Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:38:00

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 13.2-42 ตำแหน่ง และลักษณะการตดิ ตง้ั ป้ายแผนที่สงั เขป งานติดตั้งป้ายแสดงรายชื่อผูเ้ ช่าในแต่ละอาคาร ป้ายแสดงรายชื่อผู้เช่าในแต่ละอาคาร ซึ่งทางสถานีขนส่งสินค้าต้องการให้แสดงป้าย ในรูปแบบป้ายบิลบอร์ดนั้น ที่ปรึกษามีความเห็นว่าอาจมีความยุ่งยากในทางปฏิบัติ เน่ืองจากด้วยจำนวนผเู้ ช่าสถานขี นส่งสินคา้ มจี ำนวนคอ่ นขา้ งมาก และเปล่ยี นแปลงผเู้ ช่า บ่อยครั้ง ดังนั้น ที่ปรึกษาจึงขอเสนอแนะว่า ถ้าหากผู้เข้ามาใช้บริการต้องการสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ประกอบการ ควรไปติดต่อสอบถามที่อาคารสำนักงาน (ในป้ายแผนที่ สังเขปได้มีการระบุไว้แล้ว) ซึ่งเป็นแนวทางที่ไม่ยุ่งยากและช่วยลดภาระงานให้กับ เจ้าหน้าท่ไี ด้ งานติดตัง้ ปา้ ยตัวเลขชานชาลาขนาดใหญบ่ ริเวณหวั ชานทง้ั 2 ด้าน การติดตั้งป้ายตัวเลขชานชาลาขนาดใหญ่บริเวณหัวชานทั้ง 2 ด้านของอาคาร เป็นอีก หนึ่งแนวทางเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้มาใช้บริการสถานีขนส่งสินค้า โดย ขนาดป้ายตัวเลขที่ติดตั้งจะมีความสูง 1.50 เมตร ซึ่งเป็นความสูงที่เหมาะสม สามารถ มองเห็นได้อย่างชัดเจนจากระยะไกล ช่วยให้ผู้ที่เข้ามาใช้บริการภายในสถานีสามารถ เดินทางไปยงั ชานชาลาท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยตำแหน่งทตี่ ิดตัง้ ป้ายตวั เลขดงั แสดง ในรูปที่ 13.2-43 งานติดต้ังป้ายชือ่ ผเู้ ชา่ อาคารบรเิ วณหวั ชาน เพอ่ื ช่วยประชาสัมพนั ธแ์ ละช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้ท่ีเข้ามาตดิ ต่อกับบรษิ ัทตา่ งๆ ท่ี เช่าพื้นที่อาคารชานชาลา ซึ่งป้ายรายชื่อผู้เช่าจะติดตั้งไว้บริเวณหัวชานเพียงด้านเดียว โดยจะตดิ ตัง้ บริเวณดา้ นซา้ ยและดา้ นขวาของปา้ ยตัวเลขชานชาลา ป้ายชื่อผู้เช่าจะใช้ตัวอักษรซิ้งค์ทำสี ขนาดความสูง 20 เซนติเมตร โดยจากฐานข้อมูล การเช่าพื้นที่อาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้าทั้ง 10 อาคารของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มรี ายละเอยี ดของผเู้ ช่า ดังน้ี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-54

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • ชานชาลาขนถ่ายสินคา้ ที่ 1 1. บริษทั รวมถาวรขนสง่ จำกดั (D101,D116) • ชานชาลาขนถ่ายสินค้าท่ี 2 1. บรษิ ทั บลแู อนดไ์ วท์ โปรเฟสชันแนล โลจิสตกิ ส์ จำกดั (D201,D213) 2. บรษิ ทั เจา้ คุณดีเซล แอนด์ ทรานส์ จำกัด (D214,D216) • ชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้าที่ 3 1. บริษัท จมิ กลอรี่ อนิ เตอร์เนช่นั แนล จำกัด (D310) 2. ห้างห้นุ ส่วนจำกัด ราชบวร อินเตอรเ์ นชนั่ แนล 1996 (D301-D308) 3. บรษิ ทั น่มิ ซเี่ ส็งขนส่ง 1988 จำกัด (D311-D316) • ชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้าที่ 4 1. บรษิ ัท ทรานส์ โลจิสติกส์ จำกดั (D401-D416) • ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ ที่ 5 1. บรษิ ัท บลแู อนด์ไวท์ โปรเฟสชันแนล โลจสิ ติกส์ จำกดั (D501-D508) 2. บริษทั ทรานส์ โลจิสตกิ ส์ จำกดั (D509,D510) • ชานชาลาขนถา่ ยสินคา้ ที่ 6 1. บริษทั ไทยคชสาร โลจิสตกิ ส์ เซอรว์ ิส จำกัด (D601, D602) • ชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ ท่ี 7 1. บริษัท การ์เดี้ยน อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกดั (D709-D716) 2. บริษัท เอสเอสเค อินเตอร์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั (D708) 3. บริษัท ไดนามคิ ลอจสิ ตกิ ส์ จำกดั (D701, D702) 4. บริษัท นทิ ซู โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (D707) • ชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้าที่ 8 1. บรษิ ัท บีเอส อนิ เตอร์ บิสิเนส จำกดั (D801-D816) • ชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้าท่ี 9 1. บริษัท แนฟ-โปร โลจิสตกิ ส์ จำกดั (D908-D916) 2. บรษิ ัท อาร์ ที เอน็ โลจิสติคส์ จำกัด (D901-D907) • ชานชาลาขนถ่ายสินค้าที่ 10 1. บรษิ ทั เยนเนรัล สตารช์ จำกดั (D1001-D1006) รูปแบบการติดตั้งป้ายตัวเลขชานชาลา และป้ายชื่อผู้เช่า ดังแสดงในรูปที่ 13.2-43 อย่างไรก็ตาม การติดป้ายชื่อผู้เช่า (หรือสัญลักษณ์บริษัท) จะมีประเด็นค่าใช้จ่ายเรื่อง ภาษปี ้ายเข้ามาเกย่ี วข้องได้ และอาจมีภาระงานให้กับเจา้ หน้าท่ีในกรณีผูเ้ ช่าหมดสัญญาเช่า หรือมีผ้เู ชา่ รายใหม่ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-55



รปู ที่ 13.2-43 แนวคดิ เบ้อื งตน้ ในการตดิ ตงั้ ปา้ ยตัวเลขชานชาลา สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาเพื่อเพมิ่ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) และปา้ ยช่ือบริษทั บรเิ วณหวั ชานชาลา ของสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า 13-56

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) งานตดิ ตง้ั เนินชะลอความเรว็ (Speed Hump) จากการสำรวจเบื้องต้น พบว่า ภายในสถานีมีเนินชะลอความเร็วติดตั้งไว้แล้วหลายจุด ดังรูปที่ 13.2-44 และมีตำแหน่งที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ที่ปรึกษาเห็นว่ายังมีบางจุด ที่เนินชะลอความเร็วติดตั้งใกล้กันเกินไป ทำให้การสัญจรขาดความคล่องตัว ซึ่งตาม มาตรฐานการติดตั้งเนินชะลอความเร็วที่เหมาะสมควรมีระยะห่างประมาณ 80-120 เมตร (อ้างอิงจากกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย, 2556) โดยแนวคิดในการ จัดทำเนินชะลอความเร็ว และตำแหนง่ ตดิ ต้งั ทเ่ี หมาะสม ดงั แสดงในรปู ที่ 13.2-30 รปู ท่ี 13.2-44 ตำแหน่งและรปู แบบเนินชะลอความเร็ว (Speed Hump) ในปจั จบุ ัน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-57

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 13.2-45 ตำแหนง่ และรปู แบบเนนิ ชะลอความเรว็ (Speed Hump) ทเ่ี สนอแนะ โดยมีรายละเอียดของแผนงบประมาณในการดำเนินการบริหาร จัดการจราจรของสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกลา้ ดังแสดงในตารางที่ 13.2-3 และในส่วนของแบบรายละเอียด ปริมาณงานบริหาร จัดการดา้ นจราจรของสถานีขนสง่ สนิ ค้าไดแ้ สดงไวใ้ นภาคผนวก ซ ตารางท่ี 13.2-3 แผนการบริหารจดั การการจราจรของสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปที ีด่ ำเนินการ (ลา้ นบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 1. กำหนดเส้นทางการจราจรภายในสถานีให้เหมาะสมกับพฤติกรรม - การใช้งานสถานีในปัจจุบัน 2. ปรบั ปรงุ ป้ายเคร่ืองหมายและสัญลกั ษณ์จราจร พร้อมทั้งขีดสีตีเส้น และจัดทำเคร่ืองหมายจราจรบนผิวทางภายในสถานี ให้อยู่ในสภาพ 0.959 พรอ้ มใช้งานและสอดคล้องกบั การเส้นทางจราจรท่กี ำหนด 3. ติดตั้งป้ายแผนที่สังเขปขนาดใหญ่แสดงข้อมูลตำแหน่งและ 0.608 หมายเลขอาคารภายในสถานี 4. ติดต้งั ป้ายตัวเลขชานชาลาขนาดใหญบ่ ริเวณหัวชานท้ัง 2 ด้าน 0.188 5. ติดต้ังปา้ ยรายชอ่ื ผู้เชา่ สถานีบริเวณหวั ชาน 0.265 6. งานติดต้งั เนินชะลอความเรว็ (Speed Hump) 0.350 7. จัดการประชุมหารือกบั ผเู้ กี่ยวขอ้ ง (ทล. รฟท. สนข. คค.) เพือ่ สรปุ แนวทางการบริหารจดั การจราจรบรเิ วณทางเขา้ ออกสถานี - โครงขา่ ยถนนโดยรอบ และแนวทางรวมถึงภาระงบประมาณใน การปรบั ปรุงผวิ จราจรสะพานและทางเข้าออกสถานี รวม 2.370 - 2.370 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-58

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 13.3 การบรหิ ารจัดการที่จอดรถและการจอดรถ จากการศกึ ษาการใชง้ านพ้ืนทีจ่ อดรถบรรทุกภายในสถานีขนส่งสินคา้ ทั้ง 3 แห่ง ในปัจจุบนั พบวา่ รถที่เข้ามาจอดพักในสถานี แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มมีวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ พฤติกรรมที่แตกต่างกันไป ได้แก่ (1) จอดเพอื่ รอรบั ส่งสินค้าจากชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ และคลังสินคา้ ภายในสถานีขนส่งสินค้า (2) จอดเพ่อื พกั และรอออกไปทำกจิ กรรมขนส่งภายนอกสถานีขนส่งสนิ คา้ (3) จอดทง้ิ ระยะยาวเน่อื งจากไม่ไดใ้ ช้งาน รอการซอ่ มบำรุง หรอื เลกิ ใชง้ าน โดยลักษณะและพฤติกรรมการใช้งานพื้นที่จอดรถของแต่ละการจอดรถแต่ละกลุ่ม รวมถึง ข้อสังเกตจากการศกึ ษาทีเ่ ก่ยี วเน่อื ง สรุปไวใ้ นตารางที่ 13.3-1 เพื่อให้การดำเนนิ การวางแผนการบริหารจัดการทีจ่ อดรถมีความสอดคล้องกบั สภาพปจั จุบันของ สถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง ที่ปรึกษาได้ทำการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ประกอบในการ วางแผน ซึ่งได้แก่ข้อมูล พื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ลักษณะการหมุนเวียน ของสินค้า จำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้พื้นที่สถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบัน ข้อมูลการเช่าใช้พื้นที่ ภายในสถานีของผู้ประกอบการ เป็นตน้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-59

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-1 ลักษณะและพฤติกรรมการใช้งานพ้ืนทจี่ อดรถ กล่มุ ที่ 1 กลุม่ ที่ 2 กลมุ่ ที่ 3 การจำแนกการใช้งาน จอดเพือ่ รอรบั สง่ สนิ ค้า จอดเพื่อพกั และ จอดทงิ้ ระยะยาว ทีจ่ อดรถบรรทุกภายใน จากชานและคลงั ภายใน รอออกไปทำกจิ กรรม เนือ่ งจากไมไ่ ด้ใช้งาน รอการซอ่ มบำรงุ หรอื สถานขี นสง่ สินคา้ สถานขี นสง่ สนิ คา้ ขนสง่ ภายนอก สถานขี นส่งสินคา้ เลิกใชง้ าน ลักษณะและพฤติกรรม • จอดไม่นาน • จอดโดยเฉลยี่ 1-3 วนั • จอดระยะยาว (เกิน การใช้งานทีพ่ บ (เฉลย่ี 1-3 ชม.) • มีทงั้ ในสว่ นของหัวลาก กว่า 1 สัปดาห)์ • ยกเว้นบางกรณีทมี่ ี หางพ่วง และตู้ • บางสว่ นเปน็ การจอด การจอดคา้ งคนื • เป็นกจิ กรรมเกีย่ วเนอ่ื ง ในชว่ งที่ไมม่ ีงาน • เปน็ กจิ กรรมเกยี่ วเน่อื ง กับการขนส่ง แตไ่ ม่ • บางส่วนเปน็ การจอด กับวัตถปุ ระสงค์หลัก สอดคลอ้ งกับ รอการซ่อมแซม ของการใชง้ านสถานี วัตถุประสงค์หลกั ของ • บางส่วนเป็นการจอด ขนส่งสินค้า การใชง้ านสถานขี นส่ง ทง้ิ (เลกิ ใชง้ าน) • ส่วนใหญจ่ ะเป็นการ สนิ ค้า • ถอื เป็นกจิ กรรมทไ่ี ม่ จอดเทียบอาคาร • พบมากในสถานขี นส่ง เก่ยี วเน่ืองกบั การ • มีบางส่วนเท่าน้นั ที่จะ สินคา้ รม่ เกลา้ (หาง ขนสง่ โดยตรง จอดในบรเิ วณลาน พ่วง/ต)ู้ และบางสว่ น จอดส่วนกลาง ในสถานขี นสง่ สินค้า คลองหลวง (ต)ู้ ข้อสงั เกต • เปน็ กจิ กรรมหลกั ของ • มุมมองในเชงิ บวก: ใน • ไมค่ วรอนญุ าตใหม้ ี สถานขี นส่งสินคา้ ตอ้ ง ฐานะภาครัฐ และมอง หรอื เกิดข้ึนภายใน อนุญาตใหด้ ำเนนิ การ ทอี่ งคร์ วมของการ สถานขี นสง่ สนิ คา้ ไดโ้ ดยไมม่ ีเงอ่ื นไข ขนส่งภายในโซนพ้นื ที่ กิจกรรมดังกลา่ วนกี้ ็ ควรอนญุ าตให้ สามารถดำเนนิ การได้ • มุมมองในเชิงลบ: หาก มองทว่ี ัตถุประสงค์ หลกั ของสถานขี นส่ง สินคา้ การดำเนนิ การ ดังกลา่ วนี้อาจไม่ เหมาะสมมากนัก เน่อื งจากสง่ ผลกระทบ ต่อผใู้ ช้งานหลกั ของ สถานขี นส่งสินคา้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-60

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.3.1 พื้นท่ีจอดรถภายในสถานขี นสง่ สนิ คา้ ในปัจจบุ ัน 1) สถานขี นส่งสินค้าพุทธมณฑล พื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลนั้น ประกอบด้วย พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทุกสินค้า โดยพบวา่ - พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าท่ีและพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ที่บริเวณ ลานจอดรถหน้าสำนักงานที่อาคารบริหาร (รองรับรถยนต์ได้ประมาณ 100 คัน) และบริเวณ หวั ชานชาลาขนถ่ายสินค้า (รองรบั รถยนตไ์ ดป้ ระมาณ 8 คันต่อพ้ืนทหี่ วั ชานชาลา 1 จุด) ซง่ึ รองรับรถยนต์รวมกันได้ประมาณ 230 คนั - พื้นที่จอดรถจกั รยานยนต์ จะจอดบริเวณหัวชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ - พน้ื ทจ่ี อดรถบรรทุก พบวา่ ผ้ปู ระกอบการได้นำรถบรรทุกและรถบรรทุกพ่วงจอดในพื้นท่ีต่างๆ ประมาณ 4 จุด ได้แก่ (1) ลานจอดรถด้านหน้าและดา้ นหลังอาคารสำนักงานท่ีอาคารบริหาร และห้องพัก (2) พื้นที่ด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 5 และ 6 (3) พื้นที่ด้านข้าง ระหว่างคลังสินค้าหมายเลข 2 และ 3 และ (4) พื้นที่ด้านข้างชานชาลาอเนกประสงค์ หมายเลข 11 ดังแสดงในรูปที่ 13.3-1 ซึ่งรองรับรถบรรทุกได้รวมกันทั้งหมด 420 คัน (ไม่นับช่องจอดรถของชานชาลาขนถ่ายสินค้าที่รองรับรถบรรทุกได้ 16 ช่องจอดต่อ 1 ด้าน) โดยในช่วงวันธรรมดา จะมีการใช้พื้นที่เหล่านี้จอดรถประมาณร้อยละ 40-50 ของพื้น ท้งั หมด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-61

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) พ้ืนที่จอดรถบรรทุก พื้นท่ีจอดรถสว่ นบุคคลและรถจกั รยานยนต์ ท่ีมา: ท่ีปรกึ ษา รปู ท่ี 13.3-1 ตำแหนง่ ของพ้ืนที่จอดรถภายในสถานขี นส่งสนิ ค้าพุทธมณฑลในปัจจบุ ัน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-62

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 2) สถานขี นสง่ สินค้าคลองหลวง พื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงนั้น ประกอบด้วย พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทกุ สนิ ค้า โดยพบว่า - พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่และพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ที่บริเวณ ลานจอดรถหนา้ สำนักงานที่อาคารบริหาร และบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าทั้งสองด้าน ซง่ึ รองรับรถยนตร์ วมกนั ได้ประมาณ 300 คนั - รถจักรยานยนต์ จะจอดบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ - พื้นที่จอดรถบรรทุก พบว่ามีพื้นที่ที่สามารถใช้จอดรถบรรทุกได้รวมกันประมาณ 420 คัน ได้แก่ (1) ลานจอดรถด้านหน้า ด้านหลัง และด้านข้างของสำนักงานที่อาคารบริหารและ ห้องพัก (2) พื้นที่ด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 1, 2, 3, 4, 7 และ 10 และ (3) พื้นที่ด้านข้างของชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 6 และ 7 ดังแสดงในรูปที่ 13.3-2 อย่างไร ก็ตาม ปัจจุบันในช่วงวันธรรมดา ผู้ประกอบการมีการใช้พื้นที่เหล่านี้จอดรถบรรทุกเพียง ร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมด เนื่องจากยังมีชานชาลาขนถ่ายสินค้าที่ยังว่างอยู่ 4 หลัง และ ยังเช่าไมเ่ ตม็ อกี 2 หลงั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-63

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) พ้นื ท่ีจอดรถบรรทุก พืน้ ที่จอดรถส่วนบุคคลและรถจกั รยานยนต์ ท่มี า: ทปี่ รึกษา รูปที่ 13.3-2 ตำแหน่งของพ้ืนที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินคา้ คลองหลวงในปจั จุบัน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-64

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 3) สถานขี นส่งสนิ ค้าร่มเกล้า พื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้านั้น ประกอบด้วย พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ และรถบรรทกุ สินคา้ - พื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่และพนักงานของบริษัทต่างๆ จะอยู่ที่บริเวณ ลานจอดรถหน้าสำนกั งานท่ีอาคารบริหาร และบริเวณหัวชานชาลาขนถ่ายสินค้าทัง้ สองด้าน ซง่ึ รองรับรถยนต์รวมกันไดป้ ระมาณ 300 คนั - รถจกั รยานยนต์ จะจอดบริเวณหวั ชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ - พื้นที่จอดรถบรรทุกนั้น พบว่า ผู้ประกอบการนำรถบรรทุกและรถบรรทุกพ่วงจอดในพื้นท่ี ต่างๆ เกือบทุกพื้นที่ ได้แก่ (1) ลานจอดรถด้านหน้า ด้านหลัง รวมทั้งพื้นที่โดยรอบทุกด้าน ของสำนักงานที่อาคารบริหารและห้องพัก (2) พื้นที่ว่างด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้า หมายเลข 1, 5, 6 และ 10 และ (3) พื้นที่ว่างด้านข้างของคลังสินค้าหมายเลข 1 และ 5 ดังแสดงในรูปที่ 13.3-3 คิดเป็นพื้นท่ีจอดรถบรรทุกรวมกันประมาณ 500 คัน ทั้งนี้ในช่วง วันธรรมดา จะมีการใช้พื้นที่เหล่านี้จอดรถประมาณร้อยละ 70-80 ของพื้นทั้งหมด เนื่องจากผู้ประกอบการที่เช่าพื้นที่สำนักงานที่อาคารบริหารมี การนำรถบรรทุกหัวลากและ หางพ่วงเข้ามาจอดพักภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นจำนวนมาก ซึ่งรถบรรทุกพ่วงเหล่านี้ ส่วนมากไม่ได้ใช้ขนถ่ายสินค้าภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แต่มีการนำออกไปรับจ้างขนส่ง ภายนอก เมื่อเสร็จงาน จึงนำเขา้ มาจอดภายในสถานขี นสง่ สินค้ารม่ เกลา้ โดยปัญหาพ้ืนที่จอด รถภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้านี้ ได้รับร้องเรียนจากผู้ประกอบการที่เช่าพื้นที่ที่อยู่ภายใน สถานขี นส่งสินค้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-65

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) พื้นท่ีจอดรถบรรทุก พื้นทีจ่ อดรถส่วนบคุ คลและรถจักรยานยนต์ ทม่ี า: ท่ีปรึกษา รปู ท่ี 13.3-3 ตำแหน่งของพื้นท่จี อดรถภายในสถานขี นสง่ สนิ ค้ารม่ เกลา้ ในปัจจบุ นั เนื่องจากสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า เป็นสถานีขนส่งสินค้าที่มีพืน้ ที่ติดกับพื้นที่ของ ICD ลาดกระบัง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าจากทางถนนเป็นการขนส่งทางราง จึงทำให้ เป็นพืน้ ที่ทมี่ ีการสัญจรของรถบรรทุกเพื่อขนส่งสินค้าขนาดใหญ่เป็นจำนวนมาก ท้ังรถบรรทุกที่เดิน ทางเข้า-ออกสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเอง และรถบรรทุกที่เดินทางเข้า-ออก ICD ลาดกระบัง ซึ่งพื้นที่สำหรับการจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ ภายในพื้นที่ของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า จะมีการ ใช้งานค่อนข้างหนาแน่น ทั้งการจอดรถบรรทุกที่มีสำนักงานของบริษัทที่อยู่ภายในพื้นที่ของ สถานขี นสง่ สนิ ค้ารม่ เกล้าเอง และการจอดรถบรรทกุ ทอ่ี าศัยพ้ืนทว่ี า่ งภายในสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-66

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) เพื่อจอดรถสำหรับรอเวลาเพื่อที่จะรับส่งสินค้าไปยังพื้นที่ภายนอกต่อไป หรืออาจกล่าวได้ว่ากลุ่ม ของรถบรรทุกท่เี ข้ามาใชพ้ นื้ ท่ีจอดรถภายในสถานีขนส่งสนิ ค้ารม่ เกล้า สามารถออกเปน็ 3 กลุ่ม คือ - กล่มุ ที่ 1 จอดรถรอรบั สง่ สนิ ค้า - กลมุ่ ที่ 2 จอดพกั รถเพ่อื รอไปทำกจิ กรรมขนส่งภายนอกสถานี - กลมุ่ ท่ี 3 จอดระยะยาว เนื่องจากไมม่ ีงาน หรอื รอการซ่อมแซม หรือเลกิ ใชง้ าน และเพื่อเป็นการเตรียมการสำหรับการดำเนินการบริหารจัดการพื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้า และช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานพื้นที่จอดรถ ที่ปรึกษาได้มีข้อเสนอแนะให้พื้นที่จอดรถ บางจุดเปลี่ยนจากช่องจอดแบบตั้งฉาก (Perpendicular Bays) เปลี่ยนเป็นช่องจอดแบบเฉียง (Angular Bays) เนื่องจากพบว่า ในสภาพปัจจุบันโดยส่วนใหญ่การเข้าจอดรถบรรทุกจะจอดใน ลกั ษณะจอดแบบเฉียง ซงึ่ ไม่ตรงกับช่องจอดท่ีทางสถานีขนส่งสนิ ค้าร่มเกล้าได้จัดเตรียมไว้ให้ ทำให้ ขาดความเป็นระเบียบและบริหารจัดการได้ยาก ดังแสดงในรูปที่ 13.3-4 และเพื่อให้สอดคล้องกับ การใชง้ านพื้นท่ีจอดในสภาพปัจจุบัน ทปี่ รกึ ษาจงึ ได้เสนอแนวคิดของพ้นื ท่ีจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ รถบรรทุกขนาดเล็ก และรถยนต์ส่วนบุคคล/จักรยานยนต์ ดงั แสดงในรปู ท่ี 13.3-5 รถบรรทกุ จอดแบบเฉียง (พื้นท่จี อดรถออกแบบให้จอดแบบตั้งฉาก) รปู ท่ี 13.3-4 ลกั ษณะการจอดรถบรรทกุ ภายในสถานีขนสง่ สินค้าร่มเกล้าในปจั จบุ นั สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-67



โคร รูปที่ 13.3-5 ข้อเสนอแนะพืน้ ท่ีจอ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) รงการจดั ทำแผนพฒั นาเพ่ือเพ่มิ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) อดรถภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า 13-68

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) จากรูปแบบการจอดรถดังรูปท่ี 13.3-5 สามารถแสดงรายละเอียดจำนวนที่จอดรถในบรเิ วณต่างๆ ดัง แสดงในตารางท่ี 13.3-1 ตารางท่ี 13.3-1 จำนวนจดุ จอดรถประเภทต่างๆ ภายในพน้ื ที่สถานขี นสง่ สนิ ค้ารม่ เกลา้ รถบรรทุก รถบรรทุก รถยนต์ บริเวณ ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ (หวั ชาน) (คนั ) (คัน) (คัน) ชานชาลา 1 48 48 21 ชานชาลา 2 48 48 21 ชานชาลา 3 48 48 21 ชานชาลา 4 48 48 21 ชานชาลา 5 48 48 21 ชานชาลา 6 48 48 21 ชานชาลา 7 48 48 21 ชานชาลา 8 48 48 21 ชานชาลา 9 48 48 21 ชานชาลา 10 48 48 21 ด้านหน้าอาคารสำนกั งาน ที่พัก โรงอาหาร 47 72 54 ด้านหลงั อาคารสำนกั งาน ทพี่ กั โรงอาหาร - 130 78 พ้ืนที่วา่ งด้านทศิ ตะวนั ออกของอาคารสำนักงาน ทพ่ี กั โรงอาหาร - 30 - พืน้ ทว่ี ่างดา้ นทิศตะวันตกของอาคารสำนกั งาน ที่พัก โรงอาหาร 56 -- พนื้ ที่วา่ งด้านข้างของคลงั สินคา้ หมายเลข 1 - 28 - พน้ื ทว่ี ่างดา้ นขา้ งของคลงั สินค้าหมายเลข 5 - 40 - พ้ืนทว่ี ่างด้านหลังชานชาลาขนถา่ ยสนิ คา้ หมายเลข 1 - 30 - พ้ืนทว่ี ่างด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 5 - 35 - พื้นทวี่ ่างด้านหลงั ชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ หมายเลข 6 - 33 - พื้นทว่ี ่างด้านหลังชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้าหมายเลข 10 - 30 - รวม 583 908 342 ที่มา: ที่ปรึกษา หมายเหตุ: รถบรรทุกขนาดเล็ก ได้แก่ รถบรรทุก 4 ลอ้ รถบรรทุก 6 ลอ้ รถบรรทุกขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ รถบรรทกุ 10 ล้อ/ รถบรรทุก 12 ล้อ/ รถกงึ่ พ่วง 14 ลอ้ / รถกงึ่ พ่วง 18 ลอ้ / รถกง่ึ พ่วง 20 ลอ้ / รถกงึ่ พ่วง มากกว่า 20 ลอ้ / รถพว่ ง 14 ล้อ/ รถพ่วง 18 ลอ้ / รถพ่วง 20 ลอ้ / รถพ่วง มากกวา่ 20 ลอ้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-69

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.3.2 ลักษณะการหมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้าภายในสถานขี นส่งสนิ ค้า ลักษณะการหมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้าภายในสถานีจะสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้พื้นที่ บริเวณต่างๆ ภายในสถานีได้ เพื่อสามารถนำไปใช้เป็นขอ้ มูลสำหรบั การวางแผนในการบริหารจัดการ พื้นท่ีจอดรถให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันของสถานขี นสง่ สนิ คา้ แต่ละแห่งได้ 1) สถานีขนสง่ สนิ คา้ พุทธมณฑล สินค้าขาเข้าเมื่อเข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลแล้ว จะมีการหมุนเวียนไปยังพื้นที่ต่างๆ ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ ดงั นี้ กรณีที่ปริมาณสินค้าหนาแน่นมากทำให้ต้องรอคิวหรือมาถึงก่อนเวลานัด รถบรรทุกจะเข้ามาจอดรถ ยังพื้นที่จอดรถ เพื่อเตรียมเข้าไปยังพื้นที่ต่างๆ และใช้เวลาจอดรอตั้งแต่ 30 นาที จนถึง 12 ชั่วโมง (ไมน่ บั รถบรรทกุ พ่วงที่จอดท้งิ ไว้หลายๆ วนั ) อย่างไรก็ตาม หากพื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลไม่ได้มีปริมาณสินค้าหนาแน่นมาก รถบรรทุกสินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการตามเวลาที่นัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลาขนถ่าย สนิ คา้ ชานชาลาอเนกประสงค์ และคลังสนิ ค้า โดยระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าขึ้นอยู่กับประเภทรถ และรปู แบบการจัดเรียง (หากเรียงดว้ ยมือจะใช้เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใชร้ ถโฟล์คลิฟทย์ ก) เช่น หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลาในการขนถ่ายเต็มคันประมาณ 1.5-2 ชั่วโมง กรณีเป็นรถบรรทุก 10 ล้อหรือรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 3 ชั่วโมง และหากเป็น รถบรรทกุ ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟตุ จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 4 ชัว่ โมง การใช้งานชานชาลาขนถ่ายสินค้าพบว่า มีความแตกต่างในบางรายเช่นกัน อาทิ ในรายของรายใหญ่ จะแยกโซนการเข้าช่องจอดตามจังหวัดต่างๆ โดยลูกค้าจะต้องเข้าจอดเพื่อขนถ่ายสินค้าตามจังหวัด ปลายทางที่กำหนด ขณะที่ผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลางบางรายจะใช้ช่องจอดเพื่อขนถ่ายสินค้า เพียงฝั่งเดียว และใช้พื้นที่อีกฝั่งหนึ่งเพื่อวางกองสินค้า เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับวางกองสินค้า (ตวั อย่างของบริษัท ชวาลกติ ขนส่ง) แต่ก็พบว่าผู้ประกอบการบางราย อนญุ าตให้มีการขนถ่ายสินค้า ได้ทั้งสองฝั่ง เนื่องจากปริมาณสินค้าไม่มากนัก และยังมีพื้นที่เหลือสำหรับวางกองสินค้า (เป็นกรณี ส่วนมากของผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง) ส่วนมากรถบรรทุกจะเข้ามามากช่วงวันธรรมดาและ นอ้ ยลงในวนั เสาร์ ท้ังนผี้ ู้ประกอบการส่วนมากจะหยุดให้บริการในวนั อาทิตย์ สำหรับกรณีของคลังสินค้าน้ัน ผู้ประกอบการใช้จัดเก็บสินคา้ เพื่อรอจัดส่งใหก้ ับลูกค้าตามระยะเวลา ที่ตกลงกันไว้ ซึ่งพบว่ามีระยะเวลาจัดเก็บไม่เกิน 14 วัน (ส่วนใหญ่ไม่เกิน 2-3 วัน) โดยมีการใช้งาน คลังสินค้าเป็นพื้นที่รวบรวมและกระจายสินค้าเหมือนชานชาลาขนถ่ายสินค้าทุกประการ (แต่จัดเก็บ สินค้านานมากกว่า) โดยรถบรรทุกขาออกของคลังสินค้าที่นี่จะมีทั้งรถบรรทุก 6 ล้อ 10 ล้อ และ รถบรรทุกพ่วง เนื่องจากมีทั้งการจัดส่งไปยังร้านค้าปลีกทั่วประเทศ (รถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-70

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) และจัดส่งไปยังศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าในภูมิภาค (ใช้รถบรรทุกพ่วง เพื่อให้เกิดการประหยัด ตอ่ ขนาด) ส่วนในกรณีของชานชาลาอเนกประสงค์ พบว่า มีการใช้งานอยู่ 2 ประเภท คือ ใช้ขนถ่ายสินค้า คราวละ 1 คัน ซึ่งมีทั้งรถบรรทุก 6 ล้อ และ 10 ล้อ ใช้ระยะเวลาขนถ่ายประมาณ 1-2 ชม. และ ใช้เป็นพื้นที่จัดเก็บสินค้าชั่วคราว (ตัวอย่างของบริษัท นิ่มซี่เส็ง 1988 จำกัด และบริษัทในเครือ) ดังแสดงในรูปท่ี 13.3-6 รูปท่ี 13.3-6 ลักษณะการหมนุ เวียนของสนิ ค้าภายในสถานีขนสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล 2) สถานขี นสง่ สนิ คา้ คลองหลวง สินค้าขาเข้าเมื่อเข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงแล้ว จะมีการหมุนเวียนไปยังพื้นที่ต่างๆ ภายในสถานขี นสง่ สินคา้ ดังน้ี รถบรรทุกสินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการตามเวลาที่นัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลา ขนถ่ายสินค้า และคลังสินค้า ทั้งนี้การหมุนเวียนสินค้าจะมีทั้งแบบพักสินค้าภายในชานชาลา ขนถ่ายสินค้าไม่นาน และขนถ่ายไปยังรถบรรทุกขาออกทันที (ดังตัวอย่างของบริษัท พงษ์ศิริ โลจิสติกส์ จำกัด) อีกรูปแบบหนึ่ง คือ พักสินค้าไว้ภายในชานชาลาขนถ่ายสินค้าประมาณ 1-7 วัน จากนน้ั จงึ ขนถา่ ยไปยังรถบรรทกุ ขาออก เพ่อื สง่ ตอ่ ไปยงั ศนู ย์กระจายสินค้าอืน่ ๆ โดยระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าขึ้นอยู่กับประเภทรถและรูปแบบการจัดเรียง (หากเรียงด้วยมือ จะใช้เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใช้รถโฟล์คลิฟท์ยก) เช่น หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลาใน การขนถ่ายเตม็ คันประมาณ 45 นาท-ี 1.5 ชว่ั โมง กรณีเป็นรถบรรทกุ 10 ลอ้ หรอื รถบรรทุกต้คู อนเทนเนอร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-71

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาเพ่ือเพ่ิมศกั ยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ขนาด 20 ฟุต จะใช้เวลาขนถ่ายประมาณ 2 ชั่วโมง และหากเป็นรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟตุ จะใช้เวลาขนถา่ ยประมาณ 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ ยังพบว่ายังมีการใช้ชานชาลาขนถ่ายสินค้าเป็นที่จอดรถพ่วง เพื่อนำไปรับบรรจุ สินค้าเขา้ ตู้ยงั โรงงานต่างๆ ในนิคมอุตสาหกรรม (ดงั ตัวอยา่ งของบรษิ ทั พงษ์ศริ ิ โลจิสติกส์ จำกดั ) ส่วนคลังสินค้านั้น มีการใช้งานเพื่อจัดเก็บสินค้าแบบระยะสั้นและระยะยาว โดยระยะสั้น คือ จัดเก็บสินค้าไม่เกิน 7 วัน (ดังตัวอย่างของบริษัท กรีนสปอต จำกัด) เมื่อถึงเวลานัดหมาย จะมีการ ขนถ่ายสินค้าออกไปส่งยังโรงงานของลูกค้า และระยะยาว คือ จัดเก็บสินค้านานตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป (ดังตัวอยา่ งของบริษัท เอสซีจี โลจิสตกิ ส์ แมเนจเม้นท์ จำกัด และสำนักงานตำรวจแหง่ ชาต)ิ ดังแสดง ในรูปท่ี 13.3-7 รปู ที่ 13.3-7 ลักษณะการหมุนเวยี นของสนิ คา้ ภายในสถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง 3) สถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกล้า เมื่อรถบรรทุกสินค้าเข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าแล้ว จะมีการหมุนเวียนไปยังพื้นที่ต่างๆ ภายในสถานี ดงั น้ี กรณีที่ปริมาณสินค้าหนาแน่นมากทำให้ต้องรอคิวหรือมาถึงก่อนเวลานัด รถบรรทุกจะเข้ามาจอดรถ ยังพื้นทีจ่ อดรถ เพื่อเตรียมเขา้ ไปยังพ้ืนทีต่ ่างๆ และใช้เวลาจอดรอตัง้ แต่ 30 นาที จนถึง 12 ชั่วโมง (ไม่นับรถบรรทกุ พ่วงท่ีจอดท้ิงไวห้ ลายๆ วัน) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-72

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพฒั นาเพื่อเพม่ิ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) อย่างไรกต็ าม หากพน้ื ทภ่ี ายในสถานขี นส่งสนิ ค้าร่มเกล้าไม่ได้มปี รมิ าณสนิ ค้าหนาแน่นมาก รถบรรทกุ สินค้าจะตรงเข้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการตามเวลาที่นัดหมายไว้ทันที ได้แก่ ชานชาลาขนถ่ายสินค้า โดย ระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าขึ้นอยู่กับประเภทรถและรูปแบบการจัดเรียงสินค้า (หากเรียงด้วยมือจะใช้ เวลามากกว่าวางบนพาเล็ตและใช้รถโฟล์คลิฟท์ยก) ทั้งนี้สินค้าที่เข้ามายังสถานีขนส่งสินค้าจะเป็น สินคา้ ทส่ี ามารถจัดเรียงบนพาเลต็ ไดแ้ ละใช้เวลาในการขนถ่ายสนิ คา้ รวดเรว็ กวา่ ระยะเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าขึ้นกับประเภทรถ หากเป็นรถกระบะ จะใช้เวลาประมาณ ไม่เกิน 30 นาที หากเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ จะใช้เวลาในการขนถ่ายเต็มคันประมาณ 45 นาที - 1.5 ชั่วโมง กรณีเป็นรถบรรทุก 10 ล้อหรือรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต จะใช้เวลา ขนถ่ายประมาณ 1-1.5 ชั่วโมง และหากเป็นรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต จะใช้เวลา ขนถา่ ยประมาณ 2-2.5 ชม. ส่วนการใช้งานคลังสินค้า พบว่า สินค้าจะหมุนเวียนเข้ามา 2 รูปแบบ คือ สินค้าหมุนเวียนเข้ามา และพักไว้ไม่เกิน 14 วัน (ส่วนมากจะพักไม่เกิน 7 วัน) และมีการขนถ่ายขึ้นรถบรรทุกเพื่อจัดส่งไป ยังศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค (ส่วนมากจะเป็นสินค้าในกลุ่มของโมเดิร์นเทรด) โดยตัวอย่างนี้เป็น สินค้าของบริษัท บลูแอนด์ไวท์ โปรเฟสชันแนล จำกัด และบริษัท ทรานส์โลจิสติกส์ จำกัด และ อีกรูปหนึ่ง คือ สินค้าเข้ามาพักไว้ไม่เกิน 15 ชม. และขนถ่ายต่อไปยังรถกระบะและรถบรรทุก 6 ล้อ เพื่อจัดส่งไปยงั ร้านค้าปลีก ซึ่งสินค้าจะไม่มีการจัดเก็บค้างคืน โดยตัวอย่างนีเ้ ปน็ สินค้าในกลุม่ เบเกอรี่ ของบริษทั ซีพอี อลล์ จำกดั (มหาชน) ดงั แสดงในรูปที่ 13.3-8 รูปท่ี 13.3-8 ลักษณะการหมนุ เวยี นของสนิ คา้ ภายในสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั 13-73

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.3.3 การวิเคราะหจ์ ำนวนรถบรรทกุ ท่เี ขา้ ใช้พื้นที่สถานีในปจั จบุ นั จำนวนรถบรรทุกที่เข้าออกภายในพื้นที่สถานีในแต่ละวันจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบว่า พน้ื ที่จอดรถภายในสถานีน้ันสามารถรองรับความต้องการหรือไม่ โดยทีป่ รึกษาจะพิจารณาจากข้อมูล การเข้าออกสถานีของรถบรรทุกสินค้าในช่วงเดือนมกราคม 2564-เดือนมีนาคม 2564 ซึ่งประเด็นท่ี จะนำมาพจิ ารณาเพื่อดูพฤติกรรมของรถบรรทุกที่เข้ามาใชบ้ ริการในสถานี ไดแ้ ก่ • จำนวนรถบรรทุกท่ีเข้าใช้สถานีในแต่ละวัน โดยจะแยกประเภทของรถบรรทุกออกเป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ - รถบรรทกุ ขนาดเลก็ ได้แก่ รถบรรทุก 4 ลอ้ / รถบรรทุก 6 ลอ้ - รถบรรทุกขนาดใหญ่ ได้แก่ รถบรรทุก 10 ล้อ/ รถบรรทุก 12 ล้อ/ รถกึ่งพ่วง 14 ล้อ/ รถ กึ่งพ่วง 18 ล้อ / รถกึ่งพ่วง 20 ล้อ/ รถกึ่งพ่วง มากกว่า 20 ล้อ/ รถพ่วง 14 ล้อ/ รถพ่วง 18 ลอ้ / รถพว่ ง 20 ล้อ/ รถพว่ ง มากกวา่ 20 ลอ้ • ช่วงเวลาเฉลี่ยที่รถบรรทุกสินค้าเข้าใช้พื้นที่สถานีในแต่ละวัน เพื่อดูภาพรวมของจำนวน ช่วงเวลาในการจอดรถเพ่อื รอรับสินค้าของรถบรรทุกท่เี ข้ามาใชบ้ รกิ ารภายในพ้ืนท่ีสถานี 1) สถานขี นสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑล จำนวนรถบรรทกุ ทเ่ี ขา้ ใชส้ ถานีในแต่ละวัน จากการตรวจสอบจำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้บริการภายในพื้นที่สถานีของข้อมูลทั้ง 3 เดือน พบว่า รถบรรทุกขนาดเล็กที่เข้ามาใช้สูงสุดคือ 356 คัน/วัน (31 มีนาคม 2564) ในขณะที่รถบรรทุก ขนาดใหญ่ที่เข้ามาใช้สูงสุดคือ 75 คัน/วัน (23 กุมภาพันธ์ 2564) ดังแสดงรายละเอียดจำนวน รถบรรทุกในตารางที่ 13.3-2 ถึงตารางที่ 13.3-4 ซึ่งในการนำจำนวนสูงสุดของรถบรรทุกที่เข้ามาใช้ พื้นที่สถานีมาพิจารณาก็เพื่อเป็นการตรวจสอบเบื้องต้นว่าจุดจอดรถบรรทุกแต่ละประเภทภายใน พน้ื ท่สี ถานีนน้ั สามารถรองรับไดเ้ พียงพอหรือไม่ โดยต้องอยู่ภายใต้สมมติฐานว่าไม่มีรถบรรทุกที่จอด ท้งิ ไว้ระยะยาว สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-74

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-2 จำนวนรถบรรทกุ เข้าใช้สถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล: เดือนมกราคม 2564 วนั /เดือน/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คนั ) รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (คนั ) รวม (คัน) จันทร์ 547 163 710 4-ม.ค.-64 17 23 40 11-ม.ค.-64 115 52 167 18-ม.ค.-64 182 37 219 25-ม.ค.-64 233 51 284 อังคาร 613 194 807 5-ม.ค.-64 18 21 39 12-ม.ค.-64 112 55 167 19-ม.ค.-64 228 63 291 26-ม.ค.-64 255 55 310 พธุ 652 155 807 6-ม.ค.-64 62 28 90 13-ม.ค.-64 133 46 179 20-ม.ค.-64 202 33 235 27-ม.ค.-64 255 48 303 พฤหัสบดี 710 208 918 7-ม.ค.-64 65 50 115 14-ม.ค.-64 157 63 220 21-ม.ค.-64 233 42 275 28-ม.ค.-64 255 53 308 ศุกร์ 714 211 925 1-ม.ค.-64 1 45 8-ม.ค.-64 68 48 116 15-ม.ค.-64 193 59 252 22-ม.ค.-64 199 61 260 29-ม.ค.-64 253 39 292 เสาร์ 658 170 828 2-ม.ค.-64 77 9-ม.ค.-64 70 33 103 16-ม.ค.-64 158 33 191 23-ม.ค.-64 239 47 286 30-ม.ค.-64 191 50 241 อาทติ ย์ 45 55 100 3-ม.ค.-64 2 57 10-ม.ค.-64 12 25 37 17-ม.ค.-64 8 7 15 24-ม.ค.-64 12 5 17 31-ม.ค.-64 11 13 24 รวม 3,939 1,156 5,095 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-75

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-3 จำนวนรถบรรทุกเข้าใช้สถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล: เดือนกุมภาพนั ธ์ 2564 วัน/เดอื น/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คนั ) รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คนั ) จนั ทร์ 580 152 732 1-ก.พ.-64 43 33 76 8-ก.พ.-64 131 34 165 15-ก.พ.-64 169 31 200 22-ก.พ.-64 237 54 291 องั คาร 664 231 895 2-ก.พ.-64 43 41 84 9-ก.พ.-64 149 56 205 16-ก.พ.-64 191 59 250 23-ก.พ.-64 281 75 356 พุธ 623 190 813 3-ก.พ.-64 56 37 93 10-ก.พ.-64 134 50 184 17-ก.พ.-64 139 34 173 24-ก.พ.-64 294 69 363 พฤหัสบดี 700 183 883 4-ก.พ.-64 103 46 149 11-ก.พ.-64 86 40 126 18-ก.พ.-64 207 50 257 25-ก.พ.-64 304 47 351 ศุกร์ 564 155 719 5-ก.พ.-64 73 32 105 12-ก.พ.-64 55 41 96 19-ก.พ.-64 227 56 283 26-ก.พ.-64 209 26 235 เสาร์ 538 175 713 6-ก.พ.-64 103 53 156 13-ก.พ.-64 35 33 68 20-ก.พ.-64 177 53 230 27-ก.พ.-64 223 36 259 อาทติ ย์ 32 73 105 7-ก.พ.-64 8 9 17 14-ก.พ.-64 10 20 30 21-ก.พ.-64 11 17 28 28-ก.พ.-64 3 27 30 รวม 3,701 1,159 4,860 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-76

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-4 จำนวนรถบรรทกุ เขา้ ใช้สถานขี นส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล: เดือนมีนาคม 2564 วัน/เดือน/ปี รถบรรทุกขนาดเลก็ (คัน) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คนั ) จันทร์ 956 210 1166 1-ม.ี ค.-64 36 23 59 8-มี.ค.-64 149 50 199 15-ม.ี ค.-64 211 42 253 22-มี.ค.-64 284 52 336 29-ม.ี ค.-64 276 43 319 อังคาร 1122 276 1398 2-มี.ค.-64 81 63 144 9-มี.ค.-64 175 59 234 16-มี.ค.-64 250 56 306 23-มี.ค.-64 315 46 361 30-มี.ค.-64 301 52 353 พธุ 1185 271 1456 3-มี.ค.-64 84 52 136 10-ม.ี ค.-64 180 55 235 17-ม.ี ค.-64 258 51 309 24-ม.ี ค.-64 307 62 369 31-ม.ี ค.-64 356 51 407 พฤหสั บดี 785 226 1011 4-มี.ค.-64 119 63 182 11-มี.ค.-64 178 49 227 18-มี.ค.-64 219 58 277 25-มี.ค.-64 269 56 325 ศกุ ร์ 931 219 1150 5-ม.ี ค.-64 125 51 176 12-มี.ค.-64 209 57 266 19-มี.ค.-64 287 49 336 26-มี.ค.-64 310 62 372 เสาร์ 727 194 921 6-ม.ี ค.-64 118 67 185 13-มี.ค.-64 155 44 199 20-ม.ี ค.-64 229 41 270 27-ม.ี ค.-64 225 42 267 อาทิตย์ 33 52 85 7-มี.ค.-64 6 20 26 14-ม.ี ค.-64 6 9 15 21-ม.ี ค.-64 15 15 30 28-ม.ี ค.-64 6 8 14 รวม 5,739 1,448 7,187 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-77

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ช่วงเวลาเฉลี่ยที่รถบรรทุกสินค้าเข้าใชพ้ นื้ ทีส่ ถานีในแต่ละวนั จากการวิเคราะหจ์ ำนวนชั่วโมงท่ีเข้าใช้สถานีขนส่งสนิ ค้า พบว่ารถบรรทุกขนาดเล็ก จำนวนช่ัวโมงที่มี สัดส่วนสูงสุด คือ ช่วง 0-3 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 78 ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลลักษณะการ หมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้า โดยระยะเวลาในการระยะเวลาการขนถ่ายสินค้าขึ้นอยู่กับประเภท รถและรูปแบบการจัดเรียงสนิ คา้ ทอี่ ยูใ่ นช่วงระยะเวลาระหวา่ ง 1.5 – 2 ชัว่ โมง ในขณะทรี่ ถบรรทุก ขนาดใหญ่ จำนวนชั่วโมงที่มีสัดส่วนสูงสุด คือ มากกว่า 24 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 56 ดังแสดงใน รปู ที่ 13.3-8 ถงึ รูปท่ี 13.3-9 รถบรรทุกขนาดเลก็ 4 ชม. (2 ) 5 ชม. (1 ) 0-3 ชม. 6 ชม. (78 ) (1 ) 24 ชม. (16 ) รูปที่ 13.3-8 ช่วงเวลาเฉล่ียของรถบรรทกุ ขนาดเล็กเข้าใช้พน้ื ท่สี ถานีในแตล่ ะวัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-78

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รถบรรทุกขนาดใหญ่ 10 ชม. 0-3 ชม. (1 ) 11 ชม. (20 ) (1 ) 12 ชม. (1 ) 13 ชม. (1 ) 4 ชม. (4 ) 24 ชม. 5 ชม. (56 ) (3 ) 6 ชม. 8 ชม. (4 ) 9 ชม. (2 ) 7 ชม. (3 ) (2 ) รูปที่ 13.3-9 ช่วงเวลาเฉลี่ยของรถบรรทกุ ขนาดใหญ่เขา้ ใช้พ้ืนท่สี ถานใี นแตล่ ะวนั 2) สถานีขนสง่ สนิ คา้ คลองหลวง จำนวนรถบรรทุกท่ีเข้าใชส้ ถานีในแตล่ ะวนั จากการตรวจสอบจำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้บริการภายในพื้นที่สถานีของข้อมูลทั้ง 3 เดือน พบว่า รถบรรทุกขนาดเล็กที่เข้ามาใช้สูงสุดคือ 68 คัน/วัน (25 กุมภาพันธ์ 2564) ในขณะท่ีรถบรรทุก ขนาดใหญ่ที่เข้ามาใช้สูงสุดคือ 80 คัน/วัน (4 มีนาคม 2564) ดังแสดงรายละเอียดจำนวน รถบรรทุกในตารางที่ 13.3-5 ถึงตารางที่ 13.3-7 ซึ่งในการนำจำนวนสูงสุดของรถบรรทุกทีเ่ ข้ามาใช้ พื้นที่สถานีมาพิจารณาก็เพื่อเป็นการตรวจสอบเบื้องต้นว่าจุดจอดรถบรรทุกแต่ละประเภทภายใน พืน้ ทสี่ ถานนี ้นั สามารถรองรบั ไดเ้ พียงพอหรือไม่ โดยตอ้ งอยู่ภายใต้สมมติฐานว่าไม่มีรถบรรทุกท่ีจอด ท้ิงไว้ระยะยาว สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-79

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-5 จำนวนรถบรรทุกเขา้ ใช้สถานีขนส่งสนิ คา้ คลองหลวง: เดือนมกราคม 2564 วัน/เดือน/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คัน) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คนั ) จนั ทร์ 116 124 240 4-ม.ค.-64 27 35 62 11-ม.ค.-64 41 40 81 18-ม.ค.-64 9 8 17 25-ม.ค.-64 39 41 80 องั คาร 179 188 367 5-ม.ค.-64 36 39 75 12-ม.ค.-64 57 48 105 19-ม.ค.-64 44 52 96 26-ม.ค.-64 42 49 91 พธุ 145 187 332 6-ม.ค.-64 38 34 72 13-ม.ค.-64 27 38 65 20-ม.ค.-64 27 56 83 27-ม.ค.-64 53 59 112 พฤหสั บดี 136 153 289 7-ม.ค.-64 47 33 80 14-ม.ค.-64 25 37 62 21-ม.ค.-64 47 55 102 28-ม.ค.-64 17 28 45 ศกุ ร์ 141 144 285 8-ม.ค.-64 43 36 79 15-ม.ค.-64 34 47 81 22-ม.ค.-64 47 47 94 29-ม.ค.-64 17 14 31 เสาร์ 98 103 201 2-ม.ค.-64 6 9 15 9-ม.ค.-64 42 39 81 16-ม.ค.-64 10 12 22 23-ม.ค.-64 14 24 38 30-ม.ค.-64 26 19 45 อาทติ ย์ 9 32 41 3-ม.ค.-64 - 44 10-ม.ค.-64 2 8 10 17-ม.ค.-64 2 35 24-ม.ค.-64 3 8 11 31-ม.ค.-64 2 9 11 รวม 824 931 1,755 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-80

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-6 จำนวนรถบรรทกุ เข้าใช้สถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง: เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วัน/เดอื น/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คัน) รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คัน) จันทร์ 181 168 349 1-ก.พ.-64 16 23 39 8-ก.พ.-64 47 48 95 15-ก.พ.-64 52 50 102 22-ก.พ.-64 66 47 113 องั คาร 213 210 423 2-ก.พ.-64 16 19 35 9-ก.พ.-64 66 61 127 16-ก.พ.-64 61 61 122 23-ก.พ.-64 70 69 139 พธุ 185 221 406 3-ก.พ.-64 35 40 75 10-ก.พ.-64 50 66 116 17-ก.พ.-64 36 54 90 24-ก.พ.-64 64 61 125 พฤหสั บดี 206 249 455 4-ก.พ.-64 46 49 95 11-ก.พ.-64 49 62 111 18-ก.พ.-64 43 63 106 25-ก.พ.-64 68 75 143 ศกุ ร์ 164 227 391 5-ก.พ.-64 48 57 105 12-ก.พ.-64 35 52 87 19-ก.พ.-64 49 51 100 26-ก.พ.-64 32 67 99 เสาร์ 153 195 348 6-ก.พ.-64 33 54 87 13-ก.พ.-64 17 34 51 20-ก.พ.-64 52 51 103 27-ก.พ.-64 51 56 107 อาทติ ย์ 26 52 78 7-ก.พ.-64 3 10 13 14-ก.พ.-64 4 11 15 21-ก.พ.-64 7 14 21 28-ก.พ.-64 12 17 29 รวม 1,128 1,322 2,450 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-81

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-7 จำนวนรถบรรทุกเขา้ ใช้สถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง: เดือนมีนาคม 2564 วนั /เดอื น/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คัน) รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คนั ) จนั ทร์ 236 315 551 1-มี.ค.-64 46 51 97 8-มี.ค.-64 46 76 122 15-มี.ค.-64 50 66 116 22-มี.ค.-64 49 61 110 29-มี.ค.-64 45 61 106 องั คาร 263 269 532 2-ม.ี ค.-64 60 61 121 9-มี.ค.-64 34 38 72 16-มี.ค.-64 64 47 111 23-ม.ี ค.-64 61 57 118 30-มี.ค.-64 44 66 110 พธุ 237 280 517 3-ม.ี ค.-64 40 66 106 10-ม.ี ค.-64 47 64 111 17-ม.ี ค.-64 45 56 101 24-ม.ี ค.-64 49 51 100 31-ม.ี ค.-64 56 43 99 พฤหสั บดี 219 276 495 4-ม.ี ค.-64 53 80 133 11-ม.ี ค.-64 63 62 125 18-ม.ี ค.-64 48 69 117 25-มี.ค.-64 55 65 120 ศุกร์ 201 203 404 5-มี.ค.-64 40 47 87 12-ม.ี ค.-64 53 49 102 19-ม.ี ค.-64 43 52 95 26-มี.ค.-64 65 55 120 เสาร์ 116 101 217 13-มี.ค.-64 7 5 12 20-มี.ค.-64 60 44 104 27-ม.ี ค.-64 49 52 101 อาทิตย์ 15 17 32 7-ม.ี ค.-64 - 11 14-มี.ค.-64 1 12 21-ม.ี ค.-64 8 7 15 28-มี.ค.-64 6 8 14 รวม 1,287 1,461 2,748 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-82

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ช่วงเวลาเฉลยี่ ที่รถบรรทกุ สนิ คา้ เข้าใชพ้ ืน้ ทสี่ ถานีในแต่ละวัน จากการวิเคราะห์จำนวนชวั่ โมงท่ีเขา้ ใช้สถานีของรถบรรทุกขนาดเล็ก และรถบรรทุกขนาดใหญ่ พบว่า จำนวนชวั่ โมงท่มี ีสัดสว่ นสงู สุดของรถบรรทุกทัง้ 2 ประเภท คือ ช่วง 0-3 ชัว่ โมง (รถบรรทุกขนาดเล็ก คิดเป็นร้อยละ 74, รถบรรทุกขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 54) ดังแสดงในรูปที่ 13.3-10 ถึงรูปท่ี 13.3-11 การเข้าใช้สถานีในช่วง 1-3 ชั่วโมง มีสัดส่วนที่สูงของรถบรรทุกทั้ง 2 ประเภท มีความสอดคล้องกับ ข้อมูลลักษณะการหมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้าภายในสถานี ซึ่งจะมีระยะเวลาในการระยะเวลา การขนถ่ายสนิ ค้าข้ึนอยู่กบั ประเภทรถและรปู แบบการจัดเรียงสินค้า ท่ีอยใู่ นช่วงระยะเวลาระหว่าง 45 นาที – 3 ชั่วโมง รถบรรทุกขนาดเล็ก 7 ชม. 24 ชม. (1 ) (17 ) 6 ชม. (1 ) 5 ชม. (2 ) 4 ชม. (4 ) 0-3 ชม. (74 ) รปู ท่ี 13.3-10 ช่วงเวลาเฉล่ียของรถบรรทุกขนาดเล็กเขา้ ใชพ้ ื้นท่ีสถานีในแต่ละวัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-83

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 9 ชม. รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (1 ) 8 ชม. 24 ชม. (1 ) (31 ) 6 ชม. 7 ชม. (2 ) 2 5 ชม. (3 ) 4 ชม. (5 ) 0-3 ชม. (54 ) รูปท่ี 13.3-11 ช่วงเวลาเฉลี่ยของรถบรรทุกขนาดใหญ่เขา้ ใชพ้ ้ืนที่สถานีในแต่ละวัน 3) สถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกล้า จำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้สถานใี นแต่ละวัน จากการตรวจสอบจำนวนรถบรรทุกที่เข้าใช้บริการภายในพื้นที่สถานีของข้อมูลทั้ง 3 เดือน พบว่า รถบรรทุกขนาดเล็กท่ีเข้ามาใช้สูงสุดคือ 69 คัน/วัน (17 มีนาคม 2564) ในขณะที่รถบรรทุกขนาด ใหญ่ที่เข้ามาใช้สูงสุดคือ 151 คัน/วัน (21 มกราคม 2564) ดังแสดงรายละเอียดจำนวนรถบรรทุก ในตารางที่ 13.3-8 ถึง ตารางที่ 13.3-10 ซึ่งในการนำจำนวนสูงสุดของรถบรรทุกที่เข้ามาใช้พื้นท่ี สถานีมาพิจารณาก็เพื่อเป็นการตรวจสอบเบื้องต้นว่าจุดจอดรถบรรทุกแต่ละประเภทภายในพื้นที่ สถานีน้นั สามารถรองรับได้เพียงพอหรือไม่ โดยตอ้ งอยู่ภายใต้สมมติฐานว่าไม่มีรถบรรทุกที่จอดทิ้งไว้ ระยะยาว จากตารางที่ 13.3-1 พื้นที่จอดรถบรรทุกขนาดเล็ก มีจุดจอดที่อยู่ภายในพื้นที่อาคารชานชาลา สามารถรองรับการจอดได้ 480 คัน ดา้ นหน้าอาคารสำนักงานฯ สามารถรองรับการจอดได้ 47 คัน และด้านทิศตะวนั ตกของอาคารสำนกั งานฯ สามารถรองรับการจอดได้ 56 คัน ซึ่งหากพจิ ารณาจาก ลักษณะการหมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้าภายในสถานีจะเห็นว่า รถบรรทุกที่มาก่อนเวลา (รอคิว) จะเป็นกลุม่ ทีเ่ ข้ามาใช้พ้ืนที่จอดรถบริเวณดา้ นหน้าอาคารสำนักงานฯ และบรเิ วณด้านทิศตะวันตก ของอาคารสำนักงานฯ (สามารถรองรับการจอดได้ 103 คัน) เพื่อรอเวลาเข้าไปรับสินค้าที่อาคาร ชานชาลา และเมื่อเทียบกับสถิติจำนวนสูงสุดของรถบรรทุกที่เข้ามาใช้สถานีจำนวน 69 คัน/วัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-84

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) หากเกิดกรณีที่รถบรรทุกขนาดเล็กเขา้ มาใช้สถานใี นช่วงเวลาเดียวกันทัง้ 69 คัน พื้นที่จอดบริเวณ ดงั กลา่ วยงั สามารถรองรบั ได้ เช่นเดียวกันกับรถบรรทุกขนาดใหญ่ หากเข้ามารับสินค้าก่อนเวลา (รอคิว) รถบรรทุกจะจอดรอที่ จุดจอดที่อยู่ตามบริเวณต่างๆ ไดแ้ ก่ (1) ลานจอดรถดา้ นหน้า ด้านหลงั รวมทง้ั พ้นื ท่โี ดยรอบทุกด้าน ของสำนักงานที่อาคารบริหารและห้องพัก (2) พื้นที่ว่างด้านหลังชานชาลาขนถ่ายสินค้าหมายเลข 1, 5, 6 และ 10 รวมจำนวน 128 คนั และ (3) พ้ืนทีว่ ่างด้านข้างของคลงั สนิ ค้าหมายเลข 1 และ 5 รวมกนั ทัง้ หมดสามารถรองรับการจอดได้ 428 คนั (ไม่รวมจุดจอดท่ีอาคารชานชาลา) และหาก เกิดกรณีที่รถบรรทุกขนาดใหญ่เข้ามาใช้สถานีในช่วงเวลาเดียวกันทั้ง 151 คัน (จำนวนสูงสุดของ รถบรรทุกขนาดใหญ่ที่เข้ามาใช้สถานี ของข้อมูลสถิติช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2564) พื้นที่จอด สำหรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ก็ยังสามารถรองรับได้ แต่หากเกิดกรณีที่มีการจอดรถบรรทุกไว้ ระยะเวลา 1 - 2 วัน อาจส่งผลให้พื้นที่จอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ไม่เพียงพอรองรับรถที่เข้ามาใช้ สถานไี ด้ อย่างไรก็ดี หากเกิดกรณีที่มีการจอดรถบรรทุกไว้ค้างคืน หรือจอดทิ้งไว้เป็นระยะเวลานาน ย่อมส่งผลให้พื้นที่จอดรถบรรทุกไม่เพียงพอในการรองรับรถที่เข้ามาใช้บริการสถานีได้ จึงควรมี มาตรการป้องกันเพ่ือไม่ใหเ้ กิดเหตุการณ์กรณดี ังกล่าว ซึ่งจะไดก้ ล่าวไว้ในหัวขอ้ ถัดไป สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-85

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-8 จำนวนรถบรรทุกเขา้ ใช้สถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกลา้ : เดือนมกราคม 2564 วัน/เดือน/ปี รถบรรทกุ ขนาดเล็ก (คนั ) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (คนั ) รวม (คัน) จันทร์ 46 292 338 4-ม.ค.64 11 59 70 11-ม.ค.64 10 66 76 18-ม.ค.64 8 81 89 25-ม.ค.64 17 86 103 อังคาร 112 375 487 5-ม.ค.64 20 72 92 12-ม.ค.64 18 103 121 19-ม.ค.64 37 89 126 26-ม.ค.64 37 111 148 พธุ 141 425 566 6-ม.ค.64 37 149 186 13-ม.ค.64 16 64 80 20-ม.ค.64 37 110 147 27-ม.ค.64 51 102 153 พฤหสั บดี 153 489 642 7-ม.ค.64 44 143 187 14-ม.ค.64 19 76 95 21-ม.ค.64 45 151 196 28-ม.ค.64 45 119 164 ศุกร์ 121 424 545 8-ม.ค.64 35 144 179 15-ม.ค.64 15 75 90 22-ม.ค.64 25 95 120 29-ม.ค.64 46 110 156 เสาร์ 97 241 338 2-ม.ค.64 6 39 9-ม.ค.64 37 109 146 16-ม.ค.64 9 33 42 23-ม.ค.64 27 70 97 30-ม.ค.64 18 26 44 อาทิตย์ 16 46 62 3-ม.ค.64 4 59 10-ม.ค.64 4 11 15 17-ม.ค.64 3 8 11 24-ม.ค.64 5 22 27 รวม 686 2,292 2,978 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-86

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-9 จำนวนรถบรรทุกเข้าใช้สถานีขนส่งสินค้าร่มเกลา้ : เดือนกุมภาพันธ์ 2564 วนั /เดือน/ปี รถบรรทุกขนาดเล็ก (คนั ) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (คนั ) รวม (คัน) จนั ทร์ 108 369 477 1-ก.พ.64 24 87 111 8-ก.พ.64 27 104 131 15-ก.พ.64 33 78 111 22-ก.พ.64 24 100 124 อังคาร 138 268 406 2-ก.พ.64 35 49 84 9-ก.พ.64 31 67 98 16-ก.พ.64 33 68 101 23-ก.พ.64 39 84 123 พธุ 139 312 451 3-ก.พ.64 23 70 93 10-ก.พ.64 36 62 98 17-ก.พ.64 44 88 132 24-ก.พ.64 36 92 128 พฤหสั บดี 185 334 519 4-ก.พ.64 39 93 132 11-ก.พ.64 41 87 128 18-ก.พ.64 62 70 132 25-ก.พ.64 43 84 127 ศกุ ร์ 126 237 363 5-ก.พ.64 22 50 72 12-ก.พ.64 47 69 116 19-ก.พ.64 32 83 115 26-ก.พ.64 25 35 60 เสาร์ 125 130 255 6-ก.พ.64 15 32 47 13-ก.พ.64 44 24 68 20-ก.พ.64 28 34 62 27-ก.พ.64 38 40 78 อาทิตย์ 29 36 65 7-ก.พ.64 6 17 23 14-ก.พ.64 5 16 21-ก.พ.64 6 14 20 28-ก.พ.64 12 4 16 รวม 850 1,686 2,536 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-87

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-10 จำนวนรถบรรทุกเข้าใช้สถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า: เดือนมนี าคม 2564 วนั /เดือน/ปี รถบรรทกุ ขนาดเล็ก (คนั ) รถบรรทุกขนาดใหญ่ (คัน) รวม (คัน) จนั ทร์ 162 325 487 1-มี.ค.64 31 59 90 8-มี.ค.64 38 74 112 15-ม.ี ค.64 36 80 116 22-ม.ี ค.64 12 23 35 29-มี.ค.64 45 89 134 องั คาร 218 433 651 2-ม.ี ค.64 51 74 125 9-ม.ี ค.64 38 92 130 16-มี.ค.64 65 93 158 23-มี.ค.64 14 60 74 30-มี.ค.64 50 114 164 พธุ 205 475 680 3-ม.ี ค.64 27 112 139 10-ม.ี ค.64 35 108 143 17-ม.ี ค.64 69 67 136 24-ม.ี ค.64 41 87 128 31-ม.ี ค.64 33 101 134 พฤหสั บดี 165 336 501 4-ม.ี ค.64 26 68 94 11-มี.ค.64 56 89 145 18-มี.ค.64 49 98 147 25-ม.ี ค.64 34 81 115 ศกุ ร์ 163 399 562 5-มี.ค.64 17 99 116 12-มี.ค.64 59 92 151 19-ม.ี ค.64 58 116 174 26-มี.ค.64 29 92 121 เสาร์ 76 98 174 6-มี.ค.64 31 30 61 13-ม.ี ค.64 20 27 47 20-ม.ี ค.64 25 55 27-มี.ค.64 36 61 อาทติ ย์ 31 25 56 7-ม.ี ค.64 12 6 18 14-มี.ค.64 12 6 18 28-ม.ี ค.64 7 13 20 รวม 1,020 2,091 3,111 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-88

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ชว่ งเวลาเฉลีย่ ที่รถบรรทกุ สนิ คา้ เข้าใช้พื้นท่สี ถานีในแต่ละวัน จากการวิเคราะห์จำนวนช่ัวโมงท่ีเข้าใช้สถานีของรถบรรทุกขนาดเล็ก และรถบรรทุกขนาดใหญ่ พบว่า จำนวนชั่วโมงที่มีสัดส่วนสูงสุดของรถบรรทุกทั้ง 2 ประเภท คือ มากกว่า 24 ชั่วโมง (รถบรรทุก ขนาดเล็ก คิดเป็นร้อยละ 57, รถบรรทุกขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 42) และ ช่วง 0-3 ชั่วโมง (รถบรรทุกขนาดเล็ก คิดเป็นร้อยละ 36, รถบรรทุกขนาดใหญ่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 36) ดงั แสดงในรูปท่ี 13.3-12 ถึงรปู ที่ 13.3-13 การเข้าใช้สถานีในช่วง 1-3 ชั่วโมง มีสัดส่วนที่สูงของรถบรรทุกทั้ง 2 ประเภท มีความสอดคล้องกับ ข้อมูลลักษณะการหมุนเวียนของรถบรรทุกสินค้าภายในสถานี ซึ่งจะมีระยะเวลาในการระยะเวลา การขนถ่ายสินค้าข้ึนอยู่กบั ประเภทรถและรปู แบบการจัดเรียงสินค้า ที่อย่ใู นช่วงระยะเวลาระหว่าง 45 นาที – 2.5 ชั่วโมง โดยขอ้ มลู นสี้ ามารถนำไปใช้เพื่อการวางแผนกำหนดอตั ราการค่าจอดได้ เชน่ กำหนดให้รถทเ่ี ข้าใช้สถานีในชว่ ง 0-3 ชัว่ โมง ไมค่ ดิ ค่าบรกิ ารจอดรถ เน่อื งจากในช่วงเวลาดังกล่าว เป็นช่วงที่รถในกลุ่มที่ 1 (กลุ่มรถจอดรอรับส่งสินค้า) ซึ่งเป็นรถบรรทุกกลุ่มเป้าหมายหลักเข้าใช้ พื้นที่ภายในสถานีเพื่อทำกิจกรรมต่างๆ จึงควรให้ความสำคัญและให้สิทธิพิเศษ (เช่น ไม่คิด ค่าบริการจอดรถ) กับรถบรรทุกกลมุ่ นเี้ ป็นหลกั รถบรรทกุ ขนาดเล็ก 24 ชม. (57%) 9 ชม. 0-3 ชม. (2 ) (36 ) 7 ชม. (2 ) 5 ชม. (1 ) 4 ชม. (2 ) รปู ที่ 13.3-12 ช่วงเวลาเฉลี่ยของรถบรรทุกขนาดเล็กเข้าใช้พ้ืนที่สถานใี นแต่ละวัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-89

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 9 ชม. รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ 8 ชม. (2 ) (1 ) 24 ชม. 7 ชม. (42%) (2 ) 6 ชม. 0-3 ชม. (3 ) (36 ) 5 ชม. (4 ) 4 ชม. (5 ) 14 ชม. (1 ) 12 ชม. 11 ชม. 10 ชม. (2 ) (1 ) (1 ) รปู ที่ 13.3-13 ช่วงเวลาเฉล่ียของรถบรรทุกขนาดใหญ่เข้าใช้พ้นื ที่สถานีในแต่ละวัน 13.3.4 ขอ้ มูลการเช่าใช้พ้ืนทภี่ ายในสถานีของผปู้ ระกอบการ จำนวนการเช่าใช้พื้นท่ีอาคารตา่ งๆ ภายในสถานีของผู้ประกอบการแตล่ ะราย จะมีความสอดคล้องกับ จำนวนรถบรรทุกท่ีเข้าใชบ้ ริการภายในพืน้ ท่ีสถานี เช่น ผู้ประกอบการท่ีเช่าใช้พื้นท่ีจำนวนมากก็ย่อม มีจำนวนรถบรรทุกที่มากด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นประเด็นสำคัญที่จะนำมาพิจารณาในการกำหนดจำนวน (โควตา) หรือโควตาจัดสรร ในการอนุญาตให้นำรถบรรทุกเข้ามาใช้พื้นที่ภายในสถานีขนส่งสินค้า สำหรับผู้ประกอบการแตล่ ะราย โควตาจัดสรรในที่นี้หมายถึง จำนวนรถบรรทุกของผู้ประกอบการที่จะได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าใช้ พื้นที่จอดรถภายในสถานีขนส่งสินค้า อาจจะอยู่ในรูปแบบของส่วนลดพิเศษ หรือการยกเว้นค่าใช้ บริการสถานี เช่นในกรณีที่รถบรรทุกจำเป็นจะต้องจอดค้างคืนเพื่อรอรับสินค้าในวันรุ่งขึ้น ผู้ประกอบการก็จะได้รับส่วนลด หรือข้อยกเว้นค่าใช้บริการสถานีได้สำหรับแนวทางในการกำหนด จำนวนโควตาจัดสรรนั้นจะอยู่ภายใต้จำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ที่อยู่ในมาตรการกำหนด จำนวน (Quota) โดยที่ปรึกษาได้กล่าวไว้ในหวั ข้อ 13.3.5 แผนการบริหารจัดการที่จอดรถบรรทกุ ภายในสถานี ยกตัวอย่างเช่น กรณีสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มีจำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ ตามมาตรการกำหนดจำนวน คือ 230 คัน ซึ่งหมายความว่า เมื่อมีผู้ประกอบการเช่าเต็มพื้นที่อาคาร ชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินค้า สำนักงานที่อาคารชานชาลา และสำนักงานที่อาคารบริหารแล้ว ผูป้ ระกอบการกลมุ่ นี้จะไดร้ บั โควตาจัดสรรภายใต้จำนวนช่องจอด 230 คนั โดยการจัดสรรจะพิจารณา ตามสดั สว่ นการเช่าใชพ้ น้ื ที่ของผปู้ ระกอบการแต่ละราย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-90

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) นอกจากนี้ ในการวิเคราะห์เพื่อหาจำนวนช่องจอดรถที่เหมาะสมของสถานีขนส่งสินค้า ที่ปรึกษาได้ อ้างอิงจากข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 ในหมวด 9 อาคารจอดรถ ทจ่ี อดรถ ที่กลบั รถและทางเขา้ ออกของรถ ซง่ึ ไดม้ ขี อ้ กำหนดในการจัดใหม้ ีท่จี อดรถ ดังน้ี - สำนักงานที่มีพื้นที่ห้องทำงานรวมตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป ให้มีที่จอดรถ 1 คันต่อ พนื้ ที่อาคาร 60 ตารางเมตร - คลังสินค้า ที่มีพื้นที่ใช้สอยรวมในแต่ละหลังหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารตั้งแต่ 300 ตารางเมตรข้ึนไป ให้มที ีจ่ อดรถ 1 คันต่อพนื้ ท่อี าคาร 240 ตารางเมตร จากข้อกำหนดในข้างต้น ที่ปรึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์หาจำนวนช่องจอดรถสำหรับ 2 กลุ่ม คือ (1) กล่มุ ผู้ประกอบการที่เช่าพื้นที่คลังสินคา้ ชานชาลาขนถา่ ยสินค้า สำนกั งานที่อาคารชานชาลา และ ชานชาลาอเนกประสงค์ และ (2) กลมุ่ ผปู้ ระกอบการที่เช่าพื้นที่สำนักงานที่อาคารบริหาร โดยจำนวน ช่องจอดที่ได้จะนำไปใช้สำหรับเทียบสัดส่วนให้สอดคล้องกับจำนวนที่จอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ตาม มาตรการกำหนดจำนวน (Quota) ของสถานีขนส่งสินค้าแต่ละแห่ง ข้อมูลการเช่าใช้พื้นที่อาคารภายในสถานีขนส่งสินค้า ที่ปรึกษาได้รวบรวมจากฐานข้อมูล TTMS (เดอื นตลุ าคม 2564) โดยรายละเอยี ดของข้อมูลการเชา่ ใชพ้ ืน้ ทอี่ าคารต่างๆ ดงั นี้ 1) สถานีขนสง่ สินคา้ พทุ ธมณฑล การกำหนดจำนวนโควตาจัดสรร สำหรบั ผู้ประกอบการแต่ละรายของสถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑลนั้น ที่ปรกึ ษาจะพิจารณาเฉพาะผปู้ ระกอบการท่ีเช่าใช้อาคารคลังสินค้า อาคารชานชาลา อาคารชานชาลา อเนกประสงค์ และสำนักงานที่อาคารชานชาลา เป็นเกณฑ์ โดยสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ของ ผูป้ ระกอบการแต่ละราย ดงั แสดงในตารางที่ 13.3-11 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-91

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-11 จำนวนขนาดพืน้ ท่แี ละสดั ส่วนการเชา่ ใช้พ้ืนท่ีอาคารชานชาลา สำนักงานที่อาคารชานชาลาและคลังสนิ คา้ ของสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล ลำดับท่ี ผูป้ ระกอบการ ขนาดพ้ืนท่ี (ตร.ม.) สัดสว่ น (ชานชาลา คลังสินคา้ ชานชาลาอเนกประสงค์ (ร้อยละ) 1 บรษิ ทั บลู แอนด์ ไวท์ โลจิสติกส์ จำกดั 2 บรษิ ทั เอ็มเอส นอรธ์ สตาร์ โลจสิ ติกส์ และสำนกั งานท่อี าคารชานชาลา) 33.3 3 บรษิ ัท นมิ่ ซี่เส็งขนสง่ 1988 จำกดั 19,710 15.9 4 บริษทั แรพดิ ัส ทรานส์ จำกัด 9,400 8.7 5 บริษทั ชวาลกติ ขนส่ง จำกัด 5,154 2.3 6 หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด ธ.พาวเวอร์ ทรคั 1,347 1.4 7 ห้างหุ้นสว่ นจำกดั แสงทวีทรัพย์สนิ 850 0.8 8 เฉลมิ เชงิ รู้ 495 0.8 9 บรษิ ัท นวรรณขนสง่ จำกัด 490 0.8 10 บรษิ ทั นิ่มซเี่ สง็ พาเซล็ เซอร์วิส จำกัด 454 0.8 11 บรษิ ัท นม่ิ เอ็กซ์เพรส จำกดั 454 0.8 12 บริษทั นิวสแ์ ม่สอด ทรานสปอรต์ จำกดั 454 0.8 13 บริษทั บเี อส เอก็ ซเ์ พรส 2020 จำกัด 454 0.8 14 บรษิ ัท ปิยวัฒน์ทรานสปอรต์ จำกดั 454 0.8 15 รัชธนันทร์ ชวลิตรจุ วิ งษ์ 454 0.8 16 รชั นี ซอสันเทียะ 454 0.8 17 หนง่ึ ฤทยั ชัยขุนพล 454 0.8 18 ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด 454 0.8 19 ห้างหุน้ สว่ นจำกัด บ.ี เอส.ขนสง่ 454 0.8 20 ห้างหุ้นสว่ นจำกดั พาณิชยก์ ารขนส่ง 454 0.8 21 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั พแี อล แอนด์ พแี อล 454 0.8 22 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั มะม่วง ขนสง่ 454 0.8 23 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ศรีสะเกษพนมรงุ้ ขนสง่ 454 0.8 24 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด สหลำพนู ขนสง่ 454 0.8 25 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั ป.กติ พิ งศ์ขนส่ง 454 0.8 26 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด ม่งเส็งบุรรี มั ยข์ นสง่ 454 0.7 27 กตัญชลี ตณั ฑวฑุ โฒ 420 0.7 28 กติ ตพิ ร ลม่ิ สกลุ 420 0.4 29 กติ ติมา เพช็ รขำ 227 0.4 227 0.4 227 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-92

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-11 จำนวนขนาดพน้ื ที่และสดั ส่วนการเช่าใชพ้ ืน้ ท่ีอาคารชานชาลา สำนกั งานที่อาคารชานชาลาและคลังสนิ คา้ ของสถานีขนสง่ สินคา้ พุทธมณฑล (ต่อ) ลำดบั ท่ี ผปู้ ระกอบการ ขนาดพน้ื ที่ (ตร.ม.) สัดส่วน (ชานชาลา คลังสนิ ค้า ชานชาลาอเนกประสงค์ (ร้อย 30 เกศราภรณ์ ลลี าชัย ละ) 31 จำเรญิ สาพันธ์ และสำนกั งานที่อาคารชานชาลา) 0.4 32 ชยั วัฒน์ สุนทราวริ ัตน์ 227 0.4 33 ชาญชยั ฟกั ประไพ 227 0.4 34 ณรงค์ ธำรงค์อนันตส์ กุล 227 0.4 35 บรรจง จนั ทร์วาววาม 227 0.4 36 บรษิ ทั เกยี รตนิ ยิ มขนส่ง จำกดั 227 0.4 37 บรษิ ัท จันทรส์ วา่ ง ขนส่ง จำกัด 227 0.4 38 บริษัท เจริญสนิ โลจสิ ติกส์ จำกัด 227 0.4 39 บรษิ ทั ช้องทรานสปอรต์ จำกัด 227 0.4 40 บริษทั โชคนำทาง ขนส่ง จำกดั 227 0.4 41 บริษทั นวิ โชคจิยะชยั ขนสง่ จำกดั 227 0.4 42 บรษิ ทั รชั พล ภาคใต้ จำกดั 227 0.4 43 บริษัท ศภุ ทศั นา จำกดั 227 0.4 44 บริษทั สงขลาชิปป้งิ ขนสง่ จำกัด 227 0.4 45 บริษทั สปดี คิงส์ โลจสิ ติกส์ จำกัด 227 0.4 46 บริษัท สุโขทยั โลจสิ ติกส์ จำกดั 227 0.4 47 บรษิ ัท อปุ กรณ์การเกษตรพทั ลงุ จำกัด 227 0.4 48 บริษัท เอนกธัญกิจ จำกัด 227 0.4 49 บริษัท เอส ที จี เอก็ ซ์เพรส แอนด์ 227 0.4 50 บุญจรสั สิงหษ์ า 227 0.4 51 ปรุงจติ ร ฟักประไพ 227 0.4 52 รำไพ ลลี าชยั 227 0.4 53 ลัดดาวรรณ ต้นแกว้ 227 0.4 54 วิไล แกว้ ตัน๋ 227 0.4 55 ศริ บิ ุญพา อรณุ พงษ์ 227 0.4 56 สฤษด์ิ ประเสริฐสงั ข์ 227 0.4 57 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด (ตง่ิ ) ขนสง่ ชลบรุ ี 227 0.4 58 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ขนส่งชัยนาทสหพิทักษ์ 227 0.4 227 0.4 227 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-93

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-11 จำนวนขนาดพ้นื ท่ีและสดั ส่วนการเช่าใชพ้ ้นื ท่ีอาคารชานชาลา สำนักงานที่อาคารชานชาลาและคลังสนิ ค้า ของสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล (ต่อ) ลำดบั ที่ ผ้ปู ระกอบการ ขนาดพน้ื ท่ี (ตร.ม.) สดั ส่วน (ชานชาลา คลังสนิ ค้า ชานชาลาอเนกประสงค์ (รอ้ ยละ) 59 หา้ งหุ้นสว่ นจำกดั ขา้ มสมุทรขนสง่ 60 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั คงกะพันขนสง่ และสำนกั งานทอ่ี าคารชานชาลา) 0.4 61 ห้างหุ้นส่วนจำกดั โคราชพนมรุ้งขนส่ง 227 0.4 62 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด จันทบรุ ียุทธนา 227 0.4 63 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั เชยี งรายรตั นา ขนสง่ 227 0.4 64 ห้างหุ้นส่วนจำกดั โชคดีสาล่ขี นส่ง 227 0.4 65 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั โชคบญุ มาขนสง่ 227 0.4 66 ห้างหุ้นส่วนจำกดั โชคสถาพรขนสง่ พงั งา 227 0.4 67 ห้างหุ้นส่วนจำกดั ตงั เซ้งยโสธรขนสง่ 227 0.4 68 ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั แต้พงั เฮงขนส่ง 227 0.4 69 หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด ทับสะแกบรกิ ารขนส่ง 227 0.4 70 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด ธนามยั 227 0.4 71 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด ธนาวนิ ขนส่ง 227 0.4 72 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด บรรทกุ รักษ์ ขนสง่ 227 0.4 73 ห้างหุ้นสว่ นจำกัด ภูเกต็ แหลมทองขนส่ง 227 0.4 74 ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด แมส่ อด ทรพั ยม์ งคล 227 0.4 75 ห้างหุน้ ส่วนจำกดั ส.อดุ มสนิ ขนสง่ 227 0.4 76 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั สิงห์ทา่ เรือพทั ลงุ ขนสง่ 227 0.4 77 ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั สงิ หเ์ พม่ิ พูนทรพั ย์ 227 0.4 78 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั สเุ มธ ทรานสปอร์ต 227 0.4 79 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด อังคณาขนส่ง 227 0.4 80 ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอย๋ี วฮงขนส่ง 227 0.4 81 อำพล ฟักประไพ 227 0.4 82 บริษัท พยคั ฆ์ขนส่ง จำกดั 227 0.4 83 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั ฮอเนต ขนส่ง 227 0.4 84 สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา 210 0.4 210 0.3 รวม 200 59,109 ที่มา: ระบบบริหารสถานีขนส่งสินค้า [ออนไลน์] รายงานการใช้พื้นที่ตามประเภทพื้นท่ี (https://ttms.dlt.go.th/ttms-web/ report/e03) กรมการขนส่งทางบก เข้าถึงเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2564 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-94

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากตารางในข้างต้น เห็นได้ว่าผู้ประกอบการที่มีสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ชานชาลา สำนักงานที่อาคาร ชานชาลา ชานชาลาอเนกประสงค์ และคลังสินค้าสูงสุด คือ บริษัท บลู แอนด์ ไวท์ โลจิสติกส์ จำกัด (ร้อยละ 33.3) บริษัท เอ็มเอส นอร์ธสตาร์ โลจิสติกส์ (ร้อยละ 15.9) และบริษัท นิ่มซี่เส็งขนส่ง 1988 จำกดั (รอ้ ยละ 8.7) ตามลำดับ จากสัดส่วนการเช่าพื้นที่อาคารต่างๆ สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อกำหนดจำนวนช่องจอดรถ ที่เหมาะสมเบื้องต้นได้ โดยที่ปรึกษาได้อ้างอิงตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 ในหมวด 9 อาคารจอดรถ ทจี่ อดรถ ทก่ี ลบั รถและทางเข้าออกของรถ ดงั แสดงในตารางที่ 13.3-12 ซึ่งจำนวนช่องจอดรถที่เหมาะสมเบื้องต้นนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อกำหนดจำนวนโควตาจัดสรร ตามมาตรการกำหนดจำนวน (Quota) โดยต้องพิจารณาถึงสัดส่วนการเชา่ พื้นที่ ณ เวลานั้น ร่วมด้วย อย่างไรก็ตาม สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑลยังไม่พบประเด็นปัญหาในเร่ืองการบริหารจดั การท่ีจอดรถ จึงมีเพียงมาตรการการบังคับใช้กฎระเบียบ (Regulation & Enforcement) เท่านั้น หากในปีอนาคต เมื่อเข้าสู่มาตรการกำหนดจำนวน (Quota) ก็สามารถทำการวิเคราะห์เพื่อกำหนดโควตาจัดสรรโดย อา้ งองิ ตามสถานีขนสง่ สินคา้ ร่มเกล้าได้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-95

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-12 จำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญเ่ บ้ืองต้น สำหรบั ผู้ประกอบการ ทเ่ี ชา่ พ้ืนทขี่ องสถานีขนส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล ลำดับท่ี ผ้ปู ระกอบการ จำนวนชอ่ งจอดรถเบ้ืองตน้ สำหรับกลุ่มผู้ประกอบการ ทเ่ี ชา่ พ้นื ทีค่ ลังสนิ คา้ ชานชาลา สำนักงานอาคารชานชาลา 1 บรษิ ทั บลู แอนด์ ไวท์ โลจิสตกิ ส์ จำกัด 2 บรษิ ทั เอ็มเอส นอรธ์ สตาร์ โลจิสติกส์ และชานชาลาอเนกประสงค์ 3 บริษทั น่ิมซ่ีเสง็ ขนส่ง 1988 จำกัด (คัน) 4 บรษิ ัท แรพิดัส ทรานส์ จำกัด 82 5 บรษิ ัท ชวาลกิตขนสง่ จำกัด 39 6 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ธ.พาวเวอร์ ทรคั 21 7 ห้างหุ้นส่วนจำกดั แสงทวีทรัพยส์ นิ 6 8 เฉลิม เชิงรู้ 4 9 บริษัท นวรรณขนส่ง จำกัด 2 10 บริษทั นิ่มซ่ีเส็ง พาเซล็ เซอรว์ ิส จำกัด 2 11 บรษิ ทั น่ิมเอ็กซ์เพรส จำกัด 2 12 บรษิ ทั นิวสแ์ ม่สอด ทรานสปอร์ต จำกัด 2 13 บริษทั บีเอส เอ็กซ์เพรส 2020 จำกัด 2 14 บรษิ ัท ปยิ วัฒน์ทรานสปอรต์ จำกดั 2 15 รชั ธนันทร์ ชวลิตรุจวิ งษ์ 2 16 รชั นี ซอสันเทียะ 2 17 หน่ึงฤทยั ชยั ขุนพล 2 18 ห้างหุ้นส่วนจำกัด 2 19 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั บี.เอส.ขนสง่ 2 20 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด พาณชิ ย์การขนสง่ 2 21 ห้างหุน้ ส่วนจำกัด พแี อล แอนด์ พแี อล 2 22 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด มะม่วง ขนสง่ 2 23 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ศรสี ะเกษพนมรงุ้ ขนสง่ 2 24 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด สหลำพูน ขนส่ง 2 25 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ป.กิตพิ งศข์ นส่ง 2 26 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั มง่ เสง็ บรุ รี ัมย์ขนส่ง 2 27 กตญั ชลี ตัณฑวุฑโฒ 2 28 กิตตพิ ร ลมิ่ สกุล 2 29 กิตติมา เพ็ชรขำ 2 30 เกศราภรณ์ ลลี าชยั 1 1 1 1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-96

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-12 จำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่เบ้ืองตน้ สำหรับผู้ประกอบการ ทเ่ี ชา่ พืน้ ทข่ี องสถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล (ต่อ) ลำดบั ท่ี ผู้ประกอบการ จำนวนช่องจอดรถเบอื้ งตน้ สำหรบั กลุม่ ผู้ประกอบการ ทเ่ี ชา่ พน้ื ที่คลงั สนิ ค้า ชานชาลา สำนกั งานอาคารชานชาลา 31 จำเริญ สาพันธ์ 32 ชัยวฒั น์ สนุ ทราวริ ัตน์ และชานชาลาอเนกประสงค์ 33 ชาญชัย ฟักประไพ (คัน) 34 ณรงค์ ธำรงคอ์ นันตส์ กลุ 1 35 บรรจง จนั ทรว์ าววาม 1 36 บรษิ ทั เกยี รตินิยมขนส่ง จำกดั 1 37 บรษิ ัท จันทรส์ วา่ ง ขนส่ง จำกัด 1 38 บริษัท เจริญสนิ โลจสิ ติกส์ จำกัด 1 39 บริษัท ชอ้ งทรานสปอร์ต จำกัด 1 40 บริษัท โชคนำทาง ขนสง่ จำกัด 1 41 บริษทั นิวโชคจยิ ะชัย ขนส่ง จำกัด 1 42 บริษัท รัชพล ภาคใต้ จำกัด 1 43 บริษัท ศภุ ทศั นา จำกัด 1 44 บรษิ ทั สงขลาชิปปง้ิ ขนสง่ จำกดั 1 45 บริษัท สปีดคงิ ส์ โลจิสติกส์ จำกดั 1 46 บริษทั สโุ ขทัยโลจิสติกส์ จำกัด 1 47 บรษิ ัท อปุ กรณ์การเกษตรพัทลงุ จำกัด 1 48 บรษิ ทั เอนกธัญกิจ จำกัด 1 49 บริษัท เอส ที จี เอก็ ซเ์ พรส แอนด์ 1 50 บุญจรัส สิงห์ษา 1 51 ปรงุ จิตร ฟกั ประไพ 1 52 รำไพ ลลี าชัย 1 53 ลัดดาวรรณ ต้นแกว้ 1 54 วิไล แกว้ ตน๋ั 1 55 ศิริบญุ พา อรณุ พงษ์ 1 56 สฤษด์ิ ประเสรฐิ สงั ข์ 1 57 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั (ตง่ิ ) ขนสง่ ชลบรุ ี 1 58 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ขนส่งชัยนาทสหพิทกั ษ์ 1 59 ห้างหุ้นส่วนจำกดั ขา้ มสมทุ รขนสง่ 1 60 ห้างหุ้นส่วนจำกัด คงกะพันขนสง่ 1 1 1 1 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-97

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-12 จำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญเ่ บื้องต้น สำหรับผู้ประกอบการ ที่เช่าพน้ื ทข่ี องสถานีขนส่งสินคา้ พทุ ธมณฑล (ต่อ) ลำดบั ที่ ผู้ประกอบการ จำนวนช่องจอดรถเบอื้ งตน้ สำหรับกลุ่มผู้ประกอบการ ทเ่ี ชา่ พน้ื ทีค่ ลงั สนิ ค้า ชานชาลา สำนกั งานอาคารชานชาลา 61 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั โคราชพนมร้งุ ขนส่ง 62 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด จนั ทบุรียุทธนา และชานชาลาอเนกประสงค์ 63 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั เชยี งรายรตั นา ขนส่ง (คัน) 64 ห้างหุ้นส่วนจำกดั โชคดสี าลีข่ นสง่ 1 65 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด โชคบุญมาขนส่ง 1 66 ห้างหุ้นส่วนจำกดั โชคสถาพรขนสง่ พังงา 1 67 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด ตังเซง้ ยโสธรขนส่ง 1 68 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั แต้พงั เฮงขนสง่ 1 69 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ทับสะแกบริการขนส่ง 1 70 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ธนามัย 1 71 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด ธนาวินขนสง่ 1 72 ห้างหุ้นส่วนจำกัด บรรทุกรักษ์ ขนส่ง 1 73 ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภเู กต็ แหลมทองขนส่ง 1 74 ห้างหุ้นส่วนจำกัด แมส่ อด ทรัพยม์ งคล 1 75 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด ส.อดุ มสิน ขนส่ง 1 76 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั สงิ ห์ทา่ เรอื พัทลุงขนสง่ 1 77 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด สิงห์เพิม่ พูนทรัพย์ 1 78 ห้างหุ้นส่วนจำกดั สุเมธ ทรานสปอร์ต 1 79 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด องั คณาขนสง่ 1 80 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด เอีย๋ วฮงขนสง่ 1 81 อำพล ฟกั ประไพ 1 82 บรษิ ทั พยคั ฆ์ขนสง่ จำกดั 1 83 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ฮอเนต ขนส่ง 1 84 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1 1 รวม 1 1 246 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-98

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 2) สถานีขนส่งสนิ ค้าคลองหลวง การกำหนดจำนวนโควตาจัดสรร สำหรบั ผู้ประกอบการแต่ละรายของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวงน้ัน ทป่ี รึกษาจะพิจารณาเฉพาะผ้ปู ระกอบการท่ีเชา่ ใช้อาคารคลังสินคา้ อาคารชานชาลา และสำนักงานท่ี อาคารชานชาลา เป็นเกณฑ์ โดยสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ของผู้ประกอบการแต่ละราย ดังแสดงใน ตารางที่ 13.3-13 ตารางที่ 13.3-13 จำนวนขนาดพน้ื ท่ีและสดั ส่วนการเช่าใชพ้ ื้นที่อาคารชานชาลา และคลงั สินคา้ ลำดับท่ี ผูป้ ระกอบการ ขนาดพนื้ ท่ี (ตร.ม.) สัดสว่ น (ชานชาลา คลงั สนิ ค้า (ร้อยละ) 1 บรษิ ัท กรนี สปอต จำกดั สำนกั งานทอี่ าคารชานชาลา) 2 บรษิ ัท โฮม โปรดักส์ เซน็ เตอร์ จำกัด 32.8 3 บรษิ ทั เอสซีจี โลจสิ ตกิ ส์ แมเนจเม้นท์ 9,600 24.9 4 บริษทั พีเค อนิ เตอรเ์ ฟรด จำกัด 7,300 21.2 5 สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ 6,220 7.0 6 บริษทั ก.เกยี รตชิ ัยพฒั นาขนสง่ จำกัด 2,050 6.8 7 บรษิ ัท พงษ์ศิริ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั 2,000 3.8 1,120 3.4 รวม 1,000 29,290 ที่มา: ระบบบริหารสถานีขนส่งสินค้า [ออนไลน์] รายงานการใช้พื้นที่ตามประเภทพื้นท่ี (https://ttms.dlt.go.th/ttms-web/ report/e03) กรมการขนสง่ ทางบก เข้าถึงเม่ือเดือนพฤศจกิ ายน 2564 จากตารางในข้างต้น เห็นได้ว่าผู้ประกอบการที่มีสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ชานชาลา สำนักงานที่อาคาร ชานชาลา และคลังสินค้าสูงสุด คือ บริษัท กรีนสปอต จำกัด (ร้อยละ 32.8) บริษัท โฮม โปรดักส์ เซน็ เตอร์ จำกดั (ร้อยละ 24.9) และบรษิ ัท เอสซีจี โลจสิ ติกส์ แมเนจเม้นท์ (ร้อยละ 21.2) ตามลำดับ จากสดั ส่วนการเช่าพ้ืนท่ีอาคารต่างๆ สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะหเ์ พื่อกำหนดจำนวนช่องจอดรถที่ เหมาะสมเบื้องต้นได้ โดยที่ปรึกษาได้อ้างอิงตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 ในหมวด 9 อาคารจอดรถ ท่ีจอดรถ ที่กลบั รถและทางเข้าออกของรถ ดงั แสดงในตารางที่ 13.3-14 ซึ่งจำนวนช่องจอดรถที่เหมาะสมเบื้องต้นน้ี สามารถนำไปใช้เพื่อกำหนดจำนวนโควตา จัดสรรตามมาตรการกำหนดจำนวน (Quota) โดยต้องพิจารณาถึงสัดส่วนการเช่าพื้นที่ ณ เวลาน้ัน ร่วมดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม สถานขี นสง่ สินค้าคลองหลวงยังไม่พบประเด็นปญั หาในเร่ืองการบริหารจัดการ ที่จอดรถ จงึ มเี พียงมาตรการการบังคับใช้กฎระเบยี บ (Regulation & Enforcement) เท่าน้นั หากใน ปีอนาคตเมื่อเข้าสู่มาตรการกำหนดจำนวน (Quota) ก็สามารถทำการวิเคราะห์เพื่อกำหนดโควตา จัดสรรโดยอ้างองิ ตามสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าได้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook