Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_57

tripitaka_57

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:42

Description: tripitaka_57

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 1 พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลมที่ ๓ ภาคที่ ๓ขอนอบนอมแดพระผมู ีพระภาคอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจาพระองคน้นั ทุกนิบาตชาดก ๑. ทัฬหวรรค ๑. ราโชวาทชาดก วา ดวยวิธชี นะ [๑๕๑] พระเจา พัลลิกราชทรงชนะความกระดาง ตอ ผูท ก่ี ระดา ง ทรงชนะคนออนดวยความออน ทรงชนะคนดดี วยความดี ทรงชนะคนไมดดี วย ความไมดี พระราชาพระองคนี้เปน เชน น้ี ดูกอ น นายสารถี ทานจงหลกี ทางถวายพระราชาของ เราเถดิ .

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 2 [๑๕๒] พระเจา พาราณสีทรงชนะคนโกรธดว ย ความไมโ กรธ ทรงชนะคนไมด ีดว ยความดี ทรง ชนะคนตระหนี่ดวยการให ทรงชนะคนพูดเหลาะ แหละดว ยคาํ สตั ย พระราชาพระองคน้เี ปน เชน น้ี ดูกอ นนายสารถี ทานจงหลกี ทางถวายพระราช ของเราเถิด. จบ ราโชวาทชาดกท่ี ๑ อรรถกถาทัฬหวรรค ทกุ นบิ าต อรรถกถาราโชววาทชาดกที่ ๑ พระศาสดาเมื่อทรงประทบั อยู ณ พระวหิ ารเชตวนั ทรงปรารภโอวาทของพระราชา ตรัสพระธรรมเทศนาน้มี คี าํ เริม่ ตนวา ทฬหฺ  ทฬฺหสฺส ขปิ ติ ดังนี.้ โอวาทของพระราชานัน้ จกั มีแจงในเตสกณุ ชาดก. ในวันหนงึ่ พระเจา โกศลทรงวนิ ิจฉยั คดีเรือ่ งหนง่ึ ซง่ึ วนิ ิจฉัยไวไ มด ีมอี คติ เสรจ็ แลวเสวยพระกระยาหารเชา ท้ัง ๆ ที่มีพระหตั ถ

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 3เปย ก เสดจ็ ข้นึ ทรงราชรถทจ่ี ดั ไวเ รยี บรอ ยแลว เสด็จไปเฝาพระศาสดา ทรงหมอบลงแทบพระบาทอนั มีสิริดจุ ดอกปทุมบานถวายบังคมพระศาสดา ประทับนั่ง ณ ทส่ี มควรสวนขา งหน่งึ .ลําดับน้ัน พระศาสดาไดต รสั ปฏสิ นั ถารกะพระเจาโกศลวา ขอตอ นรับมหาบพติ ร พระองคเสด็จมาจากไหนแตย ังวัน. พระเจาโกศลกราบทูลวา ขา แตพระองคผ ูเจรญิ วันน้ีขาพระองคว ินิจฉยัคดเี ร่ืองหนง่ึ ซ่ึงวินิจฉยั ไวไมด ี จึงไมม โี อกาส บดั นพี้ จิ ารณาคดีนั้นเสร็จแลว จึงบริโภคอาหารทงั้ ๆ ทมี่ อื ยงั เปย ก มาเฝาพระองคน่ีแหละพระเจา ขา . พระศาสดาตรสั วา ขอถวายพระพรช่อื วาการวินิจฉัยโดยท านองคลองธรรมเปน ความดี เปน ทางสวรรคแท. กข็ อท่มี หาบพติ รไดโอวาทจากสํานกั ของผเู ปนสัพพัญูเชนตถาคต ทรงวินิจฉัยคดีโดยท านองคลองธรรมนีไ้ มอ ัศจรรยเลย การทพ่ี ระราชาทั้งหลายในกาลกอ น ทรงสดบั โอวาทของเหลาบณั ฑิต ทัง้ ที่ไมใชส พั พัญู แลวทรงวนิ ิจฉยั คดโี ดยท านองคลองธรรม เวนอคตสิ อี่ ยาง บาํ เพญ็ ทศพิธราชธรรม ไมใ หเส่อื มเสยี เสวยราชสมบัติโดยธรรม บาํ เพญ็ ทางสวรรค เสดจ็ ไปแลวนี่แหละนา อศั จรรย. พระเจาโกศลกราบทลู อาราธนา พระองคจงึทรงนําเร่อื งในอดตี มาเลา ถวาย. ในอดีตครัง้ เมือ่ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัตอิ ยใู นกรุงพาราณสี พระโพธสิ ัตวทรงถอื ปฏสิ นธใิ นพระครรภข องพระอัครมเหสขี องพระราชาน้ัน ไดรบั การบรหิ ารพระครรภ

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 4เปนอยา งดี ทรงประสตู จิ ากพระครรภของพระมารดา โดยสวสั ดิภาพ. ในวนั ขนานพระนาม พระชนกชนนีไดทรงตั้งพระนามของพระโพธิสัตววา พรหมทัตกุมาร. พรหมทัตกมุ ารน้ัน ไดเ จริญวัยขึน้ โดยลาํ ดับ เมอ่ื พระชนมได ๑๖ พรรษา เสดจ็ ไปเมอื งตักกศิลา ทรงสาํ เรจ็ ศิลปศาตรทกุ แขนง เมือ่ พระชนกสวรรคตทรงดาํ รงอยใู นราชสมบตั ิ ครอบครองราชสมบตั ิโดยท านองคลองธรรม ทรงวนิ ิจฉัยคดีไมลว งอคติ มฉี นั ทาคตเิ ปน ตน . เมอ่ื พระองคเ สวยราชสมบตั ิโดยธรรมอยางน้ี มพี วกอาํ มาตยตางก็วินิจฉยั คดีโดยธรรมเหมอื นกัน.เม่อื คดที ง้ั หลายไดรบั การวนิ ิจฉยั โดยธรรม จึงไมมีคดีโกงเกิดขน้ึเพราะไมมคี ดโี กงเหลา น้นั การรองทกุ ข ณ พระลานหลวง เพ่ือใหเ กดิ คดีก็หมดไป. พวกอํามาตยน ั่งบนบัลลังกว ินจิ ฉยั ตลอดวนัไมเห็นใคร มาเพอื่ ใหว นิ จิ ฉัยคดี ตา งกล็ กุ กลบั ไป. สถานที่วนิ จิ ฉยั คดกี ็ถกู ทอดทิ้ง. พระโพธิสตั วทรงดาํ ริวา เมอื่ เราครองราชสมบตั ิโดยธรรมไมมีผคู นมาใหว ินจิ ฉัยคดี ไมม ผี ูม ารอ งทกุ ข สถานท่ีวินิจฉยั คดีก็ถูกทอดทง้ิ . บดั นี้เราควรตรวจสอบโทษของตน ครั้นเรารวู านเ่ี ปน โทษของเรา จกั ละโทษนั้นเสียประพฤติในสิ่งท่ีเปน คุณเทา น้นั . จําเดมิ แตน ้ันมา พระโพธสิ ัตวก ็ทรงสํารวจดูวา จะมีใคร ๆ พูดถงึ โทษของเราบา งหนอ คร้ันไมทรงเห็นใคร ๆ กลา วถงึ โทษ ในระหวางขาราชบริพารภายใน ทรงสดับแตค าํ สรรเสริญ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 5คณุ ของพระองคถายเดยี ว ทรงดํารวิ า ชะรอยชนเหลาน้ี เพราะกลวั เราจึงไมก ลา วถงึ โทษ กลาวแตคุณเทา นน้ั จึงทรงสอบขา -ราชบรพิ ารภายนอก แมใ นหมขู าราชบรพิ ารเหลานน้ั กไ็ มทรงเหน็ จึงทรงสอบชาวเมอื งภายในพระนคร ทรงสอบชาวบา นที่ทวารทงั้ สี่นอกพระนคร แมใ นทีน่ ้นั ก็มไิ ดท รงเห็นใคร ๆ กลาวถึงโทษ ทรงสดับแตค ําสรรเสรญิ ของพระองคถ ายเดยี ว จึงทรงดาํ ริวา เราจักตรวจสอบชาวชนบท ทรงมอบราชสมบัตใิ หเ หลาอาํ มาตย เสด็จขึ้นรถไปกับสารถเี ทานั้น ทรงปลอมพระองคไมใหใ ครรจู กั เสดจ็ ออกจากพระนคร พยายามสอบสวนชาวชนบทจนเสด็จถงึ ภมู ปิ ระเทศชายแดน กม็ ไิ ดทรงเห็นใคร ๆ กลา วถงึโทษ ทรงสดบั แตค ําสรรเสรญิ พระคณุ จงึ ทรงบายพระพักตรสูพระนคร เสดจ็ กลบั ตามทางหลวงจากเขตชายแดน. ในเวลานั้น แมพระเจาโกศลพระนามวา พลั ลิกะ กท็ รงครอบครองราชสมบัตโิ ดยธรรม ทรงตรวจสอบหาโทษในบรรดาขาราชบริพารภายในเปนตน มิไดท รงเหน็ ใคร ๆ กลาวถงึ โทษเลย ทรงสดับแตคาํ สรรเสรญิ พระคุณของพระองคเหมอื นกันจงึ ทรงตรวจสอบชาวชนบท ไดเ สด็จถงึ ประเทศน้ัน. กษัตรยิ ทั้งสอง ไดปะจันหนากนั ท่ที างเกวียนอนั ราบลมุแหงหนึ่ง ไมม ที างท่ีรถจะหลกี กันได. สารถขี องพระเจาพัลลิกะจงึ พูดกะสารถีของพระเจาพาราณสวี า \" จงหลกี รถของทา น \"สารถขี องพระเจาพาราณสกี ต็ อบวา \" พอมหาจําเรญิ ขอใหทาน

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 6หลกี รถของทานเถดิ บนรถนีม้ ีพระเจา พรหมทัตมหาราช ผูครอบครองราชสมบตั ใิ นกรุงพาราณสปี ระทับน่งั อยู \" สารถีอกี ฝายหนง่ึ ก็พดู วา \" พอ มหาจําเริญ บนรถนพี้ ระเจาพัลลกิ ะมหาราชผูค รอบครองราชสมบตั แิ ควนโกศลก็ประทบั นั่งอยูขอทานไดโปรดหลีกรถของทาน แลวใหโอกาสแกรถของพระ-ราชาของเราเถิด \" สารถีของพระเจา พาราณสดี ํารวิ า \" แมผทู ี่น่งั อยใู นรถน้ีกเ็ ปนพระราชาเหมือนกนั เราจะควรทาํ อยา งไรดหี นอ \" นกึ ข้นึไดวา มอี ุบายอยางหน่งึ เราจักถามถึงวยั ใหรถของพระราชาหนุมหลีกไป แลวใหพ ระราชทานโอกาสแกพระราชาแก คร้นั ตกลงใจแลว จึงถามถงึ วัยของพระเจา โกศลกะสารถี แลว กาํ หนดไวครัน้ ทราบวาพระราชาทงั้ สองมีวัยเทากัน จึงถามถึงปริมาณราชสมบตั ิ กําลัง ทรพั ย ยศ ชาติ โคตร ตระกลู ประเทศคร้ันทราบวา ท้ังสองฝายเปน ผคู รอบครองรชั สมี าประมาณฝา ยละสามรอยโยชน มีกําลัง ทรพั ย ยศ ชาติ โคตร ตระกลูและประเทศเทากนั แลว คิดตอไปวา เราจกั ใหโอกาสแกผมู ศี ีลจงึ ถามวา \" พอมหาจําเริญ ศีลและมารยาทแหงพระราชาของทา นเปนอยางไร \" เมือ่ เขาประกาศสง่ิ ที่เปน โทษแหงพระราชาของตน โดยนึกวา เปน คุณ จงึ กลา วคาถาแรกวา :- พระเจา พัลลิกราชทรงชนะคนกระดาง ดวยความกระดาง ทรงชนะคนออนโดยดว ยความ

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 7 ออ นโยน ทรงชนะคนดดี ว ยความดี ทรงชนะ คนไมด ดี ว ยความไมด ี พระราชาพระองคน้เี ปน เชน น้ัน ดกู อนสารถที า นจงหลกี ทางถวายพระ ราชาของเราเถดิ . ในบทเหลา นนั้ บทวา ทฬฺห ทฬฺหสสฺ ขิปติ ความวา สารถีของพระเจา พลั ลิกะช้แี จงวา ผูใ ดเปนคนกระดา ง มีกาํ ลังควรชนะดวยการประหารหรือดว ยวาจาอันกระดา ง กใ็ ชการประหารหรือวาจาอนั กระดา งตอผนู ั้น พระเจา พัลลกิ ะทรงใชค วามกระดางชนะผนู ั้นอยางน้ี. บทวา พลลฺ โิ ก เปนชอ่ื ของพระราชาพระองคนัน้ . บทวา มุทนุ า มุทุ ความวา พระเจา พลั ลิกะทรงใชความออนโยนชนะบุคคลออนโยน ดว ยอบุ ายอนั ออนโยน. บทวาสาธมุ ปฺ  สาธนุ า เชติ อสาธมุ ฺป อสาธนุ า ความวา สารถขี องพระเจาพลั ลิกะชีแ้ จงตอไปวา ชนเหลาใดเปน คนดี คอื เปนสตั บรุ ษุ พระองคท รงใชความดชี นะชนเหลานั้น ดวยอบุ ายอนั ดี.สวนชนเหลา ใดเปน คนไมดี พระองคก ท็ รงใชความไมดชี นะชนเหลา นน้ั ดวยอบุ ายที่ไมด เี หมือนกนั . บทวา เอตาทิโส อย ราชา ความวา พระเจา โกศลของพวกเรา ทรงประกอบดว ยศีล และมารยาทเหน็ ปานน้ี. บทวามคฺคา อยุ ฺยาหิ สารถิ ความวา สารถีของพระเจาพลั ลิกะพูดวาขอทา นจงหลกี รถของตนจากทางไปเสยี คอื จงไปนอกทาง ใหทางแกพระราชาของพวกเรา.

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 8 ลาํ ดับนนั้ สารถีของพระเจา พาราณสี กลา วกะสารถขี องพระเจา พลั ลกิ ะวา ทา นกลา วถึงพระคณุ ของพระราชาของทานหรอื เมอื่ เขาตอบวา ใชแลว สารถขี องพระเจา พาราณสจี งึ กลาวตอ ไปวา ผวิ าเหลา นเี้ ปน พระคณุ สงิ่ ท่เี ปนโทษจะมเี พยี งไหนสารถีของพระเจาพัลลกิ ะกลาววา เหลานีเ้ ปน โทษก็ตามเถิดแตพ ระราชาของทานมีพระคุณเชนไรเลา สารถขี องพระเจาพาราณสกี ลาววา ถา เชนน้ันทา นจงฟง แลวกลา วคาถาที่สองวา :- พระเจา พาราณสีทรงชนะคนโกรธดวย ความไมโ กรธ ทรงชนะคนไมด ีดว ยความดี ทรง ชนะคนตระหนี่ดวยการให ทรงชนะคนพูดเหลาะ แหละดวยคาํ สัตย พระราชาพระองคน ี้เปน เชน นั้น ดกู อ นสารถที า นจงหลกี ทางถวายพระราชา ของเราเถดิ . ในบทเหลา นัน้ บทวา เอตาทิโส ความวา พระราชาทรงประกอบดว ยคุณเหลา น้ี ท่ีกลา วไวโ ดยนัยมอี าทวิ า พึงชนะคนโกรธดวยความไมโ กรธ ดงั น้ี อธิบายวา พระราชาพระองคน ี้พระองคเ องไมโกรธ ทรงชนะบคุ คลผโู กรธดวยความไมโกรธพระองคเ องเปนคนดี ทรงชนะคนไมดีดว ยความดี พระองคเ องเปนผทู รงบรจิ าค ทรงชนะคนตระหน่ีเหนยี วแนนดว ยการบรจิ าคพระองคเ องตรสั ความจริง ทรงชนะคนพูดเหลาะแหละดว ยคําจริง.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 9 บทวา มคฺคา อุยฺยาหิ ความวา สารถีของพระเจาพาราณสีกลา ววา ทานสารถีผูเปนสหาย ขอไดโ ปรดหลีกจากทาง จงใหท างแกพ ระราชาของพวกเราผูประกอบดวยคณุ คอื ศลี และมารยาทมอี ยา งนี้ พระราชาของพวกเราสมควรแกท างดําเนิน. เมื่อสารถขี องพระเจา พาราณสีกลาวอยางนี้แลว พระเจาพลั ลกิ ะ และสารถที ั้งสองกเ็ สดจ็ และลงจากรถปลดมาถอยรถถวายทางแดพระเจา พาราณส.ี พระเจาพาราณสี ถวายโอวาทแดพระเจาพัลลกิ ะวา ธรรมดาพระราชาควรทรงกระทาํ อยางนี้ ๆแลวเสดจ็ ไปกรงุ พาราณสี ทรงกระทาํ บุญมีทานเปน ตน ทรงเพมิ่ พูนทางสวรรคในเวลาสุดสิ้นพระชนม. แมพ ระเจาพลั ลิกะกท็ รงรบั พระโอวาท ของพระเจา-พาราณสี ทรงสอบสวนชาวชนบท เสดจ็ ไปทว่ั พระนคร ไมเ หน็มผี กู ลาวโทษของพระองค จงึ กระทาํ บญุ มีทานเปนตน ทรงเพิ่มพูนทางสวรรค ในเวลาสุดสิ้นพระชนม. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานม้ี าเพอ่ื ทรงถวายโอวาทแดพระเจาโกศล แลวทรงประชมุ ชาดก นายสารถขี องพระเจาพลั ลกิ ะ คร้งั นัน้ ไดเ ปน พระโมค-คลั ลานะ พระเจาพลั ลกิ ะ ไดเ ปนพระอานนท สารถีของพระเจาพาราณสี ไดเ ปน พระสาริบตุ ร สวนพระราชาคอื ตถาคตเอง. จบ อรรถกถาราโชวาทชาดกท่ี ๑

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 10 ๒. สคิ าลชาดก วาดว ยการทาํ โดยไมพิจารณา [๑๕๓] การงานเหลานน้ั ยอมเผาบคุ คลผูม ีการ งานอันไมไ ดพิจารณาแลว รบี รอนจะท าให ส าเร็จเหมือนกบั ของรอนท่บี ุคคลไมพ ิจารณา กอ นแลวใสเขาไปในปาก ฉะนัน้ . [๑๕๔] อนง่ึ ราชสหี ไดแ ผดสหี นาทท่ีภเู ขาเงนิ สุนขั จ้ิงจอกอยใู นภเู ขาเงินไดฟง ราชสีหแผด เสียงกก็ ลวั ตาย หวาดกลวั หัวใจแตกตาย. จบ สิคาลชาดกที่ ๒ อรรถกถาสิคาลชาดกท่ี ๒ พระศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ กฏู าคารศาลา ทรงปรารถนาบุตรชา งกัลบกคนหนงึ่ ซง่ึ อยเู มืองเวสาลี แลว ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มคี ําเริ่มตน วา อสเมกฺขิตกมมฺ นตฺ  ดงั นี้ ไดยินวา บดิ าของเราเปน ผูมศี รทั ธาเลอื่ มใสถงึ ไตร-สรณาคมน สมาทานศีล ๕ กระทาํ กจิ ทกุ อยา ง เปน ตนวา ปลงพระมัสสุ แตงพระเกศา ตงั้ กระดานสะกาแดพระราชา พระมเหสีพระราชกมุ าร และพระราชกมุ ารี ยังกาลเวลาใหล วงไปดวยการฟง ธรรมของพระศาสดาเนอื ง ๆ. วนั หนงึ่ บิดาไปทํางาน

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 11ในราชนเิ วศน พาบตุ รของตนไปดว ย. บตุ รนน้ั เห็นนางกมุ ารกิ าแหงเจาลจิ ฉวีองคหน่ึง ในราชนเิ วศนน ั้น ประดับประดาดว ยเครอื่ งอลังการ เปรยี บดว ยนางเทพอปั สร มีจิตปฏพิ ทั ธ ครนั้ออกจากราชนิเวศนกับบิดาแลว คดิ วา เมื่อเราไดนางกมุ ารกิ าน้ีจึงจกั มชี ีวิตอยู เม่ือไมไ ดเราจกั ตายเสียในทนี่ ้ีแหละ จึงอดอาหารนอนซมเซาอยบู นเตียง. ล าดับน้ัน บิดาเขา ไปหาบตุ รปลอบโยนวา ลกู เอย ลูกอยา ทาํ ความพอใจยนิ ดีในสิ่งท่ีไมส มควรเลย ลูกเปนคนมกี ําเนดิตา่ํ ตอย เปน ลกู ชา งกัลบก สวนกุมารกิ าของเจา ลจิ ฉวี เปนธดิ ากษัตรยิ  สมบูรณดว ยชาติ นางไมสมควรแกเ จาดอก พอจักนาํกุมารกิ าอน่ื ท่เี หมาะสมดว ยชาตแิ ลโคตรมาใหลูก. บตุ รมไิ ดเช่อืถอยคําของบดิ า. ตอ มาญาติและมิตรสหาย คือ มารดา พ่ีชายนองสาว นา อา ทัง้ หมด ประชุมกนั ช้ีแจงกไ็ มอ าจใหย นิ ยอมได.เขาผอมซูบซดี นอนตายอยบู นเตยี งนัน่ เอง บดิ าของเขาครนั้ ทําฌาปนกิจเสร็จแลว เมอื่ ความโศกสรา งลง คดิ วา เราจกั ถวายบงั คมพระศาสดา จึงถอื ของหอม ดอกไมเปนตน และเครือ่ งลูบไลเปน อันมาก ไปปามหาวัน บชู าพระศาสดา ถวายบังคมแลว น่งัณ สวนขา งหนงึ่ เมอ่ื พระศาสดาตรสั ถามวา อบุ าสก เพราะอะไรทา นจงึ ไมปรากฏตลอดวัน เขาไดกราบทลู ความนัน้ ใหท รงทราบพระศาสดาตรสั วา อบุ าสก บุตรของทา นเกิดพอใจยนิ ดีในสงิ่อันไมสมควร แลว ถึงความพนิ าศ มิใชในบัดนีเ้ ทาน้นั แมเ ม่อื กอ น

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 12บุตรของทา นก็ถึงความพนิ าศมาแลว เมอ่ื เขาทูลอาราธนา จงึทรงนําเรอื่ งในอดีตมา ในอดตี กาล เมือ่ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัตใิ นกรุงพาราณสี พระโพธสิ ตั วอุบตั ใิ นกําเนิดราชสีห ณ ปา หมิ พานต.ราชสหี น ้ันมีนองชายหก มีนองหญงิ หนึ่ง. ทั้งหมดอาศัยอยู ณถา้ํ ทอง. อน่ึง ทร่ี ชฏบรรพตไมไกลจากถ้าํ นัน้ มถี ้ําผลกึ อยูถํา้ หนึง่ .ท่ีถ้าํ ผลกึ น้นั มีสุนัขจิง้ จอกตัวหน่ึงอาศยั อยู. ครน้ั ตอมาพอแมข องราชสีหทง้ั หลายไดตายลง. ราชสหี ผ ูพเ่ี หลา นนั้ จงึ ใหนางราชสีหผูน อ งอยูในถาํ้ ทอง แลวออกหาอาหาร น าเนอ้ื มาใหน อ ง. สนุ ัขจ้งิ จอกเห็นนางราชสหี นั้น ไดม ีจติ ปฏพิ ทั ธ. แตเมื่อพอแมข องนางราชสหี ย ังไมต าย สนุ ัขจิ้งจอกจงึ ไมไ ดโ อกาส. ในเวลาท่ีราชสีหพ น่ี อ งทัง้ ๗ ออกไปหาอาหาร สนุ ขั จ้ิงจอกจงึ ลงจากถํา้แกวผลกึ ไปยงั ประตูถํ้าทอง กลาววาจามีเลศนยั อันประกอบดวยโลกามสิ เฉพาะหนา นางราชสีหวา นีแ่ นะแมราชสหี น อย เรามีส่ีเทา แมเ จา กม็ ีสเี่ ทา เจา จงเปนภรรยาของเราเถิด เราจักเปนสามีของเจา เราทง้ั สองจักสมสูอ ยรู ว มกนั อยางบันเทิงใจ ตัง้ แตนี้ไปเจาจงรว มกับเราดว ยอาํ นาจกิเลส. นางราชสีหฟ งคําของสุนัขจง้ิ จอกแลวคดิ วา เจาสนุ ขั จง้ิ จอกน้ี เปน สตั วเ ลวทรามนาขยะแขยง คลา ยตวั จณั ฑาลในระหวางสตั วส่ีเทา ทัง้ หลาย พวกเราเทา กบั ราชตระกูลชั้นสงู สุนัขจงิ้ จอกนีพ้ ูดจาไมง ดงาม ไมเหมาะสมกบั เรา เราฟงถอ ยคาํ ชนดิ น้แี ลว

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 13จะมชี วี ติ อยไู ปทาํ ไม เราจักกลนั้ ใจตายเสยี ครั้นแลว นางราชสหี ฉกุ คดิ ขน้ึ วา เราตายอยา งนี้ไมสมควร รอใหพวกพีข่ องเรากลบัมาเสยี กอ น เราเลา เรื่องใหพ ี่ ๆ ฟงแลวจงึ จะตาย. ฝา ยสนุ ขั จ้งิ จอก ครั้นไมไ ดค ําตอบจากนางราชีสหี  คิดวานางไมเ ย่อื ใยในเราเสียแลว เสยี ใจกลบั เขา ไปนอนในถํา้ แกวผลกึ .ราชีสหี ต ัวหนง่ึ ฆากระบอื และชา งเปน ตน ตัวใดตวั หน่งึ กัดกินเนอื้และนาํ สวนหนงึ่ มาใหน างราชสีหผ ูนอ ง กลาววา นอ งเคยี้ วกินเนือ้ เสียเถดิ . นางราชสีหตอบวา พี่ ฉันไมก ินดอก ฉันจะตายละ.ราชสีหถ ามวา ทาํ ไมเลา นอ ง. นางไดเลาเร่ืองทัง้ หมดใหร าชสี หี ผูพ ฟ่ี ง. ราชสหี ถามวา เดย๋ี วน้ีสนุ ัขจิ้งจอกมนั อยูที่ไหนเลา นาง-ราชีสหี ส าํ คัญสนุ ัขจง้ิ จอกซ่ึงนอนอยใู นถ้าํ แกว ผลกึ วา นอนอยูในกลางแจง จงึ ตอบวา พ่ีไมเ ห็นหรอื สุนขั จิ้งจอกน้นี อนอยูกลางแจง ใกลเ ขารชฏบรรพต. ลูกราชสีหไมรูวามนั นอนในถ้าํแกว ผลึก สําคัญวามันนอนในกลางแจง คิดวา จกั ฆามันเสยีจึงวิง่ ไปโดยกําลงั เร็วของราชสีห ชนเอาถา้ํ แกวผลึกหัวใจวาย.ลูกราชสีหน ้นั หัวใจวายถงึ แกความตาย ลม ลงท่ีเชงิ เขานั้นเอง.ตอ มาราชสหี อ กี ตัวหนึง่ มา. นางราชสีหกบ็ อกเรื่องราวแกราชสีหเหมือนอยา งเดมิ . แมร าชสหี น ั้นกท็ ําอยา งเดียวกนั นนั้ถึงแกค วามตายลมลงที่เชิงเขา. เมื่อพท่ี ั้งหกตายหมด ราชสหี -โพธิสัตวกลับมาภายหลงั . นางราชสหี ก็เลา เรอ่ื งใหร าชสหี -โพธิสัตวฟ ง เมื่อราชสหี โพธิสตั วถ ามวา เดี๋ยวนี้สนุ ัขจงิ้ จอกนนั้

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 14มันอยูทีไ่ หน นางกบ็ อกวา มนั นอนทก่ี ลางแจง ใกลย อดเขารชฏบรรพต. ราชสีหโ พธสิ ัตวคิดวา ธรรมดาสุนัขจิง้ จอกทัง้ หลายไมม ีท่ีอาศัยในกลางแจง มนั ตองนอนอยใู นถํา้ แกวผลกึ เปน แน.ราชสีหโ พธิสตั วจ ึงเดนิ ไปยงั เชงิ ภเู ขา เห็นพวกนอง ๆ ตายหมดหกตัว จงึ กลา ววา ราชสีหเหลา นค้ี งจะไมร ูว าสุนัขจง้ิ จอกนอนในถ้าํ แกวผลึก เพราะไมม ปี ญญาตรวจสอบ เพราะความท่ีตวั โงจึงชนถ้ําตาย. ข้นึ ช่อื วาการงานของผไู มพ ิจารณาแลว รบี ทํายอ มเปน อยางน้ีแหละ แลวกลาวคาถาแรกวา :- การงานเหลา นนั้ ยอ มเผาบคุ คลผูมกี าร งานอนั มไิ ดพ ิจารณาแลว รบี รอนจะทาํ ใหส  าเร็จ เหมอื นกบั ของรอ นท่บี คุ คลไมพ ิจารณากอ นแลว ใสเขา ไปในปาก ฉะนั้น. ในบทเหลา นน้ั บทวา อสเมกขฺ ิตกมมฺ นตฺ  ตรุ ิตาภนิ ปิ าตินความวา บุคคลใดประสงคจะทําการงานใด มไิ ดพ ิจารณาคอืมไิ ดสอบสวนโทษในการงานน้นั รีบรอนตกลง ผลุนผลนั ปฏิบัติเพือ่ รบี ท าการงานนั้น การงานทง้ั หลายเชน น้นั ยอ มเผาผลาญบคุ คลผนู ้ัน ผูม ิไดพจิ ารณาการงานรบี รอนทําใหสําเร็จ คอืทาํ ใหเ ศรา โศก ทาํ ใหล ําบาก. ถามวา เหมอื นอะไร. ตอบวาเหมอื นของรอ นทีใ่ สเขา ไปในปากฉะนน้ั อธบิ ายวา เหมือนผจู ะบริโภคไมไ ดพ จิ ารณาวา ของนเี้ ยน็ ของน้ีรอน ใส คอื วางของทก่ี ลนื อันรอนลงไปในปาก ยอ มลวกปากบา ง คอบาง ทอ ง

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 15บางทําใหเศรา โศก ทาํ ใหลําบาก ฉันใด การงานทงั้ หลายเหลานน้ัก็ฉนั น้นั ยอมเผาบุคคลเชน นน้ั . ราชสีหโ พธสิ ัตวน น้ั ครั้นกลา วคาถาน้ีแลว จึงพูดวานอง ๆ ของเราไมฉ ลาดในอบุ าย คดิ วา จักฆาสนุ ขั จิ้งจอก รีบรอ นผลุนผลันไปตวั เองจึงตาย สวนเราจกั ไมทําอยางนัน้ จกั ฉีกอกสุนขั จงิ้ จอก ซ่งึ นอนสะดุงอยใู นถ้ําแกว ผลกึ ใหจ งได. ราชสหี โพธสิ ัตวสังเกตทางขึน้ ลงของสุนขั จง้ิ จอกเสรจ็ แลว จึงมงุ หนาไปทางนั้น บนั ลอื สีหนาทสามครัง้ . อากาศกบั ผนื แผนดินไดม เี สยี งกึกกอ งเปน อันเดียวกัน. หัวใจสุนัขจง้ิ จอกซึ่งนอนหวาดสะดุงอยใู นถ้ําแกวผลึก กแ็ ตกทาํ ลาย. สุนขั จิง้ จอกถึงแกความตายในท่นี ัน้ เอง. พระศาสดาตรัสวา สุนขั จงิ้ จอกตัวนั้นไดยินราชสหี แผดเสยี งอยางน้ีแลวถึงแกความตาย เมอ่ื พระองคตรัสรแู ลว จงึ ตรัสคาถาทส่ี องวา :- อนงึ่ ราชสีหไ ดแ ผดสีหนาททีภ่ เู ขาเงนิ สนุ ัขจ้ิงจอกอยใู นภูเขาเงนิ ไดฟ ง ราชสหี แผดเสียง กก็ ลัวตาย หวาดกลวั หัวแตกตาย. ในบทเหลา นัน้ บทวา สโี ห ไดแ กร าชสหี  ๔ จําพวก คือตณิ ราชสหี  ปณฑุราชสีห กาฬราชสหี  ไกรสรราชสหี  (มีมือและเทา แดง). ในราชสีหเ หลานัน้ ในท่ีน้ีประสงคเ อาไกรสร-ราชสหี .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 16 บทวา ททฺ ร อภนิ าทยิ ความวา ไกรสรราชสีหนน้ับันลอื สหี นาทนา กลัวดุจสาํ เนียงอสนิบาตฟาดลงสกั รอ ยครัง้คอื ไดกระทาํ รชฏบรรพตใหม ีเสียงกกึ กอ งเปนอนั เดยี วกนั .บทวา ททฺทเร วส ไดแ ก สนุ ัขจ้งิ จอกซง่ึ อาศยั อยใู นรชฏบรรพตติดกบั ถํา้ แกว ผลึก. บทวิา ภโี ต สนฺตาสมาปาทิ ความวา สนุ ขัจง้ิ จอกกลวั ตาย ถงึ ความหวาดสะดุง. บทวา หทยฺจสฺส อปผฺ ลิความวา หัวใจของสนุ ขั จ้ิงจอกน้นั แตกเพราะความกลัว. ราชสหี โพธสิ ตั ว ครน้ั ใหส นุ ัขจิ้งจอกถึงแกความตายแลวจึงปกคลุมพวกนอ ง ๆ ไวใ นที่แหงหนึง่ แลว แจง การตายของราชสีหเ หลานนั้ ใหนางราชสีหผนู อ งรู ปลอบนองอยอู าศัยในถ้าํ ทองจนสนิ้ ชีพแลว กไ็ ปตามยถากรรม. พระศาสดาครั้นทรงน าพระธรรมเทศนาน้มี าแลว จงึทรงประกาศสัจธรรมประชมุ ชาดก. ในเวลาจบสจั ธรรมอบุ าสกต้งั อยใู นโสดาปต ตผิ ล สุนัขจ้ิงจอกในคร้งั นน้ั ไดเ ปนบุตรชา งกัลบกในบดั น้.ี นางราชสหี ไ ดเปน กุมารกิ าแหงเจาลจิ ฉวี นอง ๆ ท้งั หกไดเปนพระเถระรปู ใดรปู หนง่ึ สว นราชสีหพี่ใหญไ ดเปนเราตถาคตน้แี ล. จบ อรรถกถาสิคาลชาดกท่ี ๒

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาที่ 17 ๓. สกู รชาดก วา ดว ยหมูทา ราชสหี  [๑๕๕] ดกู อนสหาย เรากม็ ี ๔ เทา แมท า นกม็ ี ๔ เทาจงกลับมาสกู ันกอนเถดิ สหาย ทานกลัว หรอื จงึ หนไี ป. [๑๕๖] ดูกอนหมู ทานเปน สตั วสกปรก มขี น เหม็นเนา มกี ลน่ิ เหม็นฟุงไป ดูกอนสหาย ถา ทานประสงคจ ะสูรบกบั เรา เรากจ็ ะใหช ยั ชนะ แกทา น. จบสกู รชาดกท่ี ๓ อรรถกถาสกู รชาดกที่ ๓ พระศาสดาเมอื่ ประทบั อยู ณ พระวิหารเชตวนั ทรงปรารภพระเถระแกร ปู หน่ึง ตรสั พระธรรมเทศนานีม้ ีคําเร่มิ ตน วาจตุตปปฺ โห อห สมฺม ดังน้ี ในวันหนง่ึ เมื่อการฟงธรรมยงั เปน ไปอยูในตอนกลางคืนเมือ่ พระศาสดาประทบั ยืน ณ แผน หนิ แกว มณี ใกลป ระตพู ระ-คันธกฏุ ี ประทานสคุ โตวาทแกหมูภ ิกษแุ ลว เสดจ็ เขาพระคนั ธกุฏีพระธรรมเสนาบดสี ารีบุตรถวายบังคมพระศาสดา แลวไดไ ปยัง

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 18บริเวณของตน. พระมหาโมคคัลลานะกไ็ ปยงั บรเิ วณของตนเหมือนกนั พักอยูครหู นงึ่ จงึ มาหาพระเถระ แลวถามปญ หา.พระธรรมเสนาบดีไดแ กป ญ หาท่ีพระมหาโมคคลั ลานะถามแลว ๆไดท ําใหช ดั เจนดจุ ทาํ พระจนั ทรใหป รากฏบนทองฟา. แมบริษทัสี่กน็ ่ังฟง ธรรมอย.ู ณ ที่นั้นพระเถระแกร ปู หน่ึงคดิ วา หากเราจะเยาพระสารบี ตุ ร ถามปญ หาในทา มกลางบรษิ ทั นี.้ บรษิ ทั น้ีรูว า ภกิ ษุน้เี ปนพหสู ตู ก็จกั กระทําสกั การะและยกยอง จงึลุกขนึ้ จากระหวา งบรษิ ทั เขาไปหาพระเถระยนื อยู ณ สวนขา งหนง่ึ แลวกลาววา ดูกอ นอาวุโสสาริบตุ ร ขาพเจาจักถามปญหาขอหนึ่งกะทาน ขอจงใหโ อกาสแกเราบาง ขอทา นจงใหการวินจิ ฉัยแกขา พเจา โดยออมก็ตาม โดยตรงกต็ าม ในการตเิ ตยี นก็ตาม ในการยกยองกต็ าม ในการวเิ ศษกต็ าม ในการไมวิเศษกต็ าม. พระเถระแลดพู ระแกน นั้ แลวคิดวา หลวงตาน่ีตง้ั อยูในความรษิ ยา โง ไมรอู ะไรเลย จึงไมพ ดู กบั พระแกน น้ัละอายใจวางพัดวชี นี ลงจากอาสนะเขาไปยงั บรเิ วณ. แมพระ-มหาโมคคัลลานเถระกไ็ ดเ ขา ไปยังบรเิ วณของตนเหมอื นกัน.พวกมนุษยพากนั ลกุ ข้ึนประกาศวา พวกทานจงจบั พระแกใจรา ยนี้ ไมใ หพวกเราไดฟ งธรรมอนั ไพเราะ แลว ก็พากันตดิ ตามไป พระเถระนั้นหนไี ปตกในวัจจกฏุ เี ต็มดว ยคถู ซงึ่ มีไมเลียงหกั พงั ทา ยวิหาร ลุกข้ึนมาท้ังทเี่ ปอนคูถ. พวกมนุษยเห็นดังนั้นพากนั รงั เกยี จไดไ ปเฝาพระศาสดา.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 19 พระศาสดาทอดพระเนตรเหน็ มนษุ ยเ หลานัน้ จึงตรสัถามวา อุบาสกอบุ าสิกาท้งั หลาย พวกทา นมาทาํ ไมนอกเวลา.พวกมนษุ ยพ ากันกราบทลู เนือ้ ความใหทรงทราบ. พระศาสดาตรัสวา อบุ าสกอุบาสิกาทัง้ หลาย ภกิ ษแุ กน ีผ้ ยอง ไมรกู ําลงัของตน ทําทดั เทียมกบั ผูมีกําลังมาก แลว ก็เปอ นคถู มใิ ชในบดั นี้เทา นัน้ แมเมือ่ กอนภกิ ษแุ กนี้ก็เคยผยองไมรูกาํ ลงั ของตนทาํ ทัดเทยี มกบั ผูมีกําลังมากแลวก็เปอนคูถ เม่ืออบุ าสกอบุ าสิกาทลู อาราธนา จงึ ทรงนาํ เรื่องในอดตี มาตรัสเลา ครั้งอดตี เมื่อพระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัตใิ นกรงุ -พาราณสี พระโพธสิ ตั วเสวยพระชาติเปน ราชสีหอ าศยั อยใู นถ้าํภเู ขาใกลห ิมวนั ตประเทศ. ในท่ไี มไ กลภูเขาน้ันมีสกุ รเปน อนั มากอาศัยสระแหงหนึง่ อย.ู พระดาบสท้งั หลายก็อาศัยสระนน้ั อยูบนบรรณศาลา อยมู าวนั หน่ึงราชสหี ฆ า สัตวม ีกระบือและชางเปนตน ตัวใดตวั หนึ่ง เคย้ี วกินเนอ้ื จนเพียงพอแลว ลงไปยังสระนั้นด่มื นํา้ ขน้ึ มา. ขณะนัน้ สุกรอว นตวั หนง่ึ เที่ยวหาอาหารอยแู ถวสระนน้ั . ราชสหี เหน็ สกุ รอวนตวั นั้น จงึ คดิ วา สักวนั หนึง่ เราจกักินเจาสกุ รตัวน้ี แตม ันเห็นเราเขา จะไมมาอีก เพราะกลัวมันจะไมกลับมา จึงขนึ้ จากสระหลบไปเสยี ขา งหน่งึ . สุกรมองดูราชสหี คดิ วา ราชสีหนพี้ อเห็นเราเขาก็ไมอ าจจะเขาใกลเพราะกลัวเรา จึงหนีไปเพราะความกลัว. วนั น้ีเราควรจะตองตอ สกู ับ

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนาท่ี 20ราชสีหน้ี แลว ชหู วั รอ งเรยี กราชสีหใหมาตอสูก นั กลาวคาถาแรกวา :- ดกู อนสหาย เรากม็ ี ๔ เทา แมท า นก็มี ๔ เทาจงกลับมาสกู ันกอ นเถดิ สหาย ทา นกลัว หรอื จงึ หนไี ป. ราชสีหไดฟง คําทา ของสุกรนัน้ จึงกลาววา ดูกอ นสหายสุกร วนั นเ้ี ราไมสูก ับทา น แตจากนไี้ ป ๗ วนั จงมาสกู นั ในทีน่ ้ีแหละ แลวกห็ ลกี ไป. สุกรร่นื เรงิ เบกิ บานใจวา เราจกั ไดส ูกบัราชสีห. จึงเลาเร่อื งนัน้ ใหพวกญาติฟง. พวกญาตสิ ุกรฟงแลวพากันตกใจกลัวพูดขนึ้ วา เจา จะพาพวกเราท้งั หมดใหถงึ ความฉิบหายกันคราวน้ีแหละ เจาไมร จู กั กาํ ลงั ของตัวจะหวงั สูกบัราชสหี  ราชสีหจกั มาทาํ ใหเ ราท้ังหมดถงึ แกความตาย เจาอยาทาํ กรรมอุกอาจนักเลย. สุกรสะดงุ ตกใจกลวั ถามวา คราวน้เี ราจะท าอยางไรดีเลา. พวกสกุ รตา งพากนั พูดวา นีแ่ นะสหาย เจาจงไปในท่ถี า ยอจุ จาระของพวกดาบสเหลาน้ี แลว เกลอื กตัวเขาที่คูถเหมน็ รอใหต ัวแหง สกั ๗ วนั ถงึ วนั ท่ี ๗ จงเกลือกตวั ใหชมุ ดว ยนา้ํ คาง แลว มากอ นราชสหี ม า จงสงั เกตทางลม แลวยืนเหนอื ลม ราชสีหเ ปนสัตวสะอาดไดก ล่ินตัวเพ่อื นแลว จกั ใหเพอื่ นชนะแลวกลบั ไป. สุกรอวนไดท ําตามนั้น ในทว่ี ันที่ ๗ ไดไปยืนอยู ณ ที่น้นั . ราชสหี ไดก ลิ่นตัวมันเขา กร็ วู า ตวั เปอ นคูถจึงกลาววา ดกู อนเพือ่ นสกุ ร ทานคดิ ช้ันเชงิ ดมี าก หากทา นไม

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 21เปอ นคถู เราจักฆา ทา นเสียตรงน้แี หละ แตบ ัดนีเ้ ราไมอาจกัดตัวทานดวยปาก เหยียบตัวทา นดว ยเทาได เราใหทานชนะแลวจงึ กลาวคาถาที่สองวา :- ดกู อ นสุกร เจาเปนสัตวสกปรก มขี น เหมน็ เนา มกี ลน่ิ เหมน็ ฟงุ ไป ดกู อ นสหายหาก ทานประสงคจะสูก บั เรา เราก็จะใหชัยชนะแก ทาน. ในบทเหลา น้ันบทวา ปตู ิโลโมสิ ไดแก ขนมกี ลน่ิ เหมน็ เนาเพราะเปอนขี้. บทวา ทคุ คฺ นโฺ ธ วายสิ ไดแ ก มกี ล่นิ ปฏกิ ลูนาเกลียดย่งิ นัก ฟุงไป. บทวา ชย สมมฺ ททามิ เต ไดแ ก เราใหท า นชนะ. ราชสีหค รั้นกลาววาเราแพแลว เจาไปเสียเถิดดงั นี้ แลวกก็ ลบั จากท่นี ัน้ เที่ยวแสวงหาอาหาร ดืม่ นํา้ ในสระ เสรจ็ แลว ก็กลบั เขาถ้ําภเู ขาตามเดมิ . แมส ุกรกบ็ อกแกพ วกญาตวิ า เราชนะราชสหี แลว. พวกสุกรเหลา นั้น พากันตกใจกลวั วา ราชสีหจ ะกลับมาสกั วนั หนง่ึ อีก จักฆา พวกเราตายหมด จึงพากันหนไี ปอยูท่อี ่ืน. พระศาสดาครน้ั ทรงนาํ พระธรรมเทศนานี้มาแลวจึงทรงประชุมชาดก. สุกรในครงั้ น้ันไดเปน ภกิ ษุแกใ นคร้ังน้ี สว นราชสีหไ ดเ ปนเราตถาคตนีแ้ ล. จบ อรรถกถาสูกรชาดกที่ ๓

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 22 ๔. อุรคชาดก วาดว ยงูผูม คี ณุ ธรรมสูง [๑๕๗] พระยานาคประเสรฐิ กวางทู ัง้ หลาย ตอ ง การจะพน ไปจากสาํ นกั ของขา พเจาแปลงเพศ เปนกอนแกว มณี เขาไปอยภู ายในผาเปลือกไม น้ี ขา พเจา เคารพยาํ เกรงเพศของพระคุณเจา ซึ่ง เปนเพศประเสริฐนัก แมจะหวิ ก็ไมอ าจจะจับ นาค ซง่ึ เขา ไปอยูภายในผาเปลือกไมน้นั ออกมา กินได. [๑๕๘] ทา นนนั้ เคารพยาํ เกรงผูม เี พศประเสรฐิ แมจ ะหิวก็ไมอาจจะจับนาคซึ่งเขา ไปอยภู ายใน ผา เปลือกไมน นั้ ออกมากินได ขอทานนน้ั จงเปน ผอู ันพรหมคมุ ครอง ดํารงชีพอยสู ิ้นกาลนาน เถิด อนึ่ง ขอภกั ษาหารอันเปนทพิ ยจ งปรากฏ แกท า นเถิด. จบ อุรคชาดกที่ ๔ อรรถกถาอุรคชาดกท่ี ๔ พระศาสดาเมอื่ ประทบั อยู ณ พระวหิ ารเชตวันทรงปรารภการผกู เวรของคนมเี วร ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มคี าํ

พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 23เรมิ่ ตน วา อิธูรคาน ปวโร ปวิฏโ ดังนี.้ ไดยนิ วา มหาอ ามาตยสองคนเปนหวั หนาทหารเปนเสวกของพระเจา โกศล เห็นกันและกนั เขา กท็ ะเลาะกัน. การจองเวรของเขาท้งั สองเปน ทีร่ ูกันทั่วนคร. พระราชา ญาตแิ ละมิตรไมส ามารถจะทําใหเ ขาทง้ั สองสามัคคีกันได. อยมู าวนั หนึ่ง ในเวลาใกลรงุ พระศาสดาทรงตรวจดูเผาพนั ธุสตั วท ี่ควรแนะนําใหตรัสรู ทรงเหน็ อุปนสิ ัยแหงโสดาปต ติ-มรรคของเขาท้ังสอง วันรุงข้ึน เสด็จสูกรุงสาวตั ถเี พ่อื บณิ ฑบาตพระองคเดียวเทา นั้น ประทบั ยืนทปี่ ระตูเรือนของคนหนึง่ . เขาออกมารบั บาตรแลวนมิ นตพระศาสดาใหเ สด็จเขา ไปภายในเรือนปอู าสนะใหป ระทบั น่ัง. พระศาสดาประทับน่ังแลว ตรัสอานิสงสแหงการเจริญเมตตาแกเขา ทรงทราบวามจี ิตออนแลว จงึ ทรงประกาคอรยิ สจั . เมอื่ จบอรยิ สัจ เขาต้ังอยูใ นโสดาปตตผิ ล.พระศาสดาทรงทราบวาเขาบรรลโุ สดาแลว ใหเขาถอื บาตรทรงพาไปประตูเรอื นของอกี คนหนง่ึ . อาํ มาตยน ัน้ ก็ออกมาถวายบังคมพระศาสดากราบทลู วา ขอเชญิ เสดจ็ เขาไปเถิดพระเจา ขาแลวทลู เสดจ็ เขา ไปยังเรอื นอัญเชิญใหประทบั นั่ง. อาํ มาตยท ่ีตามเสด็จกถ็ ือบาตรตามเสด็จพระศาสดาเขาไปพรอมกบั พระ-ศาสดา. พระศาสดาตรสั พรรณนาอานสิ งสเ มตตา ๑๑ ประการทรงทราบวา เขามีจิตสมควรแลว จงึ ทรงประกาศสจั ธรรม.เม่อื จบแลว อาํ มาตยนนั้ ก็ต้ังอยใู นโสดาปต ติผล. อาํ มาตยทัง้ สอง

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 24บรรลุโสดาบนั แลว ก็แสดงโทษขอขมากันและกนั มีความสมคั รสมานบนั เทิงใจ มอี ธั ยาศัยรวมกันดว ยประการฉะน้ี.วันน้นั เองเขาท้งั สองบรโิ ภครว มกัน เฉพาะพระพกั ตรข องพระ-ผูมีพระภาคเจา . พระศาสดาเสวยภัตตาหารเสรจ็ แลว ไดเสด็จกลบั พระ-วิหาร. อํามาตยสองคนนัน้ กถ็ ือดอกไมของหอมเครื่องลบู ไลและเนยใส นาํ้ ผึง้ นํ้าออย เปน ตน ออกไปพรอ มกบั พระศาสดา.เม่ือหมภู กิ ษุแสดงวตั รแลว พระศาสดาทรงประทานสุคโตวาทแลวเสด็จเขา พระคนั ธกฏุ ี ในเวลาเย็นภกิ ษทุ ัง้ หลายประชุมสนทนากันถึงกถาแสดงคุณของพระศาสดาในธรรมสภาวา ดกู อ นอาวโุ สทง้ั หลายพระศาสดาทรงฝกคนท่ีฝกไมได พระตถาคตทรงฝก มหาอํามาตยทัง้ สองซ่งึ วิวาทกันมาชา นาน พระราชาและญาตมิ ติ รเปน ตนกไ็ มสามารถจะทาํ ใหสามัคคีกันได เพียงวันเดยี วเทาน้ัน. พระ-ศาสดาเสด็จมาตรัสถามวา ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย บัดน้พี วกเธอนั่งประชุมสนทนากนั ดว ยเรอื่ งอะไร เม่อื ภกิ ษุเหลา น้ัน กราบทลูใหทรงทราบแลว จึงตรัสวา ดูกอนภิกษุท้งั หลาย เราไดท าใหชนทัง้ สองเหลานสี้ ามคั คีกันมใิ ชบ ัดนี้เทานน้ั แมเมอ่ื กอนเรากท็ าํ ชนเหลา นีใ้ หส ามคั คีกนั แลว ทรงนําเรอ่ื งในอดีตมาตรสั วา

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 25 ในอดีตกาล ครง้ั เมอื่ พระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบตั ิในกรุงพาราณสี เมอื่ เขาประกาศมมี หรสพในกรงุ พาราณสีไดม กี ารประชุมใหญ. พวกมนษุ ยเ ปนอันมากและเทวดา นาคครฑุ เปน ตน ตา งประชมุ กนั เพ่อื ชมมหรสพ. ในสถานทีแ่ หงหน่ึงทเ่ี มอื งพาราณสีนนั้ พญานาคจาํ พญาครุฑไมได จึงพาดมือลงไวเหนอื จะงอยบา พญาครุฑ. พญาครฑุ นึกในใจวา ใครเอามือวางบนจะงอยบา ของเรา เหลียวไปดรู วู า เปน พญานาค. พญานาคมองดกู จ็ าํ ไดว า เปนพญาครุฑ จึงหวาดหว่ันตอ มรณภยั ออกจากพระนครหนีไปทางทานํา้ . พญาครุฑกต็ ดิ ตามไปดวยคดิ วา จักจับพญานาคนั้นใหได. ในสมยั นั้น พระโพธิสตั วเ ปน ดาบสอาศยั อยู ณ บรรณศาลาใกลฝง แมนํา้ น้ัน เพอื่ ระงบั ความกระวนกระวายในตอนกลางวนัจงึ นงุ ผาอทุ กสาฎก (ผา อาบน้าํ ) วางผาเปลอื กไมไวท ี่นอกฝงแลว ลงอาบน้ํา. พญานาคคดิ วา เราจักไดชีวิตเพราะอาศยั บรรพชติน้ี จึงแปลงเพศเดิม เนรมติ เพศเปน กอ นมณเี ขาไปอาศัยอยใู นผา เปลอื กไม. พญาครฑุ ตดิ ตามไปเหน็ พญานาคนัน้ เขา ไปอาศัยอยใู นผาเปลือกไมน ้ัน ก็ไมจ บั ตองผา เปลอื กไมเ พราะความเคารพ จึงปราศรัยกะพระโพธสิ ัตวว า ทา นขอรบั ขา พเจา หวิ ทานจงเอาผา เปลือกไมข องทานไป ขา พเจา จักกินพญานาคนี้ เพื่อประกาศความน้ี จึงกลา วคาถาแรกวา :-

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ที่ 26 พญานาคผปู ระเสรฐิ กวางูทัง้ หลาย ตอ ง การจะพนไปจากสาํ นักของขา พเจาจงึ แปลงเพศ เปน กอ นแกว มณี เขา ไปอยใู นผา เปลือกไม น้ี ขา พเจาเคารพยําเกรงเพศของพระคุณเจา ซงึ่ เปน เพศประเสรฐิ นัก แมจ ะหวิ ก็ไมอ าจจะจบั พญานาคซงึ่ เขา ไปอยูในผาเปลือกไมน ้นั ออก มากินได. ในบทเหลานน้ั บทวา อิธรู คาน ปวโร ปวฏิ โ  ความวาพญานาคผูประเสรฐิ กวา งูทงั้ หลาย เขาไปอาศยั อยูใ นผาเปลือกไมน.้ี บทวา เสลสสฺ วณฺเณน ความวา พญานาคแปลงเพศเปนกอนแกว มณี เขา ไปอาศัยอยูในผา เปลือกไม. บทวา ปโมกฺขมิจฉฺ ความวา พญานาคตอ งการจะพน จากสาํ นักของขาพเจา. บทวาพรฺ หฺมฺจ วณฺณ อปจายมาโน ความวา ขาพเจาบชู าเคารพตอทา นผมู เี พศดังพรหม คือมีเพศประเสริฐ. บทวา พภุ ุกฺขิโตโน อสิ หฺ ามิ โภตตฺ ุ ความวา ขา พเจา แมจ ะหิวก็ไมอ าจจะกินพญานาคน้นั ซ่งึ เขาไปอาศัยอยใู นเปลือกไมน ้นั ได. พระโพธสิ ตั วทั้ง ๆ ท่ียืนอยใู นน้ําไดสรรเสรญิ พญาครฑุแลว กลาวคาถาทส่ี องวา :- ทา นเคารพยําเกรงผูมีเพศอนั ประเสริฐ แมจะหวิ ก็ไมอาจจะจับนาค ซ่งึ เขาไปอยูใ นผา เปลือกไมนนั้ ออกมากนิ ได ขอทานจงเปนผูอ ัน

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 27 พรหมคมุ ครองแลว ดํารงชวี ติ อยูสิน้ กาลนาน เถดิ อนง่ึ ขอภักษาหารอนั เปน ทิพยจงปรากฏ แกทานเถิด. ในบทเหลา นนั้ บทวา โส พรฺ หมฺ คตุ ฺโต ความวา ทา นน้ันเปน ผูอ ันพรหมคมุ ครองรักษาแลว. บทวา ทิพยฺ า จ เต ปาตุภวนฺตุภกฺขา ความวา ขอภักษาหารอนั ควรแกการบริโภคของทวยเทพจงปรากฏแกท า นเถดิ . ทา นอยาไดทําปาณาติบาต กนิ เน้ือนาคเลย. พระโพธิสัตวท้งั ๆทยี่ ืนอยใู นนํ้า กระทาํ อนโุ มทนาแลวขึน้ นงุ ผาเปลือกไม พาสตั วท ้งั สองไปอาศรม บทแสดงถงึ คุณของการเจรญิ เมตตา แลวไดกระทาํ ใหสตั วท ้งั สองน้ันสามัคคีกนั .ตัง้ แตน ั้นมาสัตวทัง้ สองนัน้ กม็ คี วามสมคั รสมาน เบกิ บานกนั อยูรวมกนั ดวยความสุข. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนาน้มี าแลว ประชมุชาดก. พญานาคและพญาครฑุ ในคร้งั นนั้ ไดเ ปน อาํ มาตยผ ใู หญท้งั สองในบดั นี้. สว นดาบสไดเ ปน เราตถาคตน้แี ล. จบ อรรถกถาอุรคชาดกท่ี ๔

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 28 ๕. ภคั คชาดก วา ดว ยอายุ [๑๕๙] ขาแตทา นบิดา ขอทานจงเปน อยู ๑๒๐ ป ขอปศาจจงอยากินฉนั เลย ทานจงเปนอยู ๑๒๐ ป เถดิ . [๑๖๐] แมทานก็จงเปน อยู ๑๒๐ ป พวกปศาจ จงกินยาพิษ ทา นจงเปนอยู ๑๒๐ ป. จบ ภัคคาชาดกที่ ๕ อรรถกถาภัคคชาดกท่ี ๕ พระศาสดาเมอื่ ประทับอยู ณ ราชกิ ารามซงึ่ พระเจา-ปเสนทโิ กศล ใหจัดสรา งถวายใกลพ ระวหิ ารเชตวัน ทรงปรารภการจามของพระองค ตรัสพระธรรมเทศนาน้ีเรมิ่ ตน วา ชวีวสสฺ สต ภคฺค ดงั นี.้ ความพสิ ดารมีวา วันหนึ่งพระศาสดาประทบั นั่ง ณ ทา มกลางบริษทั ท่รี าชิการาม ขณะแสดงธรรมทรงจามข้ึน.ภกิ ษทุ ง้ั หลายไดพากันสงเสยี งเอด็ อึงวา ขอพระผูมพี ระภาคเจาจงทรงพระชนมเ ถิด ขอพระสคุ ตเจา จงทรงพระชนมเ ถดิ . เพราะเสยี งนั้นไดท าํ ใหก ารแสดงธรรมหยดุ ลง. ลาํ ดับนนั้ พระผูม พี ระ-ภาคเจาจึงตรสั กบั ภกิ ษทุ ง้ั หลายวา ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย เม่ือ

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 29เขากลาวในเวลาจามวา ขอใหทา นจงเปน อยูเถดิ ดังน้ี เพราะเหตุทกี่ ลาวดงั น้ัน คนนนั้ จะพงึ เปน อยู หรือจะพงึ ตายเปนไปไดไหม.ภกิ ษุทัง้ หลายกราบทูลวา เปนไปไมไดพระพทุ ธเจาขา . พระ-ศาสดาตรสั ตอไปวา ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย เธอไมควรกลาวในเวลาเขาจามวา ขอใหท านเปนอยเู ถดิ . ผูใ ดกลาว ผนู ้ันตองอาบตั ิทุกกฏ. สมัยน้นั มนุษยท ง้ั หลาย กลาวกะพวกภิกษุในเวลาทภี่ กิ ษุเหลา นนั้ จามวา ขอใหพระคุณเจาท้งั หลายจงเปน อยูเถิด.ภิกษทุ ง้ั หลายต้งั ขอรงั เกียจ ไมพ ูดตอบ. พวกมนษุ ยพ ากนัยกโทษวา อยางไรกนั นี่ สมณศากยบตุ รเม่อื เรากลาววา ขอใหพระคุณเจา จงเปนอยเู ถดิ ไมพูดตอบเลย. จงึ พากนั ไปกราบทลูความนน้ั แดพ ระผูมีพระภาคเจา. พระองคจึงตรัสวา ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย พวกคฤหัสถเขาถอื มงคลกัน เม่ือคฤหัสถเขากลาววา ขอพระคุณเจาจงเปน อยูเถิด เราอนุญาตใหกลา วตอบวาขอใหพวกทานจงเปนอยูเถดิ . ภกิ ษุท้ังหลายพากนั กราบทูลถามพระผูมพี ระภาคเจา วา ขา แตพ ระองคผ เู จรญิ ธรรมดาการกลา วโตต อบวาจงเปน อยเู ถดิ เกิดขึ้นเมื่อไร. พระศาสดาตรัสวาดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย ธรรมดาการโตต อบกนั วา จงเปนอยเู ถิดเกดิ ขนึ้ แตโบราณกาล แลว ทรงนาํ เร่อื งในอดตี มาตรัสเลา ในอดตี กาล เมือ่ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั ใิ นกรุงพาราณสี พระโพธิสตั วอ บุ ัตใิ นตระกูลพราหมณ ตระกลูหนง่ึ ในแควน กาส.ี บิดาของพระโพธสิ ตั ว ทาํ การคาขายเลี้ยงชีพ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 30บดิ าใหพ ระโพธสิ ตั วซ งึ่ มอี ายุได ๑๖ ป แบกเคร่ืองแกว มณีเดินทางไปในบานและนิคมเปน ตน คร้ันถึงกรงุ พาราณสีใหห งุอาหารบรโิ ภคใกลเรอื นของนายประตู เม่อื หาทีพ่ ักไมไ ด จึงถามวา คนจนมาผิดเวลาจะพักไดท่ไี หน. ครน้ั แลวพวกมนษุ ยพ วกเขาวา นอกพระนครมีศาลาอยหู ลงั หนึ่ง แตศ าลานนั้ มยี กั ษยึดครอง ถาทานตองการกจ็ งอยเู ถดิ . พระโพธสิ ัตวกลา ววามาเถิดพอ เราจะไป อยา กลวั ยักษ ฉันจะทรมานยักษน ้ันใหหมอบลงแทบเทา ของพอ แลว กพ็ าบิดาไปในทีน่ นั้ . ลําดบั นั้นบดิ าของพระโพธิสตั วนอนบนพื้นกระดาน. ตนเองน่งั นวดเทา ใหบดิ า.ยกั ษซ ง่ึ สงิ อยูท ศี่ าลาน้ัน อุปฐากทาวเวสวณั อยู ๑๒ ปเม่ือจะไดศาลานนั้ ไดพรวา บรรดามนุษยซึง่ เขาไปยังศาลานี้ผูใดกลา วในเวลาทเี่ ขาจามวา ขอทานจงเปน อยูเถิด และผูใดเมอื่ เขากลา ววา จงเปน อยูเถิด แลว กลา วตอบวาทา นกเ็ หมือนกันขอใหเ ปน อยเู ถิด เวน คนท่ีกลาวโตตอบเหลาน้ันเสีย ท่เี หลือกนิ เสยี เถดิ . ยักษน นั้ อาศัยอยูท ีข่ ื่อหวั เสา คดิ วาจักใหบ ิดาพระ-โพธสิ ัตวจ าม จงึ โรยผงละเอียดลงดว ยอานุภาพของตน. ผงปลิวเขา ไปในดง้ั จมูกของเขา. เขาจงึ จามทัง้ ท่นี อนอยูเหนอื พื้นกระดาน. พระโพธิสัตวมิไดกลาววา ขอทา นจงเปนอยเู ถดิ .ยกั ษจงึ ลงจากข่อื หมายจะกินเขา. พระโพธิสตั วเ ห็นยกั ษไตล งจงึ คิดวา เจา ยักษนี้เองทําใหบ ิดาของเราจาม เจาน่ีคงจะเปนยกั ษกนิ คนทไ่ี มก ลา ววา ขอใหทานจงเปนอยูเถิดในเวลาเขาจาม

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ทกุ นบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 31ตนนนั้ จึงกลาวคาถาแรกเกี่ยวกบั บดิ าวา :- ขาแตบดิ า ขอทานจงเปนอยู ๑๒๐ ป ขอ ปศาจจงอยา กนิ ฉันเลย ทา นจงเปนอยู ๑๒๐ ป เถดิ . ในบทเหลาน้ัน พระโพธสิ ตั วเ รียกชื่อบิดาวา ภคฺค. บทวาอปรานิ จ วสี ติ ความวา ขอใหทานจงเปนอยู ๑๒๐ ปเถดิ .บทวา มา ม ปส าจา ขาทนฺตุ ความวา ขอปศาจจงอยา กนิขา พเจาเลย. บทวา ชีว ตฺว สรโทสต ความวา ขอใหทานจงเปน อยู ๑๒๐ ปเ ถดิ . อันที่จริง ๑๒๐ ป เปนการคาดคะเน แตเปนแค ๑๐๐ ปเ ทา นั้น. ในที่นท้ี า นประสงค ๑๐๐ ป ใหเ กนิ ไปอีก๒๐ ป. ยกั ษไ ดฟงคาํ ของพระโพธสิ ตั วแลว รําพงึ วา เราไมสามารถจะกินมาณพนไี้ ด เพราะเขากลาววาขอใหทา นจงเปนอยูเถิด แตเราจะกนิ บิดาของเขา วา แลว ก็ไปหาบดิ า. บิดาเหน็ยักษต รงมาคิดวา เจายักษน ่คี งจักเปนยกั ษกนิ คนผูไ มก ลาวตอบวา ขอใหทานจงเปนอยเู ถิด เพราะฉะน้นั เราจักกลาวตอบ แลวกลา วคาถาที่ ๒ เก่ียวกบั บุตรวา :- แมท า นกจ็ งเปนอยู ๑๒๐ ป พวกปศ าจ จงกนิ ยาพษิ ทานจงเปน อยู ๑๒๐ ปเถิด. ในบทเหลา นัน้ บทวา วสิ  ปสาจา ไดแ ก ปศาจจงกนิ ยาพษิท่ีรายแรง.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทกุ นิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 32 ยักษไดฟงดงั น้ัน คิดวา เราไมสามารถกนิ ไดทงั้ สองคนจึงถอยกลบั . ลาํ ดับนั้นพระโพธสิ ัตวถามยกั ษน นั้ วา ดูกอ นเจายักษเพราะเหตุไรเจา จึงกนิ คนทเี่ ขาไปยงั ศาลานีเ้ ลา . ยักษต อบวาเพราะเราอปุ ฐากทา วเวสวัณอยูถึง ๑๒ ป แลว ไดพ ร. พระ-โพธสิ ตั วถ ามวา เจากินไดท ุกคนหรอื . ยักษตอบวา ยกเวน คนท่ีกลาวตอบวา ขอใหท านจงปนอยูเถดิ นอกน้นั เรากนิ หมด.พระโพธสิ ัตวก ลาววา ดกู อ นยกั ษ เจา กระทาํ อกศุ ลไวในภพกอนเปน ผูร า ยกาจ หยาบคาย ชอบเบียดเบียนผูอ นื่ แมบ ดั นี้เจาก็ยังทํากรรมเชนน้นั อกี เจา จกั เปนผูชอื่ วามืดมาแลวมืดไป. เพราะฉะน้นั ตั้งแตบดั นไ้ี ป เจา จงงดจากปาณาติบาตเปน ตน เสยี พระ-โพธิสตั วท รมานยักษน นั้ แลวขูด ว ยภยั ในนรก ใหย ักษตง้ั อยูในศลี หา ไดท าํ ยักษใ หเ หมือนคนรับใช. วนั รงุ ขน้ึ พวกมนษุ ยซ ึ่งเดินทาง เห็นยักษแ ละทราบวาพระโพธิสัตวทรมานยักษสาํ เร็จ จงึ พากันไปกราบทูลแดพ ระ-ราชาวา ขอเดชะมมี าณพคนหนง่ึ ทรมานยักษนน้ั ไดท าํ ใหเหมือนเปนคนรบั ใช พระเจา ขา . พระราชารับสง่ั ใหหาพระโพธสิ ตั วแลว ทรงต้ังไวใ นตําแหนงเสนาบดี. และไดพ ระราชทานยศใหญแกบิดาของเขา. พระราชาทรงกระทํายักษใหไดรับพลกี รรมแลว ต้ังอยใู นโอวาทของพระโพธิสตั ว กระทําบุญมีทานเปน ตนบําเพ็ญทางไปสวรรค.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ทุกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๓ - หนา ท่ี 33 พระศาสดาทรงน าพระธรรมเทศนานีม้ าแลว ตรัสวา คาํโตตอบวา ขอใหท า นจงเปน อยเู ถิด ไดเกดิ ขึน้ แลวในกาลนั้นแลว ทรงประชุมชาดก พระราชาในคร้งั น้นั ไดเปน อานนทในครั้งน้ี บดิ าไดเปนกสั สป สวนบุตรไดเ ปนเราตถาคตนี้แล. จบ อรรถกถาภัคคชาดกที่ ๕


































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook