Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_66

tripitaka_66

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:43

Description: tripitaka_66

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาที่ 1 พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ที่ ๕ ภารที่ ๒ ขอนอบนอมแดพระผูพ ระภาคอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา พระองคน น้ั อฏั ฐกวัคคิกะ๑ ปรุ าเภทสุตตนิทเทสที่ ๑๐ [๓๗๔] (พระพุทธนิมติ ตรสั ถามวา ) บุคคลมีความเหน็ อยางไร มศี ีลอยา งไร อันบณั ฑิตกลา ววา เปน ผูเขาไปสงบแลว ขา แตพระโคดม พระองคถ กู ถามแลว ขอจงตรัสบอก บคุ คลนัน้ ซึง่ เปนนรชนผูอ ดุ ม แกข าพระองค. วาดวยคาํ ถามของพระพุทธนิมติ [๓๗๕] คําวา มคี วามเห็นอยางไร ในคาํ วา บคุ คลมีความเหน็อยา งไร มีศลี อยางไร อนั บณั ฑิตกลาววา เปน ผเู ขา ไปสงบแลวความวา บคุ คลประกอบดวยความเหน็ เชน ไร คอื ดว ยความดํารงอยูอยางไร ดว ยประการอยางไร ดว ยสว นเปรยี บอยา งไร เพราะฉะน้นัจึงชื่อวา มีความเหน็ อยา งไร. คําวา มศี ลี อยา งไร ความวา บคุ คลประกอบ๑. บาลีเลมท่ี ๒๙. คําน้พี มาเปนอัฏฐกวัคคะ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 2ดวยศลี เชน ไร คือ ดว ยความดาํ รงอยูอยา งไร ดว ยประการอยางไร ดวยสวนเปรียบอยางไร เพราะฉะนัน้ จึงชือ่ วา มีความเห็นอยา งไร มีศลีอยางไร. คําวา อนั บณั ฑิตกลาววา เปนผเู ขาไปสงบแลว ความวา อันบัณฑิตกลา ว เรียก บอก พดู แสดง แถลงวา เปนผูสงบเขา ไปสงบดับ ระงบั แลว. พระพุทธนิมติ ตรสั ถามถึงอธิปญ ญาวา มีความเหน็ อยา งไรตรัสถามถงึ อธิศลี วา มีศลี อยางไร ตรสั ถามถึงอธิจติ วา เปนผูเ ขา ไปสงบแลว เพราะฉะน้นั จึงชือ่ วา บุคคลมคี วามเห็นอยางไร มีศลี อยางไรอนั บัณฑติ กลา ววา เปน ผูเขา ไปสงบแลว. [๓๗๖] คําวา ซึง่ บคุ คลนนั้ ในคาํ วา ขาแตพระโคดม . . . ขอจงตรัสบอกบคุ คลน้นั . . .แกขาพระองค ความวา บุคคลทถี่ าม ทขี่ อใหบอก ขอจงตรสั บอก ขอใหประสาท พระพุทธนมิ ติ น้ัน ยอมตรสัเรยี กพระผมู ีพระภาคเจาผูพทุ ธเจา โดยพระโคตรวา ขาแตพระโคดม.คาํ วา ขอจงตรสั บอก คอื ตรัสเลา บอก แสดง แถลง แตง ตงั้ เปดเผย จาํ แนก ทาํ ใหต้นื ประกาศ เพราะฉะนั้น จงึ ช่อื วา ขาแตพ ระ-โคดม... ขอจงตรสั บอกบุคคลนั้น... แกขาพระองค. [๓๗๗] คาํ วา ถกู ถามแลว ในคาํ วา ถูกถามแลว ... ซ่งึ เปนนรชนผอู ุดม ความวา ถกู ถาม ถกู สอบถาม ขอใหบ อก ขอเชญิ ใหทรงแสดง ขอใหประสาท. คําวา ซงึ่ เปน นรชนผอู ดุ ม ความวา ซ่งึ เปนนรชนผูเลศิ ประเสรฐิ วเิ ศษ เปน ประธาน สงู สุด บวร เพราะฉะนั้นจงึ ชอ่ื วา ซ่งึ เปน นรชนผูอุดม เพราะเหตุนนั้ พระพุทธนิมติ จงึ ตรัสวา บคุ คลมีความเหน็ อยางไร มศี ีลอยางไร อนั บณั ฑิต กลา ววา เปนผูเขา ไปสงบแลว ขาแตพ ระโคดม พระองค

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 3 ถกู ถามแลว ขอจงตรสั บอกบุคคลน้นั ซึ่งเปน นรชนผูอดุ ม แกข า พระองค [๓๗๘] (พระผูมพี ระภาคเจาตรัสตอบวา ) กอ นแตก ายแตก พระอรหันตเ ปน ผปู ราศจากตณั หา ผไู มอาศยั สว นเบื้องตน อันใคร ๆ ไมนับไดใ นสวนทามกลาง ความทําไวใ น เบอื้ งหนา มิไดม ี แกพระอรหนั ตน น้ั . อธิบายคําวา ภควา [๓๗๙] คาํ วา (พระผูม พี ระภาคเจาตรสั วา ) กอ นแตกายแตกพระอรหันต เปนผูปราศจากตณั หา ความวา กอ นแตก ายแตก คือกอนแตอ ตั ภาพแตก กอนแตทอดท้ิงซากศพ กอ นแตข าดชวี ิตินทรียพระอรหันตเปนผูปราศจากตณั หา คือ เปน ผมู ตี ณั หาหายไป สละไปสํารอกออก ปลอ ย ละ สละคืน เปน ผูป ราศจากราคะ คือ เปน ผูมีราคะหายไป สละไป สํารอกออก ปลอย ละ สละคืนแลว เปน ผูหายหวิ ดบั แลว เย็นแลว เปน ผูเ สวยสุขมีตนดงั พรหมอยู. บทวา ภควาเปนคาํ กลาวเรยี กดว ยความเคารพ. อกี อยา งหนง่ึ ชือ่ วา ภควา เพราะอรรถวา ผูทาํ ลายราคะ ทาํ ลายโทสะ ทําลายโมหะ ทําลายมานะ ทาํ ลายทฏิ ฐิ ทาํ ลายเส้ียนหนาม ทาํ ลายกิเลส และเพราะอรรถวา ทรงจําแนกแจกแจง ซึง่ ธรรมรตั นะ เพราะอรรถวา ทรงทําท่ีสดุ แหง ภพทง้ั หลายเพราะอรรถวา มพี ระกายอันอบรมแลว มศี ีลอันอบรมแลว มีจิตอันอบรมแลว มีปญญาอันอบรมแลว อนง่ึ พระผูมีพระภาคเจาทรงซองเสพเสนา-สนะอนั เปน ปาละเมาะ ปา ทึบ อนั สงดั มีเสียงนอย ปราศจากเสียงกกึ กอ ง

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 4ปราศจากชนผสู ญั จรไปมา เปนทีค่ วรทํากรรมลับของมนษุ ย สมควรแกหลีกออกเรน เพราะฉะนัน้ จึงชอ่ื วา ภควา. อนึง่ พระผูมพี ระภาคเจาทรงมสี ว นแหง จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจจยั เภสัชบรขิ าร เพราะ-ฉะน้นั จึงช่ือวา ภควา. อน่ึง พระผูมพี ระภาคเจา ทรงมสี ว นแหง อธิศีลอธิจติ อธปิ ญญา อนั มีอรรถรส ธรรมรส วิมุตตริ ส เพราะฉะนัน้ จงึ ชือ่ วาภควา. อนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ทรงมสี ว นแหงฌาน ๔ อัปปมัญญา ๔อรูปสมาบตั ิ ๔ เพราะฉะนั้น จงึ ชือ่ วา ภควา. อนง่ึ พระผูมพี ระภาคเจาทรงมสี ว นแหง วิโมกข ๘ อภิภายตนะ ๘ (ฌานเปนทต่ี ง้ั แหงความครอบงาํอารมณ) อนปุ ุพพวิหารสมาบตั ิ ๙ (รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ สัญญา-เวทยติ นิโรธ ๑) เพราะฉะนั้น จึงชือ่ วา ภควา. อน่งึ พระผูมีพระภาคเจาทรงมสี วนแหง สญั ญาภาวนา ๑๐ กสณิ สมาบตั ิ ๑๐ อานาปานสติสมาธิอสภุ ฌานสมาบัติ เพราะฉะนนั้ จงึ ชือ่ วา ภควา. อนึ่ง พระผมู พี ระภาค-เจาทรงมสี ว นแหง สติปฏฐาน ๔ สัมมปั ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕พละ ๕ โพชฌงค ๗ อรยิ มรรคมีองค ๘ เพราะฉะนน้ั จึงช่อื วา ภควา.อนึง่ พระผมู พี ระภาคเจาทรงมีสว นแหง ตถาคตพละ ๑๐ เวสารชั ญาณ ๔ปฏิสัมภิทา ๔ อภญิ ญา ๖ พุทธธรรม ๖ เพราะฉะนน้ั จึงช่ือวา ภควา.พระนามวา ภควา นี้ พระมารดา พระบดิ า พระภาคา พระภคนิ ี มิตรอํามาตย พระญาติสาโลหติ สมณพราหมณ เทวดา มไิ ดเฉลิมใหพระนามวา ภควา น้ี เปนวโิ มกขันตนิ าม (พระนามมใี นอรหตั ผลในลําดับแหง อรหตั มรรค) เปน สัจฉกิ าบัญญัติ (บญั ญัตทิ ี่เกิดเพราะทาํ ใหแจง ซง่ึพระอรหตั ผลและธรรมท้ังปวง) พรอ มดว ยการทรงบรรลุพระสพั พญั ุต-ญาณ ณ ดวงแหง โพธิพฤกษข องพระผูม ีพระภาคเจา ทัง้ หลายผตู รสั รูแลว

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 5เพราะฉะน้นั จงึ ชื่อวา ภควา เพราะเหตนุ ้ัน พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวากอนแตกายแตก พระอรหนั ตเปนผูป ราศจากตณั หา. [๓๘๐] อดีตกาล ทา นเรยี กวา สวนเบ้อื งตน ในคาํ วา ผูไมอาศยั สวนเบอื้ งตน พระอรหันตปรารภถึงอดตี กาล ละตณั หา สละคืนทิฏฐิเสยี แลว เพราะละตัณหา ละคืนทฏิ ฐเิ สยี แลว จงึ ช่อื วา เปนผูไมอาลยัสว นเบอื้ งตน แมด ว ยเหตอุ ยางน้.ี อกี อยา งหน่งึ พระอรหนั ตไมเปน ไปตามความเพลนิ ในรูปวา ในอดตี กาลเราไดมีรูปอยา งนี้ ไมเ ปนไปตามความเพลนิ ในนามวา ในอดีต-กาล เราไดมเี วทนาอยางนี้ ... มสี ัญญาอยางน้ี ... มสี งั ขารอยา งนี้ ... มีวิญญาณอยา งนี้ จึงช่ือวา เปนผไู มอ าศัยสว นเบ้ืองตน แมด ว ยเหตอุ ยา งน.้ี อีกอยางหน่ึง พระอรหันตมไิ ดม ีวิญญาณเนื่องดว ยฉนั ทราคะในจกั ษุและรูปวา ในอดตี กาล เราไดม จี กั ษดุ ังน้ี มีรปู ดงั นี้ เพราะเปนผูไ มม ีวญิ ญาณเนอ่ื งดวยฉันทราคะ. จึงไมเพลนิ ซ่ึงจกั ษแุ ละรูปนน้ั เมือ่ ไมเพลนิ ซ่งึ จกั ษุและรูปน้ัน จึงช่ือวา เปน ผไู มอ าศยั สวนเบอ้ื งตน แมดวยเหตุอยางนี้ มไิ ดมวี ญิ ญาณเน่อื งดวยฉันทราคะในหูและเสียงวา ในอดตี กาลเราไดม หี ดู งั น้ี มีเสยี งดงั นี้ ในอดตี กาล เราไดมจี มกู ดงั นี้ มีกล่นิ ดงั นี.้ ..ในอดตี กาล เราไดมลี นิ้ ดังน้ี มรี สดงั น้ี ในอดีตกาล เราไดม ีกายดังน้ีมโี ผฏฐพั พะดงั น้ี ในอดตี กาล เราไดมีใจดงั นี้ มธี รรมารมณด งั น้ี เพราะเปนผไู มม วี ญิ ญาณเน่ืองดวยใจและธรรมารมณน ัน้ จงึ ไมเพลนิ ซึ่งใจและซ่งึ ธรรมารมณน ั้น เมอ่ื ไมเ พลินซึ่งใจและซ่งึ ธรรมารมณน้นั จงึ ชือ่ วาเปนผูไมอ าศัยสวนเบือ้ งตน แมดวยเหตุอยา งน้.ี

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 6 อีกอยา งหน่ึง พระอรหันตยอมไมพ อใจ ไมชอบใจซึ่งความหวั เราะการเจรจา การปราศรยั และการเลน หวั กับมาตคุ ามในกาลกอน และไมถงึความปลืม้ ใจดวยความหัวเราะ การเจรจา การปราศรยั และการเลน หัวกบั มาคุคามที่มใี นคราวกอนนนั้ จึงชอ่ื วา เปน ผไู มอาศัยสว นเบือ้ งตน แมดว ยเหตุอยางนี.้ [๓๘๑] ปจ จุบันกาล ทานเรียกวา สว นทามกลาง ในคําวาผูอ ันใคร ๆ ไมน บั ไดในสวนทามกลาง พระอรหันตป รารภถงึ ปจจบุ ัน-กาล ละตัณหา สละคนื ทิฏฐิแลว เพราะละตณั หา สละคนื ทิฏฐแิ ลว อนัใคร ๆ ไมน บั ไดวา เปนผูก าํ หนัด ขัดของ หลงใหล ผกู พัน ยดึ ถือถงึ ความกวัดแกวง ถึงความไมตกลง ถงึ โดยเร่ียวแรง พระอรหันตล ะอภิสงั ขารเหลานั้นไดแ ลว เพราะละอภสิ ังขารไดแ ลว อันใคร ๆ ไมนับไดโดยคดิ วา เปนผเู กดิ ในนรก เกดิ ในกําเนดิ ดิรจั ฉาน เกดิ ในเปรตวสิ ยัเปน มนุษย เปนเทวดา เปน สตั วม ีรูป เปนสตั วไ มม ีรูป เปนสัตวม ีสัญญา เปนสัตวไ มมีสญั ญา หรอื เปน สตั วม ีสัญญากม็ ใิ ช ไมม ีสญั ญากม็ ิใชพระอรหนั ตนน้ั ไมมเี หตุ ไมมปี จจยั ไมมกี ารณะ อนั เปนเครอื่ งถงึการนบั เพราะฉะนน้ั จงึ ชอื่ วา ผอู ันใคร ๆ ไมน บั ไดใ นสวนทา มกลาง. วา ดวยความทาํ ไวในเบอ้ื งหนา ๒ อยา ง [๓๘๒] คําวา นั้น ในคาํ วา ความทาํ ไวในเบือ้ งหนามไิ ดม ีแกพระอรหันตนนั้ คอื พระอรหนั ตขณี าสพ ช่ือวา ความทําไวเ บอ้ื งหนาไดแกค วามทาํ ไวใ นเนือ่ งหนา ๒ อยาง คอื ความทําไวในเบื้องหนาดวยตัณหา ๑ ความทาํ ไวในเบื้องหนา ดว ยทฏิ ฐิ ๑ ฯลฯ น้ชี ่อื วา ความทาํ ไว

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 7ในเบือ้ งหนาดว ยตัณหา ฯลฯ น้ีชื่อวา ความทําไวในเบอื้ งหนาดว ยทิฏฐิพระอรหันตน น้ั ละความทําไวใ นเบ้อื งหนา ดวยตัณหา สละคนื ความทําไวใ นเบือ้ งหนา ดว ยทฏิ ฐแิ ลว เพราะละความทาํ ไวในเบือ้ งหนา ดวยตัณหาสละคนื ความทาํ ไวใ นเบอ้ื งหนา ดว ยทฏิ ฐิ จงึ ไมก ระทําตัณหา หรือทิฏฐิไวใ นเบอ้ื งหนา เที่ยวไป คอื ไมมตี ณั หาเปน ธงชัย ไมมีตัณหาเปนธงยอดไมม ตี ัณหาเปนใหญ ไมมีทฏิ ฐิเปน ธงชยั ไมม ีทิฏฐิเปน ธงยอด ไมม ีทฏิ ฐิเปน ใหญ ไมเ ปนผูอนั ตัณหาหรือทฏิ ฐแิ วดลอมท่วั ไป แมด วยเหตอุ ยา งน้ีดงั นี้ จึงชอ่ื วา ความทาํ ไวในเบือ้ งหนา มไิ ดมีแกพระอรหันตนัน้ . อีกอยา งหน่งึ พระอรหันตไมเ ปน ไปตามความเพลนิ ในรูปวา ในอนาคตกาล เราพงึ มรี ปู อยา งนี้ ไมเ ปนไปตามความเพลนิ ในนามวา ในอนาคตกาล เราพงึ มีเวทนาอยางนี้ ... มีสัญญาอยางน้ี ... มีสงั ขารอยา งน้ี ... มีวิญญาณอยา งนี้ แมดวยเหตอุ ยา งน้ี จงึ ชอื่ วา ความทาํ ไวใ นเบอ้ื งหนา มิไดม แี กพระอรหันตนน้ั . อกี อยางหน่ึง พระอรหันตย อ มไมตั้งจิตเพอ่ื ไดจกั ษแุ ละรูปที่ยงั ไมไดว า ในอนาคตกาลเราพงึ มีจักษดุ ังนี้ มีรปู ดงั นี้ เพราะเหตไุ มตง้ั จติ ไวจึงไมเพลินจกั ษแุ ละรูปน้ัน เมอื่ ไมเ พลนิ จักษแุ ละรูปนั้น ความทําไวในเบื้องหนามิไดม แี กพระอรหันตน ั้น แมด วยเหตุอยางนี้ ไมทง้ั จิตเพ่ือไดหูและเสียงท่ยี งั ไมไ ดว า ในอนาคตกาลเราพงึ มีหดู งั นี้ ... ในอนาคตกาลเราพึงมีจมกู ดงั น้ี มีกลน่ิ ดังน้.ี .. ในอนาคตกาล เราพึงมลี นิ้ ดังนี้ มีรสดงั นี้ ... ในอนาคตกาล เราพงึ มีกายดังนี้ มโี ผฏฐพั พะดังน้ี ... ในอนาคต-กาล เราพงึ มใี จดังน้ี มธี รรมารมณดังน้ี เพราะเหตุไมตงั้ จิตไว จงึ ไม

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 8เพลินซง่ึ ใจและธรรมารมณน ้ัน เมอื่ ไมเ พลนิ ซึง่ ใจ และธรรมารมณนน้ัความทาํ ไวใ นเบ้ืองหนามไิ ดมีแกพระอรหันตน ัน้ แมดว ยเหตุอยางนี.้ อกี อยางหน่งึ พระอรหนั ตยอ มไมต ้งั จิตเพอ่ื ไดภพทย่ี งั ไมไดวา เราจกั เปนเทพเจา หรือเปน เทวดาตนใดตนหนงึ่ ดว ยศลี ดว ยวัตร ดว ยตบะหรือดว ยพรหมจรรยนี้ เพราะเหตุไมต ั้งจติ ไว จงึ ไมเ พลนิ ภพนัน้ เม่ือไมเ พลนิ ภพน้นั ความทําไวใ นเบอื้ งหนามไิ ดมแี กพระอรหนั ตน้นั แมดวยเหตุอยา งนี้ เพราะเหตุนั้น พระผูม ีพระภาคเจาจงึ ตรัสวา (พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสวา) กอ นแตก ายแตก พระ- อรหันตเ ปนผูปราศจากตณั หา ไมอ าศัยสวนเบื้องตนอัน ใคร ๆ ไมนับไดในสว นทามกลาง ความทําไวในเบ้อื ง หนา มไิ ดม ีแกพระอรหันตน้ัน. [๓๘๓] บคุ คลนนั้ แล ผูไ มโกรธ ไมสะดุง ไมโออวด ไม มีความคะนอง พูดดวยปญญา ไมฟ ุงซาน สํารวมวาจา เปนมุน.ี วาดวยเหตุใหเ กิดความโกรธ ๑๐ อยา ง [๓๘๔] ก็พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา ผูไมโ กร ในคาํ วา ผูไ มโกรธไมส ะดงุ กแ็ ตว า ความโกรธควรกลาวกอ น ความโกรธ ยอมเกิดดว ยอาการ ๑๐ อยาง คอื ความโกรธยอ มเกิดดวยอาการวา เขาไดป ระพฤติสง่ิ ไมเ ปน ประโยชนแกเ ราแลว ๑ เขากาํ ลังประพฤตสิ ่งิ ไมเปนประโยชนแกเ รา ๑ เขาจกั ประพฤตสิ ิ่งไมเ ปนประโยชนแกเรา ๑ เขาไดประพฤตสิ ง่ิ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 9ไมเปน ประโยชนแ กบ คุ คลผูเปนท่รี กั ชอบใจของเราแลว ๑ เขากําลงั ประ -พฤตสิ ่ิงไมเ ปน ประโยชนแกบ ุคคลผูเ ปนท่ีรกั ชอบใจของเรา ๑ เขาจักประพฤติสิ่งไมเปน ประโยชนแกบ ุคคลผูเปนทรี่ ักทีช่ อบใจของเรา ๑ เขาไดประพฤติสิง่ เปน ประโยชนแกบุคคลผูไมเปน ทร่ี ักท่ชี อบใจของเรา๑ เขากาํ ลังประพฤตสิ ่ิงเปนประโยชนแกบุคคลผไู มเปนทรี่ กั ท่ชี อบใจของเรา ๑เขาจกั ประพฤติสง่ิ เปน ประโยชนแกบุคคลผไู มเ ปน ทีร่ ักทชี่ อบใจของเรา ๑ความโกรธยอมเกิดในทีม่ ใิ ชเหตุ ๑. ความปองรา ย ความมงุ ราย ความขัดเคอื ง ความขุนเคอื ง ความเคอื ง ความเคืองทวั่ ความเคืองเสมอ ความชัง ความชงั ทัว่ ความชงัเสมอ ความพยาบาทแหงจิต ความประทษุ รายในใจ ความโกรธ กริ ิยาทโ่ี กรธ ความเปน ผโู กรธ ความชัง กริ ิยาท่ีชัง ความเปน ผชู งั ความพยาบาท กิริยาที่พยาบาท ความเปนผูพ ยาบาท ความพโิ รธ ความพโิ รธตอบ ความเปนผูดุราย ความเพาะวาจาช่วั ความไมแ ชมชืน่ แหงจติ นเี้ รยี กวา ความโกรธ. อกี อยางหนง่ึ ควรรคู วามโกรธมากโกรธนอ ย บางครั้งความโกรธเปน แตเพียงทําจิตใหขุนมัว แตยงั ไมถ ึงใหหนา เงาหนา งอกม็ ี บางคร้งัความโกรธเปนเพยี งทาํ ใหหนาเงา หนางอแตย ังไมท าํ ใหค างสั่นกม็ ี บางคร้งัความโกรธเปน แตเพยี งทาํ ใหค างสัน่ แตยงั ไมใหเ ปลง ผรสุ วาจากม็ ี บางคร้งั ความโกรธเปนแตเ พียงใหเ ปลงผรุสวาจา แตย งั ไมใ หเ หลียวดูทิศตา ง ๆ กม็ ี บางครง้ั ความโกรธเปน แตเพยี งใหเหลยี วดูทศิ ตา ง ๆ แตย งัไมใหจบั ทอ นไมแ ละศาสตราก็มี บางคร้ัง ความโกรธเปนแตเ พียงใหจ บัทอ นไมแ ละศาสตรา แตย ังไมใหเง้อื ทอนไมแ ละศาสตราก็มี บางคร้ังความ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 10โกรธเปนแตเพยี งใหเ ง้อื ทอ นไมและศาสตรา แตยงั ไมใหท อ นไมแ ละศาสตราถกู ตอ งกม็ ี บางคร้ัง ความโกรธเปนแตเพียงใหท อนไมแ ละศาสตราถูกตอ ง แตย งั ไมทาํ ใหเปน แผลเล็กแผลใหญก ม็ ี บางครง้ั ความโกรธเปนแตเพยี งทาํ ใหเ ปนแผลเลก็ แผลใหญ แตย งั ไมใหก ระดูกหักก็มี บางครั้งความโกรธเปน แตเ พียงใหก ระดูกหักแตยังไมใ หอ วัยวะนอ ยใหญห ลดุ ไปกม็ ีบางคร้ังความโกรธเปนแตเพยี งใหอ วยั วะนอยใหญห ลุดไป แตย ังไมใ หชีวิตดบั กม็ ี บางครง้ั ความโกรธเปนแตเพียงใหชวี ิตดบั แตยงั ไมเสียสละชีวิตของตนใหหมดไปก็มี เม่ือใด ความโกรธใหฆา บุคคลอน่ื แลว จึงใหฆาคน เมอื่ น้ัน ความโกรธเปน ไปรนุ แรงอยางหนัก ถงึ ความเปนของมากอยางย่ิง ความโกรธนัน้ อันบคุ คลใดละ ตดั ขาด สงบ ระงับแลวทําไมใหค วรเกดิ ขึน้ ได เผาเสยี แลวดวยไฟคือญาณ บคุ คลนั้นเรยี กวา ผูไมโ กรธ บุคคลชอื่ วาเปนผไู มโ กรธ เพราะละความโกรธไดแ ลว เพราะกาํ หนดรูว ตั ถแุ หงความโกรธ เพราะตดั เหตุแหง ความโกรธเสีย เพราะ-ฉะนั้น จึงช่อื วา ผไู มโ กรธ. วาดว ยผูไมสะดุง [๓๘๕] คาํ วา ผไู มสะดุง ความวา ภิกษบุ างรูปในธรรมวินัยน้ีเปนผูส ะดุง หวาดเสียว สยดสยอง ภกิ ษุน้ัน ยอ มสะดงุ หวาดเสยี วสยดสยองกลัว ถงึ ความสะดุงวา เราไมไดส กุล ไมไดหมคู ณะ ไมไ ดอาวาส ไมไ ดล าภ ไมไ ดย ศ ไมไดส รรเสริญ ไมไ ดส ขุ ไมไ ดจ ีวร ไมไดบิณฑบาต ไมไดเ สนาสนะ ไมไ ดคลิ านปจจัยเภสชั บรขิ าร ไมไ ดบคุ คลผูพ ยาบาลในคราวเปนไข เราจะไมเ ปน ผมู ชี ่ือเสยี งปรากฏ ภิกษใุ น

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 11ธรรมวินยั น้ี เปน ผไู มสะดงุ ไมห วาดเสียว ไมสยดสยอง ภิกษุนนั้ ยอมไมส ะดุง ไมหวาดเสยี ว ไมสยดสยอง ไมกลวั ไมถ งึ ความสะดุงวา เราไมไดส กุล ไมไ ดห มคู ณะ ไมไดอาวาส ไมไดลาภ ไมไดย ศ ไมไดสรรเสรญิ ไมไดส ุข ไมไดจวี ร ไมไดบณิ ฑบาต ไมไดเ สนาสนะ ไมไ ดคลิ านปจจัยเภสชั บริขาร ไมไ ดบ ุคคลผูพยาบาลในคราวเปนไข เราไมเ ปนผมู ชี ื่อเสยี งปรากฏ เพราะฉะนัน้ จึงช่ือวา ผูไมโกรธ ผูไมส ะดงุ . วา ดว ยไมโออวด [๓๘๖] คาํ วา ผไู มโ ออวด ไมม ีความราํ คาญ ความวา ภกิ ษุบางรปู ในธรรมวินยั นี้ เปน ผูอ วด โออวด ภกิ ษนุ ั้น ยอ มอวด ยอ มโออ วดวา เราเปนผูถ งึ พรอมดว ยศลี บาง ถึงพรอ มดวยวัตรบาง ถงึ พรอ มศลี และวัตรบาง ถงึ พรอ มดวยชาตบิ าง ถึงพรอ มดวยโคตรบา ง ถึงพรอมดว ยความเปนบตุ รแหงสกุลบาง ถงึ พรอมดว ยความเปนผมู ีรูปงามบา ง ถงึพรอ มดว ยทรัพยบ าง ถงึ พรอมดว ยการปกครองบา ง ถงึ พรอมดวยหนา ท่ีการงานบา ง ถึงพรอมดว ย หลกั แหลง แหง ศลิ ปศาสตรบ าง ถงึ พรอ มดว ยวิทยฐานะบาง ถงึ พรอ มดวยการศึกษาบา ง ถงึ พรอมดว ยปฏภิ าณบาง ถึงพรอ มดว ยวัตถอุ ยางใดอยางหน่ึงบาง ออกบวชจากสกลุ สูงบาง ออกบวชจากสกลุ ใหญบา ง ออกบวชจากสกลุ มีโภคสมบตั มิ ากบา ง ออกบวชจากสกลุมโี ภคสมบตั ิยงิ่ ใหญบาง เปน ผูม ชี ่ือเสียงปรากฏมียศกวาพวกคฤหัสถแ ละบรรพชิตบา ง เปนผูไดจ ีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปจ จัยเภสชับริขารบาง เปนผทู รงจําพระสูตรบา ง ทรงจาํ พระวินัยบาง เปน ธรรมกถกึบา ง เปน ผูถอื อยปู าเปนวัตรบาง เปนผถู อื เท่ยี วบิณฑบาตเปน วัตรบา ง

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 12เปน ผูถือทรงผาบงั สุกุลเปนวตั รบาง เปน ผถู ือทรงไตรจวี รเปน วัตรบางเปน ผูถอื เทยี่ วบณิ ฑบาตไปตามลําดบั ตรอกเปน วัตรบาง เปน ผูถอื ไมฉันภัตในภายหลังเปนวตั รบาง เปน ผูถือไมน อนเปนวัตรบาง เปน ผูถอื อยใู นเสนาสนะที่เขาจัดใหอยางไรเปนวัตรบาง เปน ผูไดป ฐมฌานบา ง เปนผูไดทตุ ิยฌานบาง เปนผูไ ดต ตยิ ฌานบา ง เปน ผไู ดจ ตุตถฌานบาง เปนผูไดอากาสานญั จายตนสมาบัติบา ง เปน ผไู ดวิญญาณญั จายตนสมาบัติบา งเปน ผูไดอากญิ จญั ายตนสมาบัตบิ าง เปนผไู ดเนวสญั ญานาสัญญายตน-สมาบัตบิ าง บคุ คลไมอ วด ไมโ ออ วดอยา งน้ี บุคคลงด เวน เวน ขาดออก สลัด พน ขาด ไมเกีย่ วขอ งดว ยความอวด เปนผูมจี ิตปราศจากแดนกิเลสอยู เพราะฉะนั้น จงึ ชื่อวา ผไู มโ ออ วด. วาดวยผไู มม ีความรําคาญ [๓๘๗] ช่ือวา ความราํ คาญ ในคาํ วา ผไู มม ีความรําคาญ ไดแ กความราํ คาญมอื บา ง ความรําคาญเทา บา ง ความราํ คาญทัง้ มือและเทาบางความสาํ คัญในส่งิ ไมควรวาควร ความสําคญั ในสงิ่ ควรวาไมค วร ความสําคัญในสง่ิ ท่ไี มม โี ทษวา มโี ทษ ความสําคญั ในสิง่ ท่มี โี ทษวา ไมม โี ทษความราํ คาญ กริ ยิ าทีร่ ําคาญ ความเปน ผูรําคาญ ความเดือนรอนจิตความกลมุ ใจเห็นปานน้ี นเี้ รียกวา ความรําคาญ อกี อยางหนง่ึ ความรําคาญ ความเดอื ดรอนจิต ความกลมุ ใจ ยอมเกิดข้นึ เพราะเหตุ ๒ ประการคือ เพราะกระทําและเพราะไมกระทํา. ความรําคาญ ความเดือดรอ นจิต ความกลุมใจ ยอ มเกิดขน้ึ เพราะกระทําและเพราะไมก ระทาํ อยา งไร ความราํ คาญ ความเดอื ดรอ นจิตความกลุม ใจยอ มเกิดขึ้นวา เราทาํ แตก ายทจุ รติ เราไมไ ดทาํ กายสุจรติ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาที่ 13เราทําแตวจีทุจรติ เราไมไดทาํ วจสี จุ รติ เราทาํ แตมโนทจุ รติ เราไมไ ดทาํ มโนสจุ ริต เราทาํ แตป าณาติบาต เราไมไ ดท ําเจตนางดเวนจากปาณาติ-บาต เราทําแตอ ทนิ นาทาน เราไมไ ดท าํ เจตนาเครื่องงดเวน จากอทนิ นาทาน เราทาํ แตกาเมสมุ ิจฉาจาร เราไมไ ดทําเจตนาเครอ่ื งงดเวนจากกาเมสมุ ิจฉาจาร เราทําแตม สุ าวาท เราไมไ ดทําเจตนาเคร่ืองงดเวนจากมสุ าวาท เราทําแตป สุณาวาจา เราไมไดทําเจตนาเคร่ืองงดเวนจากปส ุณาวาจา เราทาํ แตผรสุ วาจา เราไมไ ดทาํ เจตนาเคร่อื งงดเวน จากผรุส-วาจา เราทําแตสมั ผัปปลาปะ เราไมไ ดท ําเคร่อื งงดเวนจากสมั ผปั ปลาปะเราทาํ แตอภชิ ฌา เราไมไ ดท าํ อนภชิ ฌา เราทาํ แตพยาบาท เราไมไ ดท ําอพั ยาบาท เราทําแตมจิ ฉาทิฏฐิ เราไมไดทาํ สมั มาทิฏฐิ ความราํ คาญความเดือดรอ นจิต ความกลุม ใจ ยอ มเกดิ ข้ึนเพราะกระทาํ และเพราะไมกระทาํ อยางน.ี้ อีกอยางหน่งึ ความราํ คาญ ความเดือดรอนจิต ความกลมุ ใจยอ มเกิดขน้ึ วา เราเปน ผไู มก ระทาํ ความบริบรู ณใ นศลี ท้งั หลาย เราเปนผูไมค มุ ครองทวารในอินทรียทง้ั หลาย เราเปนผูไ มรูจ กั ประมาณในโภชนะเราเปน ผไู มหมน่ั ประกอบในความเพียรเปนเครือ่ งตนื่ อยู เราเปน ผไู มประกอบดวยสตสิ ัมปชญั ญะ เราไมไ ดเจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔ เราไมไดเ จรญิสัมมปั ปธาน ๔ เราไมไดเจริญอิทธบิ าท ๔ เราไมไ ดเจรญิ อินทรีย ๕เราไมไดเจรญิ พละ ๕ เราไมไ ดเจริญโพชฌงค ๗ เราไมไ ดเ จรญิ อริย-มรรคมอี งค ๘ เราไมไดก าํ หนดรูทกุ ข เราไมไดล ะสมุทยั เราไมไ ดเจริญมรรค เราไมไดทําใหแจงนโิ รธ ความรําคาญนี้ อนั บุคคลใดละตดั ขาดสงบ ระงับแลว ทาํ ไมใ หควรเกดิ ข้ึน เผาเสียแลวดว ยไฟคือญาณ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 14บุคคลนั้นเรยี กวา ไมม ีความราํ คาญ เพราะฉะน้ัน จงึ ชอ่ื วา ผไู มโ ออ วดไมมคี วามรําคาญ. วาดวยปญญาเรยี กวา มนั ตา [๓๘๘] คาํ วา ผูพูดดวยปญญา ไมฟ ุงซา น ความวา ปญญาเรียกวา มนั ตา ไดแ กป ญญา ความรูท ัว่ ฯลฯ ความไมหลง ความเลอื กเฟน ธรรม ความเหน็ ชอบ บคุ คลกําหนดกลาววาจาดวยปญ ญา แมกลาวมาก พดู มาก แสดงมาก แถลงมาก ก็ไมก ลา ววาจาท่ีกลา วชัว่ พูดชัว่เจรจาชัว่ ปราศรัยชั่ว บอกเลาชวั่ เพราะฉะน้นั จงึ ชอื่ วา ผพู ดู ดว ยปญ ญา. ความฟงุ ซาน ในคาํ วา ผูไมฟ ุง ซา นเปนไฉน ความฟุงซา นความไมสงบจติ ความทีจ่ ิตกวดั แกวง ความท่จี ติ หมนุ ไป นเี้ รยี กวาความฟุงซา น ความฟุง ซานน้นั อนั บุคคลใดละ ตดั ขาด สงบ ระงับแลว ทําไมใหค วรเกิดข้ึนได เผาเสียแลว ดวยไฟคือญาณ บุคคลนน้ั ชอื่ วาผูไมฟ งุ ซา น เพราะฉะนนั้ จงึ ชอ่ื วา ผพู ดู ดวยปญ ญา ไมฟงุ ซาน. วาดว ยการสาํ รวมวาจา [๓๘๙] คาํ วา บุคคลนนั้ แล สํารวมวาจา เปนมุนี ความวาภกิ ษุในธรรมวนิ ัยน้ี ละมุสาวาท เวนขาดจากมุสาวาท พดู จรงิ ดาํ รงคําสัตย มีถอ ยคําม่ันคงเชอื่ ถือได ไมพ ดู ใหเคล่ือนคลาดแกโลก ละปสุณา-วาจา เวน ขาดจากปส ุณาวาจา ฟงจากขางนีแ้ ลว ไมไ ปบอกขางโนนเพอ่ื ทาํ ลายคนหมูนี้ หรอื ฟงจากขางโนน แลว ไมม าบอกคนหมนู ้ี เพ่ือทําลายคนหมโู นน เปน ผสู มานคนที่แตกกนั บา ง สง เสรมิ คนทพ่ี รอมเพรยี ง

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 15กนั บา ง มีความพรอ มเพรียงเปนท่มี ายินดี ยินดใี นบุคคลท่ีพรอ มเพรียงกัน มคี วามเพลิดเพลนิ ในบุคคลท่พี รอ มเพรียงกนั กลาววาจาทที่ าํ ใหเ ขาพรอมเพรียงกัน ดวยประการฉะน้ี ละผรสุ วาจา เวนขาดจากผรสุ วาจากลาววาจาที่ไมมโี ทษ อนั ไพเราะโสต เปนทีต่ ง้ั แหง ความรัก หย่งั ลงถงึหทยั เปนคาํ ของชาวเมือง ท่ชี นหมมู ากพอใจชอบใจ ละสมั ผปั ปลาปะเวน ขาดจากสัมผัปปลาปะ พูดโดยกาลควร พูดจรงิ พดู อิงอรรถ พดูองิ ธรรม พูดองิ วินยั กลา ววาจาเปนหลักฐาน มที อ่ี า งองิ มีสวนสุดประกอบดว ยประโยชนโ ดยกาลอนั ควร เปนผูป ระกอบดว ยวจสี ุจรติ ๔กลาววาจาปราศจากโทษ ๔ งดเวน เวน ขาด ออก สลดั พน ขาดไมป ระกอบดวยดริ ัจฉานกถา ๓๒ ประการ เปน ผูมจี ติ ปราศจากเขตแดนอยู ยอมกลาวกถาวตั ถุ ๑๐ อยาง คอื อัปปจฉกถา สันตุฏฐิกถา ปวเิ วก-กถา อสังสัคคกถา วิริยารัมภกถา สีลกถา สมาธิกถา ปญญากถาวมิ ตุ ตกิ ถา วิมุตตญิ าณทัสสนกถา สตปิ ฏ ฐานกถา สมั มัปปธานกถาอิทธบิ าทกถา อินทริยกถา พลกถา โพชฌังคกถา มรรคกถา ผลกถานิพพานกถา. คําวา ผูสาํ รวมวาจา คอื ผูสํารวม สํารวมเฉพาะ คมุ ครองปกครอง รักษา ระวงั สงบแลว . คําวา มุนี ความวา ญาณเรียกวาโมนะ ฯลฯ กา วลว งธรรมเครอื่ งขอ ง และตณั หาเพยี งดังวาขา ย บคุ คลนัน้ ชอื่ วา มุนี เพราะฉะนั้น จึงช่ือวา บุคคลนั้นแล สาํ รวมวาจา เปนมุนี เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระภาคเจา จึงตรสั วา

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 16 บุคคลผูน นั้ แลผูไมโ กรธ ไมสะดงุ ไมโออวด ไม มีความราํ คาญ พูดดวยปญญา ไมฟงุ ซา น สาํ รวมวาจา เปน มุนี. [๓๙๐] บคุ คลผไู มม ตี ัณหาเครื่องเก่ียวขอ งในอนาคต ไม เศรา โศกถึงสง่ิ ท่ลี ว งไปแลว ผเู หน็ วเิ วกในผัสสะทงั้ หลาย และไมถกู นําไปในเพราะทฏิ ฐิทัง้ หลาย. วา ดว ยผูไมม ตี ัณหา [๓๙๑] คําวา บุคคลผไู มมตี ัณหาเครือ่ งเกยี่ วขอ งในอนาคตความวา ตัณหา เรียกวา ตัณหา เครื่องเกยี่ วของ ไดแ กค วามกาํ หนดัความกําหนัดนัก ฯลฯ อภชิ ฌา โลภะ อกุศลมูล ตณั หาเคร่อื งเก่ียวขอ งนั้น อนั บคุ คลใดละ. ตดั ขาด สงบ ระงบั แลว ทําไมใ หค วรเกิดขึน้ เผาเสยี แลวดวยไฟคือญาณ แมเ พราะเหตุอยางนีด้ ังนี้ จึงชื่อวา ผไู มม ตี ัณหาเคร่ืองเก่ยี วของในอนาคต. อกี อยา งหนึ่ง บุคคลผไู มเปน ไปตามความเพลนิ ในรูปวา ในอนาคตกาล เราพงึ มรี ูปอยา งน้ี ไมเ ปน ไปตามความเพลินในนามวา ในอนาคตกาล เราพึงมีเวทนาอยา งนี้ มีสญั ญาอยา งนี้ มสี งั ขารอยางนี้ มีวิญญาณอยางนี้ แมดว ยเหตอุ ยา งน้ีดังนี้ จึงช่อื วา ผูไ มม ตี ัณหาเคร่ืองเกยี่ วของในอนาคต. อกี อยา งหนึง่ บุคคลไมตั้งจิตเพื่อไดจกั ษุและรปู ที่ยงั ไมไดว า ในอนาคตกาล เราพงึ มีจกั ษดุ งั นี้ มีรปู ดังนี้ เพราะเหตุทีไ่ มต ัง้ จิตไว จงึไมเ พลนิ จักษแุ ละรปู น้ัน เม่ือไมเ พลนิ จกั ษุและรปู นัน้ ก็เปน ผไู มมตี ณั หา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 17เครื่องเก่ียวของในอนาคต แมดวยเหตอุ ยางน้ี ไมต ้งั จิตเพ่ือไดหูและเสยี งทย่ี ังไมไ ดวา ในอนาคตกาล เราพงึ มีหดู งั นี้ มีเสยี งดงั น้ี ... ในอนาคตกาล เราพึงมจี มูกดงั น้ี มกี ล่นิ ดังน้ี ... ในอนาคตกาล เราพึงมีลิ้นดังน้ี มรี สดงั น้.ี .. ในอนาคตกาล เราพงึ มกี ายดังน้ี มโี ผฏฐพั พะดังน้ี ... ในอนาคตกาล เราพงึ มใี จดงั น้ี มีธรรมารมณดังน้ี เพราะเหตุท่ีไมดงั จิตไว จงึ ไมเพลนิ ซ่ึงใจและธรรมารมณน ั้น เมื่อไมเ พลนิ ซึ่งใจและธรรมารมณน ั้น ก็เปนผไู มมีตัณหาเคร่ืองเกีย่ วของในอนาคต แมดวยเหตอุ ยางนี้. อีกอยา งหน่งึ บคุ คลไมตั้งจติ เพือ่ จะไดภพทีย่ งั ไมไ ดวา เราจักเปนเทพหรือเทวดาตนใดตนหนึง่ ดว ยศลี ดว ยวตั ร ดวยตบะ หรือดว ยพรหมจรรยน ี้ เพราะเหตุทไ่ี มต้งั จิตไว จึงไมเพลินภพนนั้ เมื่อไมเพลินภพนัน้ กเ็ ปนผูไ มมีตัณหาเครอ่ื งเกี่ยวขอ งในอนาคต แมดวยเหตอุ ยางน.้ี วาดวยผูไมเศราโศก [๓๙๒] คําวา ไมเ ศราโศกถึงส่ิงท่ลี ว งไปแลว ความวา ไมเศรา โศกถึงวัตถทุ ่ีแปรปรวน หรือเมอ่ื วตั ถแุ ปรปรวนไปแลว ก็ไมเศราโศกถงึ คือ ไมเศราโศก ไมลาํ บาก ไมร ําพันถงึ ไมทุบอกคดร่าํ ครวญไมถ งึ ความหลงใหลวา จกั ษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย ของเรา แปร-ปรวนไปแลว รูป เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐัพพะ ของเรา แปรปรวนไปแลวสกุล หมู คณะ อาวาส ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ของเรา แปรปรวนไปแลว จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจ จยั เภสัชบรขิ าร ของเราแปรปรวนไปแลว มารดา บิดา พ่ชี าย นอ งชาย พห่ี ญงิ นองหญิง

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 18บุตร ธดิ า มิตร พวกพอ ง ญาติสาโลหติ ของเรา แปรปรวนไปแลวเพราะฉะนน้ั จึงชื่อวา ไมเ ศรา โศกถงึ สิ่งที่ลว งไปแลว. วาดวยผัสสะ [๓๙๓] ชื่อวา ผัสสะ ในคําวา ผูเหน็ วิเวกในผัสสะทง้ั หลายไดเเกจักษสุ ัมผัส โสตสัมผัส ฆานสมั ผสั ชิวหาสัมผัส กายสัมผัสมโนสมั ผสั อธิวจนสมั ผัส ปฏฆิ สัมผัส สมั ผัสอันเกือ้ กูลแกส ุขเวทนาสัมผัสอันเกอื้ กลู แกท ุกขเวทนา สมั ผัสอันเกื้อกลู แกอ ทกุ ขมสขุ เวทนา ผัสสะอันเปนกุศล ผสั สะอนั เปนอกศุ ล ผัสสะอันเปน อัพยากตะ ผสั สะอันเปนกามาวจร ผัสสะอันเปนรูปาวจร ผัสสะอันเปนอรูปาวจร ผสั สะอันเปนสุญญตะ ผัสสะอันเปน อนมิ ติ ตะ ผัสสะอนั เปนอปั ปณหิ ติ ะ ผัสสะอนั เปนโลกยิ ะ ผสั สะอนั เปน โลกุตระ ผสั สะอันเปน อดีต ผัสสะอันเปนอนาคตผสั สะอันเปน ปจจบุ นั ผัสสะความถกู ตอ ง กริ ยิ าทถี่ ูกตอง ความเปน แหงความถกู ตองเห็นปานนี้ น้ีชื่อวา ผสั สะ. คาํ วา ผูเหน็ วิเวกในผสั สะทง้ั หลายความวา บุคคลเหน็ จกั ษสุ ัมผสั วา เปน ของวา งจากความเปน คนบา ง จากธรรมท่ีเน่ืองในตนบา ง จากความเทย่ี งบา ง จากความยัง่ ยืนบาง จากความเปน ของเทยี่ งบาง จากธรรมท่ไี มแ ปรปรวนบา ง เห็นโสตสมั ผสัเหน็ ฆานสัมผัส เห็นชิวหาสัมผสั เหน็ กายสมั ผัส เห็นมโนสมั ผัส เห็นอธิวจนสมั ผัส เหน็ ปฏิฆสมั ผสั เหน็ สมั ผัสอนั เกือ้ กลู แกสุขเวทนา เหน็สัมผสั อันเกอ้ื กลู แกท ุกขเวทนา เหน็ สัมผสั อันเก้อื กลู แกอทุกขมสขุ เวทนาเหน็ ผัสสะอนั เปนกุศล เห็นผัสสะอันเปน อกุศล เห็นผสั สะอันเปน อพั ยา-กตะ เห็นผัสสะอันเปนกามาวจร เห็นผัสสะอันเปนรปู าวจร เหน็ ผสั สะ
































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook