Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 11:38:00

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)_10-17

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-14 จำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่เบ้ืองต้น สำหรับผู้ประกอบการ ทเี่ ชา่ พน้ื ที่ของสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง จำนวนช่องจอดรถเบือ้ งต้น ลำดับท่ี ผปู้ ระกอบการ สำหรบั กลุม่ ผูป้ ระกอบการทเ่ี ชา่ พ้นื ที่คลงั สนิ ค้า ชานชาลา และสำนักงานอาคารชานชาลา 1 2 (คัน) 3 4 บริษทั กรีนสปอต จำกดั 40 5 6 บริษัท โฮม โปรดกั ส์ เซ็นเตอร์ จำกดั 30 7 บรษิ ทั เอสซจี ี โลจสิ ตกิ ส์ แมเนจเม้นท์ 26 บรษิ ทั พีเค อนิ เตอรเ์ ฟรด จำกดั 9 สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ 8 บรษิ ัท ก.เกียรตชิ ัยพฒั นาขนส่ง จำกดั 5 บริษัท พงษ์ศริ ิ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั 4 รวม 122 3) สถานขี นสง่ สินคา้ รม่ เกลา้ การกำหนดจำนวนโควตาจัดสรร สำหรับผู้ประกอบการแต่ละรายของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าน้ัน ที่ปรึกษาจะพิจารณาเฉพาะผู้ประกอบการที่เช่าใช้อาคารคลังสินค้า อาคารชานชาลา สำนักงาน ที่อาคารบริหาร และสำนักงานที่อาคารชานชาลา เป็นเกณฑ์ โดยสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ของ ผู้ประกอบการแตล่ ะราย ดังแสดงในตารางที่ 13.3-15 และ ตารางท่ี 13.3-16 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-100

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-15 จำนวนขนาดพนื้ ทแี่ ละสัดส่วนการเชา่ ใชพ้ ้ืนท่ีอาคารชานชาลา สำนกั งานท่ีอาคารชานชาลาและคลังสินคา้ ของสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกลา้ ลำดบั ท่ี ผ้ปู ระกอบการ ขนาดพ้ืนท่ี (ตร.ม.) สัดสว่ น (ชานชาลา สำนกั งานที่อาคาร (รอ้ ยละ) 1 บรษิ ทั ทรานส์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั 2 บริษทั รวมถาวรขนสง่ จำกดั ชานชาลา และคลงั สนิ คา้ ) 15.8 3 บริษัท บลูแอนดไ์ วท์ โปรเฟสชันแนล 6,220 12.0 4 บริษทั แนฟ-โปร โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด 4,700 10.1 5 บรษิ ทั โอ.ซ.ี เอส.เอ็กซ์เปรส จำกดั 3,980 7.5 6 บรษิ ัท เยนเนรลั สตารช์ จำกัด 2,935 6.3 7 บรษิ ัท การ์เดี้ยน อินเตอร์เนช่ันแนล 2,470 4.5 8 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด ราชบวร 1,780 4.5 9 บรษิ ทั อาร์ ที เอ็น โลจสิ ตคิ ส์ จำกดั 1,750 4.5 10 บรษิ ัท ทเี อ็นเอก็ ซ์ จำกดั 1,750 3.9 11 บรษิ ัท นิ่มซเี่ ส็งขนสง่ 1988 จำกัด 1,540 3.8 12 บรษิ ัท เจ้าคณุ ดเี ซล แอนด์ ทรานส์ จำกัด 1,480 3.4 13 บริษทั ซพี ี ออลล์ จำกดั (มหาชน) 1,330 2.5 14 บริษัท ไทยคชสาร โลจสิ ติกส์ เซอรว์ ิส 1,000 2.5 15 บริษัท เอน็ ซแี อล อินเตอรเ์ นชัน่ แนล 1,000 2.0 16 บริษทั ซที ีไอ โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด 790 2.0 17 บรษิ ทั ราชบวร อนิ เตอรเ์ นชั่นแนล 775 1.6 18 บรษิ ทั ไดนามคิ ลอจิสติกส์ จำกดั 630 1.5 19 บรษิ ทั นปิ ปอน เอ็กซ์เพรส โลจสิ ติกส์ 600 1.4 20 บริษัท เน็กซ์ โลจสิ ติกส์ จำกดั 565 1.3 21 บริษัท บลู แอนด์ ไวท์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั 510 1.2 22 หา้ งหุ้นส่วนจำกัด 490 1.1 420 0.9 360 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-101

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-15 จำนวนขนาดพ้นื ท่ีและสัดส่วนการเช่าใชพ้ นื้ ท่ีอาคารชานชาลา สำนักงานท่ีอาคารชานชาลาและคลังสินค้า ของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า (ต่อ) ลำดบั ที่ ผ้ปู ระกอบการ ขนาดพน้ื ท่ี (ตร.ม.) สดั ส่วน (ชานชาลา สำนกั งานท่ีอาคาร (รอ้ ยละ) 23 บริษัท ไดนามคิ ทรานสปอร์ต จำกดั 24 บริษัท มีโชคขนส่ง จำกดั ชานชาลา และคลังสนิ คา้ ) 0.8 25 บรษิ ัท ส.อัครแสงทรานสปอร์ต จำกัด 300 0.8 26 บริษัท พเี อสเค 02 ทรานสปอรต์ จำกดั 300 0.8 27 บรษิ ัท จมิ กลอรี่ อนิ เตอรเ์ นชั่นแนล 300 0.6 28 บริษัท คัสตอม โกลด์ เซอร์วสิ จำกัด 225 0.5 29 บริษทั ที พลัส โลจสิ ตคิ ส์ จำกดั 210 0.4 30 บรษิ ทั ไพรม สปดี จำกดั 150 0.4 31 บรษิ ัท สมาร์ท ไลน์ ทรานสปอรต์ จำกัด 150 0.4 32 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด ทวีศักด์ิ อินทะสรอ้ ย 150 0.4 33 บรษิ ทั เอสเอสเค อนิ เตอร์ โลจสิ ตกิ ส์ 150 0.4 34 ห้างหุ้นส่วนจำกัด อันซีน (ไทย) ออร์คิด 150 0.2 75 0.2 รวม 75 39,310 ทีม่ า: ระบบบริหารสถานีขนส่งสินค้า [ออนไลน์] รายงานการใช้พื้นที่ตามประเภทพื้นที่ (https://ttms.dlt.go.th/ttms-web/ report/e03) กรมการขนส่งทางบก เขา้ ถึงเมอื่ เดือนพฤศจกิ ายน 2564 หมายเหตุ: ข้อมลู อัตราการใชง้ าน ณ สิน้ เดือนตุลาคมของปีงบประมาณ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-102

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-16 จำนวนขนาดพื้นทแ่ี ละสัดส่วนการเชา่ ใช้พ้นื ท่ีสำนกั งานที่อาคารบริหาร ของสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า ลำดับท่ี ผปู้ ระกอบการ ขนาดพ้นื ที่ (ตร.ม.) สดั ส่วน (สำนกั งานที่อาคารบริหาร) (ร้อยละ) 1 บริษัท สยามอนิ เตอรโ์ มดลั ทรานสปอรต์ 2 บริษัท เมโทรโพลแี ทนท์ โลจิสตกิ ส์ จำกัด 144 7.2 3 บรษิ ทั พ.ี เจ. ทรานช์แพค็ (ประเทศไทย) 144 7.2 4 หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด ส.สนอง ทรานสปอร์ต 144 7.2 5 บรษิ ัท ยูนิคไทย ทรานสปอร์เตช่นั จำกัด 144 7.2 6 บรษิ ัท เฮอรม์ สิ โลจสิ ติกส เซอรว์ สิ ส์ 135 6.8 7 บรษิ ทั พี เค แอนด์ ที ทรานสปอรต์ 135 6.8 8 สมาคมสหพันธ์การขนสง่ ทางบกแหง่ ประเทศไทย 135 6.8 9 บริษทั ปยิ ะ โลจิสตคิ ส์ จำกดั 135 6.8 10 บริษัท พี แอนด์ เอ 2818 ทรานสปอร์ต 75 3.8 11 บริษทั ซีเคอาร์ โปรเซิฟ จำกดั 60 3.0 12 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั แอลพเี อน็ โลจสิ ตกิ ส์ 54 2.7 13 บริษทั ศรีวิไล โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด 54 2.7 14 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด พรหมมาต 54 2.7 15 บรษิ ทั รงุ่ สงั ข์ กรปุ๊ จำกัด 48 2.4 16 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั ภูริชญ์ ทรานสปอร์ต 48 2.4 17 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั ศรปี ระไพ 48 2.4 18 บริษัท เอ็กซเ์ ซลเล้นท์ โลจสิ ติกส์ จำกัด 48 2.4 19 บรษิ ัท ศรสี ยาม โลจสิ ติกส์ จำกดั 48 2.4 20 บริษัท เฟิรส์ ท์ โลจิสตกิ ส์ จำกดั 48 2.4 21 บริษัท บ.ี วาย. ลอจสิ ตคิ จำกดั 48 2.4 22 บรษิ ทั รญั ธกานต์ ทรานสปอรต์ จำกัด 48 2.4 23 บริษทั เจ้าคุณดีเซล แอนด์ ทรานส์ จำกดั 48 2.4 24 หา้ งหุน้ ส่วนจำกัด ชยั จงเจริญ ขนสง่ 48 2.4 25 บรษิ ัท ทีเอ็นเอ็กซ์ จำกดั 48 2.4 48 2.4 รวม 1,989 ที่มา: ระบบบริหารสถานีขนส่งสินค้า [ออนไลน์] รายงานการใช้พื้นที่ตามประเภทพื้นท่ี (https://ttms.dlt.go.th/ttms-web/ report/e03) กรมการขนสง่ ทางบก เข้าถงึ เมอ่ื เดือนพฤศจกิ ายน 2564 หมายเหตุ: ข้อมลู อตั ราการใช้งาน ณ สิน้ เดือนตุลาคมของปีงบประมาณ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-103

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากตารางในข้างต้น เห็นได้ว่าผู้ประกอบการที่มีสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่ชานชาลา สำนักงานที่อาคาร ชานชาลา และคลังสินค้าสูงสุด คือ บริษัท ทรานส์ โลจิสติกส์ จำกัด (ร้อยละ 15.8) บริษัท รวมถาวร ขนส่ง จำกัด (ร้อยละ 12.0) และบริษัท บลูแอนด์ไวท์ โปรเฟสชันแนล (ร้อยละ 10.1) ตามลำดับ ในขณะที่ผู้ประกอบการที่มีสัดส่วนการเช่าใช้พื้นที่สำนักงานที่อาคารบริหารสูงสุด มี 4 บริษัท ได้แก่ (1) บริษัท สยามอนิ เตอร์โมดัลทรานสปอร์ต (2) บริษัท เมโทรโพลีแทนท์ โลจสิ ติกส์ จำกดั (3) บริษัท พี.เจ. ทรานช์แพ็ค (ประเทศไทย) และ (4) ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.สนอง ทรานสปอร์ต โดยแต่ละแห่ง มีสัดส่วนการเช่าใชพ้ น้ื ทคี่ ดิ เป็นร้อยละ 7.2 ของพนื้ ท่ีเช่าทัง้ หมด จากฐานข้อมูลระบบบริหารสถานีขนส่งสินค้า พบว่า สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มีสัดส่วนการเช่า พื้นที่ชานชาลาขนถ่ายสินค้า สำนักงานท่ีอาคารชานชาลา และคลังสินค้า คิดเป็นร้อยละ 76.5 ของพื้นที่เช่าทั้งหมด และมีสัดส่วนการเช่าพื้นที่สำนักงานที่อาคารบริหาร คิดเป็นร้อยละ 85 ของ พื้นที่เช่าทั้งหมด ซึ่งเมื่อเทียบกับสัดส่วนจำนวนช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ตามมาตรการกำหนด จำนวน (Quota) ในกรณีเช่าเต็มพื้นที่จะมีช่องจอดรถบรรทุกขนาดใหญ่ภายใต้มาตรการน้ีจำนวน 230 ช่องจอด ดังนั้น เมื่อพิจารณาตามสัดส่วนการเช่าพื้นที่ในปัจจุบันของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า สามารถสรุปได้ว่า จำนวนโควตาจัดสรรของกลุ่มผู้ประกอบการที่เช่าพื้นท่ีชานชาลาขนถ่ายสินค้า สำนักงานที่อาคารชานชาลา และคลังสินค้า คิดเป็น 145 คัน และสำหรับกลุ่มผู้ประกอบการเช่า พ้ืนทีส่ ำนกั งานทอ่ี าคารบริหาร คิดเป็น 33 คนั รวมเปน็ จำนวนโควตา้ จัดสรรท้ังหมด 178 คัน โดย รายละเอยี ดการจดั สรรโควตาให้กับผูป้ ระกอบการดงั แสดงในตารางท่ี 13.3-17 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-104

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-17 จำนวนโควตาจดั สรรของผู้ประกอบการเช่าพ้ืนท่ีของสถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกลา้ จำนวนโควตาจัดสรร (คัน) ลำดบั ที่ ผู้ประกอบการ ชานชาลา คลงั สนิ ค้า และ สำนักงาน รวม สำนกั งานทีช่ านชาลา ท่อี าคารบริหาร 1 บรษิ ัท ทรานส์ โลจิสติกส์ จำกดั 22 - 22 2 บริษทั รวมถาวรขนส่ง จำกัด 16 - 16 3 บริษทั บลแู อนดไ์ วท์ โปรเฟสชันแนล 15 - 15 4 บรษิ ัท แนฟ-โปร โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด 10 - 10 5 บรษิ ัท โอ.ซี.เอส.เอ็กซเ์ ปรส จำกดั 9 -9 6 บรษิ ทั เยนเนรลั สตาร์ช จำกัด 6 -6 7 บริษทั การเ์ ดย้ี น อินเตอรเ์ นชั่นแนล 6 -6 8 ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด ราชบวร 6 -6 9 บรษิ ัท ทีเอน็ เอ็กซ์ จำกดั 5 16 10 บริษทั อาร์ ที เอ็น โลจิสติคส์ จำกดั 5 -5 11 บริษทั น่มิ ซีเ่ สง็ ขนส่ง 1988 จำกัด 5 -5 12 บรษิ ทั เจ้าคณุ ดเี ซล แอนด์ ทรานส์ จำกดั 3 1 4 13 บริษทั ซพี ี ออลล์ จำกดั (มหาชน) 3 -3 14 บริษทั ไทยคชสาร โลจสิ ตกิ ส์ เซอรว์ สิ 3 -3 15 บริษทั เอ็นซแี อล อินเตอรเ์ นชน่ั แนล 3 -3 16 บริษัท ซีทีไอ โลจสิ ติกส์ จำกัด 3 -3 17 บรษิ ทั ราชบวร อินเตอรเ์ นชน่ั แนล 3 -3 18 บรษิ ัท ไดนามคิ ลอจสิ ติกส์ จำกดั 2 -2 19 บรษิ ทั นิปปอน เอก็ ซเ์ พรส โลจสิ ตกิ ส์ 2 -2 20 บริษทั เน็กซ์ โลจสิ ติกส์ จำกัด 2 -2 21 บรษิ ัท บลู แอนด์ ไวท์ โลจิสตกิ ส์ จำกดั 2 -2 22 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด 2 -2 23 บรษิ ัท สยามอินเตอรโ์ มดลั ทรานสปอรต์ - 22 24 บริษทั เมโทรโพลแี ทนท์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด - 2 2 25 บริษทั พ.ี เจ. ทรานชแ์ พ็ค (ประเทศไทย) - 22 26 ห้างหุ้นส่วนจำกดั ส.สนอง ทรานสปอรต์ - 22 27 บรษิ ัท ยนู คิ ไทย ทรานสปอร์เตช่ัน จำกัด - 22 28 บรษิ ทั เฮอรม์ สิ โลจสิ ติกส เซอร์วสิ ส์ - 22 29 บริษัท พี เค แอนด์ ที ทรานสปอรต์ - 22 30 สมาคมสหพนั ธก์ ารขนสง่ ทางบกแหง่ ประเทศไทย - 22 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-105

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-17 จำนวนโควตาจัดสรรของผู้ประกอบการเช่าพ้นื ที่ของสถานขี นส่งสนิ ค้ารม่ เกล้า (ต่อ) จำนวนโควตาจดั สรร (คนั ) ลำดบั ที่ ผ้ปู ระกอบการ ชานชาลา คลงั สินคา้ และ สำนักงาน รวม สำนกั งานทช่ี านชาลา ทอี่ าคารบรหิ าร 31 บรษิ ัท ไดนามคิ ทรานสปอร์ต จำกดั 1 -1 32 บริษัท มโี ชคขนสง่ จำกดั 1 -1 33 บรษิ ัท ส.อัครแสงทรานสปอรต์ จำกัด 1 -1 34 บริษทั พีเอสเค 02 ทรานสปอรต์ จำกดั 1 -1 35 บริษทั จมิ กลอรี่ อินเตอรเ์ นชัน่ แนล 1 -1 36 บรษิ ัท คัสตอม โกลด์ เซอรว์ ิส จำกัด 1 -1 37 บรษิ ัท ที พลสั โลจสิ ตคิ ส์ จำกดั 1 -1 38 บริษัท ไพรม สปีด จำกัด 1 -1 39 บริษทั สมารท์ ไลน์ ทรานสปอรต์ จำกดั 1 -1 40 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั ทวีศกั ด์ิ อินทะสรอ้ ย 1 -1 41 บรษิ ทั เอสเอสเค อนิ เตอร์ โลจสิ ตกิ ส์ 1 -1 42 หา้ งหุน้ สว่ นจำกดั อันซนี (ไทย) ออรค์ ิด 1 -1 43 บริษทั ปิยะ โลจสิ ตคิ ส์ จำกดั - 11 44 บรษิ ัท พี แอนด์ เอ 2818 ทรานสปอร์ต - 11 45 บรษิ ทั ซเี คอาร์ โปรเซฟิ จำกดั - 11 46 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด แอลพเี อน็ โลจสิ ตกิ ส์ - 11 47 บรษิ ัท ศรวี ไิ ล โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด - 11 48 หา้ งห้นุ สว่ นจำกัด พรหมมาต - 11 49 บริษทั รงุ่ สงั ข์ กรุ๊ป จำกัด - 11 50 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ภรู ิชญ์ ทรานสปอร์ต - 11 51 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ศรปี ระไพ - 11 52 บรษิ ัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั - 11 53 บริษัท ศรสี ยาม โลจิสติกส์ จำกดั - 11 54 บรษิ ัท เฟริ ์สท์ โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั - 11 55 บรษิ ทั บ.ี วาย. ลอจิสตคิ จำกัด - 11 56 บริษัท รญั ธกานต์ ทรานสปอรต์ จำกดั - 11 57 ห้างห้นุ สว่ นจำกดั ชยั จงเจริญ ขนสง่ - 11 รวม 145 33 178 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-106

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 13.3.5 แผนการบรหิ ารจัดการทจี่ อดรถบรรทุกภายในสถานี การดำเนินการเพื่อบริหารจัดการที่จอดรถบรรทุกภายในสถานีขนส่งสินค้า จำเป็นต้องพิจารณาถึง กลุ่มรถทั้ง 3 กล่มุ ท่เี ขา้ มาใช้บริการ ดงั ท่ีได้กล่าวไว้ในข้างต้น ซ่งึ มาตรการเพื่อแก้ปัญหาที่จอดรถที่ได้ มีการประยุกต์ใช้ในงานด้านวิศวกรรมจราจร โดยปกติจะประกอบไปด้วย 4 มาตรการหลักๆ ได้แก่ (1) การใช้กลไกด้านราคา (Pricing Strategy) (2) การกำหนดพื้นที่ (Zone Restriction) (3) การ กำหนดจำนวน (Quota) และ (4) การบังคบั ใชก้ ฎระเบยี บ (Regulation & Enforcement) • การใชก้ ลไกด้านราคา (Pricing Strategy) - กำหนดราคาค่าจอดรถ สามารถกำหนดให้มีความสัมพันธ์กับเวลาจอด สามารถกำหนด อัตราในลักษณะคงที่หรือไม่คงที่ อัตราค่าจอดจะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม (ปริมาณและ ระยะเวลา) ของการจอดรถ • การกำหนดพน้ื ท่ี (Zone Restriction) - กำหนดพ้ืนที่ที่อนุญาตหรือไม่อนญุ าตให้ทำกิจกรรมน้ันๆ ได้ เช่น กำหนดพื้นที่สำหรับการ จอดสำหรับกล่มุ 2 และ 3 เป็นการเฉพาะ • การกำหนดจำนวน (Quota) - การกำหนดจำนวนการอนุญาตให้นำรถเขา้ พืน้ ทีส่ ำหรบั ผใู้ ช้บริการแต่ละราย • การบงั คับใช้กฎระเบียบ (Regulation & Enforcement) - ออกกฎระเบียบและบงั คับใช้เพอื่ ห้ามมใิ ห้มีการดำเนนิ การ ทง้ั นี้จากการศกึ ษาโดยเทียบเคยี งมิตพิ ิจารณา ประสทิ ธิภาพของมาตรการ ในบรบิ ทของสถานขี นส่ง สินค้าทั้ง 3 แห่ง พบมีผลดังแสดงในตารางที่ 13.3-18 ขณะที่ประสิทธิภาพจากมาตรการจำแนก ตามกลุ่มแสดงในตารางท่ี 13.3-19 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-107

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-18 เปรียบเทียบมาตรการดา้ นพนื้ ทีจ่ อดรถภายในสถานีขนส่งสินค้า มาตรการ 1. Pricing 2. Zone 3. Quota 4. Regulation Strategy Restriction Enforcement ประสทิ ธิภาพของของมาตรการ 1. ประสทิ ธภิ าพในการป้องปราม     2. ความยืดหยุ่นและคลอ่ งตัวของ     การขบั เคล่อื น 3. การหารายได้     4. ความสามารถในการใช้     เทคโนโลยีเพือ่ ลดภาระ ข้อคำนงึ ในการคดั เลือกและเตรียมการ 1. ภาระทางด้านบคุ ลากรของ     สถานี รวมถึงความยากงา่ ยใน การปฏิบตั ิงานของ ผู้รับผดิ ชอบ 2. ความซับซอ้ นของเทคโนโลยี     ทจ่ี ะต้องนำมาใช้ 3. ระยะเวลาเตรยี มการ     4. งบประมาณ     สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-108

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-19 ประสิทธภิ าพของมาตรการจำแนกรายกลุ่ม ผลกระทบจากมาตรการ 1. Pricing 2. Zone 3. Quota 4. Regulation Strategy Restriction Enforcement กลมุ่ ท่ี 1 จอดรถรอรบั สง่ สนิ คา้     กลมุ่ ท่ี 2 จอดพักรถเพ่ือรอไปทำ     กจิ กรรมขนส่งภายนอกสถานี กลมุ่ ท่ี 3 จอดระยะยาวเนอ่ื งจากไม่     มีงาน หรือรอการซอ่ มแซม หรอื เลกิ ใชง้ าน จากบทวิเคราะห์ที่นำเสนอมาในข้างต้นสามารถสรุปเป็นประเด็นจุดเด่นและข้อพึงระวังที่สำคัญ สำหรับการนำแต่ละมาตรการมาใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่จอดรถบรรทุกภายในสถานีขนส่งสินค้า ไดด้ ังนี้ • การใชก้ ลไกด้านราคา (Pricing Strategy) จุดเดน่ - มปี ระสิทธิภาพในระดับทดี่ ี - การกำหนดราคาท่เี หมาะสม จะสามารถควบคุมลักษณะและพฤตกิ รรมการจอดรถได้ท้ัง 3 กลุ่ม ไปพร้อมๆ กัน โดยไมม่ ีความเหลอ่ื มลำ้ ระหวา่ งกลมุ่ - เป็นแหลง่ รายไดก้ ลับสู่สถานีอกี ทางหนึง่ ข้อพึงระวงั ทส่ี ำคัญ - การเตรยี มการมขี ้ันตอนและความซับซ้อนค่อนขา้ งมาก โดยจะตอ้ งมีท้งั (1) การศกึ ษาเพื่อ กำหนดราคาที่เหมาะสม (2) การออกประกาศระเบียบเพื่อควบคุม (3) การติดตั้งอุปกรณ์ และระบบเทคโนโลยี (4) การทำความเขา้ ใจกับผู้ใชบ้ รกิ ารและผู้จอดรถบรรทกุ แตล่ ะกลุม่ - จำเป็นจะต้องใช้งบประมาณตั้งต้นในการติดตั้งระบบเทคโนโลยี ระบบและช่องทางการ จดั เก็บคา่ เขา้ ใชส้ ถาน/ี คา่ ทีจ่ อดรถ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-109

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • การกำหนดพน้ื ที่ (Zone Restriction) จุดเดน่ - เป็นการแบ่งแยกกลุ่มที่ไม่ควรได้รับผลกระทบ (กลุ่มที่ 1) ออกจากกลุ่มการจอดรถอีก 2 ลักษณะซงึ่ ตอ้ งการจะควบคุม - ยังคงสามารถสนับสนุนการขนส่งในภาพใหญข่ องโซนพื้นท่ีได้ - ไม่ถอื เป็นการลดิ รอนสทิ ธ์ขิ องผ้ใู ชบ้ รกิ ารสถานีกลุ่มใดกลุ่มหนึง่ จนเกินไป - การดำเนินการสามารถทำได้ทั้งในรูปแบบที่มีและไม่มีเทคโนโลยีสนับสนุน แต่การใช้ เทคโนโลยีจะช่วยใหก้ ารจดั การทำไดโ้ ดยงา่ ยย่ิงขึ้น ข้อพงึ ระวงั ทส่ี ำคัญ - หากไม่มีระบบเทคโนโลยีมาสนบั สนุน การบริหารจดั การจะมีความซับซอ้ นพอสมควร และ จะเป็นภาระของผปู้ ฏิบตั งิ านภายในสถานี - หากพ้นื ทซี่ ่ึงกันไวส้ ำหรบั การจอดเกดิ เต็ม จะตอ้ งมแี ผนการบริหารสถานการณร์ องรับ - ไมก่ ่อให้เกดิ รายได้กลับมาสูส่ ถานี - อาจไมส่ ามารถแกป้ ญั หากลมุ่ การจอดรถในลกั ษณะท่ี 3 ไดเ้ ท่าทค่ี วร • การกำหนดจำนวน (Quota) จุดเด่น - มีความชัดเจน ตรงไปตรงมา - ไมถ่ อื เป็นการลิดรอนสทิ ธ์ขิ องผู้ใชบ้ ริการสถานกี ลมุ่ ใดกลุ่มหนึง่ จนเกินไป - สามารถดำเนนิ การได้ทงั้ ในกรณีการใช้และไม่ใชเ่ ทคโนโลยี (ไม่ใชเ่ ทคโนโลยี เช่น การแจก สติกเกอร์ การให้แสตมป์บัตรที่อาคารชานและคลัง เป็นต้น) ใช้เทคโนโลยี เช่นการอ่าน ปา้ ยทะเบยี นเพ่ือเชื่อมโยงกบั ระบบฐานขอ้ มูล ขอ้ พึงระวังท่สี ำคญั - ไม่ยืดหยุ่น และอาจสร้างปัญหาในทางปฏิบัติได้พอสมควร โดยเฉพาะรถที่เข้ามารับส่ง สนิ คา้ ภายในสถานี - ยากต่อการบริหารจดั การ พบประเดน็ ในทางปฏิบัติคอ่ นขา้ งมาก - ควรจะต้องมีเทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยในการบริหารจัดการเพ่อื ลดภาระการกำกับดแู ล - สามารถดำเนินการได้ โดยกำหนดให้เป็นมาตรการประกอบ หรือเป็นส่วนหนึ่งของ มาตรการอน่ื ๆ จะช่วยใหเ้ กิดประโยชน์ยงิ่ ขึ้น สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-110

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • การบังคับใชก้ ฎระเบียบ (Regulation & Enforcement) จดุ เดน่ - ดำเนนิ การรวดเร็ว มคี วามซับซอ้ นของการเตรยี มการนอ้ ยที่สุด - มตี ้นทุนทางตรงของการดำเนนิ การตำ่ ทส่ี ุด - เหมาะสำหรับการควบคมุ ลักษณะและพฤติกรรมการจอดรถกลุ่มท่ี 3 ข้อพึงระวงั ทสี่ ำคัญ - เป็นภาระด้านบุคลากรที่จะต้องเป็นผู้กำกับดูแล และไม่สามารถนำเทคโนโลยีมาช่วยใน การลดภาระไดเ้ ท่าใดนกั - จำเปน็ จะตอ้ งทำความเข้าใจกับผไู้ ด้รบั ผลกระทบ - ไมส่ ามารถควบคุมลกั ษณะและพฤติกรรมการจอดรถกลุม่ ท่ี 2 ไดเ้ ท่าใดนัก - สามารถดำเนินการได้ โดยกำหนดให้เป็นมาตรการประกอบ หรือเป็นส่วนหนึ่งของ มาตรการอ่นื ๆ จะช่วยให้เกิดประโยชน์ย่ิงขน้ึ 13.3.6 แผนการดำเนินการ ในการจัดทำแผนดำเนินการบริหารจัดการที่จอดรถบรรทุกนั้น ที่ปรึกษาได้พิจารณาจากสภาพ ปัญหาในปัจจุบัน และข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปได้ว่า สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล และสถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง ควรดำเนินการบริหารจัดการในลักษณะมาตรการการบังคับใช้ กฎระเบียบ (Regulation & Enforcement) เพื่อใช้ในการจัดการและควบคุมรถในกลุ่มที่ 3 เนือ่ งจากปัจจุบันสถานีขนส่งสินค้าท้ัง 2 แห่ง ยังไม่พบประเด็นปัญหาเก่ียวกบั การจดั การพื้นที่จอดรถ และยงั มีพ้ืนทจี่ อดรถเพยี งพอในการรองรับรถบรรทุกท่เี ขา้ มาใชบ้ ริการภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ในส่วนของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าเป็นสถานีขนส่งสินค้าที่มีปัญหาในประเด็นเรื่องการจัดการ ที่จอดรถบรรทุก ที่ปรึกษาจึงได้มีแผนการดำเนินการเพื่อบริหารจัดการที่จอดรถบรรทุกของสถานี ขนสง่ สินคา้ รม่ เกลา้ โดยไดพ้ จิ ารณาจากข้อมลู การใช้งานพ้ืนทีจ่ อดรถในสภาพปัจจุบัน ปัญหา และ ข้อจำกัดต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในสถานี สามารถสรุปแนวทางในการแก้ปัญหาและบริหารจัดการ ท่จี อดรถไดด้ ังน้ี • ที่ปรึกษา เสนอให้ มีการวางแผนการดำเนินการในลักษณะประสมประสานมาตรการทั้ง 4 เข้าดว้ ยกนั โดยกำหนดกล่มุ เป้าหมายและมาตรการทีจ่ ะบงั คับใช้กับแต่ละกลุ่มเป้าหมายอย่าง ชัดเจน โดยเรยี งลำดบั ดงั นี้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-111

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 1) นำมาตรการกำหนดพน้ื ท่ี (Zone Restriction) แยกพน้ื ทจี่ อดรถสำหรบั รถบรรทุกกลุ่มท่ี 1 กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 โดยรถกลุ่มที่ 1 (ผู้ใช้บริการภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า ได้แก่ ชานชาลาขนถ่ายสนิ คา้ คลงั สนิ ค้า) จะเปน็ กลมุ่ เป้าหมายหลัก สามารถจอดได้ฟรี ในพื้นที่โซนสีเขียว ดังแสดงในรูปที่ 13.3-14 โดยรถบรรทุกที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การใช้บริการชานชาลาขนถ่ายสินค้ากับคลังสินค้าจะไม่มีสิทธิ์เข้ามาจอดรถในโซน สีเขียวได้ โดยนำมาตรการการบังคับใช้กฎระเบียบ มาบังคับใช้สำหรับผูท้ ีฝ่ ่าฝืนจอดรถ ผิดโซน (เช่น อาจกำหนดค่าปรับเพิ่มเติม เช่น คันละ 100 บาทต่อชั่วโมง ตามอัตรา ค่าบริการขั้นสูงที่ประกาศโดยคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลางเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2543) 2) นำมาตรการกำหนดจำนวน (Quota) มาจัดสรรเพิม่ สำหรบั ผูป้ ระกอบการทีเ่ ชา่ พืน้ ท่ี ชานชาลาขนถ่ายสินค้า คลังสินค้า สำนักงานที่อาคารชานชาลา และสำนักงานท่ี อาคารบริหาร จะได้รับจัดสรรพื้นที่จอดรถตามพื้นที่เช่า (ดังแสดงในตารางที่ 13.3-17 จำนวนโควตาจัดสรรของผปู้ ระกอบการ จำนวน 178 คนั ) ซ่งึ ทป่ี รึกษาไดจ้ ัดสรรพ้ืนที่ จอดรถเพิ่มเติมอีก 333 คัน ไว้ในโซนสีชมพู ดังแสดงในรูปที่ 13.3-14 (รองรับทั้ง รถบรรทกุ ใหญ่ 230 คนั และรถบรรทุกขนาดเลก็ 120 คนั ) ทั้งน้ีพ้นื ทจี่ อดรถที่กำหนด โควตาจัดสรรนี้ อาจมีการนำสติ๊กเกอร์ชื่อบริษัทระบุไว้บนพื้นทาง เพื่อล็อคช่องจอด กันไม่ให้ผู้ประกอบการรายอื่นนำรถของตัวเองมาจอดในช่องทางของผู้ประกอบการ รายอ่นื ซ่ึงผปู้ ระกอบการแต่ละรายจะต้องบริหารจัดการช่องจอดเอง (สามารถร้องเรียน ให้กรมการขนส่งทางบกเข้ามาตรวจตราและดำเนินการแก้ไขปัญหาให้ได้) ส่วน ผู้ประกอบการกลุ่มที่ 1 ท่ีประสบปัญหารถบรรทุกเสียและต้องการพื้นที่จอดรถเพ่ือ รอซ่อม จะสามารถนำรถบรรทุกไปจอดรอชั่วคราวได้ในโซนสีชมพู (พื้นที่จอดด้าน ทิศตะวันออกของอาคารสำนักงาน) ซึ่งต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่สถานีขนส่งสินค้าทราบว่า จะนำรถท่ีเสียออกเมื่อใด มฉิ ะนน้ั จะต้องชำระค่าปรบั เช่นเดยี วกัน (กรมการขนส่งทางบก จะตอ้ งกำหนดระยะเวลาในการจอดรถรอซ่อมที่เหมาะสมต่อไป เช่น ไมเ่ กิน 7 วัน เปน็ ตน้ ) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-112

โคร พน้ื ทีส่ ำรองในกรณ รูปที่ 13.3-14 ข้อเสนอแนะการ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) รงการจดั ทำแผนพฒั นาเพื่อเพม่ิ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ณีทร่ี ถบรรทกุ เสีย/รอซ่อม รบรหิ ารพนื้ ที่จอดรถตามมาตรการตา่ งๆ 13-113

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 3) นำมาตรการกำหนดการใช้กลไกด้านราคา (Pricing Strategy) มาใช้เนื่องจากสามารถ ควบคุมลักษณะและพฤติกรรมการจอดรถไดท้ ้งั 3 กลมุ่ ไปพร้อมๆ กนั โดยไม่มีความ เหลื่อมล้ำระหว่างกลุ่ม ซึ่งจะมีการจัดทำแนวรั้วกั้นพื้นที่และนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพื่อบริหารจัดการในการเข้า-ออกภายในพื้นที่จอดรถ และเพื่อให้รถบรรทุกขนาดใหญ่ สามารถเข้า-ออกพื้นที่จอดรถได้อย่างสะดวก ต้องจัดทำช่องจอดตามรูปที่ 13.3-14 โดยมรี ายละเอยี ดของแนวทางในการดำเนินการ ดังน้ี • กำหนดราคาค่าบริการพื้นทจ่ี อดรถจำนวน 127 ช่องจอดสำหรับรถบรรทุกใหญ่ ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะอยู่ด้านทิศเหนือของอาคารที่พักและอาคารสำนักงาน ดังแสดงในรูปที่ 13.3-15 และกำหนดให้คิดค่าบริการที่จอดรถเท่ากับ 50 บาทต่อชั่วโมง แต่สูงสุดไม่เกิน 300 บาทต่อวัน เนื่องจากเทียบเคียงกับ อัตราการเก็บค่าเข้าใช้พื้นท่ีจอดรถของสำนักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ที่กำหนดค่าบริการสำหรับรถยนต์หัวลาก หรือรถยนต์หัวลากพร้อมรถพ่วง เท่ากับ 300 บาท/คัน/วัน โดยกำหนดให้ใช้บริการฟรีสำหรับ 3 ชั่วโมงแรก นับตั้งแต่เข้ามายังพื้นที่จอดรถ เพื่อไม่ให้กระทบกับรถบรรทุกใหญ่กลุ่มที่ 1 ที่เข้ามาใช้บริการชานชาลาขนถ่ายสินค้าและคลังสินค้าภายในสถานีขนส่ง สินค้าร่มเกล้า ส่วนการปรับอัตราค่าบริการ คือ ปรับขึ้น 10 บาทต่อชั่วโมง ทกุ 5 ปี (สมมตฐิ านอตั ราคา่ บริการ จะกล่าวถึงถดั ไป) • สำหรับเทคโนโลยีที่นำมาใช้ คือ การนำระบบ semi-automated system โดยใชร้ ะบบจ่ายบัตรขาเข้าแบบอัตโนมตั ิ และชำระเงินขาออกโดยใช้พนักงาน เก็บเงินรวมทั้งมีการติดตั้งระบบการชำระเงินเป็นระบบ smart payment เพอ่ื รองรับการชำระเงินผ่านระบบ QR Code (สมมตฐิ านระบบบริหารท่ีจอดรถ และเงินลงทุนจะกลา่ วถงึ ถัดไป) • ที่ปรึกษาได้ทำการประมาณรายได้และค่าใช้จ่าย รวมทั้งเงินลงทุนที่จะต้อง ใช้ในการดำเนินการตามมาตรการกลไกด้านราคา เพื่อประเมินความเป็นไป ได้ในการลงทุนเบื้องต้นว่ามีความคุ้มค่าหรือไม่ โดยการคาดการณ์ความ ต้องการในการใช้พื้นที่จอดรถแบบเสียเงินนั้น ที่ปรึกษาใช้สมมติฐานว่า รถบรรทุกใหญ่เข้ามาใช้บริการพื้นที่จอดรถแบบเสียค่าบริการเพื่อรอรับ บริการภายในสถานีขนส่งสินค้า ซึ่งใช้บริการฟรีกรณีจอดรถไม่เกิน 3 ชม. และเปน็ การรับประกันวา่ มพี ้ืนท่ีจอดรถแนน่ อน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-114



โคร 127 ช่องจอด รูปที่ 13.3-15 พน้ื ทีจ่ อดรถตามมาตรการการใช้ก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) รงการจัดทำแผนพฒั นาเพื่อเพมิ่ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) กลไกดา้ นราคา (Pricing Strategy) เฉพาะรถบรรทกุ ใหญ่ 13-115

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ผลของการนำมาตรการด้านกลไกราคามาใช้ จะช่วยป้องกันผู้ประกอบการ รถบรรทุกทีไ่ ม่เกยี่ วข้องกบั การใช้บริการภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้านำ รถบรรทุกใหญ่เข้ามาจอดทิง้ ไว้เปน็ ระยะเวลาหลายวัน • สมมติฐานที่ใช้ในการคาดการณ์เงินลงทุน ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ พื้นที่จอดรถบรรทุกพ่วงภายในสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แสดงดังตารางท่ี 13.3-20 โดยสามารถแสดงตัวอย่างเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้ภายในสถานี ดงั รปู ท่ี 13.3-16 ตารางที่ 13.3-20 สรุปสมมติฐานเงนิ ลงทนุ และค่าใช้จ่ายการบริหารจดั การพ้ืนท่จี อดรถบรรทุกพ่วง ลำดับที่ รายการ คุณลกั ษณะ ราคาต่อหนว่ ย หมายเหตุ 1 ระบบจา่ ยบตั รขาเขา้ ระบบตู้จา่ ยบตั รและไมก้ ั้น มรี ะบบ LPR 400,000 บาท 1 ชุด (อ่านป้ายทะเบยี นรถ) 2 ระบบเกบ็ เงนิ ขาออก ระบบเก็บเงินทางออก แบบมีพนักงานนั่ง 250,000 บาท 1 ชุด (Manual) รวมป้อมเกบ็ เงิน มีระบบ LPR (อ่านป้ายทะเบยี นรถ) 3 ระบบ Parking 3.1 ระบบบริหารจัดการพนื้ ท่จี อดรถ 400,000 บาท เหมาจา่ ยครั้งเดยี ว Management Software รองรบั การเป็น Smart Parking 3.2 ระบบศูนย์ควบคมุ ระบบสำรอง 300,000 บาท เหมาจา่ ยคร้งั เดยี ว ข้อมลู 3.3 ระบบห้องควบคุมออนไลน์ 300,000 บาท เหมาจ่ายครั้งเดยี ว 4 ระบบคืนบตั รและชำระเงนิ ตูร้ ับคืนบัตรพร้อมชำระเงินและไมก้ ัน้ 400,000 บาท 1 ชดุ อัตโนมตั ิ (Automatic Pay มรี ะบบ LPR อา่ นป้ายทะเบียนรถ Station) 5 แบริเออร์ กั้นแนวทจ่ี อดรถด้วยแบรเิ ออรพ์ ลาสตกิ 1,000 บาท 100 ชุด แบบเคลอ่ื นยา้ ยได้ 6 คา่ ทาสีตเี ส้น ทาสตี เี ส้นและตดิ สติ๊กเกอร์ระบชุ อ่ งจอด 150,000 บาท เหมาจา่ ยครั้งเดียว 7 ค่าบำรงุ รกั ษาระบบตามข้อ ค่าตรวจสอบ ซอ่ มแซม เปล่ยี นอะไหล่ 10% ตอ่ ปี ทุกปี 1-6 พร้อมค่าบรกิ าร ของมูลค่างาน 8 คา่ ติดต้งั ระบบ ค่าวสั ดุ อุปกรณ์ รวมคา่ บริการติดต้ังแล้ว 400,000 เหมาจ่ายครง้ั เดียว 9 งานรือ้ ถอนอปุ กรณแ์ ละ ค่าวสั ดุ อปุ กรณ์ รวมคา่ บรกิ ารร้อื ถอนแลว้ 150,000 เหมาจา่ ยคร้ังเดยี ว คนื สภาพพนื้ ท่ี (เมอ่ื สนิ้ สุด สญั ญา) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-116

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-20 สรปุ สมมติฐานเงนิ ลงทนุ และค่าใชจ้ า่ ยการบริหารจดั การพ้นื ที่จอดรถบรรทุกพ่วง (ต่อ) ลำดบั ที่ รายการ คณุ ลกั ษณะ ราคาต่อหนว่ ย หมายเหตุ 10 บัตรจอดรถ พมิ พ์สีหนา้ หลัง รองรบั ช่องจอด 130 คัน 80 บาท 390 ใบ (สำรองบตั ร หมุนเวยี นในระบบ 3 เทา่ ของจำนวน ชอ่ งจอด) 11 ค่าเบยี้ ประกนั ภัยบคุ คล คิดร้อยละ 2 ของวงเงินประกนั ภยั 100,000 บาทตอ่ ปี ทุกปี ที่ 3 (วงเงนิ 5 ลา้ นบาท) 12 ค่าจา้ งพนักงาน 10.1 ผ้จู ดั การ 1 คน 35,000 บาทต่อเดอื น 1 กะ = 9 ชม. (08.00-17.00 น.) 10.2 พนกั งานเก็บเงนิ ทางออก 25,000 บาทต่อเดอื น จำนวน 1 คนต่อกะ และสำรอง 1 คนเผือ่ วนั หยดุ รวมทั้งส้นิ 4 คน (2 กะ กะละ 12 ชั่วโมง รวม OT แล้ว) 13 ตน้ ทนุ ทางการเงิน เงินกู้ 3 ล้าน ดอกเบี้ยเงนิ กเู้ ฉล่ีย 120,000 บาทตอ่ ปี ทุกปี (ดอกเบีย้ เงินกู้) รอ้ ยละ 4 ตอ่ ปี 14 ค่าบริหารจัดการ (Margin) ค่าดำเนินการ 7% กำไร 15% ทกุ ปี 15 ภาษีมูลค่าเพมิ่ รอ้ ยละ 7 ทุกปี ที่มา: บริษัทรับบริหารพื้นทจ่ี อดรถจำนวน 3 ราย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-117

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตวั อย่างเครือ่ งจ่ายบัตรขาเขา้ พร้อมไม้กน้ั ชนดิ สูงเป็นพิเศษ ตวั อย่างเครื่องจ่ายบัตรขาเข้า รองรบั การใชง้ านของรถบรรทุกใหญ่ (ท่มี า: https://www.globalsources.com/Car- (ที่มา: https://www.bosch-secure-truck-parking.com park/automated-parking-system-1164693728p.htm /en/news/security-area-frechen/) ?rrec=true&source=Exitpopup_PP#1164693728) ตวั อย่างระบบเก็บเงินขาออก (Manual) รวมป้อมเก็บเงิน ตัวอย่าง Automatic Pay Station พรอ้ มรองรับการ ชำระเงินแบบเงนิ สด และ QR Code (ทม่ี า: http://www.creative-it.co.th/index.php?ge= product_view&gen_lang=240712011754&ptid=3) (ท่ีมา: http://www.xentinelco.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=539935168) รปู ที่ 13.3-16 ระบบเทคโนโลยดี ้านบริหารจัดการทีจ่ อดรถในปัจจบุ นั • ทั้งนี้ การติดตั้งระบบบริหารพื้นที่จอดรถของพื้นที่จอดรถบรรทุกใหญ่ จำนวน 127 ชอ่ งจอดนั้น จะเป็นการตดิ ต้ังเคร่ืองจ่ายบัตรอัตโนมตั ิพร้อมไม้กั้น จำนวน 1 ชุด ส่วนขาออกจะติดตั้งเป็นป้อมเก็บเงินโดยมีเจ้าหน้าที่ประจำ จำนวน 1 ป้อม และติดตง้ั เครอื่ งรบั บัตรพร้อมชำระเงินอัตโนมัตจิ ำนวน 1 เคร่ือง อยา่ งไรก็ตาม ท่ีปรึกษาเสนอให้มีการก้ันช่องจราจรทางดา้ นซ้ายมือสุดเพิ่มเติม เพื่อให้ช่องจอดรถที่อยู่ด้านนอกสุด สามารถรองรับการเข้าจอดและถอย ออกมาได้อยา่ งปลอดภยั โดยเบื้องตน้ เสนอให้ใช้แบรเิ ออร์พลาสติกมาติดต้ัง แทนการกั้นรั้วเหล็ก ซึ่งสามารถติดตั้งได้ง่ายและย้ายออกได้ง่ายกว่าและ มีตน้ ทุนทีต่ ่ำกวา่ การใชร้ ้วั เหล็ก ดังแสดงในรปู ที่ 13.3-17 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-118

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ระบบจ่ายบัตรอตั โนมตั ิพรอ้ มไมก้ นั้ และระบบอ่านปา้ ยทะเบียน ระบบคืนบตั รและชำระเงนิ อตั โนมตั ิ (Automatic Pay Station) และระบบอ่านปา้ ยทะเบยี น ระบบเกบ็ เงนิ ขาออก (Manual) รวมปอ้ มเกบ็ เงิน และระบบอ่านปา้ ยทะเบียน รปู ที่ 13.3-17 ผังการตดิ ตั้งระบบจา่ ยบัตรและชำระเงินค่าท่จี อดรถ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-119

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • สมมติฐานที่ใช้ในการคาดการณ์รายได้จากพื้นที่จอดรถบรรทุกใหญ่ภายใน สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า แสดงดังตารางที่ 13.3-21 ถึงตารางที่ 13.3-26 ทั้งนี้ปริมาณรถบรรทุกที่ต้องการเข้ามาใช้บริการที่จอดรถบรรทุก 127 ช่อง จอดนั้น ที่ปรึกษาประมาณการมาจากจำนวนรถบรรทุกใหญ่ที่ไม่ได้มีความ เกี่ยวข้องกับการใช้งานชานชาลาขนถ่ายสินค้าและคลังสินค้า ซึ่งได้มีการ คาดการณ์ไว้ในบทที่ 7 (ดังแสดงในตารางที่ 7.3-3) โดยใช้อัตราการเติบโต แบบปกติจากแบบจำลอง NAM โดยแสดงปริมาณรถบรรทุกตั้งแต่ปี 2565- 2575 ทั้งนี้สามารถแสดงในตารางที่ 13.3-21 โดยพบว่า จำนวนรถบรรทุก ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้งานสถานีขนส่งสินค้าดังกล่าว มีอยู่ประมาณ 56,000-60,000 เที่ยวต่อปี ทั้งนี้ ที่ปรึกษาจะแยกออกมาเฉพาะรถบรรทุก ขนาดใหญ่ (ตั้งแต่ 10 ล้อขึ้นไป) โดยใช้ขอ้ มูลสดั ส่วนปริมาณรถบรรทุกแยก ตามประเภทในปี 2564 จากฐานข้อมูล GCS ดังแสดงในตารางที่ 13.3-22 ซง่ึ พบว่าในชว่ ง 11 เดือนแรกของปี 2564 นนั้ มจี ำนวนรถบรรทุกท่ีผ่านเข้า ออกสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าในปี 2564 เฉพาะรถบรรทุกที่ไม่ได้มี วัตถุประสงค์เพื่อเข้ามาส่งหรือรับสินค้าจำนวนทั้งสิ้น 26,041 คัน โดยเป็น รถบรรทุกขนาดใหญ่ ขนาดตั้งแต่ 10 ล้อขึ้นไป คิดเป็นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 90 ดังนั้น ที่ปรึกษาจะใช้สมมติฐานสัดส่วนร้อยละ 90 เป็นสัดส่วน ของรถบรรทุกขนาดใหญ่ และจะนำไปใช้ในการคำนวณความต้องการเข้าใช้ พนื้ ทจ่ี อดรถจากผลการคาดการณใ์ นตารางที่ 13.3-21 ตารางท่ี 13.3-21 ผลการคาดการณจ์ ำนวนรถบรรทุกที่จะเขา้ ใชส้ ถานขี นสง่ สนิ ค้ารม่ เกลา้ ในอนาคต กรณีเติบโตปกติตามแบบจำลอง NAM ในช่วงปี 2565-2575 สถานขี นสง่ สินคา้ ร่มเกล้า จำนวนรถบรรทกุ (เที่ยว/ป)ี ปี 2565 ปี 2570 ปี 2575 รถบรรทุกที่ขนส่งสินค้าผ่านสถานีขนส่ง สนิ ค้ารม่ เกลา้ 52,732 55,285 56,709 รถบรรทุกอื่นๆ ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการใช้ งานชานชาลาขนถา่ ยสนิ ค้าและคลังสนิ ค้า 55,964 58,674 60,185 108,696 113,959 116,894 รวม ที่มา: ประมาณการโดยท่ีปรกึ ษา (ดูตารางที่ 7.3-3) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-120

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-22 สดั ส่วนจำนวนรถบรรทกุ ท่ผี ่านเขา้ ออกสถานขี นสง่ สนิ ค้ารม่ เกล้าในปี 2564 เฉพาะรถบรรทกุ ท่ีไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพ่ือเข้ามาสง่ หรอื รับสินค้า ปรมิ าณรถผา่ นสถานีที่ไม่ไดม้ ี ประเภทรถ วัตถุประสงคเ์ พ่อื เขา้ มาส่งหรือรับสนิ ค้า สดั สว่ น (รอ้ ยละ) (คนั /ป)ี รถบรรทกุ 4 ล้อ 1,047 4.0% รถบรรทุก 6 ลอ้ 1,646 6.3% รถบรรทุก 10 ลอ้ 508 2.0% รถบรรทุก 12 ลอ้ 114 0.4% รถกึ่งพ่วง 14 ลอ้ 4,549 17.5% รถกึง่ พว่ ง 18 ลอ้ 10,272 39.4% รถกึ่งพว่ ง 20 ล้อ 19 0.1% รถกึ่งพว่ ง มากกว่า 20 ล้อ 1,728 6.6% รถพว่ ง 14 ล้อ 1,132 4.3% รถพ่วง 18 ลอ้ 4,862 18.7% รถพว่ ง 20 ล้อ 34 0.1% รถพ่วง มากกว่า 20 ล้อ 130 0.5% รวม 26,041 100.0% ที่มา: วิเคราะห์โดยท่ีปรึกษาโดยใช้ฐานขอ้ มูล GCS เดอื นมกราคม-พฤศจิกายน 2564 • ผลการคาดการณ์ความต้องการในการใช้งานพื้นที่จอดรถในช่วงปี 2566- 2575 สามารถแสดงในตารางที่ 13.3-23 สำหรับการคาดการณ์รายได้ ค่าที่จอดรถคำนวณมาจากปริมาณรถต่อวันคูณด้วยสัดส่วนช่วงเวลาเฉลี่ยท่ี อยู่ภายในสถานีตามตารางที่ 13.3-22 จะทำให้ได้ปริมาณรถที่ต้องการที่ จอดรถแยกตามช่วงเวลา จากนัน้ จงึ คูณด้วยอัตราค่าบริการจอดรถ ดังแสดง ในตารางที่ 13.3-25 โดยสามารถคาดการณ์รายได้จากค่าที่จอดรถในช่วงปี 2566-2575 ดังแสดงผลในตารางที่ 13.3-26 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-121

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-23 ความต้องการในการใชง้ านพ้ืนท่จี อดรถของรถบรรทุกขนาดใหญ่ ภายในสถานีขนสง่ สินค้าร่มเกลา้ ในชว่ งปี 2566-2575 ปี พ.ศ. ปริมาณรถบรรทุกขนาดใหญ่ (คัน ปรมิ าณรถบรรทกุ ขนาดใหญ่ ตอ่ ป)ี (คันต่อวนั ) 2566 50,846 139 2567 51,330 141 2568 51,818 142 2569 52,310 143 2570 52,807 145 2571 53,076 145 2572 53,347 146 2573 53,618 147 2574 53,892 148 2575 54,167 148 ตารางท่ี 13.3-24 สัดส่วนช่วงเวลาเฉล่ียท่ีอย่ภู ายในสถานีขนส่งสนิ คา้ ร่มเกล้า ของรถบรรทุกใหญ่ ในปี 2564 (ไมร่ วมเวลาท่ีมากกว่า 24 ชั่วโมง) ระยะเวลาจอด (ชัว่ โมง) สดั ส่วน (ร้อยละ) 0-3 62.1% 4 8.6% 5 6.9% 6 6.0% 7 4.3% 8 1.7% 9 3.4% 10 1.7% 11 1.7% 12 3.4% มากกวา่ 12 แตไ่ ม่เกิน 24 ชม. 0% รวม 100% ท่มี า: ข้อมูลสถติ ิช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2564 จากฐานขอ้ มูลระบบ GCS ของสำนักการขนส่งสินค้า กรมการขนสง่ ทางบก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-122

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.3-25 อตั ราคา่ บริการจอดรถบรรทกุ ใหญ่ท่ีเสนอแนะ ภายในสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า ระยะเวลา อตั ราค่าบริการท่ีจอดรถ (บาท/คัน) ปี 2565-2569 ปี 2570-2574 ปี 2575-2579 ไม่เกิน 3 ชม. ไมค่ ิดคา่ บริการ ไม่คดิ คา่ บรกิ าร ไม่คดิ คา่ บริการ 4 ชม. 50 60 70 5 ชม. 100 120 140 6 ชม. 150 180 210 7 ชม. 200 240 280 8 ชม. 250 300 300 9 ชม. ขึน้ ไป 300 300 300 หมายเหตุ: 1) อตั ราค่าบริการใช้ลานจอดรถสำหรับรถทกุ ประเภทคันละไม่เกิน 100 บาทตอ่ ชั่วโมง เศษของชั่วโมงให้คิด เป็น 1 ชั่วโมง ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง เรื่องกำหนดอัตราค่าบริการใน การดำเนินการของสถานีขนสง่ สัตว์และหรอื สงิ่ ของเพ่มิ เติม ประกาศ ณ วันท่ี 4 ตุลาคม 2543 2) อตั ราการเก็บคา่ เข้าใช้พ้ืนทีจ่ อดรถของสำนกั งานท่าเรอื อุตสาหกรรมมาบตาพดุ มรี ายละเอียดแยกตาม ประเภทรถ ดงั นี้ รถยนตบ์ รรทุกไมเ่ กิน 10 ล้อ 200 บาท/คัน/วัน รถยนตห์ ัวลาก หรือรถยนตห์ ัวลากพร้อมรถพว่ ง 300 บาท/คัน/วัน ตารางท่ี 13.3-26 ผลการคาดการณร์ ายได้จากการบริหารจัดการพ้นื ทจ่ี อดรถบรรทกุ ใหญ่ ระยะเวลาจอด สดั ส่วน รายได้คา่ ท่ีจอดรถ (บาทตอ่ วนั ) (ช่ัวโมง) (รอ้ ยละ) 2566 2571 2576 0-3 62.1% - - - 4 8.6% 600 780 910 5 6.9% 1,000 1,200 1,400 6 6.0% 1,200 1,620 1,890 7 4.3% 1,200 1,440 1,680 8 1.7% 500 900 900 9 3.4% 1,500 1,500 1,500 10 1.7% 600 900 900 11 1.7% 600 900 900 12 3.4% 1,500 1,500 1,500 รวม 100% 8,700 10,740 11,580 ทีม่ า: ประมาณการโดยที่ปรกึ ษา สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-123

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • ทั้งนี้ สามารถสรุปผลการวิเคราะห์กระเสเงินสดรายรับและค่าใช้จ่ายจาก การบริหารพื้นที่จอดรถตลอดช่วง 10 ปี ดังแสดงในตารางที่ 13.3-27 ซึ่งพบว่า ต้องใช้เงินลงทนุ เบื้องต้นประมาณ 2.5 ล้านบาท และในระยะแรก รายรับจากค่าที่จอดรถยังไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่าย ซึ่งต้องใช้เวลาประมาณ 6 ปี จงึ จะคืนทุน ตารางท่ี 13.3-27 สรุปกระแสเงินสดรายรบั และค่าใชจ้ า่ ยของการบริหารพื้นที่จอดรถบรรทุกใหญภ่ ายใน สถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า ตลอดช่วงปี 2566-2575 หน่วย: ลา้ นบาท ปที ่ี ปี เงนิ คา่ จา้ ง ค่า ค่า ค่า ค่าบรหิ าร ภาษี รวม รายได้ กำไร กำไร ลงทนุ บคุ ลากร ประกนั ภัย บำรงุ รักษา ดอกเบย้ี จดั การ มลู คา่ รายจา่ ย สทุ ธิ สะสม ปีแรก รายปี เงินกู้ (Margin) เพิม่ 1 2566 2.478 1.572 0.100 0.218 0.200 1.005 0.210 5.782 3.176 (2.606) (2.606) 2 2567 1.619 0.100 0.223 0.200 0.471 0.037 2.650 3.206 0.555 (2.051) 3 2568 1.668 0.100 0.229 0.200 0.483 0.037 2.717 3.236 0.519 (1.532) 4 2569 1.718 0.100 0.235 0.200 0.495 0.037 2.785 3.267 0.482 (1.050) 5 2570 1.769 0.100 0.240 0.200 0.508 0.038 2.856 3.298 0.442 (0.608) 6 2571 1.822 0.100 0.246 0.200 0.521 0.038 2.928 3.920 0.992 0.384 7 2572 1.877 0.100 0.253 0.200 0.535 0.039 3.003 3.940 0.937 1.322 8 2573 1.933 0.100 0.259 0.200 0.548 0.039 3.080 3.960 0.881 2.202 9 2574 1.991 0.100 0.265 0.200 0.562 0.040 3.159 3.980 0.822 3.024 10 2575 0.150 2.051 0.100 0.272 0.200 0.577 0.051 3.401 4.001 0.600 3.624 ท่ีมา: ท่ปี รึกษา หมายเหตุ: เงินลงทุนในปี 2575 คือ คา่ รื้อถอนระบบ (สมมติฐานสัญญา 10 ปี) • นอกจากระบบบรหิ ารทีจ่ อดรถทไ่ี ด้เสนอแนะไวข้ ้างต้น (ซง่ึ ประกอบดว้ ยช่อง จอดรถ 127 ช่องจอด พร้อมระบบไม้กั้นขาเข้า 1 ช่อง และขาออก 2 ช่อง โดยเป็นระบบชำระเงินอัตโนมัติ 1 ช่อง และแบบชำระเงินผ่านพนักงาน 1 ช่อง คิดเป็นเงนิ ลงทนุ ประมาณ 2.5 ล้านบาท) แล้ว ทปี่ รกึ ษาขอเสนอทางเลือกเพ่ิมเติม คือ การนำระบบ GCS ที่ทางกรมการขนส่งทางบก ติดตั้งไว้อยู่แล้วบริเวณ ทางเข้าและทางออกหลักของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า มาติดตั้งเพิ่มเติม ภายในบริเวณพื้นที่จอดรถจำนวน 127 ช่องจอด โดยเสนอแนะให้มีการ ตดิ ตง้ั ขาเข้าพื้นท่ีจอดรถจำนวน 1 ชุด และขาออกจากพ้นื ท่จี อดรถอีก 1 ชุด โดย การชำระเงินค่าที่จอดรถให้ไปชำระที่ทางออกหลักของสถานีขนส่งสินค้า ท่ี จะมกี ารตดิ ตั้งป้อมรบั ชำระเงินเพ่ิมเติมจำนวน 1 ช่อง ดังแสดงในรูปที่ 3.3-18 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-124

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ระบบ Gate Control System (GCS) ท่ีติดตงั้ เพิ่มเตมิ รูปที่ 3.3-18 ตำแหนง่ ตดิ ตงั้ ระบบ GCS เพ่ิมเตมิ ภายในพน้ื ท่ีจอดรถของสถานีขนส่งสินคา้ ร่มเกล้า • แนวทางในการบริหารพื้นที่จอดรถกรณีมีการติดตั้งระบบ GCS เพิ่มเติม ภายในพื้นที่จอดรถ 127 ช่องจอด อธิบายได้ดังนี้ เมื่อรถบรรทุกมาถึงยัง ทางเข้าหลักของสถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า จะผ่านระบบ GCS มีการบันทึก ป้ายทะเบียนรถพร้อมเวลาขาเข้า จากนั้นรถบรรทุกจะเข้าไปใช้บริการ ภายในพื้นที่ของผู้ประกอบการขนส่งสินค้าที่ชานชาลาขนถ่ายสินค้า หรือ คลังสินคา้ หรืออาคารบริหาร ซึ่งมีการระบชุ ่องจอดรถแยกรายบรษิ ัทไว้แล้ว ซงึ่ หากเปน็ รถบรรทุกท่ไี มไ่ ด้เขา้ มาติดตอ่ ผ้ปู ระกอบการรายใดรายหนึ่ง จะไม่ สามารถจอดรถทิ้งไว้ได้ โดยเมื่อเสร็จธุระ รถบรรทุกคันดังกล่าว (ที่เข้ามา ติดต่อกับผู้ประกอบการจริง) เมื่อมาถึงทางออกหลักของสถานี ระบบ GCS มีการบันทึกป้ายทะเบียนรถพร้อมเวลาขาออกอีกครั้งหนึ่ง โดยไม่ต้องมีการ ชำระค่าทจี่ อดรถ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-125

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • อย่างไรก็ตาม หากรถบรรทุกคันดังกล่าวประสงค์จะจอดรถในพื้นที่จอดรถ 127 ช่อง ที่มีการเรียกเก็บค่าบริการ (ฟรีค่าจอดรถ 3 ชั่วโมงแรก และ จากนั้นคิดอัตรา 50 บาทต่อชั่วโมง) เมื่อผ่านเข้าไปยังพื้นที่จอดรถดังกล่าว ระบบ GCS ทีต่ ิดต้ังเพิม่ เตมิ ไวแ้ ล้ว จะบนั ทกึ ปา้ ยทะเบยี นรถและบนั ทึกเวลา ขาเข้า เมื่อรถบรรทุกต้องการออกจากพื้นที่จอดรถ ระบบ GCS ขาออกจะ ทำการอ่านป้ายทะเบียนรถและบันทึกเวลาขาออกจากพื้นที่จอดรถ และ คำนวณระยะเวลาที่อยู่ภายในพื้นที่จอดรถ จากนั้นรถบรรทุกคันดังกล่าว เมื่อมาถึงทางออกหลักของสถานีขนส่งสินค้ารม่ เกล้า ระบบ GCS จะทำการ บันทึกป้ายทะเบียนรถพร้อมเวลาขาออกอีกครั้งหนึ่ง พร้อมกับชำระค่าที่ จอดรถตามอตั ราค่าบริการที่กำหนด ดงั แสดงแนวคดิ ในรปู ท่ี 13.3-19 • ด้วยระบบบริหารจัดการที่จอดรถเช่นนี้ จะช่วยป้องกันเจ้าของรถบรรทุกที่ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เข้ามาใช้บริการหรือติดต่อกับผู้ประกอบการภายใน สถานีขนส่งสินค้าไม่สามารถนำรถบรรทุกเข้ามาจอดค้างคืนไว้ได้ เพราะ จะตอ้ งเสียคา่ ทจี่ อดรถในราคาแพง (300 บาทตอ่ คนั ตอ่ วนั ) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-126

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ระบบ GCS ทางเข้าหลัก บนั ทึกปา้ ยทะเบยี นรถบรรทุกและ บันทึกเวลาขาเขา้ ไมใ่ ช่ จอดรถภายในพืน้ ท่ี ใช่ จอดรถ 127 ชอ่ ง ระบบ GCS ทางออกหลัก ระบบ GCS บริเวณพืน้ ที่จอดรถ บันทกึ ปา้ ยทะเบยี นรถบรรทกุ และบันทกึ บันทึกป้ายทะเบียนรถบรรทกุ บันทึกเวลา ขาเข้าและบนั ทึกเวลาขาออกจากพื้นทจี่ อดรถ เวลาขาออก คำนวณระยะเวลาท่ี และคำนวณระยะเวลาท่ีอยู่ในพื้นท่จี อดรถ รถบรรทกุ อย่ใู นสถานี จากน้ันคนขบั ระบบ GCS ทางออกหลกั รถบรรทุกขับออกจากสถานี บนั ทึกป้ายทะเบียนรถบรรทุกและบันทกึ เวลา (ไม่ตอ้ งชำระคา่ ทีจ่ อดรถ) ขาออก จากนน้ั คนขบั รถบรรทุกชำระค่าทีจ่ อดรถ รปู ท่ี 3.3-19 แนวทางการบรหิ ารพ้ืนท่ีจอดรถภายในสถานขี นสง่ สินค้าร่มเกลา้ กรณีตดิ ต้งั ระบบ GCS เพ่ิมเติมภายในพืน้ ท่จี อดรถ 127 ชอ่ ง โดยแผนและกจิ กรรมท่ีเกย่ี วข้องกบั การบริหารจดั การพื้นที่จอดรถบรรทกุ แสดงในตารางที่ 13.3-28 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-127

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-28 แผนการบริหารจัดการพื้นท่ีจอดรถบรรทกุ ภายในสถานีขนส่งสนิ คา้ กรณีลงทุนในระบบจัดเกบ็ ค่าจอดรถ แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปที ่ดี ำเนินการ (ล้านบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 1. จดั ประชมุ ประชาพจิ ารณเ์ รื่องการบริหารจัดการพ้ืนที่จอด - รถบรรทุกภายในสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ 2. จัดทำร่าง TOR จดั ซ้อื จดั จ้างระบบบรหิ ารพ้ืนทีจ่ อด - รถบรรทุกภายในสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ 3. ประกาศผลผ้ไู ดร้ ับการคดั เลอื กบริหารจัดการพนื้ ทีจ่ อด - รถบรรทกุ ภายในสถานีขนสง่ สินคา้ ร่มเกลา้ 4. ปรับปรุงเครื่องหมายบนพื้นทาง โดยทาสีตีเส้น หรือติดต้ัง 0.465 สติ๊กเกอรร์ ะบุช่องจอดตามรายชือ่ ผู้ประกอบการภายในสถานี ขนส่งสินค้าร่มเกล้า (ตามมาตรการกำหนดพื้นที่ มาตรการ กำหนดจำนวน และมาตรการบังคบั ใชก้ ฎระเบยี บ) 5. ดำเนินการติดตั้งระบบบริหารจัดการพื้นที่จอดรถบรรทุก 2.500 ภายในสถานีขนสง่ สนิ ค้าร่มเกล้า 6. เริ่มต้นใช้มาตรการจัดเก็บค่าที่จอดรถบรรทุกภายในพื้นท่ี - ทีก่ ำหนด (127 ชอ่ งจอด) ของสถานีขนสง่ สินคา้ รม่ เกล้า 7. ประเมินผลการดำเนินงานการบริหารจัดการพื้นที่จอด - รถบรรทุกภายในสถานขี นสง่ สินค้ารม่ เกล้า (ทุก 6 เดอื น) 8. ขยายผลมาตรการการบริหารพื้นที่จอดรถทั้ง 4 มาตรการไป ยงั พน้ื ทีส่ ถานขี นสง่ สนิ ค้าอน่ื ๆ รวม 2.965 0.465 2.500 o อย่างไรก็ดีการดำเนินการจัดเก็บค่าจอดรถในพ้ืนที่ส่วนกลางนี้อาจมีปัญหาเชิงภาพลักษณ์ว่า กรมการขนส่งทางบกต้องการหารายได้จากที่จอดรถ รวมทั้งผลตอบแทนจากการลงทุนใน ระบบบริหารจัดการจัดเก็บค่าจอดรถค่อนข้างต่ำมากและใช้ระยะเวลาคืนทุนนาน ดังนั้นเพ่ือ ไม่ให้เป็นภาระกบั สถานีขนส่งสินค้า ในขั้นเริม่ ต้นจงึ อาจไม่ต้องลงทนุ ในระบบการเก็บค่าจอด แต่ให้ทำการออกประกาศอนุญาตการจอดในพื้นที่ส่วนกลางได้ไม่เกิน 3 ชั่วโมง และกำหนด เป็นค่าปรับหากมีการฝ่าฝืน ซึ่งเป็นเสมือนการใช้กลไกด้านราคาแบบแฝง แต่เป็นมาตรการ บังคบั ใชก้ ฎระเบยี บ (Regulation & Enforcement) มาดำเนินการแทน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-128

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.3-29 แผนการบรหิ ารจดั การพน้ื ทีจ่ อดรถบรรทุกภายในสถานขี นส่งสนิ คา้ กรณีไมล่ งทุนในระบบจดั เก็บคา่ จอดรถ แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปีท่ดี ำเนินการ 2569 (ล้านบาท) 2565 2566 2567 2568 1. จัดประชมุ ประชาพิจารณเ์ รือ่ งการบริหารจัดการพ้ืนท่จี อด - รถบรรทกุ ภายในสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ 2. ปรับปรุงเครื่องหมายบนพื้นทาง โดยทาสีตีเส้น หรือติดต้ัง 0.465 สติ๊กเกอรร์ ะบุช่องจอดตามรายชื่อผู้ประกอบการภายในสถานี ขนส่งสินค้าร่มเกล้า (ตามมาตรการกำหนดพื้นที่ มาตรการ กำหนดจำนวน) 3. เริ่มต้นใชต้ ามมาตรการกำหนดพื้นที่ มาตรการกำหนดจำนวน - และมาตรการบงั คับใช้กฎระเบียบ ของสถานขี นส่งสินค้าร่มเกล้า 4. ประเมินผลการดำเนินงานการบริหารจัดการพื้นที่จอด - รถบรรทุกภายในสถานขี นส่งสินคา้ ร่มเกลา้ (ทุก 6 เดือน) 5. ขยายผลมาตรการการบริหารพื้นที่จอดรถทั้ง 4 มาตรการไป ยังพน้ื ทสี่ ถานขี นส่งสินคา้ อน่ื ๆ รวม 0.465 0.465 13.4 การจัดการสาธารณปู โภค 13.4.1 การบริหารจัดการพ้ืนที่สาธารณูปโภคส่วนกลางในภาพรวม สาธารณูปโภคส่วนกลางในที่นี้หมายรวมถึงโครงสร้างพื้นฐานและระบบต่างๆ ที่มีภายในสถานี ขนส่งสินค้าเพื่อสนับสนุนการใช้งานและการอยู่อาศัยภายในสถานีอย่างเป็นสาธารณะ ประกอบด้วย งานถนน ห้องน้ำสาธารณะ ระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าส่องสว่าง ระบบประปา ระบบสื่อสาร ระบบระบายน้ำและบริหารจัดการน้ำผิวดิน รวมถึงการบริหารจัดการอื่นๆ เช่น การบรหิ ารจดั การขยะ อย่างไรก็ดี เนื่องจากในส่วนงานถนนได้มีการกล่าวถึงไว้แล้วในส่วนของแผนการบริหารจัดการ จราจรส่วนหนึ่ง และยังจะกล่าวถึงในส่วนของงานปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน จึงไม่ถูกนำรวมมา ปรากฎไว้แผนการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณูปโภคส่วนกลาง นอกจากนี้จากการสำรวจรวบรวม และวเิ คราะหป์ ญั หาพบว่าในแต่ละสถานีจะมีปญั หาพื้นฐานทค่ี ล้ายคลงึ กันแตก่ ็จะมีปัญหาที่มีความ เฉพาะเจาะจงในแต่ละสถานีที่แตกต่างกันไป แผนจึงถูกแยกไว้เป็น 3 แผนย่อยรายสถานี เพื่อให้ สามารถกำหนดแผนงานที่มีความซบั ซอ้ นหรือความเร่งด่วนไดแ้ ตกต่างกนั ไป สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-129

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) จากการศึกษาสามารถสรุปประเด็นปัญหาด้านการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณูปโภคส่วนกลางที่ สำคัญและจำเปน็ เรง่ ด่วนสำหรบั สถานีขนส่งสินคา้ แต่ละแหง่ ไดด้ งั น้ี • สถานีขนส่งสนิ ค้าพทุ ธมณฑล - ปญั หาจากการผลติ นำ้ ประปาได้ไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการ - ปัญหาจากปริมาณขยะที่มีมากและกระบวนการพักและจัดเก็บสินค้ายังทำได้ไม่ดี เทา่ ท่คี วร - ปัญหาห้องน้ำสาธารณะ • สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง - ปัญหาคุณภาพน้ำประปาจากระบบประปาภายในสถานี - ปญั หาคูนำ้ รอบสถานีต้นื เขิน ประตนู ้ำและระบบผลกั ดันน้ำชำรดุ • สถานขี นส่งสินคา้ รม่ เกลา้ - ปญั หาคุณภาพนำ้ ประปาจากระบบประปาภายในสถานี - ปัญหาหอ้ งนำ้ สาธารณะ จากประเดน็ ปัญหาหลักๆ ในแตล่ ะสถานดี ังที่กลา่ วมาสามารถจัดทำเป็นแผนเพื่อการบริหารจัดการ พ้ืนท่ีสาธารณูปโภคสว่ นกลางทีม่ ีความเฉพาะเจาะจงสำหรับสถานีขนส่งสนิ ค้าแตล่ ะแห่งได้ดังแสดง ในตารางท่ี 13.4-1 ถึง ตารางที่ 13.4-3 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-130

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.4-1 แผนการบริหารจดั การพื้นทส่ี าธารณปู โภคสว่ นกลาง สถานีขนสง่ สนิ คา้ พทุ ธมณฑล แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปที ีด่ ำเนนิ การ (ลา้ นบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 0.200 1. ซ่อมบำรุง ปรับปรุง และเพิ่มกำลังการจ่ายน้ำประปาของ ระบบประปาภายในสถานี - ตรวจสอบระบบท่อ เครื่องปั้มน้ำ และปรับปรุงให้อยู่ใน 2.000 สภาพดีพรอ้ มใชง้ าน - ติดตั้งถังสูงพักน้ำเพิ่มเติม (ถังแชมเปญขนาด 50 ลบ.ม. 2.500 จำนวน 4 ถัง) 2. ปรับปรงุ ระบบการพกั และจัดเกบ็ ขยะภายในสถานี - ปรับปรุงพื้นที่พักและกองเก็บขยะ (อาจก่อสร้างเป็นห้อง 1.000 หรอื โครงสร้างผนงั มีประตูก้นั พร้อมแยกประเภทของขยะ) - ประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อปท. เทศบาล) - เพื่อประสานความเข้าใจและจัดทำแผนการจัดเก็บขยะ ร่วมกัน (รวมถึงหารือเกี่ยวกับอัตราค่าจ้างจัดเก็บขยะท่ี เหมาะสม) - ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการแยกประเภทของขยะ เพื่อให้ - สะดวกต่อการจัดเก็บและจัดการขยะอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. ปรับปรุงห้องน้ำสาธารณะที่มีในปัจจุบันให้อยู่ในสภาพดี พรอ้ มใช้งาน มีความสะอาดและสุขอนามัยอย่างทั่วถึงและ ได้มาตรฐาน - ปรับปรุงกายภาพ งานระบบ และสขุ ภณั ฑ์ ให้อยู่ในสภาพ 1.000 ดพี รอ้ มใชง้ าน - เพิ่มรอบการทำความสะอาดหอ้ งน้ำ 0.600 - พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดเก็บค่าบริการเพื่อ - นำมาใชเ้ ปน็ คา่ จ้างทำความสะอาดและซอ่ มบำรงุ หอ้ งน้ำ 4. ปรบั ปรุงระบบระบายนำ้ และป้องกนั นำ้ ท่วม - ขุดลอกคูนำ้ รอบสถานี 1.000 - ปรับปรุงประตูน้ำและระบบขับดันน้ำ (ปั้มน้ำ) ออกจาก 1.000 สถานี รวม 9.100 4.500 6.000 0.200 0.200 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-131

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 13.4-2 แผนการบริหารจดั การพนื้ ท่สี าธารณปู โภคสว่ นกลาง สถานขี นส่งสนิ ค้าคลองหลวง แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปที ีด่ ำเนนิ การ (ล้านบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 2.700 1. ซ่อมบำรุง ปรับปรุง และเพิ่มกำลังการจ่ายน้ำประปาของ ระบบประปาภายในสถานี - ตรวจสอบระบบท่อ เครื่องปั้มน้ำ และปรับปรุงให้อยู่ใน 2.000 สภาพดีพร้อมใช้งาน - ติดตั้งถังสูงพักน้ำเพิ่มเติม (ถังแชมเปญขนาด 50 ลบ.ม. 2.500 จำนวน 4 ถงั ) 2. ปรบั ปรงุ ระบบการพกั และจดั เกบ็ ขยะภายในสถานี - ปรับปรุงพื้นที่พักและกองเก็บขยะ (อาจก่อสร้างเป็นห้อง 1.000 หรือโครงสร้างผนังมีประตูกั้น พร้อมแยกประเภทของ ขยะ) - ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการแยกประเภทของขยะ เพื่อให้ - สะดวกตอ่ การจดั เกบ็ และจดั การขยะอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. ปรับปรุงห้องน้ำสาธารณะที่มีในปัจจุบันให้อยู่ในสภาพดี พรอ้ มใชง้ าน มีความสะอาดและสขุ อนามัยอยา่ งท่ัวถึงและ ได้มาตรฐาน - ปรับปรงุ กายภาพ งานระบบ และสุขภัณฑ์ ให้อยู่ในสภาพ 1.000 ดีพร้อมใช้งาน - เพมิ่ รอบการทำความสะอาดห้องนำ้ 0.600 - พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดเก็บค่าบริการเพ่ือ - นำมาใช้เปน็ คา่ จา้ งทำความสะอาดและซอ่ มบำรงุ หอ้ งน้ำ 4. ปรับปรงุ ระบบระบายนำ้ และปอ้ งกนั น้ำท่วม - ขดุ ลอกคูนำ้ รอบสถานี 1.000 - ปรับปรุงประตูน้ำและระบบขับดันน้ำ (ปั้มน้ำ) ออกจาก 1.000 สถานี รวม 9.100 6.000 2.000 0.200 0.200 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-132

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 13.4-3 แผนการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณูปโภคส่วนกลาง สถานีขนส่งสินคา้ รม่ เกลา้ แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปที ี่ดำเนินการ (ล้านบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 2.200 1. ซ่อมบำรุง ปรับปรุง และเพิ่มกำลังการจ่ายน้ำประปาของระบบ ประปาภายในสถานี - ตรวจสอบระบบท่อ เครื่องปั้มน้ำ และปรับปรุงให้อยู่ในสภาพดี 2.000 พร้อมใช้งาน - ติดตัง้ ถังสูงพกั นำ้ เพิ่มเตมิ (ถังแชมเปญขนาด 50 ลบ.ม. จำนวน 4 ถัง) 2.500 2. ปรับปรุงระบบการพกั และจัดเกบ็ ขยะภายในสถานี - ปรับปรุงพื้นที่พักและกองเก็บขยะ (อาจก่อสร้างเป็นห้อง หรือ 1.000 โครงสรา้ งผนงั มปี ระตกู ั้น พรอ้ มแยกประเภทของขยะ) - ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการแยกประเภทของขยะ เพื่อใหส้ ะดวก - ตอ่ การจัดเกบ็ และจดั การขยะอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. ปรับปรุงห้องน้ำสาธารณะที่มีในปัจจุบันให้อยูใ่ นสภาพดี พร้อม ใชง้ าน มคี วามสะอาดและสขุ อนามัยอย่างทัว่ ถงึ และไดม้ าตรฐาน - ปรับปรุงกายภาพ งานระบบ และสุขภัณฑ์ ให้อยู่ในสภาพดี 1.000 พรอ้ มใช้งาน - เพมิ่ รอบการทำความสะอาดหอ้ งน้ำ 0.600 - พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดเกบ็ ค่าบริการเพือ่ นำมาใช้เป็น - ค่าจา้ งทำความสะอาดและซ่อมบำรงุ หอ้ งนำ้ 4. ปรับปรุงระบบระบายน้ำและปอ้ งกนั น้ำท่วม - ขุดลอกคนู ำ้ รอบสถานี 1.000 - ปรบั ปรุงประตนู ้ำและระบบขับดันน้ำ (ป้มั น้ำ) ออกจากสถานี 1.000 รวม 9.100 2.000 4.000 2.700 0.200 13.4.2 แผนการซ่อมบำรุงระบบประปาเร่งด่วนสำหรบั สถานขี นส่งสนิ ค้าพุทธมณฑล ในการศึกษาครั้งนี้ที่ปรึกษาได้รับทราบปัญหาที่สำคัญจากผู้ใช้งานสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล ในเรือ่ งน้ำประปาไม่เพียงพอในช่วงท่มี ีการใชน้ ้ำประปาค่อนข้างสูงซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญยิ่งเน่ืองจาก น้ำประปาเป็นสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่สำคัญและขาดไม่ได้ ในการศึกษาได้ตั้งสมมติฐานไว้เป็น 2 แนวทาง ได้แก่ (1) ถังสำรองน้ำในระบบประปาไม่เพียงพอสำหรับใช้งานในชั่วโมงเร่งด่วน และ (2) ระบบจา่ ยนำ้ และเคร่ืองปั้มน้ำมปี ัญหา สำหรับสมมติฐานถังสำรองน้ำในระบบประปาไม่เพียงพอสำหรับใช้งานในชั่วโมงเร่งด่วน ที่ปรึกษา ได้ทำการคำนวณปริมาณการสำรองน้ำที่ควรจะมีในระบบโดยใชส้ มมตฐิ านดงั นี้ • ผู้ใช้น้ำประปาในชว่ งท่ีมกี ารใช้งานสูงสดุ - อาคารชานชาลาขนถ่ายสินค้า 8 อาคาร จำนวนผใู้ ช้นำ้ ตอ่ อาคาร 100 คน รวม 800 คน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-133

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) - อาคารชานชาลาอเนกประสงค์ที่ 9 10 และ 11 จำนวนผใู้ ชน้ ำ้ ต่อคูหา 10 คน รวม 940 คน - รวมจำนวนผใู้ ช้นำ้ ในชว่ งท่ีมีการใช้น้ำสงู สุดอยทู่ ี่ 1,740 คน • การคำนวณปรมิ าณการใช้น้ำสงู สุด - อัตราการใชน้ ำ้ ปี 2560 สำหรบั พนื้ ที่ผสมจากการประปา เท่ากับ 376 ลติ ร/คน/วนั - ดังนนั้ ต้องการใชน้ ้ำเท่ากบั 376x1,740 = 654,240 ลิตร/วนั หรือ 27,260 ลิตร/ช่ัวโมง - คิดเผื่อปริมาณน้ำสำหรับชั่วโมงเร่งด่วนในอัตรา 2.5 เท่าของการใช้น้ำปกติ เท่ากับ 27,260x2.5 = 68,150 ลิตร/ชัว่ โมง • ผลการตรวจสอบระบบสำรองน้ำในระบบประปา - ในสถานมี หี อสงู สง่ น้ำ จำนวน 4 ถงั ถังละ 30,000 ลิตร - ดังนั้น จะมขี ดี จำกัดในการส่งน้ำ 4x30,000 = 120,000 ลติ ร - สมมตใิ ห้นำ้ เตม็ หอสูงส่งน้ำ และมีการใช้นำ้ ตอ่ เนอื่ งในระดบั ช่ัวโมงเร่งด่วน - จะเห็นว่าหอสูงส่งน้ำมีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความต้องการ (120,000 > 68,150) จึงสามารถตัดประเดน็ ระบบสำรองนำ้ ไม่เพยี งพอได้ไปในระดับหนึ่ง ในประเดน็ ตามสมมตฐิ านที่ 2 คอื ระบบจา่ ยนำ้ และเคร่ืองป้มั น้ำมีปญั หาจึงทำให้ไมส่ ามารถจ่ายน้ำ ได้อย่างเพียงพอในช่วงทมี่ กี ารใช้นำ้ สูง จากการลงพ้ืนทีส่ ำรวจพบข้อสังเกตทสี่ ำคัญดงั นี้ • จำนวนหอสูงสง่ น้ำ (ถังแชมเปญ) มเี พียงพอต่อความต้องการน้ำ • ถ้าปรมิ าณนำ้ ไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการ น้ำในถังเก็บนำ้ ใตด้ นิ ควรจะแห้ง ไม่ควรเตม็ ถงั • แรงดันนำ้ ใต้หอสง่ ตำ่ มาก ทำให้ไม่สามารถสง่ นำ้ ไปยงั อาคารต่างๆ ซง่ึ อย่คู ่อนขา้ งไกลได้ • ระบบควบคุมปั๊มน้ำอัตโนมัติใช้งานไม่ได้ ทำให้ปั๊มน้ำไม่สามารถดูดน้ำขึ้นไปที่หอสูงเพื่อ เพม่ิ แรงดันได้ • ควรปรับปรุงระบบควบคุมปั๊มน้ำอัตโนมัติให้ใช้งานได้เป็นปกติ เพื่อเพิ่มแรงดันและ ประสทิ ธิภาพการส่งน้ำ ดังนั้น ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา • ปรับปรุงระบบควบคุมปั๊มน้ำอัตโนมัติให้ใช้งานได้เป็นปกติ ทุกๆ หอส่งน้ำ ค่าใช้จ่าย 90,000 บาท/หอส่ง จำนวน 4 หอส่ง รวมเป็น 360,000 บาท • ปรับปรุงปั๊มน้ำให้ใช้งานได้เป็นปกติ ทุกๆ หอส่งน้ำ ค่าใช้จ่าย 100,000 บาท/หอส่ง จำนวน 4 หอสง่ รวมเปน็ 400,000 บาท • นอกจากนี้ อาจพิจารณาเพิ่มหอส่งน้ำ (ถังแชมเปญ) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการส่งน้ำและ เพิ่มปริมาณน้ำสำรองเพื่อรองรับการใช้งานในอนาคต จำนวน 2 หอส่ง ค่าใช้จ่าย 820,000 บาท/หอส่ง รวมเป็น 1,640,000 บาท • รวมเปน็ เงนิ ท้ังสิ้น 2,400,000 บาท สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-134

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 13.5 การจัดการรกั ษาความปลอดภัย แม้วา่ ในพ้นื ท่ีเช่าใช้บริการส่วนใหญเ่ อกชนผเู้ ช่าจะมีการจดั เตรยี มและบริหารจัดการด้านการรักษา ความปลอดภัยในพื้นที่รับผดิ ชอบของตนเองอยู่แล้ว แต่การรักษาความปลอดภัยในพ้ืนที่ส่วนกลาง และพืน้ ทบ่ี ริการเก่ยี วเนื่องภายในสถานยี ังคงเปน็ ภารกิจหลกั ข้อหนึง่ ของผบู้ ริหารสถานีขนส่งสินค้า โดยปัจจุบันการบริหารจัดการการรักษาความปลอดภัยภายในสถานีขนส่งสินค้าสถานีขนส่งสินค้า สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลักๆ ได้แก่ (1) การใช้เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (รปภ.) และ (2) การใช้ระบบเทคโนโลยเี ข้ามาช่วย ทั้ง 2 แนวทางการรักษาความปลอดภัยที่กล่าวมา ไม่ว่าจะเป็นการใช้เจ้าหน้าที่ หรือ การใช้ เทคโนโลยี ปัจจุบนั สถานีขนสง่ สินค้าได้มีการดำเนนิ การอยู่เป็นประจำแลว้ ท้ังส้ิน ดังนั้นหลักสำคัญ ในการยกระดับการบริหารจัดการการรักษาความปลอดภัยภายในสถานีขนส่งสินค้าจึงได้แก่การ ปรับปรุงการบริหารจัดการหรือระบบที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยแผนและกิจกรรม เกย่ี วเน่ืองท่ีกลา่ วมาแสดงในตารางที่ 13.5-1 ตารางท่ี 13.5-1 แผนการบริหารจดั การการรกั ษาความปลอดภยั ภายในสถานีขนส่งสินคา้ แผนงาน/มาตรการ/โครงการ งบประมาณ ปีทีด่ ำเนนิ การ (ล้านบาท) 2565 2566 2567 2568 2569 1. จัดทำแผนความปลอดภัยภายในสถานีร่วมกับผู้เช่าใช้บริการ - ภายในสถานีทั้งหมด 2. พัฒนากระบวนงานของเจ้าหน้าทร่ี ักษาความปลอดภยั (รปภ.) - จัดฝกึ อบรมเจ้าหน้าท่ี รปภ. เปน็ ประจำทุกปี - - ประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ รปภ. โดยมีรอบ - ดำเนินการที่เหมาะสม เชน่ ประเมนิ ผลเปน็ รายเดอื น - รับฟังความคิดเห็นและเสี่ยงสะท้อนเกี่ยวกับการบริการงาน - รปภ. จากผ้ใู ชบ้ ริการสถานี เป็นประจำทกุ ปี - รับฟังความคิดเห็นและเสี่ยงสะท้อนเกี่ยวกับการบริการงาน - รปภ. จากเจ้าหน้าที่ รปภ. ท่ีปฏิบัตงิ านอยู่ เป็นประจำทุกปี 3. จัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลการเกิดเหตุภายในสถานี เพ่ือ - นำไปสกู่ ารระบุปญั หาและหาแนวทางการแกป้ ัญหา 4. ซ่อมบำรุงและปรับปรุงระบบกล้องวงจรปิดภายในให้สามารถ 1.000 ใชง้ านได้อยา่ งครบถว้ นสมบรู ณต์ ลอดเวลา 5. พฒั นาและติดต้ังระบบควบคุมการเข้าออกของยวดยานขนาดเล็ก 1.000 (ปัจจุบันยวดยานเหลา่ นีไ้ มจ่ ำเปน็ ต้องผา่ นระบบ GCS) รวม 2.000 0.200 0.200 1.200 0.200 0.200 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-135

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.6 การจดั การอาคารท่ีมีการตอ่ เตมิ พื้นท่ีใชส้ อยนอกเขตอาคารเดิม 13.6.1 สภาพปัญหาการต่อเติมพ้ืนทใี่ ชส้ อยนอกเขตอาคารเดิม การตอ่ เติมอาคารนอกเขตพ้นื ท่ีอาคารเดมิ เป็นสิ่งท่ไี มค่ วรเกิดข้นึ ในสถานีขนส่งสินค้า เน่ืองจากจะ ก่อให้เกิดปญั หาในเรือ่ งของการรกุ ล้ำพื้นทส่ี ่วนกลาง เป็นการลิดรอนสทิ ธข์ิ องผปู้ ระกอบการรายอ่ืน และเกิดความไม่ระเบียบสวยงาม ซึ่งจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารจัดการ เช่นใน รูปที่ 13.6-1 การต่อเติมอาคารในลักษณะเช่นนี้ เป็นการต่อเติมอาคารเกินขอบเขตพื้นที่ใช้สอยตามที่ กำหนดในสญั ญาการเชา่ พน้ื ท่ีอาคารชานชาลา ท้งั ยงั รกุ ลำ้ ในพน้ื ที่จอดรถและพนื้ ทแี่ นวเสน้ ทางการ สญั จรของรถบรรทกุ สนิ คา้ ทำให้กดี ขวางและเป็นอุปสรรคตอ่ การสญั จรของรถบรรทุกได้ รูปที่ 13.6-1 อาคารทมี่ ีการต่อเตมิ อาคารพ้ืนทใี่ ช้สอยนอกเขตอาคารเดมิ เพื่อเป็นการป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ ประเด็นปญั หานี้เพิ่มมากขึ้น ในสัญญาการเช่าพื้นทีภ่ ายในสถานีควรมี ขอ้ กำหนดขอบเขตการใช้งานพ้ืนท่ีอยา่ งชดั เจน 13.6.2 แนวทางในการจัดการแก้ไข แนวคิดในการจัดการประเด็นปัญหานี้อาจดำเนินการได้ใน 2 แนวทางกล่าวคือ แนวทางแรกเป็น การจัดการแบบเด็ดขาด ให้ดำเนินการรื้อถอนสิ่งต่อเติม กับแนวทางที่สองเป็นการยอมรับในสิ่งท่ี เกิดข้นึ ไปแล้ว และดำเนินการจัดเก็บค่าเช่าในสว่ นของพ้ืนทที่ ี่ต่อเติมเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของสัญญาเช่า โดยท้ังสองแนวทางจะมีขอ้ ดี ข้อเสยี ดงั น้ี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-136

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 1) แนวทางการจัดการแบบเดด็ ขาด โดยสถานีขนส่งสินค้าแจ้งให้ผู้เช่าดำเนินการรื้อถอนสิ่งต่อเติม โดยกำหนดระยะเวลาและมาตรการ ตักเตือน หากไม่มีการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนดก็จะมีมาตรการขั้นรุนแรงขึ้นไป ตามลำดับ เช่น หากมีการตักเตือนแลว้ แตผ่ ู้ประกอบการไม่ได้ทำการแก้ไขปรับปรงุ กจ็ ำเป็นจะต้องมี มาตรการคิดคา่ ปรับ หากไมม่ ีการแก้ไขอีก ทางสถานีขนส่งสินค้าจำเปน็ ต้องทำการแก้ไขปรับปรุงและ คิดค่าดำเนินการแก้ไขดังกล่าวไปยังผู้ประกอบการที่ได้ทำการละเมิดการใช้พื้นที่ดังกล่าว ตัวอย่าง มาตรการสำหรับการจัดการอาคาร เพื่อป้องกันการดำเนินการที่ไม่ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ในการใช้งาน หรือมกี ารตอ่ เติมพ้นื ทใ่ี ชส้ อยนอกอาคารท่ีผิดวัตถุประสงค์ ออกเปน็ 3 ข้ันตอนดังนี้ • การแจ้งตักเตือนครั้งที่ 1 สถานีขนส่งสินค้าจะแจ้งตักเตือนด้วยหนังสือตักเตือน ไปยัง ผู้ประกอบการที่ดำเนินการไม่ตรงตามวตั ถุประสงค์ท่รี ะบุไวใ้ นสัญญา โดยมีกำหนด 30 วัน นับจากที่ผู้ประกอบการได้รับหนังสือแจ้งตักเตือนครั้งที่ 1 ผู้ประกอบการจะต้อง ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงการละเมิดดังกล่าว ให้กลับสู่เงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา หากใน สัญญาไม่ได้ระบุถึงการใช้งานที่ชัดเจน การพิจารณาข้อละเมิดให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ เจา้ หนา้ ทผี่ ู้มีอำนาจ • การแจ้งตักเตือนครั้งที่ 2 สถานีขนส่งสินค้าจะแจ้งตักเตือนด้วยหนังสือตักเตือน ไปยัง ผู้ประกอบการที่ดำเนินการไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในสัญญา หลังจากที่ได้มีการ แจ้งตักเตือนครั้งที่ 1 ไปแล้วเป็นเวลา 30 วัน นับจากวันที่ผู้ประกอบการได้รับหนังสือ ตักเตือนครั้งที่ 1 โดยมีกำหนด 30 วัน นับจากที่ผู้ประกอบการได้รับหนังสือแจ้งตักเตือน ครั้งที่ 2 ผู้ประกอบการจะต้องดำเนินการแก้ไขปรับปรุงการละเมิดดังกล่าว ให้กลับสู่ เงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา หากในสัญญาไม่ได้ระบุถึงการใช้งานที่ชัดเจน การพิจารณาข้อ ละเมิดให้ขึน้ อยกู่ บั ดลุ ยพนิ ิจของเจา้ หนา้ ท่ผี ูม้ ีอำนาจ • การแจ้งรื้อถอน สถานีขนส่งสินค้าจะแจ้งเพื่อทำการรื้อถอน ไปยังผู้ประกอบการท่ี ดำเนินการไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในสัญญา หลังจากที่ได้มีการแจ้งตักเตือน ครง้ั ที่ 2 ไปแล้ว 30 วัน นับจากวันท่ีผู้ประกอบการได้รับหนังสือแจ้งตักเตือนคร้ังที่ 2 และ ผู้ประกอบการมิได้เข้าดำเนินการแก้ไขปรับปรุงการละเมิดดังกล่าวให้กลบั สู่เงื่อนไขที่ระบุ ไว้ในสัญญา และค่าดำเนินการในการรื้อถอนดังกล่าว จะเป็นความรับผิดชอบของ ผู้ประกอบการที่ทำการละเมิดการใช้พื้นที่ดังกล่าว หากในสัญญาไม่ได้ระบุถึงการใช้งานท่ี ชดั เจน การพิจารณาข้อละเมิดให้ข้นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของเจ้าหน้าทีผ่ มู้ ีอำนาจ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 13-137

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ข้อดขี องแนวทางการจดั การแบบเด็ดขาด - เป็นการปรับพื้นที่โดยรอบอาคารให้กลับไปอยู่ในสภาพเดิม ทำให้สถานีมีความเป็น ระเบยี บเรยี บร้อย - ได้ที่จอดรถหน้าชานกลับคืนมา ช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนที่จอดรถในพื้นท่ี สว่ นกลาง - เป็นการแสดงการบังคับใช้พื้นที่สถานีตามระเบียบและสัญญา ป้องกันไม่ให้มีการ ดำเนนิ การในลักษณะน้เี กิดขึน้ ซ้ำอีก ขอ้ เสียของแนวทางการจัดการแบบเด็ดขาด - มผี ลกระทบตอ่ ผู้เช่าจนอาจถงึ ขั้นการไมต่ อ่ สญั ญาเช่า 2) แนวทางการจัดการแบบรอมชอม เป็นการยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้วเนื่องจากพิจารณาแล้วว่าหากดำเนินการแบบเด็ดขาดจะส่งผล กระทบอย่างมีนัยสำคัญ โดยแนวทางนี้เป็นการนำพื้นที่บริเวณที่ทำการต่อเติมเข้ามาเป็นส่วนหน่ึง ของสัญญา และให้ดำเนินการจัดเก็บค่าเช่าในส่วนของพื้นที่ที่ตอ่ เติม โดยอัตราค่าเช่าควรเป็นอตั ราท่ี ไม่ต่ำกว่าอัตราค่าเช่าพื้นที่ชานชาลา เพื่อให้ผู้เช่ารายอื่นที่อาจอยากดำเนินการต่อเติมบ้าง ประเมิน ภาระที่เพิ่มขึ้นแล้วไม่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับการขอเช่าพื้นที่เพิ่มเติมในชานอื่น เป็นการลดทอนความ น่าสนใจในการอยากต่อเติม ขอ้ ดขี องแนวทางการจดั การแบบรอมชอม - มีรายได้เพม่ิ เติมนำไปบริหารจัดการสถานี - มีอตั ราการคดิ ค่าเชา่ ทไ่ี มน่ ่าสนใจให้ผู้เชา่ รายอื่นอยากดำเนินการต่อเติม ข้อเสียของแนวทางการจัดการแบบรอมชอม - ความไมเ่ ป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย - พนื้ ที่จอดรถหนา้ ชานทห่ี ายไป อาจทำใหม้ รี ถไปใชพ้ ้นื ทีจ่ อดรถส่วนกลางมากขนึ้ ขอ้ ควรระวังของแนวทางการจัดการแบบรอมชอม - เจตนารมณข์ องมาตรการคือแกป้ ัญหาท่เี กดิ ข้ึนแล้ว แต่ตอ้ งไมย่ อมให้มกี ารต่อเติมใหม่ เพิม่ ขนึ้ อกี มาตรการดา้ นราคาโดยกำหนดอตั ราค่าเชา่ ทสี่ งู อยา่ งเดียวอาจไม่เพียงพอ - สถานีต้องมีการกวดขันและหากพบปัญหาใหม่ต้องรีบเข้าจัดการแบบเด็ดขาดตั้งแต่ เนน่ิ ๆ เพอื่ ไมใ่ หก้ ลายเปน็ ปญั หาระยะยาวและยากตอ่ การแก้ไข สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-138

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.7 การจัดการความเสยี่ งและการบริหารความตอ่ เนอื่ งของธุรกิจ การจดั ทำแผนบรหิ ารความต่อเน่ือง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับสถานีขนส่งสินค้า ชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นชุดเอกสารและคำแนะนำ เพื่อสามารถนำไปใช้ สำหรับตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ทั้งที่เกิดจากภัย ธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะดังกล่าวส่งผลให้ต้องหยุดการ ดำเนนิ งาน หรอื ไม่สามารถให้บริการได้อยา่ งต่อเนอื่ ง หลักการเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤตตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 คือการที่ส่วนราชการสามารถนำบทเรียนสถานการณ์ความ รุนแรง สำคญั ทีผ่ ่านมาปรับกระบวนการทำงานใหม่ โดยเฉพาะในเร่อื งการบรกิ ารประชาชน เพอื่ ให้ มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการ หรืองานบริการประชาชนที่สำคัญสามารถดำเนินงาน หรือ ให้บรกิ ารไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งไมส่ ะดุด หยุดลงแม้วา่ จะประสบกับวกิ ฤตการณ์ หรือภัยพบิ ตั ิตา่ งๆ โดยแนวคิดการบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐ คือ การควบคุมดูแลและป้องกัน ทรพั ยากรทีส่ ำคัญต่อการดำเนินงานหรือการใหบ้ ริการ เพ่อื สรา้ งประโยชน์สูงสดุ สำหรับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสียซึ่งภายใน ช่วงระยะเวลาแรก จะเป็นช่วงของการตอบสนองต่ออุบัติการณ์ และ ในกรณีที่เหตุการณ์และความเสยี หายขยายตวั ไปในวงกว้างการตอบสนองอาจจำเปน็ ต้องยกระดบั เป็นการ บริหารจัดการวิกฤต ภายหลังจากนั้นจะเป็นช่วงของการทำให้เกิดความต่อเนื่องของ กระบวนการทางธรุ กจิ เพ่อื ให้หนว่ ยงานสามารถกลับมาดำเนินงานได้ จึงมีความจำเป็นที่หน่วยงาน ตอ้ งจัดทำแผนความต่อเน่อื ง โดยมีวตั ถุประสงค์เพอ่ื • ใช้เปน็ แนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการปฏบิ ตั ิงานในสภาวะวกิ ฤต • ให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือ เหตุการณ์ ฉกุ เฉินตา่ งๆ ท่เี กดิ ข้ึน • ลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดำเนินงาน หรือการให้บริการ เช่น ผลกระทบ ด้าน เศรษฐกิจการเงิน การให้บริการสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน เป็นต้น • บรรเทาความเสียหายใหอ้ ยู่ระดับที่ยอมรบั ได้ สำหรับสถานการณ์ซึ่งบรรจุไว้ในแผนบริหารความต่อเนื่องของสถานีขนส่งสินค้า ชานเมือง กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ประกอบด้วย • เหตกุ ารณ์อทุ กภยั • เหตกุ ารณ์อคั คีภัย • เหตกุ ารณช์ ุมนมุ ประทว้ ง/จลาจล สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-139

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) • เหตุการณ์โรคระบาด • เหตุการณร์ ะบบไฟฟา้ ขดั ขอ้ ง • เหตกุ ารณ์กอ่ การร้าย • เหตุการณ์ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการบริหารข้อมูลทั้งหมดของสถานีเกิดล่มหรือชำรุด เสยี หาย • เหตกุ ารณส์ ภาพเศรษฐกจิ และการแขง่ ขันทางธรุ กจิ อย่างรนุ แรง • เหตกุ ารณร์ ายรบั ไม่เพยี งพอตอ่ รายจ่าย หรือ งบประมาณไมเ่ พียงพอต่อการดำเนนิ งาน โดยในแตล่ ะเหตุการณจ์ ะมีผลกระทบ แนวทางการดำเนนิ การ และความเกย่ี วเน่ืองกับผู้ปฏิบัติงาน และผู้มีส่วนเกย่ี วข้องในระดบั ทีแ่ ตกต่างกนั ไป โดยแบง่ เปน็ 5 ส่วนหลกั ได้แก่ • ดา้ นอาคาร/ สถานท่ปี ฏิบัติงานหลกั • ดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ ที่สำคัญ/การจัดหาจดั ส่งวัสดุอปุ กรณ์ท่สี ำคัญ • ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ขอ้ มลู และ เอกสารที่สำคญั • ด้านบุคลากร • ดา้ นคคู่ ้าและผใู้ ช้บริการสถานี เพื่อใหห้ นว่ ยงานสามารถปฏบิ ัติงานในสภาวะวิกฤตไดอ้ ย่างต่อเน่ือง เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ที่ปรึกษได้กำหนดในขั้นตอน/แนวทางปฏิบัติกรณีเกิดสภาวะวิกฤตทั้ง 8 กรณี ตามห้วงเวลาของ การเกดิ เหตกุ ารณ์ในแต่ละเหตุการณ์ โดยแบง่ ออกเป็น 3 หว้ งเวลา ประกอบด้วย • เร่มิ เกดิ สถานการณ์ • เหตกุ ารณ์เข้าสสู่ ภาวะวกิ ฤต ทำให้การปฏบิ ัตงิ านของสถานีขนส่งสินคา้ ตอ้ งหยดุ ชะงักลง • เหตุการณก์ ลับเขา้ ส่สู ภาวะปกติ สำหรับรายละเอียดของแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับ สถานีขนสง่ สินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล แสดงไวใ้ นภาคผนวก ฌ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-140

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.8 สรุปผลการศกึ ษา 13.8.1 การใช้ประโยชน์พนื้ ท่ีว่าง 1) แผนบริหารจดั การการใช้ประโยชนพ์ ้ืนท่ีว่างภายในอาคาร สำหรับแผนบริหารจัดการการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างภายในอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกที่มี ภายในสถานีขนส่งสินค้า แบ่งไดต้ ามประเภทและลกั ษณะของพ้นื ท่ีดงั นี้ แผนบริหารจัดการ มาตรการดา้ นการ มาตรการด้าน มาตรการ มาตรการด้าน การใชป้ ระโยชน์ ปรบั ปรงุ กายภาพ ประชาสัมพันธ์เชงิ รกุ ด้านราคา ต่อเติม/แปลงสภาพ ชานชาลาขนถ่ายสนิ ค้า คลังสนิ คา้ √ √ √ √ อาคารสำนักงาน √ √ √ อาคารทพ่ี ัก √ √ √ โรงอาหาร √ √ √ √ 2) แผนบรหิ ารจัดการการใชป้ ระโยชน์พนื้ ที่วา่ งภายนอกอาคาร • แนวทางที่ 1 การใช้พื้นที่เพื่อพัฒนาเป็นอาคารรองรบั กิจกรรมการขนส่งสินค้า (เช่น ชาน ชาลาขนถ่ายสินคา้ ชานชาลาอเนกประสงค์ หรือ คลังสินค้า) • แนวทางที่ 2 การใช้พื้นที่เพื่อพัฒนาเป็นอาคารรองรับกิจกรรมเกี่ยวเนื่องการขนส่งสินค้า (เช่น อาคารซ่อมบำรุงและทำความสะอาดรถบรรทุก สถานีบริการเชื้อเพลิง หรือ ลาน จอดรถเพิ่มเติม) ซึ่งแนวทางนี้จะเป็นการมุ่งเน้นที่การอำนวยความสะดวกในกิจกรรม เกี่ยวเนื่องและรวมถึงเป็นการจัดระเบียบภายในสถานีเป็นสำคัญ แต่อาจก่อให้เกิดรายได้ กลบั คนื แกส่ ถานนี อ้ ยกวา่ แนวทางแรก 13.8.2 การบริหารจดั การจราจร • กำหนดเส้นทางการจราจรภายในสถานใี ห้เหมาะสมกบั พฤตกิ รรมการใช้งานสถานี • ในปจั จุบัน • ปรบั ปรุงป้ายเครื่องหมายและสญั ลักษณ์จราจร พรอ้ มทัง้ ขีดสีตีเสน้ และจัดทำเครื่องหมาย จราจรบนผิวทางภายในสถานี ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและสอดคล้องกับการเส้นทาง จราจรที่กำหนด • ติดตั้งป้ายข้างทางขนาดใหญ่แสดงข้อมูลตำแหน่งและหมายเลขอาคารภายในสถานี บริเวณทางเขา้ สถานีให้ชัดเจน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 13-141

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • ตดิ ตง้ั ปา้ ยตวั เลขชานชาลาขนาดใหญบ่ รเิ วณหวั ชานทงั้ 2 ด้าน • ติดตง้ั ปา้ ยรายช่อื ผูเ้ ช่าสถานบี รเิ วณหวั ชาน • ติดตงั้ เนนิ ชะลอความเร็ว (Speed Hump) • ตดิ ตงั้ ป้ายชอ่ื ชอ่ งขนถ่ายสนิ คา้ ของอาคารชานชาลาอเนกประสงค์ • ปรับปรงุ รัศมวี งเลยี้ วบริเวณทางลงสะพานตา่ งระดบั • ให้กำหนดเส้นทางอนุญาตสำหรับยานพาหนะที่มาติดต่อสำนักงานขนส่งจังหวัดปทุมธานี สาขาอำเภอคลองหลวงให้ชัดเจน ติดตั้งป้ายข้อมูลเพื่อให้ผู้ขับขี่รับทราบ และขีดสีตีเส้น ชอ่ งจราจรเฉพาะสำหรับยวดยานขนาดเล็กท่ีมาตดิ ต่อราชการ 13.8.3 การบริหารจดั การทจี่ อดรถและการจอดรถ • ประกอบไปด้วย 4 มาตรการหลกั ๆ ไดแ้ ก่ - (1) การใชก้ ลไกด้านราคา (Pricing Strategy) - (2) การกำหนดพ้นื ที่ (Zone Restriction) - (3) การกำหนดจำนวน (Quota) และ - (4) การบงั คับใชก้ ฎระเบยี บ (Regulation & Enforcement) • เริ่มดำเนินการมาตราการที่สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้าก่อนแล้วประเมินความจำเป็นและ ความเหมาะสมในการนำมาตรการไปใช้ในสถานอี ืน่ • ค่าลงทุนในระบบบริหารจัดการที่จอดรถประมาณ 2 ล้านบาท และค่าบำรุงรักษาและ ดำเนินการอีกประมาณ 1 ล้านบาทต่อปี กรณีสถานีไมล่ งทนุ เองอาจพิจารณาให้เอกชนมา รับเหมาตดิ ตั้งระบบและดำเนินการ 13.8.4 การจัดการสาธารณูปโภค • ซ่อมบำรงุ ปรบั ปรงุ และเพิ่มกำลังการจา่ ยนำ้ ประปาของระบบประปาภายในสถานี • ปรับปรงุ ระบบการพักและจดั เก็บขยะภายในสถานี - ปรับปรุงพื้นทีพ่ ักและกองเก็บขยะ (อาจก่อสร้างเป็นห้อง หรือโครงสร้างผนังมีประตูกั้น พรอ้ มแยกประเภทของขยะ) - ประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อปท. เทศบาล) เพื่อประสานความเข้าใจและ จัดทำแผนการจัดเก็บขยะร่วมกัน (รวมถึงหารือเกี่ยวกับอัตราค่าจ้างจัดเก็บขยะที่ เหมาะสม) - ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการแยกประเภทของขยะ เพื่อให้สะดวกต่อการจัดเก็บและ จดั การขยะอย่างมปี ระสิทธภิ าพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 13-142

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) • ปรับปรุงหอ้ งนำ้ สาธารณะที่มใี นปัจจุบันให้อยูใ่ นสภาพดี พร้อมใช้งาน มีความสะอาดและ สขุ อนามยั อยา่ งทั่วถงึ และได้มาตรฐาน - ปรบั ปรงุ กายภาพ งานระบบ และสขุ ภัณฑ์ ใหอ้ ยใู่ นสภาพดพี รอ้ มใชง้ าน - เพิ่มรอบการทำความสะอาดห้องน้ำ - พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดเก็บค่าบริการเพื่อนำมาใช้เป็นค่าจ้างทำความ สะอาดและซอ่ มบำรุงหอ้ งนำ้ • ปรบั ปรุงระบบระบายน้ำและป้องกนั นำ้ ทว่ ม - ขุดลอกคนู ้ำรอบสถานี - ปรับปรุงประตนู ำ้ และระบบขบั ดันน้ำ (ป้ัมน้ำ) ออกจากสถานี 13.8.5 การจดั การรกั ษาความปลอดภัย • จดั ทำแผนความปลอดภยั ภายในสถานีรว่ มกับผู้เช่าใช้บริการภายในสถานีท้งั หมด • พฒั นากระบวนงานของเจา้ หนา้ ทีร่ ักษาความปลอดภัย (รปภ.) • จดั เกบ็ และวิเคราะห์ข้อมลู การเกิดเหตุภายในสถานี เพือ่ นำไปสู่การระบปุ ัญหาและหาแนว ทางการแก้ปัญหา • ซ่อมบำรุงและปรับปรุงระบบกล้องวงจรปิดภายในให้สามารถใช้งานได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ตลอดเวลา • พัฒนาและติดตั้งระบบควบคุมการเข้าออกของยวดยานขนาดเล็ก (ปัจจุบันยวดยาน เหล่านี้ไม่จำเปน็ ต้องผา่ นระบบ GCS) 13.8.6 การจัดการอาคารทีม่ กี ารต่อเตมิ พน้ื ทีใ่ ชส้ อยนอกเขตอาคารเดมิ แนวทางการจัดการแบบเด็ดขาด โดยสถานีขนส่งสินค้าแจ้งให้ผู้เช่าดำเนินการรื้อถอนสิ่งต่อเติม โดยกำหนดระยะเวลาและมาตรการตักเตือน หากไมม่ ีการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด กจ็ ะมมี าตรการขัน้ รนุ แรงขนึ้ ไปตามลำดบั แนวทางการจัดการแบบรอมชอม เป็นการยอมรับในสิ่งที่เกิดขึน้ ไปแล้วเน่ืองจากพิจารณาแลว้ วา่ หากดำเนนิ การแบบเด็ดขาดจะสง่ ผลกระทบอยา่ งมนี ยั สำคัญ โดยแนวทางนีเ้ ปน็ การนำพ้ืนท่ีบริเวณ ที่ทำการต่อเติมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา และให้ดำเนินการจัดเก็บค่าเช่าในส่วนของพื้นที่ท่ี ตอ่ เติม โดยอัตราค่าเช่าควรเป็นอัตราท่ไี มต่ ่ำกวา่ อัตราคา่ เช่าพนื้ ท่ชี าน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-143

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 13.8.7 การจัดการความเส่ยี งและการบริหารความต่อเนอื่ งของธรุ กิจ การจดั ทำแผนบริหารความต่อเน่ือง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรบั สถานีขนส่งสินค้า ชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นชุดเอกสารและคำแนะนำ เพื่อสามารถนำไปใช้ สำหรับตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ทั้งที่เกิดจากภัย ธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะดังกล่าวส่งผลให้ต้องหยุดการ ดำเนินงาน หรือไมส่ ามารถใหบ้ รกิ ารได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง สำหรับรายละเอียดของแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) สำหรับ สถานขี นส่งสนิ ค้าชานเมืองกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล แสดงไว้ในภาคผนวก ฌ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 13-144

บทที่ 14 การศึกษาและการวเิ คราะห์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับเทคโนโลยี

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) บทที่ 14 การศึกษาและการวเิ คราะห์ท่เี ก่ยี วข้องกับเทคโนโลยี ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบและเทคโนโลยี ประกอบไปด้วยหมวดการพัฒนาท่ีสำคัญ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและดิจิทัลเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและ การให้บรกิ ารของสถานขี นส่งสินค้า แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 สว่ นงาน ได้แก่ • การพัฒนาท่ีเก่ียวข้องกับระบบและฐานข้อมูลขนาดใหญ่ กรมการขนส่งทางบก มีอยู่ใน ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติและเพิ่มคุณภาพของข้อมูล การ เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้สามารถสืบค้นและวิเคราะห์ในลักษณะองค์รวมได้ รวมถึงการนำ ข้อมูลในฐานข้อมูลดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์และสนับสนุนการบริหารงานและการ วางแผนพัฒนาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด • การพัฒนาเพื่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารงานสถานีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นการต่อยอดระบบที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้การดำเนินการโดยเฉพาะงานเอกสาร และข้ันตอนทางราชการถูกต้อง แม่นยำ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงลดภาระงาน ใหแ้ กบ่ ุคลากรของ กรมการขนสง่ ทางบก ทงั้ ในสว่ นสถานแี ละสว่ นกลาง • การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับต่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีกำลังเข้ามามีบนทบาทอย่างย่ิง ต่อโลกยุคปัจจุบัน รวมถึงส่งผลให้พฤติกรรมและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและเป็นพลวตั เช่น การเข้ามาของ e-Commerce Platform ต่างๆ ซึ่งส่งผลให้ตลาดการขนส่งพัสดุภัณฑ์ด่วนพิเศษเติบโตอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีการส่งผ่าน ข้อมูลไร้สายความเร็วสูง เทคโนโลยีด้านเซนเซอร์และดาวเทียม และระบบอัตโนมัติต่างๆ เปน็ ตน้ โดยรายละเอยี ดในแตล่ ะส่วนงานมดี งั ต่อไปน้ี 14.1 การพัฒนาระบบและฐานข้อมูลขนาดใหญท่ ม่ี ใี นปัจจบุ ัน แผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับระบบและฐานข้อมูลขนาดใหญ่ กรมการขนส่งทางบก มีอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติและเพ่ิมคุณภาพของข้อมูล การเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อให้สามารถสบื คน้ และวเิ คราะห์ในลกั ษณะองค์รวมได้ รวมถึงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลดังกล่าว มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ท้ังน้ีจากการศึกษาพบว่า กรมการขนส่งทางบก ถือเป็นหนึ่งในหน่วยงานที่มีฐานข้อมูลขนาดใหญ่ จำนวนมากทั้งในส่วนของการจดทะเบียนยานพาหนะ การเก็บข้อมูลตำแหน่งรถบรรทุกและ ยานพาหนะท่อี ย่ใู นระบบขนส่งสาธารณะ และรวมถึงฐานข้อมลู ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ โดยในส่วน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 14-1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook