Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:38:00

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ประเด็นท่ีถือว่ามีความเส่ียงสูงสุดสำหรับสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งที่บริหารโดย ขบ. ใน ปจั จุบัน ได้แก่การบริหารจัดการต้นทุนค่าใช้จ่ายภายในสถานีและการซ่อมบำรงุ ซึ่งมีแนวโน้มที่ จะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่องในอนาคตอันเน่ืองมาจากอายุของโครงสร้างสถานี และข้อจำกัดในการ บรหิ ารจดั การภายใตก้ ฎระเบียบของภาครฐั ด้วยเหตุนี้หากพิจารณาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนรว่ มลงทุนเพื่อดำเนินกิจการสถานขี นส่ง สนิ คา้ 3 แหง่ ทม่ี ใี นปจั จุบนั นี้ สามารถมองไดเ้ ปน็ 2 มุม ไดแ้ ก่ o ทางเลือกที่ 1 การหาเอกชนร่วมลงทุนเพ่ือลดและกระจายความเสี่ยงที่มีในปัจจบุ ัน ซึ่งใน กรณีนอี้ าจพิจารณาแนวทางการร่วมลงทุนแบบ PPP Gross Cost หรือ Modified Gross Cost โดยให้เอกชนรับเป็นผู้บริหารกิจการและรับภาระการซ่อมบำรุงสถานีโดยรัฐจ่าย ค่าตอบแทนในรูปแบบของ Availability Payment ตามที่ตกลงกันไว้ โดยในกรณีน้ี ขบ. จะเป็นผู้รับความเส่ียงด้านรายได้ (ซึ่งจัดว่าเป็นระดับความเส่ียงที่ค่อนข้างต่ำ) แต่เนื่องจาก รายได้เปน็ ของรฐั เอกชนผู้ร่วมลงทุนอาจไม่มแี รงจงู ใจในการสนับสนุนการการเพ่ิมรายได้ แก่รัฐเนอื่ งจากการใชง้ านสถานีที่เพมิ่ ขนึ้ ส่งผลโดยตรงต่อตน้ ทุนและค่าใชจ้ ่ายของเอกชน ทั้งนี้รายได้ท่ีได้รับจากแนวทางการร่วมลงทุนแบบ PPP Gross Cost หรือ Modified Gross Cost ค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์หรือส่ิงของจะเป็นรายได้ท่ี ขบ. ไม่ต้องนำส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน ในอัตราส่วนร้อยละ 75 แต่ส่วนต่างอีกร้อยละ 25 ขบ. จะต้องนำส่ง คลังเป็นรายได้แผ่นดิน ทั้งน้ีเป็นไปตามสาระสำคัญของ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2652 ประกอบกับ ระเบียบกรมการขนส่งทางบกว่าด้วยการรับจ่ายค่าบริการสถานีขนส่ง สัตว์และหรือสิ่งของ พ.ศ. 2564 ตามรายละเอียดท่ีกล่าวไปแล้วข้างต้น โดยรายได้ที่ไม่ ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในอัตราส่วนร้อยละ 75 ขบ. จะต้องนำเงินเก็บไว้ใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะรายจ่ายที่เกี่ยวกับกิจการสถานีขนส่งสัตว์หรือสิ่งของหรือการ อำนวยความสะดวก ความปลอดภยั ใหแ้ ก่กจิ การสถานขี นสง่ สัตว์หรอื สิง่ ของ o ทางเลือกท่ี 2 การหาเอกชนร่วมลงทุนโดยมุ่งเน้นที่ผลตอบแทนภาครัฐและการลดความ เสี่ยงของภาครัฐ โดยในกรณีน้ีอาจพิจารณาแนวทางการ่วมลงทุนแบบ PPP Net Cost โดยให้เอกชนบริหารกิจการและเป็นเจ้าของรายได้และจ่ายค่าตอบแทนแก่รัฐในรูปแบบ คล้ายค่าสัมปทาน แต่เอกชนก็จะต้องรับความเส่ียงจากการบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่าย ที่เกิดข้ึน โดยในกรณีน้ีจะก่อให้เกิดภาระกับรัฐน้อยท่ีสุดและมีความเสี่ยงเกิดขึ้นต่อรัฐ นอ้ ยทสี่ ดุ แตอ่ าจไม่ใช่แนวทางทไี่ ด้รบั ผลตอบแทนสูงสุดได้ ทั้งน้ีรายได้ที่ได้รับจากแนวทางการร่วมลงทุนแบบ PPP Net Cost ขบ. จะต้องนำส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน ท้ังนี้เป็นไปตามสาระสำคัญของ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2652 เนื่องจากเป็นเงินที่ ขบ. ในฐานะหน่วยงานของรัฐจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่า สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-19

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) จะได้รับตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ หรือได้รับชําระตามอํานาจหน้าท่ีหรือสัญญา หรือได้รับจากการให้ใช้ทรัพย์สินหรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สินของราชการ ให้นําส่งคลัง ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด เว้นแต่จะมีกฎหมายกําหนดเป็นอย่างอื่น ซ่ึงในขณะนี้ ยงั ไมม่ กี ฎหมายกำหนดเปน็ อยา่ งอน่ื • ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง การจัดให้มีสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของฯ กับการนำ สถานีขนส่งสนิ คา้ ทัง้ 3 แห่ง เขา้ สู่กระบวนการร่วมลงทนุ ฯ การดำเนินการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนมิได้กระทบต่อประกาศกระทรวงคมนาคม ทัง้ 3 ฉบับ อันได้แก่ (1) ประกาศกระทรวงคมนาคม เร่ือง การจัดใหม้ ีสถานีขนสง่ สัตวแ์ ละหรือ ส่ิงของ (สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล) (2) ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง การจัดให้มีสถานี ขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (สถานขี นส่งสินค้าคลองหลวง) และ (3) ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง การจัดให้มีสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า) เน่ืองจาก ขบ. ได้ดำเนินการจัดให้มีสถานีขนส่งฯ ตามความในประกาศดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ท้ังนี้ หาก ขบ. ประสงคท์ ่ีจะจดั ทำโครงการร่วมลงทุนระหวา่ งรัฐและเอกชนสำหรับสถานีขนส่งสนิ คา้ ทั้ง 3 แห่ง สามารถทำได้ตามข้ันตอนและกระบวนการภายใต้ พ.ร.บ. การร่วมทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 เนื่องจากบทนิยามของคำว่า “ร่วมลงทุน” ตามความในมาตรา 4 แห่ง พ.ร.บ.ฯ ดังกล่าว หมายความถึงการร่วมลงทุนกับเอกชนไม่ว่าโดยวิธีใด หรือมอบให้เอกชนลงทุนแต่ฝ่ายเดียว โดยวิธีอนุญาตหรือให้สัมปทาน หรือให้สิทธิไม่ว่าในลักษณะใด ซึ่งเม่ือพิจารณาประกอบกับ สาระสำคัญของ พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 ในมาตรา 115 ท่ีมีสาระสำคัญกำหนดให้ กรมการขนสง่ ทางบกโดยอนมุ ตั ิคณะกรรมการควบคมุ การขนส่งทางบกกลางจัดใหม้ ีสถานีขนส่ง ข้ึนโดยสามารถที่จะเลือกดำเนินการเองก็ได้ โดยอธิบดีมีอำนาจกำหนดค่าบริการในการ ดำเนินการของสถานีขนส่ง ไม่เกินอตั ราทค่ี ณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางกำหนด ดังน้ัน การท่ี ขบ. มหี นา้ ที่และอำนาจในการจัดให้มสี ถานีขนส่ง จึงสามารถทจ่ี ะนำสถานขี นส่งสินค้า ทั้ง 3 แหง่ เขา้ สกู่ ระบวนการรว่ มลงทนุ ฯ ได้ ตามกฎหมาย • มลู คา่ โครงการในการรว่ มลงทนุ ฯ จะเห็นได้ว่า พ.ร.บ. การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 ได้กำหนดข้ันตอนและ วิธีการการดำเนินโครงการไว้ตามมูลค่าโครงการ โดยแบ่งได้เป็น 3 ระดับได้แก่ โครงการท่ีมี มูลค่าต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท โครงการท่ีมีมูลค่าระหว่าง 1,000 ถึง 5,000 ล้านบาท และ โครงการทีม่ ีมูลค่าเกนิ กวา่ 5,000 ลา้ นบาท ในกรณีของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลน้ัน จากการประเมิน โดยคร่าวจะพบว่ามูลค่าของแต่ละสถานีรวมถึงรายได้ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตตามระยะการ ดำเนินโครงการร่วมลงทุนหรือสัมปทานของรัฐโดยท่ัวไป (ระหว่าง 20-30 ปี) แล้ว จะจัดอยู่ใน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-20

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) โครงการประเภท 1,000 ถึง 5,000 ล้านบาท แต่หากการร่วมลงทุนเป็นไปในลักษณะมัดรวม กล่าวคือเป็นการร่วมลงทุนโดยผูกรวมสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งไว้เป็นการร่วมลงทุนกับ เอกชนเพียงรายเดียว (1 สัญญา) มูลค่าโครงการอาจสูงถึงระดับเกินกว่า 5,000 ล้านบาท ซงึ่ จะต้องเขา้ สู่กระบวนการและขัน้ ตอนการดำเนินโครงการที่แตกต่างกันไป การผูกรวมสัญญา และแยกสัญญา มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน โดยการผูกรวมการร่วมลงทุน เป็นสัญญาเดียวนั้นจะช่วยให้เอกชนสามารถกระจายความเส่ียงระหว่างสถานีได้และรวมถึง อาจส่งผลให้การพิจารณาผลประโยชนต์ อบแทนตอ่ รัฐและผู้ใช้บริการสถานีในภาพรวมนัน้ สงู ขึ้น แต่การผูกรวมเป็นสัญญาเดียวจะก่อให้เกิดความเส่ียงสูงกว่าหากเอกชนเกิดความผิดพลาดใน การบริการงานหรือมีประสิทธิภาพการดำเนินการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นอกจากนี้การท่ี สัญญามีมูลค่าสูงจะทำให้มีผู้เล่นท่ีจะเข้าร่วมแข่งขันเพ่ือประมูลสิทธิ์การร่วมลงทุนนั้นน้อยกว่า ในทางกลับกันการแยกสัญญาจะช่วยให้มีผู้เล่นมากยิ่งข้ึนและเป็นการกระจายความเส่ียงต่อรัฐ ในมุมมองนี้ แต่ในสถานีท่ีความต้องการต่ำกว่าสถานีอื่นๆ เช่น สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง อาจมผี ูส้ นใจเขา้ ประมูลสิทธ์ิการรว่ มลงทุนน้อยกว่ารวมถงึ ผลตอบแทนอาจต่ำกว่าได้ ในประเด็นดังกล่าวน้ีมีความสำคัญและจำเป็นจะต้องศึกษาในรายละเอียดเพ่ิมมากยิ่งขึ้น เพ่ือ หาข้อสรุปที่ชัดเจนถึงแนวทางท่ีมีความเหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อรัฐและประชาชน ผ้ใู ช้บรกิ ารสถานสี ูงสดุ ต่อไป • ประเด็นอ่ืนๆ ปัญหาสำคญั ของการร่วมลงทุนระหว่างรฐั และเอกชนได้แก่กระบวนการเพ่ือให้ได้มาซึ่งการร่วม ลงทุนซึ่งจะต้องใช้เวลาและทรัพยากรของหน่วยงานในข้ันตอนของการศึกษาและขออนุมัติ โครงการท่ีค่อนข้างมาก ดังนั้นในระยะที่ยังไม่มีการให้เอกชนร่วมลงทุนหรือเป็นช่วงท่ีอยู่ ระหว่างการเตรียมการให้เอกชนร่วมลงทุน อีกหนึ่งแนวทางท่ีอาจมีความเป็นไปได้สำหรับ ขบ. จึงได้แก่การท่ี ขบ. พิจารณาจ้างเอกชนบริหารและดำเนินการแทนในลักษณะท่ีเรียกว่า Management Contract ซ่ึงในกรณีนี้คล้ายกับกรณีของ PPP Gross Cost แต่การกระจาย ความเส่ียงสู่เอกชนจะต่ำกว่า กล่าวคือ ขบ. ยังคงเป็นผู้รับทั้งรายได้และความเส่ียงท้ังหมดของ โครงการ ส่วนเอกชนจะเข้ามาในฐานะผู้รับจ้างโดยมีผลตอบแทนเป็นค่าจ้างตามอัตราท่ีตกลง กันเท่านั้น แต่อย่างน้อยก็จะช่วยลดภาระด้านการบริหารจัดการและบุคลากรที่รัฐต้องจัดหาได้ ท้ังนี้การดำเนินการจ้างเอกชนเข้ามาดำเนินการดังกล่าว จะต้องดำเนินการภายใต้สาระสำคัญ ของ พ.ร.บ. จดั ซือ้ จัดจา้ งและบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-21

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 11.2.3 ขอ้ สังเกตทางกฎหมายเกี่ยวกบั การรว่ มลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน นอกจากประเด็นทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับการร่วมลงทุนกรณีสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้ง 3 แห่ง ท่ีกล่าวไป ที่ปรึกษาเห็นว่าอาจมีข้อกฎหมายบาง ประการที่ควรยกมาพจิ ารณา ดงั น้ี • ควรมีการปรับปรุง พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 เพื่อให้การเข้าสู่กระบวนการร่วม ลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน ของสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดำเนนิ การไดร้ าบร่นื ยงิ่ ข้ึน ปจั จุบันการดำเนินการสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งน้ันอยู่ภายใต้กรอบของ พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ.2522 ซึ่งเป็น พ.ร.บ. ท่ีเก่ียวข้องกับอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของกรมการขนส่งทางบก ต่อสถานีขนส่ง โดย พ.ร.บ. การขนส่งทางบกฯ มีบทบัญญัติเก่ียวกับสถานีขนส่งไว้ 2 ประเภท ได้แก่ สถานีขนส่งผู้โดยสารและสถานีขนส่งสัตว์หรือส่ิงของ ซ่ึงกำหนดไว้ในหมวดท่ี 9 ต้ังแต่ มาตรา 114 ถึง 125 โดยมสี าระสำคญั ของการจัดให้ม/ี จัดต้ังและดำเนินการสถานขี นส่ง รวมถึง การกำกบั และควบคุมการดำเนนิ การของสถานีขนส่งดว้ ย ภายใต้ พ.ร.บ.ดังกล่าว กรมการขนส่งทางบกโดยการอนมุ ัติของคณะกรรมการควบคมุ การขนส่ง ทางบกกลาง มีอำนาจจัดให้มีสถานีขนส่งขึ้นในกรุงเทพมหานครและเขตท้องท่ีจังหวัดอื่นได้ โดยจะดำเนินการเองหรือมอบหมายให้รัฐวิสาหกิจหรือองค์การของรัฐเป็นผู้ดำเนินการก็ได้ ท้ังนี้จะเห็นได้ว่า ตามความในมาตรา 115 แห่ง พ.ร.บ.การขนส่งทางบกฯ นี้ มิได้จำกัดเฉพาะ ให้ ขบ. เป็นผดู้ ำเนินการสถานขี นส่งแต่เพียงผู้เดยี ว หากแต่เปิดชอ่ งให้รัฐวิสาหกิจ องคก์ ารของ รัฐหรือแม้กระทั่งบุคคลอื่นซ่ึงหมายถึงเอกชนท่ีประสงค์จะจัดต้ังและดำเนินการสถานีขนส่ง สามารถขอใบอนุญาตดำเนินการดังกล่าวได้ ด้วยลักษณะดังกล่าวน้ีเองประกอบกับวัตถุประสงค์ ในการประกาศใช้ พ.ร.บ. การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 ท่ีต้องการเปดิ ช่องให้ เอกชนท่ีมีความสามารถเข้ามามีส่วนร่วมกับรัฐในการดำเนินกิจการบางประเภทท่ีสำคัญต่อ ประชาชนให้เกิดประโยชน์สูงสุดน้ัน ทำให้เห็นว่ากิจการสถานีขนส่งน้ันย่อมสามารถกระทำได้ ภายใตก้ รอบอำนาจของ พ.ร.บ. ทงั้ สองฉบับข้างต้นอยแู่ ลว้ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันได้มีการร่าง พ.ร.บ. การขนส่งทางบกฉบับใหม่ เพื่อปรับปรุงฉบับเดิม เน่ืองจาก พ.ร.บ. การขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายท่ี ตราขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เดียวกันกล่าวคือ เพื่อจัดระเบียบการใช้รถยนต์ในการขนส่งคน สัตว์ หรือสิ่งของ ให้มีมาตรฐานและความปลอดภัยท้ังแก่ผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร และบุคคลอื่นๆ แต่มี บทบัญญัตบิ างประการไม่สอดคล้องเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ประกอบกับเทคโนโลยีดา้ นการ ผลิตรถและสภาพการใช้รถในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไป สมควรรวมกฎหมายท้ังสองฉบับให้ เป็นฉบับเดียวกันและปรับปรุงมาตรการในการควบคุมดูแลการใช้รถให้มี ประสิทธิภาพมาก สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-22

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ยง่ิ ข้นึ ท้ังนี้ รา่ ง พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ... อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย เพื่อประกาศใช้ฯ ซ่ึงเม่ือพิจารณาเน้ือหาในส่วนที่เกี่ยวกับสถานีขนส่งแล้วพบว่า มีบทบัญญัติ เก่ียวกับสถานีขนส่งเพ่ิมเติมโดยเฉพาะบทบัญญัติในเร่ืองแผนแม่บทและแผ นการดำเนินการ และพัฒนาสถานขี นสง่ และการกำกับและควบคุม และบทลงโทษ ในการดำเนินการสถานีขนส่ง ร่าง พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ... มีบทบัญญัติเก่ียวกับสถานีขนส่ง ซึ่งกำหนดไว้ในหมวดท่ี 10 ต้ังแต่มาตรา 216 ถึง 237 โดยมีสาระสำคัญเก่ียวกับสถานีขนส่งว่า สถานีขนส่งตามร่างฯ ฉบับนี้ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สถานีขนส่งคนโดยสารและสถานีขนส่งสินค้า ให้อธิบดี จัดทำแผนดำเนินการและพัฒนาสถานีขนส่งเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายดา้ นการคมนาคมและ การขนสง่ ของประเทศ ซ่งึ ในแผนฯ ดงั กล่าว ต้องไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการควบคุม การขนส่งทางบกกลาง โดยลักษณะ แบบ พ้ืนที่ ขนาด และสิ่งอำนวยความสะดวกของสถานีขนส่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ท้ังน้ี สาระสำคัญเกี่ยวกับการจัดให้มีหรือจัดตั้งสถานี ขนส่งสินค้านั้นมิได้ต่างไปจากเดิม เพียงแต่มีการเพ่ิมรายละเอียดในบางส่วนให้ชัดเจนขึ้น เท่านั้น แต่โดยหลักแล้วยังคงเปิดช่องให้รัฐวิสาหกิจ องค์กรของรัฐหรือเอกชนสามารถเข้ามา ดำเนินการเกี่ยวกับสถานีได้ อธิบดี ขบ. ยังคงมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการ ดำเนินการสถานีขนส่งไม่ว่าเป็นเรื่องการจัดระบบและการควบคุม การจราจรภายในบริเวณ สถานีขนสง่ การจัดชอ่ งจอดรถและพ้นื ที่ลานจอดรถ การจดั ระบบและควบคุมการขนถา่ ยสินค้า ภายในสถานีขนส่ง การจัดระบบและดูแลการเข้าใช้สถานีขนส่ง การดูแลรักษาความปลอดภัย และความเรียบร้อยภายในบริเวณสถานีขนส่ง การประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับ การเดินทาง การจัดให้มีพ้ืนที่สำหรับการปฏิบัติงานของหัวหน้าสถานีขนส่งและเจ้าหน้าท่ี กรมการขนส่งทางบกในสถานีขนส่ง การจัดให้มีพ้ืนท่ีจำหน่ายตั๋วโดยสาร และการควบคุม เก่ียวกับการจำหน่ายตั๋วโดยสาร การจัดให้มีพื้นที่บริการขายสินค้า บริการรับฝากของ และ บริการต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการสถานีขนส่ง การดูแลรักษาความสะอาด การติดป้ายโฆษณาและการจัดให้มีบริการห้องสุขาภายในสถานีขนส่ง รวมถึงหลักเกณฑ์และ เง่ือนไขอน่ื ตามท่อี ธบิ ดีประกาศกำหนด ดังน้ัน จากการศึกษาร่าง พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ.... จะเห็นว่า หากภายหลังแม้จะมีการ ประกาศใช้ พ.ร.บ. ฉบับใหม่ก็ตาม แต่ก็มิได้กระทบต่อลักษณะกิจการสถานีขนส่งสินค้าท่ี สามารถดำเนนิ การร่วมทุนภายใต้ พ.ร.บ. การร่วมลงทนุ ระหวา่ งรัฐและเอกชน พ.ศ.2562 แตอ่ ยา่ งใด เมื่อกฎหมายหลักมิได้เป็นอุปสรรคในการดำเนินการร่วมลงทุนแล้ว กฎหมายลำดับรองไม่ว่า เป็น กฎ ระเบียบ คำส่ังหรือประกาศ ไม่ว่าในระดับกระทรวงหรือระดับกรมย่อมสามารถแก้ไข เปลย่ี นแปลงให้สอดคลอ้ งตอ่ วัตถุประสงคใ์ นดำเนนิ การไดใ้ นภายหลงั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-23

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ค่าตอบแทนการรว่ มลงทนุ จากเอกชน / การนำเงนิ รายได้สง่ คลงั เน่ืองจากระเบียบกรมการขนส่งทางบก ว่าด้วยการรับจ่ายค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือ ส่ิงของ กรมการขนส่งทางบก พ.ศ. 2564 เป็นระเบียบว่าด้วยการกำหนดนิยามของรายได้จาก การดำเนินกิจการสถานีขนส่งสินค้า โดยแบ่งลักษณะของรายได้ออกเป็น 13 ประเภท ตาม ความใน ข้อ 4 ประกอบกับ ข้อ 5 แห่งระเบียบดังกล่าวได้ระบุว่า “ค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์ และหรือส่ิงของ ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในอัตรา ร้อยละ 25 ของจำนวนเงินท่ีได้รับ ท้ังสิน้ เว้นแต่จะได้รับความตกลงกับกระทรวงการคลงั เป็นอยา่ งอนื่ ” จากระเบียบดังกล่าวข้างต้น หากเป็นกรณีการดำเนินการสถานีขนส่งโดย ขบ. ย่อมเป็นที่ ชัดเจนปราศจากข้อสงสัย แต่หากเป็นการดำเนินการในลักษณะของโครงการร่วมทุนซึ่งมี ลักษณะหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการร่วมลงทุนโดยรัฐเป็นเจ้าของรายได้หรือมอบหมายให้ เอกชนเป็นตัวแทนในการจัดเก็บรายได้ ซึ่งภาครัฐจ่ายค่าตอบแก่เอกชนแทนตามผลการ ดำเนินงานหรือความพร้อมในการให้บริการ หรือเป็นการร่วมลงทุนโดยเอกชนเป็นเจ้าของ รายได้จากโครงการและเป็นผู้รับความเส่ียงด้านรายได้ของโครงการ ย่อมต้องพิจารณานำเงิน รายได้ส่งคลังแตกต่างกัน ท้ังน้ีหากไม่มีการบัญญัติกฎหมายยกเว้นไม่ต้องนำเงินรายได้ ค่าตอบแทนท่ี ขบ. จะได้รับจากเอกชนในการเข้าร่วมลงทุน เงินรายได้ทั้งหมดที่ได้จากเอกชน จะต้องนำสง่ คลังเนื่องจากถอื เปน็ เงินรายได้ของรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติ จะส่งผลให้ ขบ. ขาดความ คล่องตัวด้านงบประมาณท่ีจะนำมาใช้ในการบริหารจัดการและกำกับดูแลการให้เอกชนร่วม ลงทนุ ในโครงการดังกล่าว ดังน้ัน จึงอาจพิจารณาแนวทางในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเพ่ือให้มีความชัดเจนและไม่เกิด ความติดขดั ด้านงบประมาณและการบรหิ ารโครงการ โดย ขบ. อาจพจิ ารณาแนวทาง ดงั น้ี (1) แนวทางที่ 1 แนวทางแก้ไขช่วั คราว ขบ. อาจตกลงกับกระทรวงการคลังเพ่ือกำหนดให้รายได้จากค่าตอบแทนการร่วมลงทุน เป็นเงินรายได้อนื่ ๆ ซงึ่ ต้องขอตกลงกับกระทรวงการคลงั เป็นกรณี ๆ โดยไม่ต้องนำส่งคลัง ตามระเบียบกรมการขนส่งทางบก ว่าด้วยการรับจ่ายค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือ สิ่งของ กรมการขนส่งทางบก พ.ศ. 2564 ข้อ 4(13) ซึ่งแนวทางนี้อาจจะมีความไม่แน่นอน ว่าจะได้รับความตกลงยินยอมจากกระทรวงการคลังหรือไม่ และหากมีโครงการร่วมลงทุน โครงการอน่ื ก็จะต้องมกี ารมาขอตกลงกบั กระทรวงการคลงั เป็นกรณีๆ ไป (2) แนวทางแกไ้ ขแบบถาวร (อาจใช้เวลานาน) ขบ. อาจเสนอใหม้ ีการเสนอแก้ไขเพิม่ เตมิ เร่อื งของผลตอบแทนจากการใหเ้ อกชนร่วมลงทุน ไว้ในร่างแก้ไข พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. .... โดยกำหนดให้เป็นเงินรายได้ของ ขบ. ท่ี ไม่ต้องนำส่งคลัง โดยให้ ขบ. มีอำนาจบริหารจัดการรายได้น้ีโดยนำไปใช้จ่ายที่เก่ียวกับ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-24

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) สถานีขนสง่ ซ่ึงท่ีปรึกษาเหน็ วา่ แนวทางที่ดีทีส่ ุดคือการแก้ไขเพ่ิมเตมิ ไว้ในร่างแกไ้ ข พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. .... แต่การดำเนินการแก้ไขกฎหมายระดับ พ.ร.บ. อาจล่าช้าและ อาจแกไ้ ขได้ยาก ดังนั้น ในเบ้ืองต้น หาก ขบ.พิจารณาและเห็นว่าการดำเนินโครงการนี้โดยให้เอกชน เข้ามาร่วมลงทุนจะเป็นวิธีการที่รัฐและประชาชนจะได้ประโยชน์ตอบแทนสูงสุด ขบ. อาจพิจาณาแนวทางการให้เอกชนร่วมลงทนึ โดยมรี ูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนแบบ Gross Cost หรือ Modified Gross Cost ไปก่อนจนกว่าจะมีการแก้ไขกฎหมายแล้วเสร็จ ท้ังนี้เนื่องจาก ขบ. ยังสามารถรับรายได้จากค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์หรือสิ่งของในอัตรา ร้อยละ 75 เพือ่ นำมาเป็นรายจา่ ยเก่ียวกบั กจิ การสถานขี นส่งดังกล่าว • ขบ. บริหารกิจการสถานีในรูปแบบ รัฐดำเนินการเอง (Public Sector Comparator: PSC) โดยการว่าจ้างเอกชนเข้ามาดำเนนิ การ สำหรับสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งของ ขบ. อันได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานี ขนส่งสินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ในปัจจุบันดำเนินการอยู่บนรูปแบบของ รัฐเป็นผู้ลงทุนและบริหารกิจการเอง ในการบริหารของสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งนั้นพบว่า ยังคงมีข้อจำกัดด้านกฎระเบียบ บุคลากรและกำลังพล เทคโนโลยี กระบ วนการใช้จ่าย งบประมาณและการบริหารจัดการด้านการเงินของสถานี รวมถึงยังขาดความเช่ียวชาญในการ บรหิ ารจดั การสถานีขนส่งสนิ คา้ ที่มีความเปลย่ี นแปลงไปมากจากในอดตี ดังน้ัน การใหม้ ีเอกชน ท่มี ีความรูค้ วามสามารถเฉพาะทางเข้ามาร่วมบริหารกิจการ บำรุงรกั ษา หรอื ร่วมลงทนุ เพิ่มเติม ในกิจการสถานีขนส่งสินค้าที่ ขบ. เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบจึงเป็นแนวทางที่ควรนำมาพิจารณา เนอ่ื งจากจะช่วยแกป้ ัญหาและอุดช่องโหวข่ องการดำเนนิ การของภาครัฐได้ แนวคิดในการจ้างเอกชน (Outsource) มาบริหารสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ในรูปแบบของ สัญญาจ้างบริการนนั้ สามารถทำไดโ้ ดยวิธีการจ้างต้องเป็นไปตาม พ.ร.บ. การจัดซ้ือจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งการจ้างเอกชนดังกล่าวมีลักษณะมุ่งผลสำเร็จของงาน ท่ีว่าจ้างภายในระยะเวลาท่ีกำหนดเป็นสำคัญ ลักษณะเช่นน้ีส่วนราชการผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจ ควบคุมหรือบังคับบัญชาหรือสั่งการในการทำงาน แต่มีอำนาจตรวจตรางานและสั่งให้ปรับปรุง แก้ไขเม่ืองานผดิ พลาดบกพร่อง และเอกชนผู้รับจ้างไม่ตอ้ งอยู่ภายใต้ระเบียบขอ้ บังคับทลี่ ูกจ้าง ของส่วนราชการโดยทั่วไปต้องถือปฏิบัติ หากเกิดความเสียหายแก่ทางราชการเน่ืองจากความ บกพร่องของผู้รับจ้าง ส่วนราชการอาจกำหนดค่าปรับสำหรับความเสียหายน้ัน โดยผู้รับจ้างมี ฐานะเป็นผู้รับจ้างทำของตามสัญญาจ้าง ไม่ถือเป็นลูกจ้างของส่วนราชการอันจะมีนิติสัมพันธ์ โดยตรงต่อ ขบ. แต่อย่างใด นอกจากน้ี คา่ ใชจ้ า่ ยในการจ้างใหบ้ ริหารในลกั ษณะดงั กล่าวข้างต้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-25

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ต้องเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการ บรหิ ารงานของสว่ นราชการ พ.ศ. 2553 ด้วย - การดำเนนิ กจิ การสถานีและความเปน็ ไปได้ในการจัดซ้ือจัดจ้างบริหารสถานีขนส่งสินคา้ สืบเน่ืองจากสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งของ ขบ. ปัจจุบันดำเนินการอยู่บนรูปแบบของรัฐเป็น ผู้ลงทุนและบริหารกิจการเอง และการที่จะทำการศกึ ษาความเป็นไปได้ของโครงการในการให้เอกชน ร่วมลงทุนจนถึงขั้นตอนการคัดเลือกเอกชนอาจใช้เวลานาน ขบ. อาจจำเป็นต้องเข้ามาดำเนินการ กำกบั ดูแลและบำรุงรกั ษาสถานขี นสง่ ท้งั สามแหง่ ไปพลางกอ่ น โดยสามารถที่จะพจิ ารณาเลือกใชแ้ นว ทางการวา่ จา้ งเอกชนเขา้ มาดำเนนิ งานได้ตามความใน พ.ร.บ. จดั ซ้ือจดั จ้าง พ.ศ. 2560 ซึ่งการวา่ จา้ ง เอกชนใหเ้ ขา้ มาดำเนนิ การให้บรกิ ารสถานขี นส่งตาม พ.ร.บ. จดั ซอื้ จัดจ้าง พ.ศ. 2560 นี้ แตกต่างจาก การให้เอกชนร่วมลงทุน เน่ืองจากการให้เอกชนร่วมลงทุน รัฐกับเอกชนต่างเข้าร่วมรับความเส่ียงท่ี เกิดขึ้นจากโครงการ โดยท่ีรัฐอาจได้รับผลตอบแทนจากการให้เอกชนร่วมลงทุนหรือจะจ่าย ผลตอบแทนในลักษณะเป็นค่า Availability Payment ก็ได้ ข้ึนอยู่กับนชรูปแบบและวิธีการจ่าย ผลตอบแทนการร่วมลงทุน ซ่งึ สามารถเปรียบเทยี บความแตกตา่ งได้ตามตารางนี้ เชน่ การดำเนินการ พ.ร.บ. จดั ซื้อจัดจา้ ง พ.ศ. 2560 พ.ร.บ. การร่วมลงทนุ ระหวา่ งรฐั และเอกชน พ.ศ.2562 การให้สิทธิในการเข้า เอกชนได้รับอนุญาตตามสัญญาให้เข้ามาใน ผู้ร่วมลงทุนได้รับมอบสิทธิและหน้าที่ ดำเนนิ การ พน้ื ทขี่ องหน่วยงานรัฐ เพ่ือดำเนนิ การทำงาน ของหน่วยงานรัฐในการเข้ามาดำเนิน ตามสัญญา ไม่ได้รบั สทิ ธิในการเข้ามาดำเนิน กิจการของรัฐ อันเป็นอำนาจหน้าท่ีของ กิจการทีเ่ ปน็ อำนาจหน้าท่ขี องรฐั หนว่ ยงานรฐั นั้น ข้ันตอนการคัดเลือก ▪ เปน็ ไปตาม พ.ร.บ.จัดซอื้ จัดจ้างฯ เป็นไปตาม พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ โดยการ ▪ งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง ประมูลรัฐต้องจัดทำประกาศเชิญชวน อาจกระทำได้โดยวธิ ีดังตอ่ ไปนี้ เวน้ แต่ ค.ร.ม. อนุมตั ิในกรณดี ังน้ี (1) วธิ ปี ระกาศเชิญชวนทว่ั ไป (1) รายงานการวิเคราะห์โครงการเห็นว่า (2) วธิ คี ัดเลอื ก ไมค่ วรประมูล หรอื (3) วธิ ีเฉพาะเจาะจง (2) คณะกรรมการนโยบายการร่วมลงทุนฯ (4) วธิ ีประกวดแบบ เห็นว่าไมค่ วรคัดเลือกโดยวิธีประมูล คู่สัญญา รัฐ กบั เอกชนคูส่ ัญญา รฐั กับ เอกชนผู้รว่ มลงทุน ห้ามคู่สัญญาไปจ้างช่วงให้ผู้อ่ืนทำอีกทอด มาตรฐานของสญั ญาไม่ไดห้ ้ามคสู่ ัญญาไป หนึ่ง ไม่ว่าท้ังหมดหรือแต่บางส่วน เว้นแต่ จ้างช่วงให้ผู้อื่นทำอีกทอดหนึ่ง ไม่ว่า การจ้างช่วงแต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตจาก ทั้งหมดหรือแต่บางสว่ น ขบ. หากผ่าฝืนมีค่าปรับไม่น้อยกว่า 10% ของวงเงินท่ีจ้างช่วง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-26

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) การดำเนนิ การ พ.ร.บ. จัดซ้อื จัดจ้าง พ.ศ. 2560 พ.ร.บ. การร่วมลงทนุ ระหวา่ งรฐั และเอกชน พ.ศ.2562 ความเสีย่ งทางการเงนิ เอกชนรับความเสี่ยงเฉพาะในระหว่าง ผูร้ ว่ มลงทุน และ รัฐร่วมกนั แบ่งรับความ ก่อสร้างงานตามสัญญา เส่ียง ตามท่กี ำหนดใน TOR แหล่งเงินทุน รัฐจ่ายคา่ จ้าง ผู้ร่วมลงทุนมหี นา้ ที่จดั หาแหล่งเงนิ ทนุ ใน การดำเนินโครงการ / รัฐร่วมลงทุน บางส่วน ความรับผิดชอบต่อ ▪ เอกชนรับผิดชอบต่อทรัพย์สินระหว่าง ▪ ผู้ร่วมลงทุนรับผิดชอบต่อทรัพย์สิน บคุ คลภายนอก สญั ญาจา้ ง ระหว่างก่อสรา้ ง ▪ ภาครัฐรับผิดชอบต่อทรัพย์สินตลอดอายุ ▪ ผรู้ ว่ มลงทนุ รับผดิ ชอบหลงั จากสง่ มอบ โครงการหลังรับมอบงานจากเอกชน งานก่อสร้าง เน่ืองจากได้รับมอบให้ บริหารโครงการ โดยมีเง่ือนไขตามที่ ระบุในสญั ญา การจดั สรรผลประโยชน์ -ไม่มี- ▪ Net Cost ระหวา่ งรัฐและเอกชน ผ้รู ่วมลงทุนแบ่งส่วนแบง่ รายได้ใหร้ ฐั ผ้รู ว่ มลงทุนจา่ ยคา่ สมั ปทานให้รัฐ ▪ Gross Cost รัฐจ่ายค่าตอบแทนตามคุณภาพการ ดำเนนิ งาน การควบคมุ งาน/บริหาร ▪ ควบคุมตามและตรวจรับงานแบบตาม ▪ ช่วงกอ่ สรา้ ง สญั ญา ปริมาณงานแบบ Output-based ควบคมุ และตรวจรบั งานแบบจ้างเหมา ▪ กรณีงานจ้างก่อสร้างท่ีมีข้ันตอนการ ▪ ช่วงบรหิ ารโครงการ: ดำเนินการเป็นระยะ ๆ ที่ต้องมีการ แต่งต้ังผู้มีอำนาจตรวจสอบการ ควบคุมงานอยา่ งใกลช้ ิด หรือมเี ง่อื นไขการ ดำเนินงาน โดยตรวจรับงานแบบ จา่ ยเงินเปน็ งวดตามความกา้ วหนา้ ของงาน Performance-based โดยมี KPI เป็น ให้มผี ูค้ วบคุมงานซงึ่ แตง่ ตงั้ โดยรฐั คู่สัญญา ตัวกำหนด หากผลการดำเนินงานต่ำ เพอ่ื ควบคุมคุณภาพงานกอ่ สรา้ ง กว่า KPI อาจมีการปรับผลตอบแทน หรือเงินประกนั ทม่ี า : ทป่ี รึกษา สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-27

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 11.3 ประเดน็ กฎหมายอืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกบั การบรหิ ารสถานีขนสง่ สนิ คา้ 11.3.1 ประเดน็ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั พ.ร.บ. ค้มุ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 อย่างไรก็ดีได้มีการประกาศเลื่อนการบังคับใช้แล้วท้ังส้ิน 2 ครั้ง โดยในคร้ังล่าสุด ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศ พ.ร.ก. เล่ือนการบังคับใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ออกไปก่อนจนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาในตัวบทจึงเกิดข้อคำถามต่อ ผู้ปฏิบัติงานในสถานีขนส่งสินค้าว่าหากกฎหมายฉบับน้ีมีผลบังคับใช้แล้วจะมีผลกระทบต่อการ ปฏบิ ตั งิ านหรอื การดำเนินกจิ การสถานขี นส่งสินค้าของ ขบ. หรอื ไม่ ในประเด็นดังกล่าวที่ปรึกษาได้พิจารณาโดยแบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่ ประเด็นท่ัวไป และประเด็น คำถามสำคญั ทจ่ี ะต้องทำการศึกษาทบทวน ได้แก่ • ประเดน็ ทว่ั ไป - เจตนารมณข์ องกฎหมาย และขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย - ข้อยกเวน้ ของกฎหมาย - นยิ ามของ “ข้อมูลสว่ นบุคคล” - การเกบ็ รวบรวม ใช้ หรือ เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นบุคคล • ประเดน็ คำถามสำคัญ - กฎหมายดังกล่าว มีบทหรือส่วนใด เกี่ยวข้องกับการบริหารกิจการสถานีขนส่งสินค้า หรือ สำนักการขนส่งสินคา้ หรือไม่? - มีข้อพิจารณาหรือประเด็นใดๆ ซ่ึงอาจทำให้การดำเนินกิจการสถานีขนสง่ สินค้า ของ ขบ. ในปัจจุบนั เขา้ ข่ายขัดแย้ง หรือ ผดิ ต่อกฎหมายฉบับน้หี รอื ไม่? ในเบ้ืองต้นจะต้องทำความเข้าใจถึงนิยามตามกฎหมายของข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data) และข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความละเอียดอ่อน (Sensitive Personal Data) โดยสำนักงาน คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ได้จัดทำนิยามโดยสรุปเพื่อความเข้าใจท่ีง่ายย่ิงข้ึน ดังแสดงในรปู ที่ 11.3-1 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-28

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ท่ีมา สำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคล รปู ท่ี 11.3-1 นิยามของข้อมูลสว่ นบุคคลและข้อมูลสว่ นบุคคลทม่ี ีความละเอียดอ่อน จากการทบทวนรายการข้อมูลที่มีการจัดเก็บในส่วนของการดำเนินกิจการสถานีขนส่งสินค้า ประกอบด้วย • ข้อมูลผู้ใช้บริการสถานี ในส่วนนี้มีทั้งข้อมูลนิติบุคคลและข้อมูลส่วนบุคคลประกอบกัน ซึ่งถูก จัดเก็บไว้ในระบบ TTMS ของสำนักการขนส่งสินค้า โดยในส่วนของข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว แม้จะใช้ในลักษณะเดียวกับข้อมูลนิติบุคคลแต่ก็อาจตีความว่าเป็นขอ้ มูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ. ไดเ้ ช่นกัน • ข้อมูลการขนส่งสินค้า เช่น ประเภทสินค้า ต้นทางปลายทาง น้ำหนักรถบรรทุกและสินค้า ซึ่งไม่จัดเปน็ ส่วนหนง่ึ ของข้อมลู สว่ นบคุ คล • ข้อมูลตำแหน่งและพกิ ัดทางภูมิศาสตร์ของรถบรรทกุ (ฐานข้อมูล GPS ของ ขบ.) ซง่ึ อาจตีความ เป็นส่วนหน่ึงของข้อมูลส่วนบุคคลในทางอ้อมได้เช่นกัน อย่างไรก็ดีไม่ได้มีความเกี่ยวข้องโดยตรง กบั การบริหารสถานขี นสง่ สินคา้ แม้จะพบว่ามีข้อมูลส่วนบุคคลบางรายการท่ีถูกจัดเก็บไว้ภายในระบบฐานข้อมูล TTMS ของ สำนักการขนส่งสินค้า อย่างไรก็ดีจากการทบทวนพบว่า กรมการขนส่งทางบก ได้มีประกาศ กรมการขนส่งทางบก เรื่อง นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2562 ดังแสดงในรูปท่ี 11.3-2 และ รูปที่ 11.3-3 ซ่ึงได้ให้อำนาจ ขบ. ในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลไว้แล้ว การบริหารจัดการข้อมูล ดงั กล่าวจึงเป็นส่ิงที่สามารถดำเนนิ การไดต้ ามกฎหมาย สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-29

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี 136 ตอนพเิ ศษ 104 ง 26 เมษายน 2562 หนา้ 32 รูปท่ี 11.3-2 ประกาศกรมการขนสง่ ทางบก เรื่อง นโยบายค้มุ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หน้าที่ 1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-30

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ที่มา ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 104 ง 26 เมษายน 2562 หนา้ 33 รปู ที่ 11.3-3 ประกาศกรมการขนสง่ ทางบก เร่อื ง นโยบายคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 หน้าที่ 2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-31

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 11.3.2 การซ้อื ประกันวินาศภัยสำหรบั สถานขี นส่งสินค้า หน่ึงในประเด็นด้านกฎหมายที่มีการศึกษาทบทวนเพ่ิมเติมได้แก่การซื่อประกันอุบัติภัยให้แก่ สถานีขนส่งสินค้า โดย ขบ. ในฐานะหน่วยงานภาครัฐ จะสามารถซ้ือประกันอุบัติภัย (อัคคีภัย) ให้สถานไี ดห้ รือไม่ ในการพิจารณาซื้อประกันอุบัติภัย (อัคคีภัย) ให้แก่สถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบก ในฐานะหน่วยงานภาครัฐนั้น ที่ปรึกษาเห็นว่า การพิจารณาในเรื่องดังกล่าวสามารถดำเนินการได้ ตามแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำประกันภัยทรัพย์สินของทางราชการ ซ่ึงมีรายละเอียด ที่เกี่ยวขอ้ งดังนี้ ตามทคี่ ณะรัฐมนตรีไดม้ มี ติ เมอ่ื วันท่ี 3 พฤษภาคม 2548 (1) ให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ 2538 และวนั ที่ 5 สิงหาคม 2540 เรื่องการประกนั ภัยทรัพย์สินของรัฐ (2) เหน็ ชอบหลกั เกณฑเ์ กี่ยวกับการประกันภยั ทรัพยส์ นิ ของรฐั ดงั น้ี - ให้สถานท่ีราชการในประเทศถือหลักประกันตนเอง ยกเว้นสถานท่ีราชการทมี่ ีคลังเก็บ สินคา้ หรอื โรงงานของทางราชการท่ัวๆไป ซ่งึ อาจเกิดความเสียหายมากเม่อื เกิดอัคคภี ัย ให้จดั เอาประกนั ได้ - ให้รัฐวิสาหกิจซึ่งมีทรัพย์สินที่อาจเกิดความเสียหายมากในเมื่อเกิดอัคคีภัยจัดการ ประกันภัยโรงงานหรอื ทเ่ี ก็บพัสดขุ องรัฐวสิ าหกจิ น้นั ๆ - สถานที่ราชการในต่างประเทศ ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของทางรัฐบาล ให้ประกันได้ตาม ความเหน็ ของกระทรวงการตา่ งประเทศ - การประกันภัยกรณรี ถยนตร์ าชการของสำนักงานในต่างประเทศ ข้อ 1) ให้ประกันภัยรถยนต์ส่วนกลางประจำสำนักงานและรถยนต์ประจำตำแหน่งได้ ในแบบคุ้มครองบคุ คลที่ 3 หรอื ตามที่กฎหมายของประเทศน้ันกำหนด ข้อ 2) กรณีมีความจำเป็นต้องทำประกันภัยรถยนต์ส่วนกลางประจำสำนักงาน และ รถยนต์ประจำตำแหน่งแตกต่างไปจากข้อ 1) อันเนื่องมาจากสถานการณ์ใน ประเทศน้ันไม่มีความปลอดภัย มีการปล้นจ้ีโจรกรรมรถยนตใ์ นอตั ราสูง รวมทั้ง สภาพอากาศ การจราจรที่ไม่เป็นระเบียบ ตลอดจนปัญหาการว่าจ้างพนักงาน ขับรถ ใหป้ ระกนั ไดต้ ามความเหน็ ของกระทรวงการต่างประเทศ ข้อ 3) สถานทูต สถานกงสุล ที่ตง้ั อย่ใู นประเทศท่ีมีเขตแดนตดิ กับประเทศไทยสามารถ ทำประกันภัยรถยนต์กับบริษัทประกันในประเทศไทย โดยคุ้มครองความเสียหาย กับประเทศท่ีตง้ั ของสถานทตู สถานกงสุล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-32

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) - กรณีทรัพย์สินอื่นของทางราชการ ให้จัดเอาประกันภัยได้โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการกลัน่ กรองการจัดเอาประกันภยั ทรัพย์สินของรัฐ (3) อนุมัติให้แต่งตั้งกรรมการกล่ันกรองการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ โดยมี ปลัดกระทรวง การคลังเป็นประธาน ผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมการประกันภัย ผู้แทนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นกรรมการ และผู้แทนกรมธนารักษ์ เป็นกรรมการและ เลขานุการ ใหค้ ณะกรรมการดังกล่าวมีอำนาจหน้าท่ี ดังนี้ - กำหนดขอบเขตการจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินอื่นของทางราชการ นอกจากสถานท่ี ราชการและรถยนตร์ าชการของสำนักงานในตา่ งประเทศ - กำหนดคำนยิ ามของคำวา่ “สถานทร่ี าชการ” และ “ทรัพยส์ นิ ของทางราชการ” - พิจารณาให้ความเห็นชอบเร่ืองที่ส่วนราชการเสนอขอจัดเอาประกันภัยทรัพย์สินอื่น นอกจากสถานที่ราชการ และรถยนต์ราชการของสำนักงานในต่างประเทศ - จดั ให้มีการศึกษาข้อดี – ข้อเสยี ของการจัดเอาประกันภยั ทรัพย์สินของทางราชการ - กำหนดแผนระยะยาวในการจัดเอาประกันภัย - เชิญเจา้ หนา้ ท่ีเจ้าของเรอ่ื งและเจ้าหนา้ ท่ีของส่วนราชการรัฐวสิ าหกจิ หน่วยงานของรัฐ ท่ีเก่ียวข้องร่วมพจิ ารณาหรือชแ้ี จงแสดงความเห็นต่อคณะกรรมการ การประกันภัยทรัพย์สินของรัฐไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีราชการ รถยนต์ หรือทรัพย์สินอื่นๆ เป็นการ ป้องกันไวก้ ่อนเกิดความเสียหาย จึงควรจัดให้มกี ารประกันภัยครอบคลุมถงึ ทรัพย์สินอน่ื ของรฐั ด้วย แต่การกำหนดมูลค่าการประกันภัยทรัพย์สินอื่นของรัฐ คณะกรรมการกล่ันกรองการจัดเอา ประกันภัยทรัพย์สินของรัฐ ควรพิจารณาให้รอบคอบว่าค่าเบ้ียประกันภัยจะคุ้มกับความคุ้มครอง ทีไ่ ด้รับหรือไม่ เมื่อพิจารณาตามแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำประกันภัยทรัพย์สินของทางราชการตามมติ คณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 3 พฤษภาคม 2548 ดังกล่าวข้างต้นจะเห็นว่า การทำประกันอุบัติภัย (อัคคีภัย) สถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบกนั้นย่อมสามารถทำได้ แม้ว่าโดยหลักแล้วมติ คณะรัฐมนตรีให้สถานท่ีราชการในประเทศถือหลักในการประกันตนเอง แต่อย่างไรก็ตาม มติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวได้ยกเว้นสถานที่ราชการที่มีคลังเก็บสินค้าหรือโรงงานของทางราชการ ซึ่งอาจเกิดความเสียหายมากเม่ือเกิดอัคคีภัยให้สามารถจัดเอาประกันได้ ทั้งนี้สอดคล้องกับมติ คณะรัฐมนตรีดังกล่าว กรมธนารักษ์ได้สรุปแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำประกันภัยทรัพย์สิน ของทางราชการ ปรากฏตามหนังสือกรมธนารักษ์ ที่ กค 0312/ว114 ลงวันท่ี 19 มิถุนายน 2550 เรอ่ื ง การจัดทำประกันภยั ทรัพยส์ ินของราชการ ซึ่งไดส้ รุปไวใ้ นหวั ข้อการจัดทำประกันภัยทรัพย์สิน ของราชการนอกจากรถยนต์ราชการ ซึ่งมีรายละเอียดว่า ทรัพย์สินท่ีจะเสนอขอทำประกันภัยได้ ต้องเป็นทรัพย์สินของทางราชการและหรือเป็นทรัพย์สินที่สามารถดำเนินการจัดซ้ือจัดจ้างตาม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-33

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 เฉพาะรายการครุภัณฑ์และส่ิงก่อสร้าง โดยมีหลักเกณฑเ์ บอ้ื งต้นสำหรบั ทรัพยส์ นิ ที่ขอทำประกนั ภยั ดังน้ี (1) เป็นทรัพย์สินที่เมื่อเกิดความเสียหายแล้ว อาจส่งผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อชีวิตและ ทรัพยส์ นิ ของบุคคลอ่ืน เชน่ เสารบั -สง่ สญั ญาณ เสาตรวจวัดคณุ ภาพอากาศ (2) เป็นทรัพย์สินท่ีใช้เพ่ือบริการสาธารณะ ซึ่งเมื่อได้รับความเสียหายแล้วจะส่งผลต่อ สาธารณชนเป็นวงกว้าง เช่น เข่ือน สนามบิน สถานีขนสง่ (3) เป็นทรัพย์สินที่มมี ูลค่าสูงต้งั แต่ 100 ลา้ นบาทขึ้นไป เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์ ทางการสื่อสาร (4) ไม่เป็นทรัพย์สินท่ีมีเงื่อนไขตามสัญญา หรือสัญญาสัมปทานบังคับให้ต้องทำประกันภัย เน่ืองจากต้องทำประกันภยั ตามเงื่อนไขสญั ญาอย่แู ลว้ ดังนั้น จากสรุปหลักเกณฑ์เหล่าน้ีแสดงให้เห็นว่า ขบ. ย่อมสามารถดำเนินการทำประกันอุบัติภัย (อัคคีภัย) แก่สถานีขนส่งสินค้าซ่ึงเป็นทรัพย์สินของกรมฯ เองได้ เว้นแต่ในกรณีท่ีกรมได้ทำสัญญา สัมปทานหรือสัญญาให้เอกชนหรือภาคส่วนอื่นใช้ทรัพย์สินของกรมฯ และภายใต้กรอบสัญญา เหล่านั้นได้มีข้อกำหนดระบุให้ผู้รับสัมปทานหรือคู่สัญญาอ่ืนมีหน้าที่ต้องทำประกันอุบัติภัย (อัคคภี ยั ) ไว้อยแู่ ลว้ นอกจากน้ี ในกรณีทรัพย์สินอื่นของราชการท่ีมิได้อยู่ในกรอบนิยามตามแนวทางและหลักเกณฑ์ เหล่าน้ี หากมีข้อสงสัยว่าสามารถจัดทำประกันแก่ทรัพย์สินเหล่าน้ันได้หรือไม่ หน่วยงานราชการ เจ้าของทรัพย์สินดังกลา่ วสามารถเสนอขอทำประกันภัยเพื่อให้คณะกรรมการกลั่นกรองการจัดเอา ประกันภัยทรัพยส์ นิ ของรฐั พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบได้ 11.3.3 การจ้างบริหารสถานีขนส่งสนิ ค้าตาม พ.ร.บ. จัดซอื้ จดั จา้ ง พ.ศ. 2562 ปัญหาสำคัญของการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนได้แก่กระบวนการเพื่อให้ได้มาซ่ึงการร่วม ลงทุนซึ่งจะต้องใช้เวลาและทรัพยากรของหน่วยงานในข้ันตอนของการศึกษาและขออนุมัติ โครงการท่ีค่อนข้างมาก ดังน้ันในระยะท่ียังไม่มีการให้เอกชนร่วมลงทุนหรือเป็นช่วงที่อยู่ระหว่างการ เตรียมการให้เอกชนร่วมลงทุน อีกหนึ่งแนวทางที่อาจมีความเป็นไปได้สำหรับ ขบ. จึงได้แก่การท่ี ขบ. พิจารณาจ้างเอกชนบริหารและดำเนินการแทนในลักษณะท่ีเรียกว่า Management Contract ซ่ึงใน กรณีน้ีคล้ายกับกรณีของ PPP Gross Cost แต่การกระจายความเสี่ยงสู่เอกชนจะต่ำกว่า กล่าวคือ รัฐยังคงเป็นผูร้ ับทัง้ รายได้และความเสย่ี งส่วนใหญข่ องโครงการ แต่อยา่ งนอ้ ยกจ็ ะช่วยลดภาระดา้ น การบริหารจัดการและบุคลากรที่รัฐต้องจัดหาได้ คำถามคือระหว่างที่สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ยงั ไมไ่ ด้เขา้ สู่กระบวนการร่วมลงทุน และ ขบ. ยังคงต้องบริหารกจิ การสถานีในรูปแบบ รฐั ดำเนินการเอง เช่นแบบในปจั จุบนั ขบ. จะสามารถบรหิ ารสถานีในลกั ษณะ Management Contract ได้หรือไม่ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-34

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) สำหรับสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งของ ขบ. อันได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่ง สินค้าคลองหลวงและสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ในปัจจุบันดำเนินการอยู่บนรูปแบบของรัฐเป็น ผู้ลงทุนและบริหารกิจการเอง ในการบริหารของสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งน้ันพบว่ายังคงมี ข้อจำกัดด้านกฎระเบียบ บุคลากรและอัตรากำลัง เทคโนโลยี กระบวนการใช้จ่ายงบประมาณ และการบริหารจัดการด้านการเงินของสถานี รวมถึงยังขาดความเช่ียวชาญในการบริหารจัดการ สถานีขนส่งสินค้าที่มีความเปลี่ยนแปลงไปมากจากในอดีต ดังนั้น การให้มีเอกชนที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะทางเข้ามาร่วมบริหารกิจการ บำรุงรักษา หรือร่วมลงทุนเพ่ิมเติมในกิจการ สถานีขนส่งสินคา้ ท่ี ขบ. เป็นผูด้ ูแลรับผิดชอบจึงเป็นแนวทางที่ควรนำมาพิจารณาเน่ืองจากจะช่วย แกป้ ัญหาและอุดช่องโหว่ของการดำเนนิ การของภาครฐั ได้ แนวคิดในการจา้ งเอกชน (Outsource) มาบริหารสถานขี นส่งสนิ ค้าท้ัง 3 แห่ง ในรูปแบบของ Management Contract นั้น สามารถทำได้โดยวิธีการจ้างต้องเป็นไปตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม ซึ่งการจ้างเอกชนดงั กล่าวมลี ักษณะ มุ่งผลสำเร็จของงานท่ีว่าจ้างภายในระยะเวลาท่ีกำหนดเป็นสำคัญ ลักษณะเช่นน้ีส่วนราชการผู้ว่าจ้าง ไม่มีอำนาจควบคุมหรือบังคับบัญชาหรือสั่งการในการทำงาน แต่มีอำนาจตรวจตรางานและสั่งให้ ปรับปรุงแก้ไขเมื่องานผิดพลาดบกพร่อง และเอกชนผู้รับจ้างไม่ต้องอยู่ภายใต้ระเบียบข้อบังคับที่ ลูกจ้างของส่วนราชการโดยท่ัวไปต้องถือปฏิบัติ หากเกิดความเสียหายแก่ทางราชการเน่ืองจาก ความบกพร่องของผู้รับจ้าง ส่วนราชการอาจกำหนดค่าปรับสำหรับความเสียหายนั้น โดยผู้รับจ้าง มีฐานะเป็นผู้รับจ้างทำของตามสัญญาจ้าง ไม่ถือเป็นลูกจ้างของส่วนราชการอันจะมีนิติสัมพันธ์ โดยตรงต่อ ขบ. แต่อย่างใด นอกจากนี้ ค่าใช้จ่ายในการจ้างให้บริหารในลักษณะดังกล่าวข้างต้น ต้องเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเก่ียวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของสว่ นราชการ พ.ศ. 2549 ด้วย ในการดำเนินการสถานีขนส่งสินคา้ ในความรบั ผิดชอบของ ขบ. ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาน้ัน ขบ. เคยทำสัญญาจ้างบริหารในลักษณะ Management Contract โดยได้ทำการจ้างองค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจเข้ามาบริหารงานแทน โดยในปี พ.ศ.2543 – 2546 มีการทำสัญญาจ้างให้บริหารสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล และสัญญาจ้างให้บริหารสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า อยา่ งไรก็ตาม ในภายหลังมีการเสนอให้ยบุ เลกิ ร.ส.พ. ดว้ ยเหตุผลว่า ร.ส.พ. มปี ัญหา ขาดสภาพคล่องและมีหน้ีสินสะสมจำนวนมาก อีกท้ังไม่มีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ โลจิสติกส์กับเอกชนจนท้ายที่สุดได้มีพระราชกฤษฎีกายุบเลิก ร.ส.พ. ในปี พ.ศ.2549 และ ในภายหลังน้ันเอง กิจการใดๆ ท่ี ร.ส.พ. เคยดำเนินการก็ได้มีการเปิดประมูลให้บริษัทเอกชน เข้ามาทำหน้าที่ขนส่งสินค้าแทน ดังน้ัน จะเห็นว่า ในประเด็นเร่ืองการทำสัญญาจ้างบริหารในลักษณะ Management Contract ระหว่าง ขบ. และเอกชนในการดำเนินบริหารงานสถานีขนส่งสินค้าน้ัน ย่อมทำไดแ้ ละ ขบ. กเ็ คยดำเนนิ การทำสญั ญาในลกั ษณะดงั กลา่ วมาแลว้ เช่นกัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-35

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) อย่างไรก็ดี หากพิจารณาในอีกมิติหน่ึง โดยตาม พ.ร.บ. จัดซ้ือจัดจ้าง มาตรา 4 “งานบริการ” หมายความว่า งานจ้างบริการ งานจ้างเหมาบริการ งานจ้างทำของและการรับขนตามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณชิ ยจ์ ากบคุ คลธรรมดาหรือนิตบิ ุคคล ซง่ึ การจ้างเหมาบรกิ าร มลี ักษณะดังน้ี* การจ้างเหมาบริการ ไม่ถือเป็นการจ้างลูกจ้าง และไม่ถือเป็นการจ้างแรงงาน แต่เป็นนิตสิ ัมพันธ์ใน ฐานะ “นายจา้ งกับลูกจ้าง” ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มุ่งผลสำเรจ็ ของงานท่ีว่าจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนดตามสัญญาหรือข้อตกลงการจ้างเป็นสำคัญ มวี ัตถปุ ระสงค์ให้ผ้รู ับจา้ งทำงานส่ิงใดสิง่ หนึง่ ให้แก่ผวู้ า่ จา้ งจนสำเร็จ และผู้วา่ จา้ งตกลงจะให้สนิ จ้าง เพอ่ื ผลสำเรจ็ แก่งานท่ีทำนนั้ โดยพิจารณาจากเนื้องาน กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัตงิ านตามสญั ญาหรือขอ้ ตกลงการจ้าง อาจกำหนดเตม็ ปี งบประมาณ หรอื ไม่เต็มปีงบประมาณก็ได้ ซึ่งการกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานจะต้องสัมพันธ์กับเน้ืองาน ท่ีประสงค์จะจ้าง (แต่จะทำสัญญาหรือข้อตกลงได้ไม่เกินรอบปีงบประมาณนั้น ๆ) และมิให้ทำ สญั ญาหรือข้อตกลงการจ้างในลักษณะต่อเน่ือง ผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจควบคุมบังคับบัญชาหรือส่ังการในการทำงาน แต่ผู้ว่าจ้างมีเพียงอำนาจในการ ตรวจตรางาน และสงั่ ให้ปรับปรงุ แกไ้ ข สรุป พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้างฯ ไม่ได้กำหนดให้หน่วยงานภาครัฐทำการว่าจ้างเอกชนในลักษณะ Management Contract (Supply or service/Maintenance management/Operational Maintenance) คือ รัฐว่าจ้างเอกชนที่เป็นมืออาชีพมาบริหารโครงการที่รัฐเป็นเจ้าของ โดย รัฐกำหนดค่าตอบแทนให้เอกชน ซึ่ง Management Contract เป็นรูปแบบหนึ่งของการให้เอกชน รว่ มลงทุน แต่ ขบ. สามารถดำเนินการจ้างเหมาบรกิ ารโดยให้เอกชนเข้ามาดำเนินงานสถานีขนส่งสินค้า ได้ตาม พ.ร.บ. จัดซอ้ื จดั จ้างฯ สำหรับการกำกับดูแลสัญญาจ้างเหมาบริการ : ให้ดำเนินการตาม ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ หมวด 6 การบริหารสัญญาและการตรวจรับ พัสดุ การกำกับดูแล การจ่ายค่าจ้างตามสัญญาหรือข้อตกลงการจ้าง จะจ่ายได้ต่อเม่ือได้มีการ ตรวจรับงานจ้างโดคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเรียบร้อยแล้ว ในกรณีที่เห็นว่าพัสดุที่ส่งมอบ มีรายละเอียดไม่เป็นไปตามสัญญา หรือส่งมอบงานถูกต้องแต่ไม่ครบถ้วน หรือครบถ้วนแต่ ไมถ่ กู ตอ้ ง ใหร้ ายงานหวั หน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหวั หน้าหนว่ ยงานเจา้ หนา้ ทีเ่ พอื่ ทราบและส่ังการ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-36

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 11.4 กฎระเบียบและประกาศทางราชการท่เี กยี่ วข้องกบั การบริหารสถานขี นส่งสินค้า นอกเหนือจากกฎหมายหลักเชน่ พระราชบัญญัติต่างๆ แล้ว ในการบริหารกิจการสถานีขนส่งสินค้า ของกรมการขนส่งทางบกยังประกอบไปด้วยกฎหมายลำดับรอง ได้แก่ กฎ ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ รวมถึงคำส่ังทางราชการอืน่ ๆ ซ่งึ ออกภายใต้อำนาจตามกฎหมายหลักจำนวนหนึ่ง โดย สรปุ สาระสำคัญไว้ในตารางท่ี 11.4-1 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-37

ตารางท่ี 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศท่เี กี่ยว ลำดบั ปี พ.ศ. หมวด เร่ือง 1 2525 กฎกระทรวง (คมนาคม) ฉบบั ที่ 18 - ให้ไว้ ณ วัน กระทรวงคม - เป็นกฎกระ - กำหนดราย สนิ คา้ รวมถ 2 2541 ระเบยี บกระทรวงคมนาคม ว่าด้วยการรับจ่ายค่าบริการ - ประกาศ ณ สถานีขนส่งสัตว์และหรือ คมนาคม ส่ิงของ กรมการขนสง่ ทางบก - เป็นระเบียบ ออกเปน็ 13 - หน่ึงในประ แผน่ ดินในอ 3 2542 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรอ่ื ง หา้ มยานพาหนะที่ - ประกาศ ณ บรรทุกสนิ คา้ ไมเ่ หมาะสมเข้า - อ้างถึงประก ใชส้ ถานขี นสง่ สินค้า ว่าดว้ ยการบ - ตามประกา ไม่มีการบร หบี หอ่ ให้เก - โดยเจตนาร จึงหา้ มมิให สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) วข้องกับการบรหิ ารกจิ การสถานีขนส่งสินค้า ทง้ั 3 แห่ง สาระสำคัญ นที่ 1 กนั ยายน 2525 ลงนามโดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติราชการแทนรฐั มนตรีว่าการ มนาคม ะทรวงทีอ่ อกโดยอาศยั อำนาจตาม พรบ.การขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2522 ยละเอียดต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับองค์ประกอบของสถานีขนส่ง ซ่ึงรวมถึงสถานีขนส่งผู้โดยสารและสถานีขนส่ง ถงึ อำนาจในการให้ใบอนญุ าตจัดตง้ั สถานีแก่องคก์ ร นิติบุคคล และบุคคล ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2541 ลงนามโดย รัฐมนตรีช่วยว่าการ ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวง บว่าด้วยการกำหนดนิยามของรายได้จากการดำเนินกิจการสถานีขนส่งสินค้า โดยแบ่งลักษณะของรายได้ 3 ประเภท ะเด็นสำคัญอยู่ที่ ข้อ 4 ซ่ึงระบุไว้ว่า “ค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ ให้นำส่งคลังเป็นรายได้ อัตรา ร้อยละ 25 ของจำนวนเงนิ ทไ่ี ดร้ บั ทั้งสนิ้ เว้นแตจ่ ะได้รับความตกลงกบั กระทรวงการคลังเปน็ อยา่ งอ่ืน” ณ วันท่ี 14 พฤษภาคม 2544 ลงนามโดย อธิบดีกรมการขนสง่ ทางบก กาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง เร่ือง ระเบียบคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง บรหิ ารและการใช้สถานขี นส่งสตั ว์และหรอื ส่งิ ของ พ.ศ. 2542 ข้อที่ 7 าศได้กำหนดประเภทของสนิ ค้าท่ีไม่อนุญาตให้เข้าใช้บรกิ ารสถานีขนสง่ สินค้า เช่น สนิ ค้าพืชผลการเกษตรที่ รรจุหีบห่อ สินค้าท่ีก่อให้เกิดฝุ่นละออง ของเหลวที่อาจมีการร่ัวไหล สินค้าวัตถุอันตราย สินค้าที่ไม่ได้บรรจุ กดิ ความสะดวกเหมาะสมในการขนถ่ายสนิ คา้ และสัตวแ์ ละเน้ือสตั ว์ รมณ์ของประกาศฉบบั นเ้ี พื่อเป็นการควบคุมให้เกิดความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยและความสะอาดภายในสถานี ห้สนิ ค้าท่ีมีการบรรจหุ ีบหอ่ ไม่เรียบรอ้ ย มีโอกาสเกิดการตกหล่นรวั่ ไหล เขา้ ใชบ้ รกิ ารสถานี 11-38

ตารางท่ี 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศท่ีเก่ยี วข้อ ลำดับ ปี พ.ศ. หมวด เร่ือง 4 2542 ประกาศคณะกรรมการควบคุม เรอื่ ง ระเบียบคณะกรรมการ - ประกาศ ณ การขนสง่ ทางบกกลาง ควบคุมการขนสง่ ทางบก - มีวัตถุประส กลางว่าด้วยการบรหิ ารและ จัดทำประก การใช้สถานขี นสง่ สัตวแ์ ละ กำหนดวิธกี หรอื สิ่งของ - ถือเป็นประ ทางการดำเ 5 2543 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง หลักเกณฑแ์ ละวิธี - ประกาศ ณ ปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั การใช้สถานี - อ้างถึง มาต ขนสง่ สัตว์และหรือสง่ิ ของ เร่ือง ระเบ สง่ิ ของ พ.ศ - ตามประกา ความสะอา จัดทำประว ห้ามนำสิง่ ต - ข้อสังเกตท รายการเป็น ฉบับนี้ไม่ได สถานการณ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) องกบั การบรหิ ารกจิ การสถานขี นส่งสินค้า ทั้ง 3 แห่ง (ต่อ) สาระสำคญั วนั ที่ 25 มิถนุ ายน 2542 ลงนามโดย ปลัดกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการควบคมุ การขนส่งทางบกกลาง สงค์เพื่อกำหนดกรอบแนวปฏิบัติในเบ้ืองต้นสำหรับกรมการขนส่งทางบกและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือไป กาศหรือแนวทางการดำเนินการในรายละเอียดต่อไป ยกตัวอย่างเช่น การกำหนดเวลาบริการสถานี การ การชำระค่าบริการ อำนาจของนายสถานี การใชบ้ ริการสถานี และการแกไ้ ขปัญหาและข้อพิพาท ะกาศฉบับแรกๆ ท่ีตาออกมาเพ่ือกำหนดแนวทางการดำเนินกิจการของสถานีขนส่งสินค้า แต่ในปจั จุบนั แนว เนินการตา่ งๆ มกี ารปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงมาโดยลำดบั ณ วนั ท่ี 19 มกราคม 2543 ลงนามโดย อธิบดกี รมการขนส่งทางบก ตรา 116 แห่ง พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 และ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง บียบคณ ะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางว่าด้วยการบริห ารและการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือ ศ. 2542 ขอ้ ท่ี 6 าศฉบับน้ี ระบุถึงแนวทางและข้อปฏิบัติในการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าของผู้ใช้บริการ เช่น การดูแลรักษา าด ความปลอดภัย การไม่รบกวนผู้เช่ารายอื่นๆ การชำระค่าบริการ การจัดทำรายงานการขนส่งสินค้า การ วัติพนักงานและลูกจ้างพร้อมทั้งรายงานให้นายสถานีทราบ การแต่งการและการติดป้ายช่ือพนักงาน การ ตอ้ งหา้ มเข้าในพื้นทส่ี ถานี การปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจรและกฎการเข้าออกสถานีเป็นตน้ ที่สำคัญสำหรับประกาศฉบับน้ีคือมีข้อปฏิบัติหลายรายการซง่ึ พบว่าไม่มกี ารดำเนนิ การในปัจจุบัน และหลาย นเร่ืองที่ทำได้โดยยากในทางปฏิบัติบนเง่ือนไขของความเป็นปัจจุบัน ซึ่งน่าจะเป็นเหตุผลที่ทำให้ประกาศ ด้ถูกนำมาบังคับใช้อย่างเข้มข้นในปัจจุบัน ดังน้ันจึงควรมีการปรับปรุงประกาศใหม่ให้ความความเหมาะสมกับ ณ์และพฤตกิ รรมในปจั จุบันมากยิ่งขึน้ รวมถึงการพิจารณากำหนดข้อปฏบิ ัติในมติ ิดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัลด้วย 11-39

ตารางท่ี 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศทีเ่ ก่ียวข้อ ลำดับ ปี พ.ศ. หมวด เร่ือง 6 2543 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เร่ือง กำหนดอัตราคา่ บริการ - ประกาศ ณ ในการดำเนนิ การของสถานี - มีวัตถุประส ขนส่งสตั ว์และหรือสิง่ ของ ประกาศคณ เพม่ิ เตมิ และวิธกี ารปฏบิ ัติ ภายในสถา เกยี่ วกบั การนำรถเขา้ ออก - อย่างไรก็ดีใ หรือจอดภายในสถานีขนส่ง สตั ว์และหรือส่ิงของ 7 2543 ประกาศคณะกรรมการควบคุม เร่ือง กำหนดอัตราค่าบรกิ าร - ประกาศ ณ การขนสง่ ทางบกกลาง ในการดำเนนิ การของสถานี - มวี ัตถุประส ขนสง่ สัตว์และหรือส่งิ ของ ไวต้ ามประก เพ่มิ เติม - ประกอบด้ว และ (2) อัต - แสดงให้เห็น ปัจจบุ ันไม่ม 8 2546 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง ห ลัก เก ณ ฑ์ และวิธี - ประกาศ ณ ปฏิบัติเก่ียวกับการใช้บริการ - อ้างถึง มาต อาคารที่พักและโรงอาหาร เร่ือง ระเบ ภายในสถานีขนส่งสัตว์และ ส่ิงของ พ.ศ หรอื สิ่งของ - ตามประกา ของผู้ใช้บริก อาหารภาย สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) องกบั การบรหิ ารกจิ การสถานขี นสง่ สนิ ค้า ทง้ั 3 แห่ง (ต่อ) สาระสำคัญ ณ วนั ท่ี 20 มถิ ุนายน 2543 ลงนามโดย อธิบดีกรมการขนส่งทางบก สงค์เพ่ือกำหนดอัตราค่าบริการในการดำเนินการของสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของเพ่ิมเติมให้เป็นไปตาม ณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง และกำหนดวิธีการปฏิบัติเก่ียวกับการนำรถเข้าออกหรือจอด านีใหม้ คี วามชัดเจนสามารถนำไปปฏิบัติใชไ้ ด้ ในปัจจุบันไม่มกี ารดำเนนิ การตามประกาศนแี้ ล้ว ณ วนั ที่ 4 ตลุ าคม 2543 ลงนามโดย ปลัดกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง สงค์เพ่ือกำหนดอัตราค่าใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าเพิ่มเติมในกิจกรรมที่ยังไม่มีการประกาศอัตราค่าบริการ กาศฉบับกอ่ นหนา้ วย 2 กิจกรรม ได้แก่ (1) อัตราค่าใช้บริการสถานีเพื่อขนถ่ายสินค้า คิดตามระยะเวลาท่ีเข้าใช้บริการสถานี ตราคา่ จอดรถ ซ่ึงคดิ ตามเวลา เช่นเดยี วกัน นถึงความพยายามในการจัดเก็บค่าใชบ้ รกิ ารจากการเข้าใช้สถานีและการจอดรถภายในสถานี อย่างไรก็ดีใน มกี ารดำเนนิ การตามประกาศนี้แล้ว ณ วันที่ 30 กันยายน 2546 ลงนามโดย อธบิ ดีกรมการขนส่งทางบก ตรา 116 แห่ง พ.ร.บ. การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 และ ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง บียบคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางว่าด้วยการบริหารและการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือ ศ. 2542 ข้อท่ี 10 าศฉบับนี้ ระบุถงึ แนวทางและข้อปฏิบัติในการใช้บริการอาคารท่ีพักและโรงอาหารภายในสถานีขนส่งสินค้า การ เช่น การห้ามเล่นการพนัน ด่ืมสุรา ยาเสปติด การส่งเสียงรบกวนผูอ้ ่ืน การทะเลาะววิ าท การประกอบ ยในห้องพกั และการเลี้ยงสตั ว์ เป็นต้น 11-40

ตารางที่ 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศท่ีเกีย่ วข้อ ลำดับ ปี พ.ศ. หมวด เร่อื ง - สำหรับประ ประกาศมีก ความรบั ผิด อาจพจิ ารณ 9 2549 กฎกระทรวงคมนาคม ฉบับที่ 59 - ให้ไว้ ณ วัน 10 2553 คำสง่ั กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคม 11 2562 ระเบยี บกระทรวงคมนาคม เร่ือง แต่ต้งั คณะกรรมการ พจิ ารณาเรอื่ งการจดั ใหม้ ี - มีวัตถุประส และจัดตั้งสถานขี นส่งสัตว์ และปรับปร และหรือสง่ิ ของ มากย่งิ ขึ้น วา่ ด้วยการรบั จา่ ยคา่ บริการ - สัง่ ณ วันที่ สถานีขนส่งสัตวแ์ ละหรือ - เป็นคำส่ังเพ สิ่งของ กรมการขนส่งทางบก สงิ่ ของ โดย ให้มีจัดต้ังส คณะกรรมก สถานขี นสง่ - ประกาศ ณ - เน้ือหาของ รายจ่ายใน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) องกบั การบริหารกจิ การสถานขี นส่งสนิ คา้ ท้ัง 3 แห่ง (ต่อ) สาระสำคัญ ะกาศฉบับนี้มีเนื้อความท่ีเป็นข้อบงั คับท่ัวไปของการอยู่ร่วมกันในอาคารท่ีพักและโรงอาหาร อย่างไรกด็ ีด้วย การบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน จึงยังไม่มีการกล่าวถึงในบางประเด็นซึ่งอาจเป็นประเด็นในปัจจุบัน เช่น ดชอบต่อการซ่อมบำรงุ การปรับปรุงต่อเติมภายในห้องพักหรือโรงอาหาร การติดต้ังอินเตอร์เนท เป็นต้น จึง ณาปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกับความเป็นปจั จบุ ันย่ิงขึ้นได้ นท่ี 31 กรกฎาคม 2549 ลงนามโดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการ มนาคม สงค์เพื่อปรบั ปรุงองค์ประกอบของสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ตามท่ีประกาศไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 18) รงุ การยื่นคำขอรับใบอนุญาตจดั ต้ังและดำเนินการสถานี ให้มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกับความเปน็ ปัจจุบัน 1 กุมภาพนั ธ์ 2553 ลงนามโดย อธิบดกี รมการขนสง่ ทางบก พ่ือปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการพิจารณาเร่ืองการจัดให้มีและจัดตั้งสถานีขนส่งสัตว์และหรือ ยคณะกรรมการชุดดังกล่าวมีหนา้ ที่ในการพิจารณาหลักเกณฑ์ การดำเนินงาน และการพัฒนาสง่ เสรมิ การจัด สถานีขนส่งสินค้าเพิ่มเติม ซ่ึงอาจไม่เกี่ยวข้องกับสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่งที่มีอยู่แล้วโดยตรง อย่างไรก็ดี การยังต้องดำเนินการอื่นๆ ตามที่อธิบดีกรมการขนส่งทางบกมอบหมาย ซึ่งในส่วนนี้อาจเก่ียวข้องกับกับ งสนิ ค้าทง้ั 3 แหง่ ท่มี อี ยแู่ ลว้ ณ วันที่ 19 เมษายน 2562 ลงนามโดย รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม งระเบียบโดยรวมยังคงเป็นไปตามประกาศฯ เดิมในปี 2541 แต่มีการปรับปรุงรายละเอียดของรายการ ข้อ 9 ขอ้ ยอ่ ย (4) และ (5) ให้มีกรอบวงเงินสูงข้นึ 11-41

ตารางที่ 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศทีเ่ ก่ียวข้อ ลำดบั ปี พ.ศ. หมวด เรอ่ื ง 12 2562 คำสั่งกรมการขนส่งทางบก เรื่อง แต่ต้ังคณะกรรมการ - ส่งั ณ วนั ที่ บริหารงานสถานีขนสง่ สตั ว์ - ด้วยคำส่ังเด และหรอื ส่ิงของ บรหิ ารงาน ชดุ ดังกลา่ ว กำหนดหลัก 13 2562 ประกาศคณะกรรมการควบคุม เรอ่ื ง กำหนดอัตราคา่ บริการ - ประกาศ ณ การขนสง่ ทางบกกลาง ในการดำเนินการของสถานี โดยให้มผี ลบ ขนสง่ สัตวแ์ ละหรือสิ่งของ - อา้ งถึง ประ ขนส่งสัตว์แ จงึ ได้มีการอ (สูงสุดที่สาม ตำ่ กว่าตามป 14 2563 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เร่ือง กำหนดอัตราค่าบริการ - เป็นประกา (ฉบับ ในการดำเนินการของสถานี - ลงนามโดย ลา่ สดุ ) ขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ - ทผ่ี ่านมากร - ประกาศฉบ - ขอ้ สังเกตท 2 หรือ 3 ป จึงเสนอให้ก ขน้ั สงู ) ในก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) องกบั การบริหารกจิ การสถานขี นส่งสนิ คา้ ทง้ั 3 แห่ง (ต่อ) สาระสำคัญ 30 พฤษภาคม 2562 ลงนามโดย อธบิ ดกี รมการขนสง่ ทางบก ดิมครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 พฤษภาคม 2562 จึงมีคำสั่งฉบับนี้ขึ้นเพื่อแต่งต้ังคณะกรรมการ นสถานขี นส่งสัตวแ์ ละหรอื สิ่งของขึ้นใหม่ โดยมีการกำหนดองคป์ ระกอบ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ว โดยอำนาจหน้าที่ท่ีสำคัญได้แก่ การวางแผนพัฒนา การควบคุมกำกับดูแล การกำหนดอัตราค่าบริการ การ กเกณฑ์และระเบยี บข้อบงั คบั การบริหารสัญญาเชา่ และการควบคมุ การใช้จ่ายของสถานี วนั ท่ี 13 มิถุนายน 2562 ลงนามโดย รองปลัดกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง บงั คบั ใช้ตงั้ แต่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ะกาศคณะกรรมการควบคมุ การขนสง่ ทางบกกลาง เร่ือง กำหนดอัตราค่าบริการในการดำเนินการของสถานี และหรือสง่ิ ของ ซ่ึงประกาศเมอื่ วนั ที่ 28 กรกฎาคม 2562 และสนิ้ สุดการบังคับใชใ้ นวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ออกประกาศฉบับใหม่เพ่ือกำหนดอัตราค่าบริการ แต่ทั้งน้ีอัตราท่ีปรากฎตามประกาศเป็นกรอบอัตราขั้นสูง มารถเรียกเก็บได้) เท่าน้ัน แต่ในทางปฏิบัติปัจจุบันกรมการขนส่งทางบกเรียกเก็บอัตราค่าบริการในอัตราที่ ประกาศฉบบั นี้ 4-5 เท่าตัว าศกำหนดอัตราค่าบริการในพ้ืนท่ีบริการต่างๆ ที่มีภายในสถานี อธบิ ดีกรมการขนสง่ ทางบก รมการขนส่งทางบกจะออกประกาศดงั กลา่ ว โดยกำหนดชว่ งเวลาของอัตราตามประกาศ เลน่ เช่น 1 2 หรอื 3 ปี บับที่มีผลบังคับใชใ้ นปัจจบุ ัน ประกาศ ณ วันท่ี 31 ตลุ าคม 2563 มีผลถงึ วันที่ 30 กันยายน 2565 ที่พบคือระยะเวลาของประกาศมีความไมแ่ น่นอน ในบางปีประกาศมีอายุ 1 ปี แต่ในบางปีประกาศโดยมีอายุ ปี ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอน และส่งผลถึงผู้เช่าซึ่งไม่สามารถคาดการณ์หรือวางแผนด้านการเงินได้ กรมการขนส่งทางบกพิจารณากำหนดรอบการปรับอัตราค่าบริการท่ีชัดเจน และช่วงของอัตรา (ขั้นต่ำและ การปรบั อัตราคา่ บริการแตล่ ะครัง้ ให้มีความชดั เจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับผใู้ ช้บรกิ าร 11-42

ตารางท่ี 11.4-1 กฎระเบียบและประกาศทเี่ ก่ยี วข้อ ลำดับ ปี พ.ศ. หมวด เรอื่ ง 15 2563 ประกาศกรมการขนส่งทางบก เร่อื ง กำหนดอัตราคา่ บริการ - ประกาศ ณ ในการดำเนินการของสถานี - ด้วยเกิดกา ขนสง่ สตั วแ์ ละหรอื สง่ิ ของ ออกประก เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก ไปแลว้ ในว การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) องกบั การบรหิ ารกจิ การสถานีขนส่งสนิ คา้ ทง้ั 3 แห่ง (ต่อ) สาระสำคญั ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2563 ลงนามโดย อธิบดีกรมการขนส่งทางบก ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนั้นในเดือนมีนาคม 2563 กรมการขนส่งทางบกจึง กาศฉบับน้ีขึ้นเพ่ือปรับลดอัตราค่าบริการเป็นการช่ัวคราว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 และส้ินสุด วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2563 11-43

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากการทบทวนกฎระเบียบและประกาศท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารกิจการสถานีขนส่งสินค้าท่ีกล่าวมา สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกได้แก่กฎระเบียบและประกาศท่ีมีขึ้นในช่วงระหว่างปี 2541 ถึง 2543 เพื่อรองรับการเร่ิมเปิดให้บริการของสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ซึ่งขณะนั้นอยู่ระหว่าง การก่อสร้าง กฎระเบียบและประกาศดังกล่าวบางส่วนยังคงมีการบังคับใช้หรือยึดถือเป็นแนว ปฏิบัติมาจนปัจจุบัน ขณะที่กฎระเบียบและประกาศอีกส่วนหน่ึงถือว่าไม่สอดคล้องกับบริบทใน ปัจจุบันและไม่ได้ถูกนำมาบังคับใช้หรือยึดถือเป็นแนวปฏิบัติอีกต่อไป ขณะที่อีกกลุ่มได้แก่ กฎระเบียบและประกาศที่มีข้ึนในช่วงระหว่างปี 2562 ถึง 2563 ซ่ึงมีความเก่ียวเนื่องกันโดยเป็น การกำหนดแนวทางการกำหนดอตั ราค่าบริการเป็นสำคญั อย่างไรก็ดี ท่ีปรึกษาพบว่ากฎระเบียบและประกาศต่างๆ ท่ีมีอยู่นั้น ส่วนใหญ่เป็นการมุ่งเน้นไปที่ การบริหารราชการและตัวข้าราชการผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ขณะท่ี ยังไม่พบมีการจัดทำประกาศหรือหลักเกณฑ์ที่มีรายละเอียดที่ชัดเจนเก่ียวกับการด ำเนินการหรือ การบริหารจัดการภายในสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการหรือ กำกับการดำเนินการกับผู้เช่าใช้พ้ืนท่ี ดังนั้นจึงควรพิจารณาจัดทำกฎระเบียบที่เก่ียวข้องกับการใช้ งานสถานีเพ่ิมเติมเพ่ือใช้ในการกำกับการใชบ้ ริการสถานีของเอกชน แต่ท้ังนี้อาจเป็นเพียงประกาศ ของสถานีขนส่งสินค้าหรือเป็นส่วนหนึ่งของบันทึกข้อตกลงการใช้งานสถานีก็ได้ จึงไม่จัดอยู่ใน หมวดของกฎระเบียบทางราชการและจะกล่าวถึงในหัวข้อต่อไป นอกจากนท้ี ่ีปรกึ ษายงั พบขอ้ สงั เกตทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กฎระเบียบต่างๆ ท่ีมกี ารทบทวนไว้ในตารางท่ี 11.3-1 และมคี วามน่าสนใจ ดงั นี้ • ข้อสังเกตเกี่ยวกับปฏิบัติหลายรายการซึ่งระบุในประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ พ.ศ. 2543 ซึ่งปัจจุบันไม่มี การปฏิบัติหรอื ดำเนนิ การ ตามความในมาตรา 116 แหง่ พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 และประกาศคณะกรรมการ ควบคุมการขนส่งทางบกกลาง เรื่อง ระเบียบคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางว่าด้วย การบริหารและการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ พ.ศ. 2542 ในข้อ 6 แห่งประกาศฯ ฉบับน้ี ได้ระบุถึงแนวทางและข้อปฏิบัติในการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าของผู้ใช้บริการ เช่น การดูแล รักษา ความสะอาด ความปลอดภัย การไมร่ บกวนผ้เู ช่ารายอื่นๆ การชำระค่าบริการ การจัดทำ รายงานการขนส่งสนิ ค้า การจัดทำประวัติพนักงานและลกู จ้างพรอ้ มท้ังรายงานให้นายสถานีทราบ การแต่งกายและการติดป้ายชื่อพนักงาน การห้ามนำส่ิงต้องห้ามเข้าในพ้ืนที่สถานี การปฏิบัติ ตามกฎจราจรและกฎการเขา้ ออกสถานี เป็นต้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-44

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ข้อสังเกตที่สำคัญสำหรับประกาศฉบับน้ีคือมีข้อปฏิบัติหลายรายการซึ่งพบว่าไม่มีการดำเนินการ ในปัจจุบัน และหลายรายการเป็นเร่ืองที่ทำได้โดยยากในทางปฏิบัติบนเงื่อนไขของความเป็น ปัจจุบัน ซ่ึงน่าจะเป็นเหตุผลที่ทำให้ประกาศฉบับน้ีไม่ได้ถูกนำมาบังคับใช้อย่างเข้มข้นในปัจจุบัน ดังน้ันจึงควรมีการปรับปรุงประกาศใหม่ให้ความความเหมาะสมกับสถานการณ์และรูปแบบ พฤติกรรมในปัจจุบันมากย่ิงขึ้น รวมถึงการพิจารณากำหนดข้อปฏิบัติที่เก่ียวกับด้านเทคโนโลยี ดิจทิ ัลด้วย • ข้อสังเกตในประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการใช้ บริการอาคารที่พักและโรงอาหารภายในสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ พ.ศ. 2546 เก่ียวกับความรับผิดชอบในการซอ่ มบำรุง ปรับปรุง ต่อเติม ห้องพกั และโรงอาหาร ตามความในมาตรา 116 แห่ง พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 และประกาศคณะกรรมการ ควบคุมการขนส่งทางบกกลาง เร่ือง ระเบียบคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางว่าด้วย การบริหารและการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ พ.ศ. 2542 ข้อท่ี 10 ในประกาศฉบับนี้ ระบุถึงแนวทางและข้อปฏิบัติในการใช้บริการอาคารท่ีพักและโรงอาหารภายในสถานีขนส่ง สินค้าของผู้ใช้บริการ เช่น การห้ามเล่นการพนัน ดื่มสุรา ยาเสพติด การส่งเสียงรบกวนผู้อื่น การทะเลาะววิ าท การประกอบอาหารภายในห้องพกั และการเล้ยี งสัตว์ เป็นตน้ ซึ่งเป็นข้อบังคับท่ัวไปของการอยู่ร่วมกันในบริเวณอาคารท่ีพักและโรงอาหาร อย่างไรก็ดี ด้วยประกาศมีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน จึงยังไม่มีการกล่าวถึงในบางประเด็น ซึ่งอาจเป็นประเด็นในปัจจุบัน เช่น ความรับผิดชอบต่อการซ่อมบำรุง การปรับปรุงต่อเติม ภายในห้องพักหรือโรงอาหาร การติดตั้งอินเตอร์เน็ต เป็นต้น เช่นน้ีจึงอาจพิจารณาปรับปรุง ใหเ้ หมาะสมกับความเปน็ ปจั จุบันยงิ่ ขน้ึ ได้ ปัจจุบันในการดำเนินการซ่อมแซมแก้ไขปรับปรุงอาคารสถานีขนส่งสินค้าจะกระทำได้ใน ลักษณะที่ต้องเสนอเร่ืองไปยัง ขบ. และมีการพิจารณาอนุมัติ ดำเนนิ การและเบิกจ่าเป็นไปตาม ระเบียบราชการซึ่งก่อให้เกิดความยุ่งยากและล่าช้าอย่างมาก ดังนั้นในส่วนของการแก้ไข ปรับปรุงหรือซ่อมแซมอาคารนั้นจึงควรมีการแบ่งประเภทการดำเนินการโดยการจัดทำ ข้อกำหนดแนวทางและข้ันตอนการดำเนินการเกี่ยวกับการขออนุญาตปรับปรุงต่อเติมอาคาร และพ้ืนท่ีเช่า ซึ่งรวมถึงการแบ่งระดับและประเภทของงานปรับปรุงต่อเติมและข้ันตอนแนวทาง การดำเนินการและกำหนดอำนาจของผู้อนุมัติท่ีแตกต่างกันตามระดับและประเภทของงาน เพอ่ื สะดวกตอ่ การดำเนินการท้งั ในแง่ของการลดข้ันตอนและลดระยะเวลา สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-45

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ข้อสังเกตเก่ียวกับรอบการปรับอัตราค่าบริการ ตาม ประกาศกรมการขนส่งทางบก เร่ือง กำหนดอัตราคา่ บรกิ ารในการดำเนนิ การของสถานขี นสง่ สัตว์และหรอื สิง่ ของ ประกาศฉบับน้ีระบุรายละเอียดการกำหนดอัตราค่าบริการในพ้ืนท่ีบริการต่างๆ ที่มีภายใน สถานี ไมว่ ่าจะเป็นชานชาลาขนถ่ายสินค้า สำนักงานที่อาคารชานชาลา สำนักงานที่อาคารบริหาร คลังสินคา้ ที่พัก และชานชาลาอเนกประสงค์ ซึ่งมีผลบังคบั ใช้ถึงวันท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2565 สิ่งที่ควรพิจารณาเก่ียวกับประกาศกำหนดอัตราค่าบริการนี้คือ การออกประกาศมีระยะเวลา ท่ีไม่แน่นอน บางฉบับมีกำหนดระยะเวลาการบังคับใช้ 1 ปี 2 ปี หรือ 3 ปี ซึ่งโดยท่ัวไปการ ออกประกาศลักษณะนี้จะกระทบต่อผู้เช่าเพราะทำให้ผู้เช่าไม่สามารถคาดการณ์หรือวางแผน ด้านการเงินได้ กรมการขนส่งทางบกจึงควรพิจารณากำหนดรอบการปรับอัตราค่าบริการ ท่ีชัดเจนและกำหนดช่วงของอัตราข้ันสูงและขั้นต่ำในการปรับอัตราค่าบริการแต่ละคร้ังให้มี ความชัดเจน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์กับผู้ใช้บริการ ในทางกลับกันหากเป็นกรณีการดำเนินการ ภายใต้ PPP เม่ือผ้เู ชา่ มิใชค่ ่สู ัญญาโดยตรงกบั ขบ. ยิ่งตอ้ งระบุกรอบอัตราข้ันสูงและข้ันต่ำอยา่ ง ชดั เจนภายใตห้ ลักการทางเศรษฐศาสตร์ รวมถึงระบุระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศแตล่ ะฉบับ ให้เท่ากัน เช่น ออกประกาศฯ ทุก 2 ปี เป็นต้น ทั้งนี้เพ่ือสะดวกแก่เอกชนที่ร่วมลงทุนในการ บริหารงาน เนื่องจากหากเป็นกรณีการร่วมลงทุนในลักษณะที่เอกชนเป็นผู้บริหารงาน ผู้เช่าย่อม มิใช่คู่สัญญาโดยตรงกับ ขบ. เมื่อภายหลังมีปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไปจะทำให้ เอกชนท่รี ่วมลงทุนไมส่ ามารถวางแผนและบริหารงานเพื่อพิทกั ษผ์ ลประโยชน์ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทันทว่ งที • ขอ้ สังเกตเกี่ยวกบั ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรอื่ ง การวางหลักประกันการเชา่ และหรือ ใชบ้ รกิ ารสถานีขนส่งสัตวแ์ ละสง่ิ ของ ท่ีปรึกษาเสนอให้มีการออกประกาศวางหลักเกณฑ์พื้นฐานเรื่องการวางหลักประกันของผู้เช่า และหรือใช้บริการสถานีขนส่ง ท้ังนี้ ขบ. ควรกำหนดหลักเกณฑ์ข้ันสูงและข้ันต่ำในการวาง หลักประกันไว้ เน่ืองจากปัจจุบันการกำหนดหลักประกันน้ันจะปรากฏอยู่ในสัญญาเช่า หากภายหลังมีเอกชนมาร่วมลงทุนโดยทำหน้าท่ีบริหารงานและเป็นคู่สัญญากับผู้เช่าแทน ขบ. จะได้มีหลักเกณฑ์ท่ีชดั เจนและเป็นธรรมต่อผ้เู ชา่ ทุกราย ในการกำหนดหลักประกันนี้อาจมกี าร จำแนกตามประเภทสินค้าท่ีแตกต่างกันได้ เช่น สินค้าอันตราย หรอื วัตถุไวไฟ อาจต้องกำหนด จำนวนหลักประกนั ทม่ี ากกวา่ สนิ ค้าประเภทอื่นเป็นต้น แม้ว่าเร่ืองหลกั ประกันนจ้ี ะสามารถระบุ ไว้ในสัญญาเช่าของผู้เช่าแต่ละรายได้อยู่แล้ว หากแต่ควรมีหลักเกณฑ์ทช่ี ัดเจนเป็นมาตรฐานใน การกำหนดหลักประกันของสัญญาแต่ละฉบับด้วย นอกจากนี้ส่ิงท่ีต้องพิจารณาเพิ่มเติมในประเด็นการวางหลักประกันคือ ปัจจุบันมีการวาง หลกั ประกันการเช่าพ้ืนท่ีสถานขี นส่งสนิ คา้ ในอัตราที่ต่ำมาก ทำใหพ้ บปัญหาว่า ภายหลังสัญญา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-46

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) เช่าไดส้ ้นิ สุดลงแล้ว แม้ผู้เชา่ จะสละหลักประกนั ทใ่ี หไ้ วก้ ็ตาม แต่หลกั ประกันดังกลา่ วไม่เพียงพอ ต่อค่าใช้จ่ายท่ีเกิดมีข้ึนแล้ว เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา รวมถึงค่าเช่ากรณีอยู่เลยระยะเวลา ตามสัญญาเช่า ดังน้ันจึงควรมีการทบทวนเร่ืองการวางหลักประกันในการเช่าและหรือใช้ สถานขี นส่งสินคา้ ใหม่ 11.5 สัญญาและการบริหารและกำกบั สญั ญาเชา่ พืน้ ทภ่ี ายในสถานขี นสง่ สนิ คา้ ในการเช่าใช้พ้ืนที่ภายในสถานีขนส่งสินค้าของ ขบ. ผู้เช่าจะต้องทำบันทึกความตกลงเก่ียวกับ การใช้สถานีขนส่งสินค้า (เสมือนสัญญาเช่าใช้พื้นที่) พร้อมวางหลักประกันตามท่ี ขบ. กำหนด โดยในรปู แบบที่มีการดำเนินการในปัจจุบันสญั ญาเช่าจะมีอายุ 1 ปี และผู้เช่าสามารถต่อสัญญาได้ ในลักษณะปีต่อปี สำหรับรายละเอียดโครงสร้างสัญญาและประเด็นความเห็นของท่ีปรึกษาท่ีพบ จากการทบทวนสญั ญาเช่าสรปุ ได้ดงั ตอ่ ไปน้ี • โครงสร้างของบันทกึ ความตกลง บันทึกความตกลงเกี่ยวกับการใช้สถานีขนส่งสินค้า ประกอบด้วย 16 ข้อ และ 4 ภาคผนวก ประกอบดว้ ย - ข้อ 1. ขอบเขตของความตกลง - ข้อ 2. เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของบนั ทึกความตกลง - ขอ้ 3. ระยะเวลาความตกลง - ขอ้ 4. คา่ บริการใช้สถานขี นสง่ สินคา้ - ขอ้ 5. ความรับผดิ ชอบต่อความเสียหายจากการใชส้ ถานขี นสง่ สนิ ค้า - ขอ้ 6. หลกั ประกัน - ขอ้ 7. ค่าสาธารณูปโภคและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตลอดทั้งค่าธรรมเนียม ค่าภาษีอากรที่ เกดิ ขึน้ จากการใช้สถานขี นส่งสินค้า - ข้อ 8. การสงวนสทิ ธิ์ - ขอ้ 9. การดำเนินงานภายในสถานขี นสง่ สินค้า - ข้อ 10. การประกนั ภัย - ข้อ 11. การปรบั ปรงุ หรือดัดแปลงต่อเติมส่งิ กอ่ สร้าง - ข้อ 12. การบำรงุ รกั ษาและซอ่ มแซม - ข้อ 13. การรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม สขุ อนามัย และความปลอดภัย - ข้อ 14. เหตสุ ุดวิสัย - ขอ้ 15. การยกเลิกบันทึกความตกลงและการระงบั แห่งบนั ทึกความตกลง - ขอ้ 16. อ่ืนๆ - ผนวก 1 ผงั บรเิ วณพืน้ ท่เี ช่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-47

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - ผนวก 2 บัญชกี ารสง่ มอบครภุ ณั ฑแ์ ละอปุ กรณ์อนื่ ๆ - ผนวก 3 ประกาศกำหนดอัตราคา่ บรกิ าร - ผนวก 4 ตารางแสดงอัตราคา่ บริการใช้สถานีรายเดือน ทั้งน้ีจะเห็นได้ว่าบันทึกความตกลงนี้เป็นไปตามแบบฟอร์มมาตรฐานของสัญญา (Standard Form Contract) ซ่ึงเป็นที่ยอมรับในทางกฎหมาย มีผลผูกพันถึงผู้ลงนามในสัญญาท้ัง 2 ฝ่าย ท้ังน้ีในภาพรวมของสัญญาถือว่ามีความครบถ้วนในเชิงประเด็น อย่างไรก็ดีที่ปรึกษาพบบาง ประเดน็ รายละเอยี ดซึ่งจะกลา่ วถึงต่อไป • ตัวอยา่ งร่างบันทึกความตกลงเกยี่ วกับการใชส้ ถานีขนสง่ สินค้า ในการนที้ ป่ี รึกษาไดจ้ ดั ทำร่างบนั ทึกความตกลงโดยปรับปรุงจากรา่ งบนั ทึกความตกลงการใช้ พ้นื ทีส่ ถานีขนส่งสินคา้ เดิมที่ ขบ. เคยใช้ ใหม้ ีถ้อยคำทรี่ ดั กุมและมีสภาพบงั คับมากขนึ้ ดังแสดง รายละเอียดในภาคผนวก จ ประกอบด้วย หวั ขอ้ ดงั นี้ • ขอบเขตของความตกลง • เอกสารอันเปน็ สว่ นหน่ึงของบันทกึ ความตกลง • ระยะเวลาความตกลง • คา่ บรกิ ารใช้สถานีขนสง่ สนิ คา้ • ความรบั ผิดชอบต่อความเสียหายจากการใช้สถานีขนส่งสนิ ค้า • หลักประกัน • คา่ สาธารณูปโภคและค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ ตลอดทง้ั ค่าธรรมเนยี ม คา่ ภาษีอากรทเี่ กดิ ขึ้น จากใชส้ ถานขี นสง่ สินค้า • การสงวนสทิ ธ์ิ • การดำเนินงานภายในสถานีขนสง่ สนิ คา้ • การประกันภยั • การปรบั ปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมสิ่งก่อสร้าง • การบำรงุ รกั ษาและซอ่ มแซม • การรักษาส่งิ แวดลอ้ ม สขุ อนามัย และความปลอดภยั • เหตสุ ดุ วิสัย • การยกเลกิ บนั ทกึ ความตกลงและการระงับแห่งบนั ทกึ ความตกลง • อ่ืน ๆ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 11-48

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • ตัวอยา่ งรา่ งสญั ญาเชา่ พ้นื ท่ีหรือใช้พ้ืนท่ีสถานขี นส่งสนิ ค้า ในส่วนนี้ที่ปรึกษาได้จัดทำร่างสัญญาเช่าพื้นที่หรือใช้พื้นท่ีสถานีขนส่งสินค้า ซ่ึงได้ปรับปรุงมา จากแบบสัญญามาตรฐานของกรมบัญชีกลาง ดังแสดงรายละเอียดในภาคผนวก ฉ ประกอบด้วย หัวข้อดงั นี้ • ข้อตกลงการเช่าพืน้ ท่ีหรือการใช้บรกิ ารพน้ื ที่สถานีขนสง่ สินค้า • ระยะเวลา • ค่าเช่าหรือคา่ บริการการใชพ้ ้ืนที่ • เอกสารอนั เป็นสว่ นหน่งึ ของสญั ญา • การสง่ มอบ • ความรบั ผดิ จากการส่งมอบลา่ ชา้ • หนา้ ท่ีของผ้เู ช่าพนื้ ทีห่ รือผใู้ ช้บริการสถานีขนส่งสินค้า • การใชส้ ถานขี นสง่ สินค้า • ความรบั ผิดต่อความเสียหายจากการใช้สถานีขนสง่ สนิ คา้ • การยกเลิกสัญญาและการระงับสญั ญา • การบงั คบั คา่ ปรบั ค่าเสยี หาย และคา่ ใชจ้ ่าย • หลักประกนั • การปรับปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมส่งิ ก่อสร้าง • อืน่ ๆ • วิธีปฏิบตั ิเก่ยี วกบั การทำสัญญาเชา่ ทีป่ รกึ ษาไดจ้ ัดทำวิธปี ฏบิ ัติเก่ียวกับการทำสัญญาเชา่ อยา่ งละเอียด ดงั แสดงในภาคผนวก ช ซึง่ สามารถสรปุ ขน้ั ตอนโดยสงั เขป ดงั นี้ (1) ระบเุ ลขที่สัญญา (2) ระบุช่ือของหน่วยงานของรัฐที่เป็นนติ ิบุคคล (3) ระบุชื่อและตำแหนง่ ของหัวหน้าหน่วยงานของรฐั ที่เปน็ นิติบุคคลน้ัน หรอื ผู้ท่ีได้รับมอบ อำนาจ (4) ระบุช่อื ผ้เู ช่า เลขประจำตวั ผู้เสยี ภาษอี ากรและที่อยู่ (5) ระบหุ มายเลขชานชาลาและพน้ื ทีท่ เ่ี ช่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-49

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (6) กำหนดระยะเวลาการเช่า โดยทั่วไปสัญญาการเช่าอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงมีคู่กรณีเป็นรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐฝ่ายหนึ่ง ทำสัญญากับคู่สัญญาซ่ึงเป็นเอกชนอีกฝ่ายหนึ่ง มักจะ กำหนดระยะเวลาการเชา่ 1 ปี แตไ่ มเ่ กนิ 3 ปี (7) การต่ออายุสัญญา สัญญาโดยท่ัวไปจะกำหนดการต่ออายุไม่เกินไปกว่าระยะเวลาตาม สญั ญาหลัก (8) กรณีการใช้ชื่อเอกสารตามความตกลงที่แตกต่างกัน เช่น บันทึกความตกลงการใช้ บริการพน้ื ท่ีสถานีขนส่งสนิ คา้ หรือ สัญญาเช่าพืน้ ทสี่ ถานีขนส่งสนิ ค้า มไิ ดท้ ำใหผ้ ลการ บงั คับตามกฎหมายแตกต่างไป (9) กรณีการกำหนดระยะเวลาการเช่าหรอื ใชบ้ ริการพืน้ ท่ฯี ที่มีอายสุ ญั ญาตำ่ กวา่ 1 ปี เช่น การเช่าหรือใช้บริการพื้นท่ีฯ ระยะส้ัน 3 เดือน หรือ 6 เดือน สามารถทำได้ แต่กรณี เช่นนีส้ ัญญาควรเป็นลักษณะของการชำระคา่ เชา่ เตม็ จำนวน (10) ขบ. สามารถกำหนดอัตราค่าปรับสำหรับกรณีผู้เช่าหรือผู้ใช้บริการพ้ืนท่ีฯ กระทำผิด สัญญาหรือกรณีที่ส่งมอบพื้นท่ีคืนล่าช้า หรือผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าหรือค่าใช้พื้นท่ี รวมถึงคา่ ใช้จ่ายอนื่ ใด (11) งดหรอื ลดคา่ ปรับให้อยใู่ นอำนาจของผมู้ ีอำนาจของหน่วยงาน ซ่ึงควรระบุไว้ในสัญญาด้วย (12) กำหนดหลกั ประกันความเสียหายหรอื ผิดสัญญา (13) วางหลักประกนั (14) เรียกเกบ็ เงินประกันสัญญาเช่า (15) ทำประกันภัย ควรพิจารณาใน 2 ส่วนสำคัญ ได้แก่ ประกันอุบัติเหตุ และประกัน อคั คภี ัย • ระยะเวลาของสัญญา อตั ราค่าบรกิ าร และหลกั ประกนั ระยะเวลาของสญั ญา อตั ราค่าบริการ และหลกั ประกนั เป็น 3 ประเด็นท่มี ีความเกยี่ วเน่ืองกนั o ระยะเวลาของสญั ญา ปัจจุบันบันทึกความตกลงเกี่ยวกับการใช้สถานีขนส่งสินค้า (สัญญาเช่า) จะมีอายุ 1 ปี และผเู้ ช่าสามารถต่อสัญญาไดใ้ นลักษณะปีต่อปี ถอื เป็นการเช่าพ้ืนที่ระยะส้นั ตามกฎหมาย (การเชา่ ทีม่ รี ะยะเวลาเช่าไม่เกนิ 3 ป)ี ซึ่งมที ั้งขอ้ ดแี ละขอ้ ด้อยในมติ ทิ ่ีแตกต่างกนั สำหรับข้อดีของระยะเวลาสัญญาท่ีส้ัน นอกจากงานเอกสารและสัญญาท่ีมีความซับซ้อน และเง่ือนไขน้อยกว่าสัญญาระยะยาวแล้ว ทั้งรัฐและเอกชนจะมีความยืดหยุ่นในการ ปรบั เปลีย่ นการใช้งานพืน้ ที่ รฐั สามารถเรียกคืนพืน้ ทไ่ี ด้เมอ่ื จำเป็นโดยการไม่ตอ่ อายสุ ญั ญา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-50

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) หรอื สามารถปรับปรุงราคาค่าเช่าไดโ้ ดยง่าย ขณะท่ีเอกชนก็มีความยืดหยุ่นในการปรบั เพิ่ม หรือปรบั ลดพ้ืนท่เี ชา่ หากมคี วามประสงค์อนั เปน็ ไปตามสภาวะเศรษฐกจิ แต่ในทางกลับกันข้อด้อยท่ีเกิดจากระยะเวลาการเช่าท่ีสั้นคือความม่ันคงทางการเงินและ ความยากในการวางแผนต่างๆ ในอนาคต ท้ังในฝั่งของรัฐ ที่ไม่สามารถวางแผนการบรหิ าร พ้ืนที่เช่าในระยะยาวได้ และในฝ่ังของเอกชนท่ีอาจมีความรู้สึกที่ไม่ม่ันคงในพ้ืนท่ีเช่า ของตนนัก ส่งผลให้เกิดความไม่กล้าลงทุนในการปรับปรุงและดูแลสภาพอาคารและพื้นที่ เช่าให้อยู่ในสภาพดีได้เนื่องจากความไม่แน่นอนถึงสิทธิ์ของตนในการใช้พ้ืนท่ีในอนาคต หรือแม้แต่ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะมีการปรับข้ึนราคาค่าเช่าหรือไม่และในอัตราเท่าใด นอกจากน้ีการกำหนดระยะเวลาสัญญาเช่าในระยะสั้นยังส่งผลท่ีภาระด้านงานเอกสารท่ี เพ่มิ มากข้นึ ทง้ั ในฝั่งของรัฐและเอกชน จากการสมั ภาษณ์ผู้เช่าใช้พื้นทภ่ี ายในสถานขี นส่งสินคา้ ในปจั จุบนั พบมีความเห็นแยกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มหนึ่งร้สู ึกไม่เป็นปัญหาต่อการต่อสัญญาในลักษณะปีต่อปี และมีความเชื่อ ว่าตนจะสามารถได้รับการต่ออายุสัญญาเช่าไปเรื่อย ๆ จะมีความกังวลใจบ้างในประเด็น การขึ้นอัตราค่าเช่าใช้พ้ืนท่ีในอนาคต ขณะท่ีอีกกลุ่มมีความรู้สึกว่าอยากให้มีการขยาย ระยะเวลาของสัญญาซึ่งจะทำให้ผู้เช่าพ้ืนที่มีความมั่นใจและหลักประกันทางธุรกิจมาก ย่ิงขึ้น รวมถึงเป็นการลดภาระด้านเอกสารและการค้ำประกัน อย่างไรก็ดีการขยายสญั ญา เชา่ จนเกนิ กว่า 3 ปี ทางกฎหมายการทำสญั ญาจะมีกระบวนการทีเ่ พ่ิมเติมขึน้ เชน่ การทำ สัญญาจะต้องนำสัญญาน้ันไปจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีท่ีมีอำนาจ เช่น ทวี่ า่ การอำเภอ ตารางสรุปการเปรยี บเทียบ ข้อดี – ขอ้ เสีย ด้านระยะเวลาการเชา่ การเปรียบเทียบ ขอ้ ดี – ขอ้ เสยี ดา้ นระยะเวลาการเชา่ ระยะเวลา ข้อดี ขอ้ เสีย สัญญาเชา่ - ขบ. สามารถแกไ้ ขเปล่ยี นแปลงขอ้ ตกลงหรอื เงอ่ื นไข - การบริหารพน้ื ทส่ี ถานใี หม้ ผี เู้ ชา่ เข้าใช้พื้นทอ่ี ย่าง ไม่เกิน 1 ปี ตา่ งๆ ได้ง่าย เพราะสญั ญามรี ะยะสน้ั หากไม่ ตอ่ เนอื่ งเพอ่ื ให้เกดิ รายไดส้ งู สดุ ทำไดย้ าก เน่อื งจาก ประสงคผ์ พู้ นั ตามสญั ญาเดมิ กส็ ามารถเปลี่ยน ไม่สามารถหาลูกค้าใหมเ่ ขา้ ใช้สถานีไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง ข้อตกลงใหไ้ ดใ้ นสญั ญาฉบบั ใหม่ในอนาคต - สามารถขอจดั เก็บค่าเช่าเตม็ จำนวนในสญั ญาได้ - ถ้าไมจ่ ดั เกบ็ ค่าเชา่ เตม็ จำนวนจะมคี วามเสยี งสงู ในการที่ เนอ่ื งจากเปน็ เงนิ จำนวนไม่มาก ผูเ้ ชา่ หนี ไม่ชำระคา่ เชา่ หรอื ค่าสาธารณปู โภครายเดอื น - สามารถรองรบั ผเู้ ช่าชว่ั คราวได้ เพราะธรุ กจิ - การมยี อดค่าเช่าเปน็ จำนวนน้อย จะส่งผลใหก้ าร บางประเภทมไิ ด้มสี นิ คา้ เขา้ ตลอดทง้ั ปี เรยี กหลกั ประกันกส็ ามารถเรียกได้น้อยเชน่ กัน ซ่งึ หากแตจ่ ะมีสนิ ค้าเข้าเปน็ คร้งั คราว ผเู้ ชา่ บาง อาจไมค่ มุ้ กบั ความเสยี หายของ ขบ. รายจึงไม่อยากเชา่ ระยะยาวเพราะไม่คมุ้ ค่าใช้จา่ ย สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-51

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) การเปรียบเทยี บ ขอ้ ดี – ข้อเสีย ด้านระยะเวลาการเช่า ระยะเวลา ข้อดี ข้อเสยี - ขบ. สามารถเรยี กคนื พื้นทเี่ พือ่ ปรับเปลย่ี น รปู แบบการใชพ้ ื้นท่ีหรือพฒั นาพ้ืนท่ีได้ง่าย - งานเอกสารท่เี กย่ี วข้องจะมีความซบั ซอ้ นน้อย - ขบ. จะมีหน้าที่เกยี่ วกับเอกสารจำนวนมากในแง่ของ กวา่ กรณกี ารเช่าระยะยาว จำนวนสัญญาทม่ี ากเพราะเป็นสัญญาระยะส้ัน - ขบ. ทราบแนวทางการบริหารจดั การ - ความยืดหยนุ่ ในการปรับปรุงเปลีย่ นเปลี่ยนแปลงการ เนือ่ งจากมผี ู้เชา่ ในระยะยาว ทำให้สามารถ ใชพ้ ้นื ทีข่ อง ขบ. จะนอ้ ยลง เนอื่ งจากมผี ูเ้ ชา่ ใช้พื้นท่ี วางแผนลว่ งหน้า สว่ นผูเ้ ชา่ ก็สามารถบรหิ าร ประจำ จดั การธุรกจิ ของตนได้ เน่ืองจากมสี ถานีขนสง่ สนิ ค้าทีช่ ัดเจนในระยะยาว - ขบ. มีเวลาทราบลว่ งหนา้ หลายเดอื นกอ่ นสนิ้ - การขน้ึ คา่ เช่าหรือคา่ บรกิ ารอ่ืนใด รวมถงึ การแก้ไข สญั ญาเชา่ สญั ญาเชา่ ทำให้สามารถเตรียมแผนการ เปล่ียนแปลงหลกั เกณฑห์ รอื เงื่อนไขการเช่าทำได้ ตัง้ แต่ 1 ปี บรหิ ารจดั การไดล้ ่วงหนา้ เช่น การซ่อมแซม ยากข้ึน เนอ่ื งจากผูกพันระยะยาวตามสญั ญา แตไ่ มเ่ กิน 3 ปี ปรับปรุงพื้นที่ หรือการต้องหาผ้เู ชา่ รายใหม่ มาเช่า เพื่อใหม้ รี ายไดต้ อ่ เนอ่ื ง - สามารถกำหดหลกั ประกันทเ่ี หมาะสมต่อความ เสยี หายหรอื คา่ ใชจ้ ่ายทอี่ าจเกิดมขี น้ึ จากการ ผดิ สญั ญาไดอ้ ย่างเหมาสม - งานเอกสารท่ีเก่ียวข้องจะมคี วามซับซอ้ นนอ้ ย - ขบ. จะมหี น้าทเ่ี กี่ยวกับเอกสารจำนวนมากในแงข่ อง กว่ากรณกี ารเช่าระยะยาว จำนวนสญั ญาทม่ี ากเพราะเป็นสัญญาระยะสั้น - ขบ. ทราบแนวทางการบรหิ ารจดั การ - ความยืดหย่นุ ในการปรบั ปรงุ เปลีย่ นเปลย่ี นแปลงการ เน่ืองจากมผี เู้ ชา่ ในระยะยาว ทำใหส้ ามารถ ใชพ้ น้ื ที่ของ ขบ. จะนอ้ ยลง เน่อื งจากมีผู้เช่าใชพ้ น้ื ท่ี วางแผนลว่ งหน้า สว่ นผูเ้ ชา่ กส็ ามารถบรหิ าร ประจำ จัดการธรุ กจิ ของตนได้ เนอ่ื งจากมสี ถานีขนสง่ สนิ ค้าทช่ี ดั เจนในระยะยาว - ขบ. มเี วลาทราบลว่ งหนา้ หลายเดอื นกอ่ นสน้ิ - การข้ึนค่าเช่าหรือค่าบรกิ ารอน่ื ใด รวมถึงการแก้ไข สัญญาเช่า สัญญาเช่า ทำให้สามารถเตรียมแผนการ เปล่ยี นแปลงหลักเกณฑห์ รอื เงื่อนไขการเชา่ ทำได้ ตัง้ แต่ 3 ปขี น้ึ ไป บริหารจดั การไดล้ ่วงหนา้ เชน่ การซอ่ มแซม ยากขึ้น เน่อื งจากผกู พันระยะยาวตามสญั ญา ปรับปรุงพ้ืนท่ี หรอื การต้องหาผ้เู ชา่ รายใหม่ มาเชา่ เพ่อื ให้มีรายไดต้ อ่ เนอ่ื ง - สามารถเรียกเกบ็ หลักประกันไดเ้ ป็นจำนวนที่ - ต้องเตรียมออกประกาศหรือหลกั เกณฑ์ใหมห่ ลาย น่าจะเพยี งพอตอ่ ความเสยี หายทอ่ี าจมีใน เรือ่ ง เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั การดำเนินการเชา่ ระยะยาว อนาคต เชน่ เร่ืองอตั ราคา่ เช่า ซึ่งเดิมปกติจะออกแบบปตี ่อปี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-52

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) การเปรยี บเทยี บ ขอ้ ดี – ขอ้ เสีย ด้านระยะเวลาการเชา่ ระยะเวลา ข้อดี ข้อเสีย - มคี วามเหมาะสมหรือสมเหตุสมผลในการใหผ้ ู้ - มีความยุ่งยากในการดำเนนิ การ เน่อื งจากสัญญาเชา่ เช่าเปน็ ผูท้ ำประกัน ซง่ึ มีกำหนดระยะเวลากว่า 3 ปขี ้นึ ไป ตอ้ งทำเป็น หนังสอื และจดทะเบยี นกับพนักงานเจ้าหนา้ ที่ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 538 หากไมด่ ำเนนิ การจดทะเบียน จะสามารถบังคับตามกฎหมายได้เพียง 3 ปีเท่าน้นั - ผ้เู ช่าจะบำรงุ ซ่อมแซม หรือรักษาทรัพยส์ ินที่ เช่า เนอื่ งจากตอ้ งใช้เป็นเวลานาน o อัตราคา่ บรกิ าร จากข้อมูลอัตราค่าเช่าใช้พ้ืนที่ของสถานีขนส่งสินค้าพบว่ามีการปรับเพิ่มมาอย่างต่อเนื่อง ยกตัวอย่างเช่น อัตราค่าเช่าใช้พ้ืนท่ีชานชาลาขนถ่ายสินค้าในปี พ.ศ. 2554 เท่ากับ 70 บาท/ตร.ม./เดือน และปรับเพ่ิมขึ้นจนถึงระดับ 102 บาท/ตร.ม./เดือน ในปี พ.ศ. 2563 และมีประกาศกำหนดราคาค่าเช่าคงที่ท่ีอัตรา 102 บาท/ตร.ม./เดือน ไปจนกระท้ังสิ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อย่างไรก็ดีการปรับข้ึนของค่าเช่าใช้พื้นท่ีไม่ได้มีลักษณะหรือ รูปแบบท่ีชัดเจน กล่าวคือบางปีข้ึน บางปีไม่ข้ึน และอัตราการข้ึนค่าเช่าไม่ได้คงที่เท่ากัน ทุกคร้ังไป ซ่ึงจะแตกต่างจากรูปแบบปรับราคาค่าเช่าใช้พ้ืนที่ที่พบในหลายหน่วยงานอ่ืนๆ ของรัฐ (ยกตัวอย่างเช่นกรณีของ รฟท. ซ่ึงการคิดอัตราค่าเช่าจะประเมินจากราคาท่ีดิน และเงินลงทุนท่ี รฟท. ดำเนินการก่อสร้างอาคารสถานที่ไป และจะระบุในสัญญาไว้อย่าง ชัดเจนว่าจะปรบั ขนึ้ คา่ เช่าทุกปี เช่น ปีละ 5% เป็นต้น) เน่ืองจากการเช่าพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้ามีลักษณะเป็นแบบปีต่อปี การปรับปรุง ราคาค่าเช่าใช้พ้ืนท่ีของสถานีขนส่งสินค้าจึงมีความยืดหยุ่นและดำเนินการได้โดยไม่ติด ข้อจำกัดของสัญญาผู้เช่าเดิมมากนัก รวมถึงในการปรับปรุงอัตราค่าเช่ามีความยืดหยุ่น ในเรื่องการกำหนดอัตราให้เป็นไปถามสถานการณ์ปัจจุบัน อย่างไรก็ดีการกำหนดอัตราค่า เช่าในอนาคตท่ีไม่ชัดเจนนักส่งผลให้เกิดความไม่ม่ันคงทางการเงินและความยากในการ วางแผนการเงินในฝ่ังของเอกชนเน่ืองจากไม่ทราบได้ว่าในอนาคตอัตราค่าเช่าจะถูกปรับปรุง ไปอยู่ที่อัตราใด ในขณะเดียวกัน ขบ. เองก็ไม่อาจคาดการณ์ได้อย่างชัดเจนว่าการปรับขึ้น อัตราค่าเช่าจะส่งผลต่อจำนวนผู้เช่าใช้หรือไม่อย่างไร ส่งผลถึงความยากในการวางแผน การเงิน รายรับจ่าย และงบประมาณของสถานีท่ี ขบ. จะต้องบริหารจัดการ แต่เน่ืองด้วย ที่ผ่านมาการปรับข้ึนอัตราค่าเช่าพ้ืนท่ียังอยู่ในอัตราที่ไม่สูงมากนัก จึงไม่พบผลกระทบท่ี ชัดเจนต่ออตั ราการเช่าพืน้ ที่และรายรับของสถานี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-53

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) o หลกั ประกนั เง่ือนไขการวางหลักประกันของการเช่าใช้พ้ืนที่สถานีขนส่งสินค้าของ ขบ. คือ ร้อยละ 10 ของค่าเช่าใช้พื้นที่รวมตลอดระยะเวลาเช่าของสัญญา (1 ปี) ยกตัวอย่างเช่น หากคำนวณ ค่าเช่าต่อเดือนได้เท่ากับ 100 บาท ค่าเช่ารวมท้ังสัญญา 1 ปี เท่ากับ 1,200 บาท ดังนั้น เอกชนผู้เช่าจะต้องวางหลักประกันเท่ากับ 120 บาท และหลักประกันส่วนน้ีจะได้รับคืน ภายหลงั สิน้ สุดสัญญา อย่างไรก็ดี จากการสอบถามและสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ีและผู้เช่าพื้นท่ีพบว่าในกระบวนวาง หลักประกนั เม่ือต่อสญั ญา ผเู้ ช่าพน้ื ท่ีจะต้องจัดหาหลกั ประกนั ใหม่เพือ่ มาทำการตอ่ สัญญา เช่าก่อนท่ีจะได้รับหลักประกันเดิมกลับคืน ซ่ึงในประเด็นดังกล่าวน้ีผู้เช่าพื้นท่ีบางส่วนให้ ความเห็นว่าเป็นภาระด้านเอกสารและการบริหารการเงินของเอกชนโดยเฉพาะในสถานการณ์ ทางเศรษฐกิจท่ีไม่ม่ันคงนักในปัจจุบัน หนึ่งในข้อเสนอในทางปฏิบัติที่สำคัญจึงได้แก่การ พจิ ารณาแนวทางการใช้หลักประกันเดิมเพ่ือการต่ออายุสญั ญาเช่าและในกรณีที่มกี ารปรับ ข้ึนอัตราค่าเช่าจึงให้ผู้เช่านำหลักประกันมาวางเพิ่มเติมให้เพียงพอ นอกจากน้ีในกรณี ท่ใี นอนาคตอาจมีการขยายระยะเวลาของสัญญาให้เพ่ิมขึ้นการกำหนดหลักประกนั ยังควร เป็นสัดส่วนที่ร้อยละ 10 ของค่าเช่าใช้พ้ืนท่ีรวมตลอดระยะเวลา 1 ปีของการเช่า เพื่อให้ หลักประกันยังคงมีสัดส่วนทไ่ี ม่สูงจนเกินไปสำหรับผู้เชา่ ขณะที่รฐั เองไมไ่ ดม้ ีความเสยี เปรียบใดๆ เกดิ ขนึ้ จากขอ้ กำหนดดงั กล่าว กรณีมีประเด็นข้อสงสัยเก่ียวดว้ ยการคืนเงินหลักประกัน ซึง่ ปัจจุบนั การต่อสัญญาที่ปฏิบัติ อยู่จะต้องนำหลักประกันใหม่มาต่อสัญญาให้แล้วเสร็จ จึงทำเร่ืองคืนหลักประกันเดิมได้ ซ่ึงทำให้เกิดความยุ่งยากอย่างมากเนื่องจากต้องหาเงินหลักประกันมาวางอีกจำนวนหนึ่ง กรณีเช่นนี้ในระเบียบกระทรวงระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มิได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ในส่วนน้ีไว้เป็นการเฉพาะ แต่ปรากฏเพียงหลักเกณฑ์ในการคืนหลักประกันโดยท่ัวไป ดังน้ัน เพื่อลดความยุ่งยากในการ ดำเนินการ ขบ. สามารถเขียนเป็นข้อตกลงในสัญญาได้เลย เช่นว่า “... ผู้เช่าจะสามารถ ถือเอาเงินหลักประกันตามสัญญาฉบับเดิมมาเป็นเงินหลักประกันตามสัญญาท่ีต่ออายุได้ ต่อเม่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ตรวจสอบแล้วว่าผู้เช่ารายนั้นไม่มีค่าใช้จ่ายค้างชำระแก่ ขบ. ประกอบกับไดต้ รวจสอบทรัพย์สินท่ีเช่าแล้วพบว่าปราศจากความเสียหายใดๆ เช่นนี้ ให้ผู้ต่อ สัญญาเช่าสามารถถือเอาเงินหลักประกันดังกล่าวเป็นเงินหลักประกันในการต่ออายุสัญญา ใหม่ได้ และหากพบว่าหลักประกันตามสัญญาใหม่มีมูลค่าลดลงหรือไม่เพียงพอตามอัตราใน สัญญาใหม่แล้ว ให้ผู้ต่อสัญญารีบดำเนินการนำหลักประกันมาวางเพ่ิมเติมให้ครอบจำนวน ภายใน 7 วัน” เป็นตน้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-54

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างข้างต้นเป็นแนวทางอย่างง่ายท่ีสามารถดำเนินการได้ แต่หาก ขบ. ประสงค์ท่ีจะออกเป็นประกาศหลักเกณฑ์ว่าด้วยเรื่องการวางเงินหลักประกันสัญญาเช่าพ้ืนท่ี สถานีขนส่งสินค้าเปน็ การเฉพาะกส็ ามารถทำได้ เพยี งแตจ่ ะมขี ้นั ตอนทย่ี ุ่งยากเพิ่มขึ้นเท่านั้น นอกจากน้ี กรณีท่ีมีผู้เช่าไม่ได้มารับเงินหลักประกันคืนเมื่อส้ินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา เช่าน้ัน ทำให้มีหลักประกันจำนวนหน่ึงยังคงค้างอยู่ในความครอบครองของสถานี กรณีเช่นน้ี ที่ปรึกษาเสนอให้มีการออกประกาศของ ขบ. โดยระบุหลักเกณฑ์เรื่องการขอรับเงินหลักประกัน คืน เช่นว่า “เมื่อพ้นระยะเวลา 1 ปี ภายหลังจากที่สัญญาเช่าสิ้นสุดลง เม่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ ตรวจสอบทรัพย์สินที่เช่าแล้วพบว่ามีสภาพสมบูรณ์ หรือมีการหักค่าใช้จ่ายหรือค่าเสียหายจาก หลักประกันดังกล่าวแล้ว แต่ยังคงมีหลักประกันเหลืออยู่และผู้เช่ามิได้ติดต่อขอรับคืนภายใน กำหนดระยะเวลา 1 ปี ให้เงินหลักประกันจำนวนดังกล่าวตกเป็นของสถานีฯ หรือ ขบ. แล้วแต่ กรณี” ซึ่งในกรณีเช่นนี้ ท่ีปรกึ ษาเหน็ วา่ มีความสำคัญในการที่จะตอ้ งออกเป็นประกาศหลักเกณฑ์ ที่ชัดเจนเน่ืองจากเป็นกรณีการจะริบเงินเข้า ขบ. จึงไม่สามารถทำในลักษณะของข้อตกลงใน สัญญาได้ โดยสรุปในประเด็นที่เก่ียวข้องกับระยะเวลาของสัญญา อัตราค่าบริการ และหลักประกันที่ปรึกษา มีความเห็นว่าการดำเนินการในรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันถือว่าเป็นแนวทางท่ียอมรับได้และ ไม่พบปัญหาท่ีมีความจำเป็นจะต้องปรับปรุงแก้ไขโดยเร่งด่วน อย่างไรก็ดีท่ีปรึกษามีข้อเสนอแนะ เพ่ือให้การให้เช่าใช้พื้นท่ีภายในสถานีขนส่งสินค้ามีความยืดหยุ่นและมีทางเลือกมากย่ิงข้ึนแก่ เอกชนในขณะท่ี ขบ. เองก็จะสามารถบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ีเช่าได้โดยสะดวกยิง่ ขึน้ ประกอบด้วย o พิจารณาทางเลือกในการขยายระยะเวลาเช่าของสัญญาให้เพ่ิมมากขึ้น ซ่ึงในกรณีไม่เกิน 3 ปี จะการดำเนินการยังสามารถเป็นไปได้ในลักษณะเช่นที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่ในกรณี ท่กี ารเช่าเกนิ กวา่ 3 ปี จะตอ้ งมีกระบวนการเพิม่ เตมิ ในการทำสัญญาเช่า o การกำหนดรอบการปรับขึ้นอัตราค่าเช่าควรมีความชัดเจน เช่น การปรับปรุงค่าเช่า ทุกรอบรอบ 2 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี เป็นต้น เพ่ือให้ง่ายต่อการวางแผนทางการเงินท้ังในฝั่ง ของ ขบ. และผู้เช่าใช้พืน้ ที่ o พิจารณาความเป็นไปได้ในการใช้หลักประกันเดิมในการต่อสัญญา เว้นแต่กรณีมีการปรับ ข้ึนค่าเช่าพ้ืนที่ ให้เอกชนทำการเพิ่มเติมหลักประกันให้เป็นไปตามการคิดคำนวณจาก อตั ราคา่ เชา่ ใหม่ o หากมีการขยายระยะเวลาของสัญญาเช่าในอนาคต ให้เอกชนวางหลักประกันในอัตรา ร้อยละ 10 ของค่าเช่าใช้พื้นที่รวมตลอดระยะเวลา 1 ปีของการเช่า ในกรณีที่อัตราเช่ามี การปรบั ข้นึ ระหว่างสัญญาให้ใช้ค่าเช่าในปีทีอ่ ัตราค่าเชา่ สงู สดุ ในการคำนวณ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-55

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • การประกนั ภยั ตามบันทึกความตกลงเกี่ยวกบั การใช้สถานีขนส่งสินค้า มีการระบุในข้อ 10 ถึงภาระหน้าที่ของ ผู้เช่าใช้พื้นท่ีในการจัดทำประกันภัยบุคลากร และประกันภัยการรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Public Liabilities) โดยขอบเขตของสัญญาประกันภัยจะต้องครอบคลุมถึงความรับผิดชอบ เกีย่ วกับการจ่ายค่าเสียหายและค่าทดแทนตามกฎหมายอันเนอ่ื งมาจากอบุ ัตเิ หตุ หรือการได้รับ บาดเจ็บใดๆ ของบุคลากร และบุคคลภายนอก และจะต้องส่งมอบกรรมธรรมประกันภัยและ หลักฐานทเี่ กย่ี วขอ้ งใหแ้ ก่ ขบ. ตามระยะเวลาทก่ี ำหนด การจัดทำประกันภัยบุคลากร ถือเป็นการประกันภัยแก่พนักงานหรือบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ภายในบริษัทหรือองค์กรซึ่งเป็นไปตามกฎหมายแรงงาน และเป็นปกติท่ีมีการดำเนินการกัน ในบริษัทห้างร้านท่ัวไป อาจเป็นไปในลักษณะของประกันบุคคลหรือประกันกลุ่ม ขณะท่ีการ ประกันภัยความรับผิดต่อสาธารณะ (Public Liability Insurance) หรือ การประกันภัยความ รับผิดตามกฎหมายต่อสาธารณชน จัดเป็นการประกันวินาศภัยประเภทหนึ่ง ซ่ึงให้ความ คุ้มครองต่อความเสียหายที่เกิดข้ึนกับบุคคลภายนอก ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายต่อทรัพย์สิน หรือความบาดเจ็บทางร่างกาย ตลอดจนกระทั่งการเสียชีวิตของบุคคลภายนอกซึ่งผู้เอา ประกันภัยต้องรับผิดชดใช้ตามกฎหมาย แต่ไม่ให้ความคุ้มครองต่อความเสียหายท่ีเกิดข้ึน โดยตรงต่อทรัพย์สินหรือร่างกายของผู้เอาประกันภัย ซ่ึงประกันภัยท้ัง 2 ประเภทที่ระบุใน เงื่อนไขตามบันทึกความตกลงน้ันเป็นประกันที่มุ่งเน้นไปท่ีความเสียหายหรือสูญเสียท่ีเกิดกับ บุคคลเปน็ หลกั อย่างไรก็ดี เน่ืองจากตามเง่ือนไขของความตกลงข้อท่ี 12 ซ่ึงระบุว่า ผู้เช่าใช้พื้นท่ีมีคว าม รับผิดชอบผู้ใช้บริการมีหน้าท่ีในการบำรุงรักษาและซ่อมแซมไม่ว่ากรณีใดๆ ซ่ึงพื้นท่ีเช่าตาม บันทึกความตกลงอยู่ในความรับผิดชอบของตนอย่างดีท่ีสดุ ในกรณที ี่เกิดความเสียหายหรอื สูญ หายใดๆ ผู้ใช้บริการต้องบำรุงรักษา ซ่อมแซม หรือจัดหาทรัพย์สินทดแทนดังเดิม ซึ่งหมายถึง หากเกิดเหตกุ ารณ์ใดๆ กแ็ ล้วแตข่ น้ึ ต่ออาคารสถานที่ผู้เช่าใช้พ้ืนทจ่ี ะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ ดังน้ัน ในความเห็นของท่ีปรึกษา การเช่าใช้พื้นที่สถานีขนส่งสาธารณะ ซ่ึงเป็นอาคารสถานท่ี ของรัฐ ควรมีการกำหนดให้ผู้เช่าใช้พื้นท่ีมีความรับผิดชอบในการจัดทำประกันวินาศภัย (อัคคีภัยและทรัพย์สิน) โดยให้มีการคุ้มครองความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนกับอาคารสถานท่ีของรัฐ โดยเฉพาะในประเด็นความเสียหายจากเหตอุ คั คีภัย ฟ้าผ่า และวาตภยั นอกจากน้ยี ังอาจรวมถึง วินาศภัยอน่ื ๆ เช่น ภัยจากการระเบิด นำ้ ท่วม แผ่นดนิ ไหว และลูกเห็บ เป็นต้น เพื่อให้รฐั มัน่ ใจได้ ว่าหากเกิดเหตุการณ์วินาศภัยข้ึนกับตัวอาคารสถานท่ีของรัฐ ผู้เช่าใช้พื้นท่ีจะสามารถรับผิดชอบ ตอ่ ความเสียหายท่ีเกิดขนึ้ ได้ ทั้งนี้อาจกำหนดวงเงนิ ความคุ้มครองข้นั ต่ำของกรมธรรม์ท่ผี ู้เช่าใช้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-56

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) พน้ื ทจ่ี ะต้องจดั ทำประกนั วนิ าศภัยให้เหมาะสม เช่น คำนวณจากราคาค่าก่อสร้างอาคารโดยคิด เป็นตอ่ ตารางเมตร เป็นต้น • การปรับปรุงหรือดนั แปลงต่อเตมิ สง่ิ ก่อสรา้ ง ตามข้อ 11 ของบันทึกความตกลงเกี่ยวกับการใช้สถานีขนส่งสินค้า ได้ระบุไว้ว่า การปรับปรุง หรือดัดแปลงต่อเติมส่ิงก่อสร้างใดๆ ตามบันทึกความตกลง ผู้ใช้บริการจะกระทำมิได้ เว้นแต่ จะได้รับความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ขบ. ก่อน หากฝ่าฝืน ผู้ใช้บริการต้องทำให้ ส่ิงก่อสร้างดังกล่าวกลับคืนคงสภาพเดิม ทั้งจะต้องรับผิดต่อความสูญหายหรือบุบสลายใดๆ อนั เกดิ แตก่ ารปรับปรงุ หรือดัดแปลงต่อเติมนั้นด้วย จากประเด็นดังกล่าวน้ี ประกับกับการรับฟังความคิดเห็นจากผู้เช่าใช้พ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้า และกรณีศึกษาตัวอย่างจาก รฟท. และ กทท. พบว่ามี 2 ประเด็นท่ีมีความน่าสนใจและ ขบ. อาจพิจารณาเพ่ือปรับปรุงเงอ่ื นไขดังกล่าวให้มีความเหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ รฐั ได้ โดย o การปรับปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมส่ิงก่อสร้างใดๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ขบ. ก่อน ซ่ึงในประเด็นน้ีเป็นสิ่งที่ดีและมีการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมอยู่แล้วในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ควรมีการเพิ่มเติมเงื่อนไข ระเบียบ หรือประกาศหลักเกณฑ์เพ่ิมเติม เพื่อระบุรายละเอียด ท่ีชัดเจนเกยี่ วกับ (1) สิ่งที่สามารถดำเนนิ การปรบั ปรุงหรือดัดแปลงต่อเตมิ ได้และไมไ่ ด้ (2) วธิ ีการขออนุญาต กระบวนการและกรอบระยะเวลาการพิจารณา และ (3) อาจพิจารณาจัดทำ รูปแบบมาตรฐานของการปรับปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมอาคารแต่ละประเภท เพ่ือให้เอกชน เลือกใช้ ซงึ่ จะทำให้การต่อเติมมีมาตรฐาน ปลอดภยั ตอ่ โครงสร้างหลักของสถานี และเป็น ระเบียบเรยี บรอ้ ยรวมถงึ ลดปญั หาดา้ นทัศนียภาพของสถานี o แม้ในบันทึกความตกลงไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนถึงเง่ือนไขการปรับปรุงพื้นท่ีเช่าคืนสู่สภาพ ก่อนการสง่ มอบพ้ืนทีค่ ืนแก่ ขบ. หลงั สิ้นสุดการเช่าใชพ้ ้ืนที่ แต่ในทางปฏิบัติเป็นทท่ี ราบดีว่า ผู้เช่าจะต้องปรับคืนสภาพพ้ืนท่ีและรวมถึงครภุ ัณฑ์ทง้ั หมดแก่รัฐในสภาพเดิมก่อนเร่ิมการ เช่าใช้พื้นท่ี ซงึ่ ประเด็นดงั กล่าวน้ีมปี ระเด็นพิจารณาใน 2 มุมมองดว้ ยกัน กลา่ วคอื การส่ง มอบทุกอย่างคนื แก่รัฐในสภาพเดิมถือเป็นแนวทางท่ีสะดวกต่อการตรวจรับและเป็นธรรม ต่อรัฐสูงสุด อย่างไรก็ดีในบางคร้ังผู้เช่าใช้พ้ืนที่มีข้อจำกัดในการปรับคืนพื้นที่แก่รัฐใน สภาพเดิม เช่น หลอดไฟฟ้าส่องสวา่ งชนิดเดิมท่ีมีการตดิ ต้ังภายในอาคารเป็นประเภทหรือ เทคโนโลยีที่ไม่มีการผลิตแล้วผู้เช่าใช้พื้นท่ีจึงไม่สามารถหาหลอดหรือดวงโคมเพ่ือมา เปล่ียนทดแทนให้อยู่ในสภาพเดิมได้ ซ่ึงในกรณีนี้ผู้เช่าใช้พ้ืนท่ีมักแก้ปัญหาโดยการไม่ ปรับปรุงซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้าส่องสว่างเดิมและทำการติดตั้งระบบไฟฟ้าใหม่ของตนเอง และร้ือถอนออกท้ังหมดเม่ือสิ้นสุดสัญญาเช่าพื้นที่ หรือในกรณีท่ีผู้เช่าใช้พ้ืนท่ีได้ทำการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 11-57

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ปรับปรุงต่อเติมอาคารให้อยู่ในสภาพท่ีดีกว่าสภาพเดิม ณ วันรับมอบพ้ืนท่ี แต่ในการคืน พื้นท่ีแก่รัฐจะต้องทุบรื้อส่ิงปลูกสรา้ งท่ีเพ่ิมเติมเพ่ือให้กลับมาอยู่ในสภาพเดิม จากตัวอย่าง ของสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงในทางปฏิบัติท้ัง 2 ตัวอย่างที่ยกมา หากผู้เช่าใช้พื้นที่มีสิทธิ ในการปรับปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมสิ่งก่อสร้างให้ดียิ่งขึ้นและในการส่งมอบพ้ืนท่ีคืนรัฐ สามารถพิจารณารับผลจากการปรบั ปรุงหรือดัดแปลงต่อเติมสิ่งก่อสรา้ งน้ันๆ ของผเู้ ช่าใช้ พน้ื ท่ี ก็จะเป็นประโยชน์ต่อทัง้ ผ้เู ช่าใชพ้ ้ืนที่ซง่ึ สามารถที่จะปรับปรงุ พ้ืนท่ีเชา่ ใหด้ ีย่งิ ข้ึนโดย ไม่ต้องมีข้อกังวลเก่ียวกับประเดน็ การสง่ คืนพื้นที่ ในขณะทร่ี ัฐเองก็จะได้รับอาคารสถานที่ ทีม่ ีความพร้อมและคณุ ภาพดี ดังน้ันในการคืนพื้นท่ีเช่าหลังสิ้นสุดสัญญาเช่า ขบ. ควรเพ่ิม กระบวนการในการพิจารณารับคืนพื้นที่ที่มีความยืดหยุ่นยิ่งขึ้นดังที่กล่าวมา ท้ังนี้อาจ พิจารณาจัดทำเป็นระเบียบ หรือประกาศหลักเกณฑ์เพิ่มเติม เพ่ือระบุรายละเอียดท่ีชัดเจน ในการยอมรับพื้นท่ีส่งมอบคืน รวมถึงสร้างกระบวนการในรูปแบบของคณะกรรมการตรวจ รับคืนพ้นื ท่ี เพอ่ื สรา้ งความโปรงใสและเป็นธรรมกับทุกฝ่าย • การบำรงุ รักษาและซ่อมแซม ดังท่ีมีการกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้อว่าด้วยการประกันภัย และการปรับปรุงหรือดัดแปลงต่อเติม สิ่งปลูกสร้าง ด้วยในข้อ 12 ของบันทึกความตกลงเกี่ยวกับการใช้สถานีขนส่งสินค้า ระบุอย่าง ชัดเจนว่าผู้ใช้บริการมีหน้าท่ีในการบำรุงรักษาและซ่อมแซมไม่ว่ากรณีใดๆ ซ่ึงพ้ืนที่ชานชาลา ขนถ่ายสินค้า และพ้ืนที่สำนักงานที่อาคารชานชาลาตามบันทึกความตกลงน้ีที่อยู่ในความ รับผิดชอบของตนอย่างดีท่ีสุด ในกรณีท่ีเกิดความเสียหายหรือสูญหายใดๆ ผู้ใช้บริการต้อง บำรุงรกั ษา ซ่อมแซม หรือจดั หาทรัพย์สินทดแทนดังเดมิ ในประเด็นดังกล่าวนี้ยังมีความคลุมเครือถึงขอบเขตความรับผิดชอบที่แท้จริงของผู้เช่าใช้พื้นที่ และ ขบ. เน่ืองจากในทางปฏิบัตพิ บว่าในการซ่อมบำรุงบางรายการในปัจจุบันน้ี ขบ. ยังคงเป็น ผู้รับผิดชอบและใช้งบประมาณหรือเงินรายได้ของสถานีในการซ่อมบำรุง เพ่ือให้เกิดความ ชัดเจน ท่ีปรึกษาเสนอให้ ขบ. พิจารณาจัดทำกรอบภาระหน้าท่ีและความรับผิดชอบของผู้เช่า ใช้พนื้ ท่ีตอ่ การบำรุงรักษาและซ่อมแซมอาคารสถานทีใ่ นกรณีหรอื สถานการณต์ ่างๆ ซง่ึ จะส่งผลดี ทง้ั ตอ่ ขบ. และผู้เช่าใชพ้ ้นื ที่ กรณีมีข้อสงสัยเรื่องการจ้างเหมาซ่อมบำรุงอาคาร ซึ่งเกิดประเด็นคำถามว่า ขบ. มีสิทธิในการ ดำเนนิ การดงั กล่าวได้หรอื ไม่น้ัน ทป่ี รกึ ษาเห็นว่า ควรดำเนนิ การไดด้ ว้ ยตนเอง เน่ืองจากเพอ่ื ให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพและเหมาะสม จำเปน็ ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ความ สามรถ มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญพร้อมท้ังมีเครื่องมือที่พร้อมเพื่อการดำเนินการในส่วนน้ี ซึ่งถือเป็นการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้ ขบ. สามารถดำเนินพันธกิจของตนได้อย่างเรียบร้อย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-58

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ราบร่นื ดังน้นั การจัดหาผู้รบั จ้างในการบรหิ ารงานอาคารเพื่อดแู ลบำรุงรักษาอาคารจึงเป็นสิ่งที่ ควรทำได้ ตามความใน พ.ร.บ. จัดซ้ือจัดจ้าง มาตรา 4 อังได้นิยามคำว่า “งานบริการ” ซึ่งกำหนด หมายความว่า งานจ้างบรกิ าร งานจา้ งเหมาบริการ งานจ้างทำของและการรบั ขนตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์จากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล การจ้างเหมาบริการในลักษณะ เป็นลักษณะงานท่อี ยภู่ ายใต้นิยามน้ี ภายใตก้ ารจ้างเหมาบรกิ าร มีลักษณะสำคัญใหพ้ จิ ารณาดังน้ี 1. การจ้างเหมาบริการ ไม่ถือเป็นการจ้างลูกจ้าง และไม่ถือเป็นการจ้างแรงงาน แต่เป็นนิติ สมั พันธ์ในฐานะ “นายจ้างกับลูกจ้าง” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยมุ่งผลสำเร็จ ของงานทวี่ า่ จา้ งภายในระยะเวลาท่กี ำหนดตามสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงการจา้ งเปน็ สำคัญ 2. มีวัตถปุ ระสงค์ให้ผู้รับจ้างทำงานสิ่งใดสิ่งหนึง่ ใหแ้ ก่ผู้วา่ จ้างจนสำเร็จ และผู้วา่ จ้างตกลงจะให้ สนิ จา้ งเพ่อื ผลสำเรจ็ แกง่ านท่ีทำน้ัน โดยพิจารณาจากเน้อื งาน 3. กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามสัญญาหรือข้อตกลงการจ้าง อาจกำหนดเต็มปี งบประมาณหรอื ไม่เต็มปีงบประมาณก็ได้ ซึ่งการกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานจะต้องสัมพันธ์ กับเน้ืองานที่ประสงค์จะจ้าง (แต่จะทำสัญญาหรือข้อตกลงได้ไม่เกินรอบปีงบประมาณน้ัน ๆ) และมิให้ทำสัญญาหรือขอ้ ตกลงการจา้ งในลกั ษณะตอ่ เนือ่ ง 4. ผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจควบคุมบังคับบัญชาหรือสั่งการในการทำงาน แต่ผู้ว่าจ้างมีเพียงอำนาจ ในการ ตรวจตรางาน และส่งั ใหป้ รบั ปรงุ แกไ้ ข ดังน้ีท่ีปรึกษาเห็นว่า ขบ. สามารถดำเนินการจ้างเหมาบริการโดยให้เอกชนเข้ามาดำเนินงาน สถานีขนส่งสนิ ค้าได้ ตาม พ.ร.บ. จัดซือ้ จัดจ้างฯ • ประเด็นทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการบริหารจัดการสถานการณต์ ่างๆ ภายในสถานี นอกเหนือจากประเด็นและข้อสงั เกตหลักๆ เก่ียวกับเนื้อหาสาระดังปรากฏในบันทึกความตกลง เก่ยี วกับการใช้สถานขี นสง่ สินค้าที่มีการกล่าวถงึ ไปแลว้ ทป่ี รึกษายังพบข้อสงั เกตเพิ่มเติมซง่ึ อาจ ไมไ่ ด้มกี ารระบไุ วอ้ ย่างชดั เจนในความตกลง ดังนี้ o ภาระหน้าทีใ่ นการติดตัง้ ระบบดับเพลิง จากการทบทวนพบว่าไม่มีการระบุอย่างชัดเจนถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของ ผู้เช่าใช้พื้นที่ต่อการจัดหาระบบดับเพลิงเพื่อสำรองใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉินภายในพ้ืนที่เช่า ซึ่งเหน็ ว่าเป็นประเด็นสำคญั ท่ีควรจะตอ้ งระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-59

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) o ภาระหนา้ ทใี่ นการใหค้ วามร่วมมอื การซอ้ มรับมือสถานการณต์ า่ งๆ การให้ความร่วมมือในการซ่อมรับมือสถานการณ์ต่างๆ ถือเป็นอีกหนึ่งประเด็นสำคัญ ซึ่งจะต้องมีการดำเนินการควบค่กู ันไปท้ังในส่วนของ ขบ. ซึ่งเป็นเจ้าของสถานท่ีและผู้เช่า ใช้พื้นที่ โดยสถานการณ์หรือเหตุฉกุ เฉินที่ควรมีการจัดทำแผนและซ้อมรับมือสถานการณ์ ร่วมกัน ยกตวั อยา่ งเช่น - กรณีการเกดิ อัคคภี ยั ภายในสถานี - กรณกี ารเกิดโรคระบาดภายในสถานี - กรณีการเกิดเหตรุ ะเบิด เหตคุ วามไมส่ งบ เหตุจลาจล การก่อการรา้ ยภายในสถานี - กรณีการเกดิ เหตุอุทกภยั และวาตภัย o ขอ้ ตกลงในการเชอื่ มสัญญาณกล้องวงจรปดิ อาจมีการระบุเง่ือนไขการขอให้รัฐเข้าถึงการและอาจร่วมถึงการขอเชื่อมสัญญาณกล้อง วงจรปิดของผู้เช่าใช้พื้นท่ีกบั ระบบกล้องวงจรปิดและระบบรักษาความปลอดภัยกลางของ สถานี และในทางกลับกันรัฐจะต้องอนุญาตให้ผู้เช่าใช้พ้ืนที่สามารถเข้าถึงระบบรักษา ความปลอดภัยของรฐั ไดเ้ ช่นกัน • การจดั ทำขอ้ กำหนดหรือกฎระเบยี บเพ่ือกำกบั การการใช้งานสถานีขนส่งสนิ คา้ ดังที่กล่าวไปแล้วในหัวข้อที่ 11.3 โดยท่ีปรึกษาพบว่าปัจจุบันการบริหารกิจการสถานีขนส่ง สินค้าของกรมการขนส่งทางบกจะมีประกาศและกฎระเบียบทางราชการที่มีผลทางกฎหมาย ท้ังสิ้น 15 ฉบับ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกได้แก่กฎระเบียบและประกาศที่มีข้ึน ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2541 ถึง พ.ศ. 2543 เพื่อรองรับการเริ่มเปิดให้บริการของสถานีขนส่ง สินค้าทั้ง 3 แห่ง ซึ่งขณะน้ันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง กฎระเบียบและประกาศดังกล่าวบางส่วน ยังคงมีการบังคับใช้หรือยึดถือเป็นแนวปฏิบัติมาจนปัจจุบัน ขณะท่ีกฎระเบียบและประกาศ อีกส่วนหน่ึงถือว่าไม่สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบันและไม่ได้ถูกนำมาบังคับใช้หรือยึดถือเป็น แนวปฏิบัติอีกต่อไป ขณะที่อีกกลุ่มได้แก่กฎระเบียบและประกาศท่ีมีขึ้นในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2562 ถึง พ.ศ.2563 ซึง่ มีความเกีย่ วเนื่องกนั โดยเป็นการกำหนดแนวทางการกำหนดอตั รา ค่าบรกิ ารเปน็ สำคญั อย่างไรก็ดี ที่ปรึกษาพบว่ากฎระเบียบและประกาศต่างๆ ที่มีอยู่นั้น ส่วนใหญ่เป็นการมุ่งเน้นไป ที่การบริหารราชการและตัวข้าราชการผู้ปฏิบัติงานเก่ียวข้องกับสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่ง ขณะท่ียงั ไม่พบมีการจดั ทำข้อกำหนดหรือกฏระเบยี บทมี่ ีรายละเอียดเกย่ี วกบั การให้บริการหรือ กำกบั การดำเนนิ การกับผู้ทีใ่ ชบ้ รกิ ารสถานขี นสง่ สินค้าอย่างชดั เจน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 11-60

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ดังน้ัน ขบ. จึงควรพิจารณาจัดทำข้อกำหนดและกฎระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้งานสถานี เพิ่มเติมเพ่ือใช้ในการกำกับการใช้บริการสถานีของเอกชนและรวมถึงเป็นแนวทางให้บุคลากร ของ ขบ. ยืดถือในการปฏิบัติงาน แต่ท้ังนี้สามารถออกข้อกำหนดหรือกฎระเบียบเหล่าน้ีให้อยู่ ในลักษณะของประกาศของสถานีขนส่งสินค้า หรือให้เป็นส่วนหน่ึงของบันทึกข้อตกลงการใช้ งานสถานี (สัญญาเชา่ พนื้ ท)่ี กไ็ ด้ ยกตัวอย่างกรณที ี่พบจากการสัมภาษณเ์ ชิงลึกผู้ประกอบการขนส่งท่ีใช้บริการสถานีขนส่งสินค้า (จากน้ีจะเรยี กว่า ผ้เู ช่า) ในปจั จุบันจำนวนหลายรายที่ให้ข้อมลู ในลักษณะเดียวกัน เชน่ ในกรณี ที่ผู้เช่าพื้นที่มีความประสงค์จะขอปรับปรุงต่อเติมอาคารพื้นที่เช่า โดยกระบวนการในปัจจุบัน ผู้เช่าจะต้องมีหนังสือแจ้งความประสงค์ขออนุญาตปรับปรุงพื้นที่เพิ่มเติมถึง ขบ. ผ่านทาง หัวหน้างานบริหารสถานีขนส่งสินค้า ช้ีแจงถึงรายละเอียดของความประสงค์ปรับปรุงต่อเติม พ้ืนท่ี จากนั้นสำนักการขนส่งสินค้าซึ่งเป็นส่วนงานกำกับดูแลสถานีขนส่งสินค้าโดยตรงจะต้อง พิจารณาว่าการปรับปรุงต่อเติมดังกล่าวสามารถดำเนินการได้หรือไม่ หรือจะกระทบต่อ โครงสรา้ งหรือการใช้งานสถานีรวมถึงผู้เชา่ รายอ่ืนๆ หรือไม่ ซึ่งหากพบว่าสามารถดำเนินการได้ ก็จะมีหนังสอื ถงึ ผบู้ รหิ ารหนว่ ย เช่น อธบิ ดี หรอื รองอธบิ ดี เพ่ือพิจารณาอนุญาตในลำดบั ตอ่ ไป แม้กระบวนการดังท่ีกล่าวมาจะมีลักษณะเป็นข้ันเป็นตอนตามระบบราชการโดยปกติ อย่างไรก็ดี ที่ปรึกษายังพบข้อสังเกตท่ีสำคัญและหากปรับปรุงแนวทางการดำเนินการจะสามารถช่วยให้ การดำเนินการมีความชัดเจนและรวดเร็วยิง่ ขึ้น เช่น ควรมีการจัดทำกระบวนการและผู้รับผิดชอบ ท่ีชัดเจน พร้อมท้ังเวลาในการดำเนินการแต่ละข้ันตอนโดยสังเขป และควรมีการจัดแบ่งประเภท ของงานปรับปรุงต่อเติม รวมถึงระดับของผู้มีอำนาจในการอนุมัติ ทั้งนี้เน่ืองจากการต่อเติมใน แต่ละรายการมีระดับของการดำเนินการท่ีแตกต่างกันซึ่งการตรวจสอบ พิจารณา และการขอ อนุมัตินั้นไม่จะเป็นต้องเป็นไปในระดับเดียวกันได้ เพ่ือลดขั้นตอนและภาระทางเอกสารแก่ ผู้บรหิ ารระดบั สงู นอกจากน้ีจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการขนส่งท่ีใช้บริการสถานีขนส่งสินค้า ยังพบ ประเด็นในเร่ืองการไม่มีมาตรฐานหรือข้อกำหนดที่ชัดเจนเก่ียวกับว่าการดำเนินการใดสามาร ดำเนินการได้หรือไม่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งบ่อยคร้ังที่การตัดสินใจไปข้ึนอยู่กับมุมมองและ อำนาจหน้าท่ีของเจ้าหนา้ ทผ่ี ู้รับผดิ ชอบ ณ ขณะน้ัน ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ท่มี ีความแตกต่างไปใน แต่ละห้วงเวลา เช่น การต่อเติมหรือดำเนินการในลักษณะเดียวกัน สถานีขนส่งสินค้าแห่งหนึ่ง ณ ห้วงเวลาหนึ่ง สามารถดำเนินการได้ แต่สถานีขนส่งสินค้าอีกแห่งหน่ึง ในอีกห้วงเวลาหน่ึง ไม่สามารถดำเนนิ การได้ เป็นต้น สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-61

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากกรณีตัวอย่างทั้ง 2 กรณีท่ียกมา จะเห็นได้ว่า ขบ. ยังคงดำเนินการในลักษณะการพิจารณา เป็นรายกรณีไป โดยขาดหลักเกณฑ์ ข้อกำหนด มาตรฐาน หรือ ข้อแนะนำแก่ท้ังผู้ใช้บริการ สถานีและเจ้าหน้าที่ ที่ชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการและขอบเขตการดำเนินการ ซ่ึงส่งผลถึง ทั้งในส่วนของผูเ้ ชา่ พน้ื ท่แี ละความไมช่ ดั เจนในการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ที่ผู้รับผดิ ชอบ ด้วยเหตุน้ีที่ปรึกษาจึงเสนอให้ ขบ. จัดทำจัดทำข้อกำหนดในการใช้บริการสถานี คู่มือใน การปฏิบัติงาน และมาตรฐานในประเด็นต่างๆ เพื่อแนบเป็นส่วนหน่ึงของบันทึกข้อตกลง การใช้งานสถานี ดังนี้ o ข้อกำหนด ▪ ขอ้ กำหนด แนวทางและขั้นตอนการดำเนินการ เกย่ี วกับการขออนุญาตปรับปรุงตอ่ เติม อาคารและพนื้ ทเ่ี ช่า เป็นการจัดทำแนวทางและข้ันตอนการดำเนินการ เกี่ยวกับการขออนุญาตปรับปรุง ต่อเติมอาคารและพ้ืนที่เช่า เพื่อเป็นการขยายความ ข้อ 11 ของบันทึกข้อตกลง การใช้งานสถานขี นส่งสนิ คา้ โดยจะประกอบดว้ ย - รายการสง่ิ ท่ีอนุญาตให้ปรับปรุงต่อเตมิ - การแบ่งระดับและประเภทของงานปรับปรุงต่อเติม เช่น การต่อเติมขนาดเล็ก กลาง หรือ ใหญ่ - ขั้นตอนแนวทางการดำเนินการ ลำดับข้ันตอนของเอกสาร และผู้ท่ีมีอำนาจใน การอนุมตั ิ ซง่ึ จะมคี วามแตกต่างกนั ไปตามระดับและประเภทของงาน - รายการของส่งิ ทีไ่ ม่อนญุ าตใหด้ ำเนนิ การ ▪ ข้อกำหนดในการดำเนินงานหรือดำเนินกิจกรรมอ่ืนใด นอกเหนือจากกิจกรรมและ ปฏิบตั กิ ารพื้นฐานดา้ นการขนส่ง เป็นการจัดทำข้อกำหนดในการดำเนินงานหรือดำเนินกิจกรรมอ่ืนใด นอกเหนือจาก กิจกรรมและปฏิบัติการพื้นฐานด้านการขนส่ง เช่น ข้อห้ามในการซ่อมบำรุงรถบรรทุก ภายในพื้นที่อาคารชานชาลา หรือ การจอดพักรถหรือตู้สินค้าในพ้ืนที่สาธารณะ ของสถานี โดยจะประกอบด้วย - กิจกรรมหรือการดำเนินการที่อนุญาต ซึ่งจะรวมถึงรายการกิจกรรม พื้นท่ี ที่อนุญาต ระยะเวลาการให้อนุญาต การต่อระยะเวลาของการให้อนุญาต และ ขัน้ ตอนการขออนญุ าต - กิจกรรมหรือการดำเนินการที่ไม่อนุญาต ซ่ึงจะรวมถึงรายการกิจกรรม รวมถึง ขั้นตอนการดำเนินการในกรณีท่ีพบการฝ่าฝืนดำเนินกิจกรรมที่ไม่ได้รับอนุญาต และรวมถงึ บทลงโทษ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 11-62


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook