Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

Description: หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

Search

Read the Text Version

*

นาททอง งานปร: ;ทไ*ธ๋ล็ ำดิบท ๒ ๐ ของ ส ์ไฒ ผิ ิฒ ํคฒาิ ฒใ Iฃ&ท**/๒ ๔ ■ร717ร2777 ป ะี 17ศร 7*7ร. ๔๔๔๔6

นาททื อง โคย ษ.อ. 1เน มุทกุ นค

IV หนังลอื นาททอง เบนหนังลือประเภทใหความร รอบตวั เกยวกับกัทธคาสนาตา่ งๆ จะใช้อ้างองิ ไนทาง การศกบา หรออ่านเทอประตบั ความรก้ ไ็ ด หนังลอื ประเภทนสว่ นมากนกั จะเบนเรองทผ้1เขยน คนเคยวไป บรรยายความในศาสนาอน แต่ \"นาททอง\" น ม ข้อความเกอบครงหนงทไตมั าจากนกั ปราขญใ็ นคาสนา นน ๆ เอง การทมพ์ครงนไกแ้ ก้ไข ขอ้ ความใหฅ้ รงกบั สกาน ภาททางศาสนาในบจจบนตวั ย บาน((ก\"แท,ะ . 8 . , 0 ,, 1 -, . ๑ ๐ ซๆ อยยา*7ย4 ่ส^ ม่ พV่นธ4 * 8ามIสนใน พระนคร ค* ) ค ุ® า ค ข ■ เ ป ี๕ 0 ๙

ค ำ น ำ พ ิม พ ์ค ร ง แ ร ก \"นาทหอง” เบนึ ขอรายการโทรทศั น์กองทัพบก ชงข้าพเจา้ เบนผจู้ ดั 'ตามททา่ นผอู้ ำนวยการสถานออก ปากขอความรว่ มมอ ตงแตเ่ บดสถานใหม่ ๆ ออก อากาศครงแรก เมอ ®๖ พ.ค. ๒๕0® นาททอง ก่อ ความหน,กใจแก1ข้าพเจไ อยู่ คลอค เวลา เพราะเบ่น็ รายการธรรมะ ไปแซกอยูใ่ นเวลาที่ ใครๆค1องการความบนเทํง ม,นชา่ งง่ายกอ่ การวิพากษ์ วจิ ารณ์เสียจรงํ ๆ ข้าพเจ,พงหนกใจแมกระทง่ี เกยี๋ วน ซ่งึ ทำมา ๓ บ1แล*วิ แกธ่ รรมานภุ าพคุ้มกรอง ไม่ว่าขา้ พเจา่ จะบ่าย หนไไปขอความร่วมมือจากใคร แมจ่ ะเบนคนคา่ งซาฅิ กา่ งศาสนา ก็ไคร้ ,บกวามรว่ มมือเขา้ รว่ มรายการควยคี หนไสือน้ํ เบนบน่ ทึกของข้าพเข้าเอง ท0าขํ้น ภายหลไ)จากการสนทนากบผทู้ รงคณุ วุฒิ และมไิ ค้สง่ ไปใหท้ ่านเหลา่ นนครวจอกี เพราะรสู้ ึกเกรงใจท่จี ะไป

(๖) รบกวนทา่ นชา ๆ ซาก ๆ หากผคิ พลาคขาพเจากข๊ อรใ} เสียเอง การรวบรวมพมิ พ์เบนเล่ม นอกจากมุ่งเผยแพร่ สารกดีอนั มกี า่ แลํว ท่องกไรใหไงนไสือนเ์ บนขอพสิ จน์ ว่า ธรรมะ1ฃองคาสนามิใซ่เบ่็นลง่ ลาสมย่ ท1ง,ใหเ้ บน สกฃีพยานแหง่ ความรว่ มแรงร่วมใจของพวกเรา ท่ี นบถือลทธศิ าสนาคา่ งก4น แคบ่ ำเพ็ญประโยชนร์ ่วม กนไค ขไพเจาขอขอบคณุ ทกุ ทา่ น ท่ีให้กำลง่ ใจแก่ ขไพเจไในการเผยแพรธ่ รรมะในแบบรายการนาทีทอง ไมว่ า่ จะเบนทางจคหมาย ทางหน*’งส์ ีอพมิ พ์ และทาง ใค ๆกฅ็ าม พ.อ. ไ]น แทกุ นฅ ๑ * ตลุ าคม เอ๕๐๓ บ้านสกนั ตะ ®0 ซอย!รานนท์ สามเสนใน กสุ ิฅ หระนกร

สารบาญ บน้า ® หนา้ ๙๗ ®. ทา่ ทของคนไทยตอ่ คาสนาตา์ ง ๆ หนา้ ๒'1ง กนไทยเกยระแวงน*กสอนศาสนา หนา้ ๔๕ เสรีภาพฅามทเุ้ ธรรมนญู ภาคศาสนาครสิ ต์ ๒. ขบวนการครสิ ตงั ในประเทศไทย การอำนวยการ แผนทีแ่ สกงเขฅมิซซ*ง น*กสอนศาสนา กิจกรรม ศาสนกํ ๓. หนิ แทง่ ความอปั ยศ กรีสก*งขอทำสนธสิ *ญญา ๕ ขอ ฟอลคอน ถูกประหารชวี ก พระสไฆราชลาโนถูกลงประชาท'ณฑ์ ข1อหามสอนศาสนากรีสฅ์ ๔ ช่อ ๙. คำสอนควรทราบในศาสนาครสิ ต์ บาปหายนะ ๗ ประการ คุณธรรม ๗ ประการ มิซา หรอี ]ฬ3รร กวามกี ๗ ประการ

๕. ครอบครวครฝต็ ง หนา ๕® หนา๕ล (สนทนากนั นายแททย เลิศ ครจึ นั ทร') หนา ๗๗ บญหาการหย่ารา่ ,ไ หนา้ ๙® ๖. 3ค/ู ค/ู ?ฌ บาปกำเนดิ ฅคํ ฅอ่ มาไคํทางใค ใ กนเกคิ เอาวิญญาณมาจากไหน ? การ^นคืนชีพ กรสิ อ่งเช่อึ อยา่ งไร ใ ภฅผีบศาจ ๗. บาทหลวงและแม่ขฝรง่ั สนทนากํบบาทหลวง ธ(1*87(1 เ?6ถ คณุ สมบกของผู้ท่จี ะบวช พธิ บี วขเบนึ บาทหลวง กำสาบาน บาทหลวงสกึ ไดไ้ หม ใ ล*กษณะนกํ บวชอา่ งนกิ าย 31:011161-, รเธะอเ: ชมี ืดมจี รงิ ไหม ใ ๘. รปู เคารพของศาลนาครลต์ รูปพระ!,ย1ซ รปู พระแม่เจไ รปู นไาบญุ

(๙) กวามเซ่ึอเรึอ่ งน้กบญุ ทนา 00๐ รปู เการพฃองนกิ าย 0โ66เะ ๙. เหตุเกดนิIาายโปรเตสแตนท์ กำเนคิ พระสนฅปาปา เกคิ บาปฉกรรจ์ ๗ ประการ มากิน ณธู อร์ ผจญภไ)ปฏวํ ก ®๐. ขบวนการคริสเตยนในประเทศไทย ทนา ๑®๙ การอำนวยการ ผิงแสกงรปู งานบรหี าร เจา่ หนา้ ที่ และศาสนาจารย กาสนิก โรงเรียน งานของนกิ ายโปรเตสแตนท์ ทนา ®เ8แ)^ สนทนาก*บเลขาธิการสภากรสี กจก่ ร กวามแกกฅ่างระหวา่ งกรสี เกยิ น-กรีสกไ) ผิงกิจกรรมของสภากรีสฅจ่กร &เ1. นาททองของนักเผยแพรศ่ าสนา หน้า ©๔๔ การชิงซไ]ระหวา่ งน้โ]เผยแพร่ วาทะอนํ แหลมคมกอ่ หนา้ พระที่น้ง

( ® ๐) หนา้ ๑๕๕ หนา ๑๖๓ ภาคศาสนาอิสลา*) หนา ๑®ว)๓ ๑๓. ววฒั นาการคาสนาใ)ตลาม หนา ๑๔๐ ประวฅ่ ย่อ รุกน่ อสิ ลาม ๕ ประการ มุสลิมกบกวงจนํ ฑร‘แหวง่ ๑๔. มลสมในประเทศไทย เฉกอาหม*ก - มสุ ลิมกนแรก สทิ ธิพเิ ศษทมี่ สุ ลิมไกัร*บ การบรหารกิจการ■ ศาสนาอสิ ลาม ๑๔. การถอคลอดของมลลม เหฅุ - ผล ระยะเวลาถือศีลอก ขอ่ ปฏบิ ฅระหวา่ งถอื ศลี อก คนท่ไี ก้รบยกเวน ๑๖. สนทนาเรองถอคลอด สนทนาก*บนายสว*สก้ื วงศอ์ ารยะ - บี1เถอื นของมสุ ลมิ การกูพระจ'นฑร์ มสุ ลิมจำเบนก้องไปเมกกะหห์ รอื ไม่ ใ

(๑9) ๑๗. มลลมทำละหมาด หนา้ ๑๘๕ กวามหมาย กนทถี่ ูกบ'งก'บ,ใหท้ ำและไมใ่ หท้ ำ เวลาท่ีกำหนกใหท้ ำ การเฅรียมทํวทำละหมาค วิธีทำ สถานท่ีทำ ©๘. ข้ออภิปรายร่วมระหวา่ งพทธกบั อลลาม หน้า ๑1ร'๕ ญกว่า “ ศาสนาพทุ ธและอิสลามมีหล'ก การแก้ไขสไกมและขอ้ ทำนกอมมีวนิสค์ อย่างไร? อุคมการร่วม ๓ ขอ ©๕. ทหารมลลมกับวันศกร์ หน้า ๒๑๔ ข้อบฌั ญฅ ๒ ประเภท บ*ญญฅเกี่ยวก'บวนศกุ ร์ มูลเหฅใุ หมํ ุสลมิ ถอื วนศุกร์ องกประชมุ บุคคล เวลา สถานที่ ๒๐. นกายบาฮออแหง่ ศาลนาอลลาม หนา้ ๒๒๕ เบน'แกายใหมท่ ี่เขา้ มาเผยแพรใ่ นไทย ในโลกนมีพระศาสคาถกู ประหาร ๓ องค์

ศาสนาพราหมณ ฮนด ซกฃ *0®. คนแขกในเมอื ?ไทย หนา้ ๒๔๓ แขกมี ๓ ชาฅิ แดะ ๓ ศาสนา ๒๒. พราหมณ์ในประเทศไทย หนา้ ๒๔ย เร่อื งราวของพราหมณ์ พราหมณใ์ นประเทศไทย ๒*). พระฤามืแห่งศาสนาฮนิ ดู หน้า ๒๖*) ส*มภาษณ์พระฤๅษี (ตวั จ?ง) รปู เปรียบเทยี บระหวา่ งแขก ๓ ประเภท ซวี ฅของฤๅษี ว*ณเขกในกรุงเทพ ๆ ๒๔. ประเพณแตง่ งานในศาสนาฮินดู หนา ๒!!)เข) สนทนาก*บพระฤๅษี ซาย-หญิ ง อายุเทา่ ไร จงึ ควรแค่งงา, ผายไหนเบนผส้ ูข่ อ คำขอของหญิง ๙ ข้อ ของชาย ๑ ข*อ ๒๔. ขจติ ประจำขน้ ของขกข์ หนา้ ๒๘*) ชิกข์ในอนเทีย

ซิกข์ในไทย นิกายของซกํ ฃ์ ซกิ ขม์ นี *กบวชหรอี ไม่ ใ บ*ญญฅของซิกข์ ๒® ประการ ภาคพุทธศาสนา ๒๖. ททธ?! าสนาฝายมหายาน หมา /55๙๓ เหคแุ คกแยก เปรยี บเทยี บความแฅกค่างกบหีนยาน ๒๘). พธกงเต๊ก หมา ๓๐๓ ความมงุ่ หมาย สถานที ลำค*บพิธคี รบ ๑๓ ลำค*บ ระยะเวลาและเจไภาพ ๒๘. ประเพก!ตรหจน หนา้ ๓©ฮ) สนทนากบนายแพฑยฅ์ น้ ม่อเซยง กวามรู้ฑวํ ไปเกี่ยวก*บครษุ จนี ๒ย. ถอฅลิ กนิ เจ หนา้ ๓๒๑ มูลเหคุ พระนามพระพทุ ธเจไ ๗ พระโพธิลฅํ ว์ ๒ '

ชื่อคาวภาษพีน พธีกรรม ๓๐. ความเบืนมาของพระไตรบฏก มมา้ ๓๖๗ การทำนบุ ำรงุ พระไฅรบิ!ฎก ๖ กรง -....... ความเบนมาทุกระยะ กรรมส*มปทาทกิ สภา ในร*’ชกาลที่ ๕ ๓®. ลำดบั ขนคัมภรพ์ ทธศาสนา หน้า ๓๓๗ ก*มภีร์ ๕ ช่ืน พระไครบฎก อรรถกถา ฎีกา อนฎุ ีกา เกจิอาจารย์ ๓๖. การทอ่ งจำคำสอนกอ่ นมพระไตรบฏก หน้า๓๙๔ พระพทุ ธเจา้ ทรงใช้หน'งสึอหรอื ไม่ ? ภาษาบาลคอี ย่างไร? เงื่อนไขของพระอานนท์ ๘ ข้อ ๓๓. การปกครองสงฆไ์ ทย หนา ๓๔'๗ ส*มภาษณอ์ ธบิ คีกรมการศาสนา สมจกิ อ่ นมกกข้งพระจรงิ ไหม ใ มหาเถรสมากม

รปู การปกครองสงฆบ์ จจบุ น่ หนา ๓ ^๙ ลำคบชนพระราชาคณะ หนา ๓๘'เห)่ สงฆสภา ๓๔. ตาลบตร เหฅุใคพระจงึ ใชพ้ ,คบ,งหน้า -พไ! ๓ ชนิค พฅั ยคุ ลังกา ยกไทยโบราณ พไ!ยศ - พ'กรอง ลไาษณะพไายศชนต่างๆ ๓๕. วดพทปใี นประเทศไทย ว,คพทุ ธในสายฅากรสเคียน วไ!ครํ้งพุทธกาล รักไทยทุกรันน สงึ ปลกู สรไงภายในรกั โบสถแ์ ละการผงลูกนิมฅํ กนวไ! ทรพั ยส์ ินในวก

(๑'๖) กร'าหนงนานมนเลว หน2า/ ๔๐๓ ๓๖. กฎหมายก0าป^ีดพระห~วด4?อ ๓ฟ.่ กฎหมายเอาโทษหระปกบดอาบดั พฆ้ ๔๐๔ ๓๘.กฎหมายใหท้ ำความสะอาดวัดวาอาราม ///า7๔๐๗ ๓ส. กฎหมายเอาโทษหระทำนอกรด ?/ท้? ๔®© ๔๐. มประกาศให้กวดขันวบั คนบวข หน้า ๔©0) ๔©. กำหนดโทษผสมทบกกษสามเลารทำผิด #-ท้7 ๔©๙ ๔๒. ประกาศให้สนบนขบั พระเออน ^7/77 ๔๒๓ ๔๓. ครานมบญหา (บทความข■ อาทู้,เขยึ น๒๕อ๓) 77ท7้ ๔๒๔ นาทสุดท้าย หนา ๔๓ย ๔๔. วา่ หว้ ย!ธดายในศาสนาด่างฺ ๆ วินาทสำนก นาทสะทอ้ น หน้า ๔๔ย ๔๔. บนั ทํกเสยงว่จารน้ารายการนาททอง ในหน้าหนงั สอพมิ พ์

๒!?0๒ ขาตเิ อกราขทกขาติ ทม คาสนาใดศาสนาหนงเบนคาสนาประจำ ขาตมิ าแล้วข้านาน ยอ่ มจะมความรสู้ ก นกติดทำนองผนวกเอาคาสนาเข้ารวมใว้ ‘ - กับชาติ คอเมอรกั ขาติก่็รักศาสนา และเมอหวงแหนขาติ ก็ติดหวงแหน ศาลนารวมกันไป จนกระทง่ั คนบางขาติ ผกู ขาดประเทศของตนไว้สำหรบั ศาสนา ทตนนับสอโดยเฉหา?,กม็ ชาติไทยเรากเบนึ ชาตเิ ต่าแก, และเษนึ ชาติเอกราชลบตอ่ กนมาเชนเวลานฃทํนบ ลนไทย จงเฃนึ คนมีวไมนธรรมทางจิตใจเฉทาเ;ฃองคนไทย

๒ นาทที อง อยา่ ?ษรอมมลู เษราะฉะนนค??ไทยอาจร,กอะไร และอาจเกลียดอะไรกไดั มนํ เบนอิสร์ ะฃอ?เรา ผทู้ ?มชื รี ิตจิตใจเท?{ไทยมาหลายชวอายุคนแลว และเรากภาคภมู ใิ จไนตักดครชอ?เราตลอดมา เพราะ'ฉะนน คกุ ส,ิ งคุกอย่างทีเ่ บึนลมบตของชาติ ไทย เท่าทป่ี รากฏอย่เู วลาน ติงเบนฟิงทคื นไทยเลอื ก แลว และเราชอบของเราอยา่ งน ยกตวั อยา่ งเช่นการ มืองกพระมทากษัตรยเ่ บนประมุข นเ่ี รากเลือกของเรา แลว เราชอบซองเราอยา่ งน การท่เี ราปกครองกนดวย ระบอบประชาธปิ ไตย กเบนึ ระบอบที่เราเลือกแลว้ เรา ชอบของเราอย่างม ไมไ่ ด้มียไู่ ดยทู่ นง่ี มากดขบี่ ํงกบใท้ เราตาิ ใ'ใทำแท่อยา่ งใด ในเรอื่ งกาลนากเทมอื นกน การทซ่ี นชาติไทยรบ นบโเอพรฺ ะพทุ ธกาลนาเบนกาลนาประติาซาติ มกี เบน ศาลนาท่เี ราเลือกแล,ว เราชอบของเราอยา่ งน เราเท็น

พ.อ.!]น มๆุ ก*นฅ์ ๓ ว*่าด*3เเี ราส*5 งิ ร•บ/ ไน,ว!/้ มิใชร่ บต่วยอทิ ธพิ ลอยา่ งอ่นื และม®ใิ *ช่ ดวยความบงั เอญิ ตกมาถึงทกุ บนั น คนไทยสว่ นใหญ่ มิค1วามรสู้ กว่า ศาสนาพุทธเบนึ สว่ นหถึงซองชาติไทย เคยตกระกำลำบากมาต่วยกน เคยสุขสบายมาดวยกัน เวลาคนไทยถกึ ถึงศาสนาพทุ ธ แทนท่สี ะถกึ วา่ พระพุทธเสา เบนใคร เบนึ คนเชอชาตอิ ะไร ใครนำคาสนานมา ทยบยนใทเรา แต่เปลา่ , เวลานคนไทยสว่ นใหญเ่ ถอึ บ ไมค่ ำถงึ ถึงบัญทาเหลา่ นนแส่ว เมอ่ื อิดถึงศาสนาพุทธ ทไี ร กมิความรสู้ กึ คสา่ ย -‘ทวุ ่า เราอิดถึงญาติผ้ใู หญ่ ซองเราเอง เราเอาความรกศาสนาเช่าผนวกไวก้ บความ รกชาตนิ านมาแลว เพราะฉะนน ซนชาตอิ ารยะทเ่ี ขามา สู่อินแดนไทย หากฌึ๋นคนสิตใสสูงพอควรแสว่ ย่อม สะศกึ ษาและคำถงึ ถงึ เกยี รตภิ ูมขิ องซนชาติไทย โดย มโนธรรมของเขาเอง และมบิ งั ควรท่ีสะลบหลูด่ หู มน่ื ใน สิงทคี นไทยเราเลอื กแลว และเราไต่ปลงใสรกและหวงแหน มาแลวหลายซวอายคน

นาททอง จากการท่อี ารยซน คนตา่ งชาตติ า่ งศาสนา ได้ให้ เกียรตแิ ก,คนไทยตลอดมา และลากผลของการอบรม คุณธรรมแท่งความฌึนไทย อนมอี ยเู่ พียบพร1อม์ บริบรู ณ ในศาสนาของคนไทยเรา ไทยจงึ มีประชามติ กันเบึน ท่าทไี มตรจี ึตตอ่ ศาสนาตา่ ง‘ทุ อย่างกวางขวาง เกือบ ละวา่ หาไดโ้ ดยยากลากประเทคอน \"I ที'มศี าสนาประจำชาติ ยนื ยาว เซ่นเดียวกบั ชาติไทยเรา ขไ^เจำจึงอยาก ซวนท่านยอนไปพีลารณาท่าทีของไทยต่อศาสนาต่าง \"I ใน กาลอดีต และเพง่ พนี ลิ ท่าทีของเราในบลจุบนประกอบตว่ ย แลวทุกผายละมีความเขาใจซงึ่ กนและกนดีขนเบนึ กนั มาก ท่าทีของไทยตอ่ ศาสนาต่าง ๆ ตงแต่ตนมาลนถงึ ทุกวนน อาลแบ่งได้เบึน ๒ ยุคเทา่ นน คือ ยุคแรก ตงแตต่ นประ'ว*ติศาสตรีถงึ ปลายรขกาล ที่ ๓ แทง่ พระบรมกษตริยืกั)รีวงคื ยคหกงั ตงแต่ต,นิรซกาลที (1 แทง่ กักรีวงศ ลนถึง บจลบนน

พ.อ.ไเน มทุ ุก*นก์ ๕ ยคุ แรก แรกเรมเดม้ ทจริง ๆ ขนขาตไทย รู้จักศาตนาแตเ่ ทยงศาสนาเดยา คอ พทธคาสนาในสายมหายาน แสะ ตอ่ มาก็ได้รูจ้ กั พทธศาสนาในสายหนยาน ในการปฏกิ ดั ศาสนานนั้ ใครจะปฏกตั แบบใดกไ็ ด้ และมได้กอวา่ เบนขอ้ บาดหมางกนั แตอ่ ย่างใด จาเนียรกาลตอ่ มา ไดมคิ นต่างชาตติ ่างภาษา เขามาในประเทศไทยมากฃน คนเหล่านนไดน้ ำศาสนา ต่าง \"I เขามา'ใVเคน1ไทยไต้ร'ู้กกั ในยุคตนกรงุ ครอี ยธุ ยา คนต่างซาตทเื ขามาไนประเทศไทย มกจะมีพรเตการณ แปลก ๆ ประกอบกับยุคนนซนชาตติ ่าง ๆ ในเอเชยี แถบน ระแวงคนตา่ งชาติอยู่แลว เกรงวา่ จะฌึนพวกคิดการมติ ิ มิรายต่อประเทศของตน เพราะเบนึ ยคุ ฝรงหาเมอื งขน

V) นาททฬ นกเผยแพรค่ าสนาบางคนกมไิ ดโผยแพร่คาสนุ าลวน ๆ หากุ่'! ท่างานทางการทตู และกา:เนอื ง:วนอยดู่ วย อยา่ งเช่น 3 กรณีพระสงํ ฃราชลาโน กไ]ท่านบาทหลวงเดอลออน แห่งนิกายโรม’นคาธอลิค- คาสนาครสิ ต เมอื บ พ.ศ. ๒๒๒๗ เบนตน เหตุเหล่านท่าใหว้านไทยหวาดระแวงนกสอน ศาสนาเบนอ้นมาก เฉพาะอยา่ งยงี่ คา1ลนาครสิ ต รงึ นืบทบาทมาก'ในยคุ นน ซง่ึ คะเลา่ รายละเอขื ดไว้ต่างหากํ ในภาคขบวนการคาสนาค■ รสิ ต ความไม่เขา.!คกนไดทวีความรนุ แรงซน คนกงชน ร่ายแรงทีเดืยว และเรอร'งเรอื่ ยมา โดยทผี ายคนไทย รงึ ระสาระสายในการกอบกู้บานเนอื งอยู่แลว ยงไมว่ าง ใๆ ในกวามปลอดภยซองชาติและพุทธคาสนา ประกอบกบ นกสอนศาสนาบางทา่ นก็นือา:มณรุนแรงและขุ่นนวอยู่ดวย ในตนยุคร้ตนิ 'โกสนิ ทร์ ความเช่าใคดรี ะหวา่ ง คนไทยกบน*กสอนศาสนามมี ากขน แตกยง,ไมบ่ รสิ ุทอ ผุ®ผอ่ งทีเดียว หลกฐานทางผ่ายครสิ คบนทกึ เหตกุ ารณี

.พ.ย.ไ)น มุทกุ 'นฑ์ ๗ ไว้วา่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจไอยหู่ ัว รซกาล ท 4 ซึงขณะนเนยงดำรงตำแพน'งมกุฎราชกุมาร ทรง สนพระหัยศกึ ษาหาความรู้ และคบคาสมาคมกับบาททลวง บลเลอควมาก - พระบาทสมเด็จพระนงเกลาเจาอยูห่ วั รซกาลที ๓ ทรงเกรงวา่ มกฎุ ราชกมุ ารจะทรงกลบั พระหัย ไ!]เขารตี เสยี จึงทรงหามมิใหพั ระองคติดตอ่ กบพระสงข คาธอสีค---------- ความเหลา่ นแสดงวา่ ความระแวงใน เรองศาสนาของคนไทยยงั มอยู่ในยคน้นํ ขงก็เบนทน่า เห็นใจ เพราะคนไทยยคนนกำลังกงั วลในควไมปลอดลยั ของขาดอยทู่ กลมหายใจ เมอมผู้ทำใหร็ ะแวง เขากย็ ง ตอ้ งระแวงมากขน ยคุ หลัง เมอื มรสมุ ตา่ ง ‘กุ ผ่านพนไปแลว ท่าทีของกนไทย ต่อศาสนาอนกเรีมดีซนเบึนลาหับ คอ'ในยคุ รซก'าลที ^ คนไทยมกื วามเบนมฅื รหบั นกสอนศาสนามากซน และ

๘ นาททอง ไมม่ กี -!รฃํดขวางหรือกดกนศาสนาอ่ืนแต่อยา่ งใด โ'มรด พนิ'ไความบางตอนในพระบรมราชโองการในรซกาลที ๕ ต่อไปน “- 1.— —ม่สเตอริ เดวิด บ. ขกิ เกล กง?เลอเมริกนั มจดหมาย มายังเจา้ พนักงานกรมท่าวา่ หมอ แมค กลิ วาริ หมอขกิ ขงอยู่ ฌ เมองเชยงใหม่ ม่จดหมายมายงั กงลลุ อเมรกิ ันวา่ คนทนํ บั ถึอคาสนา พระเซชูแล้วนน้ั กระทำการสงใด มผ่ ข้ ด้ ขวาง ให้ทำตามภาบาขาวเมอ่ ง ชงเคยกอมาแตกอน เจา้ พนกั งานกรมท่าไหน้ าความ ขนกราบบงั คมทลพระบาทสมเดจพรโ,เจา้ อยหู ิวทรงทรา\\บผาละ. .อ. อ-งธ*ลพ. ระบาท แล้ว จงม่พระบรมราขโองการเหนอเกลา้

พ.0 . 1 ๒ มทุ กุ *นก เหนอกระหมอ่ มวา่ “การคาสนาน้นไม่ เบนหขดั ,ขวางสงใดในราข การ แผ่นดนิ ผใดเห็นว่าศาสนาใดจะดแสะถูกตอ้ ง ก็ถ่ อื ตามขอบใจของผุน้ ุนเอง — แต่ นสบไป^ -*เ 1, , ลVาผVใ0 ดจะขอบ0ใจ^ถอศาสนาใด กใ็ ห้มนู ''นถอไดด้ ามใจขอบ อย่าให้ เจานายบงั คับแกร่ าบฎรขงเบืนพห้อง มูลนายของด้ลอศาสนาพระเยขนนอยา่ ห้ามปรามแตป่ ระการใด---------- ” พระบ:มราชโองการน ขอปรารภเกยี่ วดว้ ยขบวน การศาสนาครสิ ตอย่างเดยี ว แต่กมผี ลแกท่ ุกศาสนาดว้ ย พูดงา่ ย ‘ทุ คอฌนึ ธรรมนูญแหง่ เสรีภาพกางศาสนาใน ประเทศไทยเรา และนคอกา:แสดงออกซ่ึงนาใจอนกวาง ขวางของซาวพทุ ธ ตไแต่นนมาเทตกุ ารณกระทบกระทง กนระทวา่ งซาวไทยพทุ ธกบขบวนการเผยแผศ่ าสนาตา่ ง ‘ทุ กคี่ อ่ ยเบาบางลง แมจะมคี วามเขาใจผดกนบางเบึน๋ ครง

/ นาทีทอง *0 คราว กไม่หนกั Vเนาอะไรนก เพราะกนลว่ นใหญ่1ฃำใจ กนดอี ยู่ ครนตอ่ มาเนอี พ.ค. ๒(1ตเ& ประเทศไทยไดโปลยน การปกครอง จากระบอบสนบูรณาญาสิทธิราชยนาเบน ระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพทางศาสนาอ่ืไดถกู บรรจลุ ง ไว้ในรฐธรรนบูญแห่งราชอาณาคกั รอยา่ งแจงซด ดงขอ ควานในมาตรา & คนั วา่ คัวยพระนหากษตั รียทว่า ะ \"หระมหากอตั รย์ ต6งฌีนหทธมามกะ และทราเบนอคั รศาสนปอัมกก, ขอควาน'ในบทนญญ'ตนส่องควานว่า ประชาซน ซาว1ไทยตองการศาสนาพุทธเบนคาสนาประจำชาติ และ ไดบ้ งคับไวว้ ่า องคพระประมขุ ของซาตไทยจะต1องทรง เบนพุทธนามกะ คอี เบนพุทธคาสนกิ จะทรงถือศาสนา อื่นใดนไิ ด้ แตใ่ นขณะเดยี วกน ซาวไทยกยนิ ดีทจ่ี ะ ใหศ่ าสนาต่าง ‘พุ ทีเขานาเผยแพรอ่ ยู่ในประเทศของเราได้

พ.0. 1]น มทุ กุ ํนก์ 6* รบความสะดวก และปลอดภ*!!ควย จึงกำหนดไว้ว่า พระประมซุ ของเรา'าะตองทะนุบำรงุ ศาสนาอน \"I ควย ท เรียกวา่ ศาสนูปถมั ภก โปรดพิศารณามาตรา ๒& อกมาตราหนง ความ ว่าอย่างน:- “-บคคลย่อมมเสรภาพสมบรู ณ์ โมการถอศาสนา นิกายศาสนา หรึอ ลทั ธนิ ยิ มในทางศาสนา และย่อมม เสรภาพในการปฏบิ ตพิธกิ รรมตามความ เชอกอของตน เมอ่ ไม่เบนปฏิบกบก่อ หน้าทพลเมอ่ ง และไมข่ ดั ขวางกอ่ ความ สงบเรยบร้อย หรอศลธรรมอันดของ ประชาชน\" ขอความในรฐธรรมนญู น ซาวไทยเราถอื ว่าเบึน แม่บทแหง่ ท่ าทีอนเรามีต่อนานาศาสนา โปรดส้งเกตวา่ เสรภี าพทางศาสนาของเรา เบนเสรภี าพทมฺ ฃี อบเขตรดกุม

คี®มเี งอน'ไข'วา่ ใครจะมาประกาศศาลนาหรอื ประกอบ ศาลนกิจใด \"I กได้ แต่มืเงอนไขไวว้ า่ จะตอง: - - ไม่ขัดต่อหนาททลเมอง - โม่ขัดตอ่ ความองบของบานเมอ่ ง - ไม่ขดั ตอ่ คลิ ธรร#อนั ดของประขาขนขาวไทย ในขอแรกทวี า่ ไม่ขดตอ่ หนำทีพลเมอื ง หมายศวาม ว่า เราถอื วา่ หนำทพี ลเมอื งทีจะตองรกษาเอกราขของขาติ ลำคฌก'ว่า ยกตวอย่างเขน่ ผูช้ ายที่ถอื ศาลนาพุทธกำลง บวชเบนพระ หากทางราชการทหารตองการตวเขา่ ร*บ ราชการทหารกตองเขา่ รบการตรวจเลือก และฟิกเข่าร*บ ราชการทหาร เพราะถอื วา่ การเบึนทหารเบนึ หนำทพี ลเมือง หรือในกรณทชาวมฟุ ิลมื (อิสลาม) ถอื ศลี อดประจำ!!ตาม ลทธขิ องตน หากลถานการณอยใู่ นภาวะคบขน ทหาร มุลลมื กจะตองงดการถอื ศลี อดไว้ก่อน เพีอทำหนำทรี กษา การณ ในลทธขิ องจนี เมอถืงคราวตรุษ จะตองจดุ ประท*ต และเลน่ ลิงโต แตถ่ าในระยะนนม่านเมอื งอยุ่ในระหวา่ ง

..มุ^ฒแแ^ พ .อ . 1เน มทุ กุ *นอ ๏๓ 'ฉุกเ'ฉิน การจดุ ประทดํ บงึ .บงยอ่ มจะท6ำใ0หV้คนเขาI/ใ6จ) ผ* *ด เบนการขดต่อความสงบเรียบรอยของบา่ นเมือง ทาง ราซการจงึ หา้ มไม่ให้ทำอย่างนน อกี ครงี ทน่งึ เมอ&- ๖ บ มาแลว ประเทศอียปิ ตก่ บประเทศองก!]ษเกิดพิพาทกัน กรณคี ลองสเุ อช ซาวมุสลมิ ในกรุงเทพ ๆ จำนวนทมน นทกนชุมนมุ สวดมนตท่ ท่ี อํ งสนามหลวง เพพอ?สนบสมุน อียปิ ต^ช^งึ ถ*1อื ศาสนาอเ^สี สามเหม4อ่ นก4'น/ ครเีง^น์ นร&/ฐบาลกเ^ ขอรองไม่ให้ขมุ มมุ เพราะจะทำใหเ้ สยี ส*มพ*นธไมตรยี ับ อีกผายทนง อนนบว่าขดตอ่ ความสงบของบ่านเมือง และ ผถู้ ือศาสนาอิสลาม (มสุ ล)ิ /) กโอนอ่อนผอ่ นตามดวยดี ทยกมานแสดงใหเ้ ห้นวา่ ทากพธีกรรมทางศาสนาข'ดต่อ ทนาทพลเมือง่ ทรีอขดตอ่ ความสงบเรียบรอย รฐยอ่ ม จะหา้ มได้ รวมหง้ ์การเผยแผศ่ าสนาโดย'วธิ ยี แุ ทย่หา้ ว1‘าว ศาสนาอนิ ให้เสยี ความสาม'คศขี องคนในซาตดวย ส่วนที่ ว่าพอีกรรมทางศาสนาขดต่อศลี ธรรมยนั ดีของประซาซนน1น ในเมอื งเรายังนกึ ทาตวอย่างไมอ่ อก แตใ่ นตา่ งประเทศมื

นาททอง ยกตวอยา่ งเซ่นพวกศาสนาเซนในอนิ เดยี ซึงฌนึ พวก 'Vรฺเ' อเจลกะ ผา่ ผอ่ นไมน่ ่งุ พวกนกบวชซีเปลือยอย่างนจะมา ต~งสำนกเผยแผใ่ นเมอื งไทย เรากไม่ยอม เพราะการไม่ นุ่งผาขไๆต่อศลี ธรรมอนดของคนไทยเรา เมอสรปุ แลวทา่ ดซี องประเทศไทยตอ่ ศาสนาต่าง ‘ทุ มอื ยู่ว่า เราเซดี ซพู ระพทุ ธคาสนาเบนึ ศ''เสนาประจำซ!ดี เราผกู มติ รกบทุกศาสนา และเราสงวนเอกราซอธิปไตย ของซาตเิ หนอื สิงอนใด ®๐ กนยายม *๕010

ภาคฟึาสนาครส์ต

2

ขบวนการครสิ ตังในปร๙เทคไทย ^ ^ ๒๕0๒ คาสนาครสิ ตพ์ ฒั นาการมาจาก ล้ทธยิวในยคโบราณ ปีอบณูณูด 5)0 ประการเบนหลักธรรมสงสุด มทระเยซู เบึนศาสดา ครนพระเยซสู นพระขนมแล้ว บรรดาสาวกทง้ํ หลายก็เผยแผ่ศาสนาต่อ มา และไดแ้ ฅกแยกกนั ออกเบน ๓ นกายใหญ่ ศอ:~ *1. น ิ ก า ย I ร ล ้ ม ค า 5 อ อ ค (มอ}ท,(าท, 00แา0110) ๒. น ิ ก า ย โ ป ร เ ด ช แ ค น ท (ม}'0เ6รเ0ท0 แล® ๓. นิกายกรีก ออ/ธอดอกซ (0?66เ? 0V^1^0ป0x)

#๘ นาททอง วันน่จี ะเลา่ เรืองขบวนกา:ของ นกิ ายโรม0นคาธอลิคในประเทศไทย คน ทถ่ี อนกิ ายนี่ นิยมเรยื กตวั เองวา่ ครสิ ตงั เพราะฉะนนจงขอเรยิ กสนั้ ๆ ว่า ขบวน ครสิ ตัง กอ่ นอ่ืนโปรดทราบวา่ คูนยอ่ ำนวยการสูงชุดของ คริสตงั ทวโลก คือสำนกั วาติกัน ประเทศอิตาลี ทนน ฌนึ ทประกบั ของพระสนตปาปา หรือโปป, พวกคริสตัง เรอื 'ว่า พระสนตปาปาเบึนผ้ไู ด:้ บมอบสิทธิและอำนาๆ สบื ต่อมาๆากพระมหาเยซูเๆา สำนกั วาติกันน่แี หละเบนึ ทอ่ี ำนวยการ สง่ นกสอน คาสนานกิ ายคาธอสิคออกไปทำการในประเทศต่าง ๆ ทว โลก นับวา่ เบนึ ขบวนการศาลนกๆทยี งใหญ่ และ มีพลงงานอยา่ งมหาศาลทเี ดยี ว ในประเทศไทยเรา ไดม้ ีนกลอนศาสนาคริสตงั เขา้ มาเผยแผศ่ าสนาตงแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๒๐๐ มาแลว คือตงั แต่สนัยกรุงศริอยธุ ยาเบึ๋นราขธานี

พ.อ. 1เน มุทุกนกิ ©๙ การอำนรยการ ไดม้ ิสมณทตู 'ไากสำนกพระสนตปาปามาประจำอยู่ ในประเทศไทย ๑ ท่าน อยู่'ในฐานฌืนตวั แทนขององก สนตปาปา ให้คำปรกึ ษาหารือแก่ผู้นำคริสตงั ในปร่ ะเทศ ไทย และรายงานผลไปยงั สำนกวาติกัน ผู้ดำรงตำแหนง่ สมณทตู บ่จลํ บุ นน คือ ๆ พณ ๆ ?๗1-0111 สำนกงานใหญ่ของขบวนคริสตง ตง้ํ อยมู่ ิกรงุ เทพ ๆ ภายใตการบรหิ ารของพระสงํ ฃราช และบาทหลวงช1น ผใู้ หญ่ มิกองทนุ และเครองมอเครืองใชพรอมตัวยศณะ เลาหนามิครบครน สำนกงานนตงอยใู่ นวัดอสสมยญั ตรอกบรู พา ถนนเลริญกรุง พระนคร บริIรณเผยแผ่สาสนา ในการปกศรองครสิ ตัง และการดำเมินงานเผยแผ่ ศาสนาในประเทศไทย ทางการมิกายคาธอลคิ ไดแบง่ ประเทศ1ไทยออกเบนึ ๗ เขต(6) เรยี กวา่ เขตมิรยัง ตงั ตอ่ ไปน (* ) บี ๒๔0๘ ไค้กำVIIเกเข?*!ซๆ?งใหม่ 8 เขก กอ นกไราVเมา

มชิ ชง ๗ เบต ๑. มซซง ก รงเท พ ๆ ๒ . ม ิซ ซ ํง เช ีย ง ใ ห ม ่ ๔ . ม ิซ 'ช ง อ บุ ล I/ - ’ . 0 . ม ซิ ช งํ อ ุ?เร ๓ . ม ช ช ง ร น ท บ รุ ิ * ๕. ม ซิ ช ง ท ่า แ ร ่ (ลกลนกร) ๙ . ม ิซ ช ง ร ๆ ช บ รุ ี

พ.อ. ไเน มุทุก่นเา ๒* ทกุ ‘ทุ มิๆ]ซังมิพระส*งขราชเบึนประมุข มิซๆโง ละ องค และมิบาทหลวงเบนึ คณะดำเมนิ งานตามสมควร แตล่ ะมิๆ!ซังมกิ ารประสานงานกนอยา่ งใกลช้ ดิ ใซ1นโยบาย รว่ มกัน และมิการสกับสมนุ ซง่ึ กนั และกนั ดวยกำลง เตา่ หนาที ทุน และอปุ กรณอยา่ งอืน นิกส์อนส์าส์นา กกั สอนคาสนาคริฟิฅ ทีเ่ บนึ หล*กจริง ‘ทุ กํไดแก, บาทหลวง ซง่ึ ส่วนมากเบนึ คนชาตฝิ รง และมิคนไทย คืน และญวน รวมอยดู่ วย รองตงมากคํ ือพวกบราเดอร (8701๒?) และ ๆ!สเตอริ ( 318*6?) ซ่งึ ดำเมินงานอยู่ ในโรงเรยน (ช วี ตแลร)ชอบเขตการทำงานของบาทหลวง บราเดอร แลร) ชิลเตอร ปีอย่ในบทอนแล่ว) นกสอน ดศา่านสนาเเซหน่ ลต่าานนไสดอแนยกพกรนะคเบมึนภคีริณะดานเพก^ดัอดม8ง่่งุ ,โทรำงงเารนียกนนั คนดลานะ ต1งโรงพยาบาล กังนเบึนตน

๒๒ นาททลง กํจกรรมทนา่ สน'ใ.จ กจกรรมของขบวนกา:คร่สตงทน่าสนใ'า และเบน ทางใหการเผยแพรศ่ าสนาบรรลยุ ล คอื ะ - 5). ก า ร ท ง โ บ ส ถ เบ ึน ท ึ๋ส อ น ศ า ล น ไ แ ล * ใ]ร*กอบพธ ๒. ก าร จ าร ิก ไใ]ด าบ ห น ิบ าน ข อ ง บ าท - หอวง ๓. การจัดดงโรงเริยนของศาสนา ๔. การจัด ด ง โ ร ง พ ย า บ า ล ส ง เค ร า * /ค น ยากจน ๔. พิธึการจันทราบซ็้งของทางศาสนา &. การออกนิตยสาร แล* ๗. กา?โฃษณาทางเอกสารชนิดดาง ๆ ส่วนโทกรรมดานอน \"I นอกจากนได1ผลนอย สาสนิก ศาสนกนิกายคาธอตค ในปร.:ทศไทย มีประมาณ 100,000 คน นกั สอนศาสนาทกุ แขนงรวมกนประมาณ

พ.อ.1)น มุทุกน่ ค ๒๓ ๘00 คน หรอื นกสอนคาสนา ๑ คนต่อ คาสนก 5100 คน นกสงเกตกา:ณชาวยโุ :ปคนหนงได้ว้ตยั ไว้ว่า ในวน อาทิตย่หนง่ึ ‘ยุ ทิครสื ต*งเซาั โบสถทึ วป:ะเทศ ๖,000 คน ทงนไม่นบวนฉลองเขา้ ตวั ย จดุ ขยายตวั ของคาสนา อยู่ในเขตทิชซงั ก:งเทพๆ หรือในภาคกลางของป:ะเทศไทยเบนึ สว่ นมาก ทางภาค ใตลงไปได้ไกลถงึ สงขลา แลวกไปปะทะตับคาสนาอสี ลาม ถึงขยายตวั ไม่ออก ทางภาคเหนือกขยายตัวไดไ้ ม่สฆู้ ากน*ก เพ:าะไปปะทะกบนิกายไป:เตสแตนทิ ส่วนภาคอสี าน ทคิ :สตังอย่มู ากในหมซู่ าวญวน ลงหวดั สกล - อุด: หรอื ตามแถบแมน่ าโขง ซึ่งทิซาวญวนอยูม่ าก สว่ น นอกนนมคี าสนกิ ป:ะป:าย และไม่ใชผ่ ้เู ลื่อมใสแน่นอน เสยี เบนส่วนมาก นเึ่ บน๋ึ ซัอสงเกตอยา่ งค:1าว ๆ ละอย่างไ:กตาม คณะเผยแผ่ของคาธอสีคทำงาน ไดผลดพี อใช้ สามา:ถทำใหคนไทยแท้ ‘ยุ รอ้ งเรยี กว่ๆ “คุณพอ่ ” อย่างเตม็ ปากเต็มคำ กา:ท่ีนิกายคาธอสคี

ประสบความสำเรี',10ย่างงดงามเชน่ น1น น่าละเบนึ ด,วย เหตุเหล่าน คอื ๑. สมรรถภาทของผเผยแหร่ คอื บาทหลวง แต่ละคน ลวนแตไ่ ด้รบการศกึ ษาอบรบมาแลวอยา่ งดยี ึง๋ อย่างนอยห็ผา่ นวทิ ยาลัย มีความรู้๓ย'วกบศาสนศาลตร ลิตวทิ ยา การลงั คมลงเคราะห ฯลฯ เกือบละว่าทุกสาขา ใครละเอาอะไรลากบาทหลวงไดท้ ง่ น์ ่น ตลอดลนออกแบบ ก่อสรไงกไื ด้ เมอผใู้ ดมีความรรู้ อบตัวพอเพียงแลว และ ทางการเห็นว่าเบนึ คนเสียสละรบใลัศาสนาแนแ่ ลว ลงึ ละ บวชใหฌ้ นึ บาทหลวง ตา่ งลากวธิ ขี องทางพุทธ คอื ของเราบวชแลวจึงเรยี น แตข่ องเขาเรียนแล,วลงึ บวช คร่นถูกกำหนดตวละให้ท่านไปทำงานในทองกินใด ทา่ นละเรยี นร้ทู กุ ส่ิงทกุ อย่างในท่องถึ๋นนนเสียก่อน บาท หลวงฝรงี นน บางทีรู้จติ วิทยาลงั คม และประเพณี ทองกินเก่งกว่าคนทองกินน่น์เสยี ดวย'ชา ขอนกืตา่ ง ลากของเราอกี คือของเราไปแลวจงึ เรยี น ของเขา

VI.อ. ไ]น มุทุก*นก์ ๒๕ เรียนแลวจึงไป บาทหลวงทเี่ ดินอยตู่ านบานนอกน*น อยา่ คิดเบึนอนขาดวา่ ทา่ นไมร่ ูอ้ ะไร ควาบๆรีงทา่ นร้แู ต่ท่าน ไม่พูด รวบควาบวา่ นกเผยแพร่ของศาลนาครลี ต บี สมรรถภาพพอตว ๒. บาททลวงเหลา่ นน้ ฒนื นกั บญุ คือเสยี สละ อยา่ งเหน ‘ทุ ท่านไม่บีการสะสมสบบดเลย ท่านไดใ้ ห้ คำสดย่ปฏิญาณ1ไว้ ๓ ขอ้ คอื :- ๑. บรสิ ทุ ธ 1®. ยากปนี ๓. ๗ อษง บรสี ุทธ คือ1ไม่บคี รอบคร้ว ไมบ่ เี มีย ไม่คิดสกึ อกี เลย, ยากๆน คือไมส่ ะสบ บีของใชเ้ ทา่ ทๆ่ี าเบืน ๆริง ๆ, เช่อื พง คอื ทำงานตามคำสงี ของสำนกงานกลาง อย่างเคร่งคร'ด ไมว่ า่ ๆะฌึนบาทหลวงหวเบีองไหน ๆะ สอนศาสนาตรงกนหมด เหบีอนคน ๆ เดียว

๒๖ นาททอง ตา. ความใกล้ชิดกับประขาขน คคี บาทฑลวง ใกลเ/้ช^ิดก•บ/ ป:ะซาซนได้ ไมผ่ ดวนิ ัย บาทหลวงอาจ ถอดเลอคลุมไปชว่ ยชาวม่านเกยี่ วข้าว ชว่ ยปลูกบาน ชว่ ยรกษาคนไข้ และพาเตีก ^ เตะฟุตบอลกได้ ชิง เบนึ กา:เข้าถงึ ลงคมได้ตี ต่างจากพ:ะฟงิ ฃ์พุทธ ชงิ ตอง วางตวเบ็น่ คนละข้นกบคโ]หัสถตลอดเวลา และมีขอหาม เดดขาด1ไม่'ให:้ 'บใขเ้ กโ]หสั ถึ *๔ กนยายน ๒& อ๒

หนิ แห่งความอปยศ .10๙โ 0 0 “คฌท่อขา ลกู อย!กพงเรองหินก้อนมนจรงิ ๆ ค่ะ เพอนหมูพดู ลงบอ่ ย ๆ\" “ เขาพูดว่ายงั ไงลูก ?” “ เพอนVเนบู อก'ว่า สมยกรงุ ศรอี ยธุ ยานน พวก ศรีสตังถกู คน'ไทย:*งแกข่มIVเง และทำทรมานตา่ ง ๆ ทาง ราชการกกดี ยนั ไมใ่ ทบํ าV)ทลวงสอนศาสนา----------” “ แลวยงั ไงอีก” “บางคนบอกวา่ ทางราชการขดขวางไม่ให้ บาททลวงสอนศาสนา บาทหลวงผาผนึ เลยถกู ยับใส่คุก ทมด แลวกีมีกอนหินสารีกขอหา้ ม 4 ขอ มาด5ง์ไวหนำ ยัดศริสดง ทอยธุ ยา แต่ถทู อพระฌึนเจาึ ชว่ ยไว้ ศาสนา คาธอลคจึงชนะ”

๒๙ นาทีทอง “กอนกนิ ทลี กู วา่ น*น [ขาเรยี กวา่ ‘กอนกินอปยศ, ใชไ่ หมลูก,’ “ออ ใชค่ ่ะ,, “ ลูกถานถึง[รองนกดิ แี ล*ว พอ่ [องกรำคาญใจ [ตมท[ี หมอื นกัน ย*งมืคนเขาใจคนไทยเราผิดอย่มู าก แลว ถมึ ืหลายคนทีพยายามยก[รีองนขนยุแหย่ ใหซาวกรสี ตง กนใจกบั ซาวพุทธ พ่ออยากจะพดู ไว้ ไปภายหนาคนจะได้ เลิกหลงผดิ เสยี ที, ไปเรียกน1องมาพงเสยี ดวยคนกดี จะ ไดช้ ่วยกันจำ[อาไว้” ลูกทงฟอิ งพรอม[เลว “ พอ่ จะเลา่ [รองกอนกนิ อ*ปยศให้พง มนอปยค สมซอจรงิ ‘ยุ นะลกู ท[ี ขาเรียกว่ากินกัปยศนนถกู แลว,, “ใครกปั ยศอร*บ คณุ พอ่ ?” ลูกเลกถามขน “ ให[ราสนทนาเรอื งราวของมันใหจบเสียกอ่ น แลวลกู คอ่ ยนกึ ทายดวู า่ มนเบนศวามอปยศของใศร ดีไหม ?” 2-

พ .อ.!ณ มุทกุ ินคํ *,๙ “ถ1ายงง\"นตกลง! พอ่ คะเล่าใหพ้ งเดยวนแหละ คอื อยา่ งน ซนชาตไิ ทยเรานฌนคนถอึ ศาสนาพุทธมาแต่ ดงเติมแลว ใครจำไดบ้ างว่าคนไทยถอื ศาสนาพทุ ธมา ตงแตเ่ มื่อไร ?” “หนจู ำได้ ตงแต่คนไทยยังอยู่ในประเทศคนื ” “ถูกแลว่ , ประมาณ พ.ค. เทา่ ไร?” “ พ.ศ. ๖0 ๐” “ ดมี าก ตไแต่นนมาคนไทยท5งชาตเิ ชิดชพู ระพุทธ ศาสนาเบึนศาสนาประจำชาติ ครนมาถงึ ยคุ กรงุ ศรอี ยุธยาเบนึ ราชธานี มีคน ตา่ งชาตติ า่ งประเทศเยัามาตดิ ตอ่ กบประเทศไทยเรามากชน มที งนักการทา่ นกการเมือง นักคาสนา และนกการ ทหาร พวกนกศาสนากเขามาทา่ การสอนศาสนาใหคนไทย ได้รจู ํกคาสนาอน ๆ หลายศาสนา” “ศาสนาอะไรคะ ?” “กมีศาสนาครีลฅกบศาสนาอิสลาม ทสื ำคญ” “แลว่ ทำไมเรา'คงื ไปถึดกนเขาล่ะครบ?”

(I0 นาทีทอง “ เด่ยี วชลิ ูก พ่อกำลงจะเลา่ ไห้พง,, “นงเฉย ‘คุ ชินองเลก ใหคณุ พอ่ เลา่ ดกี ว่า” “ เงอ่ื งคาสนาค?สต่น่ะมนสลไาชบชอนมาก พ่อ จะเล่าตอนทียุ่งทสุดเลยทีเดียว คอื เมือ พ.ค. ๒๒0๗ ได้มทื า่ นบาทหลวงโรมนั คาธอลิคคนหมงื เดินทางมา1จาก!]ระเทศฝ:งเศล เขา มาสอนศาสนาค:สตในประเทศซองเรา ชิงขณะนน มบื าททลวงอยมู่ ากอ่ นแลว ๒๗ คน บาททลวงทีมาใหม่น ซอบาทหลวงลาโน ทา่ นผู้นเก่งมากนะลกู มาอยูเ่ มอื ง ไทย ๘ -^ บ ทา่ นก็รู,ภาษาไทยอย่างดมิ าก จนแต่ง หมงั ล่อ1ได”ี “ทา่ นเบึนลังขราชหรอคะ ?” “ ท แี รกก็ไม่ได้เบน แต่อยูม่ าหนอ่ ยทา่ นก็ได:้ บ เลอ่ ก'ให้เบนลงั ฃราซ ปกครองค?สตังในประเทศไทย ประเทศจนี และประเทศญบ่ี ุนดวย” “ท่านเกง่ ทางไหนศร'บ?” “ ทางศาสนากเ็ ทศน่เก่ง สอนหนังสือก็ได้ รกษา โรคกไ็ ด้ พวกขำราชการ1ไทยตลอด1จนพระเลา่ อย่ตัวก

พ.ย. 1๒ มทุ กุ ้นก์ 0) * นบถือทา่ น ตอนนนเมึนตันแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ มพาราซ” “อ๋อ ทมมี ิสเตอรฟอลคอนดวย'ใช่1ไพมคะ?” “ถูกแลว ลกู ลำเก่งมาก เราเมึนคนไทยตอง รเู้ รองชาติ'ไทยไวมาก \"I นแ่ี พละลูก ตวั การสำคัญคนหนงทที่ ำใพบาท!ลวง สมัยนนมวหมอง และได้รบความลำบาก ซอเตมของ เขาว่า มิสเตอ: คอนสตันติน ฟอลคอน เขาเบนพ่อค้า อยากหากวามรำรวย เทน่ี พระเตาั แผน่ ดนิ และขา่ ราซการ ไทยขอบพอก'บบาทพลวงคาธอลิก เขาเหนไดซ้ ่องเพมาะ ท่'ี าะประ'ไบเตัานายไทยได้ง่าย ๆ ก็เลยเปลีย่ นศาสนามา เมึนคาธอสีคเสยี แลวก็ทำทีเมึนสนบสนนุ คาธอสีคเบน การใหญ่ จนทางบาทพลวงและคณะมซี ซนนารไี ววางใ'ไ มีการหารือการเผยแผศ่ าสนาตัวย รงึ มีจดุ สำคญั คอี จะ หาทางใพพระเจาแผ่นดินของเราทงศาสนาพุทธเสยี แลว ไปถอี ครีสตงั ” “แลวพระเจไอยพ่ วละ่ ?”

๓๒ นาททอง “พ:ะเ''Vาอยหู่ วั และขาฑขกา:ผ้ใู หญผ่ แู้ อย ถือ พทุ ธท1งนนแหละลูก แตก่ ัไดอ้ ำนวยความสะดวก1ใทคณะ บาททลวงสอนศาสนาตามใ'ไ เรืองนา'ใ'ไแล1วคน'ไทยเฑ ดมี วน,านแล,ว*ก เมอเทนึ พ:ะเสาั อยกู่ ัวท:งโป:ดปฑนเซน่ นน ผาย ค:สตงั 1ซึงมนี ายฟอลคอนเบน๋ึ ตัวแทน ถืเสนอขอทำสนธิ สญั ญาทางศาสนากับผายไทย ขณะนน พ.ค. ๒๒๒๘ พ:ะเสัาอย่กู ัวของเฑดีอ สมเดี'าพ:ะนา:ายณมหา:าข” “สนธสิ ญญาคอื อะไ:ค:บ คุณพ่อ?’, “สนธิสัญญา กหมายถงื ขอตกลงเบนทางกา:ซลิ ูก ถาเ:าตกลงตามทเขาเสนอแลว กหมายความวา่ เฑตอง ออ่ นยอมไปตามเขา สนธสิ ัญญานนม & ขอ คือ ะ— ข้อ ๓ อนุญาฅให้พลเข้องไทยถึอคริสต ข้อ ๒ อนุญาตให้ข้ชชนนารึด้งโรงเรึยน ขอ ๓ อนุญาตให้'ครึสต้ง หยุดราชการวันอาทดV ขอ ๔ อนุญาตให้ข้าราชการครึสตังที๋ชรา ไข้ทอง ทางาน

พ.อ.,1เน มุทุก*นก ๓๓ ข้อ & โ*เบาลไทยดองตงตัฬํฬาโเVาพิเศVไว ขำร# คดีทวกคริสตังIดยไม่คิดค่าธรรมเนียม นแหละลูกสนธสิ ญั ญาที่นายฟอลคอนขอทำกบผาย ไทย ลกู เหน็ เบนยิงไง ?” “'สองขอแรกกดฑี รอกครบ แต่ ๓ ขอหลังชิแย่ หนอ่ ย” “ แย่ยงิ ไง ?” ‘‘หนูวา่ เอาเปรียบคนไทยมาก” ‘ ‘ น ี่แหละลูก คุดเรี,มแรกแห่งควานบาตหมาง ไม่ ใช่แตเ่ รอื งน ปรากฏว่าในระหว่างนนยงมืเรองคกุ คิก อขอยIูหผกูลขายาดอเยหIาม๘ง!องแร1๘คเ!ม๘อ!อต^งวภนูเกา๘ยตฟอลคแอลนะผเอูกงขก0าาดลกงาเดรคนาแ^อต๘น!มคๆะ อกี หลายอย่าง I ทีรายทีสดุ คือทางฝรงเศสกคะขอตงกอง ทหารในประเทศไทยอกี ดวย ลูกลงั สองกฌนึ คนไทย ลูกลองคดดูชิวา่ สมยนนฝรงี กำลงั เทยวหาเมอื งขนอยู่ ทวไป'ไเละเมอื งไทยเราเองกกำลไภูบานกเู้ มอื ง เรากำลงั ระแวงทกุ คนว่า คะมาฮุบเอาบานเมืองเราอยู่แลว พอ