พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 1 พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ ตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ท่ี ๑ ภาคที่ ๑ขอนอบนอ มแดพระผูม พี ระภาคอรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจา พระองคน ้ัน เอกธัมมาทิปาลิ บาลีแหงเอกธรรมเปนตน รปู าทิวรรคท่ี ๑ วาดว ยสง่ิ ที่ครอบงาํ จติ ใจบุรุษและสตรี [๑] ขาพเจาไดสดบั มาแลวอยางน้ี :- สมัยหนึ่ง พระผูมพี ระภาคเจาประทบั อยู ณ พระวหิ ารเชตวันอารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐ.ี กรงุ สาวัตถี ณ ทีน่ น้ั แล พระ-ผมู ีพระภาคเจา ตรัสเรยี กภกิ ษุทง้ั หลายวา ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลายภกิ ษุเหลา น้ันทูลรับพระดํารัสของพระผูม พี ระภาคเจา แลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา [๒] ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย เรายอ มไมเ ล็งเห็นรปู อ่นื แมอยางหน่งึท่ีจะครอบงําจิตของบุรุษต้งั อยูเหมอื นรปู สตรเี ลย ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 2รูปสตรยี อมครอบงําจิตของบุรุษตงั้ อยู. [๓] ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย เรายอมไมเ ล็งเหน็ เสียงอน่ื แมอ ยางหนึง่ที่จะครอบงําจิตของบรุ ุษต้ังอยูเ หมือนเสยี งสตรเี ลย ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลายเสยี งสตรยี อ มครอบงาํ จิตของบรุ ุษตงั้ อย.ู [๔] ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ กล่นิ อน่ื แมอยา งหน่งึทีจ่ ะครอบงําจิตของบุรษุ ต้ังอยูเหมือนกลิน่ สตรเี ลย ดูกอนภิกษทุ ั้งหลายกล่ินสตรียอมครอบงําจติ ของบุรษุ ต้งั อย.ู [๕] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย เรายอ มไมเล็งเห็นรสอ่ืนแมอ ยา งหนง่ึทจี่ ะครอบงาํ จติ ของบรุ ษุ ต้งั อยเู หมอื นรสสตรเี ลย ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลายรสสตรียอมครอบงาํ จติ ของบุรุษต้ังอยู. [๖] ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย เรายอมไมเล็งเห็นโผฎฐพั พะอื่นแมอยา งหน่งึ ทจ่ี ะครอบงําจติ ของบรุ ุษตงั้ อยเู หมอื นโผฎฐัพพะสตรีเลยดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย โผฎฐพั พะสตรยี อ มครอบงาํ จติ ของบุรุษต้ังอยู. [๗] ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ รปู อืน่ แมอ ยางหน่งึทีจ่ ะครอบงาํ จติ ของสตรีตงั้ อยูเหมือนรูปบรุ ษุ เลย ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลายรปู บรุ ษุ ยอมครอบงาํ จติ ของสตรตี งั้ อย.ู [๘] ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย เรายอมไมเลง็ เห็นเสยี งอน่ื แมอ ยา งหน่งึท่จี ะครอบงําจิตของสตรตี ั้งอยเู หมอื นเสียงบรุ ษุ เลย ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลายเสียงบรุ ษุ ยอ มครอบงําจติ ของสตรีตงั้ อยู.
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 3 [๙] ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย เรายอมไมเล็งเห็นกลิ่นอนื่ แมอ ยางหน่ึงทจี่ ะครอบงําจติ ของสตรตี ัง้ อยูเหมอื นกล่นิ บรุ ุษเลย ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลายกล่นิ บรุ ษุ ยอมครอบงาํ จิตของสตรตี ัง้ อยู. [๑๐] ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย เรายอมไมเ ลง็ เห็นรสอ่ืนแมอยางหนึ่งทจ่ี ะครอบงาํ จิตของสตรตี ง้ั อยูเหมือนรสบุรุษเลย ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลายรสบุรุษยอมครอบงําจิตของสตรตี ้ังอยู. [๑๑] ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย เรายอ มไมเ ล็งเหน็ โผฎฐัพพะอนื่ แมอยางหน่ึง ท่ีจะครอบงําจติ ของสตรีตง้ั อยูเหมือนโผฎฐัพพะบุรุษเลยดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย โผฎฐัพพะของบุรุษยอ มครอบงําจติ ของสตรตี ง้ั อยู. จบ รปู าทิวรรคที่ ๑
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 4 มโนรถปูรณี อรรถกถาองั คุตตรนกิ าย อรรถกถาเอกนบิ าต อารมั ภกถา ขาพเจา (พระพทุ ธโฆสาจารย) ขอไหว พระสุคต ผหู ลุดพน จากคติ ผูมีพระทัยเยือกเย็น ดว ยพระกรุณา ผมู มี ืดคือโมหะ อนั แสงสวาง แหงปญ ญาขจัดแลว ผเู ปนครขู องชาวโลก พรอ มทั้งมนษุ ยและเทวดา พระพุทธเจาทรงเจรญิ และทําใหแ จงคุณ เคร่ืองเปนพระพทุ ธเจา เขา ถงึ ธรรมใดอัน ปราศจากมลทิน ขาพเจา ขอไหวธรรมนัน้ อนั ยอดเยย่ี ม. ขา พเจาขอไหว ดว ยเศยี รเกลาซง่ึ พระ อริยสงฆท ั้ง ๘ ผูเปน โอรสของพระตถาคตเจา ผยู ํ่ายีเสยซึ่งกองทัพมาร. บุญใดสําเร็จดว ยการไหวพ ระรัตนตรัย ของขา พเจาผมู จี ติเลื่อมใสดังกลา วมาฉะน้ี ขาพเจาเปน ผทู อี่ านุภาพแหงบุญนัน้ ชวยขจดัอันตรายแลว จักถอดภาษาสหี ลออกจากคัมภรี อ รรถกถา ซง่ึ พระ
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 5อรหนั ตผูเ ชย่ี วชาญ ๕๐๐ องคส งั คายนามาแตต น และสังคายนาตอ ๆมา แนภายหลัง ทานพระมหินทเถระนาํ นายงั เกาะสหี ล จัดทาํ ไวเปนภาษาสีหล เพื่อใหเปนประโยชนแ กช าวเกาะ แลวยกข้นึ สภู าษาท่ีนาร่ืนรมย ควรแกนยั แตง พระบาลี คือทาํ เปน ภาษามคธ ไมใ หข ดั แยงลัทธสิ มัยซงึ่ ปราศจากโทษของเหลา พระเถระประทีปแหงเถรวงศ ผอู ยูในมหาวิหาร ซึง่ มวี นิ ิจฉัยละเอยี ดดี ละเวนขอความความทซ่ี า้ํ ซากเสยี แลว ประกาศเนือ้ ความแตง คมั ภรี องั คุตตรนิกายอันประเสรฐิ อันประดับดว ยเอกนิบาต ทกุ นิบาต ติกนิบาต เปนตน เพือ่ ใหอรรถแจม แจง สาํ หรบั ใหเกิดปฏิภาณอนั วิจิตร แกเหลาพระธรรมกถึกที่ดีซงึ่ ขา พเจาเม่ือกลาวเน้อื ความ แหงคัมภีรท ฆี นกิ าย และคัมภรี ม ัชณมินกิ าย ภายหลงั จงึ พรรณนาเรอื่ งราวของพระนครท้ังหลาย มีกรงุ สาวตั ถีเปน ตน ใหส าธชุ นยินดี และเพอ่ื ใหพระธรรมต้งั อยยู ่ังยืน ไดย ินวาเรือ่ งเหลา ใด ที่กลาวไวในคัมภรี ท ้ังสองนัน้ (ทีฆ, มชั ฌิม) พสิ ดารในคมั ภรี อังคุตตรนกิ ายน้ี ขา พเจาจกั ไมก ลา วเรอื่ งเหลาน้ันใหพ สิ ดารย่งิ ขนึ้ ไปอกี แตสาํ หรับสตู รท้ังหลาย เน้ือความเหลาใด เวน เรื่องราวเสยี จะไมแ จมแจง ขาพเจา จกั กลาวเรอื่ งราวท้ังหลายไว เพื่อความแจม แจง แตง เน้อื ความเหลาน้ัน. พระพุทธวจนะนี้ คอื ศลี กถา ธดุ งคธรรม กรรมฐานทั้งหมดความพิสดารของฌานและสมาบตั ิ ทีป่ ระกอบดว ยวธิ ปี ฏบิ ตั ิ อภญิ ญาทัง้ หมด คาํ วนิ จิ ฉยั ทง้ั สน้ิ อันเก่ยี วดวยปญญา ขันธ ธาตุ อายตนะอนิ ทรีย อรยิ สัจ ๔ ปจจยาการเทศนา มนี ัยอนั หมดจดละเอยี ด ซงึ่ไมพนจากแนวพระบาลี และวิปสสนาภาวนา แตเ พราะเหตทุ พี่ ระ
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 6พทุ ธวจนะที่กลา วมาแลวทง้ั หมด ขาพเจา กลา วแลว ในวสิ ุทธิมรรคอยา งหมดจดดี ฉะนนั้ ในทีน่ ีข้ าพเจา จกั ไมวิจารณเร่อื งท้งั หมดนี้ ใหย ง่ิข้ึนไป เพราะปกรณพ ิเศษ ชอื่ วาวสิ ทุ ธิมรรคนี้ ทข่ี า พเจารจนาไวแลว นัน้ ดํารงอยทู ามกลางแหงนิกายทง้ั ๔ จักประกาศขอความตามท่ไี ดก ลาวไวใ นนิกายทั้ง ๔ นั้น ฉะนน้ั ขอสาธุชนท้ังหลาย จงถือเอาปกรณวเิ ศษชื่อวิสุทธิมรรคน้นั พรอมดว ยอรรถกถานี้ แลวจกั ทราบขอความตามทีอ่ างองิ คัมภีรองั คตุ ตรนิกายแล.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 7 อรรถกถารูปาทิวรรคท่ี ๑ อรรถกถาสูตรที่ ๑ ในคมั ภรี เหลานัน้ คัมภรี ชือ่ วา องั คตุ ตรนิกาย มี ๑๑ นิบาต คอืเอกนบิ าต ทกุ นิบาต ติกนิบาต จตกุ กนบิ าต ปญ จกนบิ าต ฉกั กนิบาตสตั ตกนบิ าต อฎั ฐกนบิ าต นวกนบิ าต ทสกนบิ าต เอกาทสกนบิ าต วาโดยสูตร องั คุตตรนกิ าย มี ๙,๕๕๗ สตู ร บรรดานบิ าตแหงอังคตุ ตรนิกายนนั้ เอกนิบาต เปน นิบาตตน บรรดาสตู ร จิตต-ปรยิ ายสูตร เปน สูตรตน คํานทิ านแมแหงสตู รนัน้ มีวา เอวมฺเม สตุ เปนตน ทา นพระอานนทกลา วไว ในกาลมหาสังคีติครั้งแรกเปนตนมหาสังคตี คิ รง้ั แรกนีน้ น้ั กลาวไวพิสดารแลวในเบื้องตนแหงอรรถกถาทฆี นกิ าย ช่ือวา สุมงั คลวิลาสินี เพราะฉะนนั้ มหาสังคีติ คร้งั แรกนน้ัพึงทราบโดยพสิ ดารในอรรถกถาทีฆนกิ ายนน้ั นัน่ แล. กบ็ ทวา เอว ในคํานทิ านวจนะวา เอวมเฺ ม สุต เปนตน เปน บทนิบาต บทวา เม เปนบทนาม บทวา วิ ในบทวา สาวตถฺ ิย วหิ รติ นี้เปน บทอุปสรรค. บทวา หรติ เปน บทอาขยาต. พึงทราบการจําแนกบทโดยนัยนี้กอน. แตเ มอื่ วา โดยอรรถ กอ อนื่ เอว ศัพทม อี รรถหลายประเภทอาทิเชน อุปมา เปรียบเทียบ. อุปเทส แนะนํา, สมั ปหังสนะ ยกยอ ง,ครหณะ ตเิ ตนี น, วจนสัมปฏิคคหณะ รับคํา, อาการะ อาการ,นิทสั สนะ ตวั อยา ง, และอวธารณะ กันความอ่นื , จรงิ อยา งนน้ั เอว
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 8ศัพทน ั้น มาในอปุ มาเปรียบเทียบ ในคําเปนตน อยางนวี้ า เอว ชาเตนมจเฺ จน กตตฺ พพฺ กุสล พหุ สตั วผเู กดิ มาแลว ควรทาํ กุศลใหมากฉนั นน้ั .มาใน อุปเทสะ แนะ นาํ ในคาํ เปน ตน วา เอวนฺเต อภกิ กฺ มติ พฺพ เอวปฏิกฺกมิตพฺพ ทา นพึงกา วไปอยางน้ี พึงถอยกลบั อยางนี้. มาในสัมปหงั สนะ ยกยอง ในคาํ เปนตน วา เอวเมต ภควา เอวเมต สุคตขา แตพ ระผมู ีพระภาคเจา ขอนัน้ เปนอยางน้นั ขา แตพระสคุ ตขอนนั้ เปนอยางนัน้ . มาในครหณะ ตเิ ตยี น ในคําเปนตนอยางน้ี เอวเมว ปนายวสลี ยสมฺ ึ วา ตสฺมึ วา ตสสฺ มุณฺฑกสฺส วณณฺ ภาสติ (ก็หญิงถอ ยน้ียอมกลาวคณุ ของสมณะโลน ไมว าในทีไ่ ร ๆ อยา งนท้ี เี ดยี ว.) มาในวจนสมั ปฏิคคหณะ รับคํา ในคาํ เปนตนวา เอว ภนฺเตติ โข เต ภิกฺขู ภควโตปจจฺ สฺโสสุ ภกิ ษเุ หลา นั้นรับพระดาํ รสั ของพระผูมพี ระภาคเจา วาอยา งนนั้ พระพทุ ธเจา ขา. มาในอาการะอาการ ในคําเปน ตนวา เอว พฺยา โข อห ภนเฺ ตภควตา ธมฺม เทสิต อาชานามิ ทา นขอรับกระผมรทู ่ังถงึ ธรรมท่พี ระผูมีพระภาคเจา แสดงแลวดวยอาการอยา งน้.ี มาใน นิทัสสนะ ตัวอยาง ในคาํ เปนตน วา เอทิ ตฺว มาณวกฯ เป ฯ เอวจฺ วเทหิ สาธุ กิร ภว อานนฺโท เยน สภุ สฺส มาณวสฺสโตเทยฺยปุตฺตสฺส นิเวสน เตนุปสงกฺ มตุ อนุกมปฺ อุปาทาย มาเถิดมาณพ ทา นจงเขา ไปหาพระสมณะอานนท ถึงท่อี ยู ครัน้ แลว จงถามความมีอาพาธนอย ความมีโรคนอ ย ความคลอ งแคลว กาํ ลังวังชา การอยูผาสุก กะพระสมณะอานนท ตามคําของเราวา สภุ มาณพ โตเทยยบตุ ร
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 9ถามถงึ ความมอี าพาธนอ ย ความมีโรคนอ ย ความคลอ งแคลว กําลังวังชาการอยผู าสกุ กท็ า นพระอานนท และจงกลาวอยา งนวี้ า ดลี ะ ขอทา นพระอานนท โปรดอาศยั ความกรณุ า เขาไปยังนิเวสน ของสุภมาณพโตเทยยบตุ ร เถดิ . มาในอวธารณะ กันความอืน่ ในคําเปน ตนวา ต กึ มฺ ถกาลามา ฯเปฯ เอว โน เอตถฺ โหติ ดูกอ นชาวกาลามะทง้ั หลายทานสาํ คัญความขอ นน้ั เปน ไฉน ธรรมเหลา นเ้ี ปนกศุ ล หรืออกศุ ล ? เปน อกุศล พระเจาขา มีโทษ หรอื ไมมโี ทษ ? มโี ทษพระเจาขา วญิ ูชนติเตยี น หรอื สรรเสริญ ? วญิ ูชนติเตียนพระเจา ขา. บคุ คลสมาทานใหบริบรู ณแลว ยอ มเปนไปเพ่อื ไมเปนประโยชน เพอ่ื ทกุ ข หรอื ไมเปนไป หรอื ในขอน้ันเปนอยางไร ?พระเจาขา อนั บคุ คลสมาทานใหบรบิ ูรณแ ลว ยอมเปน ไปเพอ่ื ไมเ ปนประโยชนเพอ่ื ทกุ ข, ในขอ นพ้ี วกขาพระองคเหน็ อยา งน้ี. เอว ศพั ทน น้ี ั้นในท่นี ี้พงึ เห็นวาใชใ นอรรถวา อาการะ นทิ สั สนะและ อวธารณะ บรรดาอรรถ ๓ อยา งน้ัน ดวยเอว ศพั ท มอี าการะเปน อรรถพระเถระแสดงถึงอรรถนว้ี า พระดาํ รัสของพระผมู ีพระภาคเจาละเอยี ดดว ยนยั ตา ง ๆ มีอัธยาศัยเปนอันมากเปน สมุฎฐาน สมบรู ณดวยอรรถและพยญั ชนะ มีปาฏิหาริยตาง ๆ ลึกโดยธรรม, อรรถ,เทศนา, และปฏิเวธ มาปรากฏทางโสตทวารแหง สรรพสัตว ตาม
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 10สมควรแกภาษาของตน ๆ ใครเลา จะสามารถทราบไดโดยอาการทงั้ ปวง แตขาพเจา ทําความอยากฟงใหเ กิดขนึ้ แลว ดวยเรี่ยวแรงทกุ อยา ง ไดฟ ง มาแลว ดวยอาการอยางนี้ คอื ขา พเจาเองไดฟง มาแลวดวยอาการอยางหนึ่ง ดว ย เอว ศัพท มีนทิ ัสสนะเปน อรรถ พระเถระเมอ่ื จะเปลือ้ งตนวา ขาพเจา ไมใชพระสยมั ภู พระสูตรนี้ ขาพเจา มิไดท าํ ใหแจงจงึ แสดงสูตรท้ังสิน้ ทจี่ ะควรกลา วในบดั น้วี า เอวมเฺ ม สตุ แปลวาแมขาพเจากไ็ ดสดบั แลว อยางนี้. ดว ยเอว ศัพท อันมีอวธารณะ เปน อรรถ พระเถระเม่อื จะแสดงกาํ ลังแหงความทรงจําของตน อนั สมควรแกความเปน ผมู ีพระผูมีพระภาคเจา สรรเสริญแลวอยา งนีว้ า ภิกษทุ ั้งหลาย บรรดาภกิ ษสุ าวกผพู หูสตู ของเรา อานนทเ ปน เลศิ บรรดาภิกษสุ าวก ของเรา ผูมีสติ ผมู ีคติ ผมู ธี ติ ิ ผอู ุปฏฐาก อานนทเปน เลิศ และเปน ผทู พ่ี ระธรรมเสนาบดีสารีบตุ รสรรเสริญวา ทา นอานนท เปนผฉู ลาดในอรรถฉลาดในธรรม ฉลาดในพยญั ชนะ ฉลาดในนิรกุ ติ ฉลาดในอนุสนธิเบือ้ งตน และเบ้อื งปลาย จงึ ยงั ความเปน ผูใครเ พ่อื จะฟงของสัตวท ัง้ หลายใหเ กิดวาเราไดฟ งมาแลว อยางนี้ กส็ ูตรนั้นแล ไมขาดไมเกิน โดยอรรถหรือโดยพยญั ชนะ พึงเหน็ อยางน้แี หละ ไมพ ึงเหน็ โดยประการอืน่ . เม ศัพท ปรากฏในอรรถ ๓ อยา ง จริงอยา งนนั้ เม คัพทนนั้มอี รรถวา มยา (อนั เรา) ในคาํ เปน ตนวา คาถาภคิ ีต เม อโภชนียโภชนะที่ไดมาเพราะขบั คํารอยกรอง อนั เราไมค วรบรโิ ภค. เม ศพั ท
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 11มอี รรถวา มยหฺ (แกเรา) ในคําเปน ตนวา สาธุ เม ภนเฺ ต ภควาสงขฺ ติ ฺเตน ธมฺม เทเสตุ ขาแตพ ระองคผ ูเ จรญิ สาธุ ! ขอพระผมู ีพระภาคเจา โปรดทรงแสดงธรรมโดยยอ แกขา พระองคเ ถิด. เม ศัพทมีอรรถวา มม (ของเรา) ในคําเปน ตนวา ธมฺมทายาทา เม ภกิ ฺขเว ภวถภกิ ษุทงั้ หลาย พวกเธอจงเปนธรรมทายาท ของเรา. แตใ นท่ีน้ี ใชในอรรถทงั้ ๒ คอื มยา สตุ อนั ขาพเจาฟง มาแลว และวา มม สุตการฟงของขาพเจา . ศัพทว า สุต ในบทวา สตุ นี้ ทง้ั ท่ีมีอุปสรรค และทง้ั ทไ่ี มมอี ุปสรรคมปี ระเภทแหงอรรถเปนอันมาก เชน คมนะ ไป, วิสุตะ ปรากฏ,กิลนิ นะ ชมุ , อุปจติ ะ สาํ รวม, อนุยตุ ฺตะ ขวนขวาย, โสตวญิ เญยยะเสยี งทีร่ ูดว ยโสต, และโสตทวารานสุ สารวิญญา รทู างโสตทวารเปนตน จริงอยางนัน้ สุต ศพั ทน้นั มีอรรถวา ไป ในคําเปนตนวาเสนาย ปสโุ ต ไปในกองทพั . เม่อื อรรถวา เปนธรรมปรากฏแลวในคําเปน ตนวา สุตฺธมมฺ สฺส ปสสฺ โต ผูมธี รรมปรากฏแลว เห็นอย.ูอรรถวา ภกิ ษุณผี ูช มุ ดวยราคะตอบรุ ุษผูช ุมดว ยราคะในคําเปน ตนวาอวสสฺ ุตา อวสฺสตุ สฺส ภกิ ษณุ ผี กู ําหนัดดวยราคะ ตอบุรุษผูก าํ หนัดดว ยราคะ อรรถวา สง่ั สม ในคาํ เปน ตนวา ตมุ ฺเหหิ ปฺุ ปสตุ อนปปฺ กทานสั่งสมบญุ ไวมใิ ชนอย. อรรถวา ขวนขวายในฌาน ในคําเปน ตนวาเย ฌานปสตุ า ธีรา นักปราชญเหลา ใด ผขู วนขวายในฌาน อรรถวาเสียงที่รดู ว ยโสต ในคาํ เปน ตนวา ทิฏ สุต มตุ รปู ทีเ่ ห็น เสยี งทไ่ี ดย ิน
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 12อารมณท รี่ ,ู อรรถวา ทรงความรตู ามกระแสโสตทวาร ในคําเปน ตนวาสุตธโร สุตสนฺนจิ ฺจโย ผูทรงความรูสง่ั สมความร.ู แตใ นทนี่ ี้ สุต ศัพท มีอรรถวา อุปธารติ ทรงไวทางโสตทวาร หรอื วา อุปธารณ ความทรงจํา.จรงิ อยู เม่ือ เม ศพั ท มอี รรถวา มยา ความวา ขา พเจา ไดฟ ง มาแลวอยา งนี้ คือ เขา ไปทรงจํา ตามกระแสแหง โสตทวารก็ถกู . เมือ่ มีอรรถวา มม ความวา การฟง ของขาพเจาอยา งน้ี คอื การทรงจาํ ตามกระแสแหง โสตทวาร กถ็ ูก. บรรดาบททั้ง ๓ น้นั ดังวามาน้ี บทวา เอว เปน บทแสดงกิจคอื หนาท่ีของวิญญาณ มีโสตวญิ ญาณเปน ตน บทวา เม เปน บทแสดงบคุ คลที่พรง่ั พรอมดว ยวญิ ญาณดงั กลาวแลว บทวา สตุ เปนบทแสดงถงึ การถือเอา ไมขาด ไมเ กิน ไมว ปิ ริต เพราะปฏิเสธภาวะทไ่ี มไ ดย นิ อน่ึง บทวา เอว เปนบทประกาศวา วญิ ญาณ-วิถี ท่ีเปน ไปแลวตามกระแสแหงโสตทวารนัน้ เปนไปในอารมณโดยประการตาง ๆ. บทวา เม เปนบทประกาศตน. บทวา สุต เปนบทประกาศธรรม. ก็ในที่นี้ มีความสงั เขปดังนว้ี า ขา พเจา ไมกระทํากจิ อยา งอนื่ แตกจิ นขี้ าพเจาทําแลว ธรรมน้ี ขา พเจา ฟงมาแลว โดยวญิ ญาณวถิ ี ท่ีเปน ไปในอารมณ โดยประการตาง ๆ. อน่ึง บทวา เอว เปน บทประกาศอรรถทจ่ี ะพงึ ชแี้ จง. บทวาเม เปน บทประกาศบุคคล. บทวา สตุ เปนบทประกาศกิจของบุคคล.ทานอธิบายไวว า ขาพเจา ชีแ้ จงพระสตู รใด พระสตู รน้นั ขาพเจาฟงมาแลว อยางน้.ี
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 13 อน่งึ ศัพทว า เอว แสดงอาการตา ง ๆ ของจติ สันดาน ทีถ่ อืเอาอรรถและพยญั ชนะตาง ๆ เพราะจิตสนั ดานเปนไปตาง ๆ กันจรงิ อยู ศพั ทว า เอว น้ี แสดงถึงบญั ญตั ิ คือ การรูโ ดยอาการ. ศพั ทวาเม แสดงถงึ ผูทาํ . ศัพทว า สุต แสดงอารมณ. ดว ยคาํ เพียงเทาน้ีการตกลงโดยยึดเอาผทู าํ อารมณ ของทานผพู ร่งั พรอมดว ยจติ สันดานนน้ั เปน อนั กระทาํ แลวดวยจิตสนั ดาน อันเปน ไปโดยประการตา ง ๆ. อกี อยางหน่ึง เอว ศัพท แสดงกจิ ของบคุ คล สตุ ศพั ท แสดงกิจของวญิ ญาณ เม ศพั ท แสดงบคุ คลผูป ระกอบกจิ ทัง้ ๒ ก็ในทีน่ ้ีมีความสงั เขปดงั นี้วา ขา พเจาเปน บุคคลผพู รัง่ พรอ มดว ยวิญญาณซึ่งมีกิจคอื การฟง ไดฟงมาแลว โดยโวหารวา กจิ คือการฟงทไ่ี ดมาเนอ่ื งดวยวญิ ญาณ. บรรดาบทเหลา นนั้ บทวา เอว และบทวา เม เปนอวิชชมาน-บญั ญัติ บัญญัติส่ิงท่ไี มม อี ยู ดว ยสามารถแหงสัจฉกิ ัฎฐ และปรมัตถ จรงิ อยใู นท่ีนี้ คาํ ทจ่ี ะพงึ ไดน เิ ทศวา เอว หรือวา เม เมอื่ วาโดยปรมัตถ จะมอี ยดู ว ยหรอื บทวา สตุ เปน วิชชมานบัญญัติ บัญญตั ิสิ่งทม่ี อี ยู คือ ในท่นี สี้ ่ิงท่ไี ดมาดวยโสตวญิ ญาณน้นั มอี ยโู ดยปรมตั ถ.บทวา เอว และวา เม เปน ปาทายบัญญัตเิ พราะอาศัยสง่ิ ท่ีไดม าดวยโสตะนน้ั ๆ กลา วโดยประการนนั้ . บทวา สตุ เปนอุปนธิ ายบัญญัติ(บัญญตั ิในการตั้งไว) เพราะเก็บเอาส่ิงท่ีเหน็ แลว เปน ตน มากลา วอนงึ่ บรรดาคําทงั้ ๒ นน้ั ดวยคําวา เอว ทา นพระอานนทแ สดงถึงความไมหลง จริงอยู ผูห ลง ยอมไมสามารถจะเขา ใจไดโ ดยประการตา ง ๆ.
พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 14ดว ยคําวา สตุ ทา นพระอานนทแสดงความไมล ืมขอที่ฟงแลว. จรงิ อยูผูใดฟงแลวแตล ืมเสีย ตอมาผนู น้ั ก็รบั รองไมไดวา ขา พเจาฟงมาแลวดงั นนั้ พระอานนทนั้น ชอ่ื วา สาํ เร็จดวยปญญา เพราะความไมหลงช่อื วาสําเร็จดว ยสติ เพราะความไมล ืม บรรดาปญญา และสตินนั้ความท่ีสติซึ่งมีปญ ญาเปนตัวนํา สามารถจะทรงจําพยญั ชนะไดความท่ปี ญญาซง่ึ มสี ตเิ ปนตวั นาํ สามารถเขาใจอรรถได ชอ่ื วาสําเร็จดว ยความเปนธรรมภัณฑาคาริก เพราะสามารถอนรุ กั ษคลังธรรม ซ่งึ สมบูรณดว ยอรรถและพยัญชนะ เพราะประกอบดวยความสามารถทัง้ ๒ อยา งน้นั . อกี นัยหน่งึ ก็ดวยคาํ วา เอว ทานพระอานนทแสดงความใสใจโดยแยบคาย เพราะเมือ่ ใสใจโดยไมแยบคาย กไ็ มเขาใจโดยประการตาง ๆ ได กด็ วยคําวา สตุ ทานพระอานนทแสดงถงึความไมฟ ุงซา น แมเ ขาจะพดู โดยถูกตองทกุ อยาง ก็กลา ววาขา พเจาไมไดย ิน ทานจงกลาวอีก ก็ดว ยการใสใจโดยแยบคายในขอน้ี ยอมใหส ําเร็จอัตตสมั มาปณิธิ ความตง้ั ตนไวชอบ และปพุ เพกตปญุ ญตา ความเปนผมู ีบญุ อันไดทาํ ไวในปางกอ น เพราะผูทไี่ มต ัง้ ตนไวช อบ และไมกระทําบญุ ไวใ นปางกอน ก็เปนอยางอืน่ คอื ไมมโี ยนโิ สมนสิการ ดวยความไมฟุงซา น กใ็ หส าํ เรจ็สัทธัมมัสสวนะ การฟง พระสัทธรรม และสปั ปุรสิ ูปสังสยะ การเขาไปคบหาสัตบรุ ุษ. เพราะผทู ่มี ีจิตฟุงซา นไมอ าจฟง และเมื่อไมเ ขาไปหาสัตบรุ ษุ การฟงก็ไมม ีแล.
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 15 อกี นยั หนงึ่ เพราะเหตทุ ก่ี ลา วมาแลววา ศพั ทวา เอว แสดงอาการตาง ๆ ของจติ สนั ดาน ท่ีถอื เอาอรรถและพยัญชนะตา ง ๆ เพราะจิตตสันดานเปนไปตา ง ๆ กนั และจติ ตสนั ดานน้นั ก็คอื อาการอนั งามอยา งนี้ ยอ มไมมีแกผูไมต ัง้ ตนไวชอบ หรอื แกผ ูไมกระทําบุญไวใ นปางกอ น ฉะนั้น ดวยคําวา เอว น้ีทา นพระอานนทแสดงสมบัติ คือจักรธรรม ๒ ขอหลังของตนดวยอาการอันงาม แสดงสมบตั ิ คอืจักรธรรม ๒ ขอแรกโดยประกอบการฟง ดวยบทวา สตุ . เพราะผอู ยูในประเทศอันไมส มควร และผูเ วน จากการเขาไปคบหาสัตบุรษุการฟง กไ็ มมี ดงั น้นั ทา นพระอานนทน ้นั จงึ สําเร็จอาสยสุทธิความหมดจดแหง อาสยะ เพราะความสาํ เร็จแหงจักรธรรม ๒ ขอ หลงัสําเรจ็ ปโยคสทุ ธิ ความหมดจดแหง การประกอบ เพราะความสําเร็จแหง จักรธรรม ๒ ขอขางตน และทานพระอานนท สาํ เรจ็ ความเช่ียวชาญในอาคม (นกิ ายทั้ง ๕ ) กเ็ พราะอาสยสทุ ธิ ความหมดจดแหง อาสยะน้นั . สําเรจ็ ความเช่ียวชาญในอธคิ ม (มรรคผล) ก็เพราะปโยคสทุ ธิ ความหมดจดแหง ประโยค ดังน้นั คาํ ของพระอานนท ผูหมดจดดวยประโยค การประกอบและ อาสยะอธั ยาศัย ผูถึงพรอมดวยอาคมและอธิคม จงึ ควรจะเปนเบอื้ งตน (ตัวนาํ ) แหงพระดํารัสของพระผมู ีพระภาคเจา เหมือนอรณุ ขึ้นเปน เบ้อื งตน ของอาทติ ยอ ทุ ัยและเหมอื นโยนิโสมนสกิ าร เปนเบ้อื งตนแหงกศุ ลกรรมฉะน้นั เพราะฉะน้นั ทานพระอานนทเมอ่ื ตั้งนทิ านวจนะ คาํ เร่ิมตนในฐานท่คี วรจึงกลา วคาํ เปน ตนวา เอวมฺเม สุต ดังน้ี. อีกนยั หน่ึง ทา นพระอานนทแสดงสภาวะแหงสมบตั ิ คอื
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 16อรรถปฎิสัมภิทาและปฎิภาณปฎิสัมภทิ าของตน ดวยคาํ อันแสดงถึงความรแู จงดว ยประการตาง ๆ ดวยคําวา เอว น.้ี แสดงสภาวะแหงสมบัตคิ อื ธรรมปฏสิ มั ภทิ า และนิรตุ ติสัมภทิ า ดว ยคาํ อันแสดงความถงึ ความรแู จง ประเภทแหงธรรมทค่ี วรฟงดว ยคาํ วา สตุ น้.ีพระเถระเม่อื กลา วถึงคาํ อนั แสดงโยนิโสมนสกิ ารนวี้ า เอว ยอมแสดงวา ธรรมเหลาน้ี เราเพง พินจิ แลวดว ยใจ ขบคิดดแี ลวดวยทฏิ ฐิ พระเถระเมอ่ื กลา วถงึ คาํ อนั แสดงการประกอบเนือง ๆ ซง่ึ การฟงนี้วาสุต ยอ มแสดงวา ธรรมเปน อันมาก เราฟงแลว ทรงจาํ แลว คลองปากแลว แมดวยคําทง้ั ๒ นัน้ พระเถระเม่ือแสดงความบรบิ รู ณ แหง อรรถและพยญั ชนะ จึงทําใหเกิดความเออื้ เฟอ ในการฟง . จริงอยู บคุ คลเมือ่ ไมฟงธรรมท่ีบริบูรณด ว ยอรรถและพยัญชนะ ดวยความเอื้อเฟอยอ มเหนิ หา งจากประโยชนเ กือ้ กูลเปน อนั มาก เพราะฉะนนั้ ควรทาํ ความเอ้อื เฟอ ใหเกิดแลว ฟงธรรมโดยความเคารพเถดิ . อน่งึ ดว ยคําทัง้ สิ้นวา เอวมเฺ ม สุต นี้ ทานพระอานนท เม่อื ไมตัง้ธรรมท่ตี ถาคตประกาศแลว ไวกับตน ชื่อวา กา วลวงภูมิอสตั บรุ ุษเม่ือปฎิญญาความเปน พระสาวก ช่อื วาหย่ังลงสูภูมิสตั บุรุษ. อนึง่ทําจิตใหอ อกจากอสทั ธรรม ชื่อวา ต้ังจิตไวใ นสทั ธรรม. เมือ่ แสดงวาอา งองิ พระดํารสั ของพระชินเจา ชือ่ วา ดํารงธรรมเนตตไิ ว (เนตติคือ ชกั นาํ สตั วในประโยชนโลกน้ี ประโยชนโ ลกหนา และปรมตั ถ-ประโยชน ตามควร) อกี นัยหนึง่ ทา นพระอานนทเม่ือไมปฏญิ าณวาธรรมนัน้ ตนทาํใหเกดิ ขนึ้ จึงไขคําเบื้องตนวา เอวมเฺ ม สุต กําจดั ความไมมีศรทั ธา
พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 17ทําสัทธาสมบัติใหเ กดิ ข้ึนในธรรมน้ี แกเ ทวดาและมนุษยท กุ เหลาวาพระดํารัสนเี้ รารบั แลว ในทเี่ ฉพาะพระพักตร ของพระผูมพี ระภาคเจาพระองคนน้ั ผแู กลว กลาดวยเวสารัชชญาณ ๔ ผูทรงไวซ่งึ พลญาณผูดํารงอยูในฐานะอันประเสริฐ. ผบู นั ลือสีหนาท ผสู งู สดุ กวา สัตวท้ังปวง ผูเ ปน ใหญในธรรม ผูเปนพระธรรมราชา เปน ธรรมาธบิ ดี ผูมีธรรมเปน ปทีป ผมู ีธรรมเปน ที่พึง ผูหมุนลอคอื พระสทั ธรรมอันประเสริฐ ผตู รสั รเู องโดยชอบ จึงไมควรทําความสงสยั หรอื ความเคลอื บแคลงในอรรถ ธรรม บท หรือพยญั ชนะ ในคํานี้ เพราะเหตุนน้ัทา นจึงกลา วคํานีไ้ ววา วนิ าสยติ อสสฺ ทธฺ สทฺธ วฑเฺ ฒติ สาสเน เอวมฺเม สตุ มิจฺเจว วท โคตมสาวโก สาวกของพระโคดม เมอ่ื กลาวอยางนี้วา เอวมฺเม สตุ ช่อื วา ทาํ ความไมม ีศรัทธาใหพนิ าศ ทาํ ศรัทธาในพระศาสนาใหเจรญิ ศพั ทวา เอก แสดงการกาํ หนดจํานวน ศัพทว า สมยแสดงกาลทกี่ ําหนดไวแ ลว คาํ วา เอก สมย เปนคาํ แสดงเวลาไมแนนอน สมยศพั ท ในคําวา เอก สมย นน้ั ใชในสมวายะพรอมเพรียง ๑ ขณะ ๑ กาล ๑ สมุหะ ชุมนมุ ๑ เหตุ ๑ ทิฏฐิความเหน็ ๑ ปฏลิ าภะ การไดเ ฉพาะ ๑ ปหานะ การละ ๑ ปฏเิ วธการแทงตลอด ๑.
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 18 จรงิ อยางน้ัน สมย ศพั ท มอี รรถวา สมวายะ พรอมเพรียงในคํามอี าทอิ ยางน้วี า อปเฺ ปว นาม เสวฺ ป อุปสงฺกเมยยฺ าม กาลจฺสมยจฺ อปุ าทาย ถากระไร แมพ รงุ น้ี เราทั้งหลาย พงึ อาศัยกาละและความพรอ มเพรียงกันเขา ไป. มอี รรถวา ขณะ ในคํามอี าทิอยางนีว้ า เอโก จ โข ภกิ ขฺ เวขโณ จ สมโย จ พฺรหมฺ จรยิ วาสาย ภิกษทุ ัง้ หลาย ขณะ และสมัยหนง่ึมเี พอ่ื อยปู ระพฤตพิ รหมจรรยแ ล. มอี รรถวา กาล ในคํามอี าทิอยา งนีว้ า อณุ หฺ สมโย ปรฬิ าหสมโยคราวรอน คราวกระวนกระวาย. มอี รรถวา สมุหะ ประชุม ในคาํ มีอาทิอยางน้ี มหาสมโยปวนสฺมึ ประชมุ ใหญใ นปา ใหญ. มอี รรถวา เหตุ ในคาํ มอี าทอิ ยางนว้ี าสมโย ป โข เต ฯ เป ฯ อปฺปฏวิ ิทโฺ ธ อโหสิ แมเหตุแล ไดเปน เหตุท่ีเธอไมร แู จงวา แมพ ระผูม พี ระภาคเจา แล เสด็จอยูใ นกรุงสาวตั ถี.แมพ ระองคจกั ทรงทราบเราวา ภิกษชุ ่ือภัททาลิ มใิ ชผูม ปี กตทิ ําใหบรบิ รู ณ ดวยสิกขาในศาสนาของพระศาสดา ดกู อ นภทั ทาลิ เหตุแมน แ้ี ลไดเ ปนเหตุท่เี ธอไมร ูแจง แลว. มอี รรถวา ลทั ธิ ในคาํ มอี าทอิ ยา งนี้วา เตน โข ปน สมเยนฯ เป ฯ สมยปฺปวาทเก ตณิ ฺฑุกาจเิ ร เอกสาลเก มลลฺ ิกาย อาราเมปฏวิ สติ กส็ มยั นนั้ แล ปรพิ าชก ชอ่ื อคุ คาหมานะ บุตรของสมณมุณฑิกา อาศัยอยใู นอารามของพระนางมลั ลิกา มศี าลาหลังเดียวมีตนมะพลบั เรยี งราย อนั เปนที่สอนลทั ธิ.
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 19 มอี รรถวาไดเฉพาะ ในคํามีอาทิอยา งนี้วา ทิฏเ ธมฺเม จ โย อตฺโถ โย จตฺโถ สม-ฺ ปรายโิ ก อตฺถาภสิ มายา ธีโร ปณฑฺ โิ ตติ ปวุจฺจติ ผูมปี ญ ญาเปน เคร่ืองทรงจํา เราเรยี กวา บณั ฑติ เพราะการไดเฉพาะซึ่งประโยชนทั้งภพนแ้ี ละ ภพหนา . มอี รรถวา ปหานะ ละ ในคํามอี าทิอยางนว้ี า สมมฺ ามานาภิสมยาอนตฺ มกาสิ ทุกขฺ สสฺ ภิกนฺ ้ีไดก ระทําที่สุดทกุ ข เพราะละมานะโดยชอบ. มีอรรถวา ปฏิเวธ แทงตลอด ในคํามอี าทอิ ยา งนวี้ า ทกุ ฺขสฺสปฬนฏโ ฯลฯ วิปริณามฏโ อภิสมยฏโ ทุกข มอี รรถวา บบี คนั้ปรุงแตง เรา รอ น แปรปรวน แทงตลอด. แตในทนี่ ี้ สมยศัพทน ัน้ มีอรรถวา กาล. ดว ยคาํ น้นั พระเถระแสดงวา สมยั หนึ่ง ในบรรดาสมยั ทั้งหลายอนั เปนประเภทแหงกาล เปน ตนวา ป ฤดู เดอื น กึ่งเดือน กลางคนืกลางวัน เชา เที่ยง เยน็ ปฐมยาม มัชฌมิ ยาม ปจ ฉิมยาม และครู. ในคาํ วา เอก สมย นน้ั บรรดาสมัย มปี เปนตนเหลานนั้ พระ-สตู รใด ๆ พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสไวในป ฤดู เดอื น ปก ษ สวนแหงราตรี สว นแหง วันไร ๆ ทงั้ หมดนน้ั พระเถระรูด ีแลว กําหนดดแี ลว
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 20ดวยปญ ญาแมโ ดยแท ถงึ อยา งน้ัน เม่อื พระเถระกลาวไวอ ยางนี้วาขา พเจาไดสดับมาแลว อยางน้วี า ในปโนน ฤดโู นน เดือนโนน ปกษโนน กาลอนั เปนสวนแหงราตรีโนน สว นแหง วนั โนน ใคร ๆ กไ็ มสามารถจะทรงจําไดห รือแสดงได หรือใหผ ูอ่นื แสดงไดโ ดยงายและเปน เรือ่ งทีต่ องกลาวมาก ฉะนั้นทา นจึงประมวลเนือ้ ความน้นัไวด ว ยบทเดยี วเทาน้ัน แลว กลาววา เอก สมย ดงั น้ี. อีกอยา งหนงึ่ ทา นพระอานนทยอ มแสดงวา สมัยของพระผูมีพระภาคเจา เปนประเภทของกาลมิใชนอ ยทีเ่ ดียว ท่ีปรากฏมากมายในหมเู ทวดาและมนษุ ยทง้ั หลาย มอี าทิอยา งน้ี คือ สมยั เสด็จกาวลงสพู ระครรภ สมยั ประสูติ สมัยทรงสลดพระทยั สมัยเสดจ็ ออกผนวชสมยั ทรงบําเพ็ญทุกกรกริ ิยา สมยั ทรงชนะมาร สมัยตรัสรู สมยัประทับเปนสุขในทฏิ ฐธรรม สมยั ตรสั เทศนา สมยั เสดจ็ ปรนิ พิ พานเหลา นใี้ ด ในบรรดาสมยั เหลา นั้น สมยั หนงึ่ คือสมัยตรัสเทศนา อนง่ึ ในบรรดาสมัยแหง ญาณกิจ และกรณุ ากิจ สมยั แหงกรุณากิจนีใ้ ด ในบรรดาสมัยทรงบําเพ็ญประโยชนพระองคแ ละทรงบําเพ็ญประโยชนผ อู ่นื สมัยทรงบําเพญ็ ประโยชนอื่นน้ีใดในบรรดาสมยั แหงกรณยี ะทง้ั หลายแกผ ูประชมุ กัน สมัยตรสั ธรรมี-กถานใี้ ด ในบรรดาสมัยแหงเทศนาและปฏิบัติ สมยั แหง เทศนานีใ้ ดทา นพระอานนทกลา ววา สมัยหนง่ึ ดังนี้ หมายถึงสมยั ใดสมัยหนงึ่ในบรรดาสมยั ทง้ั หลายแมเ หลานั้น. ถามวา ก็เหตุไร ในพระสูตรนท้ี า นจงึ ทาํ นเิ ทศดว ยทุตยิ า-วิภตั ตวิ า เอก สมย ไมก ารทําเหมือนอยางในพระอภธิ รรม ซ่ึง
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 21ทานไดท าํ นเิ ทศดวยสตั ตมีวิภตั ตวิ า ยสฺมึ สมเย กามาวจร และในสตุ บทอ่นื ๆ จากพระอภิธรรมน้ี ก็ทานเิ ทศดวยสตั ตมวี ิภัตติวายสฺมึ สมเย ภกิ ฺขเว ภกิ ฺขุ ววิ จิ ฺเจว กาเมทิ สว นในพระวนิ ยั ทา นทํานิเทศดว ยตติยาวภิ ตั ตวิ า เตน สมเยน พทุ ฺโธ ภควา ? ตอบวา เพราะในพระอภธิ รรมและพระวนิ ัยนัน้ มีอรรถเปนอยา งนั้น สวนในพระสูตรน้มี อี รรถเปนอยา งอ่นื .. จริงอยู บรรดาปฎกทง้ั ๓ น้นั ในพระอภิธรรมและในสุตตบทอืน่ จากพระอภิธรรมนี้ยอมสําเร็จอรรถแหง อธกิ รณะและอรรถแหงการกําหนดภาวะดว ยภาวะ. กอ็ ธกิ รณะ. คอื สมัยทีม่ กี าลเปนอรรถและมปี ระชุมเปน อรรถและภาวะแหง ธรรมมผี ัสสะเปน ตน ทานกาํ หนดดว ยภาวะแหง สมยักลา วคือขณะความพรอมเพรียงและเหตุแหง ธรรมมผี สั สะเปนตนที่ตรสั ไวในพระอภิธรรมและสตุ ตบทอนื่ นน้ั ๆ เพราะฉะนัน้ เพ่ือสองอรรถนัน้ ทา นจงึ ทา นิเทศดว ยสัตตมวี ภิ ตั ติในพระอภิธรรมและในสตุ ตบทอืน่ นน้ั . สว นในพระวินัย ยอ มสาํ เรจ็ อรรถแหงเหตแุ ลอรรถแหง กรณะ. จรงิ อยู สมยั แหงการทรงบัญญตั สิ กิ ขาบทน้นั ใด แมพระสาวกมีพระสารีบุตรเปน ตน ก็ยังรยู าก โดยสมัยนน้ั อนั เปนเหตุและเปน กรณะ พระผมู พี ระภาคเจา เม่ือทรงบญั ญัตสิ กิ ขาบททงั้ หลายและทรงพิจารณาถึงเหตแุ หงการทรงบัญญตั สิ ิกขาบท ไดป ระทับอยูในทีน่ ้ัน ๆ เพราะฉะนน้ั เพือ่ สอ งความขอนน้ั ทานจงึ ทาํ นเิ ทศดวยตตยิ าวภิ ตั ตใิ นพระวินยั นน้ั . สวนในพระสูตรนแ้ี ละพระสูตรอืน่ที่มีกาํ เนดิ อยา งนี้ ยอ มสําเรจ็ อรรถแหง อัจจนั ตะสังโยคะ จรงิ อยูพระผูม ีพระภาคเจา ทรงแสดงพระสูตรนี้ หรอื พระสตู รอ่นื ตลอด
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 22สมัยใด เสด็จประทับอยดู ว ยธรรมเปน เคร่อื งอยคู อื กรุณา ตลอดสมัยนนั้ ทีเดียว. เพราะฉะน้นั เพื่อสอ งความขอน้ัน ทานจึงทํานเิ ทศดวยทุตยิ าวภิ ตั ตใิ นพระสูตรน้.ี เพราะเหตุน้นั ทานจงึ กลา วคาถาประพนั ธไ วด ังนีว้ า ทา นพจิ ารณาอรรถนั้น ๆ กลา วสมยศัพท ในปฎ กอ่นื ดวยสตั ตมีวภิ ตั ติและตตยิ าวิภตั ติ แต ในพระสตุ ตันตปฎกน้ี กลาวสมยศพั ทน นั้ ดว ย ทตุ ิยาวิภตั ต.ิ ก็พระโบราณาจารยท ้งั หลายพรรณนาไวว า นต้ี างกันแตเ พยี งโวหารวา ตสมฺ ึ สมเย บาง เตน สมเยน บา ง ต สมย บา ง ในที่ทกุ แหง มอี รรถเปน สตั ตมวี ิภัติทัง้ นน้ั เพราะฉะนัน้ แมท า นกลาววาเอก สมย ก็พงึ ทราบเนือ้ ความวา เอกสฺมึ สมเย (ในสมัยหนึ่ง) บทวา ภควา เปน คาํ กลา วดว ยความเคารพ. จรงิ อยู คนทงั้ หลายเรียกครใู นโลกวา ภควา. กพ็ ระผมู พี ระภาคเจา นี้ เปน ครูของสตั วทง้ั ปวง เพราะเปน ประเสรฐิ พเิ ศษโดยคุณทงั้ ปวง เพราะฉะนน้ัพึงทราบพระองควา ภควา. แมพ ระโบราณาจารยท ง้ั หลายก็กลาวไววา คําวา ภควา เปนคําประเสรฐิ คาํ วา ภควา เปน คําสูงสุด พระผูม ีพระภาคเจา น้นั ผูควรแก ความเคารพโดยฐานครู เพราะเหตุนน้ั บณั ฑติ จึงขนานพระนามวา ภควา.
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 23 อกี อยา งหนงึ่ บัณฑติ พงึ ทราบความแหงบทน้นั โดยพิสดารดวยอํานาจแหงคาถาน้วี า พระผูมพี ระภาคเจา ทรงเปน ผมู โี ชค ทรง หกั กิเลส ทรงประกอบดวยภคธรรม ทรงจําแนก แจกธรรม ทรงนา คบ และทรงคายกเิ ลสเปน เคร่ืองไปในภพทั้งหลายเสียได เพราะเหตุนน้ั ทรงพระนามวา ภควา เนือ้ ความน้ัน กลา วไวแ ลว โดยพสิ ดารในพุทธานุสสตินิเทศในคัมภรี วสิ ทุ ธิมรรคนนั้ แล. กด็ วยคํามีประมาณเทา นี้ พระเถระเมอ่ื แสดงธรรมตามทีฟ่ ง มาจงึ กระทําพระสรรี ะคือพระธรรม ของพระผมู พี ระภาคเจาใหป ระจกั ษดว ยคาํ วา เอวมฺเม สตุ ในสูตรนี.้ ดวยคาํ นั้น พระเถระชือ่ วา ปลอบโยนคนผูรันทด เพราะไมไ ดเหน็ พระศาสดาวา ปาพจน (ธรรม และวินัย)นี้ ชื่อวา มศี าสดาลวงไปแลวหามไิ ด พระธรรมวนิ ยั น้ี เปน ศาสดาของทานท้งั หลาย. ดวยคาํ วา เอก สมย ภควา พระเถระ เมื่อจะแสดงวาพระผมู ีพระภาคเจา ไมมอี ยใู นสมยั นัน้ ชอ่ื วายกการปรินิพพาน ทางรปู กายใหเห็น ดวยคาํ น้นั พระเถระจึงทาํ ผูม ัวเมา เพราะความเมาในชวี ิตใหเกดิ ความสงั เวช และทําใหคนน้ันเกิดความอุตสาหะ ในพระ-สทั ธรรมวา พระผมู พี ระภาคเจา นน้ั ผทู รงไวซ ึง่ ทศพลญาณ มีพระวรกายเสมอดว ยรางเพชร ผูทรงแสดงอรยิ ธรรม ชอื่ อยา งน้ี ยงั ปริ-
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 24นพิ พาน คนอนื่ ใครเลาจะพงึ ใหเกิดความหวังในชีวิต และพระเถระเม่อืกลา ววา เอว ชื่อวา ชเ้ี ทศนาสมบัติ (สมบตั ิคอื การแสดง). กลาววาเม สตุ ชอื่ วาช้ถี งึ สาวกสมบตั ิ (สมบตั ิของสาวก). กลาววา เอก สมยช่ือวาช้ีถงึ กาลสมบัติ (สมบตั คิ ือเวลา) กลา ววา ภควา ชอ่ื วาช้ีถงึเทสกสมบัติ (สมบตั คิ ือผแู สดง). บทวา สาวตฺถิย ไดแ ก ใกลนครช่อื อยา งน.ี้ กค็ าํ วา สาวตถฺ ิยุน้ี เปน สัตตมวี ิภตั ิ ใชใ นอรรถวา ใกล. บทวา วหิ รติ น้ี เปน บทแสดงความพรง่ั พรอมแหงการอยูอยา งใดอยา งหนึง่ ในบรรดาอิริยาบถ-วหิ าร ทพิ วหิ าร พรหมวิหาร และอรยิ วิหาร โดยไมแปลกกัน. แตในทนี่ ้แี สดงการประกอบพรอมดว ยอริ ยิ าบถอยางใดอยางหน่ึง บรรดาอิรยิ าบถ ตา งโดย ยืน เดิน นงั่ ละนอน ดว ยบทวา วิหรติ นน้ั พระผูมีพระภาคเจา ประทับยนื กด็ ี เดินก็ดี นัง่ ก็ดี บรรทมกด็ ี บณั ฑิตพงึ ทราบวา ประทับอยูทงั้ นั้น. จริงอยู พระผูมีพระภาคเจา น้ัน ทรงตัดขาดความลําบากแหงอิรยิ าบถหนง่ึ ดวยอริ ิยาบถหนึ่ง ทรงนําไปคือทําอตั ภาพใหเปน ไป ไมใหท รดุ โทรม เพราะเหตุน้ัน ทา นพระอานนทจึงกลาววา วิหรติ (ประทับอย)ู . บทวา เชตวเน ไดแ ก ในสวนของพระราชกุมาร พระนามวาเชต สวนนั้น พระราชกมุ ารพระนามวา เชต น้ัน ไดป ลกู ตน ไมใ หเจริญงอกงาม รกั ษาไวอ ยางดี และพระองคไ ดเ ปน เจา ของสวนน้ันเพราะฉะนัน้ สวนน้ัน จงึ นับวา เชตวัน.ในพระเชตวันน้ัน.
พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 25 บทวา อนาถปณ ฑฺ ิกสสฺ อาราเม ความวา อารามอนั นับวาของทานอนาถบณิ ฑกิ ะ เพราะเปนอารามท่คี ฤหบดนี ามวา อนาถ-บิณฑิกะ มอบถวายแดภกิ ษุสงฆม ีพระพทุ ธเจาเปน ประธาน โดยบรจิ าคทรพั ยเ ปน เงนิ ๕๔ โกฏิ กใ็ นทน่ี ้ี ความสังเขปมีเพียงเทาน้.ี สวนความพสิ ดาร กลา วไวแลว ในอรรถกถาสพั พาสวสูตรอรรถกถามัชฌมิ นิกาย ชือ่ ปปญจสทู นี ในขอ นนั้ หากมีคําถามสอดเขามาวา ถาพระผูม พี ระภาคเจา ประทับอยทู ีก่ รุงสาวัตถีกอน.พระเถระกไ็ มควรกลาววา พระวิหารชื่อวา เชตวัน ถา พระองคประทบั อยูใ นพระเชตวันนน้ั ก็ไมค วรกลาววา ใกลกรงุ สาวตั ถี.ความจริง ใคร ๆ ไมอ าจจะอยูไ ดใ นที่ ๒ แหง พรอ มคราวเดียวกนัแกว า ขอ นน้ั ไมพ ึงเห็นอยางนน้ั ขา พเจาท้งั หลาย ไดกลา วไวแ ลวมใิ ชห รือวา คําวา สาวตฺถยิ เปน สตั ตมีวิภัติ ใชในอรรถวา ใกลเพราะฉะนั้น แมใ นทน่ี ี้ พระผมู พี ระภาคเจา ประทับอยใู นพระวิหารชอ่ื วาเชตวนั ทอ่ี ยูใ กลกรงุ สาวตั ถี ทานพระอานนทก ลา ววา ประทบัอยูใ นพระวหิ ารชื่อวา เชตวัน ใกลก รุงสาวัตถี เหมอื นฝูงโคเทย่ี วหากนิ ใกลแ มน ้าํ คงคา และแมน าํ้ ยมุนา เปน ตน เขาก็เรยี กวา เทย่ี วหากนิ ใกลแ มนํ้าคงคา ใกลแมน้ํายมุนา ฉะนน้ั . จริงอยู การกลา วถึงกรุงสาวตั ถี ของทา นพระอานนทน ้นั กเ็ พ่อื แสดงโคจรคาม การกลาวถึงสถานทท่ี ่เี หลือ กเ็ พือ่ แสดงสถานที่เปนท่อี าศัย อนั สมควรแกบรรพชติ ในคําเหลา น้ัน ดว ยคําวา สาวตฺถยิ ทา นพระอานนท แสดงการทพ่ี ระผูมีพระภาคเจา ทรงกระทาํ การอนเุ คราะหแ กคฤหัสถ.แสดงการกระทําอนุเคราะหแ กบ รรพชติ ดว ยการระบุถึงพระเชตวัน
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 26อน่ึงพระเถระแสดงการเวนอตั ตกิลมถานโุ ยค เพราะการรับปจจยัดว ยคาํ ตน แสดงอบุ ายเปน เคร่อื งเวน กามสขุ ัลลกิ านุโยค เพราะวตั ถุกาม ดวยคาํ หลงั . อนึ่ง แสดงการประกอบพระธรรมเทศนา ดว ยคาํ ตน แสดงการนอ มไปเพอื่ วเิ วก ดว ยคําหลงั . แสดงการมีพระกรณุ าดว ยคาํ ตน แสดงการมพี ระปญญา ดว ยคําหลัง แสดงวา ทรงนอ มไปในอันใหส ําเร็จหติ สขุ แกเหลาสตั ว ดว ยคาํ ตน แสดงวา ไมทรงตดิในการทาํ หติ สุขแกผ ูอน่ื ดว ยคาํ หลัง แสดงการท่ีทรงอยูผาสุก ดวยการสละสขุ ที่ชอบธรรมเปน นมิ ิต ดว ยคาํ ตน แสดงการทรงประกอบเนือง ๆ ซึ่งธรรมอนั ย่ิงของมนุษยเ ปนนิมิต ดว ยคําหลัง แสดงการทีท่ รงเปนผมู ีอุปการะมากแกม นุษยท้งั หลาย ดวยคาํ ตน เสดงการทีท่ รงเปนผมู ีอุปการะมากแกเ ทวดาทงั้ หลาย ดว ยคาํ หลัง แสดงการท่ีเสดจ็ อบุ ตั ิขึน้ ในโลกแลวเจริญพรอ มในโลก ดวยคําตน แสดงการที่ไมท รงเขา ไปติดในโลก ดว ยคําหลัง. แสดงทรงทําประโยชนท ่ีเสดจ็ อุบัตใิ หส ําเรจ็ เรียบรอย ดว ยคําตน โดยพระบาลวี า \"ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย บุคคลเอก เม่อื อุบตั ิขน้ึ ในโลก ยอมอุบัติข้ึนเพ่อื เก้ือกูลแกช นมาก เพื่อความสขุ แกช นมาก เพือ่ อนุเคราะหสตั วโลก เพอื่ประโยชนเก้อื กลู เพอ่ื ความสุขแกเทวดาและมนษุ ยท้ังหลาย บุคคลเอกคอื บุคคลชนดิ ไหน คอื พระตถาคตอรหันตสมั มาสมั พุทธเจา\".แสดงการทที่ รงอยสู มควรแกส ถานท่เี ปนทอ่ี บุ ตั ิ ดว ยคําหลงั . จรงิ อยูพระผมู พี ระภาคเจาเสดจ็ อุบัติในปา ทง้ั นัน้ ดวยอบุ ตั ิท้ังทเ่ี ปนโลกิยะและโลกุตตระ คือ ครงั้ แรก ทล่ี ุมพนิ ีวัน ครัง้ ที่ ๒ ท่ีโพธิ-มณั ฑสถาน เพราะเหตุนนั้ พระเถระจงึ แสดงทปี่ ระทบั อยูของพระองค
พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 27ในปา ทง้ั นนั้ . ในสตู รนี้ พงึ ทราบการประกอบความโดยนยั ดงั กลา วมาแลว เปนตน ฉะน.้ี บทวา ตตฺร แสดงเทสะ และกาละ. กบ็ ทวา ตตรฺ นั้น พระเถระแสดงวา ในสมัยท่พี ระผูมพี ระภาคเจาประทบั อยู และในอารามที่ประทับอยู หรอื แสดงเทสะ และกาละ อันควรจะกลาวถงึ . จรงิ อยูพระผมู ี-พระภาคเจาไมต รัสธรรมในประเทศหรือในกาลอนั ไมส มควร๑. ก็คาํ วา\"ดูกอ นพาหิยะ น้เี ปนกาลไมสมควรกอ น\" เปน ขอ สาธกในเร่อื งน.้ีศพั ทวา โข เปนอวธารณะ ใชใ นอรรถเพยี งทําบทใหเต็มหรอื เปนนิบาต ใชในอรรถวา กาลเบื้องตน. บทวา ภควา แสดงความท่ที รงเปนครูของโลก. บทวา ภิกฺขุ เปนคําแสดงถงึ บคุ คลควรฟง พระดาํ รัส. อีกอยางหน่ึง ในบทวา ภิกษุ น้ีพงึ ทราบอรรถแหงคํามีอาทิวา ช่อื วาภิกษุ เพราะเปน ผขู อ หรือชอ่ื วา ภกิ ษุ เพราะเขาถึงการเทยี่ วขอ. บทวา อามนฺเตสิ แปลวา เรียก คอื กลา ว ไดแก ปลกุ ใหต ่นื . ในบทวาอามนเฺ ตสิ นี้มีใจความดงั น.้ี แตใ นท่อี ืน่ ใชใ นอรรถวา ใหร ูก็ม.ี เหมือนอยางตรสั ไวว า ภิกษทุ ง้ั หลาย เราขอบอกเธอท้งั หลายใหท ราบ ขอเตอื นเธอทัง้ หลาย. ใชในอรรถวา เรยี ก กม็ ี เหมอื นอยางทีต่ รสั ไววามาน่ีแนะ ภกิ ษุ เธอจงเรียกสารีบุตรมา ตามคําของเรา.๑. ปาฐะวา อยุตฺตเทเส วา ธมมฺ ภาสติ พมา เปน อยตุ เฺ ต เทเสวา กาเลวา ธมมฺ ภาสต.ิ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 28 บทวา ภกิ ขฺ โว แสดงอาการเรยี ก. กบ็ ทนน้ั ตรัสเพราะสาํ เรจ็ดวยการประกอบดว ยคุณ คือความเปน ผูข อโดยปกต.ิ ผูรสู ทั ทศาสตรยอ มสําคัญวา ก็ภกิ ษุผปู ระกอบดว ยคณุ คอื ความเปน ผขู อเปน ปกติกม็ ี ประกอบดวยคณุ คอื ความเปนผูข อเปน ธรรมดากม็ ี ประกอบดว ยคุณคือความเปน ผมู ปี กตกิ ารทําดีในการขอกม็ ี. พระผมู พี ระภาคเจา จะทรงประกาศความประพฤติที่ชนเลวและชนดเี สพแลว จงึ ทรงทําการขม ความเปนคนยากไรท่ียกขน้ึ ดวยพระดาํ รสั น้นั ทส่ี ําเร็จดว ยการประกอบดว ยคณุ มีความเปนผขู อเปนปกติเปน ตน ของภกิ ษุเหลา น้นัพระผูม พี ระภาคเจา ทรงการทาํ ภิกษุเหลาน้นั ใหหนั หนาตรงพระพักตรข องพระองค ดวยพระดํารัสท่ที รงทอดพระนยั นาลง ดว ยพระหฤทัยท่แี ชม ช่ืน แผไปดว ยพระกรุณาเปนเบือ้ งหนาวา ภิกขฺ โวน้ี ทรงทําใหภ ิกษเุ หลา นน้ั เกิดความอยากจะฟง ดว ยพระดํารัสอนัแสดงพทุ ธประสงคจ ะตรสั นั้นนน่ั แหละ. และทรงชกั ชวนภิกษเุ หลาน้ันไว แมในการใสใจฟงดวยดี ดว ยพระดํารัสนน้ั อันมีอรรถวา ปลุกใหต่นื นนั้ นั่นเอง. จรงิ อยู พระศาสนาจะสมบรู ณได ก็เพราะการใสใ จในการฟง ดวยด.ี หากมีคําถามวา เม่ือเทวดาและมนุษยแ มเหลาอน่ื ก็มอี ยูเพราะเหตุไร พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรสั เรียกเฉพาะภิกษุเหลา น้ัน.แกวา เพราะภิกษุเหลาน้นั เปน ผูเจริญทีส่ ุด ประเสรฐิ ทส่ี ุด อยูใ กลช ดิและเปนผอู ยปู ระจาํ . จริงอยู พระธรรมเทศนาของพระผูม ีพระภาคเจายอ มทัว่ ไปแกค นท้งั ปวง. แตภ กิ ษุท้งั หลาย ชือ่ วาเปน ผเู จริญท่ีสุดของบริษัท ก็เพราะเปนผูเ กดิ กอน. และช่อื วา เปนผูป ระเสรฐิ ทส่ี ดุ
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 29กเ็ พราะเปนผูดําเนินตามพระจรรยาของพระศาสดา ต้ังตน แตเปนผูไมค รองเรอื น และเพราะเปนผูรับพระศาสนาทงั้ สิน้ ชอื่ วาเปน ผูใกลช ิด เพราะเมือ่ เธอน่งั ในทน่ี น้ั ๆ กใ็ กลพระศาสดาทงั้ นั้น ชื่อวาอยูประจาํ กเ็ พราะขลุกงวนอยแู ตใ นสํานักพระศาสดา. อีกอยางหนึง่ภิกษุเหลานนั้ ชื่อวา เปน ภาชนะรองรบั พระธรรมเทศนา เพราะเกดิดว ยการปฏิบตั ิตามทที่ รงพรา่ํ สอน แมเ พราะเหตุนัน้ พระองคจ ึงตรสัเรียกภกิ ษเุ หลา น้นั ดว ยประการฉะนี้. ถามวา ก็เพ่อื ประโยชนอะไร พระผมู ีพระภาคเจา เมื่อทรงแสดงธรรม จงึ ตรัสเรยี กภิกษเุ สยี กอน ไมทรงแสดงธรรมเลยทเี ดียว.แกว า เพอื่ ใหเกิดสติ. ความจริง ภิกษทุ ้งั หลาย คิดเร่อื งอืน่ อยูกม็ ี มจี ิตฟุงซา นกม็ ี พจิ ารณาธรรมอยกู ม็ ี น่ังมนสิการกรรมฐานอยูก็มีภิกษเุ หลา นนั้ เมอื่ ไมตรัสเรียกใหร ู (ตัว) ทรงแสดงธรรมไปเลยกไ็ มสามารถจะกาํ หนดไดวา เทศนาน้ี มอี ะไรเปน เหตุ มอี ะไรเปนปจ จัย พระองคท รงแสดง เพราะอตั ถุปปตติ (เหตุเกิดเรือ่ ง) อยา งไหน ?จะพงึ รบั เอาไดย าก หรอื ไมพึงรับเอาเลย. เพ่ือใหภ กิ ษุเหลา นนั้ เกิดสติดว ยพระดาํ รสั น้ัน พระผูมีพระภาคเจา จงึ ตรัสเรียกเสยี กอน แลว จงึทรงแสดงธรรมภายหลงั . บทวา ภทนฺเต นี้ เปน คาํ แสดงความเคารพ หรือเปน การถวายคาํ ตอบ (คอื ขานรับ) แดพ ระศาสดา. อกี อยา งหนึง่ ในท่นี ี้ พระผมู ีพระภาคเจา เมือ่ ตรสั วา ภกิ ขฺ โว ช่ือวา เรยี กภิกษุเหลานั้น. ภิกษุทงั้ หลายเม่อื ทูลวา ภทนเฺ ต ช่อื วา ขานรบั พระผูม ีพระภาคเจาในภายหลงั . อนงึ่ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั เรียกวา ภกิ ฺขโว. ภิกษุ
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 30ทั้งหลาย กราบทูลในภายหลงั วา ภทนเฺ ต. พระผูมพี ระภาคเจา รับสง่ัใหภิกษตุ อบ พระดํารสั ทีว่ า ภิกฺขโว. ภิกษุถวายคาํ ตอบวา ภทนเฺ ต. บทวา เต ภกิ ขฺ ู ไดแก เหลา ภิกษุทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจาตรสัเรียก. บทวา ภควโต ปจฺจสโฺ สสุ ความวา ภิกษุทัง้ หลายไดฟง เฉพาะพระดาํ รสั ตรัสเรยี กของพระผูมีพระภาคเจา . อธิบายวา หันหนามาฟงคือรบั ไดแ ก ประคองรับ. บทวา ภควา เอตทโวจ ความวา พระผูมีพระภาคเจา ไดต รัสคาํ น้ัน คอื พระสูตรท้ังสิน้ ท่ีจะพงึ กลาวในบดั น.้ี กด็ วยคาํ เพยี งเทา นี้ คําเรม่ิ ตน อันใด อันประกอบดว ยกาล, ผแู สดง, เทสะ, บรษิ ัท และประเทศ ทา นพระอานนทกลา วแลวเพื่อกําหนดเอาพระสูตรนไี้ ดโ ดยสะดวก. การพรรณนาเนอื้ ความแหงคาํ เรมิ ตนนน้ั จบบริบรู ณแลว แล. บัดนี้มาถึงโอกาสพรรณนาพระสตู ร ที่พระผมู พี ระภาคเจาทรงตั้งไว โดยนยั เปน ตนวา นาห ภกิ ขฺ เว อฺ เอวร สมนปุ สฺสามิดงั น้แี ลว. กก็ ารพรรณนาความน้นี น้ั เพราะเหตุท่ีกําลงั กลา ววิจารณเหตุตั้งแหง พระสตู รปรากฏอยู ฉะนั้น บัณฑิตพงึ ทราบการวิจารณเหตตุ ง้ั แหง พระสตู รกอน. จริงอยู เหตตุ ้งั แหงพระสตู ร มี ๔ อยาง คอื เกิดเพราะอัธยาศยั ของตน ๑ เกดิ เพราะอธั ยาศัยของผูอ่นื ๑ เกิดดว ยอํานาจคําถาม ๑ เกิดเพราะเหตเุ กิดเรอื่ ง ๑. ในเหตุทง้ั ๔ อยางนนั้ พระสตู รเหลาใด พระผมู พี ระภาคเจาอนั ผูอืน่ มไิ ดอ าราธนา ตรสั โดยพระ
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 31อธั ยาศัยของพระองคอ ยา งเดยี ว เชน อากังเขยยสูตร, วตั ถสตู ร เปนตนสูตรเหลา นน้ั ช่ือวา มีเหตตุ งั้ เกิดจากอธั ยาศัยของพระองค. อน่งึ สตู รเหลาใดทีพ่ ระองคท รงสาํ รวจดู อัธยาศยั ความชอบใจใจ บญุ เกา และความตรัสรู แลว ตรัสโดยอัธยาศัยของผอู ื่นอยางนีว้ าธรรมเปนเครอ่ื งบมวมิ ตุ ติของพระราหุล แกกลา แลว ถา กระไร เราพงึแนะนาํ ในธรรมเปนทส่ี ้นิ อาสวะยิ่ง ๆ ข้ึนไปแกพ ระราหลุ เชน ราหโุ ล-วาทสตู ร ธรรมจกั กัปปวัตตนสูตรเปน ตน สตู รเหลานั้น ชอ่ื วา มีเหตุตั้งเกดิ จากอัธยาศัยของผูอ่ืน. กเ็ ทวดาและมนษุ ยเหลาน้ัน เขาไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจาแลวถามปญ หา โดยประการตาง ๆ พระผูม ีพระภาคเจา ถูกเทวดาและมนุษยเ หลา นน้ั ทลู ถามแลว ตรัสสูตรใด มีเทวตาสงั ยตุ และโพชฌังคสงั ยุต เปน ตน . สูตรเหลา นนั้ ชอ่ื วา มีเหตตุ ั้งเกิดโดยอํานาจคาํ ถาม. อนงึ่ สูตรเหลา ใด พระผูมีพระภาคเจาตรัสเพราะอาศยั เหตุเกดิขึน้ เชน ธมั มทายาทสตู ร และปุตตมงั สปู มสูตรเปน ตน สูตรเหลานั้นช่อื วา มเี หตุตั้งโดยเหตเุ กิดเรือ่ งขึ้น. ในเหตตุ ้ังสตู รทั้ง ๔ นี้ สูตรนี้ชื่อวา มเี หตุตั้งเกดิ จากอัธยาศยัของผอู ืน่ อยางน.ี้ จรงิ อยู สูตรนีต้ ัง้ ขึ้นดวยอํานาจอัธยาศยั ของผอู ื่น.ถามวา ดว ยอธั ยาศยั ของคนพวกไหน ? แกว า ของบรุ ษุ ผหู นักในรปู . ในบทเหลานนั้ น อักษร ในคําวา นาห ภกิ ฺขเว เปนตน มีปฏิเสธเปน อรรถ. ดวยบทวา อห แสดงอางถงึ พระองค. พระผูมี
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 32พระภาคเจา ตรัสเรียกภิกษเุ หลา นั้นวา ภิกฺขเว. บทวา อฺ ความวาซึ่งรูปอืน่ จากรปู หญิงทพี่ ึงกลา วในบัดนี.้ บทวา เอกรปู ป ป แปลวารูปแมอยา งหนง่ึ . บทวา สมนุปสฺสามิ ความวา สมนุปส สนา ๒ อยา งคือญาณสมนปุ สสนา ๑ ทฏิ ฐิสมนุปส สนา ๑. ในสองอยา งน้ันอนุปส สนาวา ภกิ ษเุ หน็ โดยเปนของไมเที่ยง ไมใชเ หน็ โดยเปนของเทีย่ ง นชี้ ื่อวา ญาณสมนปุ ส สนา. สวนอนุปสสนามีอาทิวา ภิกษุพิจารณาเหน็ รูปโดยเปนอัตตา ชอ่ื วา ทฏิ ฐิสมนปุ ส สนา. ในสองอยา งน้นั ในทีน่ ี้ ทานประสงคเอาญาณสมนปุ สสนา. พึงทราบการเชื่อมบทนีด้ วย น อกั ษร. ทานกลาวอธิบายไวดงั นวี้ า ภิกษุท้ังหลายเราแมเ มื่อตรวจดู ดว ยสัพพัญุตญาณ ก็มองไมเ ห็น แมร ูปอืน่ สักอยางหนงึ่ . บทวา ย เอว ปรุ สิ สฺส จติ ฺต ปรยิ าทาย ตฏิ ติ ความวา รปู ใดเกาะกุมทํากุศลจิตอันเปน ไปในภูมิ ๔ ของบรุ ุษผหู นักในรูปใหส ิ้นไปตัง้ อย.ู จริงอยู การยดึ ถือ ชอ่ื วา การยดึ มนั่ ไดใ นคําวายึดมัน่ กายหญิงทั้งหมด เปน ตน . ชือ่ วา ใหส นิ้ ไป ไดใ นคาํ มีอาทิวาภกิ ษุทง้ั หลาย อนิจจสญั ญา อนั ภิกษอุ บรมแลว ทาํ ใหมากแลว ทาํกามราคะทัง้ ปวงใหส ิน้ ไป. ใน๑ทนี่ ้ี กถ็ กู ทงั้ สองอยา ง. ในการยดึ ถอื และการใหส น้ิ ไปทัง้ สองอยา งน้ัน รปู นีเ้ ม่อื ถือเอากศุ ลจติ อนั เปนไปในภูมิ ๔๑. ปาฐะวา อิธ อิท รปู จตภุ มู ิก กุสลจติ ฺต ภณฺหนฺต นลี ปุ ฺปลกลาป ปุรโิ ส วยิ หตเฺ ถนคณหฺ าติ นาม ฯ เขปยมาน อคคฺ ิ วิย อ ทฺธเน อุทก สนฺตาเปตวฺ า เขเปติ ฯ พมา เปน ตตฺถอทิ รูปจตภุ ูมถกสุ ลจติ ตฺ คณหฺ นฺต น นีลปุ ฺปลกลาป ปรุ ิโสวิย หตฺเถ คณหฺ าติ, นาป เขปยามานอคฺคิ วิย อทุ ธเน อทุ ก สนฺตาเปตฺวา เขเปต.ิ (แปลตามพมา )
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 33ชื่อวาถอื เอา เหมอื นบุรุษเอามือถือกาํ อุบลบัวขาบ กห็ ามิได เมื่อทําใหสิ้นไป ช่อื วาทาํ ใหสิ้นไป เหมอื นไฟท่ีทํานา้ํ บนเตาไฟ ใหร อ นแลวใหสิน้ ไป ก็หามไิ ด อนงึ่ ๑รปู ท่ีหามการเกดิ ขึน้ แหง กุศลจิตนั้น นน่ั แหละพงึ ทราบวา ช่ือวายดึ และทาํ กศุ ลจิตอันแมท ่ีเปนไปในภูมิ ๔ ใหส ิ้นไป.ดวยเหตุนั้นจึงตรสั วา ปรุ สิ สฺส จติ ตฺ ปรยิ าทาย ติฏติ (ยึดจติ ของบุรุษตั้งอยู) บทวา ยถยทิ ตดั เปน ยถา อิท . บทวา อติ กฺ รี ูป แปลวา รปูของหญิง. ในคาํ วา รูป นั้น พงึ ทราบอรรถแหงคาํ และสามัญลกั ษณะแหงรปู ตามแนวแหง สูตรวา ภิกษทุ ้ังหลาย พวกเธอกลา วรปู อะไร ?ภิกษทุ ัง้ หลาย ธรรมชาตใิ ดยอมแตกสลาย เพราะเหตุนั้นธรรมชาตนิ ้นัจงึ เรียกวา รปู . รปู ยอมแตกสลายไปเพราะเหตอุ ะไร ? ยอ มแตกสลายไปเพราะเยน็ บาง ยอมแตกสลายไปเพราะรอ นบาง. ก็ศพั ทวา รูป นี้ ยอมไดในอรรถหลายอยา ง เชน ขันธ, ภพ,นิมิต, ปจจยั , สรรี ะ, วัณณะ, สณั ฐาน เปน ตน. จรงิ อยู ศพั ทว ารูปนี้ใชใ นอรรถวา ไปขันธ ในประโยคนวี้ า รูปขนั ธอยางใดอยางหนง่ึ ท่ีเปนอดตี อนาคต และปจจบุ ัน. ใชใ นอรรถวารปู ภพ ในประโยคน้วี า เจริญมรรคเพอื่ อุปบัตใิ นรปู ภพ. ใชในอรรถวา กสณิ นมิ ิต ในประโยคนว้ี ากาํ หนดอรปู ภายใน เห็นรูปกสณิ ภายนอก. ใชใ นอรรถวา ปจจัย ในประโยคนี้วา อกุศลธรรมอันลามกท้งั ที่มีรปู และไมม รี ปู ยอ มเกิดขนึ้ .๑. ปาฐะวา อุปปฺ ตตฺ ิฺจสสฺ นวิ ารยิ มานเมว จตุภูมิก กสุ ลจิตฺต คณหฺ าติ เจว เขเปติ จเวทิตพพฺ ฯ พมา เปน อปุ ฺปตฺติ ฺจสสฺ นวิ ารยมานเมว จตภุ มู กมฺป กสุ ลจติ ฺต คณฺหาติ เจวเขเปฺติ จาติ เวทตพฺพ . (แปลตามพมา )
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 34ใชใ นอรรถวาสรรี ะ ในประโยคนวี้ า อากาศทลี่ อมรอบตัวกเ็ รยี กวาสรรี รปู เหมอื นกนั . ใชในอรรถวาวรรณะ ในประโยคนีว้ า อาศัยจกั ษุและวรรณรูปเกดิ จกั ขุวญิ ญาณ. ใชในอรรถวา สัญฐาน ในประโยคนว้ี าผถู อประมาณในรปู สญั ฐาน เลื่อมใสในรูปสณั ฐาน. พงึ สงเคราะหรูป มีอาทิวา ปย รูป สาตรปู อรสรูโป (รปู นา รกั รปู นา ชน่ื ใจ ผมู รี ปู ไมนายนิ ดี)ดวย อาทิ ศพั ท. แตในทน่ี ี้ รปู ศพั ทน น้ั ใชใ นอรรถวา วรรณะ กลาวคือรปู ายตนะ อนั มีสมุฏฐาน ๔ ของหญิง. อกี อยา งหนึง่ วรรณะ (ส)ีอยา งใดอยางหนึ่งทเ่ี นอ่ื งดวยกายของหญงิ ไมวา ผา ทีน่ ุง เคร่อื งประดบักลิน่ หอม และผวิ พรรณเปน ตน หรอื เครอ่ื งประดับและระเบยี บดอกไมยอมสําเร็จเปนอารมณแ หงจกั ขุวิญญาณของชาย. ท้งั หมดน้ัน พงึทราบวา เปน รปู แหงหญงิ เหมือนกนั . บทวา อติ ถฺ รี ปู ภิกฺขเว ปรุ สิ สฺส จติ ตฺ ปริยาทาย ติฏ ติ นี้ตรัสไว เพ่อื ทาํ คําท่ีตรัสมากอ นนนั่ แลใหห นักแนน . หรือคาํ กอนตรัสไวดว ยอําหาอปุ มาอยางนี้วา ยถยิท ภิกฺขเว อติ ถฺ ีรูป (เหมือนรปู หญงินนี้ ะ ภิกษทุ ั้งหลาย). แตคาํ นตี้ รสั ดว ยอํานาจการชภ้ี าวะแหง การยึดถือ.ในการที่รูปหญิงครอบงาํ นัน้ มีเรื่องสาธกดังตอไปน้ี :- ไดยนิ วา พระราชาทรงพระนามวา มหาทาฐกิ นาค ใหสรา งพระสถูปใหญ ท่ถี ํ้า อมั พฏั ฐะ ใกลเจตยิ คริ วี ิหาร กระทาํ คริ ภิ ณั ฑ-วาหนบูชา (บูชาดวยนาํ ของท่ีเกิด ณ ภเู ขามา) มีหมูนางสนมแวดลอ มเสดจ็ ไปยงั เจติยคิรวี หิ าร ถวายมหาทาน แกภ ิกษสุ งฆ ตามกาลอนัสมควร. ธรรมดาวา สถานท่ีชนเปนอนั มากประชุมกัน ชนทัง้ หมดไมม สี ติทจ่ี ะตั้งมั่นอยูไ ด. พระอัครมเหสีของพระราชา ทรงพระนามวา
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 35ทมิฬเทวี ทรงตง้ั อยูในวยั สาว นา ชม นาพิศมัย. ครง้ั น้ันพระเถระรูปหน่ึงชื่อจิตตะ ผบู วชเม่ือแก แลดโู ดยทํานองทีไ่ มสาํ รวม ยึดเอานมิ ติในรปู ารมณของพระอคั รมเหสีน้ันเปน ดังคนบา . เทยี่ วพดู ไปในท่ี ๆตนยืนและนง่ั วา เชญิ สิ แมท มฬิ เทวี เชิญสิ แมท มิฬเทวี. ต้ังแตนัน้ มาภกิ ษหุ นุมและสามเณร ตั้งช่ือไวเรียกทานวา พระอุมมตั ตกจิตตเถระ(พระจติ บา ). ตอไมน านนกั พระเทวีนน้ั ก็ทิวงคต. เม่ือภิกษสุ งฆไปเยี่ยมในปาชา แลวกลับมา ภกิ ษุหนุมและสามเณรไดไปยังสํานกั ของทานกลา วอยางน้ีวา ทานพระจติ เถระ ขอรบั ทานพรํา่ เพอถึงพระเทวีพระองคใ ด พวกผมไปเยย่ี มปา ชาของพระเทวีพระองคน ัน้กลบั มาแลว ถงึ ภิกษุหนมุ และสามเณรทั้งหลายจะพูดอยา งนั้น ทา นก็ไมเ ชอ่ื ไดแตพดู ดังคนบา วา พวกทานไปเยีย่ มใคร ๆ กไ็ ดในปา ชาหนา ของพวกทานจึงมีสเี หมือนควันไฟ. รปู แหง หญงิ นไ้ี ดครอบงําจิตของพระจติ ตเถระ ผเู ปนบาตั้งอยูดว ยประการฉะน.ี้ อีกเรื่องหนึ่ง เลา กันวา วนั หน่งึ พระมหาราชา ทรงพระนามวาสัทธาติสสะ มหี มนู างสนมแวดลอมเสด็จมายังวิหาร. ภิกษุหนงึ่ รปูหนึ่ง ยนื อยูท ีซ่ ุมประตูแหง โลหปราสาท ต้งั อยใู นความไมส ํารวมแลหญิงคนหน่ึง. ฝายหญงิ นนั้ กห็ ยดุ ดูภิกษหุ นมุ รูปนน้ั . ทง้ั สองถกู ไฟคือ ราคะ ทต่ี ้งั ขึน้ ในทรวงแผดเผาไดตายไปดวยกนั . รปู แหงหญงิ ไดค รอบงําจิตของภกิ ษหุ นมุ ต้งั อยู ดวยประการอยางนี้. อีกเร่อื งหนงึ่ เลา กันมาวา ภกิ ษหุ นุม รปู หนึ่ง จากกัลยาณยิ -มหาวิหาร ไปยงั ประตบู านกาฬทฆี วาปค าม เพ่อื แสดงพระปาติโมกข
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: