Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_08

tripitaka_08

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:39

Description: tripitaka_08

Search

Read the Text Version

พระวนิ ัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 1 พระวินยั ปฏก เลม ๖ จลุ วรรค ปฐมภาค ขอนอบนอมแดพ ระผมู พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจาพระองคนั้น กมั มขันธกะ ตัชชนยี กรรมท่ี ๑ เร่อื งภิกษุพวกพระปณ ฑุกะและพระโลหิตกะ เร่มิ กออธกิ รณ [๑] โดยสมยั นั้น พระผมู พี ระภาคพุทธเจาประทบั อยู พระเชตวนัอารามของอนาถบณิ ฑกิ คหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครัง้ นน้ั ภิกษุพวกพระปณฑกุ ะและพระโลหิตกะ เปน ผกู อความบาดหมาง กอการทะเลาะกอ การวิวาท กอความออื้ ฉาว กออธิกรณใ นสงฆ ดวยตนเอง ไดเขา ไปหาภกิ ษุพวกอนื่ ท่ีรวมกอ ความบาดหมาง กอการทะเลาะ กอการววิ าทกอความอือ้ ฉาว กอ อธกิ รณในสงฆด วยกัน แลวกลา วอยางนี้วา ทานท้ังหลาย ผนู น้ั อยาไดช นะพวกทา น พวกทานจงโตตอบถอ ยคําใหแขง็ แรงเพราะพวกทา นเปนผูฉ ลาด เฉยี บแหลม คงแกเ รยี น และสามารถกวา เขาอยา กลวั เขาเลย แมพวกผมก็จักเปนฝกฝา ยของพวกทา น โดยวธิ นี นั้ ความบาดหมางทยี่ งั ไมเกิดยอมเกิดขนึ้ และท่ีเกิดขึ้นแลว ยอมเปนไปเพือ่ ความ

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 2เพ่ิมพูน แผกวา งออกไป บรรดาภกิ ษุทเ่ี ปนผมู ักนอ ย สนั โดษ มคี วามละอาย มคี วามรังเกียจ ผูใครต อสิกขา ตางก็เพงโทษ ติเตยี นโพนทะนาวา ไฉนภิกษพุ วกพระปณ ฑุกะและพระโลหิตกะ จึงไดเ ปน ผูก อความบาดหมาง กอ การทะเลาะ กอ การวิวาท กอความออ้ื ฉาว กออธิกรณใ นสงฆด วยตนเอง ไดเขา ไปหาภิกษพุ วกอ่นื ท่รี วมกอความบาดหมาง กอการทะเลาะ กอการววิ าท กอ ความออื้ ฉาว กออธกิ รณในสงฆด วยกนั แลวกลาวอยางนวี้ า ทานทงั้ หลาย ผูน ้ันอยาไดชนะพวกทา น พวกทานจงโตต อบถอ ยคําใหแ ข็งแรง เพราะพวกทา นเปน ผฉู ลาด เฉยี บแหลม คงแกเ รยี น และสามารถกวาเขา อยา กลัวเขาเลย แมพ วกผมกจ็ กั เปนฝกฝา ยของพวกทา น โดยวิธีนัน้ ความบาดหมางทยี่ ังไมเกดิ ยอมเกดิ ขนึ้ และทเ่ี กิดขน้ึ แลว ยอ มเปน ไปเพ่ือความเพ่ิมพนู แผก วา งออกไปเลา คร้ันแลวกราบทลู เรือ่ งนัน้ แดพ ระผูมีพระภาคเจา . ประชมุ สงฆทรงสอบถาม[๒] ลําดบั น้นั พระผูมพี ระภาคเจารบั สง่ั ใหป ระชมุ ภกิ ษุสงฆในเพราะเหตเุ ปนเคามูลน้ัน ในเพราะเหตแุ รกเกิดนัน้ แลวทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายวา ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ไดยนิ วา ภกิ ษุพวกพระปณฑุกะและพระโลหติ กะ เปนผกู อความบาดหมาง กอการทะเลาะ กอการววิ าท กอความออ้ื ฉาว กออธิกรณใ นสงฆด วยตนเอง ไดเ ขาไปหาภิกษพุ วกอื่นทรี่ วมกอ ความบาดหมาง กอการทะเลาะ กอการววิ าท กอ ความออื้ ฉาว กออธกิ รณในสงฆดว ยกัน แลวกลาวอยา งน้ีวา ทา นทงั้ หลาย ผนู นั้ อยา ไดชนะพวกทาน

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 3พวกทานจงโตต อบถอยคําใหแขง็ แรง เพราะพวกทา นเปน ผฉู ลาด เฉยี บ-แหลม คงแกเรียน และสามารถกวา เขา อยากลวั เขาเลย แมพวกผมกจ็ กัเปนฝก ฝายของพวกทา น โดยวิธนี ั้น ความบาดหมางทีย่ ังไมเกดิ ยอมเกิดขึน้ และที่เกดิ ขึน้ แลว ยอ มเปนไปเพอ่ื ความเพม่ิ พนู แผก วางออกไปจรงิ หรอื ? ภิกษทุ ัง้ หลายทูลรับวา จรงิ พระพทุ ธเจาขา. ทรงตเิ ตียน พระผมู พี ระภาคพุทธเจา ทรงตเิ ตยี นวา ดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย การกระทาํ ของโมฆบุรษุ เหลานน้ั นนั่ ไมเ หมาะ ไมส ม ไมค วร ไมใชกจิ ของสมณะ ใชไ มได ไมค วรทาํ . ดกู อ นภกิ ษุทัง้ หลาย ไฉนโมฆบุรษุ เหลา นน้ั จงึ ไดก อความบาดหมางกอการทะเลาะ กอ การวิวาท กอความอ้อื ฉาว กอ อธกิ รณใ นสงฆ ดว ยตนเอง ไดเขาไปหาภกิ ษุผอู ่ืนท่ีรว มกอความบาดหมาง กอ การทะเลาะกอ การวิวาท กอ ความอือ้ ฉาว กออธกิ รณในสงฆดวยกนั แลว กลา วอยา งนว้ี า ทานท้ังหลาย ผนู นั้ อยาไดชนะพวกทา น พวกทา นจงโตตอบถอยคําใหแ ขง็ แรง เพราะพวกทานเปน ผูฉลาด เฉยี บแหลม คงแกเรยี นและสามารถกวาเขา อยา กลวั เขาเลย แมพ วกผมก็จกั เปน ฝกฝา ยของพวกทาน โดยวิธนี นั้ ความบาดหมางทย่ี ังไมเกดิ ยอ มเกิดขนึ้ และทเ่ี กิดขึน้ แลวยอ มเปนไปเพ่อื ความเพิม่ พูน แผกวา งออกไปเลา การกระทําของโมฆบุรุษเหลา นนั้ นัน่ ไมเ ปนไปเพ่อื ความเล่อื มใสของชุมชนทีย่ งั ไมเ ล่อื มใส หรือ

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 4เพอื่ ความเลอ่ื มใสยงิ่ ของชุมชนท่ีเล่ือมใสแลว โดยท่แี ทก ารกระทาํ ของโมฆบุรษุ เหลาน้นั น่นั ยอมเปน ไปเพอื่ ความไมเล่ือมใสของผูท่ยี ังไมเลื่อมใสและเพ่ือความเปน อยา งอื่นของคนบางพวกท่เี ล่ือมใสแลว . ทรงแสดงโทษและคณุ แลวใหทาํ ตัชชนียกรรม [๓] ครน้ั พระผมู ีพระภาคเจา ทรงติเตียนภกิ ษพุ วกพระปณฑุกะและพระโลหติ กะ โดยอเนกปรยิ ายแลว จงึ ตรสั โทษแหง ความเปน คนเลีย้ งยาก ความเปน คนบาํ รงุ ยาก ความเปนคนมกั มาก ความเปน คนไมสนั โดษ ความคลุกคลีความเกียจคราน ตรสั คณุ แหงความเปน คนเลีย้ งงายความเปนคนบาํ รุงงาย ความมกั นอ ย ความสันโดษ ความขดั เกลา ความกาํ จดั อาการทนี่ าเลื่อมใส การไมสะสม การปรารถนาความเพียร โดยอเนกปริยาย แลว ทรงทาํ ธรรมมีกถาท่ีสมควรแกเ ร่ืองน้ัน ท่ีเหมาะสมแกเรื่องนัน้ แกภิกษุท้ังหลาย แลวรับสงั่ กะภิกษุท้งั หลายวา ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย เพราะเหตนุ ั้นแล สงฆจงทําตชั ชนยี กรรมแกภ ิกษพุ วกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหติ กะ. วธิ ีทําตัชชนยี กรรม ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย ก็แลวธิ ที าํ ตชั ชนียกรรม พึงทาํ อยา งน้ี คอืชั้นตนพึงโจทภกิ ษพุ วกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะ คร้ันแลว พงึ ใหพ วกเธอใหการ แลว พงึ ปรบั อาบัติ ครัน้ แลว ภกิ ษผุ ูฉลาด ผสู ามารถ พงึประกาศใหสงฆทราบ ดวยญตั ติจตตุ ถกรรมวาจา วาดังนี้:-

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 5 กรรมวาจาทําตัชชนยี กรรม ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟง ขาพเจา ภกิ ษุพวกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะนี้ เปนผูก อความบาดหมางกอ การทะเลาะ กอ การววิ าท กอ ความออ้ื ฉาว กออธิกรณในสงฆ ดว ยตนเอง ไดเขาไปหาภิกษพุ วกอืน่ ทรี่ ว มกอความบาดหมาง กอ การทะเลาะ กอการวิวาท กอ ความอ้ือฉาว กออธิกรณใ นสงฆดวยกนั แลว กลา วอยางนวี้ าทานทั้งหลาย ผนู ้ันอยาไดชนะพวกทาน พวกทา นจงโตตอบถอยคาํ ใหแ ข็งแรง เพราะพวกทานเปน ผฉู ลาดเฉยี บแหลม คงแกเรยี น และสามารถกวาเขา อยากลัวเขาเลย แมพ วกผมก็จกั เปนฝก ฝายของพวกทาน โดยวิธีนัน้ ความบาดหมางท่ยี งั ไมเกิดยอมเกดิ ข้ึน และที่เกดิ ข้นึแลวยอ มเปน ไปเพ่ือความเพิม่ พนู แผก วางออกไป ถาความพรอมพร่ังของสงฆถ ึงทีแ่ ลว สงฆพึงทําตชั ชนยี กรรมแกภกิ ษพุ วกพระปณ ฑุกะและพระโลหติ กะ นี่เปน ญตั ติ. ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟง ขาพเจา ภกิ ษุพวกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะนี้ เปน ผูก อ ความบาดหมาง...กอ อธกิ รณในสงฆ ดว ยตนเอง ไดเ ขา ไปหาภิกษุพวกอ่ืนที่รว มกนั กอความบาดหมาง......กออธกิ รณใ นสงฆดว ยกนัแลวกลาวอยางนวี้ า ทา นท้ังหลาย ผูนั้นอยา ไดชนะพวกทา น พวกทา นจงโตต อบถอ ยคําใหแ ขง็ แรง เพราะพวก

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 6ทานเปน ผฉู ลาด เฉยี บแหลม คงแกเ รยี นและสามารถกวาเขา อยากลัวเขาเลย แมพวกผมกจ็ กั เปน ฝกฝา ยของพวกทา น โดยวิธนี ้ัน ความบาดหมางทย่ี งั ไมเ กิดยอ มเกดิ ข้นึและท่ีเกดิ ขน้ึ แลว ยอ มเปน ไปเพ่อื ความเพมิ่ พนู แผก วา งออกไป สงฆทําตชั ชนียกรรมแกภิกษุพวกพระปณ ฑกุ ะ และพระโลหติ กะ การทําตชั ชนยี กรรมแกภกิ ษุพวกพระปณฑุ-กะและพระโลหติ กะ ชอบแกทานผูใด ทานผนู ัน้ พงึ เปนผูน่งิ ไมช อบแกท านผูใด ทา นผนู นั้ พงึ พูด. ขาพเจา กลาวความนแ้ี มค รงั้ ที่สอง ทานเจา ขา ขอสงฆจ งฟง ขา พเจา ภกิ ษุพวกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิต-กะนเ้ี ปนผกู อ ความบาดหมาง........ กอ อธิกรณในสงฆดว ยตนเอง ไดเขา ไปหาภกิ ษุพวกอืน่ ท่ีรว มกอ ความบาดหมาง......อธิกรณใ นสงฆดว ยกัน แลว กลา วอยา งน้วี า ทา นท้ังหลาย ผนู น้ั อยา ไดช นะพวกทา น พวกทา นจงโตต อบถอยคาํ ใหแ ข็งแรง เพราะพวกทา นเปนผฉู ลาด เฉียบแหลม คงแกเรียน และสามารถกวาเขา อยา กลัวเขาเลยแมพวกผมกจ็ กั เปน ฝกฝายของพวกทาน โดยวิธนี น้ั ความบาดหมางท่ียงั ไมเกดิ ยอมเกดิ ข้ึน และทเี่ กดิ ข้ึนแลวยอมเปนไปเพ่อื ความเพ่มิ พูน แผก วา งออกไป สงฆทําตชั ชนยี -กรรมแกภิกษุพวกพระปณฑกุ ะและพระโลหติ กะ การทาํตัชชนยี กรรมแกภกิ ษุพวกพระปณ ฑุกะและพระโลหติ กะ

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 7ชอบแกท านผูใด ทานผูน้นั พึงเปน ผนู ่ิง ไมช อบแกท า นผใู ด ทานผูน นั้ พึงพูด. ขาพเจา กลา วความนี้แมค รงั้ ทีส่ าม ทานเจาขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา ภกิ ษพุ วกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะนี้ เปนผูก อ ความบาดหมาง.... กออธิกรณในสงฆ ดว ยตนเอง ไดเ ขาไปหาภิกษพุ วกอื่นทรี่ วมกอความบาดหมาง.......กอ อธิกรณใ นสงฆดวยกนั แลว กลา วอยา งนว้ี า ทานท้ังหลาย ผนู ัน้ อยา ไดช นะพวกทาน พวกทานจงโตตอบถอยคาํ ใหแ ข็งแรง เพราะพวกทานเปน ผูฉลาด เฉียบแหลมคงแกเรียน และสามารถวา เขา อยา กลัวเขาเลย แมพ วกผมจกั เปนฝก ฝายของพวกทาน โดยวธิ ีนนั้ ความบาดหมาง ท่ียังไมเ กิดยอมเกดิ ขน้ึ และทีเ่ กิดขึน้ แลว ยอมเปนไปเพือ่ ความเพิ่มพนู แผก วางออกไป สงฆท าํ ตัชชนยี กรรมแกภ กิ ษพุ วกพระปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะ การทาํ ตัชชนยีกรรมแกภกิ ษุพวกพระปณฑกุ ะและพระโลหติ กะ ชอบแกทา นผูใด ทา นผูนัน้ พงึ เปนผูน ่ิง ไมช อบแกทา นผูใด ทา นผนู นั้ พงึ พดู . ตชั ชนยี กรรม สงฆท ําแลว แกภิกษุพวกพระปณฑ-ุกะและพระโลหิตกะ ชอบแกส งฆ เหตนุ ัน้ จึงนิ่ง ขาพเจาทรงความน้ีไวดว ยอยางน้.ี

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 8 ลักษณะกรรมไมเปนธรรม ๑๒ หมวด หมวดท่ี ๑ [๔] ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย ตัชชนยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวินยั และระงับแลวไมด ี คอื ทาํ ลบั หลงั ๑ไมส อบถามกอนแลว ทาํ ๑ ไมท าํ ตามปฏญิ าณ ๑ ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปนวินยั และระงบั แลวไมดี. หมวดท่ี ๒ [๕] ดูกอนภิกษทุ ้ังหลาย ตชั ชนียกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอื่นอีก เปน กรรมไมเปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลว ไมดี คอื ทําเพราะไมตอ งอาบัติ ๑ ทําเพราะอาบัตมิ ิใชเ ทสนาคามินี ๑ ทาํ เพราะอาบตั ิท่แี สดงแลว ๑ ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย ตัชชนยี กรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวนิ ยั และระงับแลวไมด .ี หมวดท่ี ๓ [๖] ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ตชั ชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ แมอื่นอกี เปน กรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวนิ ัย และระงบั แลวไมดี คือ ไมโจทกอ นแลวทาํ ๑ ไมใ หจ ําเลยใหการกอนแลวทํา ๑ ไมป รับอาบัติแลวทาํ ๑ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปนวินยั และระงับแลวไมดี.

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 9 หมวดที่ ๔ [๗] ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย ตชั ชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ แมอื่นอกี เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวินยั และระงับแลวไมดี คือ ทาํลบั หลัง ๑ ทําโดยไมเ ปน ธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทํา ๑ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปนวนิ ยั และระงับแลว ไมดี หมวดท่ี ๕ [๘] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ตชั ชนยี กรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ แมอนื่ อกี เปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปนวนิ ัย และระงบั แลว ไมด ี คอื ไมสอบถามกอ นแลว ทาํ ๑ ทําโดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทํา ๑ ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ตชั ชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเปน วนิ ยั และระงับแลวไมด .ี หมวดท่ี ๖ [๙] ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย ตัชชนียกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ แมอ่ืนอกี เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปน วินัย และระงบั แลว ไมด ี คอื ไมทําตามปฏิญาณ ๑ ทําโดยไมเ ปน ธรรม สงฆเ ปน วรรคทํา ๑ ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตชั ชนยี กรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปนวินยั และระงับแลวไมด .ี

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 10 หมวดท่ี ๗ [๑๐] ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตัชชนียกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอ่นื อกี เปนกรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลวไมดี คือ ทําเพราะไมต องอาบัติ ๑ ธรรมโดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทาํ ๑ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ตัชชนยี กรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวินัย และระงบั แลว ไมด ี. หมวดที่ ๘ [๑๑] ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ แมอ่นื อีก เปน กรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วนิ ยั และระงบั แลวไมดี คือ ทาํเพราะอาบัติ มิใชเทสนาคามินี ๑ ทําโดยไมเ ปนธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทํา ๑ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ตัชชนยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลวไมด .ี หมวดท่ี ๙ [๑๒] ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ตชั ชนียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ แมอ่นื อกี เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลว ไมด ี คอื ทาํเพราะอาบตั ิท่แี สดงแลว ๑ ทาํ โดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปนวรรคทาํ ๑ ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย ตชั ชนียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ น้ีแล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปนวินยั และระงับแลวไมดี.

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 11 หมวดท่ี ๑๐ [๑๓] ดูกอนภิกษทุ ้ังหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ แมอนื่ อีก เปน กรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปนวินยั และระงบั แลวไมดี คือ ไมโจทกอ นแลว ทํา ๑ ทาํ โดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทาํ ๑ ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ตชั ชนียกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลวไมดี. หมวดที่ ๑๑ [๑๔] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย ตชั ชนียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ แมอื่นอกี เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วนิ ัย และระงบั แลวไมด ี คือ ไมใหจ ําเลยใหการกอนแลว ทาํ ๑ ทาํ โดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑ ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย ตชั ชนียกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลวไมด .ี หมวดที่ ๑๒ [๑๕] ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย ตชั ชนียกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ แมอนื่ อีก เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปนวนิ ยั และระงับแลว ไมด ี คือ ไมปรบั อาบตั แิ ลวทํา ๑ ทําโดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทาํ ๑ ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ตชั ชนยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปนวินัย และระงับแลว ไมดี. ลักษณะกรรมไมเปนธรรม ๑๒ หมวด จบ

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 12 ลักษณะกรรมเปนธรรม ๑๒ หมวด หมวดที่ ๑ [๑๖ ] ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย ตัชชนียกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓เปน กรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว คอื ทําตอหนา ๑ สอบถามกอ นแลวทาํ ๑ ทาํ ตามปฏญิ าณ ๑ ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ตชั ชนยี กรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ นแี้ ล เปนกรรมเปนธรรม เปนวินัย และระงบั ดแี ลว . หมวดท่ี ๒ [๑๗] ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ตชั ชนยี กรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อกี เปน กรรมเปนธรรม เปน วนิ ัย และระงบั ดแี ลว คอื ทาํ เพราะตองอาบตั ิ ทาํ เพราะอาบัติเปนเทสนาคามินี ๑ ทาํ เพราะอาบัตยิ งั ไมไ ดแสดง ๑ ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย ตชั ชนยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินัย และระงบั ดีแลว . หมวดที่ ๓ [๑๘] ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย ตัชชนยี กรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ แมอน่ื อีก เปนกรรมเปนธรรม เปนวินยั และระงบั ดเี เลว คอื โจทกอนแลว ทํา ใหจ าํ เลยใหก ารกอนแลว ทาํ ๑ ปรบั อาบตั ิแลวทาํ ๑ ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ตัชชนียกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ นแ้ี ลเปนกรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงับดแี ลว.

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 13 หมวดที่ ๔ [๑๙] ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ตชั ชนยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ แมอ่ืนอีก เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินัย และระงบั ดแี ลว คือ ทําตอหนา ๑ทําโดยธรรม ๑ สงฆพรอ มเพรียงกันทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ตัชชนียกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ นี้แล เปนกรรมเปนธรรม เปนวนิ ัย และระงบั ดแี ลว. หมวดที่ ๕ [๒๐] ดกู อ นภกิ ษุท้ังหลาย ตัชชนียกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ แมอืน่ อีก เปน กรรมเปนธรรม เปนวนิ ยั และระงับดแี ลว คอื สอบถามกอนแลวทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรยี งกันทํา . ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย ตชั ชนยี กรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ น้ีแล เปนกรรมเปน ธรรม เปนวนิ ัย และระงบั ดแี ลว. หมวดท่ี ๖ [๒๑] ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ตัชชนียกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ แมอน่ื อกี เปนกรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงบั ดีแลว คือ ทําตามปฏิญาณ ๑ ทาํ โดยธรรม สงฆพรอ มเพรยี งกนั ทํา ๑ ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย ตชั ชนยี กรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปนธรรม เปนวนิ ยั และระงับดีแลว หมวดที่ ๗ [๒๒] ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ตชั ชนยี กรรมที่ประกอบดวยองค ๓แมอน่ื อกี เปน กรรมเปน ธรรม เปนวินัย และระงับดีแลว คือ ทาํ เพราะตอ งอาบตั ิ ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรียงกันทํา ๑

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 14 ดูกอ นภิกษุท้งั หลาย ตชั ชนียกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วนิ ัย และระงับดีแลว . หมวดท่ี ๘ [๒๓] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย ตชั ชนยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓แมอน่ื อกี เปนกรรมเปน ธรรม เปน วนิ ัย และระงับดีแลว คอื ทาํ เพราะอาบัตเิ ปน เทสนาคามนิ ี ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรียงกันทาํ ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ตัชชนียกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว. หมวดที่ ๙ [๒๔] ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย ตชั ชนียกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓แมอืน่ อีก เปนกรรมเปนธรรม เปนวนิ ัย และระงบั ดแี ลว คือทําเพราะอาบตั ิยงั ไมไ ดแสดง ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอมเพรยี งกันทาํ ๑ ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย ตัชชนยี กรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมเปน ธรรม เปนวนิ ัย และระงับดีแลว . หมวดที่ ๑๐ [๒๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓แมอ่ืนอีก เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงบั ดแี ลว คือ โจทกอ นแลว ทํา ๑ ทาํ โดยธรรม สงฆพ รอ มเพรยี งกันทํา ๑ ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ตัชชนยี กรรมทีป่ ระกอบดว ยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว.

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 15 หมวดท่ี ๑๑ [๒๖] ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลาย ตชั ชนียกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓แมอ ่ืนอีก เปน กรรมเปนธรรม เปนวินัย และระงับดแี ลว คอื ใหจําเลยใหก ารกอนแลวทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเหIรียงกันทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย ตชั ชนียกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วนิ ยั และระงับดีแลว . หมวดที่ ๑๒ [๒๗] ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ตชั ชนยี กรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓แมอ่ืนอกี เปน กรรมเปนธรรม เปน วนิ ยั และระงับดแี ลว คือ ปรบัอาบตั แิ ลว ทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรยี งกันทาํ ๑ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตัชชนยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมเปนธรรม เปนวินัย และระงบั ดแี ลว . ลักษณะกรรมเปนธรรม ๑๒ หมวด จบ ขอทสี่ งฆจํานง ๖ หมวด หมวดที่ ๑ [๒๘] ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลาย ภิกษุประกอบดว ยองค ๓ เม่อื สงฆจาํ นงจะพึงลงตัชชนยี กรรมก็ได คือ เปน ผูกอความบาดหมาง กอ การทะเลาะ กอ การวิวาท กอความออื้ ฉาว กอ อธกิ รณในสงฆ เปน พาลไมฉ ลาด มีอาบตั มิ าก มมี รรยาทไมส มควร ๑ อยูคลุกคลกี ับคฤหสั ถดว ยการคลุกคลีอันไมสมควร ๑

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 16 ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ภิกษุประกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เมอ่ื สงฆจาํ นงจะพงึ ลงตชั ชนียกรรมก็ได. หมวดท่ี ๒ [๒๙] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ภิกษปุ ระกอบดวยองค ๓ แมอ น่ื อีกเมอื่ สงฆจ าํ นง จะพึงลงตัชชนยี กรรมก็ได คอื เปน ผมู ีศีลวิบัติ ในอธศิ ีล ๑ เปน ผมู อี าจารวบิ ัติ ในอธั ยาจาร ๑ เปน ผมู ีทฏิ ฐวิ ิบตั ิ ในอติทิฏฐิ ๑ ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย ภิกษปุ ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เมอ่ื สงฆจํานงจะพงึ ลงตัชชนียกรรมก็ได. หมวดที่ ๓ [๓๐] ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย ภิกษุประกอบดวยองค ๓ แมอืน่ อกีเมอ่ื สงฆจํานง พึงลงตัชชนียกรรมก็ได คือ กลาวตเิ ตียนพระพทุ ธเจา ๑กลาวติเตยี นพระธรรม ๑ กลาวตเิ ตียนพระสงฆ ๑ ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลายภกิ ษุประกอบดวยองค ๓ น้ีแล เม่ือสงฆจ าํ นงจะพึงลงตัชชนยี กรรมก็ได. หมวดที่ ๔ [๓๑] ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย เมือ่ สงฆจ าํ นงพึงลงตัชชนยี กรรมแกภกิ ษุ๓ รูปคอื รูปหน่งึ เปนผกู อ ความบาดหมาง กอ การทะเลาะ กอ การววิ าทกอ ความอ้ือฉาว กออธิกรณในสงฆ ๑ รูปหนึ่งเปน พาล ไมฉลาด มีอาบตั ิมาก มมี ารยาทไมส มควร รูปหนง่ึ อยูค ลกุ คลกี บั คฤหัสถ ดว ยการคลกุคลีอนั ไมสมควร ๑ ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย เมอื่ สงฆจ ํานง พึงลงตชั ชนยี กรรมแกภ กิ ษุ๓ รูปนีแ้ ล.

พระวินยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 17 หมวดท่ี ๕ [๓๒] ดกู อนภิกษุท้ังหลาย เมอ่ื สงฆจาํ นงพึงลงตัชชนยี กรรมแกภกิ ษุ ๓ รูป แมอ นื่ อีก คอื รูปหนึ่งเปนผมู ศี ลี วบิ ตั ิ ในอธิศีล ๑ รปูหน่งึ เปนผูมีอาจารวิบตั ิในอัธยาจาร ๑ รูปหน่งึ เปน ผูมีทิฏฐวิ ิบัตใิ นอตทิ ิฏฐิ ๑ ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย เม่อื สงฆจาํ นง พงึ ลงตัชชนยี กรรมแกภ ิกษุ๓ รูปน้แี ล. หมวดที่ ๖ [๓๓] ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย เมอื่ สงฆจํานงพึงลงตัชชนียกรรมแกภิกษุ ๓ รูปแมอ ่ืนอีก คอื รูปหนึง่ กลา วติเตียนพระพทุ ธเจา ๑ รูปหนงึ่กลา วติเตยี นพระธรรม ๑ รูปหน่ึงกลาวตเิ ตยี นพระสงฆ ๑ ดกู อนภิกษุท้งั หลาย เม่อื สงฆจาํ นง พงึ ลงตชั ชนยี กรรมแกภกิ ษุ๓ รปู นีแ้ ล. ขอ ท่สี งฆจ าํ นง ๖ หมวด จบ วตั ร ๑๘ ขอ ในตชั ชนียกรรม [๓๔] ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุท่ีถูกสงฆล งตัชชนียกรรมแลวตอ งประพฤตโิ ดยชอบ วิธีประพฤตเิ คยชอบในตชั ชนยี กรรมนน้ั ดงั ตอ ไปน้ี :- ๑. ไมพงึ ใหอุปสมบท ๒. ไมพงึ ใหนสิ ัย ๓. ไมพ งึ ใหสามเณรอปุ ฏฐาก ๔. ไมพึงรับสมมตเิ ปน ผูสัง่ สอนภกิ ษุณี

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 18 ๕. แมไ ดรบั สมมติไวแ ลว ก็ไมพ งึ ส่ังสอนภิกษุณี ๖. ถูกสงฆลงตัชชนียกรรมเพราะอาบัตใิ ด ไมพงึ ตองอาบัติน้นั ๗. ไมพ งึ ตอ งอาบตั อิ น่ื อันเชน กัน ๘. ไมพึงตอ งอาบัติอนั เลวทรามกวาน้ัน ๙. ไมพึงติกรรม ๑๐. ไมพงึ ตภิ ิกษทุ ั้งหลายผูท าํ กรรม ๑๑. ไมพงึ หามอโุ บสถแกปกตัดตะภิกษุ ๑๒. ไมพงึ หามปวารณาแกปกตัตตะภกิ ษุ ๑๓. ไมพ งึ ทาํ การไตสวน ๑๔. ไมพงึ เรมิ่ อนุวาทาธิกรณ ๑๕. ไมพึงยังภิกษอุ นื่ ใหท าํ โอกาส ๑๖. ไมพ ึงโจทภิกษอุ ่ืน ๑๗. ไมพึงใหภิกษอุ ่นื ใหก าร ๑๘. ไมพ ึงชวยภกิ ษตุ อ ภกิ ษุใหสูอธิกรณกัน. วตั ร ๑๘ ขอ ในตชั ชนียกรรม จบ วตั รทคี่ วรระงับและไมควรระงับ [๓๕] ครงั้ น้ัน สงฆไ ดล งตชั ชนียกรรมแกภ กิ ษพุ วกพระปณฑุกะและพระโลหิตกะแลว พวกน้ันถูกสงฆล งตชั ชนียกรรมแลว ประพฤตโิ ดยชอบหายเยอหยง่ิ ประพฤตแิ กตวั ได เขาไปหาภิกษุทงั้ หลายแลวกลาวอยา งนีว้ า อาวโุ สทั้งหลาย พวกผมถกู สงฆล งตชั ชนยี กรรมแลว ไดประพฤติ

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 19โดยชอบหายเยอ หยงิ่ ประพฤติแกต วั ได พวกผมจะพงึ ปฏิบัตอิ ยา งไรตอไป ภกิ ษทุ ้ังหลายกราบทลู เรอ่ื งนนั้ แตพระผูม พี ระภาคเจา พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย ถาเชน น้นั สงฆจงระงับตัชชนียกรรมแกภิกษพุ วกปณฑกุ ะและโลหิตกะ. วัตรท่ีไมควรระงับ ๑๘ ขอ ๓ หมวด หมวดที่ ๑ [ ๓๖] ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย สงฆไมพงึ ระงบั ตัชชนียกรรมแกภ ิกษุผปู ระกอบดวยองค ๕ คอื :- ๑. ใหอปุ สมบท ๒. ใหน ิสยั ๓. ใหส ามเณรอปุ ฏฐาก ๔. รับสมมตเิ ปน ผสู ่งั สอนภกิ ษุณี ๕. แมไดรับสมมตแิ ลว ก็ยงั ส่ังสอนภกิ ษุณี ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดวยองค ๕ น้ีแล สงฆไมพึงระงับตัชชนียกรรม. หมวดท่ี ๒ [๓๗] ดกู อนภิกษุทัง้ หลายสงฆไ มพ ึงระงับตัชชนียกรรมแกภ กิ ษผุ ูประกอบดวยองคแ มอนื่ อกี คอื :- ๑. ถกู สงฆลงตัชชนยี กรรมเพราะอาบตั ใิ ด ตองอาบัตนิ ั้น ๒. ตอ งอาบตั อิ ่ืนลนั เชน กนั

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 20 ๓. ตอ งอาบัตอิ ันเลวทรามกวา นน้ั ๔. ตกิ รรม ๕. ติภิกษทุ ้งั หลายผูทํากรรม ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย ภกิ ษุประกอบดวยองค ๕ นี้แล สงฆไ มพ ึงระงบั ตชั ชนียกรรม. หมวดท่ี ๓ [๓๘] ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย สงฆไ มพ ึงระงับตชั ชนยี กรรมแกภกิ ษุผูประกอบดว ยองค ๘ คอื :- ๑. หา มอโุ บสถแกป กตัตตะภิกษุ ๒. หามปวารณาแกป กตัตตะภกิ ษุ ๓. ทาํ การไตสวน ๔. เร่มิ อนุวาทาธิกรณ ๕. ยังภิกษุอ่ืนใหท าํ โอกาส ๖. โจทภกิ ษุอ่ืน ๗. ใหภ กิ ษุอ่นื ใหการ ๘. ชว ยภิกษตุ อภกิ ษใุ หส อู ธิกรณก นั ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย ภกิ ษุประกอบดว ยองค ๘ น้แี ล สงฆไ มพงึระงบั ตัชชนยี กรรม. วัตรที่ไมค วรระงับ ๑๘ ขอ ๓ หมวด จบ

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 21 วัตรท่คี วรระงบั ๑๘ ขอ ๓ หมวด หมวดท่ี ๑ [๓๙] ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย สงฆพ ึงระงบั ตชั ชนยี กรรมแกภิกษุผูประกอบดว ยองค ๕ คือ :- ๑. ไมใหอปุ สมบท ๒. ไมใ หนสิ ยั ๓. ไมใ หส ามเณรอปุ ฏฐาก ๔. ไมรับสมมติเปนผสู ง่ั สอนภกิ ษณุ ี ๕. แมไ ดรับสมมตแิ ลว กไ็ มส ง่ั สอนภกิ ษุณี ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๕ นีแ้ ลว สงฆพ งึ ระงับตชั ชนียกรรม. หมวดที่ ๒ [๔๐] ดกู อนภิกษุทั้งหลาย สงฆพงึ ระงับตชั ชนียกรรมแกภ กิ ษผุ ูประกอบดว ยองค ๕ แมอื่นอกี คือ :- ๑. ถูกสงฆลงตัชชนียกรรมเพราะอาบตั ิใด ไมตองอาบตั นิ ้นั ๒. ไมต องอาบตั ิอน่ื อนั เชน กัน ๓. ไมตองอาบัติอนั เลวทรามกวา นน้ั ๔. ไมติกรรม ๕. ไมตภิ ิกษทุ ั้งหลายผทู ํากรรม ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ภิกษปุ ระกอบดว ยองค ๕ นีแ้ ล สงฆพึงระงับตัชชนียกรรม.

พระวินยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 22 หมวดที่ ๓ [๔๑] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย สงฆพึงระงบั ตชั ชนยี กรรมแกภิกษผุ ูประกอบดว ยองค ๘ คือ :- ๑. ไมห า มอโุ บสถแกปกตัตตะภิกษุ ๒. ไมหา มปวารณาแกปกตตั ตะภิกษุ ๓. ไมทาํ การไตส วน ๔. ไมเ ริ่มอนวุ าทาธิกรณ ๕. ไมย ังภิกษุอนื่ ใหทาํ โอกาส ๖. ไมโ จทภกิ ษุอน่ื ๗. ไมใ หภกิ ษุอน่ื ใหก าร ๘. ไมชวยภกิ ษตุ อ ภกิ ษุใหส ูอ ธิกรณกนั ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย ภิกษุประกอบดวยองค ๘ นีแ้ ล สงฆพ งึ ระงบัตัชชนียกรรม. วัตรทีค่ วรระงบั ๑๘ ขอ ๓ หมวด จบ วธิ ีระงับตชั ชนียกรรม [๔๒] ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ก็แลสงฆพึงระงบั ตชั ชนียกรรมอยา งน้ีคอื ภิกษพุ วกพระปณฑุกะและพระโลหติ กะนนั้ พึงเขา ไปหาสงฆห มผา อตุ ราสงคเฉวียงบา ไหวเ ทาภิกษุท้งั หลายผูแกพรรษากวาน่งั กระโหยงประคองอัญชลกี ลาวคาํ ขอระงับกรรมนั้นอยา งน้ี วา ดงั น้ี .

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 23 คําขอระงบั ตชั ชนียกรรม ทานเจาขา ขา พเจา ทงั้ หลาย ถกู สงฆลงตัชชนียกรรมแลว ไดประพฤติโดยชอบ หายเยอหยงิ่ ประพฤติแกตัวได ขาพเจาทงั้ หลายขอระงบัตัชชนียกรรม พึงขอแมคร้งั ที่สอง พึงขอแมค รัง้ ทสี่ าม ภกิ ษุผูฉลาด ผสู ามารถ พงึ ประกาศใหส งฆท ราบดวยญัตติจตุตถกรรมวาจา วาดงั น้ี :- กรรมวาจาระงบั ตชั ชนียกรรม ทานเจา ขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา ภกิ ษพุ วกพระ- ปณ ฑุกะและพระโลหิตกะนี้ ถกู สงฆล งตชั ชนียกรรมแลว ประพฤติโดยชอบ หายเยอหยงิ่ ประพฤตแิ กตวั ได บดั น้ี ขอระงับตัชชนยี กรรม ถาความพรอมพรั่งของสงฆถ งึ ท่ี แลว สงฆพงึ ระงับตชั ชนียกรรม แกภกิ ษุพวกพระปณฑกุ ะ และพระโลหติ กะ น่เี ปน ญตั ต.ิ ทา นเจาขา ขอสงฆจ งฟงขา พเจา ภิกษพุ วกพระ- ปณ ฑกุ ะและพระโลหิตกะนี้ ถกู สงฆล งตชั ชนยี กรรมแลว ประพฤตโิ ดยชอบหายเยอหยิ่ง ประพฤติแกตัวได บดั น้ี ขอระงับตัชชนยี กรรม สงฆระงับตชั ชนยี กรรมแกภิกษุ พวกพระปณ ฑุกะและพระโลหติ กะ การระงับตัชชนยี -

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 24กรรมแกภกิ ษุพวกพระปณ ฑุกะและพระโลหติ กะ ชอบแกทา นผูใด ทา นผนู ้ันพงึ เปนผนู ่งิ ไมชอบแกท า นผูใดทา นผนู ้ันพึงพดู . ขา พเจากลาวความนแ้ี มครงั้ ทส่ี อง ทา นเจา ขาขอสงฆจ งฟง ขา พเจา .... การระงบั ตัชชนียกรรมแกภ ิกษุพวกพระปณฑุกะและพระโลหติ กะ ชอบแกท า นผใู ดทา นผูน ้ันพงึ เปนผูนงิ่ ไมชอบแกทา นผใู ด ทานผูนั้นพงึพูด. ขา พเจา กลา วความนแี้ มคร้ังท่สี าม ทา นเจา ขาขอสงฆจ งฟง ขา พเจา ภกิ ษุพวกพระปณฑุกะและพระ-โลหติ กะน้ี สงฆลงตัชชนยี กรรมแลว ประพฤติโดยชอบหายเยอ หยง่ิ ประพฤตแิ กต วั ได บัดน้ขี อระงบั ตัชชนียกรรมสงฆระงับตัชชนียกรรมแกภ ิกษพุ วกพระปณฑกุ ะและพระ -โลหติ กะ การระงบั ตัชชนียกรรม แกภกิ ษุพวกพระปณฑกุ ะและพระโลหิตกะ ชอบแกทา นผูใด ทานผูน้นัพึงเปนผูนิง่ ไมช อบแกท านผูใด ทานผูนน้ั พึงพดู . ตัชชนยี กรรมอันสงฆร ะงบั แลว แกภิกษพุ วกพระปณ ฑุกะและพระโลหิตกะ ชอบแกส งฆ เหตนุ ัน้ จงึ นิ่งขาพเจา ทรงความนไิ วด วยอยางน้ี. ตัชชนยี กรรม ท่ี ๑ จบ

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 25 นยิ สกรรม ท่ี ๒ เรื่องพระเสยยสกะ [๔๓] กโ็ ดยสมัยนนั้ แล ทา นพระเสยยสกะเปน พาล ไมฉ ลาด มีอาบตั ิมาก มมี รรยาทไมส มควร อยคู ลกุ คลีกับคฤหสั ถด วยการคลุกคลอี ันไมสนควร ทงั้ ทปี่ กตตั ตะภิกษทุ ้ังหลายใหปริวาส ชักเขาหาอาบตั ิเติม ใหม านัตอัพภานอยู บรรดาภิกษทุ ่ีเปนผูม กั นอย ตา งกเ็ พงโทษ ตเิ ตียน โพนทะนาวา ไฉนเลาทา นพระเสยยสกะจงึ ไดเปนพาล ไมฉลาด มอี าบัตมิ าก มีมารยาทไมสมควร อยูคลุกคลกี ับคฤหัสถดวยการคลกุ คลอี ันไมส มควร ทงั้ ที่ปกตัตตะภกิ ษทุ ั้งหลายใหป ริวาส ชกั เขาหาอาบัติเดิม ใหมานตั อัพภานอยูเลา แลวกราบทูลเรอ่ื งน้ัน แดพ ระผูมพี ระภาคเจา. ประชุมสงฆท รงสอบถาม [๔๔] ลําดบั น้นั พระผมู พี ระภาคเจา รับสั่งใหประชุมภกิ ษสุ งฆใ นเพราะเหตเุ ปน เคามลู นัน้ ในเพราะเหตุเเรกเกิดนน้ั แลวทรงสอบถามภกิ ษุท้ังหลายวา ดกู อนภิกษุทั้งหลาย ไดย ินวา ภิกษเุ สยยสกะเปน พาล ไมฉลาดมีอาบัติมาก มีมารยาทไมสมควร อยคู ลุกคลีกบั คฤหสั ถด วยการคลุกคลีอนั ไมส มควร ท้งั ท่ปี กตัตตะภิกษทุ ง้ั หลายใหปริวาส ชักเขา หาอาบตั ิเดมิ ใหมานตั อพั ภานอยู จริงหรอื ? ภิกษุทง้ั หลายทลู รบั วา จริง พระพทุ ธเจา ขา. ทรงตเิ ตยี น พระผมู ีพระภาคพทุ ธเจาทรงติเตยี นวา ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย การกระทําของโมฆบรุ ุษนน้ั ไมเ หมาะไมส ม ไมค วร ไมใ ชก จิ ของสมณะใชไมไ ด ไมค วรทาํ .

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 26 ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย ไฉนโมฆบุรษุ นั้น จงึ ไดเ ปนพาล ไมฉ ลาดมีอาบตั ิมาก มมี ารยาทไมส นควร อยูค ลุกคลกี ับคฤหสั ถด ว ยการคลุกคลอี นัไมส มควร ทงั้ ทป่ี กตตั ตะภิกษทุ ัง้ หลายใหป รวิ าส ชกั เขาหาอาบตั ิเดมิ ใหมานัต อัพภานอยูเ ลา การกระทําของโมฆบุรุษนัน้ นั่น ไมเ ปน ไปเพ่อื ความเล่อื มใสของชมุ ชนทย่ี งั ไมเลือ่ มใส หรอื เพื่อความเล่ือมใสยิ่งของชุมชนท่ีเล่อื มใสแลว .... คร้ันแลว ทรงทําธรรมกี ถา รับสัง่ กะภกิ ษทุ ้ังหลายวาดกู อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย เพราะเหตนุ น้ั แล สงฆจงทํานิยสกรรมแกภ กิ ษุเสยยสกะคอื ใหก ลบั ถอื นิสัยอกี . วธิ ีทาํ นิยสกรรม ดูกอ นภิกษุท้ังหลาย ก็แลสงฆพ ึงทํานิยสกรรมอยางนี้ คือช้ันตนพึงโจทภิกษเุ สยยสกะ คร้ันแลวพงึ ใหเ ธอใหก าร แลวพึงปรบั อาบัติ คร้นัแลว ภิกษผุ ฉู ลาด ผูสามารถ พึงประกาศใหส งฆท ราบดว ยญตั ตจิ ตตุ ถกรรมวาจา วาดังน้ี:- กรรมวาจาทาํ นยิ สกรรม ทานเจาขา ขอสงฆจงฟง ขาพเจา พระเสยยสกะ ผูน เ้ี ปน พาลไมฉลาด มอี าบตั มิ า มมี รรยาทไมส มควร อยูค ลกุ คลีกบั คฤหัสถดวยการคลกุ คลีอนั ไมส มควร ทงั้ ที่ ปกตตั ตะภกิ ษทุ ้ังหลายใหป ริวาสชักเขาหาอาบตั ิเดมิ ให มานตั อัพภานอยู ถาความพรอมพรั่งของสงฆถึงทแี่ ลว สงฆพ ึงทาํ นิยสกรรมแกพ ระเสยยสกะ คือ ใหก ลับถอื นสิ ัย อีก นเ่ี ปน ญตั ติ.

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 27 ทา นเจา ขา ขอสงฆจงฟง ขาพเจา พระเสยยสกะผูนเ้ี ปน พาลไมฉลาด มอี าบัตมิ าก มีมรรยาทไมสมควร อยูคลุกคลกี บั คฤหัสถดวยการคลกุ คลีอันไมสมควร ทัง้ ท่ีปกตตั ตะภกิ ษุทัง้ หลายใหป รวิ าสชกั เขาหาอาบัติเดิม ใหมานัต อพั ภานอยู สงฆท ํานิยสกรรมแกพระเสยยสกะคอืใหกลบั ถือนิสยั อีก การทํานิยสกรรมแกพ ระเสยยสกะคอืใหก ลบั ถือนิสัยอีก ชอบแกท า นผใู ด ทา นผนู ั้นพึงเปนผูนิง่ ไมชอบแกทา นผูใ ด ทา นผูน นั้ พึงพดู . ขาพเจากลา วความนีแ้ มคร้งั ทีส่ อง ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟง ขา พเจา พระเสยยสกะผูน้ีเปน พาล ไมฉ ลาดมอี าบตั มิ าก มีมารยาทไมสมควร อยคู ลุกคลีกบั คฤหสั ถดว ยการคลุกคลีอันไมส มควร ทั้งทปี่ กตตั ตะภกิ ษุท้ังหลายใหปริวาส ชกั เขา หาอาบัตเิ ดิม ใหม านัต อพั ภานอยู สงฆทาํ นยิ สกรรมแกพ ระเสยยสกะ คอื ใหกลับถอื นสิ ยั อีก การทาํ นิยสกรรมแกพระเสยยสกะ คอื ใหกลับถอื นินยั อีกชอบแกท า นผใู ด ทานผูน ้นั พงึ เปนผูน ่ิง ไมช อบแกทานผูใด ทา นผูนัน้ พงึ พดู . ขา พเจา กลา วความน้ีแมค รัง้ ทีส่ าม ทานเจาขา ขอสงฆจ งฟง ขาพเจา ....ทา นผูนน้ั พงึ เปน ผูนงิ่ ไมชอบแกท า นผูใ ด ทานผูน ั้นพงึ พดู .

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 28 นิยสกรรม อันสงฆทําแลวแกพ ระเสยยสกะ คอื ใหกลบั ถือนิสัยอกี ชอบแกสงฆ เหตนุ ้ันจึงนงิ่ ขา พเจา ทรงความนี้ไวอยางน.้ี ลักษณะกรรมไมเปน ธรรม ๑๒ หมวด หมวดที่ ๑ [๔๕] ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย นยิ สกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเปนวนิ ัย และระงับแลวไมด ี คือทําลับหลัง ๑ ไมสอบถามกอ นแลวทาํ ๑ไมทําตามปฏญิ าณ ๑ ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย นยิ สกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปนวินัย และระงับเเลว ไมดี หมวดที่ ๒ [๔๖] ดกู อนภิกษุทัง้ หลาย นิยสกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ แมอนื่ อีกเปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วนิ ัย และระงบั แลวไมด ี คือ ทําเพราะไมต องอาบตั ิ ๑ ทําเพราะอาบตั ิมิใชเ ทศนาคามนิ ี ๑ ทาํ เพราะอาบัติที่แสดงแลว . ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย นยิ สกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ นแี้ ล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วนิ ัย และระงับเเลวไมดี หมวดที่ ๓ [๔๗] ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ แมอืน่ อีกเปน กรรมไมเปนธรรม ไมเ ปน วินัย และระงับแลวไมด ี คอื ไมโ จทกอนแลว ทาํ ๑ ไมใ หจ ําเลยใหการแลวทํา ๑ ไมปรับอาบัตแิ ลวทํา ๑

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 29 ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย นิยสกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วินัย และระงบั แลว ไมดี. หมวดท่ี ๔ [๔๘] ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย นยิ สกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอ่นื อีกเปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลวไมดี คอื ทําลบั หลงั ๑ ทําโดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปนวรรคทาํ ๑ ดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย นยิ สกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลวไมด ี. หมวดที่ ๕ [๔๙] ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย นยิ สกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อกี เปน กรรมไมเปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลว ไมดี คือไมสอบถามกอนแลวทาํ ๑ ทําโดยไมเ ปนธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทํา ๑ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย นิยสกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปนวินยั และระงับเเลว ไมด ี. หมวดท่ี ๖ [๕๐] ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอ่นื อกี เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเปน วินยั และระงบั แลวไมดี คือไมท าํตามปฏญิ าณ ๑ ทาํ โดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑ ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย นยิ สกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเปนวนิ ยั และระงับแลว ไมด.ี

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 30 หมวดที่ ๗ [๕๑] ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ แมอื่นอกี เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปนวินยั และระงับแลวไมด ี คือ ทาํเพราะไมต องอาบตั ิ ๑ ทําโดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเปนวินยั และระงับแลว ไมด ี. หมวดที่ ๘ [๕๒] ดูกอ นภิกษุท้งั หลาย นิยสกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ แมอื่นอกี เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเปนวินัย และระงบั แลวไมดี คือทําเพราะอาบตั ิมใิ ชเทสนาคามินี ๑ ทําโดยไมเ ปนธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทํา ๑ ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย นิยสกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมไมเปนธรรม ไมเปน วินัย และระงบั แลวไมดี. หมวดท่ี ๙ [๕๓] ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย นิยสกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓ แมอืน่ อกี เปน กรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลวไมดี คือ ทําเพราะอาบตั ทิ แ่ี สดงแลว ๑ ทําโดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทาํ . ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย นิยสกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปน วนิ ยั และระงับแลว ไมด.ี

พระวนิ ัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 31 หมวดที่ ๑๐ [๕๔] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย นิยสกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ แมอืน่ อีก เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วินยั และระงับแลว ไมดี คือไมโจทกอ นแลว ทํา ๑ ทาํ โดยไมเ ปน ธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทาํ ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ น้ีแล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วินยั และระงบั แลวไมดี. หมวดท่ี ๑๑ [๕๕] ดูกอ นภิกษุท้งั หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อกี เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วินยั และระงับแลว ไมดี คือ ไมใหจาํ เลยใหการกอนแลว ทํา ๑ ทาํ โดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทาํ ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย นิยสกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วินัย และระงับเเลว ไมด .ี หนวดที่ ๑๒ [๕๖] ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย นิยสกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ แมอน่ื อีก เปน กรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปนวินัย และระงับแลว ไมดี คือ ไมปรบั อาบัตแิ ลว ทํา ๑ ทาํ โดยไมเ ปน ธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปน วินัย และระงับแลวไมดี. ลกั ษณะกรรมไมเปนธรรม ๑๒ หมวด จบ

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 32 ลักษณะกรรมเปนธรรม ๑๒ หมวด หมวดที่ ๑ [๕๗] ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ เปนกรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงบั ดแี ลว คอื ทําตอหนา ๑ สอบถามกอนแลวทํา ๑ ทําตามปฏิญาณ ๑ ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย นยิ สกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว . หมวดท่ี ๒ [๕๘] ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ แมอ่ืนอีก เปน กรรมเปน ธรรม เปน วนิ ยั และระงบั ดีแลว คอื ทาํ เพราะตอ งอาบตั ิ ๑ ทาํ เพราะอาบตั ิเปน เทสนาคามินี ๑ ทําเพราะอาบตั ิทย่ี ังไมไดแสดง ๑ ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย นิยสกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ นี้แล เปนกรรมเปนธรรม เปน วนิ ยั และระงับดีแลว. หมวดที่ ๓ [๕๙] ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย นยิ สกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อีก เปน กรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว คือ โจทกอนแลว ทาํ ๑ ใหจ ําเลยใหการกอ นแลว ทาํ ๑ ปรับอาบตั ิแลว ทํา ๑ ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย นยิ สกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินัย และระงับดแี ลว .

พระวินัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 33 หมวดที่ ๔ [๖๐] ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย นยิ สกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ แมอ่นื อีก เปน กรรมเปน ธรรม เปนวนิ ัย และระงับดีแลว คอื ทาํ ตอหนา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพรอ มเพรยี งกนั ทาํ ๑ ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย นิยสกรรมที่ประกอบดวยองค ๓ น้ีแล เปนกรรมเปนธรรม เปน วนิ ยั และระงบั ดีแลว . หมวดที่ ๕ [๖๑] ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย นิยสกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อีก เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงับดีแลว คอื สอบถามกอนแลวทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพรอมเพรยี งกันทํา ๑ ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย นยิ สกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปนธรรน เปน วินยั และระงบั ดแี ลว . หมวดที่ ๖ [๖๒] ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ แมอนื่ อีก เปนกรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว คือ ทาํ คามปฏิญาณ ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรียงกนั ทาํ ๑ ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงับดแี ลว. หมวดท่ี ๗ [๖๓] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย นิยสกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อกี เปน กรรมเปน ธรรม เปน วนิ ัย และระงับดีแลว คอื ทาํ เพราะตอ งอาบัติ ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอ มเพรยี งกันทํา ๑

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 34 ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย นิยสกรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓ นแี้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินยั และระงับดแี ลว. หมวดที่ ๘ [๖๔] ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย นิยสกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ แมอื่นอกี เปน กรรมเปนธรรม เปนวินัย และระงับดแี ลว คือ ทาํ เพราะอาบตั ิเปนเทสนาคามินี ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอ มเพรยี งกนั ทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย นิยสกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ น้ีแล เปนกรรมเปนธรรม เปน วนิ ัย และระงับดแี ลว . หมวดท่ี ๙ [๖๕] ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอน่ื อีก เปน กรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว คือ ทําเพราะอาบัติยงั ไมไ ดแ สดง ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอมเพรยี งกันทํา ๑ ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย นยิ สกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ล เปนกรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงบั ดีแลว . หมวดที่ ๑๐ [๖๖] ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย นิยสกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓ แมอืน่ อกี เปน กรรมเปน ธรรม เปน วินัย เเละระงบั ดเี เลว คือ โจทกอ นแลว ทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรียงกนั ทาํ ๑ ดกู อนภิกษุทั้งหลาย นยิ สกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินัย และระงบั ดแี ลว .

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 35 หมวดท่ี ๑๑ [๖๗] ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย นิยสกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓ แมอ่ืนอกี เปน กรรมเปนธรรม เปน วนิ ัย และระงบั ดแี ลว คอื ใหจ าํ เลยใหก ารกอ นแลวทาํ ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรียงกันทํา ๑ ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย นยิ สกรรมทีป่ ระกอบดว ยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปนธรรม เปนวนิ ยั และระงับดแี ลว. หมวดท่ี ๑๒ [๖๘] ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย นิยสกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ แมอ่ืนอกี เปนกรรมเปน ธรรม เปนวนิ ยั และระงบั ดีแลว คอื ปรบั อาบัติแลวทํา ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรียงกันทาํ ๑ ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย นยิ สกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เปนกรรมเปน ธรรม เปน วนิ ยั และระงับดีแลว . ลกั ษณะกรรมเปน ธรรม ๑๒ หมวด จบ ขอ ทส่ี งฆจ าํ นง ๖ หมวด หมวดที่ ๑ [๖๙] ดูกอนภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษปุ ระกอบดวยองค ๓ เมือ่ สงฆจ าํ นงจะพงึ ลงนยิ สกรรมก็ได คอื เปนผูก อความบาดหมาง กอการทะเลาะกอ การวิวาท กอความอือ้ ฉาว กออธิกรณใ นสงฆ เปน พาล ไมฉลาดมีอาบัตมิ าก มีมารยาทไมสมควร ๑ อยูคลุกคลีกับคฤหสั ถ ดวยการคลุกคลีอนั ไมสมควร ๑

พระวนิ ยั ปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 36 ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ภิกษปุ ระกอบดวยองค ๓ น้แี ล เมือ่ สงฆจํานงจะพึงลงนยิ สกรรมกไ็ ด. หมวดท่ี ๒ [๗๐] ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย ภิกษปุ ระกอบดวยองค ๓ แมอ่นื อกีเมอื่ สงฆจ ํานงจะพงึ ลงนิยสกรรมกไ็ ด คอื เปน ผมู ีศลี วิบตั ิ ในอธศิ ลี ๑เปน ผมู อี าจารวบิ ัติ ในอัธยาจาร ๑ เปน ผมู ีทฏิ ฐวิ ิบตั ิ ในอตทิ ิฏฐิ ๑ ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ภกิ ษุประกอบดวยองค ๓ นีแ้ ล เมื่อสงฆจาํ นงจะพงึ ลงนิยสกรรมก็ได. หมวดท่ี ๓ [๗๑] ดูกอนภกิ ษุทัง้ หลาย ภกิ ษุประกอบดวยองค ๓ แมอื่นอกีเมอ่ื สงฆจํานงจะพึงลงนิยสกรรมกไ็ ด คอื กลา วติเตียนพระพุทธเจา ๑กลา วตเิ ตยี นพระธรรม ๑ กลา วติเตียนพระสงฆ ๑ ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๓ นี้แล เม่อื สงฆจาํ นงจะพงึ ลงนยิ สกรรมกไ็ ด. หมวดท่ี ๔ [๗๒] ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลายเมือ่ สงฆจ าํ นงจะพึงลงนยิ สกรรมแกภ ิกษุ๓ รูปคอื รปู หนง่ึ เปน ผูกอ ความบาดหมาง กอ การทะเลาะ กอการวิวาทกอ ความอ้อื ฉาว กออธกิ รณในสงฆ ๑ รูปหนงึ่ เปนพาล ไมฉ ลาด มีอาบตั ิมาก มีมารยาทไมสมควร ๑ รูปหน่งึ อยคู ลุกคลีกบั คฤหัสถดวยการคลุกคลีอนั ไมส มควร ๑

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 37 ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย เม่ือสงฆจาํ นงจะพึงลงนิยสกรรมแกภิกษุ ๓ รปูนีแ้ ล. หมวดที่ ๕ [๗๓] ดกู อนภิกษุท้ังหลาย เมื่อสงฆจ ํานงจะพงึ ลงนยิ สกรรมแกภกิ ษุ ๓ รูปแมอ ื่นอกี คือ รูปหน่งึ เปนผูมศี ีลวิบัติ ในอธศิ ีล รูปหนึ่งเปนผูมีอาจารวบิ ัตใิ นอธั ยาจาร ๑ รูปหน่ึงเปน ผมู ีทิฏฐิวบิ ตั ิ ในอตทิ ิฏฐิ ิ ๑ ดูกอ นภิกษทุ ง้ั หลาย เมอ่ื สงฆจาํ นงจะพึงลงนยิ สกรรมแกภกิ ษุ ๓ รปูน้ีแล. หมวดท่ี ๖ [๗๔] ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย เมอ่ื สงฆจะพึงลงนยิ สกรรมแกภ กิ ษุ๓ รูปแมอน่ื อกี คอื รปู หนึง่ กลา วติเตยี นพระพทุ ธเจา ๑ รปู หนงึ่ กลาวตเิ ตียนพระธรรม ๑ รูปหนึ่งกลาวติเตียนพระสงฆ ๑ ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย เมือ่ สงฆจํานงจะพึงลงนิยสกรรมแกภ ิกษุ ๓ รปูนี้แล. ขอ ที่สงฆจ ํานง ๖ หมวด จบ วตั ร ๑๘ ขอ ในนิยสกรรม [๗๕] ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุที่ถกู สงฆลงนยิ สกรรมแลวตอ งประพฤตโิ ดยชอบ วธิ ีประพฤตโิ ดยชอบในนยิ สกรรมนั้น ดงั ตอ ไปนี้ :- ๑. ไมพ ึงใหอ ปุ สมบท ๒. ไมพ งึ ใหนสิ ัย

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 38 ๓. ไมพ ึงใหส ามเณรอุปฏฐาก ๔. ไมพ งึ รับสมมตเิ ปน ผสู ั่งสอนภกิ ษณุ ี ๕. แมไ ดรับสมมติไวแ ลว กไ็ มพ ึงสัง่ สอนภกิ ษุณี ๖. ถกู สงฆล งนยิ สกรรมเพราะอาบตั ิใด ไมพงึ ตองอาบตั ิน้ัน ๗. ไมพ งึ ตองอาบตั อิ ่นื อันเชน กนั ๘. ไมพึงตองอาบตั ิอนั เลวทรามกวานน้ั ๙. ไมพ ึงติกรรม ๑๐. ไมพงึ ติภกิ ษุท้ังหลายผทู าํ กรรม ๑๑. ไมพ งึ หา มอโุ บสถแกปกตตั ตะภกิ ษุ ๑๒. ไมพึงหา มปวารณาแกปกตัตตะภกิ ษุ ๑๓ . ไมพงึ ทําการไตส วน ๑๔ . ไมพึงเรม่ิ อนวุ าทาธกิ รณ ๑๕ . ไมพ ึงยังภกิ ษอุ ืน่ ใหทาํ โอกาส ๑๖ . ไมพ ึงโจทภิกษุอน่ื ๑๗. ไมพึงใหภิกษอุ นื่ ใหการ ๑๘. ไมพงึ ชวยภกิ ษุตอ ภกิ ษุใหส ูอ ธกิ รณกนั วตั ร ๑๘ ขอ ในสยิ สกรรม จบ วตั รท่คี วรระงบั และไมค วรระงับ [๗๖] คร้ังนั้น สงฆไ ดลงนิยสกรรมแกพระเสยยสกะแลว คือใหกลบั ถอื นิสยั อีก เธอถกู สงฆล งนยิ สกรรมแลว ซองเสพคบหานง่ั ใกลกลั ยาณ-มิตรขอใหแ นะนํา ไตถ าม ไดเปนพหสู ตู ชํา่ ชอง ในคมั ภรี  ทรงธรรม

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 39ทรงวนิ ยั ทรงมาติกา เปน ผูฉ ลาด เฉยี บแหลม มปี ญญา เปนลัชชี มีความรงั เกยี จ ใครต อสิกขา เธอประพฤติโดยชอบ หายเยอ หย่งิ ประพฤติแกต วั ได เขาไปหาภิกษุทงั้ หลายแลวกลา วอยา งนีว้ า อาวุโสท้งั หลาย ผมถกู สงฆล งนิยสกรรมแลวไดป ระพฤตโิ ดยชอบ หายเยอ หยง่ิ ประพฤตแิ กตวั ได ผมจะพงึ ปฏิบัตอิ ยางไรตอไปภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทูลเร่ืองนน้ั แดพระผมู ีพระภาคเจา. [๗๗] พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสวา ดูกอนภกิ ษุทั้งหลาย ถา เชน น้นัสงฆจงระงบั นยิ สกรรมแกภ ิกษุเสยยสกะ. วัตรทไ่ี มค วรระงับ ๑๘ ขอ ๓ หมวด หมวดท่ี ๑ ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย สงฆไ มพ ึงระงบั นิยสกรรมแกภิกษผุ ปู ระกอบดว ยองค ๕ คือ :- ๑. ใหอุปสมบท ๒. ใหนสิ ยั ๓. ใหสามเณรอปุ ฏ ฐาก ๔. รับสมมตเิ ปน ผูส่ังสอนภิกษุณี ๕. แมไ ดรับสมมตแิ ลว กย็ ังสั่งสอนภกิ ษุณี ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๕ นแ้ี ล สงฆไ มพ งึระงบั นิยสกรรม.






















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook