Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_19

tripitaka_19

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:38

Description: tripitaka_19

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 1 มหายมกวรรค ๑. จฬู โคสิงคสาลสูตร [๓๖๑] ขาพเจาไดส ดับมาอยา งนี้ :- สมยั หนึง่ พระผมู พี ระภาคเจาประทับอยู ณ ที่พกั ซง่ึ สรางดวยอิฐในนาทิกคาม. ก็สมัยน้นั ทานพระอนุรทุ ธะ ทา นพระนนั ทิยะ ทานพระกิมิละอยทู ปี่ าโคสงิ คสาลวนั ครง้ั นั้น เวลาเย็น พระผูมพี ระภาคเจา เสดจ็ ออกจากที่หลกี เรน แลว เสด็จเขาไปยงั ปา โคสิงคสาลวนั นายทายบาล (ผูรกั ษาปา )ไดเ ห็นพระผูมีพระภาคเจาเสด็จมาแตไ กล ครัน้ แลว ไดกลา วกับพระผมู ีพระภาคเจา วา ขาแตส มณะ ทา นอยา เขา ไปยงั ปา น้ีเลย ในทีน่ มี้ กี ุลบุตร๓ ทาน ซ่ึงเปนใครประโยชนตน เปนสภาพอยู ทา นอยา ไดกระทําความไมผาสุกแกท านทั้ง ๓ น้ันเลย เมือ่ นายทายบาลกลา วกะพระผูม พี ระภาคเจาอยู ทานพระอนรุ ทุ ธะไดย ินแลว จึงไดบ อกนายทายบาลวา ดกู อ นนายทาย-บาลผมู อี ายุ ทานอยา ไดห ามพระผูม พี ระภาคเจาเลย พระผูม พี ระภาคเจาผูเปน ศาสดาของพวกเราเสด็จมาถึงแลว ลําดับนน้ั ทา นพระอนรุ ทุ ธะไดเ ขาไปหาทานพระนันทยิ ะและทานพระกมิ ิละถึงท่ีอยู ครัน้ แลวไดบ อกวาออกมาเถดิ ทา นผมู อี ายุ ออกมาเถิด ทา นผมู อี ายุ พระผมู ีพระภาคเจาผูเปนศาสดาของพวกเราเสด็จมาถึงแลว ทา นพระอนุรุทธะ ทานพระนันทิยะและทานพระกิมลิ ะ ไดตอ นรับพระผมู ีพระภาคเจา องคห นึ่งรับบาตรและจวี รของพระผูม ีพระภาคเจา องคหนึง่ ปอู าสนะ องคหนง่ึ ต้งั น้าํ ลา งพระบาทพระผมู พี ระภาคเจา ประทับนั่งบนอาสนะท่ีปูถวาย ครั้นแลวทรงลา ง

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 2พระบาท ทา นผูม อี ายเุ หลา น้ัน ถวายบงั คมพระผมู พี ระภาคเจา แลวนั่งณ ท่คี วรสว นขา งหนง่ึ . [๓๖๒] พระผูม พี ระภาคเจา ไดต รสั กบั ทา นพระอนุรุทธะวา ดกู อ นอนรุ ุทธะ นันทิยะ และกมิ ลิ ะ พวกเธอพอจะอดทนไดละหรือ พอจะยงั ชวี ติ ใหเปน ไปไดหรือ พวกเธอไมลําบากดวยบณิ ฑบาตหรอื . อ. ขาแตพระผูมีพระภาคเจา พวกขาพระองคพ อจะอดทนไดพอจะยงั ชีวิตใหเ ปนไปได พวกขาพระองคไ มล ําบากดวยบณิ ฑบาต. พ. ก็พวกเธอ ยงั พรอ มเพรียงกัน ชนื่ บานตอ กนั ไมว วิ าทกัน ยังเปนเหมอื นนาํ้ นมกับนํ้า แลดูกนั และกันดว ยจักษุอนั เปนท่รี ักอยูหรือ. อ. ขา แตพ ระองคผูเ จรญิ พวกขาพระองค ยงั พรอมเพรียงกันชน่ื บานตอกนั ไมวิวาทกนั ยังเปน เหมอื นนํา้ นมกับน้ํา แลดกู นั และกันดว ยจกั ษุอันเปนทร่ี กั อย.ู พ. ก็พวกเธอเปนอยางน้นั ได เพระเหตอุ ยา งไร. การประพฤติในปฏสิ นั ถาร [๓๖๓] อ. ขาแตพระองคผเู จริญ ขอประทานพระวโรกาสขา พระองคม ีความดํารอิ ยา งน้วี า เปนลาภของเราหนอ เราไดดีแลวหนอทไี่ ดอ ยูรว มกับเพือ่ นพรหมจรรยเ ห็นปานนขี้ า พระองคเขา ไปตงั้ กายกรรมประกอบดวยเมตตาในทานผมู ีอายุเหลาน้ี ในท่ีแจง และท่ลี ับ เขาไปต้ังวจกี รรม ประกอบดวยเมตตา... เขา ไปตัง้ มโนกรรม ประกอบดวยเมตตาในทานผมู ีอายุเหลา นี้ ทง้ั ในท่แี จง และท่ลี ับ ขา พระองคม ีความดํารอิ ยางน้ีวาไฉนหนอ เราพงึ เกบ็ จิตของตนเสยี แลวประพฤติตามอาํ นาจจิตของทานผมู ีอายุเหลานี้ แลว ขา พระองคก็เกบ็ จติ ของตนเสยี ประพฤตอิ ยูต ามอํานาจจิต

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 3ของทานผูม อี ายเุ หลา น้ี กายขอพวกขาพระองคต างกนั จรงิ แล แตว า จิตเหน็ จะเปนอนั เดยี วกนั . แมทานพระนนั ทยิ ะ...แมทา นพระกมิ ลิ ะ ก็ไดกราบทูลพระผมู ีพระภาคเจา วา ขาแตพระองคผ เู จริญ ขอประทานพระวโรกาส แมข า พระองคก็มีความดํารอิ ยา งนี้วา เปนลาภของเราหนอ เราไดดีแลว หนอ ท่ีไดอ ยรู วมกับเพอื่ นพรหมจรรยเ หน็ ปานนี้ ขาพระองคเ ขา ไปตง้ั กายกรรม ประกอบดว ยเมตตา เขาไปต้ังวจีกรรมประกอบดวยเมตตา...เขา ไปตง้ั มโนกรรมประกอบดวยเมตตาในทานผมู ีอายเุ หลา นี้ ท้งั ในท่แี จง และท่ีลบั ขา พระองคมคี วามดํารอิ ยา งนวี้ า ไฉนหนอเราพงึ เกบ็ จิตของตนเสีย แลวประพฤติตามอาํ นาจจิตของทานผูมอี ายเุ หลาน้ี แลว ขาพระองคก็เกบ็ จติ ของตนเสยีประพฤติอยูตามอํานาจจิตของทา นผมู อี ายุเหลานี้ กายของพวกขา พระองคตางกันจรงิ แล แตด กู ันจติ เห็นจะเปนอนั เดยี วกนั ขาแตพระองคผ ูเ จรญิพวกขา พระองคยงั พรอมเพรียงกนั ช่ืนบานตอกนั ไมวิวาทกัน ยงั เปนเหมอื นนา้ํ นมกับนํ้า แลดูกนั และกันดวยจักษุอันเปน ทีร่ ักอยู. [๓๖๔] พ. ดีละ ดลี ะ อนุรทุ ธะ พวกเธอเปนผูไมป ระมาท มคี วามเพยี รสง ตนไปแลวอยูหรือ. อ. ขาแตพ ระองคผูเจรญิ พวกขาพระองคเปน ผูไมป ระมาทมีความเพียรสงตนไปแลว อยู. พ. กพ็ วกเธอเปนอยางน้นั ได เพราะเหตุอยา งไร. อ. ขา แตพระองคผ ูเ จริญ ขอประทานพระวโรกาส บรรดาพวกขาพระองค ทานผใู ดกลับจากบิณฑบาตแตบานกอน ทานผูน ้นั ยอ มปูลาดอาสนะ ตงั้ น้ําฉัน นาํ้ ใชไว ตัง้ ถาดสํารบั ไว ทา นผใู ดกลบั จากบณิ ฑบาตแตบานทีหลงั ถา มีบิณฑบาตท่เี หลือจากฉัน หากประสงค ก็ฉนั ถาไมป ระสงค

พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 4กท็ ้ิงเสียในที่ปราศจากของเขียว หรือเทลงในนํ้าที่ไมม ีตวั สัตว ทา นผูน น้ั เกบ็อาสนะ เกบ็ นํา้ ฉนั เก็บน้าํ ใชเ กบ็ ถาดสาํ รับ กวาดโรงภตั ร ทานผใู ดเห็นหมอ น้ําฉนั นาํ้ ใช หรอื หมอนําชําระวา งเปลา ทานผูนัน้ ก็เขาไปตงั้ ไว ถาเหลือวิสัยของทา นก็กวักมือเรยี กรูปทสี่ องแลวชวยกันยกเขาไปต้งั ไวพวกขาพระองคไ มเปลง วาจาเพราะขอนั้นเปน ปจ จัย และทุกวนั ที่ ๕พวกขาพระองคน ่ังสนทนาธรรมกถาตลอดคนื ยังรงุ ขา แตพ ระองคผเู จริญพวกขา พระองค เปนผูไมประมาท มคิ วามเพยี ร สง ตนไปอยูดว ยประการฉะนแ้ี ล. ธรรมเครอื่ งอยูสาํ ราญ ๙ [๓๖๕] พ. ดลี ะ ดลี ะ อนุรุทธะ ก็เม่อื พวกเธอเปน ผไู มป ระมาทมีความเพยี ร สง ตนไปอยอู ยา งนี้คุณวเิ ศษคอื ญาณทัสสนะอันสามารถกระทาํความเปน พระอรยิ ะ อันยิง่ กวาธรรมของมนุษย ซึง่ เปน เคร่ืองอยสู ําราญท่พี วกเธอไดเขาถงึ แลว มีอยูหรอื . อ. เพราะเหตุอะไรเลา จะไมพ งึ มีพระพุทธเจาขา ขอประทานพระวโรกาส พวกขาพระองคหวงั อยเู พยี งวา พวกขาพระองคส งดั จากกามสงัดจากอกศุ ลธรรม เขาถงึ ปฐมฌาน มีวิตก มีวจิ าร มีปตแิ ละสขุ เกิดแตว ิเวกอยู เมอ่ื พวกขา พระองคเปน ผูไมประมาท มคี วามเพียรสง ตนไปอยูคณุ วเิ ศษคือญาณทัสสนะ อันสามารถกระทําความเปน พระอริยะ อันยง่ิ กวาธรรมของมนษุ ย ซง่ึ เปน เครอ่ื งอยูสาํ ราญนแ้ี ล พวกขาพระองคไดเขาถงึ แลว. พ. ดลี ะ ดีละ อนรุ ทุ ธะ กค็ ุณวิเศษคอื ญาณทสั สนะอนั สามารถกระทําความเปนพระอรยิ ะอนั ยิ่งกวา ธรรมของมนุษย ซึง่ เปนเครือ่ งอยสู ําราญท่ีพวกเธอไดเ ขาถงึ แลว เพอื่ ความกาวลว ง เพอ่ื ความระงับ แหงธรรมเปนเครอ่ื งอยอู ันน้ี อยา งอื่นมอี ยหู รอื .

พระสตุ ตนั ตปฎ ก มัชฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 5 อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพ งึ มี พระพุทธเจาขา พวกขา พระองคหวังอยเู พียงวา พวกขา พระองคเ ขา ถึงทตุ ิยฌาน มีความผองใสแหง จิตในภายในเปน ธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวติ กวิจารสงบไป ไมมีวติ กไมม ีวิจาร มปี ติและสขุ อันเกิดแตส มาธิอยู อนั นไ้ี ดแ กคณุ วิเศษคอื ญาณทสั สนะอันสามารถการทําความเปนพระอรยิ ะ อนั ย่ิงกวาธรรมของมนษุ ย ซ่งึ เปน เคร่ืองอยสู ําราญ เพ่ือความกาวลว ง เพ่อื ความระงับแหง ธรรมเปน เคร่อื งอยอู ันน้ีอยา งอ่นื . พ. ดลี ะ ดลี ะ อนรุ ุทธะ กค็ ณุ วเิ ศษคือญาณทสั สนะอนั สามารถกระทําความเปนพระอริยะ...อยางอ่ืนมอี ยูหรือ. อ. เพราะเหตุอะไรเลา จะไมพ งึ มี พระพุทธเจาขา พวกขาพระองคหวงั อยเู พยี งวา พวกขา พระองคมีอุเบกขา มีสติสมั ปชัญญะ เสวยสขุ ดวยนามกาย เพราะปต ิสิ้นไป เขาถึงตตยิ ฌานท่พี ระอรยิ เจา ท้ังหลายสรรเสริญวา ผูไ ดฌานน้ีเปน ผมู อี เุ บกขา มีสติ อยูเ ปนสุข อันนไ้ี ดแ กค ณุ วิเศษคอืญาณทสั สนะ. อนั สามารถการทําความเปนพระอริยะ...อยางอ่นื . พ. ดีละ ดลี ะ อนรุ ทุ ธะ ก็คุณวิเศษคอื ญาณทสั สนะอันสามารถการทําความเปนพระอริยะ...อยา งอนื่ มอี ยหู รอื . อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพ ึงมี พระพทุ ธเจา ขา พวกขาพระองคหวงั อยูเพยี งวา พวกขาพระองคเ ขา ถึงจตตุ ถฌาน ไมม ที ุกขไ มมีสขุ เพราะละสุขและทกุ ข และดับโสมนสั โทมนัสกอ นๆได มอี ุเบกขาเปนเหตใุ หส ติบริสุทธ์ิอยู อนั นี้ไดแ กค ุณวิเศษคือญาณทสั สนะอันสามารถการทาํ ความเปน พระอริยะ...อยางอื่น. พ. ดีละ ดลี ะ อนรุ ทุ ธะ กค็ ุณวเิ ศษคือญาณทัสสนะ อันสามารถการทาํ ความเปนพระอริยะ. . .อยา งอืน่ มีอยหู รือ.

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 6 อ. เพราะเหตุอะไรเลา จะไมพงึ มี พระพุทธเจาขา พวกขา พระองคหวังอยเู พยี งวา เพราะลว งเสยี ซง่ึ รูปสัญญาโดยประการทงั้ ปวง เพราะไมใสใจซง่ึ ปฏิฆสญั ญา พวกขา พระองคเ ขาถึงอากาสานัญจายตนฌาน ดว ยพิจารณาวา อากาศหาทส่ี ดุ มไิ ด ดังน้ีอยู อันนีไ้ ดแกค ณุ วเิ ศษคือญาณทสั สนะ อันสามารถกระทาํ ความเปนพระอริยะ...อยางอื่น. พ. ดีละ ดลี ะ อนรุ ุทธะ ก็คณุ วเิ ศษคือญาณทัสสนะอันสามารถกระทําความเปน พระอริยะ...อยา งอ่นื มอี ยูห รือ. อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพ งึ มี พระพุทธเจาขา พวกขา พระองคหวงั อยเู พียงวา เพราะลวงเสยี ซงึ่ อากาสานัญจายตนะโดยประการทงั้ ปวงพวกขา พระองคเขาถงึ วญิ ญาณญั จายตนฌาน ดวยพิจารณาวา วญิ ญาณหาที่สุดมิได ดังนี้อยู อนั นไ้ี ดแ กคุณวเิ ศษคือญาณทสั สนะ อันสามารถกระทําความเปนพระอริยะ...อยา งอ่นื . พ. ดลี ะ ดีละ อนรุ ทุ ธะ ก็คุณวิเศษคอื ญาณทัสสนะอันสามารถกระทาํความเปนพระอรยิ ะ...อยา งอนื่ มีอยหู รือ. อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพึงมี พระพุทธเจา ขา พวกขาพระองคหวงั อยเู พียงวา เพราะลว งเสียซึ่งวญิ ญาณัญจายตนะโดยประการทง้ัปวง พวกขาพระองคเ ขา ถงึ อากญิ จญั ญายตนฌาน ดว ยพจิ ารณาวา นอยหน่งึไมม ี ดังนี้อยู อนั น้ีไดแก คุณวเิ ศษคอื ญาณทัสสนะ อันสามารถกระทําความเปนพระอรยิ ะ...อยางอนื่ . พ. ดลี ะ ดีละ อนุรุทธะ กค็ ณุ วิเศษคอื ญาณทสั สนะอันสามารถกระทาํความเปนพระอรยิ ะ...อยางอ่นื มอี ยหู รอื อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพึงมี พระพุทธเจา ขา พวกขาพระองคหวังอยเู พยี งวา เพราะลว งเสียซ่ึงอากญิ จัญญายตนะโดยประการท้ังปวง พวกขาพระองคเ ขาถึงเนวสญั ญานาสญั ญายตนฌานอยู อันน้ีไดแ กคุณ

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 7วเิ ศษคือญาณทสั สนะอันสามารถกระทาํ ความเปน พระอริยะ... อยางอ่นื . พ. ดีละ ดลี ะ อนรุ ุทธะ กค็ ณุ วิเศษคือญาณทัสสนะอนั สามารถกระทาํความเปนพระอรยิ ะอนั ยงิ่ กวาธรรมของมนุษย ซ่งึ เปนเครื่องอยูสําราญที่พวกเธอไดเ ขาถงึ แลว เพ่ือความกาวลวง เพื่อความระงับ แหงธรรมเปนเครือ่ งอยูอนั นี้ อยางอ่ืนมอี ยูหรอื . อ. เพราะเหตอุ ะไรเลา จะไมพงึ มี พระพทุ ธเจา ขา พวกขาพระองคหวังอยูเพยี งวา เพราะลว งเสียซง่ึ เนวสญั ญาณนาสัญญายตนะโดยประการทงั้ ปวง พวกขา พระองคเขาถงึ สญั ญาเวทยติ นิโรธอยู เพราะเห็นดวยปญญาอาสวะของทานผูน้ันยอมหมดสิ้นไป อนั นไี้ ดแกคุณวเิ ศษคอื ญาณทสั สนะ อนั สามารถกระทําความเปน พระอรยิ ะ อนั ยง่ิ กวาธรรมของมนุษยซ่ึงเปนเคร่ืองอยสู าํ ราญอยางอื่น เพอื่ ความกา วลว ง เพอ่ื ความระงับแหง ธรรมเปน เครอื่ งอยอู ันนี้ ไดเขาถึงแลว พระพุทธเจาขา อนึง่ พวกขาพระองคยังไมพิจารณาเห็นธรรมเปนเครือ่ งอยสู ําราญอยางอ่นื ทย่ี ่ิงกวา หรอื ประณตี กวาธรรมเปนเครือ่ งอยสู าํ ราญอนั นี.้ พ. ดีละ ดีละ อนรุ ุทธะ ธรรมเปน เคร่อื งอยสู าํ ราญอยางอ่นื ท่ียงิ่ กวาหรือประณีตกวา ธรรมเปนเคร่ืองอยูสาํ ราญอนั นหี้ ามีไม. [๓๖๖] ลําดบั นัน้ พระผูมพี ระภาคเจา ยงั ทานพระอนรุ ทุ ธะ ทา นพระ-นันทิยะ และทา นพระกมิ ิละ ใหเ หน็ แจง ใหสมาทานใหอาจหาญใหรา เริงดวยธรรมกี ถา แลวเสดจ็ ลุกจากอาสนะหลกี ไป ทา นพระอนุรทุ ธะ ทา นพระนนั ทยิ ะ และทา นพระกิมลิ ะ สง เสด็จพระผมู ีพระภาคเจา ครัน้ กลับจากที่นัน้ แลว ทา นพระนันทยิ ะ และทา นพระกิมลิ ะ ไดกลาวกะทา นพระอนรุ ทุ ธะวาพวกกระผมไดบอกคุณวิเศษอนั นน้ั แกท า นอนรุ ทุ ธะอยางนีห้ รือวา พวกเราไดวหิ ารสมาบตั ิเหลา น้ดี วย. ทา นอนรุ ุทธะประกาศคุณวิเศษอนั ใดของ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 8พวกกระผม จนกระทั่งถงึ ความสิน้ อาสวะในทเ่ี ฉพาะพระพักตรพ ระผมู ีพระภาคเจา อ. พวกทานผูมอี ายุมไิ ดบ อกแกกระผมอยา งนว้ี า พวกเราไดวิหารสมาบตั ิเหลา น้ีดว ย ๆ แตวา กระผมกําหนดใจของพวกทานผมู ีอายุดวยใจแลว รไู ดวา ทา นผมู อี ายเุ หลานี้ ไดวิหารสมาบัติเหลา นด้ี ว ยๆ แมพวกเทวดาก็ไดบอกเนือ้ ความขอนี้เกกระผมวา ทานผมู อี ายุเหลาน้ี ไดวหิ ารสมาบัตเิ หลานีด้ ว ยๆ กระผมถกู พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั ถามปญหาแลว จงึ ทลู ถวายพยากรณเ นื้อความน้ัน. ชอื่ เสยี งของพระอนุรทุ ธะเปนตน [๓๖๗] ลาํ ดับนั้น ทฆี ปรชนยักษ เขาไปเฝา พระผูม พี ระภาคเจา ถึงทป่ี ระทับ ครัน้ แลวถวายบังคมพระผูมพี ระภาคเจา ไดยนื อยู ณ ท่ีควรสวนขา งหนงึ่ แลวไดก ราบทูลพระผมู พี ระภาคเจา วา ขาแตพระองคผูเ จริญเปน ลาภของชาววัชชี ประชาชนชาววัชชไี ดดแี ลว ในเหตุท่ีพระตถาคตอรหันต-สัมมาสมั พุทธเจามาประทบั อยู และกุลบตุ ร ๓ ทา นเหลา นี้ คอื ทานพระอนุรทุ ธะ ทานพระนันทยิ ะ และทานพระกิมลิ ะ มาพกั อยู. พวกภมุ มเทวดาไดส งเสียงของทีฆปรชนยกั ษแ ลว ไดป ระกาศ(ตอ ไป) วา ทานผเู จรญิ ท้งั หลายเปน ลาภของชาววัชชี ประชาชนชาววชั ชไี ดด ีแลว ในเหตุที่พระตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจามาประทับอยู และกลุ บุตร๓ ทาน คือ ทา นพระอนรุ ุทธะ ทา นพระนนั ทิยะ และทานพระกลิ มิ ะ มาพักอย.ู พวกเทพชั้นจาตุมหาราช ไดฟง เสยี งของพวกภมุ มเทวดาแลวไดประกาศ (ตอ ไป)...พวกชัน้ ดาวดึงสไ ดฟง เสียงของพวกเทพช้ันจาตมุ หาราชแลว ไดประกาศ (ตอไป)...พวกเทพชนั้ ยามาไดสง เสียงของพวกเทพชั้นดาว-

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 9ดงึ สแ ลว ไดป ระกาศ (ตอ ไป)...พวกเทพชัน้ ดสุ ิตไดฟ งเสียงของพวกชั้นมายาแลว ไดประกาศ (ตอไป)...พวกเทพชัน้ นิมมานรดีไดฟ ง เสียงของพวกเทพช้ันดสุ ติ แลวไดประกาศ (ตอ ไป)...พวกเทพชัน้ ปรนิมมติ วสวัดดไี ดฟงเสียงของพวกเทพชนั้ นมิ มานรดีแลว ไดประกาศ (ตอ ไป)...พวกเทพทน่ี บั เขาในจาํ พวกพรหม ไดฟง เสียงของพวกเทพช้ันปรนิมมิตวสวัดดแี ลว ไดประกาศ (ตอไป) วา ทานผเู จรญิ ทง้ั หลาย เปน ลาภของชาววชั ชี ประชาชนชาววชั ชีไดด แี ลว ในเหตุท่พี ระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา มาประทับอยู และกลุ บตุ ร ๓ ทาน คอื ทานพระอนุรุทธะ ทานพระนนั ทิยะ และทานพระกิมลิ ะ มาพักอยู. [๓๖๘] โดยขณะครหู นง่ึ นั้น เสียงไดเ ปนอนั รกู นั ท่ัวจนถึงพรหม-โลก ดวยประการฉะน้ี พระผมู ีพระภาคเจา ไดตรัสวา ดกู อ นทีฆะ ขอนีเ้ ปนอยา งนน้ั ดูกอนทีฆะ ขอ น้ีเปน อยา งนนั้ กลุ บุตรท้งั ๓ น้ี ออกจากเรอื นบวชเปนบรรพชติ จากสกุลใด ถา สกลุ นัน้ มจี ิตเล่อื มใส ระลกึ ถึงกุลบตุ รทั้ง ๓ น้ีขอนน้ั จะพึงเปน ไปเพ่อื ประโยชน เพอ่ื ความสขุ แกส กลุ น้ัน ตลอดกาลนาน กุลบตุ รทงั้ ๓ น้ี ออกจากเรอื นบวชเปนบรรพชิต จากวงศสกุลใดถา วงศส กุลน้นั มจี ติ เลื่อมใส ระลกึ ถึงกลุ บตุ รท้ัง ๓ นี้ ขอ น้ันจะพึงเปน ไปเพอื่ประโยชน เพือ่ ความสขุ แกว งศส กุลนน้ั ตลอดกาลนาน กุลบตุ รทัง้ ๓ นี้ออกจากเรือนบวชเปน บรรพชติ จากบานใด ถาบา นน้ันมีจติ เล่ือมใส ระลกึถึงกลุ บุตรทั้ง ๓ น้ี ขอ นัน้ จะพึงเปนไปเพือ่ ประโยชน เพอื่ ความสขุ แกบ านนน้ัตลอดกาลนาน กลุ บุตรท้งั ๓ น้ี ออกจากเรือนบวชเปน บรรพชิต จากนคิ มใด ถา นิคมนั้นมจี ติ เลอ่ื มใส ระลกึ ถงึ กุลบุตรทง้ั ๓ น้ี ขอ นั้นจะพงึ เปน ไปเพอ่ืประโยชน เพ่อื ความสขุ แกน ิคมนัน้ ตลอดกาลนาน กลุ บตุ รทงั้ ๓ น้ี ออกจากเรอื นบวชเปนบรรพชติ จากนครใด ถานครนั้นมจี ติ เล่อื มใส ระลกึ ถึงกลุ บตุ รท้ัง ๓ น้ี ขอ นน้ั จะพึงเปน ไปเพอ่ื ประโยชน เพ่ือความสขุ แกน ครนน้ั ตลอด

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 10กาลนาน กลุ บุตรท้ัง ๓ นี้ ออกจากเรือนบวชเปนบรรพชติ จากชนบทใด ถาชนบทนน้ั มจี ิตเล่ือมใส ระลกึ ถึงกลุ บุตรทงั้ ๓ น้ี ขอนน้ั จะพึงเปน ไปเพื่อประโยชน เพื่อความสขุ แกช นบทนน้ั ตลอดกาลนาน ถากษตั รยิ ท ัง้ มวลมีจติ เล่ือมใสระลกึ ถงึ กุลบุตรทง้ั ๓ นี้ ขอ น้ันจะพึงเปน ไปเพอื่ ประโยชน เพอ่ืความสุขแกกษัตริยทั้งมวล ตลอดกาลนาน ถา พราหมณท ั้งมวล...ถาแพศยท้ังมวล...ถา ศทู รทั้งมวลมีจิตเลอ่ื มใส ระลกึ ถึงกุลบตุ รทั้ง ๓ นี้ ขอ นัน้ จะพงึเปนไปเพอื่ ประโยชน เพอ่ื ความสุขแกศูทรทงั้ มวล ตลอดกาลนาน ถาโลกพรอ มท้งั เทวโลก มารโลก พรหมโลก หมสู ตั ว พรอมท้ังสมณพราหมณเทวดาและมนุษยม ีจติ เลอ่ื มใส ระลกึ ถงึ กลุ บตุ รทง้ั ๓ น้ี ขอนัน้ จะพึงเปน ไปเพอื่ ประโยชน เพอื่ ความสขุ แกโลก พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหม-โลก แกหมสู ัตว พรอ มทัง้ สมณพราหมณ เทวดาและมนษุ ย ตลอดกาลนาน ดูกอนทีฆะ ทานจงเหน็ เถดิ กลุ บุตรท้ัง ๓ นี้ ปฏิบตั แิ ลว ก็เพยี งเพื่อประโยชนเกือ้ กูลแกชนเปน อันมาก เพื่อความสุขแกช นเปน อันมาก เพอื่ อนุเคราะหโลก เพอ่ื ประโยชน เพือ่ เกื้อกลู เพ่อื ความสุข แกเทวดาและมนษุ ยท ัง้ หลาย. พระผูม พี ระภาคเจา ไดต รสั พระพุทธพจนนแี้ ลว ทฆี ปรชนยกั ษชนื่ ชมยนิ ดภี าษติ ของพระผูมพี ระภาคเจา แลว แล. จบจฬู โคสงิ คสาลสูตรที่ ๑

พระสตุ ตันตปฎก มัชฌมิ นิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 11 มหายมกวรรควรรณนา อรรถกถาจฬู โคสงิ คสาลสตู ร จูฬโคสงิ คสาลสูตรมีบทเริ่มตน เอวมฺเม สตุ  . บรรดาบทเหลานั้น บทวา นาทิเก วิหรติ ความวา ในบานแหงหนึง่ในบรรดาหมบู านสองแหงของบตุ รของอาและของลงุ ทงั้ สอง อาศยั สระนาํ้หน่ึง ช่ือ นาทิกา. บทวา คิฺชกาวสเถ ไดแ ก ที่พกั ทาํ ดว ยอิฐ. โดยยนิ วาสมัยหนงึ่ พระผมู พี ระภาคเจา เม่อื จะทําการสงเคราะหมหาชน เสดจ็ จาริกไปในแควนวัชชี เสดจ็ ถงึ นาทกิ คาม. ชาวบา นนาทิกคามถวายมหาทานแดพระผมู ีพระภาคจา ฟงธรรมีกถา มีใจเล่อื มใส ปรกึ ษากนั วา เราจกั สรา งท่ปี ระทับถวายแดพ ระศาสดา แสดงรปู สตั วรายเปน ตน ท่ีฝาบนั ไดและเสาดว ยอฐิ ทง้ั น้นั สรา งปราสาทฉาบดวยปูนขาว ยงั มาลากรรมและลดากรรมเปนตนใหส ําเรจ็ ปลู าดเครือ่ งลาดพ้นื เสยี งและตง่ั เปน ตนมอบถวาย พระศาสดา. ตอ มา พวกชาวบานในที่นส้ี รา งที่พักกลางคืนที่พักกลางวัน มณฑป และท่ีจงกรมเปน ตน ถวายแดภิกษุสงฆ. วหิ ารนัน้ ไดเปนมหาวิหารดว ยประการฉะน้ี. ทานหมายเอาวหิ ารน้นั จงึ กลา ววาคิชฺ กาวสเถ ดังน้ี. คา คบไมมีสณั ฐานดงั เขาโค ตง้ั ขึน้ แตล ําตนของตน ไมใหญตนหนงึ่ในบทวา โคสงิ ฺคสาลวนทาเย น้ัน. ปา นั้นแมทั้งหมดอาศัยตนไมนนั้ จงึ ชอ่ืวา โคสงิ คสาลวัน ดงั น้ี. บทวา ทาโย น้ีเปนชอื่ ของปา โดยไมต างกันเพราะฉะน้นั บทวา โคสงิ คฺ สาลวนทาเย มคี วามวา ในปาชื่อ โคสิงคสาลวนั .

พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 12บทวา วิหรนตฺ ิ ไดแก เสวยสามคั ครี สอย.ู เวลากุลบุตรเหลานีเ้ ปน ปถุ ุชนทานกลา วไวในอุปรณิ ณาสกแ็ ลว . ในทนี่ ้ี ทา นกลาวเวลาเปนพระขณี าสพ.จรงิ อยู ในเวลาน้ัน กุลบตุ รเหลา น้นั ไดความพอใจ ไดท พ่ี งึ่ บรรลปุ ฏิสัมภทิ าเปน พระขีณาสพ เสวยสามัคคีรสอยใู นทนี่ ั้น. บทวา เยน โคสงิ คสาลวนทาโยเตนสุ งฺกมิ นที้ านกลาวหมายถงึ ปาน้นั . พระผมู ีพระภาคเจา ไมไดบ อกอะไรๆในบรรดาพระธรรมเสนาบดีพระมหาโมคคัลลานเถระ หรือพระอสีตมิ หาสาวก โดยทส่ี ดุ แมพ ระ-อานนทเถระ เปนคลังธรรม ทรงถอื บาตรและจีวรดวยพระองคเองเหมือนชา งปลีกออกจากขา ศกึ เหมือนไกรสรสีหราชออกจากฝงู เหมอื นเมฆถูกลมหอบ พระองคผ เู ดยี วเสดจ็ เขา ไปหาอยางนแ้ี ล. ถามวา ก็เพราะเหตุไร พระผูม ีพระภาคเจา จงึ ไดเ สดจ็ ไปดวยพระองคเองในน้.ี ตอบวา กลุ บตุ รทั้ง ๓ ยอ มเสวยสามัคครี ส เพราะจะทรงยกยองกลุ บตุ รเหลานนั้ เพราะจะทรงอนเุ คราะหหมูชนเกดิ ในภายหลงั และเพราะความหนักในพระธรรม.ไดย นิ วา พระผมู ีพระภาคเจา น้ันไดทรงดําริอยา งนีว้ า เราจกั ยกยองสรรเสริญกุลบุตรเหลาน้ี ทําปฏสิ ันถาร แสดงธรรมแกกุลบุตรเหลานั้น เพราะจะทรงยกยองอยางนเ้ี ทา นนั้ จึงเสด็จไป. พระองคไดม ีพระดาํ รติ อ ไปวาในอนาคต กุลบุตรทั้งหลาย สําคญั การควรอยพู รอมเพรยี งกันวา พระ-สัมมาสมั พทุ ธเจา เสด็จสสู ํานกั ของกลุ บุตรผูอ ยพู รอ มเพรยี งกันดว ยพระองคเอง ทําปฏสิ ันถาร แสดงธรรมทรงยกยองกุลบุตรทงั้ ๓ ใครจะไมพงึ อยูพรอม-เพรยี งกนั ดงั นี้ จกั ทําที่สดุ แหงทกุ ขไดเรว็ พลนั ดงั นี้ แมเพราะจะทรงอนุเคราะหหมูชนผเู กิดในภายหลัง จงึ ไดเ สด็จไป. ก็ธรรมดาวา พระพุทธเจาทรงเปนผูหนักในธรรม กค็ วามหนกั ในธรรมของพระพุทธเจา เหลานน้ั มาแลวในรถวนิ ตี สูตร เพราะเหตนุ ้นั พระองคทรงดาํ รวิ า เราจกั ยกยองธรรมแมเ พราะความหนกั ในธรรมนี้ ดงั นี้. จึงไดเ สดจ็ ไป.

พระสุตตนั ตปฎ ก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 13 บทวา ทายปาโล แปลวา ผูรักษาปา คนรักษาปานนั้ ยอ มนั่งรกั ษาคมุ ครองที่ประตูปานั้น ทเ่ี ขาลอ มร้วั ประกอบไวโ ดยประการที่พวกมนษุ ยในประเทศทเี่ ขาปรารถนาแลวอยูอมไมนาํ ดอกไม ผลไม ยางไม หรือทพั สมั ภาระในทน่ี ้ันออกได เพราะฉะนน้ั ทานกลา ววา ทายเปาโล. บทวาอตฺตกามรปู า ความวา เปนผูใ ครป ระโยชนต นเปน สภาพอย.ู จรงิ อยูผใู ดแมบ วชแลว ในศาสนาน้ี เลย้ี งชวี ิตดวยอเนสนา ๒๐ มเี วชกรรมทูตกรรมและการสง ขา วเปนตน น้ยี ังไมช่ือวา เปน ผูใ ครป ระโยชนต น. สว นผใู ดบวชแลวในศาสนาน้ี ละอเนสนา ๒๑ แลว ตัง้ อยูในจตุปารสิ ุทธิศีล เรียนพระพุทธวจนะ อธษิ ฐานธดุ งคพ อสบายถือกรรมฐานทีช่ อบใจในอารมณ๓๘ ละแวกบา นเขาปา ยังสมาบัตใิ หเกดิ เทย่ี วทาํ วปิ สสนากรรมฐานน้ชี ่อื วา เปนผูใครป ระโยชนต น. กุลบุตรทัง้ ๓ แมเ หลา นนั้ ไดเ ปน เห็นปานน้ี. เพราะเหตุนน้ั ทานกลาววา อตตฺ กามรปู วิหรนตฺ ิ. เขาขอรอ งพระผมู พี ระภาคเจาวา พระองคอ ยา ไดกระทําความไมผาสกุ แกกุลบุตรเหลา นัน้ เลย. ไดยินวา นายทายบาลนั้นไดม ีวติ กอยางนวี้ า กุลบตุ รเหลา น้ีอยูพรอม-เพรยี งกนั ความบาดหมาง ทะเลาะและววิ าท ยอมเปน ไปในที่คนบางพวกไปแลว ทั้งสองไมไ ปทางเดียวกนั เหมือนโคดุ เขาแหลม เที่ยวขวดิ อยู บางครง้ัพระพทุ ธเจาแมนี้ เม่ือทรงกระทาํ อยางน้ี พึงทําลายความอยูอยา งพรอ ม-เพรยี งของกลุ บุตรเหลา นี้ กแ็ หละพระองคน า เล่อื มใส มีพระฉววี รรณดงั ทอง เหน็ จะอยากในรส พงึ ทาํ ลายอัปปมาทวหิ ารธรรมของกุลบตุ รเหลา นี้ดว ยการกลาวสรรเสรญิ ผูถวายของอนั ประณตี และผูอปุ ฏฐากตนตัง้ แตเสด็จไปถึง แมส ถานทอ่ี ยูของกุลบตุ รเหลาน้ี กาํ หนดไวแ นนอน คอื บรรณศาลา ๓ที่จงกรม ๓ ทพ่ี ักกลางวัน ๓ เตียงตงั่ ๓ สวนสมณะน้ี มกี ายใหญเ ห็นจะแกกวา และจักไลกุลบุตรเหลา นี้ ออกจากเสนาสนะในกาลอันไมควร ความ

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 14ไมผ าสกุ จักมแี กก ลุ บตุ รเหลานัน้ แมใ นทที่ ง้ั ปวงดวยประการฉะนี้ เขาไมปรารถนาอยางนน้ั จึงขอรอ งพระผูมีพระภาคเจา วา พระองคอ ยา ไดทําความไมผ าสุกแกกุลบตุ รเหลานน้ั เลย. ถามวา ก็นายทายบาลน้ัน รูอยู จึงหาม หรอื ไมร ูอ ยู จงึ หา ม. ตอบวาจริงอยู ตง้ั แตพระตถาคตถอื ปฏิสนธิ ปาฏิหารยิ อ นั ยังหมืน่ จักรวาลใหหวัน่ ไหวเปนตน เปน ไปแลว แมก็จรงิ ถงึ ดงั นน้ั คนไมม กี าํ ลังชาวปา ขวน-ขวายแตก ารงาน ไมอ าจจะกําหนดรูปาฏิหาริยเหลา น้นั ได. กธ็ รรมดาวาพระสัมมาสมั พุทธเจา เมื่อใดมีภิกษหุ ลายพันเปน บริวาร เทีย่ วแสดงพุทธานภุ าพดว ยพระรัศมีวาหนงึ่ ดวยอนพุ ยัญชนะ ๘๐ และดว ยพระสิริคือ มหาปุรสิ ลักษณะ ๓๒ เม่อื น้ันเขาถามวา นัน่ ใคร แลว พงึ จะรจู กั . ก็ครงั้ นั้นพระผูมพี ระภาคเจาทรงปกปดพทุ ธานุภาพนัน้ ท้ังหมดไวในกลีบจีวรทรงถือบาตรและจวี รดวยพระองคเ อง เสด็จไปโดยเพศทีไ่ มม ใี ครรจู ักเหมอื นพระจันทรใ นวนั เพ็ญ ทถ่ี ูกปด บงั ไวใ นกลีบเมฆ. นายทายบาลไมร ูขอ นัน้ จึงหา มดว ยประการฉะนี.้ บทวา เอตทโวจ ความวา ไดยนิ วาพระเถระฟงถอ ยคําของนายทายบาลวา มา สมณ ดังน้ี จึงคิดวา เราอยกู นั๓ คนในท่นี ้ี ไมม ีบรรพชติ อ่นื เลย กน็ ายทายบาลนีพ้ ูดเหมือนกับพดู กับบรรพชิตจักเปนใครหนอแลดังนีแ้ ลว ออกจากทพี่ กั กลางวัน ยนื อยูท ี่ประตูมองดูทาง กไ็ ดเ หน็ พระผูมพี ระภาคเจา. แมพ ระผูมพี ระภาคเจาก็ทรงเปลงพระรัศมีจากพระวรกาย พรอ มกับท่ีพระเถระเหน็ พระรศั มีวาหน่ึงสอ งสวางดว ยพระอนุพยัญชนะ ๘๐ รงุ เรอื งเหมือนเผน ทองที่คล่อี อก. พระเถระคิดวานายทายบาลนี้ พดู กับบุคคลผูเลศิ ในโลก ยังไมรจู ัก พูดคลา ยกับภกิ ษรุ ูปใดรปู หนึ่ง เหมือนเหยียดมือจบั อสรพิษแผพังพานทคี่ อ เมื่อจะหา มจึงไดกลา วคาํเปนตน นวี้ า มา อาวโุ ส ทายปาล ดังนี้. บทวา เตนปุ สงกฺ มิ ความวาเพราะเหตุอะไร ไมทาํ การตอ นรับพระผมู ีพระภาคเจาแลว จึงเขา ไปเฝา .

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 15ไดย นิ วาทา นพระอนุรทุ ธะไดมคี วามดาํ ริอยางน้ีวา เรา ๓ คนอยูพรอมเพรียงกนั กจ็ ักไมมี เราจักพาเอามติ รเปนท่รี กั ไปทําการตอนรบั พระผูมีพระภาคเจาเปน ท่ีรักของเราฉันใด ก็เปน ทีร่ กั แมข องสหายของเราฉนั น้ัน ดังนี้ เปน ผูใครจะทําการตอนรับ พรอ มดวยปยมติ รเหลานัน้ จงึ ไมท าํ ดวยตนเอง เขาไปเฝาสวนอาจารยบางพวกกลา ววา ทางเปน ท่ีเสรจ็ มาของพระผมู พี ระภาคเจามีอยูในทส่ี ุดแหง ท่ีจงกรม ใกลป ระตูบรรณศาลาของพระเถระเหลานน้ัเพราะฉะน้ันพระเถระจงึ ไปใหสัญญาแกพระเถระเหลา นน้ั .บทวา อภิกฺกมถแปลวา มาทางนเ้ี ถิด. บทวา ปาเท ปกฺขาเลสิ ความวา พระเถระถือเอานํา้ สีแกวมณีดว ยมือดจุ ตาขายคลา ยประทมุ ที่แยม รดนํ้าทหี่ ลงั พระบาททัง้ ๒มีสดี จุ ทองคาํ ชาํ ระขดั สพี ระบาท ธุลมี ไิ ดตอ งพระวรกายของพระพุทธเจา .ถามวา เพราะเหตอุ ะไร จึงตองลาง. ตอบวา เพ่ือกาํ หนดฤดขู องพระวรกายและเพอ่ื ใหจ ิตของภิกษเุ หลานัน้ รา เริง จติ ของภิกษุเหลา น้ัน เอบิ อม่ิ ดวยโสมนัสอนั มกี าํ ลงั วา พระผูมพี ระภาคเจา ทรงลางพระบาทดว ยน้ําที่เรานาํ มาแลว ไดท รงทาํ การใชส อย ดังนี้ เพราะฉะนนั้ จงึ ลาง. บทวา อายสมฺ นตฺ  อนุรทุ ฺธ ภควา เอตทโวจ ความวา ไดยินทา นพระอนุรุทธะน้นั เปนผูแ กก วาภกิ ษุเหลานนั้ เมอ่ื ทาํ การสงเคราะหแ กทา นอนรุ ทุ ธะนนั้ เปนทําแกท านทเ่ี หลือดว ย เพราะฉะน้ัน พระผมู พี ระภาคเจาไดตรสั คําเปน ตนนีว้ า กจฺจิ โว อนุรุทฺธา ดังนี้ เพราะพระเถระองคเ ดยี ว.บรรดาบทเหลาน้นั บทวา กจฺจิ เปนนิบาต ลงในอรรถวา คาํ ถาม. บทวาโว เปน ฉัฏฐวี ภิ ัต.ิ มอี ธบิ ายวา พระผูมีพระภาคเจาตรัสถามถงึ ภิกขาจารวตั รวา ดกู อน อนรุ ุทธะ นนั ทิยะ กิมพลิ ะ พวกเธอพออดทนไดห รอื อิริยาบถของพวกเธอทนไดห รือ พอใหเปนไปไดห รอื พวกเธอพอยงั ชีวิตใหเปน คือสบื ตอ ไปหรือ ไมลาํ บากดวยกอนขา ว บิณฑบาตหรือ พวกเธอหากอ นขา วไดง ายหรอื พวกมนุษยเ ห็นพวกเธอมาพรอ มกันแลว จึงสําคญั ขา วยาคกู ระบวย

พระสตุ ตันตปฎก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 16หนง่ึ หรอื ภกิ ษาทพั พหี นง่ึ ทค่ี วรถวาย เพราะฉะน้ัน กผ็ ไู มลาํ บากดวยปจจยั สามารถบาํ เพญ็ สมณธรรมได หรอื วานเ้ี ปน วัตรของบรรพชติเม่อื เปนเชนนนั้ พระองคป ระทานคําตอบแลว เมื่อจะทรงถามถงึ สามคั คีรสวา ดกู อนอนุรุทธะ นันทยิ ะและกมิ พิละ พวกเธอเปน ราชบรรพชิต มีบญุ มากพวกมนุษยไมถวายแกพวกเธอผอู ยใู นปา แลว จกั สําคัญส่งิ ท่คี วรใหแกใครอื่นเลา ก็พวกเธอฉนั ของนี้แลว อยูย ัดเหยยี ดกนั และกนั เหมือนลูกเนื้อหรือหรือวา พวกเธอยังมคี วามพรอ มเพรียงกันอยู จงึ ตรัสคาํ เปนตน วา กจฺจิปน โว อนุรทุ ฺธา สมคฺคา ดังน.ี้ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา ตาขีโรทกภี ูตาความวา น้าํ นมและนาํ้ ผสมกันและกนั . ยอ มไมแยกกัน เขาถงึ ดุจเปน อนัเดียวกัน ตรสั ถามวา พวกเธออยูดวยความสามัคคีอยางน้.ี เหมอื นจติ ตุปบาทเขา ถงึ ความเปน อนั เดยี วกนั หรือ. บทวา ปยจกฺขูหิ ความวา จกั ษุคอืการเขาไปตง้ั เมตตาจติ มองดู ช่อื วา ปยจักษุ. ตรัสถามวา พวกเธอแลดูกันและกันดวยจักษเุ ห็นปานน้ั อยูห รือ. บทวา ตคฆฺ เปน นิบาตลงในอรรถวาสวนเดยี ว ดังทานกลา ววา มย ภนเฺ ต โดยสว นเดียว. บทวา ยถา ในบทวายถากถ ปน นีเ้ ปนเพียงนบิ าต. บทวา กถ แปลวา ถามถงึ เหตุ. มอี ธบิ ายวาพวกเธออยูกันอยา งน้ีไดอยา งไร คอื อยูดว ยเหตไุ ร พวกเธอจงบอกเหตุนั้นแกเราเถดิ . บทวา เมตฺต กายกมมฺ  ไดแ ก กายกรรมทีเ่ ปน ไปดวยอํานาจจิตเมตตา. บทวา อาวิ เจว รโห จ ไดแก ตอหนา และลบั หลัง. แมในบทนอกนี้ก็มนี ัยน้แี หละ. ในบทนน้ั กายกรรมและวจีกรรม ยอ มไดในการอยูรว มกันตอ หนานอกนี้ ยอมไดใ นการอยแู ยกกนั มโนกรรมไดใ นที่ทง้ั หมด จริงอยู เมือ่ อยูรวมกัน เตียงตงั่ กด็ ี ภัณฑะไมก ด็ ี ภณั ฑะดนิ ก็ดี อนั ใดที่คนหนึ่งเก็บไวไ มดีในภายนอก เหน็ ส่ิงนัน้ ไมทาํ ความดูหมิ่นวา ส่ิงน้ีใครใชแ ลว ถอื เอามาเก็บไวเ หมือนทีต่ นเก็บไวไ มดี ก็หรือวา ประคับประคองฐานท่คี วรประดบั ประคอง

พระสตุ ตันตปฎก มัชฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 17ชื่อวาเมตตากายกรรมตอ หนา. เมือ่ คนหนงึ่ หลกี ไป เกบ็ เสนาะบริขารทเี่ ขาเก็บไวไมด ี หรือวา เฝาทด่ี ทู ่คี วรเฝา ชือ่ วาเมตตากายกรรมลบั หลัง. เมือ่ อยูรว มกนั ช่อื วา เมตตาวจีกรรมตอหนา ยอมมีในการทาํ มีอาทอิ ยา งนวี้ าสัมโมทนีกถาอันไพเราะ ปฏิสันถาร สาราณียกถา ธรรมกถา สรภญั ญะถามปญ หาตอบปญ หากับพระเถระทง้ั หลาย. ก็เมื่อพระเถระหลีกไปกลา ว มอี าทวิ า พระนนั ทิเถระ พระกิมพลิ เถระ เปน สหายที่รกั ของเรา ถึงพรอมดวยศลี อยา งนี้ ถึงพรอมดว ยอาจาระอยางน้ี ชอ่ื วา เมตตาวจกี รรมลบั หลัง. ก็เมื่อประมวลมาอยา งน้วี า ขอพระนันทิยเถระ กมิ พิลเถระผูเปน ปยมติ รของเรา จงเปนผไู มม ีเวร จงเปนไมเ บยี ดเบียน จงเปนผูมีความสขุ เถดิ ดังน้ีช่อื วา เมตตามโนกรรมท้ังตอ หนา ท้งั ลับหลงั บทวา นานา หิ โข โน ภนฺเต กายา ความวา ใคร ๆ ไมอาจทาํ กายใหรวมกนั ได เหมอื นขยาํ แปง และดนิ เหนยี ว. บทวา อกฺจ ปน มเฺ จิตตฺ ทานแสดงวา สว นจิตของพวกขา พระองค ชือ่ วา เปนอยางเดยี วกนั เพราะอรรถวา รวมกนั ไมข าดสูญ ไมปราศจากกัน พรอ มเพรยี งกัน ถามวากภ็ ิกษุเหลา นน้ั เก็บจติ ของตน ประพฤติตามอํานาจจิตของทา น นอกนี้อยา งไร. ตอบวา สนิมข้ึนในบาตรของภิกษุรูปหนง่ึ จวี รของภิกษรุ ปู หน่ึงเศรา หมอง บรภิ ัณฑกรรมยอมมีแกภ ิกษรุ ปู หน่ึง. บรรดาภกิ ษเุ หลา น้นัสนิมข้นึ ที่บาตรของผใู ด เม่อื ผนู ้นั บอกวา ดูกอ นผูม ีอายุ สนมิ ขน้ึ ท่บี าตรของผมควรสมุ ดงั น้ี พวกนอกนี้ ไมพ ูดวา จวี รของผมเศราหมอง ควรซัก เครอ่ื งใชของผมควรกระทํา ดงั นี้แลว เขา ปานาํ ฟน มาตัดเปนทอนไวบ นบาตรสมุ บาตรแลว ตอมาก็ซักจวี รบาง ทําของใชบ าง. เมอ่ื รปู ใดรปู หน่งึ บอกกอ นวา ดกู อนผูม อี ายุ จวี รของผมเศราหมองควรซกั บรรณศาลาของผมทรดุ -โทรมควรซอ มใหม ดงั น้ี มีนยั เหมอื นกนั . บทวา สาธุ สาธุ อนรุ ุทธฺ าความวา เม่อื ภกิ ษุกราบทูลในหนหลงั วา ขาแตพ ระองคผ เู จริญ พวกขา พระองค

พระสตุ ตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 18ไมล าํ บากดวยบณิ ฑบาต ดงั น้ี พระผมู พี ระภาคเจาไมป ระทานสาธุการ.ถามวา เพราะเหตไุ ร. ตอบวา เพราะชอ่ื วา กวฬิงการาหารนี้ ของสัตวเหลา นปี้ ระพฤติกันมาเปน อาจิณ สวนโลกสันนิวาสน้ี ขัดแยงกนั โดยมาก.สตั วเหลา นผ้ี ิดใจกัน ทง้ั ในอบายโลก ทั้งในเทวดาและมนุษยโลก เวลาทสี่ ตั วเหลา น้นั พรอ มเพรียงกนั หาไดยาก มไี ดบ างคราวเทาน้นั เหตดุ งั นน้ั พระ-ผมู พี ระภาคเจาไดป ระทานสาธกุ ารในที่นี้ เพราะการอยพู รอมเพรียงกันหาไดยาก บัดนี้ เม่อื ตรสั ถามลกั ษณะความไมป ระมาทของภิกษุเหลานน้ั จึงตรสั คาํ เปนตนวา กจฺจิ ปน โว อนุรทุ ธฺ า. บรรดาบทเหลาน้ัน บทวาโว เปน เพียงนิบาต อีกอยางหนึ่ง เปน ปฐมาวภิ ัติ ความวา กจฺจิ ตมุ เฺ หดงั น้.ี บทวา อมหฺ าก คือ ในพวกเรา ๓ คน. บทวา ปณ ฺฑาย ปฏิกฺกมติความวา เทย่ี วไปบณิ ฑบาตในหมูบา น ภายหลงั . บทวา อวกกฺ การปาตึความวา ทง้ิ บิณฑบาตทเ่ี หลอื เสีย ลางสาํ รับๆหนงึ่ ตงั้ ไวเพือ่ เกบ็ ไว. บทวาโย ปจฺฉา ความวา ไดยนิ วา พระเถระเหลา นนั้ เขาไปภิกขาจารไมพ รอ มกนั .ก็พระเถระเหลา น้ันออกจากผลสมาบตั ชิ าํ ระรางกาย แตเชาตรบู ําเพญ็ขอปฏิบัติ เขาไปยังเสนาสนะ กําหนดเวลานั่งเขา ผลสมาบตั ิ บรรดาพระเถระเหลา นัน้ รูปใดที่นั่งกอ นลุกขน้ึ กอน ดว ย การกําหนดเวลาของตน รปู น้นัเทยี่ วบณิ ฑบาตกลบั มาทฉี่ ันอาหาร ยอมรูวา ภกิ ษุ ๒ รูปมาภายหลังเรามากอ น เมอ่ื เปน เชน น้ัน จัดบาตร ปอู าสนะเปน ตน ถาในบาตรมีพอดีเธอก็นัง่ ฉนั ถา มีเหลอื ใสไ วใ นถาดสาํ รับ ปดถาดไวฉัน ทาํ ภตั ตกจิ เสร็จแลวลางบาตร เชด็ ใหน ํ้าหมดใสไวใ นถงุ เกบ็ อาสนะ ถอื บาตรและจีวร เขาไปสูทพ่ี ักของตน. แมรปู ที่ ๒ มาแลว ยอ มรไู ดวา รปู หน่ึงมากอน รปู หนึ่งภายหลงัถา ในบาตรมีภตั พอประมาณ เธอกฉ็ นั ถา มีนอ ยถือเอาจากสาํ รับแลวฉัน ถามเี หลอื ใสไวใ นสํารบั ฉันแตพ อประมาณขา ไปสทู ่พี ักเหมือนพระเถระ

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 19รูปกอ น. แมรปู ที่ ๓ มาแลว ยอ มรูวา สองรปู มากอ น เรามาภายหลังแมเ ธอทาํ ภัตตกจิ เสรจ็ เหมือนพระเถระรูปที่ ๒ ก็ลา งบาตร เช็ดใหนํ้าหมดใสไวใ นถุง ยกอาสนะขึน้ เก็บไว เทน้าํ ท่ีเหลือในหมอ นํา้ ด่ืมหรอื ในหมอน้าํ ใชแลวควํ่าหมอ ถา มภี ตั เหลอื อยใู นสํารับ นําภัตนั้นไปโดยนัยอนั กลาวแลวลางถาดเกบ็ กวาดโรงฉัน. ตอมาเทหยากเยอ่ื ยกไมก วาดขนึ้ เก็บในสถานทีพ่ นจากปลวก ถือบาตรและจวี รเขา ไปทพ่ี ัก น้ีเปน วัตรในโรงฉันในท่ที าํ ภตั ตกจิในปา ภายนอกวหิ าร ของพระเถระทง้ั หลาย ทรงหมายถงึ ขอนี้ จึงตรัสคาํ เปน ตนวา โย ปจฺฉา ดงั น.ี้ สว นคําเปนตน วา โย ปสสฺ ติ พงึ ทราบวา เปน วัตร ภายในวหิ ารของพระเถระทงั้ หลาย. บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา วจฺจฆฏ แปลวาหมอ ชาํ ระ.บทวา ริตตฺ  คือวางเปลา . บทวา ตจุ ฉฺ ก เปนไวพจนของบทวา รติ ตฺ  นนั้ แหละ.บทวา อวิสยหฺ  ไดแก ไมอาจจะยกขึน้ ไดคอื หมกั มาก. บทวา หตถฺ วกิ าเรนคอื ดว ยสัญญาณมือ ไดยินวา พระเถระเหลานั้นถือหมอน้ําอยา งใดอยา งหนึ่งมีหมอนา้ํ ดืม่ เปน ตนไปสระโบกขรณี ลางภายในและภายนอกแลว กรองนาํ้ ใสวางไวร ิมฝง เรียกภกิ ษรุ ูปอืน่ มาดวยวิการแหงมอื ไมสง เสยี งเจาะจงหรือไมเจาะจง ถามวา เพราะเหตุไรไมส งเสียงเจาะจง. ตอบวา เสียง พึงรบกวนภกิ ษุนัน้ . ถามวา เพราะเหตุไร สงเสียงไมเจาะจง ตอบวา เมอ่ื ใหเสียงไมเ จาะจง ภิกษุ ๒ รปู พงึ ออกไปดวยเขา ใจวา เรากอน เรากอนดงั นี.้ ตอ จากนนั้ ในการงาน ๒ รปู พึงทาํ รูปที่ ๓ พึงวางงาน เธอเปน ผูสาํ รวมเสยี ง ไปใกลท่ีพกั กลางวันของภกิ ษรุ ปู หนึ่ง รูวาเธอเหน็ แลวทาํสัญญาณมอื ภิกษุนอกนยี้ อมมาดว ยสญั ญาณนน้ั ตอ นน้ั ชนทั้งสองเอามอืประสานกนั ลกุ ข้ึนวางบนมือท้ังสอง พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรัสหมายเอาขอน้ันวา หตฺถวกิ าเรน ทตุ ยิ  อามนฺเตตฺวา หตถฺ วลิ งฺฆิเกน อุฏเ ปม ดงั นี.้บทวา ปฺจาหกิ  โข ปน ความวา คาํ น้วี า ในวนั ๑๔ ค่าํ วัน ๑๕ คาํ่ ดิถีท่ี ๘ คา่ํ

พระสตุ ตันตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 20เปน วันธัมมสั สวนะตามปกติกอน พระเถระทั้ง ๒ รูปอาบนํา้ ในเวลายงั ไมมืดมากนัก ทุกๆวัน ทาํ ขอ น้นั ไมใ หข าด ยอ มไปยังที่พักของพระอนรุ ทุ ธเถระ.พระเถระแมท้งั ๓ รูป นัง่ ณ ทน่ี ั้น ถามปญ หาตอบปญหา กันและกนั ในพระไตรปฎ ก ปฎกใดปฎ กหนึ่ง เม่อื พระเถระเหลา นน้ั กระทาํ อยูอยา งนี้จนอรณุ ข้ึน. บทวา กจฺจิ ปน โว อนรุ ุทธฺ า อปฺปมตฺตา อาตาปโ น ปหิตตฺตา วิหรถนี้ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั หมายถงึ ขอนัน้ . พระเถระถกู พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสถามลักษณะของความไมประมาทแลวตอบลักษณะของความไมประมาทถวายในทีต่ ัง้ แหง ความประมาทดวยคํามีประมาณเทา นี้วา คอื เวลาเขา ไปทีภ่ ิกขาจาร เวลาออกไป การนงุสบง การหม จวี ร การเท่ยี วไปเพ่อื บณิ ฑบาต ภายในหมบู า น ธรรมกถาอนโุ มทนา การออกจากหมูบานแลว ทําภัตตกจิ การลางบาตร เกบ็บาตรและจีวรใหเ รียบรอย เหลานเ้ี ปน ทีท่ าํ ใหเ นนิ่ ชา สาํ หรับ ภกิ ษุเหลาอน่ื เพราะฉะน้นั พระเถระเม่ือแสดงวา ขึ้นชือ่ วา เวลาประมาทยอ มไมม แี กเ รา เพราะปลอยที่ประมาณเทานี้ไดแลว จึงตอบลักษณะของความไมประมาทถวายในท่ีต้งั แหงความประมาท ลําดับนน้ั พระผมู พี ระภาคเจา ประทานสาธุการแกพ ระเถระนัน้ แลวเมื่อจะตรัสถามปฐมฌานจงึ ตรสั อีกวา อตถฺ ิ ปน โว ดงั น้ี เปน ตน. บรรดาบทเหลานนั้ บทวา อุตตฺ ริมนสุ สธมมฺ า คอื ธรรมอนั ยง่ิ กวา ธรรมของมนษุ ย.บทวา อลมริยาณทสฺสนวิเสโส ไดแก คณุ วเิ ศษคือญาณทัสสนะ สามารถทาํ ความเปน พระอริยะบทวา กึ หิ โน สยิ า ภนฺเต ความวา เพราะเหตุไรคุณวิเศษที่บรรลุแลว จักไมบรรลเุ ลา .บทวา ยาวเทว คือ เพยี งใดนั่นเอง.เมือ่ การบรรลปุ ฐมฌานทีพ่ ระเถระตอบช้ีแจงแลว อยา งน้ี พระผูม ีพระภาค-เจาเมอื่ ตรสั ถามทุตฌิ านเปนตน จึงตรัสวา เอตสฺ ส ปน โว ดังน้.ี บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา สมตกิ ฺกมาย คือ เพ่ือความกา วลว ง.บทวา ปฏปิ สสฺ ทธฺ ิยา

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 21คือ เพ่อื ความสงบระงบั . ทีเ่ หลอื พงึ ทราบโดยนัยทีก่ ลา วแลว ในบททั้งปวง.สวนในปญ หาสดุ ทา ย เมื่อตรัสถานนโิ รธสมาบตั ิท่ีไดบรรลดุ ว ยอาํ นาจโลกตุ ตรญาณทสั สนะ จึงตรัสวา อลมรยิ าณทสฺสนวเิ สโส ดงั น.ี้ พระเถระ.ตอบช้ีแจง ตามสมควรแกก ารถาม. ในขอน้นั พระเถระกลา ววา เพราะความสุขทไี่ มไดเสวย สงบกวา ประณตี กวา ความสขุ ท่ีเสวยแลว ฉะน้นั พวกขา พระองคยังพจิ ารณาไมเหน็ ผาสกุ วิหารอน่ื ท่ียิง่ กวา ประณตี กวา เลย.บทวา ธมมฺ ิยา กถาย ความวา ภิกษแุ มท ั้งปวง สาํ เร็จกจิ ในสจั จะท้งั ๔ดว ยธรรมกถา ประกอบดว ยอานิสงสแหง สามคั คีรส ไมมีคําอะไรที่ทา นจะพงึ กลาวเพื่อประโยชนแกก ารบรรลสุ ัจจะเหลาน้ัน สว นพระผมู ีพระภาคเจาตรสั อานสิ งสแ หง สามคั คีรสแกภิกษเุ หลา นั้นวา นเ้ี ปน อานสิ งสแ ละนี้เปนอานิสงสด ังนี้ดวยสามคั ครี ส. บทวา ภควนฺต อนุสาเรตวฺ า คือ ตามเสด็จ.ไดย นิ วา พวกภิกษเุ หลา นั้น รบั บาตรและจวี รของพระผูมีพระภาคเจา ไดไปหนอยหนง่ึ . ในเวลาทภี่ ิกษุเหลาน้นั ไปสงเสด็จถงึ ท่ีสดุ บริเวณแหง วหิ ารพระผูมีพระภาคเจาจงึ ตรสั วา เอาบาตรและจวี รของเรามาเถิด พวกเธอจงอยูในท่ีน้ี แลว ทรงหลีกไป. บทวา ตโต ปฏนิ ิวตตฺ ิตวฺ า ไดแ ก กลับจากที่ไปแลว.บทวา กนิ ฺนุ โข มย อายสมฺ โต ความวา ภกิ ษทุ ั้งหลาย อาศัยพระผมู ีพระภาคเจา บรรลุคุณมบี รรพชาเปนตน แลว ก็รงั เกียจดว ยการกลาวคุณของตน กลา วแลว เพราะเปนผูป รารถนานอยในมรรคผลทบ่ี รรลุ. บทวาอมิ าสจฺ อิมาสฺจ ไดแก โลกยิ ะและโลกตุ ตรธรรม มีปฐมฌานเปนตน.บทวา เจตสา เจโต ปรจิ ฺจ วิทิโต ความวา พระเถระกาํ หนดจิตดว ยจิตแลวรูอยา งนี้วา วนั นท้ี า นผมู อี ายุ ของเรายงั เวลาใหล วงไปดว ยโลกิจสมาบัติวันน้ยี งั เวลาใหล ว งไปดว ยโลกตุ ตรสมาบัติ. บทวา เทวตาป เม ความวาแมพ วกเทพดาบอกอยา งนวี้ า ขา แตท า นผูเจรญิ อนุรุทธะวนั น้ี พระนันทิยเถระผูเปนเจา ยงั เวลาใหล วงไปดว ยสมาบัติน้ี วนั นี้ พระกมิ พลิ เถระผเู ปน เจา

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 22ยงั เวลาใหล วงไปดว ยสมาบัตินี้ บทวา ปหฺ าภิปุฏเน ความวา เราเตรยี มปากไวดวยเหตมุ ีประมาณเทา น้วี า ขอแมน น้ั เรารแู ลว ดว ยตนเอง หรือเทพดาบอก ดังน.ี้ ยกถอยคําที่ยังไมถาม กไ็ มก ลา วถาม. สว นพระผมู ีพระภาคเจาถูกถามปญ หาคือ ถกู ถามปญ หาอยู ทรงตอบชแ้ี จงพระองคจึงตรัสวา พวกเธอยงั ไมช อบใจในขอ นนั้ หรือ. บทวา ทโี ฆ มาแลวในคาถาอยา งน้วี า มณิ มานจิ โร ทโี ฆ อโถเสรีสโก สห เปนเทวราชองคห นึ่ง ในจาํ นวนยักษเ สนาบดี ๒๘ องคผูถ กู ถาม. บทวา ปรชโน เปนชอ่ื ของยักษน ั้น. บทวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิความวา ไดยินวา ยักษน น้ั ถกู ทา วเวสสวัณสงไปแลว เมอื่ ไปยังที่แหงหน่งึเหน็ พระผมู พี ระภาคเจาทรงถอื บาตรและจวี รดวยพระองคเ อง ออกจากที่พัก สรางดวยอิฐระหวา งปาโคสงิ คสาลวัน คดิ วา พระผมู พี ระภาคเจาทรงถอื บาตรและจวี รดว ยพระองค เสด็จไปสาํ นักของกลุ บตุ รทง้ั ๓ ในปาโคสิงคสาลวนั พระธรรมเทศนาจกั มีมากในวันน้ี แมเราพึงเปน ผูมสี วนแหงเทศนานน้ั เดินตามรอยพระบาทของพระศาสดา ดวยกายทป่ี รากฏ ยนื ฟงธรรมในทไี่ มไกล เมือ่ พระศาสดาเสดจ็ ไป ก็ไมไ ป ยนื อยู ณ ท่ีน้นั เพื่อจะดูวา พระเถระเหลา นน้ั จกั ทาํ อะไรกัน ดังนี้ ในขณะน้ันเห็นพระเถระทั้งสองรปู นนั้ หว งใยพระอนรุ ุทธเถระ คิดวา พระเถระเหลานอี้ าศัยพระผูม ีพระภาคเจา บรรลคุ ณุ ทง้ั ปวงมีบรรพชาเปนตน ตระหนตี่ อ พระผูมีพระภาคเจาไมกลา ซอ นเรนเหลอื เกนิ ปกปด บัดน้เี ราจักไมใ หท านปกปด เราจักประกาศคุณของพระเถระเหลา นั้นแตแผนดิน จนถึงพรหมโลก. จงึ เขา ไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงทป่ี ระทบั . บทวา ลาภา ภนฺเต ความวา ขาแตพ ระองคผูเจรญิ คนชาวแควนวชั ชี ยอมไดเฝาพระผมู ีพระภาคเจา และไดเห็นกลุ บตุ รท้ัง ๓ เหลา นี้ ยอ มไดถวายบังคม ถวายไทยธรรม ขา แตพระองคผ ูเจรญิ เปนลาภของชาววชั ชีเหลานั้น. บทวา สททฺ  สตุ วฺ า ความวา ไดยนิ วา ยักษนน้ั สง

พระสตุ ตันตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 23เสยี งดังดวยอานุภาพแหงยกั ษ เปลง วาจานั้นครอบแควนวชั ชีท้งั ส้นิ .เพราะเหตนุ ั้น ภุมมเทวดาท่สี ถิตอยทู ีต่ นไมและภูเขาเปนตน เหลานั้นๆไดย ินเสียงของยักษนนั้ . ทานหมายเอาขอนัน้ กลาววา สททฺ  สตุ ฺวา ดังน้ี.บทวา อนสุ ฺสาเวสุ ไดแ ก ไดย นิ เสียงดังแลว ปา วรอ งไป. ในบทท้ังปวงมนี ัยน้ีบทวา ยาว พฺรหฺมโลกา ไดแ ก จนถงึ อกนิฏฐพรหมโลก. บทวา ตเฺ จปกุล ความวา พึงทราบเนอ้ื ความในบททั้งปวงอยา งน้วี า กลุ บตุ รเหลานอี้ อกจากตระกลู ของเราบวชแลว มีศลี มีคุณ ถึงพรอ มดวยอาจาระ มีกลั ยาณ-ธรรมอยา งน้ี ถาตระกูลน้ัน มีจติ เล่ือมใส พึงระลกึ ถงึ กุลบตุ รทั้ง ๓ เหลาน้ันอยางน้ี. พระผูม พี ระภาคเจา ทรงจบพระธรรมเทศนาดว ยอนสุ นธิ ดวยประการฉะน้ีแล. จบอรรถกถาจฬู โคสิงคสาลสตู รที่ ๑.

พระสตุ ตันตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 24 ๒. มหาโคสิงคสาลสูตร [๓๖๙] ขาพเจาไดสดับมาอยา งน้ี :- สมัยหน่ึง พระผมู พี ระภาคเจา ประทับอยูท ี่ปา โคสงิ คสาลวัน พรอ มดวยพระสาวกผูเถระซง่ึ มีชอื่ เสยี งมากรปู คอื ทานพระสารีบตุ ร ทา นพระ-มหาโมคคัลลานะ ทานพระมหากสั สปะ ทา นพระอนุรุทธะ ทานพระเรวตะทา นพระอานนท และพระสาวกผเู ถระ ซึง่ มีช่อื เสยี งอื่นๆ. คร้ังน้ัน ทา นพระมหาโมคคลั ลานะ ออกจากทห่ี ลีกเรนในเวลาเยน็ เขา ไปหาทานพระมหากัสสปะ ครัน้ แลว ไดกลา ววา มาไปกันเถิดทา นกัสสปะ เราจกั เขา ไปหาทา นพระสารีบุตรเพอ่ื ฟง ธรรม ทานพระมหา-กัสสปะรบั คําทานพระมหาโมคคัลลานะแลว ลาํ ดบั นั้น ทา นพระมหาโมค-คลั ลานะ ทา นพระมหากสั สปะ และทา นพระอนรุ ุทธะ เขา ไปหาทานพระ-สารบี ุตร เพื่อฟง ธรรม ทา นพระอานนทไ ดเ หน็ ทา นพระมหาโมคคลั ลานะทา นพระมหากสั สปะ และทา นพระอนุรุทธะ เขาไปหาทา นพระ-สารบี ุตร เพอื่ ฟง ธรรม คร้นั แลว จงึ เขาไปหาทานพระเรวตะ แลว กลาววาทานเรวตะ ทา นสัตบรุ ษุ พวกโนน กําลงั เขาไปหาทา นพระเรวตะ เพอ่ื ฟงธรรม มาไปกนั เถิด ทานเรวตะ เราจักเขาไปหาทา นพระสารีบุตร เพ่อื ฟงธรรม ทา นพระเรวตะรับคําทา นพระอานนทแลว ลําดับน้นั ทา นพระเรวตะและทา นพระอานนทเ ขาไปหาทานพระสารีบตุ ร เพอ่ื ฟงธรรม. [๓๗๐] ทานพระสารบี ตุ ร ไดเ หน็ ทานพระเรวตะและทานพระอานนทกาํ ลังเดนิ มาแตไ กล ครน้ั แลว ไดกลา วกะทานพระอานนทวา ทานอานนทจงมาเถิด ทา นอานนทผ เู ปน อุปฏ ฐากของพระผมู ีพระภาคเจา ผูอยูใ กลพ ระผมู ีพระภาคเจา มาดีแลว ทา นอานนท ปาโคสงิ คสาลวันเปน สถานนารนื่ รมย

พระสุตตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 25ราตรีแจม กระจาง ไมส าละมดี อกบานสะพรัง่ ท่วั ตน กลนิ่ คลา ยทพิ ย ยอ มฟงุไป ทานอานนท ปา โคสงิ คสาลวัน จะพงึ งามดวยภกิ ษุเห็นปานไร. ทา นพระอานนตอบวา ทานสารบี ุตร ภกิ ษุในพระศาสนานเ้ี ปนพหูสูต เปนผทู รงสุตะสงั่ สมสตุ ะ ธรรมเหลาน้นั ใด งามในเบือ้ งตน งามในทา มกลาง งามในท่ีสุด พรอมทั้งอรรถ พรอ มทงั้ พยัญชนะ ประกาศพรหม-จรรยบรสิ ทุ ธ์ิ บริบรู ณสนิ้ เชิง ธรรมเห็นปานนั้น อันภกิ ษนุ ้นั สดบั มากแลว ทรงไวแลว ส่งั สมดว ยวาจา ตามเพงดว ยใจ แทงตลอดดแี ลว ดว ยความเห็น ภกิ ษุน้นั แสดงธรรมแกบรษิ ทั ๔ ดว ยบทและพยัญชนะอนั ราบเรยี บไมขาดสาย เพอื่ ถอนเสยี ซงึ่ อนสุ ยั ทานสารีบุตร ปาโคสิงคสาลวัน พึงงามดวยภกิ ษเุ ห็นปานนีแ้ ล. [๓๗๑] เมอื่ ทานพระอานนทก ลา วอยา งนีแ้ ลว ทานพระสารีบุตรไดก ลา วกะทา นพระเรวตะวา ทานเรวตะ ปฏิภาณตามที่เปน ของตน ทานอานนทพยากรณแ ลว บัดนี้ เราขอถามเรวตะในขอ นนั้ วา ปาโคสงิ คสาลวนัเปนสถานนารน่ื รมย ราตรแี จม กระจาง ไมสาละมดี อกบานสะพรั่งทวั่ตน กลิน่ คลายทพิ ยย อ มฟงุ ไป ทา นเรวตะ ปา โคสิงคสาลวนั จะพึงงามดวยภกิ ษเุ หน็ ปานไร. ทา นพระเรวะตอบวา ทา นสารีบตุ ร ภิกษุในพระศาสนานี้ เปนผูม ีความหลีกเรน เปน ทม่ี ายินดี ยนิ ดแี ลว ในความหลีกเรน ประกอบเนืองๆซึ่งเจโตสมถะอันเปนภายใน มีฌานอนั ไมห างเหนิ แลว ประกอบดวยวิปสนาพอกพนู สุญญาคาร ทา นสารีบตุ ร ปา โคสิงคสาลวนั พึงงามดว ยภิกษุเห็นปานนแี้ ล.

พระสุตตนั ตปฎก มัชฌิมนกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 26 สรรเสริญทพิ ยจกั ษุ [๓๗๒] เมอื่ ทา นพระเรวตะกลาวอยา งนแ้ี ลว ทา นพระสารบี ตุ รไดกลาวกะทา นพระอนุรทุ ธะวา ทา นอนรุ ุทธะปฏิภาณตามที่เปนของตน ทานเรวตะพยากรณแ ลว บัดน้ี เราขอถามทานอนุโทธะในขอ นน้ั วาปา โคสิงคสาลวันปน สถานนารืน่ รมย ราตรแี จม กระจาง ไมสาละมีดอกบานสะพรัง่ ท่วั ตน กลิ่นคลา ยทพิ ย ยอ มฟุง ไป ทานอนรุ ุทธะ ปา โคสงิ คสาลวันจะพงึ งามดวยภิกษเุ ห็นปานไร. ทา นอนุรุทธะตอบวา ทา นสารีบตุ ร ภกิ ษใุ นพระศาสนาน้ี ยอ มตรวจดูโลกพนั หนึง่ ดว ยทิพยจักษอุ ันบริสุทธิ์ ลวงจกั ษขุ องมนษุ ย เปรียบเหมือนบรุ ษุ ผมู จี กั ษุขนึ้ ปราสาทอนั งดงามชัน้ บน พงึ แลดมู ณฑลแหงกงต้งั พนั ไดฉ นัใด ภิกษุกฉ็ ันน้ันเหมือนกนั ยอมตรวจดโู ลกพันหนึ่งดว ยทพิ ยจักษุอนั บริสุทธิ์ลว งจักษขุ องมนษุ ย ทา นสารบี ตุ ร ปาโคสงิ คสาลวนั พงึ งามดว ยภกิ ษเุ หน็ปานนีแ้ ล. [๓๗๓] เม่ือทานพระอนุรทุ ธะกลา วอยา งนแ้ี ลว ทา นพระสารีบตุ รไดกลา วกะทานพระมหากัสสปะวา ทานกัสสปะปฏิภาณตามทเี่ ปน ของตนทานอนุรุธทธะพยากรณแ ลว บัดนี้ เราขอถามทานมหากสั สปะในขอน้ันวา ปาโคสิงคสาลวันเปน สถานนารืน่ รมย ราตรีแจมกระจาง ไมส าละมดี อกบานสะพร่ังทัว่ ตน กล่ินคลายทิพยย อ มฟุงไป ทา นกัสสปะ ปา โคสิงค-สาลวนั จะพึงงามดว ยภกิ ษุเห็นปานไร. ทานพระมหากสั สปะตอบวา ทา นสารีบตุ ร ภิกษใุ นพระศาสนาน้ีตนเองอยใู นปาเปน วัตร และกลา วสรรเสริญคุณแหง ความเปนผูอ ยูในปา เปนวตั รดว ย ตนเองเท่ยี วบิณฑบาตเปนวัตร และกลาวสรรเสริญคุณแหง ความเปนผเู ทย่ี วบิณฑบาตเปน วตั รดวย ตนเองถือผาบังสกุ ลุ เปนวัตร และกลาว

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 27สรรเสรญิ คุณแหง ความเปนผถู อื ผา บงั สุกลุ เปนวตั ร ตนเองถือไตรจวี รเปนวตั รและกลา วสรรเสรญิ คณุ แหงความเปน ผูถือไตรจีวรเปนวตั รดว ย ตนเองเปนผมู คี วามปรารถนานอย และกลา วสรรเสรญิ คุณแหงความเปน ผูม คี วามปรารถนานอ ยดว ย ตนเองเปนผูสันโดษ และกลา วสรรเสรญิ คณุ แหง สันโดษดวย ตนเองเปน ผสู งดั และกลาวสรรเสรญิ คณุ แหง ความสงดั ดว ย ตนเองเปนผูไมค ลุกคลี และกลา วสรรเสรญิ คณุ แหงความไมคลุกคลดี ว ย ตนเองเปนผปู รารภความเพียร และกลาวสรรเสริญคณุ แหงการปรารภความเพียรดวย ตนเองเปนผถู ึงพรอมดว ยศลี และกลาวสรรเสริญคณุ แหง ความถงึพรอ มดว ยศลี ดว ย ตนเองเปน ผถู ึงพรอ มดว ยสมาธิ และกลา วสรรเสรญิ คณุแหง ความถึงพรอมดว ยสมาธดิ วย ตนเองเปน ผถู งึ พรอมดวยปญญา และกลา วสรรเสรญิ คณุ แหง ความถงึ พรอมดว ยปญ ญาดว ย ตนเองเปนผูถงึ พรอ มดวยวิมตุ ติ และกลาวสรรเสริญคณุ แหงความถงึ พรอ มวมิ ุตตดิ ว ย ตนเองเปน ผูพรอ มดวยวิมตุ ติญาณทสั สนะ และกลา วสรรเสรญิ คุณแหง ความถึงพรอ มดวยวมิ ตุ ติญาณทสั สนะดว ย ทานสารีบุตร ปาโคสงิ คสาลวัน พึงงามดวยภกิ ษุเหน็ ปานน้ีแล. [๓๗๔] เม่ือทา นพระมหากัสสปะกลาวอยางน้แี ลว ทา นพระสารบี ตุ รไดก ลาวกะทานพระมหาโมคคัลลานะวา ทา นโมคคัลลานะ ปฏภิ าณตามที่เปน ของตน ทานมหากัสสปะพยากรณแ ลว บัดน้ี เราจะขอถามทานมหาโมค-คัลลานะในขอนัน้ วา ปาโคสงิ คสาลวนั เปน สถานนา รืน่ รมย ราตรีแจมกระจาง ไมสาละมีดอกบานสะพรั่งทัง้ ตน กลน่ิ คลา ยทิพย ยอมฟงุ ไป ทา นโมคคัลลานะ ปา โคสิงคสาลวนั จะพงึ งามดวยภิกษุเชน ไร. ทานพระมหาโมคคลั สานะตอบวา ทา นสารีบุตร ภิกษุ ๒ รูป ในพระศาสนาน้ี กลา วอภธิ รรมกถา เธอทัง้ ๒ นนั้ ถามกันและกัน ถามปญ หากันแลว ยอ มแกกันเอง ไมหยุดพกั ดว ย และธรรมกถาของเธอทงั้ ๒ น้นั

พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 28ยอ มเปน ไปดว ย ทา นสารีบตุ ร ปา โคสิงคสาลวัน พึงงามดวยภิกษุเห็นปานนี้แล. สรรเสริญสมาบตั ิ [๓๗๕] ลาํ ดับนน้ั ทานพระมหาโมคคัลลานะ ไดก ลา วกะทานพระ-สารีบตุ รวา ทา นสารีบุตรปฏิภาณตามที่เปนของตน อันเราทงั้ หมดพยากรณแลว บัดน้ี เราจะขอถามทานสารบี ตุ ร ในขอนั้นวา ปา โคสิงคสาลวนั เปนสถานนารื่นรมย ราตรีแจม กระจาง ไมส าละมดี อกบานสะพร่งั ท่ัวตน กลน่ิคลายทิพย ยอ มฟงุ ไป ทา นสารีบตุ รปาโคสงิ คสาลวนั จะพงึ งามดว ยภิกษุเหน็ ปานไร. ทา นพระสารบี ุตรตอบวา ทานโมคคัลลานะ ภกิ ษใุ นพระศาสนานี้ยังจิตใหเปนไปในอํานาจและไมเ ปน ไปตามอํานาจของจิต เธอหวังจะอยดู วยวิหารสมาบตั ิใดในเวลาเชา ก็อยูด ว ยวิหารสมาบัตนิ ้นั ไดในเวลาเชา หวังจะอยูดวยวหิ ารสมาบัตใิ ดในเวลาเทยี่ ง ก็อยูดว ยวิหารสมาบตั นิ ัน้ ไดในเวลาเท่ยี งหวังจะดวยวิหารสมาบัติใดในเวลาเย็น ก็อยูด ว ยวหิ ารสมาบัตนิ น้ั ไดใ นเวลาเยน็ เปรยี บเหมือนหบี ผาของพระราชา หรอื ราชอํามาตย ซึง่ เต็มดวยผาที่ยอ มแลวเปนสีตาง ๆ พระราชาหรอื ราชมหาอํามาตยน น้ั หวังจะหม คผู าชนิดใดในเวลาเชา ก็หม คูผ าชนดิ นั้นไดในเวลาเชา หวงั จะหม คูผา ชนดิ ใดในเวลาเทย่ี ง กห็ มคูผา ชนิดนนั้ ไดในเวลาเที่ยง หวังจะหมคผู า ชนิดใดในเวลาเย็น ก็หม คผู า ชนดิ น้นั ไดใ นเวลาเยน็ ฉันใด ภกิ ษุยงั จติ ใหเปนในอํานาจและไมเปน ไปตามอาํ นาจของจิต เธอหวังจะอยดู ว ยวิหารสมาบตั ิใดในเวลาเชา กอ็ ยดู วยวหิ ารสมาบัติน้ันไดใ นเวลาเชา หวังจะอยูดว ยวหิ ารสมาบตั ใิ ดในเวลาเท่ยี ง ก็อยดู วยวหิ ารสมาบัตนิ น้ั ไดในเวลาเทีย่ ง หวงั จะอยูด ว ยวหิ ารสมาบตั ิใดในเวลาเย็น กอ็ ยดู ว ยวหิ ารสมาบัตินั้นไดในเวลาเย็น ฉันนั้นเหมอื นกนัทานโมคคลั ลานะ ปาโคสิงคสาลวนั พงึ งามดวยภกิ ษุเห็นปานนแี้ ล.

พระสตุ ตันตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 29 สรรเสรญิ ความเปน พหูสตู [๓๗๖] ลําดับนนั้ ทา นพระสารบี ตุ ร ไดก ลา วกะทานผมู อี ายเุ หลาน้ันวา ทา นผมู อี ายทุ ัง้ หลายปฏิภาณตามที่เปนของตนๆ พวกเราทกุ รปู พยากรณแลว มาไปกันเถิด พวกเราจักเขา ไปเฝาพระผูมพี ระภาคเจายงั ทป่ี ระทบัครน้ั แลวจกั กราบทลู เน้อื ความน้ีแดพ ระผูมีพระภาคเจา พระผูมพี ระภาคเจาจักทรงพยากรณแกพวกเราอยางใด พวกเราจกั ทรงจาํ ขอ ความนนั้ ไวอ ยางนั้น ทานผูมีอายเุ หลา นั้นรับคาํ ทา นพระสารีบุตรแลว. ลาํ ดับน้นั ทานผูม อี ายเุ หลานนั้ เขา ไปเฝาพระผูมพี ระภาคเจาถงึทีป่ ระทบั ครนั้ แลว ถวายบังคมพระผมู พี ระภาคเจา นัง่ ณ ทีค่ วรสวนขา งหนึง่ แลว ทา นพระสารีบุตรไดก ราบทลู วา ขา แตพระองคผูเจรญิ ขอประทานพระวโรกาส ทา นพระเรวตะ ทา นพระอานนท เขา ไปหาขา พระองคถงึที่อยเู พอ่ื ฟง ธรรม ขา พระองคไ ดเ ห็นทานพระเรวตะและทา นพระอานนทกําลังเดินมาแตไ กล ครั้นแลวไดก ลา วกะทา นพระอานนทวา ทานอานนทจงมาเถิด ทานอานนทผ ูเปน อุปฏฐากของพระผูม พี ระภาคเจา ผอู ยูใกลพ ระผมู ีพระภาคเจา มาดแี ลว ทา นอานนท ปาโคสงิ คสาลวนั เปน สถานนารื่นรมย ราตรีแจมกระจา ง ไมส าละมดี อกบานสะพรง่ั ทั่วตน กลนิ่ คลายทพิ ยยอมฟงุ ไป ทา นอานนท ปา โคสิงคสาลวัน จะพงึ งามดว ยภิกษุเหน็ ปานไรเม่ือขาพระองคกลา วอยางนี้แลว ทา นพระอานนทไดต อบขาพระองคว าทานสารบี ุตร ภกิ ษใุ นพระศาสนานี้เปน พหูสตู เปนผูทรงสุตะสั่งสมสุตะธรรมเหลา ใด งามในเบอ้ื งตน งามในทา มกลาง งามในทสี่ ดุ พรอมทง้ั อรรถพรอ มท้งั พยัญชนะ. ประกาศพรหมจรรย บรสิ ทุ ธ์ิบริบูรณส น้ิ เชงิ ธรรมเหน็ ปานน้ัน อนั ภิกษุน้นั สดบั มากแลว ทรงไวแลว สง่ั สมดว ยวาจา ตามเพงดวยใจ แทงตลอดดแี ลว ดว ยความเห็น ภกิ ษนุ ัน้ แสดงธรรมแกบริษัท ๔

พระสตุ ตันตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 30ดว ยบทและพยัญชนะอันราบเรยี บไมข าดสายเพ่อื ถอนเสียซ่งึ อนุสัยทานสารบี ตุ รปาโคสิงคสาลวัน พึงงามดวยภกิ ษเุ หน็ ปานน้แี ล. พระผูม ีพระภาคเจา ตรสั วา ดลี ะ ดีละ สารบี ตุ ร อานนท เม่ือจะพยากรณโ ดยชอบ พงึ พยากรณตามนัน้ ดวยวา อานนทเปนพหสู ูต เปนผูทรงสตุ ะ สั่งสมสุตะ ธรรมเหลา ใด งามในเบื้องตน งามในทามกลาง งามในทสี่ ุดพรอ มทัง้ อรรถ พรอ มท้ังพยญั ชนะ ประกาศพรหมจรรยบ ริสทุ ธิ์บรบิ รู ณส นิ้ เชิง ธรรมเหน็ ปานนั้น อนั อานนทนน้ั สดบั มากแลว ทรงไวแลว สั่งสมดวยวาจา ตามเพง ดว ยใจ แทงตลอดดีแลวดวยความเห็น อานนทน้นั แสดงธรรมแกบ ริษัท ๔ ดวยบทและพยญั ชนะอันราบเรยี บไมข าดสายเพ่ือถอนเสียซึ่งอนุสยั . [๓๗๗] ขา แตพ ระองคผ ูเ จรญิ เมื่อทานพระอานนทก ลาวอยา งนีแ้ ลวขาพระองคไ ดกลา วกะทานพระเรวตะวา ทา นเรวตะ ปฏิภาณตามทีเ่ ปนของตน ทา นอานนทพยากรณแ ลว บัดนี้ เราขอถามทานเรวตะในขอน้นั วาปาโคสิงคสาลวัน เปนสถานนา รนื่ รมย ราตรีแจม กระจาง ไมสาละมดี อกบานสะพรงั่ ทัว่ ตน กลิ่นคลา ยทิพย ยอ มฟุงไป ทา นเรวตะ ปาโคสิงคสาลวันจะพงึ งามดว ยภกิ ษุเหน็ ปานไร เมื่อขา พระองคก ลาวอยางน้แี ลว ทา นพระเรวตะไดตอบขา พระองควา ทา นสารีบุตร ภิกษุในพระศาสนานี้เปน ผูมคี วามหลีกเรนเปน ท่ีมายินดี ยนิ ดีแลวในความหลีกเรนประกอบเนืองๆซ่ึงเจโตสมถะอันเปนภายใน มีฌานอันไมเ หนิ หาง ประกอบดวยวิปส สนาพอกพนู สุญญาคาร ทานสารบี ุตรปา โคสงิ คสาลวนั พงึ งามดว ยภิกษเุ ห็นปานนแ้ี ล. พระผูม พี ระภาคเจาตรัสวา ดลี ะ ดีละ สารบี ตุ ร เรวตะเมือ่ จะพยากรณโ ดยชอบ พึงพยากรณตามนัน้ ดวยเรวตะ เปน ผมู คี วามหลีกเรนเปน ท่มี ายนิ ดี ยนิ ดแี ลว ในความหลีกเรน ประกอบเนอื งๆ ซ่ึงเจโตสมถะอนั เปน

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 31ภายใน มีฌานอนั ไมเ หนิ หาง ประกอบดวยวปิ ส สนา พอกพนู สุญญาคาร. [๓๗๘] ขา แตพระองคผ ูเจริญ เมอ่ื ทานพระเรวตะกลาวอยา งน้ีแลวขาพระองคไ ดกลา วกะพระอนรุ ุทธะวา ทา นอนรุ ุทธะ ปฏิภาณตามท่เี ปน ของตน ทานเรวตะพยากรณแลว บดั นี้ เราขอถามทา นอนุรทุ ธะในขอนน้ั วาปาโคสิงคสาลวนั เปนสถานนา ร่นื รมย ราตรีแจม กระจา ง ไมสาละมดี อกบานสะพรง่ั ท่ัวตน กลน่ิ คลายทพิ ย ยอมฟงุ ไป ทา นอนรุ ทุ ธะ ปาโคสิงคสาลวนัจะพงึ งามดวยภิกษุเหน็ ปานไร เมือ่ ขา พระองคก ลาวอยา งนแี้ ลว ทานพระอนุรุทธะไดตอบขา พระองคว า ทานสารีบุตร ภิกษใุ นพระศาสนาน้ียอมตรวจดโู ลกพันหนึง่ ดวยทพิ ยจกั ษุอนั บรสิ ทุ ธิ์ ลว งจกั ษขุ องมนษุ ยเปรยี บเหมอื นบุรษุ ผมู จี กั ษุ ขึ้นปราสาทอนั งดงามชน้ั บน พึงแลดมู ณฑลแหงกงตัง้ พันได ฉนั ใด ภกิ ษกุ ็ฉนั นั้นเหมอื นกัน ยอมตรวจดโู ลกพันหนึ่งดว ยทิพยจกั ษุอันบริสทุ ธิ์ ลวงจกั ษุของมนษุ ย ทานสารบี ุตรปา โคสิงคสาลวนัพงึ งามดว ยภิกษเุ ห็นปานนแี้ ล. พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา ดลี ะ ดีละ สารีบตุ ร อนุรุทธะ เมื่อจะพยากรณโดยชอบ พึงพยากรณต ามนั้น ดวยวา อนุรุทธะ ยอ มตรวจดูโลกตงั้ พันดว ยทิพยจักษอุ ันบรสิ ทุ ธิ์ ลว งจักษขุ องมนษุ ย. สรรเสรญิ ภกิ ษุผูอ ยูปาเปนวัตร [๓๗๙] ขาแตพ ระองคผเู จรญิ เม่ือทานพระอนรุ ุทธะกลา วอยางนี้แลวขาพระองคไดกลา วกะทานพระมหากสั สปะวา ทา นกสั สปะ ปฏิภาณตามท่ีเปนของตน ทานพระอนรุ ุทธะพยากรณเลว บดั น้ี เราขอถามทานมหากัสสปะในขอ น้ันวา ปาโคสงิ คสาลวัน เปน สถานนา รน่ื รมย ราตรแี จมกระจา งไมส าละมดี อกบานสะพร่ังทั่วตน กลิ่นคลา ยทพิ ย ยอ มฟุงไป ทา นกัสสปะ

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 32ปา โคสงิ คสาลวนั พงึ งามดว ยภกิ ษเุ หน็ ปานไร เมอ่ื ขาพระองคก ลาวอยา งนี้แลว ทา นพระมหากสั สปะ. ไดตอบขาพระองคว า ทา นสารบี ตุ รภกิ ษใุ นพระศาสนาน้ี ตนเองอยใู นปา เปน วตั ร และกลา วสรรเสริญคุณแหงความเปน ผเู ท่ยี วบิณฑบาตเปน วัตรดว ย ตนเองถอื ผาบงั สกุลเปนวตั ร และกลาวสรรเสริญคุณแหงความเปนผถู ือผาบงั สกุลเปนวตั รดว ย ตนเองเปน ผถู อืไตรจีวรเปน วัตร และกลาวสรรเสริญคุณแหง ความเปนผถู อื ไตรจีวรเปน วตั รดว ย ตนเองเปนผูมคี วามปรารถนานอ ย และกลาวสรรเสรญิ คณุ แหง ความเปนผมู ีความปรารถนานอยดวย ตนเองเปน ผสู ันโดษ และกลา วสรรเสรญิคณุ แหงความสนั โดษดวย ตนเองเปนผูสงดั และกลาวสรรเสรญิ คุณแหงความสงดั ดว ย ตนเองเปนผูไมค ลุกคลี และกลา วสรรเสริญคุณแหงความไมค ลุกคลดี ว ย ตนเองเปนผปู รารภความเพยี ร และกลาวสรรเสริญคณุ แหงการปรารภความเพยี รดวย ตนเองเปนผูถ ึงพรอมดวยศีล และกลา วสรรเสรญิ คุณแหง ความถงึ พรอ มดวยศีลดวย ตนเองเปนผูถงึ พรอมดว ยสมาธิ และกลา วสรรเสริญคณุ แหง ความถงึ พรอ มดวยสมาธิดว ย ตนเองเปนผถู งึพรอ มดวยปญ ญา และกลาวสรรเสรญิ คณุ แหงความถึงพรอมดวยปญ ญาดว ยตนเองเปนผูถ ึงพรอ มดว ยวมิ ุตติ และกลาวสรรเสรญิ คณุ แหงความถงึ พรอมดวยวมิ ตุ ติดวย ตนเองเปนผูถ ึงพรอ มดวยวมิ ุตตญิ าณทสั สนะ และกลาวสรรเสรญิ คุณแหงความถึงพรอ มดวยวิมุตตญิ าณทสั สะดวย ทา นสารีบุตรปาโคสิงคสาลวนั พงึ งามดว ยภิกษเุ หน็ ปานน้แี ล. พระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ดลี ะ ดลี ะ สารบี ุตร กสั สปะ เมื่อจะพยากรณโดยชอบ พงึ พยากรณต ามนั้นดว ยวา กัสสปะ ตนเองเปน ผอู ยใู นปาเปนวตั ร และกลา วสรรเสรญิ คุณแหง ความเปนผูเทยี่ วบิณฑบาตเปน วตั รดว ย ตนเองถอื ผาบงั สกุ ุลเปน วตั ร และกลา วสรรเสริญคณุ แหงความเปน ผถู อื

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 33ผา บังสุกุลเปนวัตรดวย ตนเองถือไตรจวี รเปนวัตร และกลาวสรรเสริญคณุแหง ความเปน ผูถอื ไตรจีวรเปนวตั รดว ย ตนเองเปน ผมู คี วามปรารถนานอย และกลา วสรรเสรญิ คุณแหงความเปน ผมู คี วามปรารถนานอ ยดว ยตนเองเปน ผสู นั โดษ และกลา วสรรเสรญิ คณุ แหง ความเปนผสู ันโดษดวย ตนเองเปน ผสู งัด และกลาวสรรเสริญคณุ แหงความเปน ผูสงดั ดว ยตนเองเปน ผูไมคลุกคลี และกลา วสรรเสริญคุณแหงความไมค ลกุ คลีดว ยตนเองเปน ผูปรารภความเพยี ร และกลา วสรรเสริญคณุ แหง การปรารภความเพียรดวย ตนเองเปนผูถงึ พรอ มดวยศลี และกลาวสรรเสริญคณุ แหงความถงึพรอ มดว ยศีลดว ย ตนเองเปนผูถงึ พรอมดว ยสมาธิ และกลาวสรรเสรญิ คณุแหงความถงึ พรอมดวยสมาธดิ ว ย ตนเองเปนผูถงึ พรอ มดว ยปญ ญา และกลา วสรรเสรญิ คณุ แหง ความถงึ พรอ มดว ยปญญาดวยตนเองเปน ผถู ึงพรอมดวยวมิ ตุ ติ และกลาวสรรเสริญคุณแหง ความถึงพรอ มดว ยวมิ ุตติดวย ตนเองผถู ึงพรอมดว ยวมิ ุตติญาณทัสสนะ และกลา วสรรเสริญคณุ แหงความถึงพรอ มดวยวมิ ุตติญาณทัสสนะดว ย. [๓๘๐] ขา แตพระองคผเู จริญ เมอ่ื ทานพระมหากสั สปะกลาวอยางน้ีแลว ขาพระองคไ ดก ลา วกะทา นมหาโมคคลั ลานะวา ดูกอ นทา นโมคคัลลานะปฏิภาณตามที่เปน ของตน ทา นพระมหากสั สปะพยากรณแ ลว บัดน้ีเราจะขอถามทา นมหาโมคคัลลานะในขอนัน้ วา ปาโคสงิ คสาลวนั เปน สถานนารนื่ รมย ราตรีแจมกระจาง ไมสาละมดี อกบานสะพรงั่ ท่วั ตน กลน่ิ คลา ยทพิ ย ยอมฟุงไป ดูกอ นทานมหาโมคคลั ลานะปา โคสงิ คสาลวนั จะพงึ งามดว ยภิกษุเห็นปานไร เมื่อขา พระองคกลาวอยางน้แี ลว ทา นพระมหาโมคคลั ลานะไดต อบขา พระองควา ดูกอนทา นสารบี ุตร ภิกษุ ๒ รปู ในพระศาสนานี้กลา วอภิธรรมกถา เธอทัง้ ๒ นั้นถามกันและกัน ถามปญหากันแลวยอมแก


































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook