แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ป.3 นางสาวฐติ ริ ัตน์ โป่อนิ ทนะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ ที่ วนั ที่ เรอ่ื ง การเสนอแผนการจดั การเรยี นรู้เพอ่ื ขออนญุ าตใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรียน ผูอ้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ข้าพเจ้า นางสาวฐิติรตั น์ โป่อินทนะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ไดจ้ ัดทาแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชา คณติ ศาสตร์ รหสั วิชา ค 13101 ช้ัน ป.3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1-7 จานวน 105 แผน จานวน 105 ชว่ั โมง รายละเอยี ดดังแนบมา พรอ้ มน้ี จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงช่อื ครูผสู้ อน ( นางสาวฐติ ิรตั น์ โป่อินทนะ ) // ความเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ /ตวั แทนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มี ไม่มี หมายเหตุ 1. สว่ นประกอบของเอกสาร ที่ รายการ 1 คาอธิบายรายวิชา 2 ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ตารางวเิ คราะห์ KPA) 3 โครงการสอน/สาระการเรยี นร/ู้ จานวน ชม. 4 การออกแบบกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 แผนการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 6 รายละเอียดแผนการวัดและประเมนิ การเรียนรู้ 2. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั มาใช้ในการจัดกิจกรรมได้อยา่ งเหมาะสม ( ) ที่ยังไม่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ควรปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป 4. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) นาไปใช้จรงิ ( ) ควรปรับปรงุ กอ่ นนาไปใช้ 5. ขอ้ เสนอแนะ ลงช่ือ (นางสาวปวรศิ า ก๋าวงค์วิน) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ความเหน็ ของรองผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ/หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรงุ 2. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ ( ) ทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมได้อย่างเหมาะสม ( ) ท่ยี ังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ควรปรับปรงุ กอ่ นนาไปใช้ ( ) นาไปใชจ้ รงิ 4. ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ (นายวิเศษ ฟองตา) หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ( ) อนญุ าตใหใ้ ช้ นาแผนการจดั การเรียนรูน้ ้ี ไปใช้จดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ ( ) ไมอ่ นุญาต เพราะ ลงชื่อ (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
คาอธิบายรายวชิ า รายวิชา คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 200 ชว่ั โมง จานวน 5 หนว่ ยกติ ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจานวนนับ หลัก ค่าของ เลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจานวน การเรียงลาดับ จานวน แบบรปู ของจานวนท่เี พ่ิมขน้ึ และลดลง การบวกจานวนนับทมี่ ผี ลบวกไม่เกนิ 100,000 การบวกจานวน สามจานวนที่มผี ลบวกไม่เกิน 100,000 โจทยป์ ัญหาและการสรา้ งโจทย์ปัญหาการบวก การลบจานวนทมี่ ีตัวต้ัง ไม่เกิน 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการ ลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนไม่เกินส่ีหลกั การคูณกับ จานวนสองหลักกับจานวนสองหลัก โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การหารท่ีมีตัวต้ังไม่เกินส่ี หลักและตัวหารมีหน่ึงหลัก การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหา และการสร้างโจทย์ปัญหาการหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็น เซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความ ยาว รูปท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลาดับเศษส่วน การบวกเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน การลบ เศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและ ขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเคร่ืองช่ังท่ีเหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การ เปรียบเทียบน้าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ น้าหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเน ปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตร และมิลลิลิตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจาแนกข้อมูล การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและเขียน ตารางทางเดียว การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็น ชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียน บันทกึ กจิ กรรมทร่ี ะบุเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เงนิ เหรยี ญและธนบตั รชนดิ ตา่ งๆ การบอก จานวนเงนิ และเขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จดุ และการอ่าน การเปรยี บเทยี บจานวนเงินและการแลกเงนิ การ อ่านและการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ปัญหา และการสร้างโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ท่ีใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการ ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ และกระบวนการทีไ่ ด้ไปใช้ในการเรยี นร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ และใช้ในชีวติ ประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเชอื่ ม่นั ใน สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผล ทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ค 1.1 ป. 3/1 อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ค 1.1 ป. 3/2 เปรียบเทยี บและเรยี งลาดบั จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 จากสถานการณต์ า่ ง ๆ ค 1.1 ป. 3/3 บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตาม เศษส่วนทกี่ าหนด ค 1.1 ป. 3/4 เปรยี บเทียบเศษสว่ นทีต่ ัวเศษเท่ากนั โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กบั ตัวสว่ น ค 1.1 ป. 3/5 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ แสดงการลบของจานวนไมเ่ กิน 100,000 และ 0 ค 1.1 ป. 3/6 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจานวน 1 หลักกับ จานวนไมเ่ กิน 4 หลัก และจานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลกั ค 1.1 ป. 3/7 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน 4 หลัก ตวั หาร 1 หลกั ค 1.1 ป. 3/8 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 ค 1.1 ป. 3/9 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ข้นั ตอนของจานวนนบั ไม่เกิน100,000 และ 0 ค 1.1 ป. 3/10 หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบของ เศษสว่ นทีม่ ตี ัวส่วนเทา่ กัน ค 1.1 ป. 3/11 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตัวส่วนเทา่ กนั และผลบวกไม่ เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการลบเศษสว่ นทม่ี ีตวั ส่วนเท่ากัน
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้ ค 1.2 ป. 3/1 ระบุจานวนท่หี ายไปในแบบรูปของจานวนทเ่ี พ่มิ ขึ้นหรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ตี ้องการวัดและนาไปใช้ ค 2.1 ป. 3/1 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกบั เงิน ค 2.1 ป. 3/2 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ค 2.1 ป. 3/3 เลือกใช้เคร่ืองมือวดั ความยาวทีเ่ หมาะสมวดั และบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เป็น เซนตเิ มตรและมิลลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร ค 2.1 ป. 3/4 คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนตเิ มตร ค 2.1 ป. 3/5 เปรยี บเทยี บความยาวระหว่างเซนตเิ มตรกบั มลิ ลิเมตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตร กับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ ค 2.1 ป. 3/6 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั ความยาวที่มหี น่วยเปน็ เซนตเิ มตรและ มลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร ค 2.1 ป. 3/7 เลือกใชเ้ คร่ืองชั่งทเ่ี หมาะสม วัดและบอกน้าหนกั เปน็ กโิ ลกรมั และขีด กิโลกรัมและ กรัม ค 2.1 ป. 3/8 คาดคะเนน้าหนกั เปน็ กโิ ลกรมั และเปน็ ขีด ค 2.1 ป. 3/9 เปรียบเทียบนา้ หนกั ระหว่างกิโลกรมั และกรัม เมตริกตันกับกโิ ลกรมั จาก สถานการณต์ ่าง ๆ ค 2.1 ป. 3/10 แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั น้าหนักท่มี ีหนว่ ยเป็นกโิ ลกรัมกับกรัม เมตรกิ ตนั กบั กิโลกรัม ค 2.1 ป. 3/11 เลอื กใชเ้ ครื่องตวงท่ีเหมาะสม วดั และเปรียบเทยี บปริมาตร ความจุเปน็ ลติ รและ มลิ ลิลิตร ค 2.1 ป. 3/12 คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลติ ร ค 2.1 ป. 3/13 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรและความจทุ ี่มหี นว่ ยเปน็ ลิตร และมิลลลิ ติ ร มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ค 2.2 ป. 3/1 ระบรุ ปู เรขาคณติ สองมิติที่มแี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร
สาระที่ 3 สถิตแิ ละความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา ค 3.1 ป. 3/1 เขยี นแผนภูมริ ูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ ปญั หา ค 3.1 ป. 3/2 เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มูลทเ่ี ปน็ จานวนนับ และใชข้ ้อมลู จากตารางทางเดยี วใน การหาคาตอบของโจทย์ปัญหา รวมทั้งหมด 28 ตัวชี้วัด
โครงสรา้ งเวลาเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 บทท่ี/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง) ภาคเรยี นท่ี 1 หน่วยที่ 1 จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 18 หน่วยท่ี 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 28 หนว่ ยท่ี 3 เวลา 16 หนว่ ยท่ี 4 รูปเรขาคณิต 2 หน่วยท่ี 5 แผนภมู ริ ูปภาพและตารางทางเดียว 7 หนว่ ยท่ี 6 เศษสว่ น 16 หนว่ ยที่ 7 การคณู 18 รวมภาคเรยี นที่ 1 105
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ เรือ่ ง จานวน (ชั่วโมง) 1 การอ่านและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนงั สือแสดงจานวน 1 2 การอ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ 1 ตัวหนงั สอื แสดงจานวน 1 3 หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลข แสดงจานวนในรปู กระจาย 1 4 หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขยี นตวั เลข 1 แสดงจานวนในรูปกระจาย 1 5 หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข 1 แสดงจานวนในรูปกระจาย 1 1 6 การเปรยี บเทยี บจานวน 1 7 การเปรยี บเทียบจานวน 1 8 การเปรียบเทยี บจานวน 1 9 การเรียงลาดบั จานวน 1 10 การเรยี งลาดับจานวน 1 11 แบบรูปของจานวนท่ีเพ่ิมขึน้ ทีละ 3 1 12 แบบรปู ของจานวนท่ีเพ่ิมขึน้ ทีละ 5 1 13 แบบรปู ของจานวนทเ่ี พิ่มขน้ึ ทีละ 8 1 14 แบบรปู ของจานวนที่เพ่ิมข้นึ ทีละ 10 1 15 แบบรูปของจานวนท่ีลดลงทีละ 3 18 16 แบบรปู ของจานวนทีล่ ดลงทลี ะ 5 17 แบบรูปของจานวนที่ลดลงทลี ะ 8 18 แบบรูปของจานวนท่ีลดลงทลี ะ 10 รวม
กาหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ เร่ือง จานวน 1 (ช่ัวโมง) การบวกจานวนสองจานวนท่ีมผี ลบวกไมเ่ กนิ 1,000 ไม่มี 2 ทด 1 3 การบวกจานวนสองจานวนท่ีมผี ลบวกไม่เกนิ 1,000 มีทด การบวกจานวนสองจานวนท่ีมีผลบวกไม่เกิน 10,000 ไมม่ ี 1 4 ทด 1 การบวกจานวนสองจานวนท่ีมีผลบวกไม่เกนิ 10,000 มี 5 ทด 1 การบวกจานวนสองจานวนที่มผี ลบวกไม่เกิน 100,000 ไม่ 6 มที ด 1 การบวกจานวนสองจานวนที่มีผลบวกไมเ่ กนิ 100,000 มี 7 ทด 1 8 การบวกจานวนสามจานวนที่มีผลบวกไม่เกนิ 100,000 9 การบวกจานวนสามจานวนที่มผี ลบวกไม่เกิน 100,000 1 การลบจานวนสองจานวนทีม่ ีตวั ตั้งไม่เกิน 1,000 ไมม่ ีการ 1 10 กระจาย 1 การลบจานวนสองจานวนทมี่ ีตวั ตัง้ ไมเ่ กิน 1,000 มีการ 11 กระจาย 1 การลบจานวนสองจานวนที่มีตัวตง้ั ไมเ่ กนิ 10,000 ไม่มี 12 การกระจาย 1 การลบจานวนสองจานวนทมี่ ีตัวตง้ั ไมเ่ กิน 10,000 มีการ 13 กระจาย 1 การลบจานวนสองจานวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 ไม่มี 14 การกระจาย 1 การลบจานวนสองจานวนทม่ี ีตวั ตงั้ ไม่เกิน 100,000 มีการ 15 กระจาย 1 16 การลบจานวนสามจานวนที่มีตวั ตั้งไม่เกิน 100,000 17 การลบจานวนสามจานวนทม่ี ีตัวตั้งไม่เกนิ 100,000 1 การหาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดง 1 18 การบวกและการลบ 1 การหาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดง การบวกและการลบ 1
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี เรอ่ื ง จานวน (ชว่ั โมง) 18 การหาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดง การบวกและการลบ 1 19 การวเิ คราะห์โจทยป์ ญั หาการบวกและหาคาตอบ 1 20 การวเิ คราะหโ์ จทย์ปญั หาการบวกและหาคาตอบ 1 21 การแสดงวิธีทาโจทยป์ ัญหาการบวก 1 22 การวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาการลบและหาคาตอบ 1 23 การวิเคราะห์โจทยป์ ญั หาการลบและหาคาตอบ 1 24 การแสดงวธิ ีทาโจทย์ปัญหาการลบ 1 25 การสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกจากภาพ 1 26 การสรา้ งโจทย์ปญั หาการลบจากภาพ 1 27 การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกจากประโยคสญั ลักษณ์ 1 28 การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการลบจากประโยคสญั ลักษณ์ 1 28 รวม
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เวลา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี เร่อื ง จานวน (ช่วั โมง) 1 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที 2 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที 1 3 การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที 1 4 การอ่านและเขยี นบอกเวลาทีมมี หัพภาค (.) หรอื ทวภิ าค 1 1 (:) 5 การอา่ นและเขยี นบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวภิ าค 1 (:) 1 6 การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที 1 7 การบอกระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมงและนาที 1 8 การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที 1 9 การเปรยี บเทียบระยะเวลา 1 10 การเปรยี บเทยี บระยะเวลา 1 11 โจทยป์ ญั หาการบวกเก่ยี วกับเวลาและระยะเวลา 1 12 โจทย์ปัญหาการบวกเกีย่ วกับเวลาและระยะเวลา 1 13 โจทย์ปญั หาการลบเก่ียวกบั เวลาและระยะเวลา 1 14 โจทยป์ ญั หาการลบเกี่ยวกบั เวลาและระยะเวลา 1 15 การอ่านบันทกึ กจิ กรรมทีร่ ะบุเวลา 1 16 การเขยี นบนั ทึกกจิ กรรมทร่ี ะบเุ วลา 16 รวม กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รูปเรขาคณติ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี เรื่อง จานวน (ชัว่ โมง) 1 รูปทม่ี แี กนสมมาตร 2 การประยุกตใ์ ช้รูปทม่ี ีแกนสมมาตร 1 1 รวม 2
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 แผนภมู ิรูปภาพและตารางทางเดยี ว แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี เร่อื ง จานวน (ชั่วโมง) 1 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และจาแนกข้อมูล 2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนกข้อมลู 1 3 การอา่ นแผนภมู ริ ูปภาพ 1 4 การอา่ นแผนภูมิรปู ภาพ 1 5 การเขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ 1 6 การอา่ นตารางทางเดียว 1 7 การเขยี นตารางทางเดยี ว 1 1 รวม 7
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 เศษส่วน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี เร่อื ง จานวน (ชว่ั โมง) 1 การอ่านและการเขยี นเศษส่วนทต่ี ัวเศษน้อยกวา่ ตวั ส่วน 2 การอา่ นและการเขยี นเศษสว่ นที่ตัวเศษเท่ากบั ตัวส่วน 1 3 การเปรยี บเทียบเศษส่วนทมี่ ตี ัวส่วนเท่ากัน 1 4 การเรียงลาดับเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนเท่ากัน 1 5 การเปรียบเทยี บเศษส่วนทมี่ ตี ัวเศษเท่ากนั 1 6 การเรยี งลาดับเศษสว่ นท่ีมีตัวเศษเทา่ กัน 1 7 การบวกเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นเทา่ กนั 1 8 การบวกเศษส่วนทมี่ ตี วั สว่ นเท่ากัน 1 9 การลบเศษสว่ นทม่ี ีตวั ส่วนเทา่ กัน 1 10 การลบเศษส่วนท่มี ีตวั สว่ นเทา่ กนั 1 11 โจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นทม่ี ตี ัวส่วนเท่ากนั 1 12 โจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นที่มีตัวส่วนเท่ากัน 1 13 โจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นท่มี ีตวั ส่วนเทา่ กนั 1 14 โจทยป์ ญั หาการลบเศษส่วนทม่ี ตี วั สว่ นเทา่ กัน 1 15 โจทยป์ ัญหาการลบเศษสว่ นทีม่ ตี ัวสว่ นเท่ากนั 1 16 โจทย์ปญั หาการลบเศษสว่ นทม่ี ตี ัวส่วนเท่ากนั 1 1 รวม 16
กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การคูณ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี เรอื่ ง จานวน (ช่ัวโมง) 1 การคูณจานวนหนง่ึ หลักกับจานวนสองหลัก 2 การคูณจานวนหนึ่งหลักกบั 100, 200, 300, ..., 900 1 3 การคณู จานวนหนงึ่ หลักกบั 1,000, 2,000, 3,000, ..., 1 9,000 1 4 การคณู จานวนท่ีมีหนึ่งหลกั กับจานวนสามหลัก (ไม่มกี าร ทด) 1 5 การคณู จานวนที่มีหนึ่งหลกั กับจานวนสามหลกั (มีการทด) 6 การคูณจานวนที่มหี นึง่ หลักกับจานวนสามหลกั (มีการทด) 1 7 การคูณจานวนท่ีมีหนึง่ หลักกับจานวนสามหลัก (มกี ารทด) 1 8 การคูณจานวนท่ีมหี นึ่งหลักกับจานวนส่หี ลกั 1 9 การคณู จานวนสองหลักกบั 10, 20, 30, ..., 90 1 10 การคณู จานวนที่มีสองหลักกับจานวนสองหลัก 1 11 ความรูส้ กึ เชงิ จานวนเก่ียวกบั การคูณ 1 12 การหาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณแ์ สดง 1 การคณู 1 13 การหาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดง การคณู 1 14 การวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาการคูณและหาคาตอบ 15 การวิเคราะหโ์ จทยป์ ัญหาการคูณและหาคาตอบ 1 16 การแสดงวิธีทาโจทย์ปัญหาการคูณ 1 17 การสรา้ งโจทย์ปัญหาการคณู จากภาพ 1 18 การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการคณู จากประโยคสัญลกั ษณ์ 1 1 รวม 18
ผังมโนทศั น์ วชิ าคณิตศาสตร์ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยท่ี 3 จานวนนับไม่เกิน 100,00 การบวกและการลบจานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลา (18 ชั่วโมง) (28 ชว่ั โมง) (16 ช่ัวโมง) หน่วยที่ 13 วชิ าคณติ ศาสตร์ หนว่ ยท่ี 4 การบวก ลบ คณู หารระคน จานวน 200 ช่ัวโมง รูปเรขาคณิต (2 ชวั่ โมง) (12 ช่ัวโมง) หนว่ ยท่ี 9 หนว่ ยท่ี 8 การวดั ความยาว การหาร ……………. ชัว่ โมง หน่วยท่ี 12 (19 ชั่วโมง) เงนิ และบันทึกราย (20 ชวั่ โมง) หนว่ ยที่ 5 แผนภมู ิรูปภาพและ รบั รายจา่ ย (13 ช่ัวโมง) ตารางทางเดยี ว (7 ช่วั โมง) หนว่ ยท่ี 11 การวัดปรมิ าตร หนว่ ยท่ี 6 (16 ชว่ั โมง) เศษสว่ น (16 ช่ัวโมง) หนว่ ยที่ 10 การวัดน้าหนกั หน่วยที่ 7 (15 ชั่วโมง) การคณู (18 ช่วั โมง)
แบบตรวจสอบและประเมนิ แผนจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ จานวน 5.0 นก./นน. เวลาเรียน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจดั การเรียนรู้ 200 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1-7 คาอธบิ าย ให้พจิ ารณาตรวจสอบแผนการจดั การเรยี นร้ตู ามรายการตรวจสอบแล้วเขียน เคร่อื งหมาย ลงในช่องผลการ ตรวจสอบตามสภาพจรงิ ที่ รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ 1 มกี ารระบุชอื่ รายวิชา รหสั วชิ า ระดบั ช้ันท่ีสอน ครูผสู้ อน หัวหนา้ กลมุ่ สาระ/ 2 มกี ารระบหุ น่วยการเรยี นรแู้ ละช่อื หน่วยการเรยี นรู้และ ผู้แทน 3 มีการระบเุ วลาที่ใช้แผนการจดั การเรียนรู้(ภาคเรยี นท/ี่ ปกี ารศกึ ษา/ มี ไม่มี มี ไมม่ ี นา้ หนกั เวลาเรียน/เวลาเรยี นแตล่ ะสัปดาห์/เวลาที่ใช้จดั กิจกรรม 4 มีการระบุสาระของหนว่ ยการเรียนรู้ 5 มกี ารระบุเปา้ หมายการเรยี นรู้ ดงั น้ี - มกี าระบุตวั ชีว้ ัด (วิชาพนื้ ฐาน) ผลการเรยี นรู้(วิชาเพมิ่ เตมิ ) 6 มีการระบุการเรยี นร้ดู ังนี้ -เนอื้ หาสาระหลัก (ผเู้ รยี นต้องรอู้ ะไร) 7 - ทกั ษะกระบวนการ (ผู้เรียนต้องรอู้ ะไร) มีการระบคุ ณุ ลกั ษณะดังนี้ - สมรรถนะท่ีสาคญั ตามหลกั สตู ร -คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 มกี ารจดั กจิ กรรมบรู ณาการ ดังน้ี - หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง- -กจิ กรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน 9 มีการระบุภาระงาน/ชนิ้ งาน / ตามตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ 10 มีการะบกุ ิจกรรมการเรียนร้ดู ังน้ี -ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น/ ขน้ั ตงั้ คาถาม - ขน้ั สารวจและคน้ พบ/ขนั้ เตรยี มการค้นหาคาตอบ -ข้นั อธบิ ายและลง--ขอ้ สรปุ / ข้ันดาเนินการค้นหาคาตอบแล ตรวจสอบคาตอบ ขั้นขยายความรู้และนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ -ข้ันสรุปและประเมนิ ผล - มีการระบุเวลาดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆท่ีเหมาะสมกบั กิจกรรม 11 มีการระบสุ อื่ /อุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้
ท่ี รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ 12 มีการระบกุ ารวดั และประเมนิ ผล ดงั นี้ ครูผสู้ อน หัวหน้ากลมุ่ สาระ/ - เป้าหมายการเรียนรทู้ ่ตี ้องวัดและประเมินผล ผ้แู ทน - ภาระงาน/ช้นิ งานท่ีต้องวดั และประเมนิ - วธิ กี ารวัดที่สอดคลอ้ งตามเปา้ หมาย/ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั มี ไม่มี มี ไมม่ ี - เครื่องมอื วดั ผลสอดคล้องตามเปา้ หมาย/สิ่งทีต่ อ้ งการวัด -กาหนดประเดน็ /เกณฑก์ ารวดั ผลสอดคลอ้ งตามเปา้ หมาย/ส่ิงท่ี ต้องการวดั -กาหนดเกณฑ์การประเมินผลทชี่ ัดเจนเพ่ือ 13 มีเอกสารใบความรู้และใบงาน 14 มเี อกสารประกอบตามขอ้ 11 ลงชอ่ื .................................................ครผู ู้สอน ลงชอื่ ....................................................หัวหนา้ สาระ (นางสาวฐติ ิรตั น์ โป่อนิ ทนะ) (นางสาวปวรศิ า ก๋าวงค์วนิ ) ลงช่อื ................................................งานวชิ าการ ลงชอ่ื ..............................................ผอู้ านวยการโรงเรยี น (นายวิเศษ ฟองตา) (นายอดศิ ร แดงเรอื น)
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง เร่อื ง การอ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง และตัวหนงั สือแสดงจานวน ครูผสู้ อน นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่อินทนะ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตวั ช้วี ัด ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สาระสาคญั จานวนนับที่ไม่เกนิ 100,000 และ 0 เป็นจานวนท่ปี ระกอบด้วยหลกั หนว่ ย หลักสิบ หลักรอ้ ย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน สามารถอ่านและเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือ ซ่ึงต้องใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) ทุกช่วงสามตาแหนง่ ของจานวนโดยนับจากหลกั หน่วยไป ทางซา้ ยมอื จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 ได้ (K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ไดถ้ กู ต้อง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ ถูกต้อง 4. นาความรู้เกี่ยวกับการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง จานวนนบั ไม่เกนิ 100,000 ไปใชแ้ ก้ปญั หาทางคณิตศาสตรไ์ ด้ (A) สาระการเรยี นรู้ การอ่านและเขียนตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวน
ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนดูหลักลุกคิดแล้วครูแนะนาว่าแต่ละหลักจะมีลูกคิดได้ เพียง 9 ลูกถ้าใส่ครบ 10 ลูกจะต้องนาลูกคิดในหลักนั้นออกแล้วใส่ลูกคิดในหลักถัดไปทางซ้าย 1 ลูก เป็นเชน่ นท้ี กุ หลกั จากน้นั ครูใส่ลกู คดิ ในหลกั ลกู คิดแสดงจานวนนับ 1,235 หมืน่ พนั รอ้ ย สบิ หน่วย ครถู ามนกั เรียนวา่ - จานวนลูกคิดในหลกั หน่วยมกี ่ีลูกและแสดงจานวนใด (5 ลูก แสดงจานวน 5) - จานวนลูกคิดในหลักสิบมีก่ลี กู และแสดงจานวนใด (3 ลกู แสดงจานวน 30) - จานวนลูกคิดในหลักร้อยมกี ล่ี ูกและแสดงจานวนใด (2 ลูก แสดงจานวน 200) - จานวนลูกคดิ ในหลักพนั มกี ่ลี ูกและแสดงจานวนใด (1 ลกู แสดงจานวน 1,000) ครสู รปุ การเขียนแสดงจานวนบนกระดานดังน้ี ตัวเลขฮินดอู ารบกิ 1,235 ตัวเลขไทย ๑,๒๓๕ ตัวหนงั สือ หนง่ึ พันสองร้อยสามสิบห้า ขน้ั สอน 1. ครูให้นักเรยี นใส่ลูกคิดในหลักหนว่ ย หลกั สบิ หลกั รอ้ ย หลกั พันโดยแต่ละหลกั ไม่เกิน 9 ลูกหรือบางหลักไม่ต้องใส่ลูกคิด แล้วให้นักเรียนบอกจานวนลูกคิดในแต่ละหลัก เขียนตัวเลขฮินดู-
อารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ เช่น 5,403 ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตวั หนังสือแสดงจานวนนบั 5,403 บนกระดานจะได้ หม่ืน พนั รอ้ ย สิบ หนว่ ย ตัวเลขฮนิ ดูอารบิก 5,403 ตัวเลขไทย ๕,๔๐๓ ตัวหนงั สอื หา้ พันส่รี อ้ ยสาม 2. ครูนาลูกคิดใส่ในหลักพัน 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจานวนใด (10 พัน) ครูแนะนาว่า 10 พันคือ 1 หม่ืน แล้วแนะนาว่าจะต้องนาลูกคิดท้ัง 10 ลูกออกแล้วใส่ลูกคิดในหลัก ถัดไปทางซ้ายของหลักพัน 1 ลูกแทนครูแนะนาว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลักพันเรียกว่าหลักหมื่น ดังนั้นลูกคิดในหลักหมื่น 1 ลูกแสดงจานวน 1 หมื่น ครูเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตวั หนงั สอื แสดงจานวน 1 หม่นื ตัวเลขฮินดอู ารบกิ 10,000 ตวั เลขไทย ๑๐,๐๐๐ ตัวเลขหนังสอื หน่ึงหมื่น 3. ใส่ลูกคิดในหลักหม่ืนจนครบ 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจานวนใด (10 หมน่ื ) 4. ครูแนะนาว่า 10 หมื่นคือ 1 แสนแล้วแนะนาต้องนาลูกคิดในหลักหมื่น 10 ลูกออก แล้วใส่ลูกคิดในหลักถัดไปทางซ้ายของหลักหมื่น 1 ลูกแทนครูแนะนาว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลัก หม่นื เรียกว่าหลกั แสนแลว้ ร่วมกนั สรุปความสัมพนั ธต์ า่ งๆ ดังนี้ 10 หนว่ ย คือ 1 สบิ 10 สิบ คือ 1 รอ้ ย 10 รอ้ ย คือ 1 พัน 10 พัน คือ 1 หมนื่ 10 หมืน่ คอื 1 แสน 5. ครูจัดลูกคิดแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 ให้นักเรียนบอกจานวนพร้อมท้ังเขียน ตวั เลขฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทยและตวั หนังสือ 2 – 3 ตวั อย่าง เชน่ 32,090 56,143 80,755 ครูเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนงั สือแสดงจานวนบนกระดาน แล้วให้นักเรียนจดั ลูกคิดแสดง จานวนตามครทู กี่ าหนด 3 – 4 ตัวอยา่ ง เช่น 21,645 43,706 50,289 64,507
6. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 1 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจานวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 1 ข้นั สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้รว่ มกัน ดังน้ี การเขียนตัวเลขแสดงจานวน นับท่ีมากกว่า 999 แต่ไม่เกิน 100,000 เลขโดดทางซ้ายของหลักร้อยอยู่ในหลักพัน เลขโดดทางซ้าย ของหลกั พันอยู่ในหลักหมื่น เลขโดดทางซา้ ยของหลักหม่นื อย่ใู นหลกั แสน สอ่ื การเรียนรู้ 1. ลกู คดิ หรอื หลักลกู คิด 2. ใบงานท่ี 1 การอา่ นและเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจานวน การวดั ผลและประเมินผล สิง่ ทต่ี ้องการวัด วธิ ีวัด เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 1 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 1 การประเมิน 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกต นักเรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึน้ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีข้นึ ไป คุณลกั ษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์
ความคดิ เห็นผ้บู รหิ าร ลงชอื่ .....................................ผู้ตรวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อานวยการโรงเรยี น ......./......../........ บนั ทกึ หลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอย่ใู นระดบั ดี คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยใู่ นระดับปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นอยู่ในระดับดีมาก คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดับปรบั ปรงุ คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ัญหา ลงช่อื .....................................ผู้สอน (นางสาวฐิตริ ัตน์ โป่อนิ ทนะ) ........./........./..........
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกนิ 100,000 เวลาเรียน 18 ช่ัวโมง เรื่อง การอา่ นและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง และตัวหนังสือแสดงจานวน ครูผูส้ อน นางสาวฐติ ริ ัตน์ โปอ่ นิ ทนะ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวช้ีวัด ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สาระสาคญั หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน โดยแต่ละ หลกั จะมีค่าประจาหลักเปน็ 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดที่อยู่ หลกั ต่างกนั ของจานวนนบั มีค่าต่างกัน ยกเวน้ 0 อยูใ่ นหลักใดก็ยงั มคี า่ เทา่ กบั 0 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 ได้ (K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ ถกู ต้อง 4. นาความรู้เกี่ยวกับการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง จานวนนบั ไม่เกนิ 100,000 ไปใช้แก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การอา่ นและเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน
ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับหลักลูกคิดแต่ละหลัก โดยครู สาธิตการใชล้ ูกคดิ หนา้ ช้นั เรียน แลว้ ต้ังคาถามให้นักเรยี นตอบ ดังน้ี หมนื่ พัน ร้อย สบิ หน่วย ครูถามนกั เรยี นว่า - หลกั ลูกคดิ ดา้ นขาวมอื สุดใชแ้ ทนจานวนในหลกั ใด (หลักหน่วย) - หลกั ลูกคดิ ถัดจากหลักหนว่ ยไปทางซ้ายมือใชแ้ ทนจานวนในหลักใด (หลกั สบิ ) - หลกั ลกู คิดถัดจากหลกั สบิ ไปทางซา้ ยมือใช้แทนจานวนในหลักใด (หลกั ร้อย) - หลกั ลูกคดิ ถัดจากหลักร้อยไปทางซา้ ยมือใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั พนั ) - หลกั ลกู คิดถัดจากหลักพันปทางซา้ ยมือใช้แทนจานวนในหลักใด (หลกั หมนื่ ) 2. ครขู ออาสาสมัครนกั เรยี น 1 คน ออกมาหยิบลูกคดิ ใสในหลักลกู คิด แสดงจานวนไม่ เกิน 100,000 ตามความต้องการของนกั เรยี น แล้วนักเรยี นทง้ั ชนั้ อา่ นตวั เลขท่ีแทนดว้ ยหลกั ลูกคดิ น้ัน 3. ครูนาลูกคดิ ใสใ่ นหลักลกู แสดงจานวนนับ 3,052 ดงั รปู หมน่ื พนั รอ้ ย สบิ หน่วย
ครูต้ังคาถามใหน้ ักเรียนตอบดงั น้ี - หลักพนั มีลกู คดิ จานวนกล่ี กู และแสดงจานวนใด (3 ลกู แสดงจานวน 3,000) - หลักร้อยมีลกู คิดจานวนกลี่ กู และแสดงจานวนใด (0 ลูก แสดงจานวน 0) - หลักสบิ มลี ูกคดิ จานวนก่ีลูก และแสดงจานวนใด (5 ลูก แสดงจานวน 50) - หลักหน่วยมีลูกคิดจานวนกล่ี ูก และแสดงจานวนใด (2 ลกู แสดงจานวน 2) - หลักลูกคดิ แสดงจานวนใด อา่ นว่า อยา่ งไร (3,052 อา่ นวา่ สามพนั หา้ สิบสอง) ขนั้ สอน 1. ครูแจกบัตรภาพต่อไปน้ีให้นักเรยี นกลุ่มละ 4 ใบ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขยี น วงกลมแทนลูกคดิ ลงในบัตรภาพให้สอดคล้องกับจานวนที่กาหนดให้ หมื่น พัน รอ้ ย สิบ หนว่ ย หม่ืน พัน ร้อย สบิ หนว่ ย 37,028 40,869 หม่นื พนั รอ้ ย สิบ หน่วย หมน่ื พัน ร้อย สิบ หนว่ ย 57,475 38,009 นักเรยี นช่วยกนั เขยี นตัวเลขไทยและตวั หนังสือแสดงจานวน ดังนี้ 37,028 ๓๗,๐๒๘ สามหมืน่ เจด็ พันยส่ี ิบแปด 40,869 ๔๐,๘๖๙ ส่ีหมื่นแปดร้อยหกสิบเกา้ 57,475 ๕๗,๔๗๕ หา้ หมนื่ เจ็ดพันส่ีรอ้ ยเจด็ สบิ หา้ 38,009 ๓๘,๐๐๙ สามหม่นื แปดพนั เกา้ 2. ครูแจกบัตรภาพหลักลูกคิดให้นักเรียนกลุ่มละ 4 ใบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกัน เขียนจานวนแทนลกู คดิ ลงในบตั รภาพให้สอดคลอ้ งกับภาพท่ีกาหนดให้
หม่นื พนั ร้อย สิบ หนว่ ย หมน่ื พัน รอ้ ย สบิ หน่วย หมน่ื พนั รอ้ ย สบิ หน่วย หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย นักเรียนชว่ ยกนั เขยี นตวั เลขไทยและตัวหนังสอื แสดงจานวน ดังน้ี 17,592 ๑๗,๕๙๒ หนง่ึ หม่ืนเจ็ดพนั ห้าร้อยเก้าสบิ สอง 53,156 ๕๓,๑๕๖ ห้าหมน่ื สามพันหนึ่งรอ้ ยหา้ สิบหก 47,232 ๔๗,๒๓๒ ส่ีหม่ืนเจด็ พนั สองร้อยสามสิบสอง 63,236 ๖๓,๒๓๖ หกหมน่ื สามพันสองร้อยสามสบิ หก 3. ครูติดบัตรตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 บนกระดาน 3-4 จานวน แล้ว สาธิตการอ่านแตล่ ะจานวนใหน้ กั เรียนฟงั โดยใหน้ ักเรยี นร่วมกันอ่านตาม 94,354 50,280 38,753 85,427 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 2 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจานวน เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 2 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ จานวนนับที่ไม่เกิน 100,000 สามารถอ่านและเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ซึ่งการบอกจานวนไม่ เกนิ 100,000 จะเปน็ การบอกจานวนท่ีมีตวั เลขไม่เกินหกหลกั
สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ลกู คดิ หรือหลกั ลกู คดิ 2. บัตรภาพ 3. บัตรตวั เลข 4. ใบงานที่ 2 การอ่านและเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจานวน การวดั ผลและประเมินผล ส่งิ ท่ตี ้องการวดั วิธีวัด เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 2 70% ขึน้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขนึ้ ไป ทักษะกระบวนการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ ทีพ่ ึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีข้นึ ไป คุณลักษณะ ที่พงึ ประสงค์
ความคิดเหน็ ผ้บู ริหาร ลงชื่อ.....................................ผตู้ รวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ านวยการโรงเรยี น ........./.........../.......... บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรยี นได้คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรยี นอยูใ่ นระดับดีมาก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอย่ใู นระดับปรับปรงุ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2. ปัญหาและอปุ สรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผู้สอน (นางสาวฐติ ริ ัตน์ โป่อินทนะ) ........./........./..........
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชว่ั โมง เรือ่ ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียนตวั เลข เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง แสดงจานวนในรปู กระจาย ครผู ู้สอน นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่อินทนะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นับไม่เกนิ 100,000 และ 0 สาระสาคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลกั พัน หลกั หมนื่ และหลกั แสน โดยแต่ละ หลกั จะมคี ่าประจาหลกั เป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดที่อยู่ หลกั ต่างกันของจานวนนับมีค่าตา่ งกัน ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดก็ยังมคี ่าเทา่ กับ 0 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมท้ังเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูปกระจายได้ (K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายไดถ้ ูกต้อง (P) 3. นาความรเู้ กย่ี วกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนใน รูปกระจาย ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูทบทวนหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 100 โดยครู เตรยี มมดั ไมม้ ดั ละ 10 จานวน 3 มัดกับไม้อีก 4 อนั แล้วถามคาถามให้นักเรียนช่วยกนั ตอบ ดังน้ี - มมี ดั ไมอ้ ยู่ก่ีมดั กับไม้อีกก่ีอนั (3 มดั กบั อกี 4 อนั ) - มไี ม้ทงั้ หมดกี่อัน (สามสิบสี่อัน) - เขียนตัวเลขแสดงจานวนไม้ทั้งหมดได้อย่างไร (34 หรือ ๓๔) - 34 แทนจานวนกสี่ ิบกับกห่ี น่วย (3 สบิ กบั 4 หนว่ ย) - 3 ทางซา้ ยอยใู่ นหลักใด (หลกั สบิ ) และ 4 ทางขวาอย่ใู นหลักใด (หลักหนว่ ย) - เลขโดด 3 ในหลักสิบมีคา่ เทา่ ใด (30) เลขโดด 4 ในหลักหน่วยมีค่าเทา่ ใด (4) ขั้นสอน 1. ครเู ขียนจานวนนับสองจานวนบนกระดานเชน่ 58 แลว้ ถามนักเรยี นว่า - เลขโดด 5 อยใู่ นหลกั ใด มคี ่าเท่าไร (หลักสบิ มีค่า 50) - เลขโดด 8 อยใู่ นหลกั ใด มคี ่าเท่าไร (หลักหน่วย มคี ่า 8) 2. ครูจัดกิจกรรมทานองเดียวกันอีก 3 – 5 จานวนเช่น 65 76 89 95 99 จากนั้นครู ยกตัวอย่างจานวนนับท่ีเลขโดดในหลักสิบและหลักหน่วยเป็นจานวนเดียวกัน เช่น 11 22 33 ให้ นกั เรยี นบอกหลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก 3. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุป เลขโดดตวั เดยี วกันถ้าอยู่ในหลักตา่ งกนั จะมคี า่ ต่างกัน 4. ครูยกตัวอย่างจานวนสามหลกั เช่น 120 และ 549 ให้นักเรียนบอกหลักและค่าของ เลขโดดในแต่ละหลกั โดยครูถามนักเรยี นดงั น้ี 120 เลขโดด 1 อยใู่ นหลักใด มีค่าเทา่ ไร (หลกั ร้อย มีคา่ 100) เลขโดด 2 อยู่ในหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลักสิบ มคี า่ 20) เลขโดด 0 อยู่ในหลกั ใด มคี ่าเท่าไร (หลักหน่วย มีค่า 20) 549 เลขโดด 5 อยใู่ นหลกั ใด มคี ่าเท่าไร (หลกั รอ้ ย มีคา่ 500) เลขโดด 4 อยใู่ นหลักใด มคี า่ เทา่ ไร (หลกั สบิ มคี ่า 40) เลขโดด 9 อยูใ่ นหลกั ใด มคี ่าเทา่ ไร (หลักหน่วย มคี ่า 9) 5. ครูยกตัวอยา่ งจานวนนบั 495 แล้วถามนกั เรียนดังตอ่ ไปน้ี 495 เลขโดด 9 อยู่ในหลักใด มคี า่ เท่าไร (หลักสิบ มคี า่ 90) 495 เลขโดด 5 อยู่ในหลักใด มคี ่าเท่าไร (หลักหน่วย มคี ่า 5)
ครูถามนักเรียนว่า จานวนนับ 495 เลขโดด 9 กับ เลขโดด 5 มีค่าต่างกันเท่าไร คิด ได้อย่างไร (85 คิดได้จาก 9 อยู่ในหลักสิบมีค่า 90 และ 5 อยู่ในหลักหน่วยมีค่า 5 ดังน้ัน 90 – 5 = 85) 6. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 3 ขน้ั สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ จานวนนับที่มีสามหลัก เลข โดดทางขวาอยู่ในหลักหน่วย เลขโดดทางซ้ายของหลักหน่วยอยู่ในหลักสิบ เลขโดดทางซ้ายของหลัก สบิ อยูใ่ นหลกั รอ้ ย สอ่ื การเรยี นรู้ 1. มดั ไม้ 2. ใบงานท่ี 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป กระจาย การวดั ผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 3 70% ขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ 3 การประเมนิ 2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีข้ึนไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคุณลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกต นักเรียนได้คะแนนระดบั ทพี่ ึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขนึ้ ไป คุณลกั ษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์
ความคิดเหน็ ผูบ้ ริหาร ลงชอ่ื .....................................ผตู้ รวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อานวยการโรงเรยี น ........./.........../.......... บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นกั เรยี นอย่ใู นระดับดีมาก คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นักเรยี นอย่ใู นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยูใ่ นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยูใ่ นระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นกั เรียนอยใู่ นระดับปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแกป้ ญั หา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวฐติ ิรัตน์ โปอ่ ินทนะ) ........./........./..........
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 4 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชว่ั โมง เรือ่ ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียนตวั เลข เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง แสดงจานวนในรปู กระจาย ครผู ู้สอน นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่อินทนะ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นับไม่เกนิ 100,000 และ 0 สาระสาคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลกั ร้อย หลกั พัน หลกั หมนื่ และหลักแสน โดยแต่ละ หลกั จะมคี ่าประจาหลกั เป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดท่ีอยู่ หลกั ต่างกันของจานวนนับมีค่าตา่ งกัน ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดก็ยงั มีคา่ เทา่ กับ 0 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูปกระจายได้ (K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายไดถ้ กู ต้อง (P) 3. นาความรเู้ กย่ี วกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน รูปกระจาย ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนหลักและค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 โดยติด บัตรภาพลกู คิดแสดงจานวน 652 บนกระดานดงั นี้ หมื่น พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย ครูถามคาถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ดังนี้ - บัตรภาพแสดงจานวนใด (หกร้อยหา้ สิบสอง) - เขียนตัวเลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (652 หรอื ๖๕๒) - 652 เป็นจานวนที่มีก่ีรอ้ ย (6 ร้อย) กบั กีส่ บิ (5 สบิ ) กับกีห่ น่วย (2 หน่วย) - 6 อยูใ่ นหลกั ใด (หลักร้อย) มีคา่ เท่าใด (600) - 5 อยใู่ นหลกั ใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (50) - 2 อยู่ในหลักใด (หลักหน่วย) มีค่าเท่าใด (2) - 315 เขยี นในรปู กระจายได้อย่างไร (315 = 300 + 10 + 5) ขัน้ สอน 1. ครตู ดิ บตั รภาพลกู คิดแสดงจานวน 8,173 บนกระดานดงั น้ี หมนื่ พนั ร้อย สบิ หน่วย ครถู ามคาถามใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ ดังนี้ - บตั รภาพแสดงจานวนใด (แปดพนั หน่ึงรอ้ ยเจ็ดสิบสาม) - เขียนตวั เลขแสดงจานวนได้อย่างไร (8,173 หรือ ๘,๑๗๓)
- 8,173 เป็นจานวนทีม่ กี ่พี นั (8 พนั ) กับก่รี อ้ ย (1 รอ้ ย) กับกส่ี ิบ (7 สบิ ) กับกี่ หน่วย (3 หน่วย) - 8 อยู่ในหลักใด (หลักพนั ) มคี ่าเท่าใด (8,000) - 1 อยู่ในหลกั ใด (หลักรอ้ ย) มีค่าเท่าใด (100) - 7 อยใู่ นหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (70) - 3 อยู่ในหลักใด (หลักหนว่ ย) มคี า่ เท่าใด (3) - 8,173 เขียนในรปู กระจายได้อย่างไร (8,173 = 8,000 + 100 + 70 + 3) 2. ครยู กตัวอยา่ งจานวนนับ เช่น 6,301 ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบคาถามต่อไปน้ี - 6 อยู่ในหลกั ใด (หลกั พนั ) มคี ่าเทา่ ใด (3,000) - 3 อยใู่ นหลกั ใด (หลักรอ้ ย) มีค่าเท่าใด (300) - 0 อยใู่ นหลักใด (หลักสิบ) มีค่าเท่าใด (0) - 1 อยู่ในหลกั ใด (หลกั หนว่ ย) มคี ่าเทา่ ใด (1) - 6,301 เขยี นในรูปกระจายได้อยา่ งไร (6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1) ครูแนะนาว่า 6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1 สามารถเขียนในรูปกระจายได้อกี แบบดังนี้ 6,301 = 6,000 + 300 + 1 3. ครูบอกจานวนนับแลว้ ใหต้ วั แทนนักเรียนออกมาเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายบนกระดานดังนี้ 2,430 = 2,000 + 400 + 30 5,261 = 5,000 + 200 + 60 + 1 1,245 = 1,000 + 20 + 40 + 5 9,720 = 9,000 + 700 + 20 8,012 = 8,000 + 10 + 2 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและ นักเรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 4 ขน้ั สรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรยี นรู้ร่วมกัน ดังน้ี การเขียนตัวเลขแสดงจานวน นบั ใดๆ ในรปู กระจายเป็นการเขยี นในรูปการบวกคา่ ของเลขโดดในหลักตา่ งๆ ของจานวนน้ัน สอ่ื การเรียนรู้ 1. บัตรภาพลกู คดิ 2. ใบงานที่ 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป กระจาย
การวัดผลและประเมินผล สิง่ ท่ตี ้องการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 4 70% ขึ้นไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ 4 การประเมนิ 2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คุณภาพดีขึน้ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั ทพี่ ึงประสงค์ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขนึ้ ไป คุณลักษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์ ความคดิ เห็นผูบ้ ริหาร ลงชอื่ .....................................ผู้ตรวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ านวยการโรงเรียน ........./.........../..........
บนั ทกึ หลงั การเรยี นการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรูต้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรยี นได้คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรยี นอย่ใู นระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับพอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยใู่ นระดับพอใช้ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอปุ สรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน (นางสาวฐติ ิรตั น์ โป่อนิ ทนะ) ........./.........../..........
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 5 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชว่ั โมง เรือ่ ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียนตวั เลข เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง แสดงจานวนในรปู กระจาย ครผู ู้สอน นางสาวฐติ ิรัตน์ โป่อินทนะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1 : อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นับไม่เกนิ 100,000 และ 0 สาระสาคัญ หลักเลขประกอบหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลกั พัน หลกั หมนื่ และหลกั แสน โดยแต่ละ หลกั จะมคี ่าประจาหลกั เป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดที่อยู่ หลกั ต่างกันของจานวนนับมีค่าตา่ งกัน ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดก็ยังมคี ่าเทา่ กับ 0 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพร้อมท้ังเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในรูปกระจายได้ (K) 2. เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจายไดถ้ ูกต้อง (P) 3. นาความรเู้ กย่ี วกับหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนใน รูปกระจาย ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชือ่ มโยง
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ครูทบทวนจานวนนับไม่เกิน 10,000 โดยครูยกตัวอย่าง 2,496 โดยครูติดบัตรภาพ หลักลูกคิดแสดงจานวน 2,496 บนกระดานดงั น้ี หม่นื พนั รอ้ ย สบิ หน่วย ครถู ามคาถามให้นักเรียนชว่ ยกนั ตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลกั ลูกคิดแสดงจานวนใด (สองพนั สี่ร้อยเกา้ สบิ หก) - เขยี นตัวเลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (2,496 หรือ ๒,๔๙๖) - 2,496 เขียนในรูปกระจายได้อยา่ งไร (2,496 = 2,000 + 400 + 90 + 6) ขั้นสอน 1. ครูกาหนดจานวนห้าหลัก ให้นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดแสดงจานวนที่กาหนดให้ทีละ จานวน เชน่ 38,047 62,365 ครตู รวจสอบความถกู ต้อง แลว้ ครูตดิ บตั รภาพหลกั ลกู คิดท่แี สดงจานวน 38,047 บนกระดาน หมื่น พัน รอ้ ย สิบ หนว่ ย ครถู ามคาถามใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ ดงั น้ี - บตั รภาพหลักลูกคิดแสดงจานวนใด (สามหม่นื แปดพันส่ีสบิ เจด็ ) - เขียนตวั เลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (38,047 หรือ ๓๘,๐๔๗) - 38,047 เป็นจานวนกหี่ มนื่ (3 หม่นื ) กบั กี่พัน (8 พัน) กับก่ีรอ้ ย (0 ร้อย) กบั ก่ี สิบ (4 สบิ ) กบั กหี่ น่วย (7 หน่วย)
- 3 อยู่ในหลักใด (หลกั หมื่น) มคี า่ เทา่ ใด (30,000) - 8 อยู่ในหลกั ใด (หลักพนั ) มคี ่าเท่าใด (8,000) - 0 อย่ใู นหลักใด (หลกั ร้อย) มีค่าเทา่ ใด (0) - 4 อยู่ในหลักใด (หลักสบิ ) มีค่าเทา่ ใด (40) - 7 อยใู่ นหลกั ใด (หลกั หน่วย) มีค่าเทา่ ใด (7) - 38,047 เขียนในรูปกระจายได้อยา่ งไร (38,047 = 30,000 + 8,000 + 40 + 7) 2. ครูแนะนาการเขียน 62,365 ในรูปกระจายดงั นี้ 62,365 = 60,000 + 2,000 + 300 + 60 + 5 3. ครตู ิดบตั รภาพลกู คดิ แสดงจานวน 100,000 หมน่ื พนั รอ้ ย สิบ หนว่ ย ครูถามคาถามให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ดงั นี้ - บัตรภาพหลกั ลกู คิดแสดงจานวนใด (หนึง่ แสน) - เขียนตัวเลขแสดงจานวนได้อย่างไร (100,000 หรือ ๑๐๐,๐๐๐) 4. ครูยกตวั อยา่ งจานวนนบั ท่ีมากกว่า 10,000 แตน่ อ้ ยกว่า 100,000 เชน่ 40,740 บน กระดานใหน้ ักเรียนช่วยกนั บอกค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ดงั น้ี 4 ในหลักหมน่ื มคี ่าเท่าใด (40,000) 0 ในหลกั พันมีค่าเท่าใด (0) 7 ในหลกั รอ้ ยมีค่าเทา่ ใด (700) 4 ในหลกั สิบมคี า่ เทา่ ใด (40) 0 ในหลักหนว่ ยมีค่าเท่าใด (0) หลังจากนนั้ ครใู ห้นกั เรียนช่วยกนั ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - 40,740 เขยี นในรปู กระจายได้อยา่ งไร (40,740 = 40,000 + 700 + 40) - ค่าของเลขโดด 4 ในหลักสิบและหลักหมื่นต่างกันหรือไม่(ต่างกัน) ถ้าต่างกัน ต่างกันอย่เู ทา่ ใด (40,000 – 40 = 39,960) - คา่ ของเลขโดด 0 ในหลกั หน่วยและหลกั พนั ตา่ งกันหรือไม่ (ไม่ตา่ งกนั ) 5. ครยู กตัวอย่างทานองเดยี วกันน้ีอกี 1-2 ตวั อย่างเช่น 25,713 78,406 6. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 5
ข้ันสรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีได้เรยี นรู้รว่ มกัน ดังนี้ การเขียนตัวเลขแสดงจานวน ใดๆ ในรูปกระจาย เป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักต่างๆ ของจานวนน้ัน และเลข โดดเดยี วกันถ้าอยู่ในหลักต่างกนั จะมคี ่าต่างกัน ยกเว้น 0 สอ่ื การเรยี นรู้ 1. บตั รภาพลูกคิด 2. ใบงานที่ 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดง จานวนในรปู กระจาย การวดั ผลและประเมินผล สิ่งท่ีต้องการวดั วธิ วี ัด เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 5 70% ขน้ึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ 5 การประเมิน 2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขน้ึ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั ทพ่ี งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดีขน้ึ ไป คุณลักษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์ ความคิดเหน็ ผ้บู ริหาร ลงชื่อ.....................................ผตู้ รวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อานวยการโรงเรียน ........./.........../..........
บนั ทกึ หลงั การเรยี นการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรยี นได้คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนอย่ใู นระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดับปรับปรงุ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอปุ สรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน (นางสาวฐติ ิรตั น์ โป่อนิ ทนะ) ........./.........../..........
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชัว่ โมง เรื่อง การเปรียบเทียบจานวน เวลาเรียน 1 ชัว่ โมง ครผู ู้สอน นางสาวฐติ ิรัตน์ โปอ่ นิ ทนะ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ ต่างๆ สาระสาคัญ จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่าหรอื น้อยกว่ากันอย่างใดอยา่ งหน่ึงเท่าน้ัน โดยใช้เครอื่ งหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทียบ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ท่มี จี านวนหลกั ไม่เทา่ กนั ได้ (K) 2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรือนอ้ ยกวา่ ไดถ้ ูกต้อง 3. เขยี นเปรยี บเทยี บจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < ได้ถกู ตอ้ ง (P) 4. นาความรเู้ กยี่ วกบั การเปรยี บเทยี บจานวนไปใช้แก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การเปรียบเทยี บจานวน ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่อื มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ ม่ันในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูทบทวนการเปรียบเทยี บจานวนนับสองจานวนท่ีไม่เกนิ 1,000 โดยครูยกตัวอย่าง มาครั้งละ 2 จานวนให้นักเรียนเปรียบเทียบจานวนใดมากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ โดยให้เหตุผล ประกอบแลว้ เขียนประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการเปรียบเทียบบนกระดานเช่น 316 > 87 268 < 452 254 > 248 199 < 209 918 = 918 0=0 2. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ การเปรยี บเทียบจานวน ดังนี้ 1) เปรยี บเทียบจานวนหลักก่อน จานวนใดมจี านวนหลักมากกวา่ จานวนน้ันจะ มากกว่า 2) ถ้าจานวนหลักเทา่ กนั ใหเ้ ปรียบเทียบคา่ ของเลขโดดในหลกั ทางซ้ายสุดก่อน ถา้ ค่าของเลขโดดในหลกั ทางซา้ ยสุดของจานวนใดมากกว่า จานวนน้ันจะมากกวา่ ถ้าคา่ ของเลขโดดใน หลักทางซ้ายสุดของทั้งสองจานวนเทา่ กันให้เปรยี บเทยี บค่าของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวาทีละหลัก ขนั้ สอน 1. ครูเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับสองจานวนที่ไม่เกิน 100,000 โดยท้ังสองมีจานวน หลกั ไมเ่ ทา่ กบั บนกระดาน เชน่ 52,582 5,248 ครถู ามคาถามให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ ดงั น้ี - จานวนสองจานวนนี้เท่ากันหรือไม่ (ไมเ่ ทา่ กนั ) - จานวนทางซา้ ยมอื มีกีห่ ลกั (5 หลกั ) - จานวนทางขวามอื มีกีห่ ลัก (4 หลัก)
- จานวนทางซ้ายจะมากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่ จานวนทางขวา (มากกวา่ ) 2. ครูแนะนาใหน้ กั เรียนใช้เครอื่ งหมาย > หรือ < แสดงการเปรียบเทยี บจานวน 52,582 มากกวา่ 5,248 5,248 น้อย 52,582 52,582 > 5,248 5,248 กวา่ 52,582 < 3. ครูยกตัวอยา่ ง จานวนคู่อืน่ ๆ ทม่ี จี านวนหลกั ไม่เทา่ กนั อีก 3 ตวั อย่างแล้วใหน้ ักเรยี น พิจารณาเปรยี บเทยี บพร้อมท้ังอธบิ ายเหตผุ ล 3,567 21,542 100,000 12,541 43,261 1,342 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 6 หลัก การเปรียบเทียบจานวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนั้นครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 6 ขัน้ สรุป 1. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปสิ่งที่ได้เรยี นรู้ร่วมกัน ดงั น้ี การเปรยี บเทยี บจานวนนับไม่ เกิน 100,000 ท่ีจานวนหลักไม่เท่ากันโดยจานวนนับท่ีมีจานวนหลักมากกว่าจะมากกว่าและจานวน นบั ท่ีมีจานวนหลกั นอ้ ยกว่าจะน้อยกว่า สอ่ื การเรยี นรู้ ใบงานที่ 6 หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย
การวัดผลและประเมินผล สิง่ ท่ตี ้องการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 6 70% ขึ้นไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ 6 การประเมนิ 2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คุณภาพดีขึน้ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นักเรยี นได้คะแนนระดบั ทพี่ ึงประสงค์ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขนึ้ ไป คุณลักษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์ ความคดิ เห็นผูบ้ ริหาร ลงชอื่ .....................................ผู้ตรวจ (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ านวยการโรงเรียน ........./.........../..........
บนั ทกึ หลงั การเรยี นการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรยี นได้คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยู่ในระดับปรับปรุง คน คดิ เป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนอย่ใู นระดับดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดับปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอปุ สรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน (นางสาวฐติ ิรตั น์ โป่อนิ ทนะ) ........./.........../..........
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชัว่ โมง เรื่อง การเปรียบเทียบจานวน เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง ครผู ู้สอน นางสาวฐติ ิรัตน์ โปอ่ นิ ทนะ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ ต่างๆ สาระสาคัญ จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่าหรอื น้อยกว่ากันอย่างใดอยา่ งหน่ึงเท่าน้ัน โดยใช้เครอื่ งหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทียบ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทม่ี ีจานวนหลกั ไม่เทา่ กันได้ (K) 2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรือนอ้ ยกวา่ ไดถ้ ูกต้อง 3. เขยี นเปรยี บเทยี บจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < ได้ถกู ตอ้ ง (P) 4. นาความรเู้ กยี่ วกบั การเปรยี บเทยี บจานวนไปใช้แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ได้ (A) สาระการเรยี นรู้ การเปรียบเทยี บจานวน ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่อื มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครทู บทวนการเปรยี บเทียบจานวนนบั สองจานวนท่ีไม่เกนิ 100,000 ที่มีจานวนหลัก ไม่เท่ากันโดยครูยกตวั อย่างมาครงั้ ละ 2 จานวนให้นกั เรียนเปรียบเทียบวา่ จานวนใดมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากันโดยใหเ้ หตผุ ลประกอบแลว้ เขยี นประโยคสัญลักษณ์แสดงการเปรียบเทียบบนกระดาน เชน่ 1,543 < 42,560 81,425 > 9,741 3,468 < 59,467 10,456 > 9,999 41,843 > 8,913 42,536 = 42,563 2. นกั เรยี นสรุปการเปรียบเทยี บจานวนไมเ่ กิน 100,000 ที่มจี านวนหลกั ไมเ่ ท่ากนั ดังน้ี ถ้าจานวนสองจานวนที่นามาเปรียบเทียบกนั มจี านวนหลักไม่เท่ากัน จานวนทม่ี ีจานวนหลักมากกวา่ จะมากกว่าและจานวนท่มี ีจานวนหลกั นอ้ ยกวา่ จะน้อยกวา่ ข้นั สอน 1. ครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนท่ีมีจานวนหลักเท่ากันและเลขโดดทางซ้ายสุด ไม่เท่ากนั เชน่ 74,684 96,751 ครถู ามคาถามให้นักเรยี นช่วยกันตอบ ดังน้ี - จานวนสองจานวนนี้มจี านวนหลกั เท่ากนั หรือไม่ (เทา่ กัน) - 7 ในหลักหมื่นมีคา่ เทา่ ไร (70,000) - 9 ในหลกั หมน่ื มคี ่าเท่าไร (90,000) - จานวนใดมากกว่า (96,751) เพราะเหตุใด (90,000 มากกว่า 70,000)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 486
Pages: