Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:38:00

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Search

Read the Text Version

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (4) กำกับ แนะนำ ดูแล และบริหารจัดการงานด้านสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลท่ัวไป สุขาภิบาล อาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรค ในพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสัตว์และ หรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบยี บ หลักเกณฑท์ เี่ กย่ี วข้อง (5) กำกับ แนะนำ ศึกษา วิเคราะห์และติดตามประเมินผลการดำเนินงานของสถานีขนส่งสัตว์ และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรปู แบบการขนส่งสินคา้ เชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพ่ือใช้ ในการพฒั นาการดำเนนิ การของสถานี (6) ให้คำปรึกษา แนะนำเกย่ี วกับกฎหมายด้านการขนส่ง และระเบียบปฏิบตั ิที่เกย่ี วข้องกบั การ ดำเนินงานสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียง ของ จังหวัดเชียงราย) รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำด้านวิชาการขนส่งสินค้าเพื่อให้ หน่วยงานภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องรวมถึงประชาชนได้รับความรู้และนำไปดำเนินการ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (7) ประสานงานการทำงานกับทีมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสมั ฤทธ์ิตามท่ีกำหนด (8) ปฏบิ ัตงิ านและสนบั สนนุ งานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 1.2 นักวิชาการขนส่ง ระดบั ปฏิบตั กิ ารหรอื ชำนาญการ (1) การศึกษา วิเคราะห์ วางแผน พัฒนาการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์ เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพและถูกต้อง เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ และหลกั เกณฑ์ที่กำหนด (2) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบ จัดระเบียบการขนส่งและการจัดการงานด้านสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลทั่วไป สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรค ในพ้ืนที่สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวดั เชยี งราย) ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหลกั เกณฑท์ ี่เกยี่ วข้อง (3) ดำเนินการหรือการอนุมัติ อนุญาตเกี่ยวกับการใช้บริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศนู ย์เปลีย่ นถ่ายรปู แบบการขนสง่ สินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) และอื่นๆ ตามอำนาจท่ี ไดร้ บั มอบหมาย (4) ดำเนินการเก่ียวกับการกำหนดปรับปรุงมาตรฐาน กฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ เกี่ยวกับการอบรมและการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของเพื่อให้มีความ เหมาะสม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-33

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) (5) ดำเนินการเกี่ยวกับการติดตามประเมินผลการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพ่ือนำข้อมูลไป วิเคราะห์ วางแผน และพัฒนาการดำเนนิ การของสถานี (6) ให้คำชแ้ี จงเก่ียวกับกบั กฎหมายด้านการขนส่ง ระเบียบปฏิบัติและข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการ พัฒนาสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของกับหน่วยงานท้ังภายในและภายนอกท่ีเก่ียวข้อง รวมท้งั ประชาชนไดร้ ับความรู้และนำไปดำเนินการได้อย่างถกู ตอ้ ง (7) ประสานการทำงานกับทีมงานหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธ์ิตามทีก่ ำหนด (8) ปฏิบตั งิ านและสนับสนุนงานอื่นๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย 1.3 เจา้ พนักงานขนส่ง ระดบั ปฏิบัติงานหรอื ชำนาญงาน (1) ดูแล ตรวจสอบ ดำเนินงาน และส่งเสริมการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์ เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ (2) ดำเนินการเร่งรัด จัดเก็บรายได้และจัดทำบัญชีรับจ่ายค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือ สง่ิ ของ (ศูนยเ์ ปลยี่ นถา่ ยรปู แบบการขนสง่ สนิ คา้ เชยี งของ จงั หวดั เชียงราย) (3) ดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติต่างๆ และการรายงานผลการปฏิบัติงานของสถานี ขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชียงราย) รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสถานีเพื่อใช้ในการพัฒนาสถานีขนส่งสัตว์และหรือ สิ่งของ (4) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบและระเบียบการขนส่งภายในสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชยี งของ จงั หวัดเชยี งราย) (5) ปฏบิ ัตงิ านและสนับสนุนงานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2. ลกู จา้ ง: หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของตำแหน่ง 2.1 นักวชิ าการขนส่ง (1) ปฏิบัติงานด้านวิชาการขนส่งเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วางแผน พัฒนา และเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหา รวมท้ังรวบรวม วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลสถิติ เพ่ือให้การดำเนินงาน ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่ กำหนด สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-34

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (2) ปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การเร่งรัดและจัดเก็บรายได้ งานพัสดุ และครุภัณฑ์ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า เชยี งของ จงั หวัดเชียงราย) (3) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบ จัดระเบียบการขนส่งภายในสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศนู ยเ์ ปล่ียนถา่ ยรูปแบบการขนส่งสนิ ค้าเชียงของ จังหวัดเชยี งราย) (4) ปฏิบัติงานเก่ียวกับการบริหารจัดการงานด้านส่ิงแวดล้อม สุขาภิบาลทั่วไป สุขาภิบาล อาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรคในพื้นที่สถานีขนส่งสัตว์และ หรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบยี บ และหลักเกณฑท์ ่ีเก่ียวข้อง (5) ปฏบิ ัตงิ านและสนบั สนนุ งานอ่ืนๆ ตามทีร่ บั มอบหมาย 2.2 นายชา่ งโยธา (1) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพ่ือให้ตรงตาม หลักวิชาช่าง ความตอ้ งการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ (2) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการเพื่อให้การ ดำเนนิ งานเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ (3) ถอดแบบ เพอ่ื สำรวจปรมิ าณวสั ดทุ ี่ใชต้ ามหลักวชิ าช่าง เพอ่ื ประมาณราคาค่าก่อสรา้ ง (4) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามท่ีได้รับมอบหมาย เพอื่ ใหถ้ ูกตอ้ งเปน็ ไปตามระเบียบ และกฎหมายที่กำหนด (5) ให้คำแนะนำ และตอบปัญหาเก่ียวกับงานโยธาที่รับผิดชอบแก่ผู้บังคับบัญชา หรือ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานภายในและภายนอก รวมทั้งประชาชนได้รับความรู้และ นำไปดำเนินการได้อย่างถูกต้อง (6) ปฏิบัตงิ านและสนับสนนุ งานอื่นๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 2.3 พนกั งานขับรถยนต์ (1) ปฏิบัติงานในการขับรถยนต์เพ่ือรับ-ส่งเจ้าหน้าท่ี ไปปฏิบัติราชการตามที่ได้รับมอบหมาย ตรงตอ่ เวลา มคี วามรบั ผดิ ชอบในหน้าทีแ่ ละปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ นเสร็จสิ้นภารกิจ (2) รักษาความสะอาดของตัวรถ และที่จอดรถ ตรวจสอบความพร้อมของรถ บำรุงรักษารถ รวมท้ังการแก้ไขข้อขัดข้องเบ้ืองต้นเพ่ือให้รถสามารถใช้งานได้ แจ้งซ่อมรถกรณีตรวจพบ ข้อบกพรอ่ ง 2 ท่ไี ม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-35

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) (3) จดั ทำรายงานการใชร้ ถยนต์ การใชพ้ ลังงานและการเบิกจ่ายเงินคา่ น้ำมนั เชื้อเพลิง (4) ปฏบิ ัติงานและสนบั สนุนงานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยสำหรับบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ยังศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชยี งราย มขี ้อสังเกตดงั น้ี หวั หน้างาน: เน้นงานกำกับ ดูแล ตรวจสอบการดำเนินงานของผ้รู ่วมปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงาน ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการบริหารศูนย์ฯ เชียงของ ตลอดจนแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน การ อนุมัติ อนุญาต งานด้านการเงิน การบัญชี งบประมาณและงานพัสดุ งานจัดระบบ จัดระเบียบการ ขนส่ง งานด้านสิ่งแวดล้อม งานติดตามและประเมินผล งานแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ และประสานงานการทำงานกบั ทีมงาน นักวิชาการขนส่งระดับปฏิบัติการหรือชำนาญการ: เน้นการวิเคราะห์ วางแผน พัฒนาการ ดำเนินการศูนย์ฯ เชยี งของ จัดระบบ จดั ระเบียบการขนส่งและการจัดการด้านสง่ิ แวดล้อม อนุมัติ และอนุญาตการใช้บริการศูนย์ฯ เชียงของ ปรับปรุงมาตรฐานและกฎหมาย ติดตามประเมินผล ให้คำชี้แจงเกี่ยวกับกฎหมาย และประสานการทำงานกับทีมงาน เจา้ พนักงานระดับปฏบิ ัติงานหรือชำนาญงาน: เน้นการดูแล ตรวจสอบ ดำเนินงาน และส่งเสริมการ ใช้ศูนย์ฯ เชียงของ เร่งรัดจัดเก็บรายได้และจัดทำบัญชีรับจ่าย จัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ จัดระบบ และระเบยี บการขนส่ง ท้ังน้ีความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะท่ีจำเป็นของข้าราชการท่ีปฏิบัติหน้าท่ียังศูนย์ฯ เชยี งของ เหมือนกนั กบั ขา้ ราชการของส่วนสถานีขนสง่ สินคา้ 10.3.3 การประเมนิ ผลงานและตัวช้ีวดั ประสิทธิภาพของบคุ ลากร การประเมินผลงานของบุคลากรของศนู ย์ฯ เชียงของ ใช้แนวทางเดียวกันกับส่วนสถานีขนสง่ สินค้า กลา่ วคือ มีการกำหนดตวั ชวี้ ัดประสิทธิภาพแยกตามหน้าที่ความรับผิดชอบท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านการ ปฏบิ ัตกิ าร ดา้ นการวางแผน ด้านการประสานงาน และด้านการบริการ ทัง้ น้ี ตัวชว้ี ดั ด้านการปฏิบัติการและด้านการวางแผนจะมีความแตกต่างกนั สำหรับขา้ ราชการแต่ละ ระดับ แยกเป็นระดับชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ/ปฏิบัติการ และชำนาญงาน/ปฏิบัติงาน และ ตัวชว้ี ดั ด้านการประสานงานและการบริการจะกำหนดไวเ้ หมอื นกัน 10.3.4 ภาระงานจากการปฏบิ ตั ิงานจริง ศูนย์ฯ เชียงของ เพ่ิงเปิดดำเนนิ การและเปิดให้บรกิ ารเพียงบางส่วน ในขณะทโ่ี ครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ยังอยู่ในระยะประกันของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ทำให้ภาระการบำรุงรักษายังอยู่ในภาระของ บรษิ ทั ดงั นั้น ภาระงานของเจ้าหนา้ ที่ยังถือว่าไม่มาก จงึ ยังไม่สามารถประเมินผลการดำเนนิ งานได้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-36

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.3.5 การสัมภาษณ์บคุ ลากรของศนู ยเ์ ปล่ียนถ่ายรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าเชียงของ จากการสัมภาษณ์หัวหน้างานบริหารสถานีฯ และนักวิชาการขนส่งสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย เก่ียวกับภาพรวมการดำเนินงานและการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คล มีรายละเอยี ด ดังน้ี 1. ภาพรวมการดำเนนิ งานของศนู ย์เปล่ียนถา่ ยรูปแบบการขนส่งสินคา้ เชยี งของ ศนู ย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชยี งของ จังหวดั เชียงราย สามารถรองรบั ปริมาณสินคา้ ได้ 270,000 TEU โดยได้เปิดตัวศูนย์ฯ ไปเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 เพื่อเปิดให้เอกชนร่วมลงทุน PPP ในปัจจุบันที่อยู่ระหว่างการให้เอกชนผู้ท่ีสนใจเข้ามาร่วมทุน ทางส่วนสถานีขนส่งสินค้า งาน บริหารสถานีขนส่งสินค้า 4 เป็นผู้ดำเนินการดูแลและบริหารจัดการ เพ่ือให้มีแผนงานและระบบ การดำเนินงานภายในสถานีท่ีชัดเจน เรียบร้อย และพร้อมรับกับการดำเนินการแบบ PPP ในอนาคต ซงึ่ จำนวนบุคลากรของศูนยเ์ ปลีย่ นถา่ ยรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย มดี งั น้ี 2. โครงสรา้ งบคุ ลากร ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ มีจำนวนบุคลากรท้ังหมด 9 อัตรา จำแนกเป็น ข้าราชการ 5 อตั รา และลูกจ้างช่ัวคราว 4 อัตรา โดยในตำแหน่งนักวิชาการขนส่ง 2 อัตรา (ระดับ ชำนาญการพิเศษ และชำนาญการ) เป็นการช่วยราชการ จากกลุ่มวชิ าการขนสง่ เชยี งราย แสดงใน ตารางที่ 10.3-1 ตารางที่ 10.3-1 โครงสรา้ งบุคลากรภายของศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเชียงของ ตำแหน่ง จำนวน หมายเหตุ ขา้ ราชการ นักวชิ าการขนส่ง 4 - หวั หน้างานสถานฯี (ระดบั ชำนาญการพเิ ศษ) 1 อัตรา - ระดับชำนาญการ 1 อตั รา เจ้าพนักงานขนส่ง 1 ปฏบิ ัติงานด้านการเงิน โดยปัจจบุ นั ประจำอยูท่ ส่ี ่วนกลาง รวม ยงั ไม่ไดม้ าปฏบิ ตั ิงานท่ีสถานฯี ลูกจา้ งชว่ั คราว นักวิชาการขนสง่ 5 นายช่างโยธา พนักงานขบั รถยนต์ 2 วฒุ ปิ ริญญาตรี รวม 1- 1- 4 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-37

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 3. ลักษณะงาน งานบริหารสถานีในภาพรวมของศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของมีลักษณะ เดียวกันกับงานบรหิ ารสถานีขนสง่ สนิ ค้า 1-3 เชน่ งานการเก็บค่าบริการสถานีฯ ค่าสาธารณูปโภค และการกำกับดูแลการจ้างเหมาบริการ เป็นต้น และเน่ืองด้วยสถานที่ต้ังและรูปแบบการ ดำเนนิ งานของศูนย์ฯจะมีความแตกต่างจากสถานีขนสง่ สนิ คา้ 1-3 ดังน้ันจึงมบี างลักษณะงานทีท่ ่ีมี ความแตกต่างกนั ซ่งึ มีรายละเอียดดังน้ี ภารกิจหรอื ลักษณะงานทมี่ ีความแตกต่างจากสถานีขนสง่ สนิ คา้ 1-3 - ภารกิจด้านวิชาการ เน่ืองด้วยศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของอยู่ติด พื้นที่ชายแดน ต้องดูแลการขนส่งระหว่างประเทศ จึงได้มีการผลักดันให้ศูนย์ฯ เป็น One Stop Service (OSS) ดำเนินการร่วมกับศุลกากร เป็นการให้บริการตรวจปล่อยสินค้า นำเข้า - ส่งออก ให้เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็วเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว ฯลฯ รวมถึงงาน ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อผลักดันให้เกิดเป็น CIQ โดยลูกจ้าง ช่ัวคราวจะปฏบิ ัติงานสนบั สนุนงานในส่วนน้ดี ว้ ยเชน่ กนั - การกำกับดูแลผู้รับเหมาและผลกระทบต่อประชาชนโดยรอบ เป็นการกำกับดูแลการ ก่อสร้างและการบำรุงรักษาตามระยะเวลาท่ีผูร้ ับเหมาประกันไว้ ทั้งในส่วนการดแู ลเฟส 1 ท่ีสร้างเสร็จแล้ว และการสร้างเฟส 2 ในอนาคต และการจัดการและดูแลกับผลกระทบท่ี จะเกิดขนึ้ กับประชาชนโดยรอบพืน้ ที่ของศูนยฯ์ - การจัดประมูลพ้ืนที่จำหน่ายอาหาร ทางศูนย์ฯจะดำเนินการจัดการและเปิดซองการ ประมูลเอง ซงึ่ แตกต่างกบั งานบริหารสถานฯี 1-3 ท่ที างสว่ นกลางจะเปน็ ผูด้ ำเนนิ การให้ ทั้งน้ีเม่ือมีเอกชนเข้ามาร่วมทุนบทบาทหน้าที่ในส่วนบุคลากรของศูนย์ฯ ก็อาจเปล่ียนเป็นการ กำกับดูแลการดำเนินงานของเอกชนในภาพรวมแทน และสำหรับระบบสารสนเทศหรือระบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่สนับสนุนการทำงานของศูนย์ฯ จะเป็นระบบเดียวกันกับท่ีใช้ที่ส่วนกลาง ยังไม่มี ระบบเฉพาะของทางศนู ยฯ์ เอง 4. ประเดน็ ปญั หา จากการสมั ภาษณ์ พบวา่ ไมม่ ีประเดน็ ปัญหาในด้านบุคลากร แตเ่ นอื่ งด้วยปัจจุบันอยู่ระหวา่ งการให้ เอกชนมาร่วมทุน (PPP) ยังไม่มีการเข้าใช้พื้นที่อย่างหนาแน่น ในปัจจุบันทางศูนย์ฯ จึงส่งเอกสาร เสนอให้เข้าใช้พื้นที่ไปถึงผู้ประกอบการท่ีมีการเดินรถผ่านทางจังหวัดเชียงรายโดยตรง เพื่อให้ ผู้ประกอบการท่ีสนใจได้เข้ามาดูสถานที่ได้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ประกอบการใช้เป็นพื้นท่ีเก็บ สต็อกสินค้า และผลักดันให้ศูนย์ฯ เป็น OSS ต่อไป และประกอบกับจากข้อกำหนดเก่ียวกับผู้ที่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-38

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) สามารถเช้าใช้พ้ืนท่ีของสถานีท่ีไม่รองรับผู้ประกอบการรายย่อย ทำให้เกิดข้อจำกัดต่อต่อโอกาสที่ ผปู้ ระกอบการท้องถ่นิ หรือรายย่อยในพ้ืนทท่ี ี่อาจสนใจเขา้ ใชพ้ ้ืนท่ีได้ จึงทำให้ปัจจุบันยังไม่มีงานในการดูแลผู้ประกอบการท่ีใช้พ้ืนท่ี งานด้านปฏิบัติการต่าง ๆ ทำให้ไม่ เห็นถึงปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนเม่ือมีการดำเนินงานในอนาคต และรวมถึงบุคลากรของศูนย์ฯ ไม่ สามารถเขยี นค่างานท่ชี ดั เจนได้ เปน็ ต้น 10.4 งานศกึ ษาวเิ คราะห์โครงสร้างการบริหารงานของสว่ นสถานีขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก (ขบ.) ได้ดำเนินการดูแลและบริหารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลจำนวน 3 แห่งในปัจจุบัน ได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้า คลองหลวง และสถานขี นส่งสนิ ค้าร่มเกล้า ซ่ึงทำหน้าที่หลักเป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสนิ ค้าต้นทาง รองรับการขนส่งสินค้าบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการจัด ระเบียบการขนสง่ สินค้าด้วยรถบรรทกุ ใหม้ ีประสิทธภิ าพสงู สดุ และลดต้นทุนการขนส่งในภาพรวม การดูแลและบริหารสถานีขนส่งสินค้าอยู่ภายใต้ภารกิจของส่วนสถานีขนส่งสินค้า สำนักการขนส่ง สินค้า (สนค.) ดังน้ัน การศึกษารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง ในปัจจุบัน จะมุ่งเน้นท่ีการศึกษาทรัพยากรบุคคลภายใต้ส่วนสถานีขนส่งสินค้าทั้งหมด ท้ังพ้ืนที่ ส่วนกลางและพื้นท่สี ถานีขนส่งสนิ ค้าทั้ง 3 แห่ง โดยมรี ายละเอียดแยกเป็นสว่ นๆ ดังน้ี 10.4.1 โครงสร้างการบรหิ ารงานบุคลากรและอตั รากำลัง สว่ นสถานีขนส่งสินคา้ ประกอบด้วย 68 อัตรา โดยแบ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัตงิ านทีส่ ่วนกลางจำนวน 32 อัตรา ปฏิบัติงานที่สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่งจำนวน 27 อัตรา และปฏิบัติงานท่ีศูนย์เปลี่ยนถ่ายฯ เชียงของจำนวน 9 อัตรา ในจำนวนนี้เป็นข้าราชการ จำนวน 19 อัตรา และลูกจ้างช่ัวคราวจำนวน 49 อัตรา อย่างไรก็ดี ณ เดือนธันวาคม 2564 มีอัตรา ทวี่ ่างอยู่ 4 อัตราโดยทั้งหมดอยใู่ นส่วนกลาง สำหรับโครงสร้างบุคลากรและภารกิจโดยสังเขปของส่วนสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบันแสดงใน รูปท่ี 10.4-1 โดยแบ่งเป็น 5 แท่ง โดย แท่งที่ 1 ได้แก่ กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ขณะท่ีอีก 4 แท่งท่ีเหลือได้แก่สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 4 แห่ง (งานบริหารสถานีขนส่งสินค้า) ท่ีมีในปัจจุบัน โดย ภารกิจของแตล่ ะแท่งสรปุ โดยสงั เขปได้ดังน้ี • กล่มุ งานพัฒนาสถานีขนส่งสนิ ค้า ภารกิจหลักได้แก่การพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าท่ีจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตตั้งแต่จุดเร่ิมต้นจนการ ก่อสร้างแล้วเสร็จ กิจกรรมที่สำคญั อาทิ - งานดา้ นยุทธศาสตร์และนโยบาย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-39

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ของโครงการ - ศกึ ษาวเิ คราะห์การให้เอกชนรว่ มลงทุน - ขออนมุ ัตโิ ครงการใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ ตามกฎหมาย - ดำเนนิ การทเี่ กีย่ วข้องกับการออก พ.ร.ฎ. เวนคนื ฯ - ออกแบบรายละเอียดเพ่ือก่อสร้าง - หาตวั ผู้รับเหมา/ผรู้ บั จา้ ง/ควบคุมงานก่อสรา้ ง/ตรวจรบั งาน นอกจากภารกิจหลักดังที่กล่าวไป ปัจจุบันกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ยังจะต้องดูแล รับผดิ ชอบงานอนื่ ๆ ของสว่ นฯ อาทิ - งานแผนและงบประมาณ - งานบริหารทัว่ ไป / ธุรการ / บุคคล / พสั ดุ / เอกสารราชการ - เทคโนโลยี / ฐานข้อมลู - ตดิ ตามและกำกับสัญญา PPP - เลขานกุ ารส่วนฯ • งานบรหิ ารสถานขี นส่งสินคา้ แหง่ ที่ 1 2 และ 3 ประกอบด้วยสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล (บค.1) สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง (บค.2) และ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า (บค.3) โดยภารกิจหลักของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งน้ี ไดแ้ ก่การบริหารพ้ืนที่และกิจกรรมภายใน อาทิ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบ และให้คำแนะนำผู้เข้าใช้บริการสถานี ให้ปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ประกาศ ของสถานี - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบความปลอดภัย และเวรรักษาการณ์ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการดำเนนิ งานการจ้างเหมาบริการ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการใช้สาธารณูปโภคภายในสถานีขนส่งสินค้า และ วเิ คราะห์ขอ้ มูลสาธารณูปโภคของสถานขี นสง่ สินค้า - งานตั้งจุดตรวจ เช่น วัดแอลกอฮอล์ และ อุปกรณ์ล็อคตู้คอนเทนเนอร์ และการต้ังจุดตรวจ เพอื่ อำนวยความปลอดภัยในชว่ งเทศกาล - งานศึกษาวิเคราะห์ข้อมลู การใชส้ ถานี เพอ่ื นำมาวางแผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การสถานี - งานแก้ปัญหาหน้างานและปญั หาเฉพาะหน้าต่างๆ - ควบคมุ งานซ่อมบำรุง - ประสานและกำกบั ผู้ใช้บริการ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-40

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • งานบริหารสถานีขนส่งสินคา้ แห่งที่ 4 ได้แก่ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ (บค.4) โดยภารกิจหลักจะมีความเหมือน และแตกต่างจากงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง แตจ่ ะมภี าระงานบางสว่ นที่มคี วามแตกต่างและซับซ้อนมากกว่า ได้แก่ - งานกำกับและติดตามสัญญารว่ มทนุ ฯ - การกำกับดูแลงานการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งจะมีความซับซ้อนท้ังในด้านการ กฎหมาย ระเบียบ กฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกบั พธิ ี การระหว่างประเทศ อาทิ CIQ, OSS และ CBTA เปน็ ต้น จากโครงสร้างองค์กรซึ่งแสดงในรูปท่ี 10.4-1 จะเห็นว่าการบริหารงานในแต่ละแท่ง (กลุ่มงานพัฒนาฯ และ งานบริหารสถานีฯ ท้ัง 4 แห่ง) อยู่ภายใต้และขึ้นตรงกับหัวหน้าส่วนฯ โดยตรง แต่ในทางปฏิบัติ กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ จะมีบทบาทในการเป็นหน่วยประสาน คัดกรองงาน และสนับสนุนงาน ด้านสำนักงานต่างๆ ก่อนการส่งผ่านระหว่างหัวหน้าส่วนฯ และงานบริหารสถานีฯ ลักษณะการส่ังการ และลำดบั การบงั คับบัญชาในทางปฏิบตั ิจึงเป็นไปในลักษณะดังแสดงในรูปท่ี 10.4-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-41

รูปท่ี 10.4-1 โครงสรา้ งบุคลากรและอัตราก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) กำลังในปัจจุบนั ของสว่ นสถานีขนส่งสนิ ค้า 10-42

รปู ที่ 10.4-2 โครงสรา้ งบคุ ลากรและอัตรากำลงั ขอ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) องส่วนสถานีขนสง่ สนิ ค้าในปัจจุบันในทางปฏบิ ตั ิ 10-43

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.4.2 ข้อสงั เกตเก่ยี วกับโครงสรา้ งองค์กรและการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสนิ คา้ ในปจั จบุ ัน จากการทบทวนโครงสร้างบุคลากรและภาระงานของส่วนสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบนั ดังท่ีกล่าวไป ท่ี ปรกึ ษาพบข้อสงั เกตที่สำคัญใน 4 ประเด็น ได้แก่ • กลุ่มงานพฒั นาสถานฯี มีหน้าทใี่ นการเป็นจุดคัดกรองงานจาก งานบริหารสถานีฯ ท้ัง 4 แห่ง ก่อนท่ีจะส่งผ่านไปยัง “หัวหน้าส่วนฯ” จึงกล่าวได้ว่ากลุ่มงานนี้ทำหน้าที่เสมือนเป็น เลขานุการเพอ่ื ช่วยในการคัดกรองงานก่อนที่จะส่งผา่ นมายงั หวั หน้าสว่ นฯ • ในปัจจุบัน กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ มีขนาดใหญ่ และในอนาคตเมื่อจำนวนสถานีฯ เพ่ิมมาก ขึน้ กลุ่มงานพัฒนาสถานฯี จะยง่ิ มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากยิ่งขนึ้ ไปอีก • เมื่อพิจารณาวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ จะพบว่าภาระงานหลักควร เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็นสำคัญ แต่ในปัจจุบันพบว่ามีภาระ งานอื่นท่ีไม่เก่ียวข้องโดยตรงกับการพัฒนาสถานีฯ แฝงอยู่ในกลุ่มงานพัฒนาสถานี เป็น จำนวนมาก ภาระงานเหล่านี้ส่งผลให้กลุ่มงานฯ มีขนาดใหญ่และมีแนวโน้มจะใหญ่ขึ้นใน อนาคต • ในอนาคต ส่วนสถานีขนส่งสินค้าจะมีสถานีขนส่งสินค้าในรูปแบบการร่วมลงทุนฯ (PPP) เพิ่มข้ึน จำเป็นจะต้องมีการเตรียมการรองรับภาระงานท่ีจะเกิดขึ้นในส่วนน้ี โดยเฉพาะภาระ งานด้านการกำกับสัญญารว่ มลงทุน จากการทบทวนข้อสังเกตหลักทั้ง 4 ข้อดังท่ีกล่าวมา ท่ีปรึกษามีความเห็นว่างานเลขานุการและทีม สนับสนุนงานหัวหน้าส่วนฯ เป็นงานที่มีความจำเป็นอย่างย่ิง และความสำคัญจะยิ่งเพ่ิมมากข้ึนเมื่อ จำนวนสถานีขนส่งสินค้าในกำกับเพิ่มมากยิ่งข้ึนในอนาคตอันใกล้ ด้วยเหตุนี้จึงควรมีกลุ่มงานหรือ ทีมงานหน่ึงเพื่อช่วยดำเนินภารกิจในส่วนน้ีให้มีความชัดเจนในผังโครงสร้างองค์กร และปรับให้กลุ่ม งานพัฒนาสถานีฯ มีภารกิจที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกลุ่มงาน ได้แก่ การดำเนินการที่ เกยี่ วข้องกบั การพฒั นาสถานขี นสง่ สินค้าที่จะเกิดขึน้ ใหม่ในอนาคต จากข้อสังเกตท่ีกล่าวมา ประกอบกับการหารือกับผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนสถานีขนส่งสินค้าและ กองการเจ้าหน้าที่ของกรมฯ สามารถจดั ทำเปน็ ชดุ ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ บริหารของส่วนสถานีขนส่งสินค้า โดยแบ่งโครงสร้างเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะส้ัน ได้แก่ การ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าบนเง่ือนไขปัจจุบัน และ ระยะยาว ได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าในอนาคตเม่ือมีจำนวนสถานีขนส่งสินค้า ในรูปแบบการร่วมลงทุนฯ (PPP) เพ่ิมจำนวนมากขึ้น โดยข้อเสนอแนะสำหรับการปรบั ปรุงพัฒนา แต่ละระยะจะกล่าวถงึ ในหวั ข้อต่อๆ ไป สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-44

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 10.4.3 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าบน เงื่อนไขปจั จบุ นั (ระยะส้นั ) • ขอ้ เสนอแนะในเชิงโครงสรา้ ง จากข้อสังเกตที่ได้กล่าวไป ไม่ว่าจะเป็นการขาดทีมงานเพื่อทำหน้าท่ีเป็นเลขานุการส่วนงาน เพื่อกลั่นกรองงานท่ีชัดเจน โดยปัจจุบันหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ และบุคลากรในกำกับ จำนวนหนึ่ง จะเป็นผู้รับภาระงานดังกล่าว ทำให้กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ มีขนาดใหญ่ และภาระงาน ในส่วนนี้ยังถือได้ว่าเป็นส่วนท่ีนอกเหนือจากภารกิจหลักของกลุ่มงานซึ่งได้แก่การพัฒนาสถานี ขนส่งสินค้าแห่งใหม่ ประเด็นภาระงานท่ีมีหลายมิติ ประกอบกับความไม่ชัดเจนในการบังคับบัญชา สง่ ผลให้การบริหาร มอบหมายงาน และกำกับตรวจติดตามงาน ทำได้ยาก และปัญหาดังกล่าวจะย่ิง มคี วามซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเมื่อมีจำนวนสถานีขนส่งสินค้าท่ีอยู่ระหว่างพัฒนาและท่ีก่อสร้างแล้วเสร็จ เปิดใหบ้ ริการมากยิ่งข้ึนในอนาคต เพื่อให้เกิดลำดับช้ันของการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และรองรับการขยายตัวของส่วนฯ ใน อนาคตที่ปรึกษาจึงเสนอให้มีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและบุคลากรภายในส่วนฯ โดยเพิ่ม แท่งการบริหารงานเพิ่มเติมอีก 1 แท่ง ได้แก่ “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้า” โดยกลุ่ม งานดงั กลา่ วนี้จะมภี ารกิจหลักดังต่อไปน้ี - สนบั สนนุ คกก.บริหารสถานี - งานแผนและงบประมาณ - งานบริหารทว่ั ไป / ธุรการ / บคุ คล / พัสดุ / จดั ซ้อื จดั จา้ ง / เอกสารราชการ - เทคโนโลยี / ฐานข้อมลู - งานวิเคราะห์ขอ้ มูล - ตดิ ตามและกำกบั สัญญาร่วมลงทนุ - เลขานุการส่วนฯ ขณะที่ “กล่มุ งานพฒั นาสถานีขนส่งสินคา้ ” จะถูกปรบั ให้มีความกระชบั มากย่ิงขึ้นและมุ่งเปา้ ท่ี ภารกิจด้านการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่จากต้นน้ำจนถึงปลายน้ำของกระบวนการ ดงั แสดงในรูปท่ี 10.4-3 • ข้อเสนอแนะในเชิงโครงสร้างเพ่ิมเติมในส่วนของศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเขียงของ แม้ในเบื้องต้นท่ีปรึกษาจะได้เสนอรูปแบบโครงสร้างองค์กรของส่วนสถานีขนส่งสินค้าดังแสดง ในรูปท่ี 10.4-3 แต่จากการหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากกองการเจ้าหน้าท่ีของกรมฯ ได้มี ข้อสังเกตเพิ่มเติมในโครงสร้างการบริหารศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งเขียงของเนื่องจาก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-45

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ศูนย์ฯ ตั้งอยู่ในจงั หวัดเชียงรายซ่ึงมีบริบทในเชิงพ้นื ที่ที่แตกต่างไปจากสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลทงั้ 3 แหง่ จงึ ได้มีขอ้ เสนอแนะโดยเป็นไปใน 2 แนวทาง ได้แก่ o แนวทางท่ี 1 โดยการดำเนินการและความรับผิดชอบทั้งหมดขึ้นตรงกับส่วนสถานีขนส่ง สินค้า ซ่ึงเป็นไปในลักษณะเช่นเดียวกับสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นและแสดงไว้ในรูปท่ี 10.4-3 และมีจุดเด่น และจุดดอ้ ยสรุปไดด้ ังน้ี - จุดเด่น: ด้วยการบริหารงานสถานีขนส่งสินค้าเป็นงานที่มีความเฉพาะตัวและต้องการ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมากกว่าภารกิจในส่วนงานภูมิภาคทั่วไปของกรมฯ การ บรหิ ารงานท่ีเบ็ดเสร็จจากหน่วยงานรับผิดชอบส่วนกลางท่ีมีความรูค้ วามเช่ียวชาญและ ประสบการณน์ า่ จะสง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารงานเกิดประสิทธิภาพมากกว่า - จุดด้อย: อุปสรรคสำคัญของการบริหารงานจากส่วนกลางได้แก่ระยะทางและความ ใกล้ชิดและการประสานงานกับหน่วยงานในพ้ืนที่ เช่น จงั หวดั ด่านพรมแดน หน่วยงาน CIQ ผู้ประกอบการในพ้ืนที่ รวมถงึ ประเทศเพ่ือนบ้าน o แนวทางที่ 2 ให้มีการถ่ายโอนภารกิจการกำกับและบริหารพื้นท่ีศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสินค้าเชียงของไปอยู่ท่ีกลุ่มวิชาการขนส่งของสำนักงานขนส่งจังหวัด เชียงราย ขณะที่ส่วนสถานีขนส่งสินค้าจะมีหน้าท่ีในการกำกับเชิงนโยบายและระเบียบกฎเกณฑ์ใน ภาพใหญ่เป็นหลักเท่านั้น อย่างไรก็ดีส่วนสถานีขนส่งสินค้าฯ ยังจำเป็นจะต้องรับผิดชอบ การต้ังงบประมาณและอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องด้วย ดังแสดงในรูปท่ี 10.4-4 และมีจุดเด่นและจุด ด้อยสรุปไดด้ ังนี้ - จุดเด่น: ได้แก่ความคล่องตัวในการประสานงานและแก้ปัญหาในพ้ืนท่ี รวมถึงเข้าใจใน บริบทและสถานการณ์ของพ้ืนท่ี รวมถึงการประสานและรับส่งนโยบายกับจังหวัดผ่าน เวทตี ่างๆ เชน่ ผวู้ ่าราชการจังหวดั เป็นตน้ - จุดด้อย: ได้แก่การขาดบุคลากรและหน่วยงานที่มีองค์ความรู้และความชำนาญเฉพาะ ทางซงึ่ อาจทำใหก้ ารบริหารงานไม่เกิดประสทิ ธิภาพเทา่ ที่ควรได้ ท้ัง 2 แนวทางนี้มีข้อดีข้อเสียท่ีแตกต่างกันไป ซ่ึงกรมการขนส่งทางบกสามารถพิจารณาเลือก แนวทางใดแนวทางหน่ึงก็ได้เช่นกัน แต่เมื่อเลือกแนวทางใดไปแล้วก็จำเป็นจะต้องเตรียม แนวทางในการลดหรอื แก้ปญั หาจากจุดด้อยของแนวทางนั้นๆ อย่างไรก็ดีเมื่อช่ังน้ำหนักจุดเด่น จุดด้อยของท้ัง 2 แนวทางท่ียกมา ในมุมมองของท่ีปรกึ ษาเห็นว่าแนวทางที่ 1 น่าจะมีความเป็น แนวทางท่ีเหมาะสมมากกว่าด้วยเหตุผลของการที่สถานีขนส่งสินค้าเป็นภารกิจท่ีมีความ เฉพาะตัวและปัจจุบันเทคโนโลยกี ารส่ือสารดิจิทัลช่วยให้ข้อจำกัดของการบริหารงานระยะไกล ลดลงกว่าในอดตี สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-46



รูปท่ี 10.4-3 โครงสรา้ งบคุ ลากรเสนอแนะสำหรบั ส่วนสถา สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศกั ยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) านีขนสง่ สนิ ค้า : แนวทางท่ี 1 การดำเนินการทั้งหมดขึ้นกับสว่ นฯ 10-47

รูปที่ 10.4-4 โครงสรา้ งบคุ ลากรเสนอแนะสำหรับสว่ นสถานขี นสง่ สนิ ค้า แนวทางท่ี 2 ถา่ ยโอน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพฒั นาเพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) นภารกจิ การกำกับและบรหิ ารพ้ืนที่ศูนยเ์ ปลีย่ นถ่ายรปู แบบการขนส่งเชยี งของไปอยู่ท่ี ขสจ.เชยี งราย 10-48

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ข้อเสนอแนะการกำหนดอัตราชำนาญการพิเศษ (ชพ.) สำหรับหวั หน้ากลุ่มงาน จากโครงสร้างองค์กรและการบริหารงานท่ีเสนอให้มีการปรับปรุงใหม่ (ดังแสดงในรูปที่ 10.4-3 และรูปท่ี 10.4-4) จะเห็นได้ว่า “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้า” ที่เสนอให้ตั้งข้ึนใหม่น้ี ถือว่ามีความหลากหลายและซับซ้อนของเนื้องานเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะงานในด้านเทคโนโลยี ฐานข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล และเน้ืองานในประเด็นเหล่านี้จะมีบทบาทมากข้ึนไปเรื่อยๆ ในอนาคต นอกจากน้ี งานติดตามและกำกับสัญญาการใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ ฯ ก็เป็นงานที่ต้องมี ความรู้ที่หลากหลายท้ังในด้านกฎหมาย ระเบียบ การเงิน และวิศวกรรม ก็มีความซับซ้อน ไม่ยิ่งหย่อนกัน เมื่อพิจารณาในประเด็นความซับซ้อนและหลายหลายของภาระงานและปริมาณงาน ท่ีรับผิดชอบ พบว่าน่าจะสามารถกำหนดอัตราชำนาญการพิเศษ (ชพ.) สำหรับหัวหน้ากลุ่มงานท่ี ตั้งข้ึนใหม่น้ีได้ และเมื่อตรวจสอบกับระเบียบในการกำหนดอัตรา ชพ. พบว่าหัวหน้างาน จะสามารถกำหนดอัตรา ชพ. ได้จะต้องมีจำนวนบุคลากรใต้บังคับบัญชาเป็นข้าราชการต้ังแต่ 4 อัตราขึ้นไป และในจำนวนน้ีจะต้องเป็นข้าราชการระดับชำนาญการ (ชก.) ไม่น้อยกว่า 2 อัตรา ซ่ึงเม่ือตรวจสอบกับโครงสร้างท่ีเสนอข้ึนใหม่นี้พบว่ามีจำนวนบุคลากรในกำกับเป็นไปตามที่ ระเบียบกำหนด จึงเสนอให้ส่วนฯ พิจารณาปรับปรุงอัตราข้าราชการในตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ใหเ้ ปน็ ระดับ ชพ. ได้ ขณะเดียวกัน แม้ “กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งส่งสินค้า” จะมีการถ่ายโอนบุคลากรออกไปกว่าคร่ึง แต่เน่ืองจากการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็ฯงานที่มีความหลากหลายทางวิชาการเป็นอย่างย่ิง ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ ตำแหน่งท่ีต้ัง การออกแบบทางวิศวกรรม งานด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมถึงกระบวนการทางกฎหมายที่มีความสลับซับซ้อน ไม่ว่าจะ เป็นการเวนคืนท่ีดิน หรือการผลักดันโครงการเข้าสู่กระบวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน ประกอบกับจำนวนบุคลากรท่ียังคงอยู่ภายใต้กลุ่มงานยังคงท่ีเป็นไปตามระเบียบโดยมีข้าราชการ ในการบงั คบั บัญชาไม่น้อยกว่า 4 อัตราและในจำนวนนี้เป็นอัตรา ชก. ไม่น้อยกว่า 2 อัตรา เช่นกัน จึงอาจพิจารณาปรับให้หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็นอัตราระดับ ชพ. ไปพรอ้ มกัน กบั กล่มุ งานกำกับกิจการสถานีขนส่งสนิ ค้าทเ่ี สนอให้ต้ังขึ้นใหม่ได้ • ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานพฒั นาสถานีขนส่งสินคา้ ” ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า” ภายหลัง การแยกภาระงานส่วนหนึ่งออกไปอยู่กับกลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้าที่ต้ังขึ้นใหม่ สามารถสรุปได้ดังน้ี o ภารกิจและกจิ กรรมหลัก สำหรับกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ภารกิจหลักได้แก่การริเริ่มและดำเนินการต่อเนื่องจน กระทง้ั เกิดสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่ขึ้น ประกอบด้วย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-49

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (1) งานด้านยุทธศาสตรแ์ ละนโยบาย รวมถงึ งานทบทวนและประเมินความเสี่ยงของโครงการ (2) งานศกึ ษาความเป็นไปได้ของโครงการสถานีขนส่งสินค้าท่ีจะพฒั นาข้ึน (3) งานศึกษาวิเคราะห์โครงการตาม พ.ร.บ. การร่วมลงทนุ ฯ (4) การย่นื เสนอและขออนุมัตโิ ครงการตามกระบวนการตาม พ.ร.บ. การรว่ มลงทุนฯ (5) การดำเนินการที่เก่ียวข้องกับกระบวนการได้มาของที่ดินเพ่ือดำเนินโครงการ เช่น การศึกษาสำรวจเพื่อจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน การออก พ.ร.ฎ. เวนคืน การจ่ายค่าชดเชย การ เจรจาและการแกป้ ัญหาที่เกี่ยวเน่ือง (6) การศึกษาออกแบบและก่อสร้างโครงการ เช่น การออกแบบรายละเอียดเพื่อก่อสร้าง การหาตัวผู้รับเหมาและท่ีปรึกษาควบคุมงานก่อสร้าง การกำกับและควบคุมงานก่อสร้าง และการตรวจรบั งานก่อสร้าง o ความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ของบคุ ลากร จากภารกิจและกิจกรรมท้ัง 6 ข้อ ที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าในส่วนของผู้ปฏิบัติงานควรจะต้องมี ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ หรือมีพ้ืนฐานการศึกษาในหลักสูตรท่ีเก่ียวข้องกับประเด็น ดงั ต่อไปน้ี (1) วศิ วกรรมขนสง่ (2) วิศวกรรมโยธา (3) เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงิน (4) กฎหมาย อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดของระบบราชการซ่ึงอาจไม่สามารถกำหนดตัวบุคลากรท่ีมีความ เชี่ยวชาญได้ตรงตามท่ีต้องการทั้งหมด ดังน้ัน กระบวนการด้าน “การพัฒนาทรัพยากร บุคลากร” จะเข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่ง เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนผู้ปฎิบัติงานให้มีการ เรียนรู้เพ่ิมเติม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการฝึกอบรม การเรียนระยะส้ัน การเรยี นต่อ รวมถึงการ ขอทุนการศึกษา ในสายวิชาท่ีเก่ยี วเน่ืองจำเป็น ซงึ่ เป็นบทบาทสำคัญของผู้บริหารในหน่วยงาน o ขอ้ สงั เกตทพ่ี บจากการดำเนนิ งานในปจั จบุ ันและข้อเสนอแนะ ปัจจุบัน กรมการขนส่งทางบกแผนสถานีขนส่งสินค้าที่อยู่ระหว่างการพัฒนา 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การขนส่งชายแดนนครพนม สถานีขนส่งสินค้าซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มเปิดให้ ดำเนินการแต่ยังอยู่ในกระบวนการหาเอกชนร่วมลงทุนซึ่งยังเป็นขอบเขตงานท่ีเก่ียวเนื่องกับ การพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเชียงของ และ สถานีท่ีอยู่ในแผนการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในเมืองภูมิภาคอีก 17 แห่ง ท่ีจะต้องมีการ ดำเนินการในอนาคต ดังน้ันภารกิจของงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าจึงยังคงมีความสำคัญและ มีปริมาณงานที่ต่อเน่ืองในระยะยาว สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-50

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ปัจจุบัน แนวทางการบริหารงานภายใต้กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในส่วนของงานพัฒนา โดยตรง จะใช้การจ่ายงานโดยข้าราชการ 1 อัตราจะถูกมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบงานพัฒนา สถานีขนส่งสินค้า 1 แหง่ เปน็ หลักตง้ั แต่ตน้ น้ำถึงปลายน้ำของการพฒั นา ดังแสดงในรปู ที่ 10.4-5 (รูปด้านซ้าย: เปน็ ลกั ษณะการกำหนดภาระงานในแนวดิ่ง) อย่างไรก็ดีท่ีปรึกษามีข้อสังเกตต่อแนวทางการบริหารงานในลักษณะดังกล่าวสรุปเป็นประเด็น ไดด้ งั นี้ • รูปแบบการบริหารและแจกจ่ายงานในปัจจุบันมีความเหมาะสมสำหรับกรณีท่ีสถานี ท่ีอยู่ระหว่างการพัฒนามีจำนวนไม่มากนักเช่นในช่วงระยะเวลาหลายปีท่ีผ่านมา แต่ ความเหมาะสมอาจลดลงเมอื่ มปี รมิ าณสถานขี นสง่ สนิ ค้าเพ่ิมมากย่ิงข้นึ ในอนาคต • การผูกพันภาระงานไวท้ ่ีอตั ราใดอัตราหนึง่ อยา่ งต่อเนื่องยาวนาน หากบุคลากรในอตั รา ดังกลา่ วมีการโอนย้ายจะสง่ ผลกระทบในเรอ่ื งความตอ่ เนื่องของงานโดยทนั ที • ในทางปฏิบัติ เมื่อปริมาณงานในบางโครงการเพ่ิมมากขึ้นจะมีการกำหนดให้บุคลากร อื่นๆ เขา้ มามีส่วนรว่ มและสนับสนุนผู้รับผดิ ชอบหลัก แตใ่ นกรณดี ังกล่าวน้ีจะทำให้การ บริหารงานมคี วามไม่ชดั เจน • การพัฒนาความเช่ียวชาญของบคุ ลากรทำไดย้ ากขน้ึ ดังน้ันในมุมมองของการบริหารองค์กร ท่ีปรึกษาจึงมีความเห็นว่า ในระยะที่ยังมีจำนวนโครงการ พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่ท่ีอยู่ระหว่างการดำเนินการยังคงมีจำนวนไม่มากนักเช่นใน ปจั จบุ นั สว่ นฯ ยงั อาจพิจารณาบริหารงานในลักษณะปจั จบุ ันได้ แต่ในอนาคต เมื่อมีโครงการท่ีดำเนินการเพ่ิมข้ึน การบริหารงานควรเปลี่ยนเป็นการกำหนด ภาระงานสำหรับแต่ละอัตรา รวมถึงความรู้ความสามารถท่ีพึงมีของผู้ท่ีมาปฏิบัติงานในอัตรานั้นๆ เพ่ือให้สอดรับกับภารกิจและกิจกรรมหลักตามวัตถุประสงค์ของกลุ่มงานฯ โดยโครงสร้างดังแสดง ในรปู ที่ 10.4-5 (รปู ดา้ นขวา: เปน็ ลกั ษณะการกำหนดภาระงานในแนวราบ) ซ่ึงในการจัดโครงสรา้ ง การบริหารงานในลักษณะตามแนวราบนี้อาจมีจุดอ่อนในประเด็นท่ีแต่ละโครงการจะขาดตัวกลาง หรือผู้ประสานงานหลัก ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้กระจายบุคลากรในแต่ละทีมเพ่ือทำ หน้าที่เสมือนเป็นผู้ประสานงาน/ผู้จัดการโครงการสำหรับแต่ละโครงการ (เช่น ให้หัวหน้าทีม A เป็นผ้จู ดั การโครงการสถานี ก ไปพร้อมกัน) ซ่งึ จะชว่ ยแกป้ ัญหาท่ีกล่าวมาได้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-51

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 10.4-5 โครงสร้างการบริหารงานพัฒนาสถานีขนส่งสินคา้ ในปัจจุบนั และข้อเสนอแนะ จากรูปที่ 10.4-5 หากส่วนสถานีขนส่งสินค้ามีความเหน็ พ้องในการปรับโครงสร้างการบริหารกลุ่ม งานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในลักษณะการกำหนดภาระงานในแนวนอนตามท่ีปรึกษาเสนอ จะสามารถกำหนดโครงสร้างภายใต้กลุ่มงานรวมถึงภารกิจและกิจกรรมในแต่ละงานได้ดังแสดงใน รปู ท่ี 10.4-6 และ ตารางท่ี 10.4-1 รูปที่ 10.4-6 ข้อเสนอโครงสร้างการบริหารกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินคา้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-52

ตารางท่ี 10.4-1 ขอ้ เสนอแนะในการกำห กลุ่มงานย่อย อตั รา/ระดับ ขอบเขต 1 งานบรหิ ารกลุ่มงาน รวม 3 อตั รา ประกอบดว้ ย •ดูแลรับผิดชอบภาพรวมข กลมุ่ งานฯ • ขา้ ราชการ 1 อตั รา •หัวหนา้ กลุ่มงานฯ (ชำนาญการพิเศษ) • ลกู จา้ งช่วั คราว 2 อัตรา •นกั วิชาการขนส่ง 1 •เจ้าพนกั งานขนสง่ 1 2 งานศึกษาวิเคราะห์ รวม 4 อตั รา ประกอบดว้ ย •งานด้านยทุ ธศาสตร์และนโ โครงการและการ • ขา้ ราชการ 2 อัตรา •งานทบทวนและประเมินคว ด ำเนิ น ก ารต าม •นักวิชาการขนส่ง 1 (ชำนาญการ) •งานศึกษาความเป็นไปได้ พ.ร.บ. ร่วมทนุ ฯ •นักวิชาการขนสง่ 3 (ปฏบิ ตั ิการ) พัฒนาขน้ึ • ลกู จา้ งช่ัวคราว 2 อตั รา •งานศึกษาวิเคราะห์โครงกา •นักวชิ าการขนสง่ 2 •การย่นื เสนอและขออนมุ ตั ิโ •นกั วชิ าการขนสง่ 3 การร่วมลงทนุ ฯ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาเพอื่ เพิม่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) หนดภาระงานในกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนสง่ สนิ คา้ ตงานทีร่ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ ของภารกิจและกิจกรรมทั้งหมดของ •หัวหน้ากลุ่มงานฯ ควรมีประสบการณ์ในด้านการบริหารงาน งานศึกษาวเิ คราะหโ์ ครงการ และงานสถานีขนสง่ สนิ คา้ •นักวิชาการขนส่ง 1 และ เจ้าพนักงานขนส่ง 1 มีหน้าที่ สนับสนุนงานด้านเอกสารและงานท่ีได้รับมอบหมายจาก หวั หน้ากลุ่มงานฯ โดยตรง รวมถึงสนับสนุนงานในกลมุ่ งานย่อย อน่ื ๆ ตามที่หัวหน้ากล่มุ งานฯ มอบหมาย โยบาย •ข้าราชการในตำแหน่ง นักวิชาการขนส่ง 1 และ นักวิชาการ วามเสี่ยงของโครงการ ขนส่ง 3 เป็นบุคลากรหลักในการรับผิดชอบงานตามขอบเขต ของโครงการสถานีขนส่งสินค้าที่จะ งานท่ีกำหนด โดยมีลูกจ้างช่ัวคราว 2 และ 3 เป็นผู้ช่วย สนับสนุนงานตามที่ได้รับมอบหมายจาก นักวิชาการขนส่ง 1 ารตาม พ.ร.บ. การรว่ มลงทุนฯ และ นกั วิชาการขนสง่ 3 โครงการตามกระบวนการตาม พ.ร.บ. •ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มงานย่อยนี้ ควรมีความรู้ ประสบการณ์ ความเช่ียวชาญ หรือจบการศึกษาในด้านที่เกี่ยวข้องกับ การ จัดการ เศรษฐศาสตร์และการเงิน กฎหมาย และวิศวกรรม ขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์ 10-53

ตารางท่ี 10.4-1 ขอ้ เสนอแนะในการกำหนด กลุ่มงานย่อย อตั รา/ระดบั ขอบเขต 3 งานด้านวิศวกรรม รวม 5 อตั รา ประกอบด้วย •การดำเนินการที่เก่ียวข้อง โยธาและสำรวจ • ขา้ ราชการ 2 อัตรา ดำเนินโครงการ เช่น การ •นักวชิ าการขนส่ง 2 (ชำนาญการ) การออก พ.ร.ฎ. เวนคืน ก •นักวิชาการขนสง่ 4 (ปฏบิ ตั ิการ) แกป้ ญั หาท่เี กยี่ วเนื่อง • ลูกจา้ งชว่ั คราว 3 อตั รา •การศึกษาออกแบบและก •นักวชิ าการขนสง่ 4 รายละเอียดเพื่อก่อสร้าง •นกั วชิ าการขนสง่ 5 ควบคุมงานก่อสร้าง การก •นายชา่ งโยธา 1 การตรวจรบั งานกอ่ สร้าง สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ดภาระงานในกลมุ่ งานพฒั นาสถานีขนสง่ สินคา้ (ต่อ) ตงานทร่ี บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ งกับกระบวนการได้มาของที่ดินเพ่ือ รศึกษาสำรวจเพ่ือจัดกรรมสิทธิ์ท่ีดิน •ข้าราชการในตำแหน่ง นักวิชาการขนส่ง 2 และ นักวิชาการ การจ่ายค่าชดเชย การเจรจาและการ ขนส่ง 4 เป็นบุคลากรหลักในการรับผิดชอบงานตามขอบเขต งานท่ีกำหนด โดยมีลูกจ้างช่ัวคราว 4 5 และนายช่างโยธา 1 ก่อสร้างโครงการ เช่น การออกแบบ เป็นผู้ช่วยสนับสนุนงานตามท่ีได้รับมอบหมายจาก นักวิชาการ ง การหาตัวผู้รับเหมาและที่ปรึกษา ขนสง่ 2 และ นักวิชาการขนสง่ 4 กำกับและควบคุมงานก่อสร้าง และ •ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มงานย่อยนี้ ควรมีความรู้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ หรือจบการศึกษาในด้านท่ีเก่ียวข้องกับ วิศวกรรมโยธาและก่อสร้าง วิศวกรรมสำรวจ และการบริหาร การกอ่ สร้าง 10-54

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินคา้ ” ข้อเสนอแนะเก่ียวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้า” ท่ีต้ังข้นึ ใหม่ สามารถสรปุ ได้ดังน้ี o ภารกจิ และกจิ กรรมหลกั สำหรับกลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้ามภี ารกิจหลักประกอบด้วย - งานบรหิ ารกลาง (1) งานเลขานุการส่วนงานฯ (2) งานสารบรรณ / ธุรการ / เอกสาร (3) แผน-งบประมาณ / การเงิน / บคุ ลากร / จัดซ้ือจัดจ้าง / ตรวจสอบภายใน (4) สนบั สนุน คกก. บริหารสถานี - งานจัดการขอ้ มูลและเทคโนโลยี (5) งานเก็บรวบรวมและวิเคราห์ข้อมูลสถานี (6) งานด้านเทคโนโลยี / IT / ฐานขอ้ มูล / TTMS / Web Admin - งานวจิ ยั และพัฒนา (Optional) (7) งานวจิ ัยและวชิ าการสำหรับงานสถานีขนส่งสนิ คา้ - งานกำกบั สัญญารว่ มทนุ ฯ (8) งานกำกบั และตดิ ตามการดำเนินงานของเอกชนตามสญั ญาการรว่ มลงทุนฯ (PPP) o ความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ของบุคลากร จากภารกิจและกิจกรรมท้ัง 8 ข้อ ท่ีกล่าวมา จะเห็นได้ว่าในส่วนของผู้ปฏิบัติงานควรจะต้องมี ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ หรือมีพ้ืนฐานการศึกษาในหลักสูตรที่เก่ียวข้องกับประเด็น ดงั ต่อไปนี้ (1) การบรหิ ารงานทว่ั ไปและระบบราชการ (2) การประเมินและระบบประกันคุณภาพ (3) เทคโนโลยสี ารสนเทศ การเขยี นโปรแกรม และการพัฒนาและจัดการฐานข้อมลู (4) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถติ ิ (5) งานด้านวิจัยและพัฒนา (6) วศิ วกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ (7) กฎหมายและสัญญา สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-55

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดของระบบราชการซึ่งอาจไม่สามารถกำหนดตัวบุคลากรที่มีความ เช่ียวชาญได้ตรงตามที่ต้องการท้ังหมด ดังนั้น กระบวนการด้าน “การพัฒนาทรัพยากร บุคลากร” จะเข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่ง เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนผู้ปฎิบัติงานให้มีการ เรียนรู้เพ่ิมเติม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการฝึกอบรม การเรียนระยะสั้น การเรียนต่อ รวมถึงการ ขอทนุ การศึกษา ในสายวชิ าทีเ่ กีย่ วเน่ืองจำเป็น ซง่ึ เป็นบทบาทสำคัญของผู้บรหิ ารในหนว่ ยงาน o ข้อสังเกตทพี่ บจากการดำเนนิ งานในปจั จุบันและข้อเสนอแนะ ดังที่กล่าวไปแล้ว กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้าที่ต้ังข้ึนใหม่นี้ ไม่ได้ตั้งข้ึนมาเพื่อ รองรับมีภาระงานใหม่ แต่เป็นการจัดองค์กรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานและการจัด วางตำแหนง่ และความรับผิดชอบในภาระงานปจั จุบันให้มคี วามชดั เจนมากยิ่งขึ้น ในการนี้ท่ีปรึกษาได้เสนอให้มีการแบ่งการบริหารงานภายในกลุ่มงานฯ โดยแบ่งเป็น 5 งานตาม ภารกจิ และภาระงานหลักซึ่งได้กลา่ วไป อยา่ งไรกด็ จี ะมีข้อสังเกตเพิ่มเติม 2 ประเดน็ ไดแ้ ก่ งานวิจัยและพัฒนาถือเป็นงานที่มีความสำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคต ถือเป็นส่วนความคิด (Thinktank) ให้แก่หน่วยงาน อย่างไรก็ดีด้วยหน่วยงานมีขนาดเล็ก ผู้ท่ีรับผิดชอบงานวิจัยและ พัฒนาในส่วนนี้จึงไม่จำเป็นต้องทำหน้าที่เป็นนักวิจัยหรือพัฒนาโครงการวิจัย แต่เป็นเพียง เจ้าภาพเพื่อรวบรวมความรู้และขอ้ สังเกตเกี่ยวกับข้อมูล เทคโนโลยี สถานการณ์ และการพัฒนา ต่างๆ ให้กับส่วนสถานีขนส่งสินค้าในเบื้องต้น หรือตามที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือเสนอต่อหัวหน้า กลุม่ งานฯ และหวั หนา้ ส่วนฯ ตอ่ ไป และหากผู้บังคับบัญชาเห็นว่าประเด็นดังกล่าวมคี วามสำคัญ จงึ ให้นำไปสูก่ ารดำเนนิ การขยายผลในลำดบั ถัดไป ท้งั นี้ในระยะแรกทป่ี รกึ ษาเสนอใหร้ วมงานวจิ ัย และพัฒนาไว้กบั งานจัดการข้อมูลและเทคโนโลยี งานกำกับสัญญาร่วมทุนฯ จะเข้ามาเป็นอีกหนึ่งภาระงานสำคัญของส่วนสถานีขนส่งสินค้าใน อนาคต โดยคาดว่าในปี 2567 สำนกั จะต้องมีการกำกับสญั ญาร่วมลงทุนฯ ไม่น้อยกวา่ 2 สัญญา และจะเพ่ิมขนึ้ อยา่ งต่อเนื่องในอนาคต อย่างไรก็ดีดว้ ยปัจจุบันภาระงานในส่วนนี้ยงั ไม่มากนัก ที่ ปรึกษาจึงเสนอให้มีข้าราชการรับผิดชอบในงานกำกับสัญญารว่ มทนุ ฯ เพียง 1 อัตรา อย่างไรก็ดี หากมภี าระงานเพิ่มขึ้นในอนาคตให้พิจารณาเพิ่มอัตราข้าราชการอีก 1 อตั ราได้ จากข้อเสนอแนะทั้งหมดท่ีกลา่ วมา สามารถสร้างเป็นโครงสร้างการบริหารกลุ่มงานกำกบั กิจการ สถานีขนส่งสินค้าได้ดังแสดงในรูปท่ี 10.4-7 และรายละเอียดของกิจกรรมงานและบุคลากร แสดงในตารางท่ี 10.4-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-56

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 10.4-7 ข้อเสนอโครงสร้างการบริหารกลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินคา้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-57



ตารางที่ 10.4-2 ข้อเสนอแนะในการกำหนด กลุม่ งานย่อย อตั รา/ระดบั ขอบเขต 1 งานบรหิ ารกลุม่ งาน รวม 2 อตั รา ประกอบด้วย •ดูแลรับผิดชอบภาพรวมข • ขา้ ราชการ 1 อตั รา กลมุ่ งานฯ •หวั หน้ากลุม่ งานฯ (ชำนาญการพเิ ศษ) • ลูกจ้างชั่วคราว 1 อัตรา •นักวชิ าการขนส่ง 1 2 งานบรหิ ารกลาง รวม 5 อัตรา ประกอบดว้ ย •งานสนบั สนุนด้านเลขานกุ • ข้าราชการ 1 อตั รา •งานสารบรรณ ธุรการ และ •งานแผน-งบประมาณ การเ •เจา้ พนักงานขนสง่ 1 (ชง.) •งานตรวจสอบภายใน • ลูกจ้างช่วั คราว 4 อัตรา •งานสนบั สนุน คกก. บริหา •นักวชิ าการขนส่ง 2 •นกั วชิ าการขนส่ง 3 •เจ้าพนักงานขนสง่ 1 •พนักงานขับรถยนต์ 1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพฒั นาเพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ดภาระงานในกลุ่มงานกำกบั กจิ การสถานขี นส่งสนิ คา้ ตงานทร่ี บั ผิดชอบ หมายเหตุ ของภารกิจและกิจกรรมทั้งหมดของ •หัวหน้ากลุ่มงานฯ ควรมีประสบการณ์ในด้านการบริหารงาน ท่ัวไป ระบบราชการ และอาจรวมถึงด้านอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับ งานและกิจกรรมหลักของกลุ่มงานฯ •นักวิชาการขนส่ง 1 มีหน้าที่เป็นผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มงานฯ และ ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้ากลุ่มงานฯ โดยตรง รวมถึงสนับสนุนงานในกลุ่มงานย่อยอื่นๆ ตามที่หัวหน้ากลุ่ม งานฯ มอบหมาย การสว่ นงานฯ •ข้าราชการในตำแหน่ง เจ้าพนักงานขนส่ง 1 เป็นบุคลากรหลัก ะเอกสาร ในกำกับการดำเนินงานตามขอบเขตงานที่รับผิดชอบของกลุ่ม เงนิ บคุ ลากร และจัดซอื้ จดั จ้าง งานย่อย โดยส่วนใหญ่จะเป็นงานด้านเอกสารธุรการและงาน ตามระบบราชการ โดยมีลูกจ้างช่ัวคราว 3 อัตราเป็นผู้ช่วย ารสถานี สนับสนุนงาน •ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มงานย่อยนี้ ควรมีความรู้ ประสบการณ์ ใน ด้านการจัดการ และระเบยี บขน้ั ตอนทางราชการเปน็ สำคัญ 10-58

ตารางที่ 10.4-2 ขอ้ เสนอแนะในการกำหนดภา กลมุ่ งานยอ่ ย อัตรา/ระดบั ขอบเขต 3 (2.1) งานจัดการ รวม 4 อตั รา ประกอบด้วย จดั การขอ้ มูลและเทคโนโลยี ขอ้ มลู และเทคโนโลยี • ข้าราชการ 2 อัตรา •งานรวบรวมและจัดเก็บข •นักวชิ าการขนส่ง 1 (ชำนาญการ) ข้อมูลต่างๆ ภายในส่วนงาน (2.2) งานวจิ ยั และ •นักวชิ าการขนสง่ 3 (ปฏิบัตกิ าร) •งานวิเคราห์ข้อมูลสถานีข พฒั นา • ลกู จ้างช่ัวคราว 2 อตั รา ภายในส่วนงาน รวมถึงจ •นักวชิ าการขนสง่ 4 รายงานต่อผบู้ รหิ าร •นักวชิ าการขนส่ง 5 •งานดูแลและระบบเทคโน TTMS รวมถึงทำหน้าท Admin) ของเว็บไซทแ์ ละส งานวจิ ยั และพฒั นา •ศึกษาองค์ความรู้ ข้อมูล ง หรอื สามารถนำมาประยกุ ต •เสนอแนวคิดการพัฒนาสถ เทคโนโลยีต่อผู้บริหารส่วน สถานีขนสง่ สินคา้ ต่อไป สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) าระงานในกลุม่ งานกำกบั กจิ การสถานขี นสง่ สนิ ค้า (ต่อ) ตงานท่รี ับผดิ ชอบ หมายเหตุ ของสถานีขนส่งสินค้า และรวมถึง •กลุ่มงานย่อยนี้แบ่งเป็ฯ 2 งาน ได้แก่ งานจัดการข้อมูลและ นฯ เทคโนโลยี และ งานวจิ ัยและพัฒนา ขนส่งสินค้า และรวมถึงข้อมูลต่างๆ •ข้าราชการในตำแหน่ง นักวิชาการขนส่ง 1 และ นักวิชาการ จัดทำรายงานและข้อเสนอแนะเพื่อ ขนส่ง 3 เป็นบุคลากรหลักในการรับผิดชอบงานตามขอบเขต งานท่ีกำหนด โดยมีลูกจ้างช่ัวคราว 2 อัตรา เป็นผู้ช่วย นโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูล ระบบ สนับสนุนงานตามที่ได้รับมอบหมายจาก นักวิชาการขนส่ง 1 ที่เป็นผู้จัดการสื่อออนไลน์ (Web และ นกั วิชาการขนส่ง 3 ส่ือออนไลน์ตา่ งๆ •ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มงานย่อยนี้ ควรมีความรู้ ประสบการณ์ ความเช่ียวชาญ หรือจบการศึกษาในด้านที่เกี่ยวข้องกับ งานวิชาการและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์ โปรแกรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูล การ ต์ใช้กบั สถานีขนสง่ สินคา้ ได้ จัดการและวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ หรือด้านวิศวกรรมที่ ถานีและแนวคิดทางด้านวิชาการและ เก่ียวเนื่อง นงานฯ เพื่อพิจารณาและนำไปพัฒนา 10-59

ตารางที่ 10.4-2 ข้อเสนอแนะในการกำหนดภา กลมุ่ งานย่อย อัตรา/ระดับ ขอบเขต 4 งานกำกับสัญญา รวม 3+1 อตั รา ประกอบดว้ ย •งานประสานงานกบั เอกชน ร่วมทุนฯ • ขา้ ราชการ 2+1 อัตรา •งานติดตามการดำเนินงาน •นกั วชิ าการขนสง่ 2 (ชก.) รว่ มลงทุนฯ •นักวิชาการขนส่ง 5 (ปก.) - เพ่มิ อตั รา* •งานกำกับการดำเนินการข • ลกู จา้ งชว่ั คราว 2 อตั รา ร่วมลงทุนฯ •นักวิชาการขนสง่ 6 •งานประเมินตัวช้ีวัดการป •นกั วชิ าการขนส่ง 7 ตามข้อกำหนดคณุ ภาพการ •งานดูแลการรับจ่ายค่าตอ บริหารแก่เอกชน (ข้ึนกับร บัญชรี ายรับจ่าย •ติดตามและประเมินปัญ เกิดข้ึนภายในสถานีขนส่งส ปญั หาและสถานการณ์ พร หมายเหตุ: เมือ่ มจี ำนวนสถานขี นสง่ สินคา้ ร่วมทุนฯ เพ่ิมมากขน้ึ เสนอให้มกี ารเพม่ิ จำนวนขา้ ราชการ 1 อัตรา ในงาน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) าระงานในกลมุ่ งานกำกบั กิจการสถานขี นส่งสนิ ค้า (ตอ่ ) ตงานที่รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ นคสู่ ญั ญา •ข้าราชการในตำแหน่ง นักวิชาการขนส่ง 2 เป็นบุคลากรหลักใน นภายในสถานีขนส่งสินค้าภายใต้การ การรับผิดชอบงานตามขอบเขตงานท่ีกำหนด โดยมีลูกจ้าง ชั่วคราว 2 อตั รา เป็นผู้ชว่ ยสนับสนนุ งานตามที่ได้รบั มอบหมาย ของเอกชนคู่สัญญา ตามสัญญาการ จาก นกั วิชาการขนส่ง 2 •อย่างไรก็ดี ในอนาคตเม่ือภาระงานมีเพิ่มมากข้ึน เสนอให้เพิ่ม ปฏิบัติงานและวัดผลการปฏิบัติงาน อัตรา นักวิชาการขนสง่ 5 เข้ามาเพื่อช่วยสนับสนุนและแบ่งเบา รให้บรกิ าร ภาระงานจาก นกั วชิ าการขนส่ง 2 อบแทนหรือค่าสัมปทาน หรือค่าจ้าง •ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มงานย่อยนี้ ควรมีความรู้ ประสบการณ์ รูปแบบการร่วมลงทุน) รวมถึงจัดทำ ความเชี่ยวชาญ หรือจบการศึกษาในด้านที่เก่ียวข้องกับ การ จัดการ การประเมินและประกันคุณภาพ กฎหมายและสัญญา ญหา สถานการณ์ และความเส่ียงที่ และการดำเนนิ งานของสถานขี นส่งสินค้า เปน็ สำคัญ สินค้าภายใต้การร่วมลงทุนฯ รายงาน ร้อมทงั้ แก้ปัญหาตา่ งๆ ในเบ้อื งต้น นกำกบั สญั ญารว่ มทนุ ฯ 10-60

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.4.4 ข้อสังเกตเก่ียวกับโครงสร้างองค์กรและการบริหารสถานีขนส่งสนิ คา้ นอกจากโครงสร้างการบริหารงานในส่วนสถานีขนส่งสินค้าดังท่ีกล่าวไปในหัวข้อ 10.4.1 ถึง 10.4.3 ท่ีปรึกษายังได้ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานของงานบริหารพื้นท่ีสถานีขนส่งสินค้าของ สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่ง เพ่ือนำไปสู่การหาแนวทางที่ สามารถดำเนินการเพิ่มเติมและจะช่วยพัฒนางานบริหารพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพ สงู ขึ้นได้ • ภารกิจหลักของงานบริหารสถานีขนส่งสินคา้ ภารกิจหลกั ของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าประกอบดว้ ย (1) งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบ และให้คำแนะนำผู้เข้าใช้บริการสถานี ให้ปฏิบัติตาม กฎระเบียบและประกาศของสถานีขนส่งสินค้า (2) งานควบคุม กำกับดแู ล ตรวจสอบความปลอดภยั และเวรรกั ษาการณ์ (3) งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการดำเนินงานการจ้างเหมาบริการ (4) งานควบคมุ กำกบั ดแู ล ตรวจสอบการใชส้ าธารณปู โภคและวเิ คราะหข์ ้อมูล (5) งานต้ังจุดตรวจ เช่น วัดแอลกอฮอล์ และ อุปกรณ์ล็อคตู้คอนเทนเนอร์ และการตั้งจุดตรวจ เพือ่ อำนวยความปลอดภัยในช่วงเทศกาล (6) งานศกึ ษาวเิ คราะห์ข้อมลู การเพ่ือนำมาวางแผนพฒั นาการบริหารจัดการ • กิจกรรมหลกั ของงานบริหารสถานขี นส่งสินค้า จากการสมั ภาษณ์เจา้ หน้าทท่ี ี่ปฏบิ ตั ิงานท่ีสถานีขนส่งสนิ ค้า ทำให้ทราบถึงบทบาทหน้าท่ีในการ ปฏิบัตงิ านจริง โดยพบวา่ ในภาพรวมลกั ษณะงานสว่ นใหญ่ท้ังของสถานีขนสง่ สินค้าพุทธมณฑล คลองหลวง และร่มเกล้า จะเป็นลักษณะเดียวกัน แตกต่างกันท่ีภาระงานที่เป็นไปตามสถาน ท่ตี ง้ั ของแต่ละสถานขี นส่งสนิ ค้า ทั้งนีส้ ามารถสรปุ ภาระงานทเ่ี กิดข้นึ ดงั นี้ (1) ควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบ และให้คำแนะนำผู้เข้าใช้บริการสถานีขนส่งสินค้าให้ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและประกาศของสถานีขนส่งสินค้า ทางสถานีขนส่งสินค้ามีการจัดชุดปฏิบัติงานชุดละ 2 - 3 คน ออกปฏิบัติงานเปน็ ประจำ ทกุ วนั โดยแบ่งพน้ื ที่ความรับผดิ ชอบของแตล่ ะชุด ซ่ึงมรี ายละเอยี ดงาน ดงั น้ี - ควบคุม กำกับ ตรวจสอบการใช้พ้ืนที่ของผู้ประกอบการให้เป็นไปตามบันทึกความ ตกลงการเชา่ พืน้ ทส่ี ถานขี นส่งสินคา้ - ตรวจตรายานพาหนะบรรทุกสินคา้ ที่เข้าใช้สถานีขนสง่ สินค้าใหป้ ฏิบัตติ ามกฎจราจร - กำกับ ดูแล ว่ากล่าวตักเตือนพนักงานขับรถท่ีเข้าใช้สถานีขนส่งสนิ คา้ ให้ปฏบิ ัติตาม ระเบียบของสถานีขนสง่ สนิ ค้าอยา่ งเคร่งครัด สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-61

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) - เฝา้ ระวัง การระงบั เหตอุ ันอาจเกิดจากผใู้ ชบ้ ริการสถานีขนสง่ สนิ คา้ และบุคคลภายนอก - ตรวจสอบเร่ืองการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามสุขอนามัย และความปลอดภัย ในการใช้พนื้ ทช่ี านชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินคา้ อาคารสำนักงาน อาคารทพี่ กั และ โรงอาหาร - ประสานงานให้คำแนะนำเก่ียวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความ รับผิดชอบแก่ผู้ประกอบการขนส่งสินค้าที่เช่าใช้พื้นท่ีสถานีขนส่งสินค้าและ หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง - ให้คำแนะนำกับผู้ประกอบการท่ีเช่าใช้พ้ืนท่ีในการขอปรับปรุง ดัดแปลง ต่อเติมสิ่ง ปลูกสร้างในพื้นท่ีของผู้ประกอบการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ทางกรมการขนส่ง ทางบกกำหนด - ให้บริการ การอำนวยความสะดวกด้านการใช้สถานีขนส่งสินค้า เพ่ือสร้างความ เข้าใจอันดใี นการปฏบิ ัติงานแก่ผ้ปู ระกอบการภายในสถานขี นส่งสินค้า (2) ควบคมุ กำกบั ดูแล ตรวจสอบความปลอดภัย และเวรรักษาการณ์ ทางสถานีขนส่งสินค้ามีการจัดชุดลาดตระเวน ประกอบด้วย พนักงานขับรถ 1 คน นกั วิชาการขนส่งหรอื เจ้าหน้าท่ขี นสง่ จำนวน 2 คน รวมทง้ั หมด 3 คน โดยมรี ายละเอยี ดงาน ดงั นี้ - ควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบความปลอดภัย และตรวจเวรยามรักษาการณ์ที่ ประจำจุดตรวจ ทั้งกลางวนั และกลางคืน อย่างน้อยวันละ 2 รอบ - สรุปผลการตรวจเวรรกั ษาการณ์ประจำวันและจัดทำใบรายงานการอยูเ่ วรรักษาการณ์ รวมถึงการบันทึกการสบั เปลี่ยนเวรยามประจำวัน เพือ่ เสนอผบู้ งั คบั บัญชาทราบ (3) ควบคมุ กำกบั ดแู ล ตรวจสอบการดำเนินงานการจ้างเหมาบริการ สัญญาจ้างเหมาต่างๆ ภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ประกอบด้วย การจา้ งเหมาบริการรกั ษา ความสะอาด การจ้างเหมารกั ษาภูมทิ ัศน์ การจ้างเหมาปอ้ งกันกำจัดปลวก การจ้างเหมา กำจัดและขนสิ่งปฏิกูล การจ้างเหมาบริการรักษาความปลอดภัยฯ และงานจ้างเหมา ปรับปรุงซอ่ มแซมต่างๆ โดยทางสถานีขนส่งสินค้ามีการจัดชุดปฏิบัติงาน ในการควบคุม ผู้รบั จา้ งเหมาบริการในสัญญาจ้างเหมาตา่ งๆ ซ่ึงมรี ายละเอยี ดงาน ดังนี้ - กำกบั ดูแล ตรวจสอบการดำเนินงานของผ้รู ับจา้ ง - ประชาสัมพันธ์ ประสานงานระหว่างผู้รับจ้างกับผู้ใช้พื้นที่สถานีขนสง่ สินค้า เพ่อื ให้ ผู้รบั จ้างดำเนินการตามเงอื่ นไขทรี่ ะบุในสญั ญาจ้างฯ และเกดิ ความสะดวก ปลอดภยั - จัดทำรายงานการดำเนินงานของผู้รับจ้างเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อเสนอเป็นข้อมูล ประกอบการตรวจรบั งานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-62

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (4) ควบคมุ กำกบั ดูแล ตรวจสอบการใช้สาธารณปู โภคและวเิ คราะหข์ ้อมูล สถานีขนส่งสินค้าฯ ได้จัดทำแผนมาตรการประหยัดค่าสาธารณูปโภค โดยมุ่งเน้นมาตรการ ประหยัด ลดใช้ไฟฟ้า ประปา และน้ำมันเชื้อเพลิงเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งมี รายละเอยี ดงาน ดังน้ี - ควบคุม กำกับ ตรวจสอบ การใช้สาธารณูปโภคของผู้ประกอบการท่ีเข้าใช้พื้นที่ สถานีขนส่งสินค้า ให้ตระหนักถึงความสำคัญและช่วยกันปฏิบัติตามมาตรการการ ประหยดั โดยเคร่งครดั - รวบรวมข้อมูล สถิติปริมาณการใช้ไฟฟ้า สถิติปริมาณการใช้น้ำประปา ทั้งในส่วน ของผู้ประกอบการและในส่วนของสถานีขนส่งสนิ ค้า สถิติการใช้น้ำมนั เช้ือเพลิงของ รถยนต์ที่ใช้ในราชการของทางสถานีขนส่งสินค้า เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ปริมาณ การใช้ไฟฟ้า ประปา และน้ำมันเชื้อเพลิงให้เป็นไปตามนโยบายการประหยัด พลงั งาน - จัดทำรายงานผลตามมาตรการประหยัดค่าสาธารณปู โภคของทางสถานีขนสง่ สนิ ค้า เพอ่ื เสนอผบู้ ังคับบญั ชา - ประสานงานกับหน่วยงานภายใน หน่วยงานภายนอก อาทิ การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมภิ าคองคก์ ารโทรศพั ท์ เปน็ ต้น เพือ่ ให้บริการและความช่วยเหลอื ในด้านสาธารณปู โภคของทางสถานขี นสง่ สนิ ค้า - ตอบปัญหา และชี้แจงเร่ืองต่าง ๆ เก่ียวกับงานสาธารณูปโภค เพื่อเสริมสร้างความ เข้าใจในการปฏิบตั ิงานแกผ่ ทู้ ่ีมีส่วนเกีย่ วข้อง (5) งานต้ังจุดตรวจ เช่น วัดแอลกอฮอล์ และ อุปกรณ์ล็อคตู้คอนเทนเนอร์ และการต้ังจุด ตรวจเพื่ออำนวยความปลอดภัยในช่วงเทศกาล ทำการตรวจสอบตามแผนอำนวยความสะดวกและปลอดภัยในการคมนาคมขนส่ง ของ กระทรวงคมนาคม ด้านความปลอดภัย (Safety) มาตรการด้านการบริหารจัดการผู้ขับขี่ ผู้โดยสารปลอดภัย โดยการตรวจวัดแอลกอฮอล์พนักงานขับรถบรรทุกท่ีเข้าใช้สถานี ขนส่งสินค้า ซ่ึงกำหนดไว้สัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวม 8 คร้ังต่อเดือน โดยระยะเวลาในการ ตรวจแต่ละครั้งจะใชเ้ วลาประมาณ 4 ชั่วโมง ทางสถานีขนส่งสินคา้ มีการจดั ชุดปฏิบัติงาน เพ่ือจัดตั้งจุดตรวจ ประกอบด้วย ข้าราชการ จำนวน 2 คน ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะผู้ตรวจ การณ์ขนสง่ นกั วิชาการขนส่ง เจา้ หน้าท่ขี นสง่ และพนกั งานขับรถ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นฐานะ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จำนวน 7 คน ร่วมท้ังหมด 9 คน โดยมีรายละเอียดงาน ดงั น้ี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-63

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - ติดต้ังอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัย (กรวยยาง แผงก้ัน ป้ายหยุดตรวจ และ จัดเตรยี มตรวจวัดระดบั แอลกอฮอล)์ - เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานตรวจการณ์ จะต้องร่วมปฏิบัติงานด้านการตรวจตรา ว่ากล่าว ตักเตือน และชว่ ยดำเนินการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขนสง่ - ตรวจสอบตัวรถบรรทุกและอุปกรณ์ส่วนควบ การตรวจสอบใบอนุญาตขับรถของ พนกั งานขับรถ การตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ของพนักงานขบั รถโดยเครื่องวัดแบบเป่า - ตรวจอุปกรณ์ล็อคคอนเทนเนอร์ว่าล็อคครบทุกจุดหรือไม่หากพบว่าไม่ล็อคหรือ อุปกรณ์ล็อคชำรุดจะแจ้งพนักงานขับรถให้ทำการแกไ้ ข พร้อมจดบันทึกใบอนุญาต ขับรถเพื่อเก็บเป็นข้อมูลในการเข้าใช้สถานีขนส่งสินค้า และทำรายงานเสนอส่วน สถานีขนส่งสินค้าต่อไป- การตั้งจุดตรวจเพ่ืออำนวยความปลอดภัยในช่วงเทศกาล ตามนโยบายรัฐบาล เช่น เทศกาล ปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ เป็นต้น เพ่ือส่งเสริม สวัสดิภาพการขนสง่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการใช้รถใชถ้ นนและการขนส่งสินคา้ (6) งานศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการใชส้ ถานี เพอ่ื นำมาวางแผนพัฒนาการบริหารจดั การ - บันทึกสถิติ ข้อมูลการดำเนินงานต่างๆ ของสถานีขนส่งสินค้า อาทิ จำนวนรถท่ี เข้า-ออกสถานีท้ังหมด ประเภทรถที่เข้า-ออก จำนวนรถบรรทุกท่ีเข้า-ออกสถานี ขนส่งสินค้า ปริมาณการขนถ่ายสินค้าท้ังหมดผ่านสถานีขนส่งสินค้า ชนิดของ สนิ คา้ ทข่ี นส่ง เป็นตน้ - การให้การประสานงานขอความร่วมมือ การให้คำแนะนำกับผู้ประกอบการในการ บันทึกข้อมูลสถิติต่างๆ เพ่ือนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ปัญหาและช่วยให้ผู้บริหารมี เครื่องมือในการตัดสินใจเพื่อวางแผนและกำหนดนโยบายในการบริหารจัดการ สถานขี นสง่ สนิ ค้า เพ่ือนำมาพฒั นาเพิ่มประสทิ ธิภาพของสถานขี นสง่ สนิ ค้า จากการพิจารณาลักษณะงานของสถานีขนสง่ สินค้าข้างต้น พบวา่ จะสามารถแบ่งรูปแบบงานได้ ออกเป็น 2 กล่มุ คอื งานปฏบิ ตั ิการ และงานกำกบั ดูแลและวางแผน โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ (1) งานปฏิบัตกิ าร จากการพิจารณารายละเอียดลักษณะงาน พบว่าจะมี 3 งานหลักที่ต้องมีการจัดชุด ปฏิบัติการและลงพ้ืนท่ีเพ่ือดำเนินงานในการควบคุม กำกับดูแล และตรวจสอบ ซ่ึงเมื่อ เป็นงานด้านปฏิบัติการลงพ้ืนที่ ทางสถานีขนส่งสินค้าจึงได้กำหนดรายละเอียดด้าน กำลังคนในแต่ละชุดปฏิบัตกิ าร โดยสรุปมรี ายละเอียด ดังตารางที่ 10.4-3 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-64

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 10.4-3 รายละเอียดดา้ นกำลงั คน/ชุดปฏิบัตกิ ารของงานดา้ นปฏิบตั กิ าร งานด้านปฏบิ ัตกิ าร รายละเอียดดา้ นกำลังคน/ชุดปฏบิ ัติการ ควบคมุ กำกับดูแล ตรวจสอบ และ มีการจัดชุดปฏบิ ตั งิ านชุดละ 2 - 3 คน ออกปฏิบัติงานเปน็ ให้คำแนะนำผเู้ ขา้ ใช้บริการสถานี ประจำทกุ วนั ขนสง่ สนิ คา้ ใหป้ ฏิบตั ติ าม กฎระเบียบ ประกาศ ของสถานี ขนสง่ สินค้า ควบคมุ กำกบั ดูแล ตรวจสอบความ มกี ารจดั ชุดลาดตระเวน ทัง้ หมด 3 คน ประกอบด้วย - - ปลอดภัย และเวรรักษาการณ์ พนักงานขบั รถ 1 คน ภายในสถานขี นส่งสินคา้ - นักวชิ าการขนสง่ หรอื เจา้ หน้าทข่ี นสง่ จำนวน 2 คน ตั้งจดุ ตรวจวัดแอลกอฮอลแ์ ละ สัปดาหล์ ะ 2 คร้ัง รวม 8 ครง้ั ตอ่ เดือน และมีการจัดชดุ อุปกรณล์ ็อคตู้คอนเทนเนอร์ ปฏิบัตงิ าน ทง้ั หมด 9 คน เพอื่ จดั ต้งั จุดตรวจ ประกอบดว้ ย (TWIST LOCK) ของผูเ้ ข้าใชส้ ถานี - ขา้ ราชการ จำนวน 2 คน (ปฏิบัติหนา้ ท่ใี นฐานะผตู้ รวจ ขนส่งสินคา้ และการตั้งจุดตรวจเพือ่ การณข์ นส่ง) อำนวยความปลอดภยั ในชว่ ง - นักวิชาการขนสง่ เจ้าหน้าทีข่ นสง่ และพนกั งานขบั รถ เทศกาล จำนวน 7 คน (ปฏิบัติหนา้ ท่ีในฐานะผชู้ ว่ ยเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายว่าด้วยการขนสง่ ทางบก) จากตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่าใน 3 ลักษณะงานนี้จำเป็นต้องมีการจัดตารางเวลาและ บุคลากรในตำแหน่งต่าง ๆ ของสถานีขนส่งสินค้า เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งใน ช่วงเวลากลางวันและเวลากลางคืน ซ่ึงจากการลงพ้ืนที่พบว่า ในสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง จะมีอัตรากำลังแต่ละแห่งอยู่ท่ี 9 คน เป็นข้าราชการ 2 คน และลูกจ้างช่ัวคราว 7 คน ดังนั้น จำนวนอัตรากำลังอาจไม่สมดุลกับภาระงานหรือลักษณะงานเท่าท่ีควร ทั้งนี้ ภายใตง้ านด้านปฏิบัติการอาจมีงานบางส่วนที่จะต้องดำเนินการในเรื่องของเอกสารหรือ การกำกับดูแลด้วยเช่นกัน เช่น การจัดทำสรุปรายงานการอยู่เวรรักษาการณ์ รายงาน การต้งั จุดตรวจตา่ ง ๆ เป็นต้น (2) งานกำกบั ดแู ลและวางแผน จากการพิจารณารายละเอียดของลักษณะงานพบว่ามี 3 งานหลักที่มีรูปแบบเป็นงาน ดา้ นการกำกบั ดูแล วางแผน และเอกสารต่างๆ ดังน้ี - ควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการดำเนินงานการจ้างเหมาบริการ ให้เป็นไปตาม เง่อื นไขตามสญั ญาจา้ งฯ - ควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการใช้สาธารณูปโภคภายในสถานีขนส่งสินค้า และ วเิ คราะห์ขอ้ มูลสาธารณปู โภคของสถานีขนส่งสินคา้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-65

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) - ศึกษา วิเคราะหข์ อ้ มูลการใช้สถานีขนส่งสินคา้ เพอ่ื นำมาวางแผนพฒั นาการบรหิ าร จัดการสถานีขนสง่ สินคา้ ภายใต้ภารกิจทั้ง 6 ข้อท่ีกล่าวมา สามารถสรุปเป็นกิจกรรมหลักท่ีสำคัญและจะต้องมีการ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำประกอบดว้ ย (1) ควบคมุ และกำกับดูแลผูเ้ ข้าใชบ้ ริการสถานีฯให้ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ประกาศ (2) ตรวจสอบและดูแลบันทึกความตกลงการใช้พื้นที่ (3) จัดทำใบแจง้ หน้ีและเร่งรัดติดตามการชำระคา่ ใช้บริการพ้นื ท่ีและค่าสาธารณูปโภค (4) จัดทำใบเสร็จรับเงนิ ค่าใชบ้ ริการต่าง ๆ (5) ควบคุมและกำกับดูแลการจ้างเหมาบริการ (6) กำกบั ดูแลและตรวจสอบความปลอดภยั และเวรรักษาการณ์ภายในสถานี (7) ควบคุมดูแลและตรวจสอบระบบควบคุมประตูอัตโนมตั ิ (GCS - Gate Control System) (8) ต้งั จุดตรวจวัดแอลกอฮอล/์ อุปกรณ์ล็อคตู้คอนเทนเนอร์ (9) จดั ทําบญั ชวี สั ดุ-ครภุ ัณฑ์ของสถานีขนส่งสินค้า (10) งานซ่อมแซมและบาํ รุงรักษาอาคารภายในสถานีขนส่งสนิ ค้า (11) วิเคราะห์ข้อมูล (ความพึงพอใจของผู้ทเี่ ข้าใช้สถานี งานดา้ นพลงั งานและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ) (12) จดั ทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตา่ ง ๆ (สรุปบญั ชีรายรับประจำวัน/สัปดาห์ รายงานการ ใช้ใบเสร็จ รายงานการใชพ้ ้ืนท่ี และรายงานจำนวนรถท่ีเข้ามาขนถ่ายสินค้า ฯลฯ) (13) ชี้แจง เจรจา และแกไ้ ขปัญหา (14) ให้คำชีแ้ จงเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบท่เี กี่ยวข้องกับสถานฯี (15) ประชาสมั พันธข์ ้อมูล/ข่าวสารของสถานีขนส่งสนิ ค้า • โครงสร้างอัตรกำลังของงานบริหารสถานขี นส่งสินค้า สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่งมีจำนวนบุคลากรประจำเป็น จำนวน 9 อัตราเทา่ กัน โดยแบ่งเป็นขา้ ราชการ 2 อตั ราและลูกจ้าง 7 อตั รา ดังน้ี o ขา้ ราชการ จำนวน 2 อัตรา ประกอบด้วย - หัวหน้างาน (อัตรา นักวชิ าการขนสง่ ชำนาญการ (ชก.)) - เจ้าพนกั งานขนส่ง (อัตรา นกั วชิ าการขนสง่ ปฏบิ ัติงาน/ชำนาญงาน (ปง./ชง.)) o ลกู จา้ งช่วั คราวเงนิ นอกงบประมาณ จำนวน 7 อัตรา ประกอบด้วย - นกั จดั การงานท่ัวไป 1 (อัตรา นกั วชิ าการขนส่ง Type 1) - นกั จัดการงานทัว่ ไป 2 (อตั รา นกั วิชาการขนส่ง Type 2) - เจา้ หน้าทีข่ นส่ง 1 (อตั รา เจ้าหนา้ ทขี่ นสง่ Type 1) - เจ้าหน้าท่ีขนส่ง 2 (อัตรา เจา้ หน้าทข่ี นสง่ Type 1) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-66

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - เจา้ หนา้ ที่ขนส่ง 3 (อตั รา เจา้ หนา้ ท่ีขนสง่ Type 2) - เจ้าหนา้ ทขี่ นสง่ 4 (อัตรา เจ้าหนา้ ทข่ี นส่ง Type 2) - พนกั งานขบั รถ • โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้า แม้ในส่วนของโครงสร้างอัตรากำลังจะแสดงให้เห็นว่าภายในสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งมี โครงสร้างลำดับชั้นของการบังคับบัญชาลงไปจนถึงระดับของลูกจ้างช่ัวคราวเงินนอกงบประมาณที่ มีอัตราแตกต่างกันไปถงึ 4 ประเภทอัตรา อย่างไรก็ดีจากการสัมภาษณ์หัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงาน ภายในสถานีขนสง่ สินค้าทั้ง 3 แหง่ พบข้อสังเกตทีส่ ำคัญดังน้ี - ในการบริหารงานสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง โดยส่วนใหญ่การกำหนดภาระงานให้แก่ ผู้ปฏิบัติงานจะเป็นการกำหนดโดยตรงจากหัวหน้างาน (ในฐานะหัวหน้าสถานีฯ) หรือเจ้า พนกั งานขนส่ง (ในฐานรองหวั หน้าสถานีฯ) โครงสร้างดงั แสดงในรปู ท่ี 10.4-8 - บุคลากรในอัตราจ้างตำแหน่งเดียวกันท่ีปฏิบัติงานอยู่ในสถานีขนส่งสินค้าคนละแห่งจะ ได้รับการกำหนดภาระงานที่แตกต่างกนั ไป - รายการภาระงานซ่ึงกำหนดไว้ในแต่ละอัตราซึ่งแสดงในแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description: JD) มีลักษณะเป็นการกำหนดกรอบกว้างๆ ครอบคลุมกิจกรรมส่วนใหญ่ของ สถานีขนส่งสินค้าไว้เท่าน้ัน หมายความว่าไม่มีการกำหนดภาระงานที่ชัดเจนสำหรับแต่ละ ตำแหนง่ หรืออัตรา - จากการหารือกับผู้ปฏิบัติงานพบว่าการกำหนดโครงสร้างการบริหารงานและภาระงาน สำหรับแต่ละอัตราให้มีความชัดเจนและคาดหวังว่าจะสามารถบังคับใช้ได้จริงกับทุกสถานี ขนส่งสินค้าเป็นส่ิงที่เป็นไปได้ค่อนข้างยาก เน่ืองจากบริบทของสถานีขนส่งสินค้าแต่ละ แห่งมคี วามแตกตา่ งกันไป รปู ที่ 10.4-8 ลกั ษณะของโครงสร้างการบริหารงานของงานบริหารสถานีขนส่งสนิ ค้าในปัจจบุ ัน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-67

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • แนวคิดการกำหนดโครงสรา้ งการบริหารงานและภาระงานของแตล่ ะบุคคลให้ชัดเจน เพ่ือสอบทานแนวคิดและความเป็นไปได้ในการกำหนดโครงสร้างการบริหารงานและภาระงาน ภายในสถานีขนส่งสินค้าให้มีความชัดเจน ท่ีปรึกษาได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ขึน้ เพ่ือแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นจากหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานภายในสถานีขนส่งสินค้า โดยต้ังกรอบคำถามวิจัยไว้ 2 ประเด็นซ่ึงมีความสืบเน่ืองกัน ได้แก่ (1) หากมีการเสนอแนวทางการ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานให้มีความชัดเจน บุคลากรแต่ละอัตรามีภาระงานที่ชัดเจน ตรวจวัดได้ ตรวจสอบได้ ผู้ปฏิบัติงานจะมีความคิดเห็นอย่างไร และ (2) การจัดทำคู่มือการ ปฏิบัติงานสำหรับแต่ละอัตราจะมีประโยชน์ต่อสถานีขนส่งสินค้ามากน้อยเพียงใด โดยที่ปรึกษาได้ ทำตวั อยา่ ง (Mock-Up) ของโครงสร้างการบรหิ ารงานท่ีเปน็ ไปได้ 2 กรณเี พือ่ นำเสนอต่อผู้ปฏบิ ัติงาน ในสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง ประกอบด้วย กรณีที่ 1 แบ่งภาระงานบางรายการตามพื้นที่และ บางรายการให้มีความเฉพาะสำหรับแต่ละบุคคล ดังแสดงในรูปท่ี 10.4-9 และกรณีท่ี 2 แบ่ง ภาระงานทชี่ ัดเจนตามแต่ละอัตราและกำหนดภาระงานใน JD ให้ชดั เจน ดังแสดงใน รปู ที่ 10.4-10 รปู ท่ี 10.4-9 ตัวอยา่ งโครงสร้างการบริหารงานสถานขี นส่งสนิ คา้ ในกรณีที่ 1 แบ่งภาระงานบางรายการตามพ้นื ที่และบางรายการให้มีความเฉพาะสำหรบั แตล่ ะบุคคล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-68

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รูปที่ 10.4-10 ตัวอยา่ งโครงสร้างการบริหารงานสถานขี นส่งสินคา้ ในกรณที ี่ 2 แบ่งภาระงานทีช่ ัดเจนตามแต่ละอัตราและกำหนดภาระงานใน JD ให้ชัดเจน จากการหารือแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นจากหัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานภายในสถานี ขนส่งสินค้าต่อประเด็นคำถามท้ัง 2 ข้อ และตัวอย่างโครงสร้างการบริหารงานสถานีขนส่งสินค้า ที่ยกมา รูปที่ 10.4-9 และ รูปท่ี 10.4-10 ท่ีปรึกษายังคงได้รับความเห็นและคำตอบจากบุคลากร ของสถานขี นส่งสินค้าในทิศทางเดิมโดยสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งมีความเห็นตรงกันวา่ บริบทของ สถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก แต่ละสถานีจึงมีแนวปฏิบัติในการ บริหารงานบุคคลและการมอบหมายงานที่แตกต่างกันจึงเป็นการยากในการกำหนดโครงสร้างการ บริหารงานให้เป็นไปในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ซ่ึงในประเด็นนี้ยังรวมไปถึงการกำหนด JD ของ บุคลากรซ่ึงจำเป็นจำต้องมีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์ การกำหนด JD ของแต่ละบุคคลเป็นราย ตำแหน่งจึงอาจไม่เป็นประโยชน์เท่าที่ควร • สรปุ ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารงานภายในสถานขี นส่งสินคา้ จากผลการหารือและรับฟังความคิดเห็นบุคลากรผู้ปฏิบัติงานภายในสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 3 แห่ง สามารถสรุปประเด็นสำคัญรวมถึงจัดทำเป็นชุดข้อเสนอแนะได้ต่อไปดังนี้ o ประเดน็ ข้อสงั เกตที่สำคัญ ประกอบด้วย - ด้วยบริบทท่ีแตกต่าง แต่ละสถานีจึงมีแนวปฏิบัติในการบริหารงานบุคคลและการ มอบหมายงานที่แตกตา่ งกัน - ความร้คู วามเชีย่ วชาญและวธิ กี ารดำเนนิ งาน เปน็ องค์ความรู้เฉพาะตัวของผู้ปฏบิ ัติงาน - งานบางประเภทสามารถให้บุคคลใดบุคคลหน่ึงดำเนินการได้ (ภารกิจเฉพาะตำแหน่ง) ขณะทงี่ านบางประเภทจำเป็นจะต้องดำเนินการรว่ มกัน (ภารกจิ ร่วม) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-69

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) - การมอบหมายงานจงึ เป็นศาสตร์และศิลป์ของหวั หน้าสถานี - การถ่ายถอดองค์ความรู้ระหว่างรนุ่ ส่รู ุ่นเป็นส่งิ สำคัญ - แนวโนม้ ภาระงานดา้ นโยธาและการซ่อมบำรุงจะเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต - ปัญหาและความต้องการท่ีเหมือนกันในทุกสถานี ได้แก่ การสร้างความก้าวหน้าและความ มัน่ คงในอาชีพการงานให้แก่ลูกจา้ ง o ข้อเสนอแนะสำหรบั การพฒั นางานบริหารสถานขี นส่งสนิ คา้ ประกอบดว้ ย (1) การกำหนดโครงสร้างการบริหารงานท่ีชัดเจน อาจไม่เหมาะสมกับบริบทของสถานีขนส่ง สินค้าแต่ละแห่ง อย่างไรก็ดีการกำหนดโครงสร้างการบริหารงาน ภาระงาน และปริมาณ งานท่ีชัดเจน จะเป็นประโยชน์อย่างย่ิงในการกำหนดจำนวนอัตราบุคลากรท่ีเหมาะสมและ รวมถงึ การขออัตราบุคลากรเพิ่มอีกดว้ ย (2) การสร้างคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) สำหรับแต่ละกิจกรรมหลักภายในสถานี น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน โดยคู่มือการปฏิบัติการของบุคลากรภาน ในสถานีขนส่งสินค้าจะต้องมีความสอดคล้องต่อเน่ืองกับคู่มือการปฏิบัติงานซึ่งส่วนสถานี ขนสง่ สินคา้ มีการจดั ทำไว้แล้ว (3) การสร้างระบบ เคร่ืองมือ หรือ วิธีการ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเชี่ยวชาญและวิธีการ ดำเนินงาน ให้เกิดเป็นองค์ความรู้ของสถานี จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานสถานี ขนส่งสนิ คา้ และการพัฒนาบุคลากรในระยะยาว (4) การสร้างความก้าวหน้าและความมั่นคงในอาชีพการงานให้แก่ลูกจ้างเป็นความท้าทายที่ สำคัญ และจำเป็นจะต้องไดร้ ับการพิจารณา อย่างไรก็ดีข้อจำกัดท่ีสำคัญได้แก่ระเบียบทาง ราชการวา่ ด้วยเรื่องของอัตรากำลังในปัจจุบัน • การประเมินโครงสร้างบรหิ ารงานและภาระงานบริหารสถานีขนส่งสินค้า แม้ว่าการกำหนดโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งอาจไม่สามารถทำให้ เหมาะสมกับบริบทของสถานีขนส่งสินคา้ ทุกแห่งได้ อยา่ งไรก็ดีการกำหนดโครงสรา้ งการบริหารงาน ภาระงาน และปริมาณงานที่ชัดเจน จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการกำหนดจำนวนอัตราบุคลากรที่ เหมาะสมและรวมถึงการขออัตราบุคลากรเพิ่มอีกด้วย ที่ปรึกษาได้จัดทำโครงสร้างการบริหารงาน และประเมินภาระงานเพ่ือตรวจสอบว่าปริมาณงานท่ีมีในปัจจุบันของสถานีขนส่งสินค้าเทียบกับ จำนวนบคุ ลากรทีม่ ีเป็นอย่างไร จากการพิจารณารูปแบบลักษณะงานของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้า พบว่าในภาพรวมจะ สามารถแบ่งงานออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ งานด้านปฏิบัติการ และงานด้านสำนักงาน โดย งานด้านปฏิบัติการจะเป็นงานที่ต้องมีการลงตรวจสอบพื้นที่ จัดเก็บข้อมูล ดูแลความเรียบร้อย ปลอดภยั และการตัง้ จุดตรวจต่าง ๆ เป็นต้น และในส่วนงานดา้ นสำนักงานเป็นงานท่ีเกี่ยวข้อง กับธุรการสารบรรณ งานจัดทำและกำกับบันทึกความตกลง งานพัสดุครุภัณฑ์ และงานบันทึก สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-70

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) จัดทำรายงานต่าง ๆ เป็นต้น โดยในการแบ่งงานตามลักษณะงานจะทำให้ภายในแต่ละสถานีฯ มกี ารกำหนดบทบาทหน้าที่และภาระงานของแต่ละตำแหน่งที่ชัดเจน ซึ่งงานด้านปฏิบัติการจะ มอี ัตราบคุ ลากรท่ีมากกว่าตามความเหมาะสมของภาระงาน ดังแสดงในรปู ที่ 10.4-11 รปู ที่ 10.4-11 โครงสร้างอตั รากำลัง เม่ือพจิ ารณารายละเอยี ดของภาระงานและกจิ กรรมงานในแต่ละกล่อง สามารถสรปุ ได้ดังน้ี o งานปฏิบตั ิการ - ควบคุมกำกับดูแลการใช้อาคารของผู้เช่าให้เป็นไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์การใช้ งานสถานี - ควบคมุ กำกับดแู ลการใช้สาธารณูปโภค ให้เป็นไปตามนโยบายประหยัดพลงั งาน - ควบคุมกำกบั ดแู ลและตรวจสอบความปลอดภยั และเวรรักษาการณ์ภายในสถานี - ควบคมุ กำกับดูแลการจ้างเหมาบรกิ ารอ่ืนๆ เช่น การทำความสะอาด การกำจัดปลวก - ตรวจสอบอาคารสาธารณูปโภค และกำกับงานซ่อมแซมและบํารงุ รกั ษาอาคารสถานท่ี ภายในสถานีขนส่งสินคา้ - ควบคุมดแู ลและตรวจสอบการทำงานของระบบเทคโนโลยีตา่ งๆ เชน่ GCS / CCTV - ตดิ ตอ่ ประสานงานโดยตรงกับผู้เชา่ - ช้ีแจง เจรจา และแก้ไขปญั หา ทเี่ กดิ ข้นึ ภายในสถานี - ตดิ ตามเร่งรัดการชำระคา่ บรกิ าร - วิเคราะห์ข้อมูลและแนวโน้มจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ภายในสถานีเพ่ือนำไปสู่การ จัดทำข้อเสนอแนะรายงานตอ่ ไป - จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ การของสถานี (ในส่วนที่เก่ียวขอ้ ง) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-71


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook