวันมาชก ในการเปรียบมวยไม่มีกฎ กติกาท่ีแน่นอน หากพอใจก็ชกกันได้ รางวัลการแข่งขันเป็นส่ิงของเงินทอง หากเป็นการชกหน้า พระท่ีนง่ั รางวลั ทไี่ ด้รบั ก็จะเป็นหัวเสอื และสรอ้ ยเงิน มวยไทยสายลพบุรี 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของมวยไทยสายลพบรุ ี มีววิ ัฒนาการและเกิดการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญ หลายอย่าง ทาใหม้ วยไทยสายลพบรุ ี แบ่งชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามความสาคัญเป็น 4 ช่วง คอื ช่วงที่ 1 อยู่ ระหว่าง ปีพุทธศักราช 1200–2198 นับเป็นช่วงเริ่มต้นของมวยไทยสายลพบุรี มีปรมาจารย์สุกะทัน ตะฤๅษี เป็นผู้ก่อตั้งสานักข้ึนท่ีเทือกเขาสมอคอน เมืองลพบุรี มีลูกศิษย์ชุดสุดท้ายคือ พ่อขุน รามคาแหงมหาราช ช่วงที่ 2 อยู่ระหว่างปีพุทธศักราช 2199 – 2410 ถือเป็นช่วงสืบทอดของมวย ไทยสายลพบุรี ซ่ึงมวยไทยสายลพบุรีเร่ิมเป็นรูปเป็นร่างในสมัยน้ี สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็น พระมหากษัตริย์ ที่ส่งเสริมมวยลพบุรี อย่างกว้างขวาง มีการจัดการแข่งขัน กาหนดขอบเขตสังเวียน

(ค) และมีกติกาการชก โดยมีพระพุทธเจ้าเสือ พระมหากษัตริย์อีกพระองค์หน่ึงที่สนับสนุนมวยไทย และ ชอบต่อยมวย ถึงข้นั ปลอมพระองค์ ไปแข่งขัน ชกมวยกับชาวบ้าน ชว่ งท่ี 3 อยู่ระหว่างปีพุทธศักราช 2411 – 2487 เป็นช่วงพัฒนาของมวยไทยสายลพบุรี ช่วงน้ีมวยไทยสายลพบุรี โด่งดังและเฟื่องฟู จนถงึ ขดี สุด โดยเฉพาะในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ เรียนวิชามวยจากปรมาจารย์หลวงพลโยธานุโยค พระองค์โปรดมวยมาก เสด็จทอดพระเนตร บ่อยคร้ัง ครั้งสาคัญที่สุดคือ การแข่งขันชกมวยในงานพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าลูกยาเธอ พระองคเ์ จ้าอุรพุ งษร์ ัชสมโภช เมอ่ื วันท่ี 19 – 22 มนี าคม พทุ ธศกั ราช 2452 ณ เวทมี วยสวนมิสกวัน มีนักมวยไทยสายลพบุรีที่เก่งกล้าสามารถ จนได้รับการกล่าวขานว่า “ฉลาดลพบุรี” คือ นายกลึง โตสะอาด ซึ่งได้รับบรรดาศักดิ์เป็น หม่ืนมือแม่นหมัด และต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีนักมวยดังของลพบุรีอีกหน่ึงคนคือ นายจันทร์ บัวทอง และช่วงที่ 4 อยู่ ระหว่างพุทธศักราช 2488 จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นช่วงสมัยใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี มีนักมวยไทย สายลพบุรี ที่เก่งมากเกิดขึ้น อีกสองคนคือ นายทวีศักดิ์ สิงห์คลองส่ี และนายอังคาร ชมพูพวง ซึ่งมี ลลี าทา่ ทางการชกมวยคลา้ ยหม่ืนมอื แมน่ หมัด คือ ถนดั ในการใชห้ มัดตรงและหลบหลีกได้คล่องแคล่ว วอ่ งไว นบั เปน็ ความหวังใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี ท่ีจะช่วยพัฒนาและฟื้นฟูมวยไทยสายลพบุรีข้ึน โดยไดม้ ี การแข่งมวยในเวทีมวยคา่ ยนารายณ์เป็นประจาและมนี ักมวยเปน็ จานวนมาก 2. เอกลักษณ์ของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า เป็นมวยท่ีชกฉลาด รุกรับคล่องแคล่วว่องไว ต่อยหมดั ตรงไดแ้ มน่ ยา เรียกลักษณะการต่อยมวยแบบน้ีว่า “มวยเก้ียว” ซ่ึงหมายถึง มวยที่ใช้ช้ันเชิง เข้าทาค่ตู อ่ ส้โู ดยใชก้ ลลวงมากมาย จะเคลื่อนตัวอยู่เสมอ หลอกล่อหลบหลีกได้ดี สายตาดี รุกรับ และ ออกอาวุธหมัดเท้าเข่าศอกได้อย่างรวดเร็ว สมกับ ฉายาฉลาดลพบุรี เอกลักษณ์ที่เห็นชัดอีกประการ หนึ่งก็คือ มกี ารพันขอ้ มือครงึ่ แขน แต่ทีเ่ ด่นและแปลกกว่ามวยสายอื่น ๆ คือ การพันคาดทับข้อเท้าซึ่ง เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของมวยไทยสายลพบรุ ี 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มี 16 กระบวนท่า ได้แก่ กระบวนท่ายอเขา พระสุเมรุ หักงวงไอยรา ขุนยกั ษ์จบั ลิง หักคอเอราวัณ เอราวัณเสยงา ขนุ ยกั ษพ์ านาง พระรามน้าวศร กวางเหลยี วหลงั หิรญั ม้วนแผ่นดิน หนุมานถวายแหวน ล้มพลอยอาย ลิงชิงลูกไม้ คชสารถองหญ้า คชสารแทงงา ลิงพล้ิว และหนุมานถอนตอ ครูมวยและนักมวยไทยสายลพบุรี ได้แก่ ครูดั้ง ตาแดง ครูนวล หมืน่ มอื แม่นหมดั นายซวิ อกเพชร นายแอ ประจาการ นายเย็น อบทอง นายเพิก ฮวบสกุล นายจันทร์ บัวทอง นายชาญ ศิวารักษ์ นายสมทรง แก้วเกิด และครูประดิษฐ์ เล็กคง นับได้ว่า มวยไทยสายลพบุรี เป็นประวัติศาสตร์ของมวยไทย ซ่ึงเป็นมวยท้องถ่ินท่ีเก่าแก่ท่ีสุดของอาณาจักร สยาม มีอายุถึง 1,356 ปี มีความโดดเด่นเฉพาะตัว ท้ังด้านประวัติศาสตร์ ประวัติความเป็นมา เอกลักษณ์วัฒนธรรมประเพณี 4. ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายลพบุรี แบ่งไดเ้ ป็น 3 หัวข้อ คือ ก) มวยไทยสายลพบรุ ี มคี วามสัมพันธ์อย่างแนบแนน่ กบั วัดในพทุ ธศาสนา เน่ืองจากแหล่ง ฝึกมวยเกิดจากพระสงฆ์ ทอี่ ยใู่ นวดั ข) ความเป็นมาของกระบวนท่าศลิ ปะมวยไทยสายลพบุรี เป็นกระบวนท่าท่ีผสมกลมกลืน จากการหล่อหลอมและเลียนแบบท่าทางของสัตว์ต่าง ๆ เช่น ลิง และ ช้าง ที่มีอยู่มากในเมืองลพบุรี ตลอดจนจากตานานการสรา้ งเมอื งลพบรุ ี

(ง) ค) รากเหงา้ ท่ีมาของศลิ ปะมวยไทยสายลพบุรี มาจากหลายสานกั เพราะบรรพชนของมวย ไทยท่ีกระจัดกระจายในแต่ละท้องถิ่น รากเหง้าท่ีมาจึงไม่ชัดเจน แต่พออนุมานได้ว่า เป็นศิลปะการ ต่อสู้ที่มาจากองค์ความรู้ท่ีหลากหลายในแต่ละท้องถิ่น ซ่ึงมีแนวทางเฉพาะตน การแข่งขันมวยไทย สายลพบุรี มีกติกาการชก กาหนด 5 ยก โดยใช้ยกเวียน การหมดยกใช้กะลาเจาะรูใส่ในโหล เมื่อ กะลาจมน้าถอื วา่ หมดยก การต่อสู้ใชอ้ วยั วะไดท้ ุกส่วนของรา่ งกาย การเปรียบมวยอยู่ที่ความสมัครใจ ของผู้ชก ไม่เกี่ยงนา้ หนักหรืออายุ การไหวค้ รูเหมือนการไหวค้ รูสายอื่น ๆ โดยท่ัวไป มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั 1. ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย พบว่า พระยาพิชัยดาบหัก เดิมช่อื จ้อย เกิดท่ีบ้านห้วยคา เมืองพิชัย ปัจจุบันคืออาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่ออายุ 8 ปี บิดา นาตัวไปฝากเรียนกับท่านพระครูวัดมหาธาตุเมืองพิชัย จากนั้นได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์เรียนมวยกับครู เทย่ี งและเปลีย่ นชือ่ เป็นทองดี ครเู ทยี่ งเรียกว่าทองดี ฟนั ขาว เรียนมวยสาเร็จ ได้ออกเดินทางขึ้นเหนือ ต่อเพ่ือไปเรียนมวยกับครูเมฆแห่งบ้านท่าเสาได้ไปพักอยู่ท่ีวัดวังเตาหม้อ (วัดท่าถนนปัจจุบัน) และได้ ฝึกหกคะเมนตีลังกาเรียนแบบงิ้วแสดงและนามาฝึกผสมผสานกับท่ามวย จากนั้นได้เดินทางต่อไป จนถึงสานกั มวยครเู มฆแห่งบ้านทา่ เสาและไดฝ้ ากตวั เป็นศิษย์ครูเมฆ เรียนมวยอยูก่ ับครูเมฆจนเก่งกล้า ครูเมฆจงึ ได้นาไปเปรียบมวยในงานประจาปวี ัดพระแทน่ ศลิ าอาสน์ ได้ชกชนะครูนิลและนายหมึกศิษย์ ครนู ลิ ได้ลาครูเมฆเดินทางต่อไปเพื่อเรียนดาบกับครูเหลือท่ีเมืองสวรรคโลก พร้อมท้ังได้เรียนมวยจีน หักกระดูกท่ีเมืองสุโขทัย จากนั้นได้เดินทางผจญภัยต่อไปยังเมืองตากและได้ชกมวยในงานถือน้า พิพฒั น์สตั ยาเอาชนะครหู า้ วครูมวยดงั ของเมอื งตาก จนเปน็ ที่โปรดปราณของพระยาตาก พระยาตาก ไดช้ กั ชวนให้อยู่รบั ราชการเป็นทหารองครักษ์ไดร้ บั บรรดาศักดิ์เปน็ “หลวงพชิ ัยอาสา” ได้ร่วมกับพระยาตากกอบกู้เอกราช ต้ังกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงและเสด็จเถลิงถวัลย์ ราชสมบัติเป็นสมเด็จพระเจา้ ตากสินและโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ “เป็นหม่ืนไวยวรนาถ” เป็น “พระยา สิหราชเดโช”และเป็น “พระยาพิชัย” โดยลาดับ พ.ศ.2316 โปสุพลา แม่ทัพพม่า ได้มาตีเมืองพิชัย ท่านได้นาทหาร ออกรบและต่อสู้กับโปสุพลาจนดาบหักไปข้างหน่ึง ท่านได้สมญานามว่า “พระยา พิชัยดาบหัก” ต้ังแต่น้ันมาเมื่อส้ินสมเด็จพระเจ้าตากสินแล้ว สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรง เสด็จข้ึนเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ณ กรุงเทพมหานคร เม่ือวันท่ี 7 เมษายน 2325 ท่านไม่ยอมอยู่เป็น ขา้ สองเจา้ บา่ วสองนาย จงึ ไดก้ ราบบังคมทูล สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก ขอถวายความจงรักภักดี ถวายชีวิตตาม สมเด็จพระเจ้าตากสิน แต่ขอฝากบุตรชายให้รับราชการสนองพระเดชพระคุณสืบไป พระยาพิชยั ดาบหกั จงึ เปน็ ท่ีเคารพรกั ของคนจงั หวัดอุตรดติ ถ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จังหวัดอุตรดิตถ์ จึงไดจ้ ดั งานฉลองวันชัยชนะให้กับทา่ นระหว่างวนั ที่ 7–16 มกราคม ของทกุ ปี 2. เอกลักษณ์มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย พบว่า มวยไทยสายพระยาพิชัย มี เอกลกั ษณ์เดน่ 5 ประการ คอื การยนื มวยหรอื จดมวยยนื น้าหนักอยเู่ ทา้ หลงั การร่ายราไหว้ครู ท่าน่ัง ต้องส่องเมฆก่อนยืน มงคลและประเจียด เป็นมงคลถักสีแดงลงอาคมและมีประเจียดข้างเดียว พิธีกรรม เป็นพิธีที่สาคัญมี 3 พิธี ได้แก่ ยกครูหรือขึ้นครู ไหว้ครูและครอบครูไม้มวยมีท้ังอ่อนแข็งอยู่ ในคราวเดียวกันจะถนัดเรื่อง การใชเ้ ทา้ เปน็ อาวธุ ทีร่ วดเร็ว 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย พบว่า มีกระบวนท่าการชก 15 ไม้ ประกอบด้วย หมัดตรง หมัดคร่ึงศอก ครึ่งหมัดคร่ึงศอกได้ หมัดเหวี่ยงหรือหมัดขว้าง หมัดตบหรือ

(จ) หมัดเหว่ียงส้ัน หมัดตบหรือหมัดเฉียงสั้น หมัดเหว่ียงข้ึนตรง หมัดเหวี่ยงกลับ หมัดงัด หมัดเสย หมัด สอยดาว หมดั หงาย หมัดเหวี่ยงบนยาว หมัดจิกหรือหมัดฉก หมัดเสือหรือหมัดมะเหงก หมัดคู่ หมัดอัด และหมัดตวดั การเตะ 10 ไม้ ประกอบดว้ ย เตะตรงต่า เตะตรงสูง เตะเฉียง เตะเหว่ียงหรือเตะตัด เตะตวัด กลบั เตะหลงั เทา้ เตะกลบั หลัง เตะครึง่ แขง้ หรอื คร่ึงเขา่ เตะโขกและเตะตบและกระโดดเตะ การถีบ 10 ไม้ ประกอบด้วย ถีบจิก ถีบกระทุ้ง ถีบข้าง ถีบตบ ถีบต่อเข่า ถีบกลับหลัง หรือ มา้ ดีด โดดถบี ถีบหลอก ถีบยนั และเดินถีบ การตีเข่า 10 ไม้ ประกอบด้วย เข่าตรงหรือเข่าโทน เข่าเฉียง เข่าโค้ง เข่าเหวี่ยงหรือเข่าตัด เขา่ เหนบ็ หรอื เขา่ หยอกนาง ครง่ึ เข่าครง่ึ แข้ง เขา่ กระชาก เขา่ ลอย เข่าพุ่งและเขา่ คู่ การศอก 10 ไม้ ประกอบด้วย ศอกตัด ศอกเฉียง ศอกโค้ง ศอกเสยหรือศอกงัด ศอกถอง ศอกจามหรือศอกสับ ศอกพุง่ ศอกกระแทก ศอกเฉือน ศอกเช็ด ศอกกลบั ศอกคู่ 4. ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย พบว่า แบบแผนประเพณีของ มวยไทย สายท่าเสาและพระยาพิชัย ประกอบด้วยการขึ้นครูหรือยกครู การไหว้ครูประจาปี การครอบครู และการราไหวค้ รูก่อนชก มวยไทยสายพลศกึ ษา 1. ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายพลศึกษา มวยไทยสายพลศึกษาได้ก่อกาเนิดมาพร้อม กับการจัดตัง้ สามัคยาจารยส์ มาคม เพอื่ จัดเป็นสถานทีก่ ารออกกาลังกาย สาหรบั ประชาชนท่วั ไป ปี พ.ศ.2497 โรงเรียนพลศึกษากลาง ได้มีการเปล่ียนแปลงหลักสูตรใหม่ การเรียนการสอน ก็ยังคงมีการเรียนมวยไทยเหมือนเดิม โดยมีมวยไทยเป็นหมวดวิชาไม่บังคับ หลังจากนาวาเอกหลวง ศุภชลาศัย ได้ดารงตาแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา ได้ของบประมาณสร้างสนามกีฬาแห่งชาติข้ึนท่ี บริเวณตาบลวังใหม่ อาเภอปทุมวัน กรุงเทพมหานครฯ และเรียกว่าสนามกีฬาแห่งชาติ ใน ขณะเดียวกัน โรงเรียนพลศึกษากลางมีการจัดการเรียนการสอนเต็มเวลา 5 ปี โดยเป็นนักเรียนทุน จากจังหวดั ต่าง ๆ ซึง่ มหี ลักสตู รมวยไทยในการเรยี นการสอนมวยไทยด้วย ต่อมาหลักสูตรทางด้านพลศึกษา วิทยาลัยพลศึกษายกฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา พลศึกษา และต่อมาปี พ.ศ.2517 ได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพลศึกษา และ กรมพลศึกษาได้เปดิ วิทยาลัยพลศึกษา ทั้งกรงุ เทพฯ และสว่ นภมู ภิ าค รวมทั้งส้นิ 17 แห่ง มวยไทยสายพลศึกษา มีการสืบทอดอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ซ่ึงมีปรมาจารย์ผู้ถ่ายทอด วิชามวยไทยสายพลศึกษาที่มีชื่อเสียงนั้นคือ อาจารย์สุนทร ทวีสิทธิ์ หรือ อาจารย์กิมเส็ง ทวีสิทธ์ิ อีกคนหนึง่ คอื อาจารย์แสวง ศริ ไิ ปล์ ปรมาจารย์มวยไทยสายพลศกึ ษา นอกจากน้ี ยังมีอาจารย์ท่ีสอน ในสายพลศึกษาซึ่งเกย่ี วกับมวยไทยอกี มากมาย ซึ่งทาหน้าทส่ี ืบทอดมวยพลศกึ ษาต่อ ๆ กันมารนุ่ สู่รนุ่ บุคคลที่มีช่ือเสียงในมวยไทยสายพลศึกษา อาทิเช่น อาจารย์สืบ จุณฑะเกาศลย์ อาจารย์ ผจญ เมอื งสนธ์ อาจารยณ์ ัชพล บรรเลงประดษิ ฐ์ อาจารย์นบน้อม อ่าวสุคนธ์ รองศาสตราจารย์ระดม ณ บางช้าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมบูรณ์ ตะปินา อาจารย์นอง เสียงหล่อ อาจารย์จรัสเดช อุลิต ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์โพธส์ิ วสั ด์ิ แสงสวา่ ง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สรุ ัจฺน์ เสียงหล่อ อาจารย์สงวน มีระหงส์ และอาจารย์จรวย แก่นวงษค์ า ผมู้ ชี ่ือเสียงในการไหว้ครแู ละรา่ ยราท่าสาวน้อยประแปง้

(ฉ) 2. เอกลักษณ์ของมวยไทยสายพลศึกษา พบว่า มีทั้งหมด 3 ด้าน คือ เอกลักษณ์ด้านการแต่งกาย เอกลกั ษณด์ ้านการไหว้ครูและร่ายรามวยไทย เอกลกั ษณด์ า้ นการเรยี นการสอน 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายพลศกึ ษา พบว่า ประกอบด้วย กลวิธีการใช้หมัด กลวิธีการใช้ เทา้ กลวธิ ีการใช้เข่า กลวิธกี ารใช้ศอก แมไ่ มม้ วยไทย และลูกไมม้ วยไทย 4. ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายพลศึกษา ระเบียบแบบแผนและประเพณีของมวยไทย สายพลศึกษาสามารถแยกออกเป็นประเด็นได้ดังนี้ พิธีการขึ้นครู หรือการยกครู พิธีการไหว้ครู และ เครือ่ งดนตรีประกอบ

(ช) Thesis Title : Muaythai 5 styles Researcher : Mr. Jarusdej Ulit ABSTRACT The purpose of research were to study history rules and tradition, identity, procedure, of Muaythai 5 styles including MuaythaiChaiya, MuaythaiKorat, Muaythai Lopburi, MuaythaiPhrayapichai and MuaythaiPalasuksa. The sampling using in this study is the experts, Muaythai teacher tools used in this study are the interviews and the observation by taking place in the field. The result of this study find that: (Muaythai style Chaiya style) Historic of MuaythaiChaiya, the past to present MuaythaiChaiya was divided 4 periods as follows : 1. Beginning period MuaythaiChaiya was created by a soldier named Por Tan Mar (military officer from Phranakorn in King Rama III period.) He trained MuaythaiChaiya to Chaiya people and PrayaVajisataYaRak the first student. 2. Thriving period in King Rama V, there was punching in front of the throne- hall in the cremated ceremony of His Serene Highness Prince Urupongrachsompote. And he gave the rank to Mr. Prong Chamnongthong to be MuenMuayMeeCheu(a renowned boxer) in special government administrative staff MuangChaiya to hold land 300 and PrayaVajisataYaRak and KhunChuenSriyapai who supported in MuaythaiChaiya 3. Changing period in King Rama VII period, there was MuayKardCheurk fighting between Mr. PaeLiangprasert and Mr. JiaPratabang until Mr. Jia was dead. So the government announced to put on the glove before fighting in King Rama IX Period, the ring was disassembled and PraKruSoponfetsikarm (Aiem) (an avvotof WatPraBoromathatchaiya) died. So that MuaythaiChaiya was finished. 4. Conservative period. After PraKru Soponjetsikaram (Aiem) (an abbot of Wat Pra Boromathatchaiya) period. MuaythaiChaiya had been disappeared in the memory of Chaiya people. However, there were still many people who learnt MuaythaiChaiya, and perpetuated for examples. Grand Master KhetSriyapai, Mr.Wanlapit Sodprasert, Mr. Thongbe Yalea, Mr.AmornkitPramuan, Mr.Krisdakorn Sodpradert, Mr. Alex Sui and Col. AmnatPhuksrisuk etc. Procedure of Muaythai style Chaiya there were 6 aspects :JodMuay (basic guard position) TahKru (Master stance) or Yang Sam Khum (3 steps in 3 step paths covering the entire beat’s territory) WaiKru (with regard to–paying homage to the

(ซ) Masters of Muaythai), MuayKardCheurk (fighters used to wrap their hands in cotton twine ), dressing and MuaythaiChaiya training. Rule and tradition of MuaythaiChaiya there were 3 aspects accepting the student, magical spells and rule of MuaythaiChaiya competition style. Muaythai style Chaiya stance there were 5 set: Mae Mai MuaythaiChaiya Pahuyuth training (the multi – fighting style) secret technique of MuaythaiChaiya and Look Mai MuaythaiChaiya. (Muaythai style Khorat) Historic of Muaythai style Khorat, it had long historic from the Ayuthdaya period to fight by using short weapons and accompanied with art of Muaythai. They had the same aims to protect the country. And because of Khorat was the front city, so the enemies always attacked Khorat. Thus, made Khorat people always were ready to fight in their blood. When the peace came, Muaythai was developed to be the art and cultural of fighting of Thailand. In the period of King. Chulalongkorn, it was the period of well – kwon “Muaykardchuak” They set the “MuayKardChuak” competition in front of the King’s eat at Pha – Tee – Nung – Phubpha – Thong – Tham, Suan – Mis – Sa – Ka – Wan in the funeral of prince U – RupongRatchasompotch on 18 March 1909. For this stage, every town had to choose the best boxer to join this activity. When they found the winner, the King was very pleased and gave them good positions with 300 credit (Sakdina 300) Mr.DaengThaiprasert from khorat, the student of Phrahem Samarharn, Khorat’s rule was named “Muen Cha-ngudCherngChocke” in the other ways there were a lot of best boxers from Khorat to practice to be famous with KromLuangChumpornKhet U-domsak at “Wang PremPrachar” Identity of Muaythai style Khorat is the costume of shorts and no shirt, Mong – Khon on head while boxing. For special tips it was different from the other kinds of boxers in other parts of Thailand. A boxer had to cover from his elbow to hand with a stripe of cloth for punching, called “KardChuak” Muaythai style Khorat was the style of punch, kick, swing kick and using “Mad WaingKwai” Rules and Traition of Muaythai style Khorat, there are a lot of rules by using the rules of Muaythai Association. They use the good law for boxing. The ways of practicing and setting Muaythai competition are always pointed to business more than art of fighting. But there are still KruVua – A – Char (WatIm) was general Um – nartpooksrisook. For this course, there are many trainers can transfer the knowledge for those who are interested in it. May this 0% foreigners and now this course in taught at Siam Yuth Institute Bangkok. You can go there everyday.

(ฌ) Muaythai style Khorat was very popular in the funeral. It can be set near the temple wall. The way to compare both boxers were managed by pronouncing around the village. When the boxer got the fighter. The referee would compare both made and the appointment for the date of boxing. For boxing there were no rules, it’s up to the boxer. The reward for the boxers may be valued thing, money or gold. If the boxer could box very well in front of the king’s seat, they would be rewarded with a tiger head and silver necklace. Muaythai style Lopburi Historic of Muaythai style Lopburi has under gone great changes and development as a sport. Four period, each of them, distinct and progressive from each other has various feature of development. The first period (657-1655 A.D.) this period is considered as the beginning of Muaythai style Lopburi. The great teacher name Sukatanta, a hermit, founded a school at khaoSamorkhon, Lopburi. It is said that king Ramkhamhaeng was a student of this school. The second period (1656-1876 A.D.) this period is characterized by continues development of Muaythai style Lopburi. King Narai the great did a lot for its promotion. Several competitionwere help. The bound of the ring was fixed and the rules of game were formulated. Further, King Suae, who loved Muathai: supported very much Muaythai style Lopburi, who at one time disguised himself as a boxer and fight eith the people. The third period (1868-1944 A.D.)Muaythaistyle Lopburi become more popular especially in the reign of King Chularlongkorn. He studied Muaythai from the great teacher Luang Mon Yothanukoke, a lord of the kingdom. He loved Muaythai and went out to see it many times. The most important even in this period took place during the Royal Ceremony of the funeral of Prince Uropong help on March 19- 22 in 1909 at SuanMissakawanMuaythai Ring, was appointed as a junior afficial rank called “ Muen-mue-man-mud” (The mean person of the fists). In the reign of King Rama VII. There was another popular Muaythai in Lopburi whose name was Jun Buatong. The fourth period (1945 to present). This period is considered the great period of Muaythai style lopburi. Two more good boxers become the product of this period :TaweesakSinghaKlong Si and UngkarnChompupuang whose Muaythai was similar with Muen-mue-man-mud. Both of them have helped sparkled Muaythai style Lopburi as a sport.

(ญ) The characteristics of Muaythai style Lopburi are wonderful. In Muaythai style Lopburi, fighter can do cleaver fighter, fight actively, fight straight and sharp. The way of fight like these forms are called “ MuayKiew ” which means fighting with tricks and quickness. The clever and magnificent characteristics are the binding up of half arms and to bind the ankles. The culture, traditions, and art of Muaythai style Lopburi and divided into three (a) There were quite close relation between Muaythai style Lopburi and the Buddhist Temples. The first place of training for Muaythai. (b) The procedures of Lopburi came from the manners of monkeys and elephants. (c) The origin of Muaythai style Lopburi was not clear enough because it came from several places. Muaythai style Lopburi competition is consists of five round is a time for a coconut shell a hole going down in a bucket of water. There are sixteen procedures of Muaythai style Lopburi. These are: YoKhao Prasumeru, HakNguangAiyala, KhunyakJub Ling, HakkorErawanSueyNga,Khun Yak Pa Nang, PramanawSorn, KwangLiaw Lang, HiranMuanPaen Din, Hanuman ThawaiWaen, Lom Ploy Arb Ling ChingLookmai, Kotchasan Tong yha, Kotchasan Tang Nga. Ling Prew Hanuman Thou Toh. Muaythai style Lopburi teacher and fighters are Kru dung-Tu-Deang, KruNuanLopburi, Muen-mue-man-mud,NaiSiewOkpetch, Nai Air pro jamkan, NaiXen Obtong, Nai perk HuabSakul, Nai Jun Buatong, Nai Chan Suwarak, NaiSomsong Keawkend and KruPraditLekkong. It can be said that Muaythai style Lopburi is the history of Muaythai, the oldest of Siam kingdom, 1,350 years of age. Muaythai style Phrayapichai and Thasao Historic of Muaythai style Phrayapichai and Thasao found that Phrayapichai, whose birth name was Joi was born in 1741 at Ban HuaiKha, AmphoePichai, Uttaradit province. When he was 8 years old his father sent him to study with PraKru. Abbot of the monastery at WatMahadhai, MuangPichai. After that he was sent to learn and train Muaythai with a fighter instructor named “Thiang” at Wat Ban Kaeng and he changed his name to “Thong Dee” but KruThiang called “Thong Dee Fun Khao” which means, Thong Dee whose teeth are white when he had finished training fight he decide to travel to travel to. The north of the region to learn fighting with KruMek, in Ban The Sao and he stayed at Wat Wang Tao Mor which is know as WatThatanon

(ฎ) today it’s located in the center of the town. He mixed the Chinese fighting style that he had learned with the Thai fighting style. He trained successfully in Muaythai at KruMes’s camp at The Sao and was soon to be the most skillful fighter. Later, KruMek sent him to fight in the annual traditional festival at WatPhrataensila – art which we won against the fighters named Kru Nil and NaiMuek, he left from KruMek’sMuaythai camp and traveled to learn how to fight with a sword with KruLuae at Sawankhalok. He trained in the Chinese fighting style at Sukhothai and then traveled to Tak for adventure. Thong Dee had a chance to fight with a famous fighting master of Tak, KruHao, who nobody dared to challenge and he eventually won the fight during the last few moments. Phraya Takdidn’t hesitate in asking That no other fighter could defeat him. Thong Dee’s fights were very pleasing to Phraya Tak who appointed to be his personal bodyguard as “LuangPichaiArsa” He soon joined with Phraya Tak to fight for getting independence back. Phraya Tak established the capital city named “Krung Thonburi” and established himself as the first king of this region who was named SomdejPhrajaoTaksin and who appointed Thong Dee to be Muenwaiwornaj, Phraya Sriharajdhecho and Phraya Phichai in that order. In the year 1773, Posupala, the Burmese general was sent to attack the city of Phichai Thong Dee led the Thai army and fought him until one of his swords broke so people called him “Phraya Prichaidabhak” ever since that day When king Taksin died, The new king Rama l of the chao Phraya Chakri Dynasty (the present day rulers of Thailand), established himself to be the king and declared his new capital to be Bangkok on the date 7 April 1782. As a reward for his loyalty and service to his country king Rama I asked Phraya Phichai if he would continue his gook work as the king’s guard. In these times the law lf the land stated that once a king died, his bodyguards and loyal servants should die with him, but King Rama I offered to take an exception for Phraya Phichai and let him and his men live. However, Phraya Phchai was so saddened by the death of his beloved King Taksin that the ordered the executioner to do away with him, despite King Rana’s kindness, such was the loyalty that Phraya Phichai had for King Taksin. Instead he asked King Rama I to raise his son and in time hoped that his son could become the king’s personal bodyguard in his father place. Phraya Phichai is the most beloved heroes of people in Uttaradit from the past to the present therefore Uttaradit province holds a traditional annual celebration festival for his victory between the 7th and the 16th January every year. Muaythai style Phraya Pichai and Tha Sao has five splendid and unique techniques which are detailed as follows ; Firstly, the standing style : The weight is

(ฏ) loaded to the back foot. Secondly, the WaiKrudancing style it must be song Med which means to look towards the sky before standing up. Thirdly the Mongkol and Prajiat must be red and transformed into magic. It also has one further side. Fourthly it has three important ceremonies, these are the YokKru. WaiKru and KrobKru, Finally this particular boxing style mixes hard and soft together as one and uses the feet to be a quick weapon. The traditions and patterns of Muaythai style Phraya Phichai and Tha Sao procedure of Muaythai style Muaythai style Phraya Pichai’s chart that the Muaythai skills or the Mai Muay Thai of Muaythai style Phraya Phichai chart were as follows executioner to do away with him, despite King Rama’s kindness, such was the loyalty that Phraya Phichai had for King Taksin. Instead he asked King Rama I to raise his son and in time hoped that his son could become the King’s personal bodyguard in his father place. Phraya Phichai is the most beloved heroes of people in Uttaradit from the past to the present therefore Uttaradit province holds a traditional annual celebration festival for his victory between the 7th and the 16th January every year. Muaythai style Phraya Phichai and Tha Sao has five splendid and unique techniques which are detailed as follows ; Firstly, the standing style : The weight is loaded to the back foot. Secondly, the WaiKru dancing style it must be song Med which means to look towards the sky before standing up. Thirdly the Mongkol and Prajiat must be red and transformed into magic. It also has one further side. Fourthly it has three important ceremonies, these are the YokKru, WaiKru and KrobKru. Finally this particular boxing style mixes hard and soft together as one and uses the feet to be a quick weapon. The trakitions and patterns of Muaythai style Phraya Phichai and Tha Sao have found that Muaythai style Phraya Phichai comprises KobKru, WaiKru (the annual celebration of paying respect to the teacher) and the WaiKru dances before fighting. The results of the finding about the basic Muaythai style Phraya Phichai and Tha Sao’s chart that the Muaythai skills or the Mai Muaythai of Muaythai style Phraya Phichai and Tha Sao’s chart were as follows. Chok comprised with Mud – Trong, Mud – Kurengsork, Krungmud – Krueng – Sok, Mud Wiang or Mud-Kwang, Mud-Top, Mud Ngut, Mud-Soei, Mud Soi-Dao, Mud- Ngai, Mud-Wiang-Bon-Yao, Mud-Jikor, Mud Chok, Mud Suea or Mud-Ma-Nnek, Mud- Koo, Mud-Aut and Mud-Ta-Wat. The comprised with Teh-Tong, Teh Chiang, TehWiang or The-Tat, Teh-Tawat- Klub, Teh-Lang, Teh-Klub-Lang, The-Krueng-Kaeng or Krueng-Kao, The-Cokand, The- Top and Kradot-The.

(ฐ) Teebcomprised with Teeb-Jik, Teeb-Kratoong, Teeb-Kang, Teeb-Top, Teeb- Tor-Kao, Teeb-Klub-Long or Ma-Deed, Kradot-Teeb, Teeb-Lork, Teeb-Yun and Doen- Teeb. Tee khaoccomprised with Kao-Trong or Kao-Tone, Kao-Chiang, Kao-Kong, Kao- Wiang or Kao-Tat, Kao-Neb or Kao York-Nang, Krueng-Kao-Krueng-Kaeng, Kao-Krachark, Kao-Loi, Kao-Pung and Kao-Koo. Sork comprised with Sork-Tat, Sork-Chiang, Song Kong, Sork-Soei or Sork-Ngut, SorkTrong, Sork-Jam or Sork-Klub, Sork-Pung, SorkKra-Teak, SorkChuaen, Sork-Chaed, Sork-Klub and Sork-Koo.

กติ ติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความกรุณาของ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ทใี่ ห้ทนุ ในการวิจยั ขอขอบพระคณุ ผรู้ ู้ ผู้ทรงภมู ปิ ัญญาและบรรพบุรุษมวยไทยที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับมวยไทย 5 สาย ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ คณุ คา่ และประโยชน์ของงานวจิ ยั ฉบบั นี้ ขอมอบเป็นเครื่องบูชาครูมวยไทยทุกท่านท่ีได้อบรม สั่งสอนและสืบสานมวยไทย 5 สาย ใหเ้ ป็นสมบัตขิ องชาตไิ ทยตลอดไป จรสั เดช อลุ ิต

(3) สารบญั หนา้ บทคดั ย่อภาษาไทย................................................................................................................... (ก) บทคัดย่อภาษาองั กฤษ.............................................................................................................. (ช) กติ ติกรรมประกาศ..................................................................................................................... (1) สารบญั ....................................................................................................................................... (3) สารบญั ภาพ............................................................................................................................. .. (9) ส่วนท่ี 1 เนือ้ หาสาระ 1 บทที่ 1 บทนา................................................................................................................... 1 3 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา................................................................. 3 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ....................................................................................... 3 ขอบเขตของการวิจยั .............................................................................................. 3 คาจากดั ความที่ใช้ในการวจิ ัย................................................................................. 4 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ..................................................................................... 5 กรอบแนวคิดในการวิจยั ......................................................................................... คาถามการวจิ ยั ...................................................................................................... บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง............................................................................ 6 แนวความคดิ เกยี่ วกบั การจัดการความรู้................................................................ 6 แนวคดิ เกี่ยวกับมวยไทย 5 สาย............................................................................. 19 งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้องและการจัดการความรู้............................................................. 26 บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวจิ ัย................................................................................................. 35 ขน้ั ตอนท่ี 1 ศึกษาการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย.......................................... 35 ขน้ั ตอนท่ี 2 วเิ คราะหก์ ารจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย...................................... 36 ขน้ั ตอนท่ี 3 นาเสนอแนวทางการจัดการความร้มู วยไทย 5 สาย.......................... 44 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล.......................................................................................... 47 มวยไทยสายไชยา................................................................................................. 47 ประวตั ิความเป็นมาของมวยไทยสายไชยา..................................................... 47 ยุคแรก................................................................................................ 47 ยุคเฟื่องฟู............................................................................................ 50 ยุคเปลยี่ นแปลง.................................................................................. 74 ยคุ อนุรกั ษ.์ ......................................................................................... 81 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายไชยา................................................................. 100 การต้งั ทา่ มวยหรือการจดมวย............................................................. 100

(4) ท่าครูหรอื ท่ายา่ งสามขุม...................................................................... 101 การไหวค้ รูร่ายรามวยไทย...................................................................... 108 การพันหมัดแบบคาดเชือก.................................................................. 111 การแตง่ กาย......................................................................................... 114 การฝึกซ้อม.......................................................................................... 114 กระบวนทา่ ของมวยสายไชยา..................................................................... 117 แมไ่ ม้มวยไทยสายไชยา....................................................................... 117 ทา่ บริหารเพ่ือพาหยุ ุทธ์........................................................................ 120 ท่ามวยไทยสายไชยาพาหุยุทธ์............................................................ 122 เคล็ดมวยไทยสายไชยา....................................................................... 123 ลูกไม้มวยไทยสายไชยา....................................................................... 124 ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายไชยา....................................................... 137 การมอบตัวเป็นศิษย์........................................................................... 137 เคร่ืองรางและของขลัง........................................................................ 138 มวยไทยสายโคราช.............................................................................................. 143 ประวตั คิ วามเป็นมาของมวยไทยสายโคราช.................................................. 143 มวยไทยสายโคราชยคุ เริ่มตน้ .............................................................. 143 มวยไทยสายโคราชยคุ รุ่งเรือง.............................................................. 145 มวยไทยสายโคราชยุคเร่ิมตน้ สวมนวม................................................... 203 มวยไทยสายโคราชยคุ ฟื้นฟู................................................................... 204 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายโคราช................................................................. 211 การแตง่ กายของมวยไทยสายโคราช...................................................... 211 การพันหมัดแบบคาดเชอื ก.................................................................... 212 การจดมวยตารามวยไทยสายโคราช...................................................... 213 การฝึกซ้อม............................................................................................ 215 การชกหมัดเหว่ยี งควาย......................................................................... 218 การรามวย............................................................................................. 219 รปู แบบวธิ กี ารชก.................................................................................. 223 กระบวนท่าของมวยสายโคราช.................................................................... 224 การฝกึ ทา่ การใช้อาวุธเบื้องต้น.............................................................. 225 225 ท่าอยู่กบั ที่ 5 ทา่ ............................................................................ 229 ท่าเคลอื่ นท่ี 5 ทา่ .......................................................................... 233 ท่าฝกึ ลกู ไมแ้ กท้ างมวย 11 ท่า.............................................................. 238 การฝกึ ทา่ แม่ไม้สาคัญ............................................................................ 238 ทา่ แม่ไมค้ รู 5 ท่า........................................................................... 239 ท่าแม่ไมส้ าคญั แบบโบราณ 21 ท่า................................................

(5) ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายโคราช...................................................... 251 ข้อปฏบิ ตั ทิ ี่ครูมวยไทยสายโคราชกาหนดไว้สาหรับผทู้ ี่จะฝึกหัดมวยไทย 251 สายโคราช.............................................................................................. 252 วธิ ฝี ึกหัดมวยไทยสายโคราช.......................................................................... 253 คาแนะนาเตือนสติของผทู้ จ่ี ะฝึกหัดมวยไทยสายโคราช............................... 254 คาอนญุ าตของครูมวย................................................................................... 254 ประเพณีการปฏิบัติการฝากตัวเป็นศิษย์ การไหวค้ รู การยกครู.................. 256 พิธยี กครู ขน้ึ ครู............................................................................................ 259 การเปรยี บมวย.............................................................................................. 260 วิธกี ารจัดชกมวยของชาวโคราชในสมยั รชั กาลท่ี 5 รัชกาลท่ี 6................... 262 มวยไทยสายลพบุร.ี ............................................................................................... 262 ประวตั ิความเป็นมาของมวยไทยสายลพบรุ ี................................................... 263 265 ยุคที่ 1 ยคุ เรม่ิ ตน้ ของมวยไทยสายลพบุรี............................................ 267 ยคุ ท่ี 2 ยคุ สืบทอดของมวยไทยสายลพบรุ ี........................................... 273 ยคุ ท่ี 3 ยุคพัฒนาของมวยไทยสายลพบุรี............................................ 276 ยคุ ท่ี 4 ยุคสมยั ใหมข่ องมวยไทยสายลพบรุ ี.......................................... 277 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายลพบุรี.................................................................. 277 เอกลักษณโ์ ดยรวมของมวยไทยสายลพบุรี............................................. 278 เอกลักษณ์ด้านการแต่งกาย................................................................... 278 เอกลกั ษณด์ า้ นการพนั มือ...................................................................... 279 เอกลักษณ์ด้านการพันคาดข้อเทา้ ......................................................... 279 เอกลักษณ์ด้านการยนื และการวางเท้า.................................................. 280 เอกลักษณด์ ้านการจดมวยและท่าจดมวย............................................. 281 เอกลักษณด์ า้ นการต่อยหมัด................................................................. 281 กระบวนทา่ ของมวยสายลพบุรี...................................................................... 283 แมไ่ ม้มวยไทยสายลพบรุ ี....................................................................... 287 ลกู ไมม้ วยไทยสายลพบุรี....................................................................... 301 ครมู วยและนกั มวยไทยสายลพบรุ ี......................................................... 301 ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายลพบุรี...................................................... 304 ความสมั พนั ธข์ องมวยไทยสายลพบรุ กี บั พุทธศาสนา............................ 305 การไหว้ครมู วยไทยสายลพบุรี............................................................... 305 มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ยั .................................................................... 305 ประวตั ิความเป็นมาของมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย......................... 321 การสังเคราะห์จากเอกสาร.................................................................... 334 การสังเคราะหจ์ ากกลมุ่ ครมู วย............................................................. เอกลักษณ์ของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั .......................................

(6) เอกลกั ษณ์การยืนมวย หรือจดมวย ยนื น้าหนักตัวอยู่เท้าหลัง.............. 334 เอกลักษณ์การร่ายราไหวค้ รู................................................................... 335 เอกลกั ษณ์มงคล และประเจยี ด............................................................ 335 เอกลักษณ์พธิ ีกรรม.............................................................................. 336 เอกลกั ษณ์ไมม้ วยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั ................................. 337 กระบวนทา่ ของมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชัย..................................... 343 การชก................................................................................................... 345 การเตะ................................................................................................. 347 การถีบ................................................................................................... 349 การตเี ขา่ ................................................................................................ 351 การศอก................................................................................................. 353 การใชศ้ รี ษะ.......................................................................................... 356 แนวทางการฝึกมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย...................................... 357 ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชยั ............................. 370 การขึ้นครูหรือการยกครู......................................................................... 370 การไหวค้ รมู วยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชยั ....................................... 370 การแตง่ มวยการราไหว้ครู....................................................................... 380 มวยไทยสายพลศึกษา.......................................................................................... 389 ประวตั ิความเป็นมาของมวยไทยสายพลศึกษา............................................... 389 ประวัติสถาบนั การพลศึกษา.................................................................. 408 ประวัติวิทยาลัยพลศึกษา...................................................................... 412 เอกลักษณ์ของมวยไทยสายพลศึกษา............................................................ 415 เอกลักษณ์ดา้ นการแต่งกาย.................................................................... 416 เอกลักษณ์ด้านการไหว้ครูและร่ายรามวยไทย......................................... 417 เอกลกั ษณ์ด้านการเรยี นการสอน........................................................... 418 กระบวนทา่ ของมวยไทยสายพลศึกษา.......................................................... 420 กลวธิ ีการใช้หมัด..................................................................................... 420 กลวธิ ีการใช้เท้า....................................................................................... 422 กลวิธีการใช้เข่า....................................................................................... 430 กลวิธกี ารใชศ้ อก..................................................................................... 433 แมไ่ ม้มวยไทย......................................................................................... 436 ลกู ไมม้ วยไทย......................................................................................... 445 ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายพลศกึ ษา................................................... 453 พิธกี ารขึน้ ครหู รือการยกครู..................................................................... 453 พิธกี ารไหวค้ รู.......................................................................................... 457 เครอ่ื งดนตรีประกอบมวยไทย................................................................ 462

(7) บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...................................................................... 467 สรุปผล........................................................................................................... 467 มวยไทยสายไชยา.......................................................................................... 467 มวยไทยสายโคราช........................................................................................ 469 มวยไทยสายลพบุรี......................................................................................... 480 มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชยั ............................................................... 484 มวยไทยสายพลศกึ ษา.................................................................................... 489 อภปิ รายผล............................................................................................................ 493 มวยไทยสายไชยา.......................................................................................... 493 มวยไทยสายโคราช........................................................................................ 502 มวยไทยสายลพบุรี......................................................................................... 513 มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย............................................................... 515 มวยไทยสายพลศกึ ษา.................................................................................... 518 ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................... 523 มวยไทยสายไชยา.......................................................................................... 523 มวยไทยสายโคราช........................................................................................ 524 มวยไทยสายลพบุรี......................................................................................... 525 มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชัย............................................................... 526 มวยไทยสายพลศึกษา.................................................................................... 526 บรรณานุกรม.................................................................................................................... 527 สว่ นท่ี 2 กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบบนั ทกั ข้อมูลรายการมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ภาคผนวก ข ใบแสดงความยินยอม ภาคผนวก ค ประวัติคณะผู้วิจัย

(9) สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 1 พฒั นาการของทฤษฎกี ารจัดการความรู้............................................................... 8 2 การจดั การความร้เู พื่อเพมิ่ เตมิ ช่องวา่ งของความรู้................................................ 10 3 สถูปและรูปเหมือนพ่อท่านมา ครูมวยไทยสายไชยาคนแรก ............................... 48 4 ทมี งานวจิ ัยถา่ ยภาพบรเิ วณหน้าสถูปและรูปเหมือนพ่อท่านมา............................ 49 5 การแขง่ ขนั ชกมวยหนา้ พระที่นั่งสมัยรัชกาลท่ี ..................................................... 50 6 อนุสาวรีย์ หมื่นมวยมีชอ่ื (นายปรง จานงทอง) .................................................. 54 7 พระยาวจีสัตยารักษ์.............................................................................................. 55 8 ทีมงานวิจัยถ่ายภาพหนา้ สถูปบรรจอุ ัฐติ ระกูลศรียาภยั ......................................... 58 9 ป้าชนื่ ศรยี าภัย.................................................................................................. 58 10 อนสุ าวรยี ์หมน่ื มวยมีชอ่ื ........................................................................................ 63 11 นายคลอ่ ง กัณหา............................................................................................... 68 12 นายจว้ น หริ ญั กาญจน์ นกั มวยคาดเชอื กสมยั สนามมวยวัดบรมธาตุไชยา.......... 73 13 ค่มู วยประวัตศิ าสตร์ยุคเปลี่ยนแปลง .................................................................. 77 14 สุวรรณ นวิ าสวัต................................................................................................ 77 15 สมาน ดิลกวิลาส................................................................................................ 77 16 เวทีมวยไทยสายไชยา “ศาลาเก้าห้อง”................................................................ 79 17 ปรมาจารย์สุนทร ทวีสทิ ธิ์................................................................................... 82 18 ปรมาจารย์เขตร ศรียาภยั .................................................................................. 84 19 ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย สอนศษิ ย์ท่จี ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ....................... 86 20 ปรมาจารย์เจอื จกั ษรุ ักษ์ สาธติ มวยคาดเชือก .................................................. 88 21 อาจารยท์ องหล่อ ยาและ หรอื ครทู อง เชือ้ ไชยา.............................................. 90 22 อาจารย์กฤดากร สดประเสริฐ............................................................................. 92 23 ครกู ฤดากร สดประเสริฐ ครูมวยไทยสายไชยายุคอนรุ ักษ์.................................. 93 24 อาจารย์อมรกฤต ประมวญ (ครูแปรง).............................................................. 94 25 อาจารยภ์ ูวศักด์ิ สขุ สริ อิ ารี (ครูมัด).................................................................... 96 26 อาจารย์ภวู ศักดิ์ สขุ สริ อิ ารี (ครูมดั ) ถา่ ยภาพร่วมกบั ลูกศิษย์............................... 97 27 ครูศักดิภูมิ จฑู ะพงษธ์ รรม (ครูแหลม) ครมู วยไทยสายไชยา.............................. 97 28 ครจู ริ ะประวัติ แบบประเสรฐิ (ครูจวิ๋ ) ครูมวยไทยสายพลศึกษา.......................... 99 ภาพที่ หนา้ 29 การตง้ั ทา่ หรือการจดมวย โดยปรมาจารยเ์ ขตร ศรยี าภยั .................................... 100 30 อาจารย์กฤดากร สดประเสรฐิ สาธิตท่าครู หรอื ท่าย่างสามขมุ .......................... 101 31 ปรมาจารยเ์ จอื จกั ษรุ กั ษ์ สาธติ การไหว้ครรู ่ายรามวยไทยสายไชยา.................. 110 32-34 การพันหมัดคาดเชือกของมวยไทยสายไชยา........................................................ 111

(10) 35-36 การแต่งกายของมวยไทยสายไชยา...................................................................... 114 37-38 การฝึกซ้อมของมวยไทยสายไชยา........................................................................ 115 39-40 การปั้นหมดั ......................................................................................................... 119 41-42 การพันแขน.......................................................................................................... 119 43-44 การพันหมัด ......................................................................................................... 119 45-46 การพันหมัดพลกิ เหลีย่ ม....................................................................................... 119 47-48 การกระโดดตบศอก............................................................................................. 119 49-50 การเต้นแร้งเตน้ กา............................................................................................... 119 51-53 การยา่ งสามขมุ .................................................................................................... 120 54-57 การป้อง ปดั ปดิ เปิด........................................................................................... 123 58 ชวาซดั หอก........................................................................................................... 124 59 อิเหนาแทงกรชิ .................................................................................................... 125 60 ไต่เขาพระสุเมรุ..................................................................................................... 125 61 ตาเถรค้าฟกั .......................................................................................................... 126 62 มอญยนั หลกั ........................................................................................................ 126 63 ปกั ลกู ทอย............................................................................................................ 127 64 จระเข้ฟาดหาง...................................................................................................... 127 65 ขุนยกั ษ์จบั ลิง....................................................................................................... 128 66 นาคาบิดหาง......................................................................................................... 128 67 หักคอเอราวณั ....................................................................................................... 129 68 มณโฑน่งั แท่น....................................................................................................... 129 69 หิรญั มว้ นแผน่ ดิน.................................................................................................. 130 70 นาคามดุ บาดาล.................................................................................................... 130 71 หนมุ านถวายแหวน............................................................................................... 131 72-73 เถรกวาดลาน....................................................................................................... 131 74 ฝานลกู บวบ.......................................................................................................... 132 ภาพที่ หนา้ 75 สบั หัวมัจฉา........................................................................................................... 132 76 พระเจา้ ตาน่งั แท่น................................................................................................. 133 77-78 สุครีพถอนตน้ รงั ................................................................................................... 133 79 กวางเหลียวหลัง.................................................................................................... 134 80 ขะแมรค์ า้ เสา........................................................................................................ 134 81-82 พม่าราขวาน......................................................................................................... 135 83-84 พระรามเดินดง..................................................................................................... 135 85-86 เสือลากหาง.......................................................................................................... 136 87 การมอบตวั เป็นศิษย์ของมวยไทยสายไชยา........................................................... 137

(11) 88-89 เคร่ืองรางและของขลงั ......................................................................................... 138 90 ม้าสีหมอก ประยุทธ อุดมศักดิ์.......................................................................... 151 91 ยักษ์ผีโขมด สขุ ปราสาทหนิ พิมาย..................................................................... 156 92 พลเรอื เอก พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงชมุ พรเขตรอุดมศักดิ์............................ 154 93 หมืน่ ชงัดเชงิ ชก หรือ นายแดง ไทยประเสรฐิ ...................................................... 160 94 นายยงั หาญทะเล.............................................................................................. 162 95 นายทับ จาเกาะ.................................................................................................. 163 96 นายตู้ ไทยประเสริฐ........................................................................................... 165 97 ครบู ัว วดั อิ่ม หรือ ร้อยโทบัว นิลอาชา............................................................ 170 98 สขุ ปราสาทหินพิมาย........................................................................................ 181 99 วหิ ค เทยี มกาแหง.............................................................................................. 195 100 ประยุทธ อุดมศักด์ิ............................................................................................ 203 101 ครูประนอม อมั พินย์......................................................................................... 205 102 พนั เอกอานาจ พุกศรสี ขุ ..................................................................................... 205 103 ครูเช้า วาทโยธา.................................................................................................. 207 104 พนั เอกประสารศิษฐ์ ศรศี ักดิ์............................................................................... 208 105 ครูศรณ์ สขุ พิมาย............................................................................................... 209 106 การแต่งกายของมวยไทยสายโคราช.................................................................... 212 107 การพนั หมัดแบบคาดเชอื กของมวยไทยสายโคราช.............................................. 213 108-109 การจดมวยตารามวยไทยสายโคราช.................................................................... 214 110-112 การถวายบงั คม แบบมวยไทยสายโคราช.............................................................. 220 ภาพท่ี หน้า 113-116 การรามวย ยา่ งสามขุม ทา่ เท้าแม่บททสี่ าคญั ของมวยไทยสายโคราช.................. 222 117-118 ท่าตอ่ ยตรงอยู่กบั ท่ี............................................................................................... 225 119-120 ท่าต่อยเหวีย่ งอย่กู ับที่.......................................................................................... 226 120-122 ท่าต่อยขึ้นอยู่กับที่............................................................................................... 227 123-124 ท่าต่อยขึน้ อยู่กับที่................................................................................................ 227 125-126 ทา่ ถองลงอยู่กับที่................................................................................................. 228 127-128 ท่าตอ่ ยตรงสลับกนั เคลื่อนที่................................................................................. 229 129-130 ท่าเตะเหว่ยี งกลับด้วยศอกเคลื่อนที่..................................................................... 230 131-132 ท่าตอ่ ยดว้ ยศอกและเขา่ เคลื่อนท่ี......................................................................... 231 133-134 ทา่ เตะสลับกันเคลอ่ื นท่ี......................................................................................... 231 135-136 ทา่ เตะแลว้ ตอ่ ยตามพลิกตวั ไปกัน........................................................................ 232 137 ท่าทดั มาลา.......................................................................................................... 239 138 138 ทา่ กาฉกี รัง................................................................................................... 240 139 ท่าหนมุ านถวายแหวน........................................................................................ 240

(12) 140-141 ทา่ ล้มพลอยอาย................................................................................................. 241 142-143 ทา่ ลงิ ชิงลกู ไม.้ ...................................................................................................... 241 144-145 ทา่ กมุ ภกัณฑ์หักหอก........................................................................................... 242 ท่าฤๅษบี ดยา......................................................................................................... 242 146 ท่าทศกัณฑโ์ ศก.................................................................................................... 243 147 ท่าตะเพียนแฝงตอ................................................................................................ 243 148 ทา่ นกคุ้มเข้ารงั ..................................................................................................... 244 149 ท่าคชสารกวาดหญ้า............................................................................................ 244 150-152 ทา่ หกั หลกั เพชร................................................................................................... 245 153-154 ทา่ คชสารแทงโรง................................................................................................. 245 155 ท่าหนุมานแหวกฟอง........................................................................................... 246 156 ท่าลงิ พลิว้ ............................................................................................................ 246 157 ท่ากาลอดบ่วง..................................................................................................... 247 158 ทา่ หนมุ านแบกพระ............................................................................................ 247 159 ท่าหนูไต่ราว......................................................................................................... 248 160 ทา่ ตลบนก............................................................................................................ 248 161 หน้า ภาพที่ ทา่ หนุมานถอนตอ................................................................................................ 249 162-163 ทา่ โกหก (ตอแหล)............................................................................................... 249 164-165 เทือกเขาสมอคอน อาเภอท่าว้งุ จงั หวดั ลพบรุ ี.................................................... 265 166 การตอ่ สู้ระหวา่ งนายจันทร์ บัวทอง กบั นายแก้ว พณิ ปุรุ................................... 272 167 การแตง่ กายของมวยไทยสายลพบรุ ี..................................................................... 277 168 การพนั มือของมวยไทยสายลพบุรี........................................................................ 278 169-170 การพันคาดทับข้อเทา้ ........................................................................................... 279 171-172 การยืนและการวางเท้าของมวยไทยสายลพบรุ ี..................................................... 279 173 การจดมวยและทา่ จดมวยของมวยไทยสายลพบรุ ี................................................ 280 174 กระบวนท่ายอเขาพระสเุ มรุ.................................................................................. 281 175 กระบวนท่าหักงวงไอยรา...................................................................................... 282 176 กระบวนท่าขุนยกั ษจ์ บั ลิง.................................................................................... 282 177-178 กระบวนท่าหักคอเอราวณั ................................................................................... 283 179 กระบวนทา่ เอราวัณเสยงา................................................................................... 283 180 กระบวนท่าขนุ ยักษ์พานาง................................................................................... 284 181-182 กระบวนทา่ พระรามนา้ วศร.................................................................................. 284 183 กระบวนท่ากวางเหลยี วหลัง................................................................................. 285 184 กระบวนทา่ หิรัญมว้ นแผน่ ดิน................................................................................ 285 185 กระบวนทา่ หนุมานถวายแหวน............................................................................ 286 186

(13) 187 ครูสมนึก ไตรสุทธิ ครมู วยไทยสายลพบรุ ี......................................................... 296 188 ครสู มนึก ไตรสทุ ธิ สาธติ การไหว้ครู.................................................................. 298 189 ครูประดษิ ฐ์ เล็กคง ครมู วยไทยสายลพบรุ ี......................................................... 298 190 ครชู นทตั มงคลศิลป์ ครมู วยไทยสายลพบุรี....................................................... 299 191 ครูชนทัต มงคลศลิ ป์ ถา่ ยภาพร่วมกับคณะวจิ ยั ................................................. 300 192 วัดบ้านแกง่ สถานท่ีทีพ่ ระยาพิชยั เคยฝกึ มวยกับครเู ทย่ี ง.................................... 307 193 วัดท่าถนน (วัดวังเตาหม้อ) สถานท่ซี งึ่ พระยาพิชยั เคยดูงิ้วและฝกึ ตลี งั กา.......... 308 194 วดั ใหญท่ า่ เสา บริเวณท่ีพระยาพิชยั เคยเรียนมวยกบั ครเู มฆ............................... 309 195 ภาพเขียนฝาผนงั ภายในโบสถ์วัดพระแทน่ ศิลาอาสน์.......................................... 311 196 คณะวจิ ัยถ่ายภาพภายในโบสถว์ ัดพระแท่นศิลาอาสน์......................................... 315 197 คณะวจิ ยั ถ่ายภาพที่บรเิ วณหนา้ อนุสาวรีย์พระยาพิชยั ดาบหกั ........................... 329 ภาพท่ี หน้า 198 รองศาสตราจารย์ ดร. สมพร แสงชัย ............................................................... 330 199 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อดิศร ไกรว่อง............................................................... 332 200 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วนิ ัย จาปาออ่ น............................................................ 332 201 อาจารยป์ ระกาศ เพยี สามารถ............................................................................. 333 202 ครูฉลอง เลยี้ งประเสรฐิ จดมวยหลงั การชกท่เี วทมี วยราชดาเนนิ ..................... 334 203 ครูฉลอง เลยี้ งประเสรฐิ สาธติ การร่ายราไหว้ครู............................................... 335 204 มงคล และประเจียดของมวยไทยสายท่าเสา....................................................... 336 205 การชกทห่ี ัวไหล่................................................................................................... 360 206 การชกท่ีคาง........................................................................................................ 360 207 การชกท่ีคาง โดยยอ่ ตวั ชกขณะที่ค่ตู ่อสู้ชกซ้ายตรง............................................. 361 208 การชกหมัดที่คาง โดยย่อตัวชกขณะท่คี ตู่ ่อสู้ชกซ้ายตรง.................................... 361 209 การถอยปัดหมดั ค่ตู ่อสู้........................................................................................ 362 210 การยกขวากนั แล้วตอ่ ยหมัดท่ีคาง....................................................................... 362 211 การใชศ้ อกฟนั ทศี่ รี ษะ......................................................................................... 363 212 การใชศ้ อกฟนั ท่ีปลายคาง ขณะที่คตู่ ่อสู้เตะมา.................................................. 363 213 การเตะสูงท่ีกา้ นคอหรือเตะท่ีทัดดอกไม้.............................................................. 364 214 จับขาแล้วเตะตัดทขี่ าทอ่ นบน เมื่อคูต่ ่อสู้เตะท่ีลาตวั ............................................ 364 215 ยกเทา้ ถบี ท่ีใบหน้าคู่ต่อสู้..................................................................................... 365 216 เตะผิดแล้วบดิ ตัวตวัดเทา้ กลับ (จระเข้ฟาดหาง).................................................. 365 217 การกระโดดข้ามศีรษะแลว้ เอาเท้าถบี ท่ีท้ายทอย.................................................. 366 218 กอดคอกระโดดตเี ขา่ ที่อกค่ตู ่อสู้........................................................................... 366 219 การจบั ขาคู่ต่อสแู้ ลว้ กระทงุ้ เข่าทหี่ นา้ ท้อง............................................................ 367 220 การล้มตัวเพื่อหลบคู่ต่อสู้...................................................................................... 367 221 เตะตดั ล่างเม่อื คู่ต่อสู้เตะสูง (เถรกวาดลาน)......................................................... 368

(14) 222 กม้ หลบตา่ ถีบที่เข่าเม่อื คูต่ อ่ สู้เตะสูง..................................................................... 368 223 การจดั เคร่ืองเซน่ ไหว้ในพธิ ีไหวค้ รู........................................................................ 371 224 ครูฉลอง เล้ยี งประเสรฐิ ครูมวยไทยสายทา่ เสา ................................................ 372 225 ครูและศิษยจ์ ุดธปู ไหวพ้ ระ.................................................................................... 374 226 ครเู ริ่มทาน้ามนตร์................................................................................................. 375 227 ศษิ ย์เร่มิ ราไหวค้ รู ............................................................................................... 376 ภาพที่ หน้า 228-229 ทา่ ราไหวค้ รูของศิษย์........................................................................................... 376 230 ท่าราไหว้ครูของศิษย์........................................................................................... 376 231-232 จบท่าราไหว้ครูของศิษย์...................................................................................... 377 233-234 ครมู วยเริ่มรา่ ยราไหวค้ รู...................................................................................... 377 235-236 ท่าราไหวค้ รขู องครู............................................................................................... 378 237 จบท่าราไหวค้ รขู องครู......................................................................................... 378 238 เร่ิมถวายมอื ระหวา่ งครูกบั ศิษย์............................................................................ 379 239–240 การปะมือระหว่างครูกับศษิ ย์............................................................................... 379 241 การปะมือระหว่างครกู ับศิษย์............................................................................... 380 242 ยันตค์ าถาคงกระพัน............................................................................................ 381 243 ภาพผงั การไหวค้ รูพรหมส่หี น้า............................................................................. 386 244 ปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสทิ ธิ์..................................................................... 390 245 อาจารยแ์ สวง ศริ ิไปล์... .................................................................................... 391 246 อาจารยจ์ รวย แก่นวงษค์ า................................................................................. 393 247 อาจารย์จรวย แกน่ วงษ์คา สาธติ การไหวค้ รูและร่ายรามวยไทย...................... 394 248 อาจารย์สบื จุนฑะเกาศลย์ ครูมวยไทยสายพลศกึ ษา........................................ 395 249 อาจารย์ผจญ เมืองสนธ์ ครมู วยไทยสายพลศกึ ษา......................................... 396 250 อาจารย์นอง เสยี งหลอ่ ครมู วยไทยสายพลศกึ ษา............................................ 398 251 อาจารย์นบนอ้ ม อ่าวสคุ นธ์ ครมู วยไทยสายพลศกึ ษา.................................... 399 252 อาจารยจ์ รสั เดช อลุ ิต ครมู วยไทยสายพลศึกษา.............................................. 400 253 อาจารย์จรสั เดช อลุ ติ ถ่ายภาพร่วมกับลูกศษิ ย์................................................. 402 254 รองศาสตราจารย์ ระดม ณ บางชา้ ง ครูมวยไทยสายพลศึกษา........................ 402 255 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์โพธ์สิ วสั ด์ิ แสงสว่าง ครูมวยไทยสายพลศกึ ษา.................... 403 256 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สุรัตน์ เสียงหล่อ ครูมวยไทยสายพลศึกษา........................ 406 257 ร้อยเอก ธานี หอมจาปา ครูมวยไทยสายพลศึกษา......................................... 407 258 วังกลางทุ่ง หรอื วงั ใหม่ สถานที่กอ่ สร้างสนามกีฬาแห่งชาติ................................ 413 259 การแตง่ กายของมวยไทยพลศึกษา....................................................................... 416 260-261 การยา่ งสขุ เกษม.................................................................................................. 417 262 การทาพิธีกอ่ นการเรียนของมวยไทยสายพลศึกษา.............................................. 419

(15) 263 การชกหมัดตรง................................................................................................... 420 ภาพท่ี หนา้ 264 การชกหมัดเสย.................................................................................................... 421 265 การชกหมดั เหว่ยี ง................................................................................................ 422 266 การถีบตรง........................................................................................................... 423 267 การถีบข้าง หรอื หันข้างถีบ................................................................................. 424 268 การถีบหลงั หรอื การกลับหลังถบี ....................................................................... 424 269 การเตะตรง.......................................................................................................... 425 270 การเตะเฉียง......................................................................................................... 426 271 การเตะตัดสงู หรือ การเตะตัดบน........................................................................ 427 272 การเตะตัดกลาง................................................................................................... 427 273 การเตะตัดลา่ ง ทข่ี าพับดา้ นใน............................................................................. 428 274 การเตะตัดลา่ ง ท่ีขาพับด้านนอก.......................................................................... 428 275 การเตะกลับ......................................................................................................... 429 276 การเตะเหวี่ยงกลับ กลบั หลังเตะ หรือ จระเข้ฟาดหาง ....................................... 429 277 การตเี ข่าตรง หรือ เข่าโหน................................................................................... 430 278 การตเี ขา่ เฉยี ง หรอื เข่าตี...................................................................................... 431 279 การตเี ข่าตัด หรอื เขา่ โคง้ ..................................................................................... 432 280 การตเี ข่าลา........................................................................................................... 432 281 การตเี ข่าลอย....................................................................................................... 432 282 การตเี ขา่ น้อย........................................................................................................ 432 283 ศอกตี................................................................................................................... 433 284 ศอกตดั ................................................................................................................. 433 285 ศอกงัด.................................................................................................................. 434 286 ศอกพงุ่ .................................................................................................................. 434 287 ศอกกระทงุ้ ........................................................................................................... 435 288 ศอกลบั ................................................................................................................. 435 289 สลบั ฟันปลา......................................................................................................... 436 290 ปกั ษาแหวกรัง...................................................................................................... 437 291 ชวาซัดหอก.......................................................................................................... 437 292 อิเหนาแทงกริช..................................................................................................... 438 293 ยอเขาพระสเุ มรุ หรอื ยกเขาพระสุเมรุ................................................................. 438 ภาพที่ หน้า 294 ตาเถรคา้ ฟกั หรือ ตาเถรค้าฝัก............................................................................ 439 295 มอญยันหลกั ......................................................................................................... 439 296 ปักลกู ทอย............................................................................................................ 440

(16) 297 จระเข้ฟาดหาง...................................................................................................... 440 298 หกั งวงไอยรา......................................................................................................... 441 299 นาคาบิดหาง......................................................................................................... 441 300 วริ ุฬหกกลับ.......................................................................................................... 442 301 ดับชวาลา.............................................................................................................. 442 302-304 ขนุ ยกั ษจ์ ับลิง........................................................................................................ 443 305 หักคอเอราวัณ...................................................................................................... 444 306 เอราวัณเสยงา...................................................................................................... 445 307 บาทาลบู พักตร.์ .................................................................................................... 446 308 ขนุ ยักษ์พานาง...................................................................................................... 446 309 พระรามนา้ วศร..................................................................................................... 447 310 ไกรสรขา้ มห้วย..................................................................................................... 447 311 กวางเหลียวหลงั ................................................................................................... 448 312 หิรญั ม้วนแผน่ ดนิ ................................................................................................. 448 313 นาคมดุ บาดาล..................................................................................................... 449 314 หนมุ านถวายแหวน.............................................................................................. 449 315 ญวนทอดแห......................................................................................................... 450 316 ทะแยคา้ เสา......................................................................................................... 450 317 หงสป์ ีกหกั ........................................................................................................... 451 318 สักพวงมาลยั ....................................................................................................... 451 319 เถรกวาดลาน....................................................................................................... 452 320 ฝานลูกบวบ......................................................................................................... 452 321 ครมู วยพดู คยุ ซักถามกับพ่อแมข่ องลูกศิษย์........................................................... 455 322 ลูกศษิ ย์ มอบดอกไม้ ธปู เทยี น บชู าครู................................................................ 456 323 ลูกศษิ ยร์ ับโอวาทจากครู....................................................................................... 456 324 ครูมวยสวมมงคลใหล้ กู ศิษย์.................................................................................. 456 325 เครือ่ งบชู า มงคล และประเจียด......................................................................... 457 ภาพท่ี หนา้ 326 ภาพปี่ชวา............................................................................................................ 463 327 กลองแขก............................................................................................................ 464 328 ภาพฉ่ิง................................................................................................................. 465 329 แสดงวงปกี่ ลองบรรเลง (ปจั จุบัน)......................................................................... 466 330 บรรเลงวงป่ีกลองในสมยั โบราณ........................................................................... 466

(17)

บทที่ 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ มวยไทย เปน็ มรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ซึ่งถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปยังคนอีกรุ่นหน่ึง เพ่อื ตอบสนองตอ่ สภาพแวดลอ้ มของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของคนไทยท่ีมีต่อประวัติศาสตร์ อันนาไปสู่ ความร้สู กึ ความเคารพ และความภาคภูมใิ จในชาติไทย ตามอนสุ ัญญาว่าดว้ ยการปกป้องคุ้มครองมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมของยเู นสโก ในวันท่ี 17 ตลุ าคม 2546 มีเจตนารมณ์ที่สาคัญในการผลิต สงวนรักษา ธารงไว้และสร้างสรรค์ใหม่ ซึ่งมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมซ่ึงเป็นการปฏิบัติ การเป็นตัวแทน การแสดงออก ความรู้ ทักษะ มรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ซ่ึงถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหน่ึงอย่างสม่าเสมอ (กรมส่งเสริม วัฒนธรรม. 2555 : 2) ชาติไทยดารงรักษาเอกราชมาจนทุกวันน้ี เพราะพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์ และความสามัคคีของคนในชาติ รวมท้ังวิชามวยไทย ซึ่งเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจาชาติไทย ท่มี สี ว่ นสาคัญอย่างยิ่งในการป้องกนั ประเทศ คนไทยแต่โบราณน้ันยึดถือว่า “ชายฉกรรจ์ที่กาเนิดเป็น คนไทยทุกคนจะต้องเป็นทหาร” เพราะการสร้างบ้านเมืองในระยะแรก ย่อมต้องมีการทาสงครามกับ เพื่อนบ้าน ดังนั้นผู้ชายไทยจึงใช้มวยไทย อันเป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่า โดยใช้อวัยวะของ รา่ งกายเชน่ หมัด เทา้ เขา่ และศอก เข้าต่อสู้ป้องกันตัวและป้องกันชาติ นาไปสู่การเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจาชาติไทย ขณะเดียวกันมวยไทยยังเป็นกิจกรรมการออก กาลังกาย ที่สร้างพละกาลังให้ร่างกายเป็นอย่างดี การฝึกมวยก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวผู้ฝึกเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิง มีส่วนในการพัฒนาจิตใจให้แข็งแกร่ง มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม มีความกตัญญู กตเวทีและมีน้าใจเป็นนักกีฬา สามารถนาไปใช้ป้องกันตนเอง ในชีวิตประจาวันทาให้เกิดความมานะ อดทน มีความสงา่ งามสมสว่ น แข็งแรงว่องไว และมภี ูมิต้านทานโรคสูง ส่วนประโยชน์ต่อประเทศชาติ มวยไทยยังดารงไว้ซึ่งศิลปะการต่อสู้ประจาชาติของไทย ถือได้ว่าเป็นศิลปะการต่อสู้ท่ีมีลีลาสวยสด งดงาม ยากทีจ่ ะหาศลิ ปะการตอ่ สขู้ องชาตอิ น่ื ใดมาเทียบได้ (การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. 2555) ปัจจุบันมวยไทยได้กลายเป็นกีฬาอาชีพอย่างสมบูรณ์แบบ และเป็นกีฬาอาชีพแรกของ ประเทศไทย ทั้งนี้เพราะกีฬามวยไทย เป็นกีฬาประจาชาติและอยู่ในสายเลือดของคนไทยทุกคน นอกจากน้ีมวยไทยยังเป็นศาสตร์และเป็นศิลป์ท่ีต้องฝึกฝน เรียนรู้อย่างมีแบบแผนตลอดจนอาศัย แรงจงู ใจและแรงเสริมทดี่ จี ึงจะประสพความสาเร็จได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงมวยไทยเป็นกีฬาต่อสู้ที่เร้าใจ และใช้เวลาในการแข่งขันไม่นานนัก ก็สามารถตัดสินผลแพ้ชนะได้ ด้วยเหตุน้ีมวยไทยจึงเป็นกีฬาที่ ได้รับความนิยมไม่เส่ือมคลาย และอยู่คู่ฟ้าเมืองไทยมาตราบเท่าทุกวันน้ี ดังที่พระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระราชทานแก่คณะกรรมการจัดการแข่งขัน ชกมวยโดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุน “นักมวยไทย” ในมูลนิธิอานันทมหิดล ณ พระตาหนัก จติ รลดารโหฐาน วันพฤหสั บดีท่ี 29 ตุลาคม 2513 โดยมีใจความว่า “วงการกีฬามวยไทยในเมืองไทย ก็ก้าวหน้ามาก มขี ้อสาคัญคือเมืองไทยการชกมวยนับว่าเป็นกีฬาท่ีเก่าแก่ และเป็นที่นิยมเป็นที่สนใจ ของประชาชนมาก ร้สู ึกว่าทุกคนสนับสนุนและอยากจะเห็นการกีฬามวยก้าวหน้า ยิ่งขึ้น ด้วยการจัด งานใหร้ ัดกมุ และถกู หลักวิชาการให้มากข้ึน ก็จะมีผลดีต่อกีฬามวยอย่างแน่นอน หวังว่าทุกคนท่ีสนใจ กฬี ามวย กส็ นใจพฒั นากีฬามวยน้มี ีสง่ิ ทเี่ รยี กว่า ประสิทธภิ าพสงู ยิ่งข้ึน เพื่อท่ีจะให้เป็นกีฬาดีเด่นของ

2 ประเทศ มวยในเมืองไทยนี้ก็เป็นที่น่าสนใจหลายอย่าง เพราะมีมวยแบบมวยไทยของเราเองซ่ึงถือว่า เป็นวิธีการต่อสู้ท่ีมีประสิทธิภาพสูง น่าสนใจสาหรับชาวต่างประเทศ” ...กีฬามวยน้ีกับความมั่นคง และความก้าวหน้าของประเทศชาติกส็ ัมพนั ธ์กันอย่างใกลช้ ิด เพราะว่ามวยนี้ก็เป็นทางป้องกันตัว เป็น กีฬาท่ีมาจากการป้องกันตัวของไทยมาแต่โบราณกาล มาสมัยนี้เราจะต้องป้องกันตัวด้วยการใช้การ ตอ่ สู้ส่วนหน่ึงและ ด้วยวิธีการพฒั นาประเทศอีกสว่ นหนง่ึ นักมวยทราบดวี ่าถา้ ต่อสู้เฉพาะตัวด้วยกาลัง ก็คงแพ้แน่ต้องมวี ิชาการและต้องมสี ตทิ ีม่ น่ั คง ท่ีวชิ าการทีจ่ ะบุกและวิชาการท่ีจะหลบ ฉะนั้นการที่มี การตอ่ สมู้ วยเพอื่ ป้องกันตัว กต็ ้องอาศัยทง้ั สองอย่างเหมอื นกนั ....(กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม. 2533 : 5) จากรายละเอียดดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า มวยไทยเป็นภูมิปัญญาด้ังเดิมตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ซึ่งสืบทอดกันมาช้านานต้ังแต่สมัยโบราณก่อนกรุงสุโขทัยจวบจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ใน ปัจจุบันภูมิปัญญาไทย ด้านไม้มวยไทย นับวันจะสูญหายเนื่องจากขาดการบันทึก รวบรวมและขาด การจัดการองคค์ วามรู้ เพ่ือให้สะดวกแก่การศกึ ษาค้นควา้ และเผยแพรเ่ ป็นวิทยาทานแก่ผู้สนใจทั่วไป ประกอบกับปัจจุบัน จานวนผู้รู้ ผู้ทรงภูมิปัญญาและผู้ทาการสอนต้ังแต่รากเหง้า และต้นกาเนิดมวย ไทย มีจานวนน้อย เพราะวิถีชีวิตของผู้คนเปล่ียนไปท้ังด้านความนับถือ ความศรัทธา ในขณะท่ีการ เรยี นรูม้ วยไทยต้องมใี จรกั มีความมานะอดทน ควบคุมสมาธิ ต้องใช้ความพยายามที่จะอนุรักษ์ สืบ สาน จึงทาให้ภูมิปัญญามวยไทย ไม่เป็นที่สนใจของคนท่ัวไป จึงทาให้ไม่เห็นคุณค่ามวยไทยที่ใช้ใน การออกกาลังกาย ป้องกันตัวท่ีช่วยพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ซ่ึงเป็นคุณ ค่าที่สาคัญย่งิ ของความเป็นคนท่ีสมบูรณต์ ลอดไป ภูมิปัญญามวยไทย 5 สาย เปน็ มรดกท่สี ง่ ผา่ นจากคนร่งุ หน่ึงไปสูคนอีกร่นุ หน่งึ ท่ีต้องอาศยั การเรียนรแู้ ละประยุกต์ให้เหมาะสมกับสภาพสงั คมไทย แต่ปัจจบุ ันการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ยังไม่เป็นระบบที่ชัดเจนเป็นการถ่ายทอดความรู้โดยนัยจากผู้รู้ไปยังผู้รับการถ่ายทอด ซึ่งเป็นเครือ ญาติด้วยการบอกเล่าต่อกันมา ไม่ได้ทาให้เป็นความรู้ท่ีชัดแจ้ง ทาให้ภูมิปัญญามวยไทย 5 สาย สูญหายไปทาให้คนในชุมชนต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยไม่ใช้ฐานองค์ความรู้เดิมของมวยไทย 5 สาย ขณะเดยี วกนั ต้องนาหลกั การ และแนวทางการจัดการความรู้ มาปรับปรุงต่อยอดความรู้เดิมที่ มีอยู่ สู่องค์ความรใู้ หม่ นน่ั คอื การพฒั นาศาสตรค์ วามรูม้ วยไทย 5 สาย สูก่ ารพฒั นาประเทศ การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เป็นการจัดการความรู้ของชุมชน เพ่ือให้คนในชุมชนได้ ปกป้องรักษาและสืบทอดโดยได้รับข้อมูล มีทักษะ และมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้มวยไทยอย่าง เป็นระบบโดยการเลือกสรร พัฒนาความรู้จนเกิดเป็นทักษะและความชานาญ ในการสืบทอดองค์ ความร้มู วยไทย 5 สายตลอดไป ดังนั้นการอนุรักษ์ เผยแพร่และสืบสานองค์ความรู้มวยไทย จึงเป็นสิ่งสาคัญต่อเยาวชนคน รนุ่ ใหม่ ให้มีจิตสานึกความเป็นไทย ปกป้อง รักษามวยไทย ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สาขากีฬาภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่ตลอดไป อีกทั้งเป็นการปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญากีฬาไทย ของมวยไทย 5 สาย ซ่ึงประกอบด้วยมวยไทยสายไชยา มวยไทยสายโคราช มวยไทยสายลพบุรี มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ยั รวมท้ังมวยไทยสายพลศึกษา จึงต้องรีบศึกษาค้นคว้าและจัดการ ความรู้อย่างเป็นระบบ เพ่ือกระตุ้นจิตสานึกคนไทย ให้เกิดการสงวนรักษาและพัฒนาฟ้ืนฟูมวยไทย 5 สาย ใหเ้ ป็นมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม สาขากีฬาภมู ปิ ัญญาไทย ให้คงอยู่ตลอดไป วัตถุประสงคข์ องกำรวิจัย เพื่อศึกษาการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

3 ขอบเขตของกำรวิจยั การศึกษาครัง้ นผ้ี ูว้ จิ ยั กาหนดขอบเขตของการศกึ ษา “การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย” โดยมุง่ เนน้ เฉพาะการสืบคน้ มวยไทยสายไชยา มวยไทยสายโคราช มวยไทยสายลพบุรี มวยไทย สายท่าเสาและพระยาพิชยั และมวยไทยสายพลศึกษา คำจำกัดควำมทใี่ ช้ในกำรวิจัย การจัดการความรู้ หมายถงึ การจดั การองค์ความรู้ ประกอบดว้ ยการประจักษช์ ดั ความรู้ การสรา้ งความรู้ การเก็บรวบรวมความรูแ้ ละการใช้ความรู้ มวยไทย 5 สาย หมายถึง มวยไทยสายไชยา มวยไทยสายโคราช มวยไทยสายลพบุรี มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย และมวยไทยสายพลศึกษา การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย หมายถึง การประจักษ์ชัดความรู้ การสร้างความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้และการใช้ความรู้เก่ียวกับมวยไทยสายไชยา มวยไทยสายโคราช มวยไทย สายลพบุรี มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย และมวยไทยสายพลศึกษา โดยใช้การสืบค้นและ ชมุ ชนเปน็ เครอื่ งมอื ในการจดั การความรู้ ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั 1. การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย กอ่ ใหเ้ กดิ เครือข่ายความรว่ มมือและการขบั เคลอ่ื น ของหน่วยงานตา่ ง ๆ ท่ีมสี ่วนเก่ียวขอ้ งกับองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย 2. การจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย นาไปสกู่ ารกาหนดนโยบาย การจัดการศึกษาของ องค์กร หน่วยงาน และสถาบันการศกึ ษาในการป้องกนั รักษา สง่ เสรมิ มวยไทย 5 สาย ใหเ้ ปน็ มรดกไทย มรดกโลกตลอดไป กรอบแนวคดิ ในกำรวิจยั การจัดความร้มู วยไทย 5 สาย มพี ื้นฐานการจดั การความรู้ของมาร์การ์ด (Marquardt. 1996) ท่ีได้เสนอกระบวนการจดั การความรู้ไว้ 4 กระบวนการ คอื 1. กระบวนการแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) 2. กระบวนการสรา้ งความรู้ (Knowledge Creation) 2.1. การสรา้ งความร้จู ากบุคคลหนึ่งไปยงั บุคคลหนึ่ง 2.2. การผสมผสานและสงั เคราะหค์ วามรู้ 2.3. การออกแบบความรู้ 2.4. การสรา้ งความรใู้ หม่ 3. กระบวนการจัดเกบ็ ความรู้และการฟืน้ ฟูความรู้ (Knowledge Storage and retrieval) 4. กระบวนการถ่ายโอนและการใช้ความรู้ (Knowledge transfer and utilization) จากกระบวนการจัดการความรู้ดงั กล่าว ผวู้ จิ ยั จึงไดว้ ิเคราะห์และสังเคราะหม์ าใช้ใน การศึกษาการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ซ่ึงมขี ้นั ตอนดังน้ี 1. การประจกั ษ์ชัดความรู้ เป็นการบง่ ชี้ความรู้ 2. การสร้างความรู้ เป็นการใช้แหลง่ ความรแู้ ละเครื่องมือตา่ ง ๆ มาชว่ ยจดั เกบ็ อย่างเปน็ ระบบ

4 3. การเก็บรวบรวมความรู้ เป็นการจดั เกบ็ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ 4. การใช้ความรู้ เป็นการศกึ ษาและเปลี่ยนขอ้ มูลดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ อันก่อให้เกดิ ความรใู้ หม่ ๆ กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย “กำรจดั กำรควำมรูม้ วยไทย 5 สำย” การจดั การความร้ขู องชุมชน องค์ความรู้มวยไทย 5 สาย การจัดการความรูม้ วยไทย 5 สาย การประจกั ษ์ชดั ความรู้ มวยไทยสายไชยา มีการจัดโครงการและกจิ กรรมในชมุ ชน การสร้างความรู้ มวยไทยสายโคราช มีการสร้างเครอื ขา่ ยขอความร่วมมอื มวยไทยสายลพบรุ ี จากผ้รู ู้, ผู้ทรงภูมิปญั ญาและผ้เู ก่ียวขอ้ ง การเกบ็ รวบรวมความรู้ มวยไทยสายพลศึกษา มกี ารดึงดดู โนม้ น้าวและชกั ชวน การใชค้ วามรู้ ใหค้ นในชุมชนมสี ่วนรว่ ม วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ มวยไทยสายทา่ เสา การจดั การความรขู้ อง และพระยาพชิ ัย มีระบบบริหารจดั การโดยเนน้ มารก์ ารด์ (Marquart.1996) การปกปอ้ งรกั ษาและสง่ เสริมมวยไทย เปน็ ไปตามจารตี ประเพณีของชมุ ชน คำถำมกำรวจิ ยั 1. การจัดการความรูม้ วยไทย 5 สาย มกี ระบวนการและข้ันตอนอย่างไร 2. การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย มีปัจจัยอะไรบ้างที่ช่วยส่งเสริมให้ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบนั การศึกษา ปกป้องรกั ษา สง่ เสริมมวยไทย 5 สาย ใหเ้ ปน็ มรดกไทย มรดกโลก

7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง การวิจัยเร่ือง การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ี เกยี่ วขอ้ งซึ่งเปน็ พื้นฐานและแนวทางในการวจิ ัย ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. แนวคิดเกี่ยวกับการจดั การความรู้ 2. แนวคิดเกยี่ วกบั มวยไทย 5 สาย 3. งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง 3.1 งานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้องกับการจดั การความรู้ 3.2 งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้องกับมวยไทย 5 สาย 1. แนวความคดิ เก่ียวกับการจดั การความรู้ การจัดการความรู้เป็นศาสตร์ท่ีมีผู้คนให้ความสนใจกันเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งแท้ท่ีจริง แล้วได้มีการนาแนวคิดนี้มาใช้ทั้งในแวดวงธุรกิจ การศึกษา การพัฒนา ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็น ระดับนโยบาย องค์กร หรือชุมชนเองก็ตาม เพียงแต่ชื่อที่เรียกกระบวนการเหล่านั้น อาจแตกต่าง กนั ไปตามยุคสมยั หรอื สถานท่ี ซึ่งจะมีการพฒั นาเปล่ียนแปลงไป พฒั นาการ มติ ิ และกระบวนการการจดั การความรู้ หากพิจารณาการจัดการความรู้ในแง่ของความเป็นศาสตร์แล้ว จะเห็นได้ว่าพัฒนาการมีมา ยาวนาน โดยพฒั นาการของทฤษฏีการจัดการความรู้ ไม่ได้เป็นวัฒนธรรมใหม่ แต่เป็นการบูรณาการ ศาสตร์ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ซง่ึ เปน็ การพัฒนาแนวคิดของทฤษฏีอื่น ๆ โดยมีการพัฒนาการของทฤษฏี การจัดการความรู้มาเป็นลาดับ ตั้งแต่ในอดีตในยุคทฤษฏี Program Evaluation and Review Technique ในทศวรรษที่ 1950 เป็นต้นมา จนกลายเป็นทฤษฏี Knowledge Management ใน ทศวรรษ 2000 (Tiwana, 2000 ; Wig. 2002) ดังแผนภาพดา้ นลา่ ง ภาพท่ี 1 พฒั นาการของทฤษฏกี ารจัดการความรู้ K.M emerges As the uniflying The 2000s Corporate goal Knowledge Management Intellectual Capital Enterprise Integration Knowledge Sharing Culture

8 Learning The 1990s Culture Unlearning and Cote competencies Specificity is Experience are The learning Organization recognized taken into account reenginecring Tacit Knowledge become a part of The 1980s Total Quality Management the picture Management by Walking Around Corporate Culture Theory Z Downsizing The 1970s Stralegic Planning = Minizbreg and porter The experience Curve Portfolio Management Automation The 1960s Theory Y Conglomeration T-groups Centralization and De centralization The 1950s Focus shift towards Management by Objective distributed expertise Program Evaluation and Review Technique and knowledge Diversification Qualitative Management Electronic Data Processing เมื่อมองการจดั การความร้ใู นปจั จุบัน สามารถมองได้หลายมติ ใิ นฐานะตา่ ง ๆ โดย Karl M.Wilg (2002) ไดแ้ บ่งมติ ิของความรู้ออกเปน็ 4 ดา้ น ได้แก่ 1. การจดั การความรู้ในฐานะเทคโนโลยี (knowledge management as a technology) การจดั การความร้คู วามสามารถทาไดห้ ลายวิธี การใชเ้ ทคโนโลยีถือเปน็ วิธกี ารหนึง่ ในการจัดการ ความรู้เพื่อใช้เปน็ how-to เป็นวิธกี าร มองการจัดการความรู้เปน็ IT- based ในการเขา้ ถงึ ความรู้ โดยใชค้ วามหมาย ในการสร้างมาตรฐานสาหรบั การจดั การความรู้ 2. การจัดการความรู้ในฐานะสาขาวิชา (knowledge management as a discipline) มอง การจัดการความรู้เป็นศาสตร์หน่ึงที่ควรมีการจัดการศึกษา อาจจะทาเป็นหลักสูตรการศึกษาและ การฝึกอบรม หรือการพัฒนาวิธีวิทยาการใหม่ ๆ เป็นการมองในเชิงทฤษฏีและการตอบคาถาม รวมถงึ การเกิดอาชพี ทส่ี มั พนั ธ์กบั การจดั การความร้เู กิดขนึ้

9 3. การจัดการความรู้ในฐานะสังคมและความเคลื่อนไหวทางธุรกิจ (knowledge managernent- - as a management philosophy and practice) มองว่าการจัดการความรู้ ต้องมีคนท่ีต้องการจัดการ เร่ืองเหล่าน้ัน เช่น ในรูปแบบของกลยุทธ์ทางธุรกิจ หรือการวางแผน ปฏิบัติการ มกี ารคิดบนพื้นฐานปรัชญาโดยคานึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย วัฒนธรรมองค์กร แรงจูงใจเพื่อให้ การจดั การความรปู้ ระสบผลสาเร็จ 4. การจัดการความรู้ในฐานะสังคมและความเคลอื่ นไหวทางธรุ กจิ (knowledgemanagement as a societal and enterprise movement) มองการจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่ทาให้เกิดสังคม และความเคล่ือนไหวทางธุรกิจตามกระแสความเคล่ือนไหวของยุคโลกาภิวัฒน์ การเป็นสังคมแห่ง ความรู้ การใช้ทนุ ทางปัญญาเป็นปัจจัยในการแข่งขันจึงต้องใช้การจัดการความรู้เพ่ือเติมช่องว่างของ ความรู้ (knowledge - Gaps) ซ่ึงการจัดการความรู้ของบุคคลและองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพควรมี การศึกษาและจัดการช่องว่างของความรู้ ด้วยการเติมเต็มช่องว่างของบุคคลนั้น ๆ (Srinvas. 2003) ดงั แผนภาพ ภาพที่ 2 การจัดการความรู้เพ่ือเติมชอ่ งว่างของความรู้ รู้ มี (Have) ไมม่ ี (Don’t Have) (know) ความรทู้ ่ีชดั แจ้ง (Explicit Knowledge) ชอ่ งว่างของความรู้ (knowledge Gaps) “รู้ว่าตนเองมีความรู้” “รวู้ ่าตนเองไมม่ ีความรู้” (Knowledge you know you have) (Knowledge you know you don’t have) ไมร่ ู้ ความรโู้ ดยนัย (Tacit Knowledge) ชอ่ งวา่ งของความไมร่ ู้ (Unknown Gaps) (Don’t know) “มีความรู้แตไ่ มร่ ูว้ ่าตนเองมี” (Knowledge you don’t know you (knowledge you don’t know you have) don’t have) ในการจัดการบริหารจัดการความรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพจึงต้องใช้วิธีการ 1) ประสานงาน กันระหว่างคนที่รอบรู้ มีความรสู้ กึ ดีในเรอ่ื งน้นั ๆ กับบคุ ลทไี่ ม่มีความรู้ เพ่ือยกระดับผลการปฏิบัติงาน ของ พวกเขา 2) จัดการความรู้โดยนัยให้ง่ายต่อการถ่ายโอนความรู้ 3) ค้นหาช่องว่างของความรู้ 4) กระบวนการจัดการความรู้โดยใช้ความรู้พื้นฐานเพื่อการเติมเต็ม และยกระดับการแลกเปลี่ยน

10 ความรู้ซึ่งกันและกัน เพ่ือช่วยในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาการสร้างความร่วมมือกัน เพื่อช่วยใน การตัดสินใจแก้ไขปัญหาการสร้างความร่วมมือการกันการทาให้เกิดนวัตกรรม และช่วยสนับสนุน การปรบั เปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารที่มีไปเปน็ ความรู้ การจัดการความรู้จึงมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับทุนทางปัญญาของคนในสังคมและชุมชน นั้นๆ ท้ังในฐานะของตัวความรู้เองและปรัชญาท่ีอยู่เบื้องหลังความรู้ ฐานคิด ความเช่ือต่าง ๆ ท่ีแฝง อยใู่ นภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ด้วยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเคร่ืองมือในการช่วยให้เกิดเข้าถึงและ สรา้ งสรรคค์ วามรู้ โดยแนวทางท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การจัดการความรูท้ ่มี กี ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วย ตามท่ี Karl E. Sveiby (2006) ได้กล่าวถึงแนวทางและระดับของกิจกรรมที่เก่ียวกับการจัดการ ความรเู้ ป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. การจัดการสารสนเทศ (Management of Information) เป็นการจัดการความรู้ใน ฐานะท่ีเป็นข้อมูลสารสนเทศ ด้วยการสร้างระบบจัดการสารสนเทศ ด้วยการสร้างระบบจัดการ สารสนเทศ โดยนักวิจัยและผู้ปฏิบัติงานจะใช้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ตามแนวทางนี้ ถือวา่ ความรเู้ ป็นสิง่ ทีส่ ามารถจาแนกและจดั การในระบบสารสนเทศได้ 2. การจัดการเกย่ี วกบั คน (Management of People) นกั วิจยั และผูป้ ฏบิ ัติจะใช้ความรู้ด้าน ปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยาหรือธุรกิจ การจัดการ เป็นการจัดการความรู้ในฐานะที่เป็นการจัดการ เก่ยี วกับคน มีการประเมินการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทักษะหรือพฤติกรรมของบุคคล โดยถือว่า ความรู้เปน็ กระบวนการทมี่ คี วามซับซ้อนและมีความเป็นพลวัตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยระดับของกิจกรรม (Levels of Activities) สามารถทาได้ทั้งระดับบุคคล (Individual Perspective) เน้นที่การทาวิจัยและการปฏิบัติในระดับบุคคล และระดับองค์กร (Organization Perspective) เน้นท่ีการทาวจิ ยั และการปฏบิ ัตใิ นระดับองค์กร การจัดการความรู้เป็นศาสตร์ที่มีมานาน และได้นามาใช้ในประเทศไทยอย่างแพร่หลาย ยิง่ ขน้ึ ในปัจจุบัน โดยมกี ารนาการจดั การความร้มู าใชท้ ง้ั ในแวดวงการศึกษา แวดวงธุรกิจ โดยเฉพาะ อย่างยงิ่ คอื มุมมองของการใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ท่ี มกี ารดาเนนิ งานทม่ี ปี ระสิทธิภาพ จงึ นิยมนาการจัดการความรู้มาใช้ในองค์กรต่าง ๆ ทั้งองค์กรเอกชน องค์กรภาครัฐ จนถึงหน่วยงานทางการศึกษาและลงมาจนถึงชุมชน โดยการนาแนวคิดทฤษฏีของ นักวิชาการชาวต่างประเทศมาใช้ในการศึกษา ซ่ึงพบว่าบางปัจจัยสามารถใช้ได้กับประเทศไทย แต่ บางปจั จยั หรือมีความแตกต่างกันตามลักษณะขององค์กรท่ีมีธรรมชาติ โครงสร้างและการบริหารงาน แตกต่างกันโดยส้ินเชิง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในบริบทของชุมชนท่ีมีความพร้อมต่าง ๆ แตกต่างจาก องค์กรลกั ษณะอ่ืน ทัง้ นานโยบายการบรหิ ารองค์ความรู้ เทคโนโลยีท่ใี ชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการเข้าถึงและ บริหารความรู้ ดังน้ันประเด็นการศึกษาการจัดการความรู้ท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับความรู้ที่เป็น ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นจึงเป็นประเดน็ ท่ีน่าสนใจศึกษาและได้มผี ู้เรม่ิ สนใจศึกษามากขึ้น ซ่ึงส่วนใหญ่แล้วอยู่ ในขั้นของการศึกษารวบรวมภูมิปัญญาเสียมากกว่าการส่งเสริม หรือเผยแพร่และใช้ประโยชน์จาก ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ อยา่ งเต็มทีด่ ว้ ยการจดั การความรู้

11 ในการพิจารณาความคิดเห็นของนักวิชาการที่ได้แบ่งกระบวนการจัดการความรู้ไว้แตกต่างกัน บ้างก็กาหนดเป็นข้ันตอนท่ีละเอียดลงไป บ้างก็กาหนดไว้ในภาพรวมของกิจกรรม สรุปได้ว่า ขึ้นตอน หลัก ๆ มี 4 ขน้ั ตอน ตามแนวคิดของ Marquardt ซึ่งผู้วิจัยสนใจนามาพัฒนาเป็นกรอบในการศึกษา การจดั การความรูภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น โดยเรมิ่ ตน้ จาก 1) การตระหนักถึงความรู้ท่ีมี สามารถบ่งช้ีความรู้ ที่จาเปน็ ตอ่ ตนเอง องคก์ ร หรอื ชุมชนได้ และมี 2) การสร้างความร้ขู ึ้นโดยใช้แหล่งช่องทาง เครื่องมือ ต่าง ๆ มาช่วย ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่สาคัญในการสร้างความรู้ เน่ืองจากความรู้เหล่านั้นอาจเป็น ความรู้โดยนัยที่ยังไม่มีการทาให้เป็นความรู้ที่ชัดแจ้งหรือเป็นความรู้ชัดแจ้งท่ีมีอยู่แล้ว จึงต้องอาศัย วิธีการในการดึงความรู้เหล่านั้นให้มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ 3) มีการจัดเก็บความรู้เหล่านั้น อย่างเป็นระบบ โดยอาจแบ่งเป็นประเภทของข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ง่ายต่อการนามาใช้ หรือพัฒนา ข้อมูลเหล่านั้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเคร่ืองมือในการจัดข้อมูล เม่ือมีการจัดเก็บแล้ว 4) การถา่ ยโอนและใช้ความรู้ โดยการเขา้ ไปยังความเหล่าน้นั มกี ารศึกษาแลกเปล่ียนด้วยวิธีการต่าง ๆ เพอื่ ให้เกิดการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ และมีการใช้ฐานความรู้เติมต่อยอดเป็นภูมิปัญญาท่ีสามารถดารง และประยุกต์ใช้ได้ในบริบทปจั จุบันในสงั คมไทย ดังท่ี Marquardt (1996) ได้เสนอกระบวนการจดั การความรู้ไว้ 4 กระบวนการ ไดแ้ ก่ 1. กระบวนการแสวงหาความรู้ (knowledge Acquisition) เปน็ การแสวงหาความรู้ท้ังจาก ภายในและภายนอกองคก์ าร 2. กระบวนการสรา้ งความรู้ (Knowledge Creation) ทงั้ ทีเ่ ปน็ ความรทู้ ี่ชัดแจง้ และ ความรู้โดยนยั ด้วยวธิ ีการสรา้ งความรู้ 4 แบบทม่ี ีปฏสิ มั พันธ์กันอย่างต่อเนื่องและมีการหมุนเวยี นไป เรื่อย ๆ คอื 1) knowledge Vision คือ การกาหนดวสิ ัยทศั น์ในการจดั การความร้วู า่ จะไปในทศิ ทาง ใดและจะจดั การความรูไ้ ปเพื่ออะไร 2) knowledge Sharing คือ การแลกเปล่ยี นความรแู้ ละการชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกัน 3) knowledge Assets คอื การสรา้ งคลงั ความรู้ เชอื่ มโยงเครอื ข่ายประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ การจัดการความรูจ้ ึงเปน็ กระบวนการทส่ี ามารถนามาใช้ในการพัฒนาองค์กร หรือองค์ความรู้ ทมี่ ีอยู่ โดยเริ่มตั้งแต่การระดมความคิดของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ยกตัวอย่างกรณีของภูมิปัญญาท้องถ่ิน จาเป็นต้องมีการระดมความคิดเพื่อแสวงหาภูมิปัญญาท้องถ่ิน สร้างกระบวนการระดมความคิดด้วย เวทีสาธารณะ นามากาหนดเป็นเป้าหมาย หรือวิสัยทัศน์ของการพัฒนาชุมชน แล้วใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเข้าช่วยในการจัดการ ข้อมูล ด้วยความร่วมมือของทีมผู้รู้ ผู้เช่ียวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ เด็กเยาวชน บุคคลทุกฝ่าย แบ่งหน้าท่ีกันจัดการ สร้างสรรค์ผลผลิตของภูมิปัญญา ออกมา มีการบันทึก เผยแพร่ ให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงและเกิดการแลกเปลี่ยน พัฒนาความรู้ เหลา่ นั้นได้ ดงั นิยามของการจัดการความรู้ ความหมายของการจดั การความรู้ การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการในการถ่ายทอดองค์ความรู้จากประสบการณ์ การเรียนรู้ เป็นสิ่งทสี่ ัง่ สมกนั มาดว้ ยวิธีการ สื่อต่าง ๆ รวมถึงเครื่องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ ให้เกิดการแพรข่ ยาย ถา่ ยโอน แลกเปลีย่ นความรู้ ทงั้ ทเ่ี ปน็ ความรู้โดยนยั ใหเ้ ปน็ ความรู้ท่ีชัดแจ้ง

12 และความรู้ที่ชัดแจ้งที่มีอยู่ เพื่อใช้ประโยชน์จากฐานความรู้น้ัน ๆ มาพัฒนาสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ ตอ่ ไปได้ ดังนักวิชาการได้ให้ความหมายของการจัดการความรู้ในแง่การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เคร่ืองมือในการจัดการความรู้ ให้เป็นระบบท่ีง่ายต่อการเข้าถึงตามที่ Thomas Bertels (Berteis, 2006 : online) กลา่ ววา่ การจดั การความรู้เป็นการบริหารจัดการองค์กรเพ่ือให้เกิดการสร้างองค์กร ฐานความรู้อย่างต่อเน่ือง เช่น การสร้างโครงสร้างองค์กรที่ให้การสนับสนุนการเรียนรู้ การอานวย ความสะดวกแกส่ มาชิกในองค์กร รวมถึงการใช้เครื่องมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) โดยเน้น การทางานเปน็ ทีมและการแพร่ขยายความรู้ และ ก.พ.ร. (ประศักด์ิ หอมสนิท และอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, 2549) กล่าวว่า การจัดการความรู้ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ในส่วนราชการซึ่งกระจัด กระจายในตวั บคุ คล หรอื เอกสาร มาพฒั นาให้เปน็ ระบบเพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมี ความสามารถในเชงิ แข่งขัน และการมองการจัดการความรู้ ในแง่ของการใช้ประโยชน์จากการจัดการ ความรู้น้ัน ๆ ดังท่ี Brian (Bo) Newman (Newman. 2006 : online) ได้ให้ความหมายของ การจัดการความรู้ในการประชุม KM Forum Archives ว่าการจัดการความรู้เป็นกระบวนการ เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ การแพร่ขยายและการใช้ประโยชน์ของความรู้ โดยมีการศึกษาการจัดการ ความรกู้ ันมาเป็นเวลานานแล้ว เชน่ ในหม่ขู องนกั ปรัชญา นักบวช ครู นักการเมือง นักเขียน นักเสรี นยิ ม เป็นต้น Morgan Harrie and Hedgepeth (2003) ให้ความหมายว่า การจัดการความรู้เป็น กระบวนการความร่วมมอื เพื่อนาไปสู่การยกระดับความสามารถ ในการปฏิบัติงาน การใช้ประโยชน์ จากขอบข่ายความรู้ และการเขา้ ถึงความรทู้ ีเ่ กดิ จากกการพฒั นาเครอื ข่าย จากการนิยามความหมายของการจัดการความรู้ข้างต้น จะพบว่านักวิชาการส่วนใหญ่ มองการจดั การความรู้ ในแง่ของการใช้ประโยชน์เพื่อจัดการความรู้ท่ีมีอยู่ ด้วยการดึงความรู้ที่แฝงอยู่ ใหม้ รี ะบบบรหิ ารจัดการเพ่ือให้สามารถเขา้ ถงึ (Access) และนาไปใชป้ ระโยชน์ได้โดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็น เคร่ืองมือในการบริหารจัดการ การจัดการความรู้ จึงเป็นการบริหารจัดการด้วย การใช้ความรู้และเครือ่ งมอื ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้เพ่อื ดึงความรู้โดยนัย ให้เป็นความรู้โดยชัด แจ้งนามาบรหิ ารจัดการใหเ้ ป็นระบบเพอื่ ใหผ้ ้อู ื่นสามารถเข้าถงึ ได้ เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาองค์ความรู้นั้น ๆ จึงมุ่งศึกษาการจัดการความรู้ในฐานะเป็นเคร่ืองมือใน การแสวงหาความรู้ให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักในองค์ความรู้ คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมใน ท้องถ่ินของตน แล้วร่วมกันสร้างความรู้ขึ้นมาเพ่ือจัดเก็บเป็นฐานความรู้ของตน ด้วยวิธีการท่ี สอดคล้องกับความพร้อมทางทักษะ ความรู้ในการจัดเก็บและใช้ความรู้จากเครื่องมือน้ัน ๆ เช่น การทาเว็บไซด์ชุมชน การจัดทาฐานข้อมูลชุมชน การจัดหลักสูตรเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้รู้ใน ชุมชนแก่เด็กและเยาวชนในหมู่บ้านและเกิดการถ่ายโอนและใช้ความรู้ไปสู่คนอื่น ๆ ท่ีสนใจ เพื่อให้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ เหล่านน้ั ไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละนาไปใช้เกิดประโยชนแ์ ก่คนอ่นื ๆ ต่อไป ประเภท ชนดิ และระดับของความรู้ ความรสู้ ามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภท คอื ความร้โู ดยนยั (Tacit Knowledge) และความรู้ ทีช่ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge)

13 1. ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) เป็นความรู้เฉพาะบุคคล เกิดจากประสบการณ์และ สภาพแวดล้อมท่ีทาให้เกิดการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน เป็นส่ิงที่ยากต่อการบันทึกความรู้ การถ่ายทอด หรือแสดงออกให้เห็นได้ชัด เพราะเป็นความรู้ท่ีสะสมเก็บไว้ในสมองของแต่ละบุคคล ดังน้ัน ความรู้ โดยนัย จึงพัฒนามาจากประสบการณ์ กระบวนการเรยี นรู้ท่ีไดล้ งมอื ฝึกหัดโดยตรง 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นองค์ประกอบหลักของความรู้ ซ่ึงสามารถ ประมวลและถ่ายทอดออกมาอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เอกสาร ฐานข้อมูลเว็บ ไซด์ ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) แผนผังเป็นตน้ นอกจากนค้ี วามรูท้ ั้ง 2 ประเภทแลว้ ยงั สามารถแบ่งของความรู้ (Types of knowledge) ออกไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ คอื 1. ความรู้ที่นามาใช้ (Exltemalized Knowledge) ความรู้เป็นสิ่งท่ีซับซ้อน และอยู่ในตัว บุคคล แต่สามารถนาความรู้มาใช้ได้ในรูปแบบของผลิตภัณฑ์และกระบวนการขององค์กร อย่างเช่น ความรู้โดยนัยเป็นความรู้ที่ประกอบด้วยความเชื่อ ความคิด ค่านิยม ระบบการคิดท่ีฝังลึกอยู่ใน ตัวบุคคลแต่ละคน เป็นส่ิงที่แสดงออกมาให้เห็นได้ยาก ขึ้นอยู่กับการรับรู้ของแต่ละคน ในการดึง ความรูน้ ้ันออกให้เห็นเป็นรปู ธรรมเพื่อให้เป็นความรทู้ ชี่ ดั แจง้ 2. ความรู้จากหลายแหล่ง (Multiocational Knowledge) ความรู้จะมีอยู่ท้ังในและนอก องค์กร การจัดการความรู้เป็นการบูรณาการความรู้จากแหล่งต่างๆ ในรูปแบบต่าง ๆ แล้วเก็บรักษา ความรู้น้ันไว้ ความรู้น้ันไว้ รวมถึงความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ กฎระเบียบภายในองค์กร และนอก องค์กร มีผลตอ่ การเคล่ือนย้ายและเปลยี่ นแปลงความร้โู ดยนยั เปน็ ความรูท้ ีช่ ัดแจ้ง 3. ความรู้ท่ีเคล่ือนย้ายได้ (Migratory Knowledge) การเคล่ือนย้ายความรู้ คือการที่ความรู้ เป็นอิสระ ไม่ได้ข้ึนอยู่กับเจ้าของความรู้ หรือผู้ติดรู้น้ัน ๆ เพราะความรู้จะมีการมีขยายวงกว้างและ เพมิ่ ข้ึนได้ จากการศึกษาในแหล่งต่าง ๆ เช่น ในเอกสาร ฐานข้อมูล รูปภาพและด้วยความทันสมัย ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทาให้ความรู้แพร่ขยายและเปล่ียนแปลงได้เร็วข้ึน การเคล่ือนย้ายของ ความรจู้ ึงใชก้ ระบวน การถา่ ยโอนความรู้ (Transfer Knowledge) จากบคุ คลหน่งึ หรือองค์กรหน่ึงไป ยังบคุ คลอืน่ ๆ การเรียนรู้จึงสามารถปรับเปลี่ยนได้ดังที่ Argyris and Schon (Argyris and Schon. 2006 Online) ให้แนวคิดเกี่ยวกับวงจรการเรียนรู้ว่าโดยท่ัวไปการเรียนรู้สามารถปรับเปลี่ยนได้ ซ่ึงอาจจะ เกิดจากการเปล่ียนแปลงขององค์กร หรือกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ท่ีเพ่ิมข้ึน ซึ่งเม่ือมีการ เปลีย่ นแปลงเกดิ ข้นึ การเรยี นรกู้ จ็ ะเกดิ ขึ้นตามมาเป็นอตั โนมัติ การเรียนรู้ในองค์กร จึงมีวงจรการเรียนรู้อยู่ 2 ชนิด คือ วงจรการเรียนรู้แบบทิศทางเดียว (Single-Loop Leaning) เป็นการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสิ่งท่ีได้ทาไปแล้ว โดยมุ่งเน้นวิธีการหรือ เครอ่ื งมือ และวงจรการเรียนรู้แบบสองทิศทาง (Double-Loop Leaning) เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นการ ทดสอบสมมติฐาน ทอี่ ยู่ ภายใต้สิ่งที่กาลังกระทาอยู่ โดยสรุปความรู้ทั้งสองประเภทจึงเป็นสิ่งท่ีเกิด คู่กันโดยต้องอาศัยวิธีการ และกระบวนการจัดการความรู้ท่ีสอดคล้องเพื่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้ โดยบูรณาการจากสอ่ื และแหลง่ ต่าง ๆ

14 ในการจัดการความรู้จาเป็นต้องรู้ความสาคัญของความระดับต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถจัดการ และใช้ประโยชน์จากความรู้และใช้ประโยชน์จากความรู้ได้ ดังที่ Jame Brian Quinn แลคนอ่ืน ๆ (อา้ งถึงใน Tiwana, 2000) ได้แบง่ ระดบั ของความเป็น 4 ระดบั ไดแ้ ก่ 1. รวู้ า่ คอื อะไร (Know-what) เป็นความรูเ้ บ้ืองต้นท่จี าเป็นตอ้ งมี เปน็ ความรูใ้ นเชงิ การรบั รู้ ของบุคคลวา่ ส่งิ นัน้ ๆ คืออะไร 2. ร้วู ธิ กี าร (know-how) เปน็ ความรใู้ นระดับที่เข้าใจเหตุผลอย่างลกึ ซ้งึ และสลบั ซับซ้อนรู้ ถงึ สาเหตุ ผลกระทบท่ีจะเกดิ ข้ึน เป็นความรูท้ ีส่ ัมพันธก์ บั ความรับผดิ ชอบของแตล่ ะบุคคล 3. รเู้ หตุผล (know-why) เป็นความร้ใู นระดับท่เี ข้าใจเหตุผลอยา่ งลึกซงึ้ และสลบั ซบั ซ้อนรู้ ถงึ สาเหตุ ผลกระทบท่จี ะเกดิ ขนึ้ เป็นความรู้ท่สี ัมพันธ์กับความรบั ผิดชอบของแตล่ ะบคุ คล 4. รแู้ ละใสใ่ จในเหตผุ ล (Care – why) เปน็ ความรทู้ เ่ี กดิ จากการจงู ใจตนเองในทาง สร้างสรรค์ของบุคคลในองค์กร เปน็ ความรู้ทไี่ ด้รับอิทธิพลจากวฒั นธรรมองค์กร และความทันสมยั ของเทคโนโลยี สอดคล้องกับการแบ่งระดับของความรู้ของวิจารณ์ พานิช (สานักงานกองทุนสนับสนุน การวจิ ยั . 2545 : 346) ที่ได้แบ่งระดับและยกตัวอย่างความรู้ท้ัง 4 ระดับ ไว้ว่า ความรู้ระดับที่ 1 คือ Know – what เปรียบเหมือนความรู้ของคนสาเร็จการศึกษาใหม่ ๆ แต่ยังไม่เคยลงมือปฏิบัติเม่ือ ปฏิบัติเป็นแล้ว จึงเป็นความรู้ในข้ันท่ี 2 คือ Know – how และเม่ือสามารถอธิบายผลได้ว่าทาไม ปฏิบัติเช่นน้ันแล้วจึงประสบความสาเร็จก็สามารถอธิบายได้ ถือเป็น Know – why ในระดับท่ี 4 คือ Care – why คือในที่สุดแล้วส่ิงเหล่าน้ันซึมเข้าไปในตัว และสามารถแสดงออกมาได้ในสภาวะที่ เหมาะสม รวมถงึ เรื่องคณุ คา่ คณุ ธรรม จริยธรรมด้วย ปัจจัยสคู่ วามสาเรจ็ ในการจดั การความรู้ เพื่อให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ จึงควรศึกษาปัจจัยที่อาจส่งผลต่อความสาเร็จ หรือความล้มเหลว เพื่อเป็นพึงระวังและแนวทางในการส่งเสริมการจัดกระบวนการจัดการความรู้ ที่สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ (2549) ได้ กล่าวว่าปัจจัยความสาเร็จที่จะทาให้การจัดการความรู้ใน องคก์ รประสบความสาเรจ็ ประกอบดว้ ย 1. ผู้นา และการสร้างกลยุทธ์ โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีความเช่ือในคุณค่าของคนและ ความรู้ท่ีในองค์กร เข้าใจในลักษณะของปัญหาและพันธกิจขององค์กร ส่งเสริมและสนับสนุนความ เป็นมืออาชีพในด้านต่าง ๆ ให้เกิดข้ึน ค้นหาและเชิดชูกระบวนการทางานท่ีเป็นเลิศจากหน่วยงาน ภายใน เป็นต้นแบบแห่งการเป็นผู้ริเริ่มในการแบ่งปันและเรียนรู้ กาหนดทิศทางในการพัฒนาระบบ การจดั การความรู้ภายใน วางกลยุทธใ์ นการจดั ทาระบบการจดั การองคค์ วามร้ทู ่จี ะประสบผลสมั ฤทธ์ิ 2. วฒั นธรรมและพฤตกิ รรมของคนในองคก์ ร โดยคนในองค์กรต้องมีเจตคติท่ีดีในการแบ่งปัน ความรู้ มคี วามไวเ้ น้ือเช่ือใจ และใหเ้ กียรตกิ ัน เคารพในสทิ ธแิ ละความคดิ ของผรู้ ่วมงานในทุกระดบั 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องมีความพร้อมทางอุปกรณ์และเทคโนโลยีท่ีสามารถสนับสนุน การทางาน และการเรียนรู้ของคนในองค์กรได้ การสร้างฐานข้อมูลและการจัดการระบบฐานข้อมูล โดยใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อเปน็ สื่อกลางในการรวบรวมและส่งต่อองค์ความรู้ 4. การวัดผลและการนาไปใช้ โดยจัดทาระบบการติดตามและวัดผลของการจัดการความรู้ และประโยชน์จากการนาไปใช้

15 5. โครงสร้างพ้นื ฐาน มีการวางระบบการบริหารจัดการ การรวบรวมข้อมูลและการรายงาน ผลการดาเนนิ การตา่ ง ๆ ที่จะเอ้อื ให้แผนงานของการจัดการความรู้ประสบผลสาเรจ็ ส่วนกานต์สุดา มาฆะศริ านนท์ (2546 : 58 - 59) ได้สรปุ ปัจจัยส่คู วามสาเรจ็ ในการจัดการ ความร้ไู ว้ ดังนี้ 1. ผู้นาต้องตระหนักและเข้าใจคุณค่าของความรู้หรือทรัพยากรทางปัญญาและสนับสนุนให้ เกิดนโยบายหรือกลยุทธ์ต่าง ๆ ในการบริหารความรู้ โดยผู้นาต้องทุ่มเทความพยายาม และอุทิศ ตนเองเพ่อื เปน็ แบบอย่าง (Change Agent) อย่างจริงจังและต่อเนอื่ ง เพราะการบริหารความรู้ไม่อาจ เห็นผลทชี่ ัดแจ้งไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้ัน 2. บุคลากรต้องตระหนักถึงคุณค่าและความจาเป็นของการบริหารความรู้ โดยให้ความมือ กบั องคก์ รในการทากิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากการบริหารความรู้ที่บรรลุผลต้องอาศัยความร่วมมือจาก ทุกฝา่ ยในองคก์ รเปน็ สาคัญ 3. ผ้รู บั ผิดชอบโดยตรงในการบรหิ ารความรู้ ซ่งึ องค์กรควรจัดตงั้ ข้ึนเป็นทมี งานที่มาจากการ ผสมผสานของพนักงานที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญต่างกันไปเพื่อก่อให้เกิดความหลากหลาย โดย ทีมงาน ต้องรับผิดชอบองค์ประกอบต่าง ๆ ในการบริหารความรู้ด้วยการดูแลและพัฒนาให้ทุก องคป์ ระกอบเชอื่ มโยงและสัมพนั ธ์กันอยเู่ สมอ 4. องคก์ รต้องจัดกิจกรรมที่กระตุ้นและให้โอกาสบุคลากรในการคิดและแลกเปล่ียนความรู้ซ่ึง กันและกัน รวมทั้งปลูกฝังความรู้สึกเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ส่ิงที่ตนรู้ให้กับผู้อื่น และยอมรับความรู้ของผู้อื่น ดว้ ยแม้วา่ มอี าวุโสน้อยกว่า 5. การแปลงความรู้ไปสู่การปฏิบัติ โดยองค์กรต้องส่งเสริมให้บุคลากรนาความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เพอื่ ทาให้เกดิ การเรยี นรแู้ ละความสมั พนั ธ์ของความคดิ กบั การกระทา 6. รางวัลและแรงจูงใจเป็นส่ิงสนับสนุนให้บุคคลสนใจ ร่วมมือ และรับผิดชอบในการบริหาร ความรูข้ ององคก์ ร 7. การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้จากวิธีการต่างๆ ท่ีหลากหลาย และไม่มองข้ามประสบการณ์ ท่ีเกิดจากความล้มเหลว เพราะมผี ลต่อการสรา้ งสรรค์ความรแู้ ละนวัตกรรม 8. วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ นโยบาย และเป้าหมายในข้ันตอนต่าง ๆ ในการจัดการความรู้ท่ีชัดแจ้ง เพ่อื ใหพ้ นกั งานปฏบิ ตั ิไดต้ ามเป้าหมาย และเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน 9. ข้ันตอนดาเนนิ ในกระบวนการเรียนรู้ท่เี ป็นมาตรฐานและมปี ระสิทธภิ าพ 10. ทรพั ยากร ท้ังในดา้ นบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณในการดาเนินการ อย่างเพยี งพอและทว่ั ถงึ 11. การส่ือสารกบั บุคลากรในทกุ ฝา่ ยงานเพื่อใหร้ ับทราบและเขา้ ใจโดยทว่ั กัน 12. ทมี ผชู้ านาญการที่มีความสามารถเพยี งพอ 13. พฤติกรรมในการเรียนรขู้ องบุคลการในองค์กรท่เี รียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง และตลอดชีวติ 14. บทบาท หน้าท่ี และความรับผิดชอบทช่ี ดั แจง้ สาหรบั กิจกรรมสร้างพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ในองค์กร 15. การค้นคว้าและการพัฒนาเพอื่ ใหพ้ นักงานสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมใหม่ ๆ ใหก้ ับองค์กร

16 งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การจัดการความรู้ ได้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการนาการจัดการความรู้ไปใช้ในองค์กรต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน รวมถงึ สถาบันการศกึ ษาในแงม่ ุมต่าง ๆ โดยแบ่งได้เป็น งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของการจัดการความรู้ หรือปัจจัยความสาเร็จใน การจัดการความรู้ ได้แก่ งานวิจัยของ พรธิดา วิเชียรปัญญา (2546) ได้ศึกษาการจัดการความรู้ใน คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยความสาเร็จในการจัดการ ความรปู้ ระกอบดว้ ย การมพี น้ื ฐานของการเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้ ผู้บรหิ ารระดับสูงมีความคิดริเริ่ม มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีการวางพื้นฐานด้านการประกันคุณภาพ การให้ความสาคัญกับศาสตร์ การบริหาร ให้กรอบแนวคิด ให้ความรู้ สร้างทีมงานเพื่อให้สามารถพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่องแม้ ผู้บริหารจะหมดวาระการทางาน ผู้บริหารระดับกลางมีการรู้ตลอดเวลา เช่ือมั่นว่าผู้บริหารระดับ ธรรมาภิบาล คือ ความซ่ือสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ทุกคนมองปัญหาเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และ หาวิธีแกไ้ ข ใชค้ วามคดิ เปน็ บทเรียน นามาปรับปรุงงานของตนเอง ทุกคนพร้อมรับการประเมิน มีเวที ใหเ้ ผยแพรผ่ ลงาน ถอื คตวิ า่ พัฒนาคนเพ่อื พัฒนางานและพัฒนาความรู้ จิรัชฌา วิเชียรปัญญา (2549) ได้พัฒนาตัวบ่งชี้รวมสาหรับการจัดการความรู้ที่มี ประสิทธิภาพ โดยการสังเคราะห์วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูงของ หน่วยงาน ทมี่ กี ารจดั การความรทู้ เี่ ป็นเลิศ และสนทนากลุม่ ผ้บู ริหาร ผูเ้ ช่ียวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้าน การจัดการความรู้ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแปรการจัดการความรู้ท่ีมี ประสิทธภิ าพ 3 องคป์ ระกอบ คือ ปัจจยั นาเข้า ประกอบด้วยคุณลักษณะของบุคลากรกับคุณลักษณะ ขององค์กร กระบวนการ คือ การพัฒนามนุษย์และการพัฒนาองค์กรอิสระและผลผลิตประกอบด้วย ทุนมนุษย์กับทุนองค์กร 2) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยตัวแปรการจัดการความรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ระหว่างองค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจเอกชน มีความแตกต่างกันในด้านกระบวนการตัวบ่งชี้การ พัฒนามนุษย์ การพัฒนาองค์กร 3) ผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการจัดการ ความรูท้ ม่ี ีประสิทธภิ าพ มีความตรงเชิงโครงสร้างและความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ตัวบ่งชี้การจัดการความรู้ท่ีมีประสิทธิภาพสาหรับประเทศไทยคือ องค์ประกอบย่อย กระบวนการ องคป์ ระกอบย่อยปจั จยั นาเข้าและองคป์ ระกอบยอ่ ยผลผลิต นอกจากนั้นยงั มงี านวจิ ัยทศี่ ึกษาประเด็นตา่ ง ๆ เพิม่ เตมิ เช่น การศึกษาเก่ียวกับกระบวนการ การจัดความรู้ โดยศึกษาเกี่ยวกับระบบหรือรูปแบบของการจัดการความรู้ ดังเช่น กานต์สุดา มาฆะ ศิรานนท์ (2546) ได้ศึกษาการนาเสนอระบบการจัดการความรู้สาหรับองค์กรภาคเอกชนผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบการจัดการความรู้สาหรับองค์กรภาคเอกชน ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ ผู้นา ผู้บริหารองค์การ วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ พันธกิจการจัดการความรู้ นโยบายการจัดการความรู้ เป้าหมายการจัดการความรู้เทคโนโลยี บุคลากรท่ีให้ความรู้ และทีมผู้ชานาญการ 2) ระบบการ จัดการความรู้ประกอบด้วยข้ึนตอนย่อย 5 ขั้นตอน คือ การกาหนดสิ่งท่ีต้องเรียนรู้ การแสวงหา ความรู้ การสร้างความรู้ในองค์กร การจัดเก็บและสืบค้นความรู้ในองค์กร และการถ่ายโอนและนา ความรู้ไปใช้ บุญส่ง หาญพานิช (2546) ได้ศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ในสถาบัน อุดมศึกษาไทย จากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ผลการศึกษาพบว่าผู้บริหาร

17 สถาบันอุดมศึกษามีคามต้องการการบริหารจัดการความรู้ในด้านต่างๆ เช่น การสร้างความรู้การ จัดเก็บความรู้ การนาความรู้ไปใช้ การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ การบริหารความรู้ การส่ือสาร ความรู้ การใช้เทคโนโลยีวัฒนธรรมการไว้วางใจ วัฒนธรรมพลังร่วม ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ความรู้ รูปแบบการบริหารจัดการความรู้ท่ีเน้นการแบ่งปัน แลกเปล่ียนความรู้และบริการความรู้ ประกอบด้วย 1) ด้านวิสัยทัศน์ ในการเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้และชุมชนนักวิชาการ 2) ด้าน ภารกจิ ในการผลิต ถ่ายทอดและบริหารความรู้ 3) ด้านนโยบาย ในการแบ่งปันความรู้อย่างทั่วถึงท้ัง ภายในและภายนอกสถาบัน 4) ด้านเปา้ หมาย ในการพัฒนาวัฒนธรรมการแบง่ ปันแลกเปลี่ยนความรู้ และวัฒนธรรมการบริหารความรู้ พัฒนาฐานความรู้อิเล็กทรอนิกส์ของสถาบันและพัฒนาปฏิสัมพันธ์ ความรู้ 5) ด้านการประเมิน มีการประเมินความสามารถและวัฒนธรรมของสถาบัน 6) ด้าน ยุทธศาสตร์ได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการความรู้ไว้ 6 ยุทธศาสตร์คือ ยุทธศาสตร์ ผู้บรหิ าร ยุทธศาสตรน์ อลลิตจ์เวอร์เคอร์ ยุทธศาสตร์ปฏิสัมพันธ์ความรู้ ยุทธศาสตร์การสื่อสารความรู้ เทคโนโลยี ยทุ ธศาสตรก์ ารไว้วางใจ และยุทธศาสตร์พลังร่วม 7) ด้านสานักบริหารจัดการความรู้ คือ การวางแผนกลยุทธ์ การบริหารจัดการความรู้ 8) ด้านกระบวนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนและบริหาร ความรู้คือ การเตรียมความพรอ้ ม การกาหนดวิธีการแบ่งปันแลกเปล่ียนและบริหาร การประเมินและ การปรับปรุงแก้ไข 9) ด้านผลการดาเนินการ คือ ทาให้ปฏิสัมพันธ์ความรู้นวัตกรรมการเรียนรู้ ผลิตภัณฑ์และการบรกิ าร จากการศึกษาแนวคิดเก่ียวกับการจัดการความรู้ ร่วมกับงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการ ความร้ทู ่ผี ู้วิจัยได้ศึกษา พบว่าปัจจัยที่สนับสนุนให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ ต้องมีการให้ ความสาคญั ตอ่ การนาการจัดความรู้ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพโดยองค์กรนั้น ๆ มีการสร้างวัฒนธรรม บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ และสร้างพฤติกรรมในการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ให้เกิดกับคนใน องค์กร มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วย ผู้นาต้องให้ความสาคัญและสนับสนุนโดยควรกาหนด เป็นวิสัยทัศน์ขององค์กร หรือนโยบายท่ีจะนาไปปฏิบัติได้จริง มีการกาหนดแผนงานในรูปแบบ กิจกรรมที่เป็นรูปธรรม และตั้งทีมการจัดการความรู้ ให้ทุกคนในองค์กรได้มี หน้าท่ี และเป็นผู้มีส่วน รว่ มในการผลักดนั สร้างความสาเร็จรวม นอกจากนี้ยังต้องมีการวางระบบการบริหารจัดการท่ีดี และ มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงานตามแผนด้วย นอกจากนแี้ ลว้ ยังพบวา่ มีการศกึ ษาการจัดการความรู้ในองคก์ รรปู แบบตา่ ง ๆ ท้งั ในสถาบัน การศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนแง่มุมต่าง ๆ เช่น การยอมรับการจัดการความรู้ องคป์ ระกอบของการจัดการความรู้ ปัจจัยความสาเร็จในการจัดการความรู้ ปัญหาท่ีพบในการจัดการ ความรู้ การนาเสนอระบบและรปู แบบที่เหมาะสม รวมถงึ การพัฒนาตวั บ่งชี้ สาหรับการจัดการความรู้ ท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงประกอบ ไปด้วยปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งสามารถนาผลการวิจัยเหล่านี้ไปปรับใช้ได้ใน ภาคส่วนต่าง ๆ ได้ และผลจากการวิจัยพบว่า กระบวนการจัดการความรู้มีข้ันตอนที่คล้ายคลึงกัน แต่แตกต่างกันตามบริบทขององค์กร ที่ศึกษาโดยปัจจัยท่ีทาให้การจัดการความรู้สาเร็จจึงมีความ คล้ายคลึงกันเช่น 1) การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของหน่วยงานท่ีเข้าไปศึกษา 2) การยอมรับเอา วิธีการจัดการความรู้ไปใช้ในองค์กรของผู้ปฏิบัติในหน่วยงานน้ัน 3) การกาหนดเป็นนโยบายเพื่อให้ รับทราบ เข้าใจ และยอมรับไปปฏิบัติร่วมกัน 4) การมีเครื่องมือที่ดีในการจัดการความรู้ โดยเฉพาะ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาเป็นเคร่ืองมอื ในการชว่ ยจดั การข้อมูลและองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เป็น

18 ระบบมากยิ่งขึ้น การศึกษาการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในแง่มุมของชุมชน เป็นองค์กรอีก รูปแบบหน่ึงท่ีอาจมีกระบวนการและปัจจัยซ่ึงจะนามาสู่ความสาเร็จของการจัดการความรู้ท่ีเหมือน หรอื แตกตา่ งจากองคก์ รรปู แบบอืน่ ๆ ดงั ทมี่ ีผู้ศึกษาไวข้ ้างต้นแลว้ 2. แนวคดิ เก่ียวกับมวยไทย 5 สาย มวยไทย 5 สาย เป็นภูมิปัญญาและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่มีองค์ความรู้ ความคิด และ ทักษะของคนไทย ท่ีเกิดจากการส่ังสมประสบการณ์ท่ีผานกระบวนการเลือกสรร และการเรียนรู้ปรุง แต่ง และ ถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพ่ือใช้พัฒนาวิถีชีวิตไทย ให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับ ยุคสมัย ซง่ึ มีแนวคิดเกีย่ วกบั มวยไทย 5 สายวา่ “ในชว่ งท่สี งั คมไทยอยใู่ นสภาวะที่กาลังหลงวัฒนธรรม จากภายนอก เกิดความหลงลืมตัวตนและแก่นแท้ในความเป็นไทย ทาอย่างไรจะสามารถชี้แนวทาง สร้างความม่ันใจให้กับ คนไทยว่า จุดยืนของพวกเราจากไหน รากเหง้าของความเป็นเกิดจากการส่ัง สมภูมิปัญญาคนโบราณ ท่ีได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ จากประสบการณ์การดารงชีวิต การผสมผสานของชาติ พันธุ์และสภาพสังคมอันหลากหลายมานับพันปี จากประสบการณ์ของคนโบราณได้สร้างรูปแบบของ วัฒนธรรมประเพณีที่สามารถรองรับการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยมาอย่างไรได้เป็นปึกแผ่น เหล่าน้ีคือ ภูมิปัญญาท่ีคนไทยในปัจจุบันควรตระหนักถึงและได้เรียนรู้ด้วยความภาคภูมิใจและก้าวเดินต่อไป อย่างมั่นใจในชาติภูมิของตนเพราะวัฒนธรรมคือรากฐานของการพัฒนาสังคมอย่างมีระบบนาไปสู่ ความก้าวหนา้ ของชาติบา้ นเมอื งในอนาคต ” ดังนั้นมวยไทย 5 สาย จงึ มีความสาคัญในการสรา้ งความภาคภูมิใจแก่คนไทยช่วยสร้างชาติได้ เป็นปกึ แผ่น สงบ รม่ เย็น สรา้ งความสมดุลระหว่างคนกับสังคม และธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน และช่วย เปล่ียนแปลง และปรับวิถีชีวิตของคนได้อย่างเหมาะสมแม้ว่าความรู้สมัยใหม่จะหล่ังไหลเข้ามา แต่ มวยไทย 5 สายก็สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับยุคสมัย รวมทั้งมวยไทย 5 สาย สามารถปรับ ประยกุ ตห์ ลักธรรมคาสอนทางศาสนาทุกศาสนามาให้กับวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสมทาให้เป็นอ่อนน้อม ถ่อมตน เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ประนีประนอม รักสงบใจเย็น อดทนให้อภัย ดารงชีวิติอย่างเรียบง่ายและมี ความสขุ มวยไทยสายไชยา มวยไทยสายไชยาเป็นศิลปะมวยไทยประจาถิ่นอาเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านี มชี ่อื เสียง มาก สมยั รัชกาลที่ 5-6 จนมีนักมวยจากไชยาไดร้ บั พระราชทานบรรดาศักด์เิ ป็นหม่นื มวยมชี ื่อ การจดมวย สามารถรับและรุกคือ ป้องกันตัวและตอบโต้ได้ในเวลาเดียวกัน และยังหมายถึงการง้างรอ โดยท่ีคู่ต่อสู้ไม่มีวันรู้ มีวิธีการฝึกโดยยกมือขึ้นมาใช้หมัดขวาตรงตาซ้ายและให้หมัดซ้ายตรงตาขวา แขนซ้ายอยู่หน้าแขนขวาอยู่หลัง ให้แนวของแขนเฉียงประมาณ 45 องศาของเส้นพื้นและให้มี ระยะห่างประมาณหนึ่งฝ่ามือจากหน้าของเรา ยืนแยกขาห่างกันเท่ากับระยะห่างของหัวไหล่ของเรา ใหฝ้ ่าเท้าขนานกนั ย่อลงใหพ้ อดี แนวหลังตั้งตรงไม่โยห้ น้าโยห้ ลงั จากนั้นก้าวขาข้างหนึ่งไปข้างหน้าโดยงัดหลังเท้าเวลายกให้หมุนฝ่าเท้าที่ยืนไม่ได้ยก ก็คือ แขนที่ตรงกับขาหลัง เช่น เรายกขาขวาให้ลดแขนซ้ายให้อยู่ครึ่งหนึ่งของแขนบนในแนว 45 องศา

19 และให้หมัดอยู่แนวเดียวกับแขนหน้า ตาท้ังสองมองผ่านหลังแขนหน้า ให้หมุนฝ่าเท้าประมาณ 45 องศา ของเส้นท่ียนื ใหส้ ังเกตวา่ เมือ่ วางลงและมองไปข้างหนา้ ต้องไม่เม่อื ยคอ การย่างสามขุม ขมุ ท่ีหนึ่งหมายถงึ สติ ขุมทส่ี อง หมายถึง ครูบาอาจารย์ ขุมท่ีสามหมายถงึ ความชานาญท่ี เกิดจาการฝึกฝน ตามที่ครบู าอาจารยไ์ ด้อบรมสงั่ สอน การยา่ งสามขมุ ของมวยไทยสายไชยากค็ ือ การยกย่างอยา่ งมสี ติ มีครแู ละมีความชานาญตาม กาลังของแต่ละคน มวยไทยสายไชยานั้นนอกจากการใช้ หมัด เท้า เข่า ศอก ที่มีในมวยไทยกระแสหลักใน ปัจจุบันแล้ว ยังมีวิธีการต่อสู้ที่ถูกหลงลืมไปอย่างการ “ทุ่ม ทับ จับ หัก” ซ่ึงมีความร้ายกาจไม้แพ้ วิชาการทุ่ม การจับล็อกของศิลปะการต่อสู้อ่ืนของโลก เคล็ดวิชามวยยังมีท่ีเป็นคาคล้องจอง แต่มี ความหมายลกึ ซ้งึ ทกุ คาอยา่ ง “ลอ่ หลอก หลบ หลกี หลอกลอ่ ล้อเลน่ ” “กอด รัด ฟดั เหว่ียง” ซึ่ง เป็นวิชาการกอดปล้าแบบหน่ึงซ่ึงไม่ได้แล้วในมวยไทยปัจจุบัน หรือแม้กระทั่ง “ล้ม ลุกคลุก คลาน” ซง่ึ เปน็ การฝกึ มว้ นตัว ล้มตวั การเรียนการสอนของมวยไทยสายไชยานั้นเริม่ ต้ังแต่การเรียนป้องกันตัว “ป้องปัด ปิด เปิด” จนสามารถปอ้ งกันการโจมตไี ดอ้ ย่างมัน่ ใจแลว้ จึงคอ่ ยเรียนลูกไม้มวยไทยต่าง ๆ แตกต่างจากมวยไทย กระแสหลักท่ีฝึกฝนการโจมตี เตะ ต่อย ทาลาย โดยอาศัยความทนทานเข้ารับลูกเตะต่อยของคู่ต่อสู้ ดังท่ีครูแห่งมวยไทยสายไชยายืนยันอย่างชัดเจนว่า ศิลปะการป้องกันตัวย่อมต้องป้องกันตัวได้จริง ไม่ใชศ่ ิลปะการแลกกนั ว่าใครจะทนกว่ากันกจ็ ะเป็นผ้ชู นะไป โคราช คือ มณฑลนครราชสีมาในสมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลท่ี 6 และในปัจจุบันคือ จังหวัด นครราชสมี า เปน็ จังหวัดหนึ่งที่ตงั้ อย่ใู นในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื โคราชไดช้ ่อื วา่ เปน็ เมืองมวยมาช้า นาน เร่อื งหมัดมวยเปน็ ท่นี ิยมชมชอบของชาวโคราชทกุ คนทกุ ยุคทุกสมยั ไม่วา่ เด็กหรือผใู้ หญ่ จนเป็นที่ ขน้ึ ช่อื ลอื ชาของชาวต่างจงั หวัดตลอดทั่วประเทศไทย นกั มวยโคราชทไี่ ปชกในกรุงเทพฯ และมชี ื่อเสียงในระยะ พ.ศ. 2460 - 2464 คือ หมน่ื ชงัด เชิงชก นายยงั หาญทะเล นายทบั จาเกาะ และนายตู้ ไทยประเสรฐิ ครมู วยท่ีมีช่อื เสียงในสมัยนน้ั คอื พระเหมสมาหาร อดีตนายอาเภอพมิ ายและครผู สู้ บื ทอดจากท่านคือ ร้อยโทบัว นลิ อาชา หรอื ครูบัว วดั อมิ่ แห่งโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกลา้ เอกลักษณ์ของมวยไทยสายโคราช คือ การแต่งกาย การคาดเชือก การจดมวยการฝึกซ้อม การชกหมัดเหวยี่ งควาย การรา่ ยราและรูปแบบวธิ ีการชกของนกั มวยไทยสายโคราช ท่าคุมหรือการจดมวย โดยผู้ฝึกมวยสายน้ีจะเรียกกันว่า จด ตัว ก กล่าวคือ เป็นลักษณะ การยืนเตรียมความพร้อมเพ่ือจะทาการรุกหรือการรับ โดยปกติแล้วการจดมวยของมวยไทยสาย โคราชนั้นจะมองเหมือนวงกว้าง แต่ในความเป็นจริงเป็นการจดวงแคบ มือท้ังสองข้างจะช้ีไปทางหน้า ปลายเท้าหลังเขย่ง หมัด ทั้งสองข้างอยู่เสมอราวนม ย่ืนไปพอถนัด น้าหนักตัวอยู่ที่เท้าหน้ามากกว่า เท้าหลัง เข่าท้ังสองข้างงอเล็กน้อย เพ่ือให้มีกาลังทรงตัวและเปล่ียนท่าได้ถนัดคล่องแคล่ว ตามอง ระหว่างราวนมกบั สะดอื ของศัตรู เท้าจะมีการเคลอื่ นท่ตี ลอดเวลาไม่ยนื นิง่ อยกู่ ับที่

20 การเตะ จะมีลักษณะการเตะเป็นแบบเฉพาะโดยมีมุมแคบ การเตะแบบมวยไทยสายโคราชนี้ จะมีผสมท่าเคล่ือนเท้าเข้าไปด้วยเสมอจะไม่ยืนเตะอยู่กับที่ โดยมีเคล็ดว่าต้องเคลื่อนหน่ึงฝ่าตีนก่อน เตะ จุดเด่น ของมวยไทยสายโคราช คือ เป็นมวยท่ีเตะเหว่ียงบิดลาตัวท่ีรุนแรงเรียกว่า “เตะคอขาด” หรือ หมดั ขวางหงาย “เหน็ ไม่เหว่ยี งเมอ่ื ไมเ่ ห็น” ไมค้ รู มี 5 ไม้ ได้แก่ ไม้หน่ึงหมัดที่ย่ืนชักคืนมา ไม้สองปิดปกชกด้วยศอก ไม้สามชกห้ามไหล่ ไม้สี่ ชกนอก ชักออกขาใน และไม้ห้าชกขา้ งประสานงา ทา่ อย่กู ับท่ี 5 ท่า 1. ตอ่ ยตรงสลับกับเคลื่อนท่ี 2. ต่อยเหว่ียงสลบั กัน 3. ตอ่ ยข้นึ สลับกนั 4. ต่อยดว้ ยศอกสลับกัน 5. ถองสลบั กัน ทา่ เคลื่อนท่ี 5 ท่า 1. ต่อยตรงสลับกับเคลื่อนที่ 2. เตะเหวยี่ งกลับดว้ ยศอกสลับกับเคลอ่ื นที่ 3. ตอ่ ยด้วยศอกและเขา่ สลับกบั เคลอ่ื นที่ 4. เตะสลบั กบั เคลื่อนท่ี 5. เตะและต่อยตาม พลิกตัวไปกบั เคลื่อนที่ ลกู ไมห้ รือท่าแก้ มีท้งั รกุ และรับจานวน 11 ทา่ ไมเ้ บ็ดเตลด็ 21 ไม้ เช่น ทา่ ที่ 1 ทัดมาลา ท่าที่ 2 กาฉีกรัง ทา่ ท่ี 3 หนมุ านถวายแหวน ฯลฯ มวยไทยสายลพบรุ ี มวยไทยสายลพบุรี เป็นมวยท่ีชกฉลาด รุกรับคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว ต่อยหมัดตรงได้แม่นยา เรียก ลักษณะการต่อยมวยแบบนี้ว่า มวยเกี้ยว ซ่ึงหมายถึง มวยท่ีใช้ช้ันเชิงเข้าทาคู่ต่อสู้โดยใช้กลลวง มากมาย จะเคลอื่ นตวั อยู่เสมอ หลอกล่อ หลบหลกี ไดด้ ี สายตาดี รุกรับและออกอาวุธ หมัด เท้า เข่า ศอกไดอ้ ย่างรวดเรว็ สมกับฉายา “ฉลาดลพบุรี” เอกลักษณ์ท่ีเห็นชัดอีกประการหนึ่งคือ มีการพันมือ คร่ึงแขน แต่ท่ีเด่นและแปลกกว่า มวยอ่ืน คือ การพันคาดกับข้อเท้าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ มวยไทยสายลพบุรี วัฒนธรรมประเพณีศิลปะของมวยไทยสายลพบุรี หมายถึง ความเชื่อและส่ิงที่บรรพบุรุษ มวยไทยสายลพบุรี ได้ปฏิบัติสืบต่อกันมา ตลอดจนรูปแบบการชกมวยของมวยไทยสายลพบุรี ประกอบด้วยความสมั พันธ์ของมวยไทยสายลพบรุ ีกับศาสนาพุทธ ความเป็นมาของกระบวนท่าศิลปะ มวยไทยสายลพบุรี รากเหง้าที่มาของกระวนท่าศิลปะมวยไทยสายลพบุรี กติกาการแข่งขัน การ เปรยี บมวย การไหวค้ รมู วยไทยสายลพบรุ ี ไม้มวยไทยสายลพบุรี ครมู วยและนกั มวยไทยสายลพบุรี

21 ท่าจดมวย “พระกาฬเปิดโลก” หงายมือท้ังข้างขึ้น หมัดหน้าสูงระดับคางหมัดหลังสูงระดับ ราวนม ยืนเท้าหน้าหลัง เท้าท้ังสองห่างประมาณ 1 ช่วงไหล่ ท้ิงน้าหนักไปท่ีปลายเท้าท้ังสองเท่า ๆ กัน ยอ่ เข่าพองาม หนั หน้าตรงเขา้ หาคูต่ อ่ สู้ ลักษณะการชก จะชกกระแทกไปอย่างรวดเร็วในลักษณะหงายมือ เป้าหมายคือคาง หรอื ไมก่ ใ็ บหน้าของคตู่ อ่ สู้ เรยี กว่า “เอราวัณเสยงา ยอเขาพระสุเมรุ และเมื่อต่อย 2 หมัดพร้อมกัน เรยี กว่า หนุมานถวายแหวน ลกั ษณะการออกอาวุธของมวยไทยสายลพบุรี ท่ีโดดเด่นอีกประการหน่ึงก็คือการออกอาวุธคู่ หรือออกอาวธุ พรอ้ มกนั เช่น หมัดคู่ (หนุมานถวายแหวน นาคาพ่นไฟกาฬ) ศอกคู่ (ช้างประสานงา) เข่าคู่ (เข่าคู่เชยคาง) ศอกคู่พร้อมเข่าคู่ (หักคอช้างเอราวัณ) หมัดตรงพร้อมเตะ (ผจญช้างสาร พระรามตีทัพ) หมัดสะบัดพร้อมเข่าตรง (ล่วงแดนเหรา) ศอกตีพร้อมเข่าเฉียง (นาคาคาบหาง ช้าง ฉีกไม้ หนุมานหกั ดา่ น) การไหว้ครู มีท่าท่ีเน้นเฉพาะของมวยไทยสายลพบุรี คือ ท่าพระรามแผลงศร และ ท่านารายณ์ขวา้ งจักร แม่ไม้ มักจะมีชื่อ เทพ ยักษ์ ช้าง ลิง และตัวละครในเร่ืองรามเกียรติ์ เช่น ยอดเขา พระสุเมรุ หกั งวงไอยรา วริ ุฬหกกลบั หกั คอเอราวณั ฯ ลูกไม้มวยไทยสายลพบุรี เชน่ เอราวณั เสยงา ขนุ ยักษ์พานาง พระรามนา้ วศร ไกรสรขา้ ม ห้วย หริ ญั ม้วนแผน่ ดนิ นาคามดุ บาดาล หนุมานถวายแหวน กวางเหลยี วหลงั มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย มวยไทยสายท่าเสาของอุตรดิตถ์ เป็นแม่ไม้มวยไทย ที่มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว การจดมวยท่าเสาจะกว้างและใช้น้าหนักตัวไปด้านหลังเท้าหน้าจะสัมผัสพ้ืนเบา ๆ ทาให้ ออกไม้มวยได้ไกล รวดเร็วและรุนแรงในการต่อสู้ หมดั หนา้ จะไกลจากหน้าและสูงกว่าไหล่หมัดหลังจะ ต่า ผ่อนคลาย บริเวณขากรรไกร มวยพระยาพิชัยเป็นท้ังมวยอ่อนและมวยแข็ง สามารถรุกหรือรับ ตามแตส่ ถานการณ์ รูว้ ธิ ีรับกอ่ นรกุ เรยี นแก้ก่อนผูก เรยี นร้จู ดุ อ่อนจุดแขง็ ของตนเองและคู่ตอ่ สู้ มวยไทยสายพระยาพิชัย พระยาพิชัยดาบหักได้เรียนและฝึกหัดมวยไทย มวยจีน และ ดาบไทยและได้บูรณาการศาสตร์ท้ัง 3 เข้าด้วยกัน ทาให้มวยไทยสายพระชาพิชัย มีเอกลักษณ์พิเศษ กว่ามวยไทยสายอื่น อย่างไรก็ดี มวยไทยต้องฝึกหัดเป็นข้ัน ๆ คือ ข้ันแรกจะต้องเรียน ปัด ป้อง ปัด เปิด ให้คล่องเสียก่อนเสร็จแล้วจึงเรียนข้ันที่ 2 จับ หัก ทุ่ม ทับ ดังนั้น จับ หัก ทุ่ม ทับ จึงเป็นศิลปะ มวยไทยแต่ดั้งเดิม และเม่ือพระยาพิชัยดาบหักได้ถ่ายทอดวิชามวยไทยของท่านให้แก่ลูกศิษย์และ ลูกหลาน พ้ืนฐานแรกในการเรียนมวยไทยสายพระยาพิชัยก็คือ ท่าย่างแปดทิศ และทาการใช้มือและ แขนในการปดิ ปอ้ ง ปัด เปดิ 4 ทิศเพือ่ ป้องกนั อนั ตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกอ่ นอ่ืน ยทุ ธศาสตรข์ องมวยไทยสายพระยาพิชัย 1. ปรัชญาและแนวคิด ปรัชญามวยและแนวคิดของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย มุ่งการรักษาชีวิตของตนเองและเผด็จศึกฝ่ายตรงข้ามในขณะเดียวกัน มวยท่าเสาจะใช้การหลบหลีก และตอบโต้อย่างทันควัน แต่มวยไทยสายพระยาพิชัยจะใช้การหลบหลีก ปิด ป้อง ปัด ก่อนตอบโต้ แตท่ ั้งมวยไทยสายท่าเสาและมวยไทยสายพระยาพิชัยต่างมุ่งเผด็จศึกคู่ต่อสู้เม่ือมีโอกาส โดยมวยไทย

22 สายพระยาพิชัยจะใช้ท่าย่าง 8 ทิศ และท่ามือ 4 ทิศ ในการป้องกันอันตรายคู่ต่อสู้ด้วยการหลบหลีก ปดิ ปอ้ ง ปดิ ก่อนเปดิ เขา้ กระทาหรือ อาจเปิดเขา้ กระทาไดเ้ ม่ือโอกาสเปิดให้ 2. กลยุทธ์มวยไทยสายพระยาพิชัย มีวัตถุประสงค์ที่ไม่ยอมเจ็บตัว โดยต้องการให้การเจ็บ หนัก เป็นเบา และเบาเป็นหาย และถ้าไม่เจ็บตัวเลยจะดีท่ีสุด ดังนั้น มวยไทยสายพระยาพิชัย จึง พยายามหลีกเลี่ยงการเจ็บตัวอย่างมากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยอาศัยความคล่องแคล่วว่องไวและ ความรวดเรว็ เช่นเดียวกับมวยไทยสายทา่ เสาในการตอ่ สู้ 3. การใชน้ วอาวุธ มวยไทยสายพระยาพิชยั นิยมจรดให้นา้ หนักอยู่ขาหลงั ประมาณร้อยละ 70 และขาหน้ารอ้ ยละ 30 เพราะต้องการใหต้ ัวนกั มวยห่างจากค่ตู ่อส้มู ากขึ้น ซง่ึ จะทาให้สามารถเห็น คู่ตอ่ ส้ไู ด้ ท้งั ร่างกาย และสามารถหลบหลกี ปดั ป้อง ปดิ ไดท้ นั ท่วงที ส่วนตาแหน่งมือ (หมดั หนา้ ) ของมวยไทยสายพระยาพิชยั ดาบหกั จะสูงระดบั คว้ิ และมือ (หมดั ) หลังอยู่ข้างคางเพื่อปิดคางและคอ 4. การใช้สมาธิ การต่อสปู้ ้องกันตวั แบบไทยมีการใช้สมาธิและไสยเวทย์ประกอบการต่อสู้มา ช้านานแล้ว นักรบไทยและนักมวยไทยในอดีตจะมีความสามารถในการใช้ไสยเวทย์และการปลุกเสก ตัวเองให้อยู่ยงคงกะพัน มีพละกาลังไม่เสื่อมถอยและมีความกล้าหาญ นักรบและนักมวยไทยจึงมี ความเชอ่ื ในสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ และสามารถต่อสู้โดยไมม่ คี วามหวาดหวน่ั ในภยันตรายที่อยู่เบื้องหน้าของตน ในการไหว้ครูก่อนการชก นักมวยจะต้องร่ายคาถาและเข้าสมาธิปลุกเสกตนเอง บางคร้ังการเดินย่าง สาหรบั การไหว้ครูเป็นการเดนิ ยันตต์ ามความเช่อื ของแตล่ ะสายมวย ยุทธ์ศิลป์ของมวยไทยสายพระยาพิชัย มวยไทยสายพระยาพิชัย แบ่งไม้มวยต่างๆ ออกเป็น แม่ไม้ แต่ละแม่ไม้จะแบ่งเป็นลูกไม้ และแต่ละลูกไม้จะแบ่งเป็นเกร็ดไม้ การแบ่งแม่ไม้จะเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของไม้นั้น ๆ ซ่ึงสามารถบรรลุวัตถุประสงค์โดยตรงอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล หากสามารถบรรลุวัตถุประสงค์โดยอ้อมก็จะถูกจัดเป็นลูกไม้ และถ้าบรรลุวัตถุประสงค์ ได้เพียงระดับหน่ึงหรือบางส่วนก็จะถูกจัดเป็นเกร็ดไม้ของแม่ไม้และลูกไม้นั้น โดยท่ีมวยไทยสาย พระยาพิชัยเป็นทั้งมวยอ่อนและมวยแข็ง สามารถรุกหรือรับไปตามปรัชญาและกลยุทธ์ของมวยไทย สายพระยาพิชัยที่ต้องการรักษาชีวิตของตนเองเพื่อกอบกู้ประเทศชาติ เผด็จศึกอย่างรวดเร็วเม่ือ มีโอกาส สามารถปกป้องตนเอง รู้วิธีรับก่อนรุก เรียนแก้ก่อนผูก เรียนรู้จุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง และคู่ต่อสู้และรู้วิธีใช้มวยอ่อนและมวยแข็งให้ถูกต้องตามสถานการณ์รวมท้ังการเน้นทาลายจุดแข็ง ของคู่ต่อสู้ก่อนเข้าเผด็จศึก แม่ไม้ของมวยไทยสายพระยาพิชัยจึงเป็นไปตามแนวคิดท่ีได้กล่าวมาแล้ว และสามารถกลา่ วได้ว่าไม้มวยของมวยไทยสายพระยาพิชัย มีจานวนไม่น้อยกว่า 535 ไม้ด้วยกัน คือ ไมห้ มัด ไม่น้อยกวา่ 334 ไม้ ไมศ้ อก ไม่น้อยกว่า 140 ไม้ ไม้เข่า ไม่น้อยกว่า 62 ไม้ ไม้ถีบ ไม่น้อยกว่า 59 ไม้ ไม้เตะ ไมน่ ้อยกวา่ 101 ไม้ ไม้หวั ไม่น้อยกว่า 39 ไม้ (ใชเ้ ฉพาะวงใน) ยุทธศิลป์ของมวยไทยสายพระยาพิชัย คือ การผสมผสานท่ามือ 4 ทิศ ท่าย่าง 8 ทิศ และ การใชน้ วอาวธุ 108 แนว ทั้งหมดไม่สามารถจะใชไ้ ด้ในทุกสถานการณ์ มวยไทย เป็นศาสตร์และศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าของชนชาติไทยที่สามารถใช้ หมัด เท้า เข่า ศอก ปล้า รัด ฟัด เหวี่ยง และทุ่ม ทับ จับ หัก และในบางคร้ังก็ใช้ประกอบกับการใช้อาวุธ เช่น มีด ดาบ หอก งา้ ว เข้ารบในระยะประชดิ ตัว มวยไทยสายพลศกึ ษา

23 เนอ่ื งจากมวยไทยสายพลศึกษา เป็นมวยที่มกี ารฝกึ มาจากสายอ่นื ๆ บ้างแล้ว เม่ือมาเรียนต่อ ที่สถาบันพลศึกษาก็ได้รับการเรียนรู้ฝึกหัดมวยไทย เพ่ิมเติมให้มีกลยุทธ์ในการชกมากขึ้นกล่าวคือ เมอ่ื นักมวยจากภาคตา่ ง ๆ และสายต่าง ๆ เข้ามาเรียนพลศึกษา ก็มีท่านอาจารย์ กิมเส็ง ทวีสิทธิ์ ซ่ึง ถือวา่ เป็นปรมาจารยม์ วยไทยสายพลศึกษา ท่านจะมกี ารสอนมวยด้วยอาวธุ ท่ีท่านชอบคือ หมัด เหตุที่ ท่านชอบหมัดเพราะท่านได้ศึกษาวิการการชกหมัดของมวยสากล จาก หม่อมเจ้าวิบูลสวัสดิวงศ์ สวัสดิกุล ซ่ึงเป็นบุคคลท่ีได้ไปศึกษาวิการชกมวยสากลจากต่างประเทศ จนท่านได้ช่ือว่าเป็น บิดา แหง่ มวยสากลของประเทศไทย นอกจากอาวุธหมัดแลว้ มวยไทยสายพลศึกษา ยงั เน้นในเร่ืองความเรว็ และจงั หวะเข้า-ออก อยา่ งคล่องแคลว่ วอ่ งไว จนเรียกไดว้ า่ เป็นมวยครบเครื่อง มวยไทยสายพลศึกษาจะแต่งกายโดยสวมกางเกงขาสั้น (กางเกงส่วนมากจะเป็นสีเข้ม ย้อมตามธรรมชาติ) มีผ้าคาดท่ีเอว สวมมงคลท่ีศีรษะ เวลาข้ึนชกจะถอดออก ผูกผ้าประเจียดท่ี ตน้ แขนทั้ง 2 ขา้ ง คาดเชอื กทมี่ ือไปถึงกลางท่อนแขน มวยพลศกึ ษา ได้มกี ารฝึกหัดชกมวย ดว้ ยแม่ไม้และลกู ไมด้ ังนี้ แมไ่ มม้ วยไทย 15 ไม้ 1. สลับฟนั ปลา 9. จระเข้ฟาดหาง 2. ปกั ษาแหวกรัง 10. หกั งวงไอยรา 3. ชวาซัดหอก 11. นาคาบดิ หาง 4. อิเหนาแทงกรชิ 12.วิรฬุ หกกลับ 5. ยอเขาพระสเุ มรุ 13. ดับชวาลา 6. ตาเถรค้าฟัก 14. ขนุ ยักษ์จับลงิ 7.มอญยันหลกั 15. หักคอเอราวณั 8. ปักลกู ทอย ลกู ไม้มวยไทย 15 ไม้ 9. หนมุ านถวายแหวน 1. เอราวัณเสยา 10. ญวนทอดแห 2. บาทาลบู พกั ตร์ 11. ทะแยคา้ เสา 3. ขนุ ยักษ์พานาง 12. หงส์ปีกหัก 4. พระรามน้าวศร 13. สกั พวงมาลยั 5. ไกรสรข้ามหว้ ย 14. เถรกวาดลาน 6. กวางเหลยี วหลัง 15.ฝานลูกบวบ 7. หิรัญมว้ นแผน่ ดิน 8. นาคมดุ บาดาล งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย