Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ม.ปลาย 164ปัจจุบัน

แผนการสอน ม.ปลาย 164ปัจจุบัน

Published by Pandee Komala, 2021-06-17 07:29:41

Description: แผนการสอน ม.ปลาย 164ปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

เรื่อง ภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คาชีแ้ จง ให฾นักศึกษาตอบคาํ ถามในประเดน็ ต฽อไปน้ี 1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีทัง้ หมดกจ่ี งั หวดั อะไรบ฾าง 2. ภเู ขาและแมน฽ า้ํ ท่สี าํ คัญในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือได฾แก฽อะไรบ฾าง 3. ลักษณะภมู ิประเทศในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมอี ิทธิพลต฽อการดาํ รงชวี ิตของประชากรอย฽างไร 4. ให฾นักเรียนยกตัวอย฽างการประยุกตแใช฾องคแความร฾ู เร่ือง ลักษณะภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการดาํ เนนิ ชีวิต

เรอ่ื ง ภมู ปิ ระเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คาช้ีแจง ใหน฾ กั ศึกษาตอบคําถามในประเดน็ ต฽อไปน้ี 1. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมีท้ังหมดกีจ่ ังหวัด อะไรบา฾ ง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ประกอบด้วย 19 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จงั หวดั เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กาฬสนิ ธ์ุ ขอนแก่น ชยั ภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอด็ ยโสธร อานาจเจรญิ อบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ สรุ นิ ทร์ บรุ รี มั ย์ และนครราชสีมา 2. ภเู ขาและแม฽นา้ํ ที่สําคัญในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือได฾แก฽อะไรบ฾าง ภูเขาทส่ี าคญั ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแ้ ก่ ทวิ เขาพนมดงเร็ก ภูพาน เพชรบรู ณ์ ดงพญาเย็น ส่วนแม่น้าทส่ี าคัญ ได้แก่ แม่น้าโขง ชี มลู 3. ลักษณะภูมิประเทศในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมอี ิทธพิ ลต฽อการดาํ รงชีวิตของประชากรอย฽างไร ภูมิประเทศหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นท่ีราบสูง ที่มีโครงสร้างของดินร่วนปนทราย ทาให้ถึงแม้จะมีปริมาณ น้าฝนต่อปีมาก แต่เพาะปลูกไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร อย่างไรก็ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของประชากรในภาคนี้ คือ การเกษตร โดยเฉพาะการปลูกข้าวบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ พืชอื่นๆ เช่น ข้าวโพด มันสาปะหลัง และการประมงตามแหล่งน้า ธรรมชาตติ า่ งๆ และเน่ืองจากการประกอบอาชีพไม่ได้ผลดีเท่าท่ีควร ประชากรภาคน้ีจึงมักอพยพไปหางานทาตามเมืองใหญ่ ต่างๆ 4. ให฾นักเรียนยกตัวอย฽างการประยุกตแใช฾องคแความรู฾ เรื่อง ลักษณะภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการดําเนิน ชวี ติ การแก้ปญั หาดา้ นเกษตรกรรมโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ทางการเกษตร เช่น การชลประทาน การบารุงดิน การเลือกพืช พันธุ์ใหม่มาทดลองเพาะปลูก เช่น ยางพารา เงาะ ในปัจจุบัน เป็นแบบอย่างของการปรับแก้ปัญหาธรรมชาติ โดยคานึงถึง สาเหตเุ ปน็ หลัก ประกอบกบั การคดิ นอกกรอบ สามารถนามาประยกุ ต์ใช้ในการอนรุ ักษธ์ รรมชาติในท้องถนิ่ ของตนได้

เรื่อง ภูมิประเทศภาคใต้ คาชแี้ จง ให฾นักศึกษาตอบคําถามในประเดน็ ต฽อไปน้ี 1. ภาคใต฾มีทง้ั หมดกจ่ี ังหวัด อะไรบ฾าง 2. ภเู ขาและแมน฽ า้ํ ท่ีสาํ คัญในภาคใต฾ได฾แก฽อะไรบา฾ ง 3. ลกั ษณะภูมิประเทศในภาคใต฾มีอทิ ธิพลตอ฽ การดํารงชวี ติ ของประชากรอย฽างไร 4. ให฾นักเรียนยกตัว อย฽างการประยุกตแใช฾องคแความรู฾ เร่ือง ลักษณะภู มิประเทศภาคใต฾ ในการดําเนิน ชีวติ

เร่ือง ภูมปิ ระเทศภาคใต้ คาช้ีแจง ใหน฾ ักศกึ ษาตอบคาํ ถามในประเดน็ ต฽อไปน้ี 1. ภาคใต฾มีท้ังหมดก่ีจังหวัด อะไรบา฾ ง ภาคใต้ประกอบด้วย 14 จงั หวดั ได้แก่ จังหวดั ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรธี รรมราช พัทลงุ สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พงั งา ภเู ก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล 2. ภเู ขาและแม฽นํ้าท่สี าํ คัญในภาคใตไ฾ ด฾แก฽อะไรบา฾ ง ภูเขาทีส่ าคัญในภาคใต้ ได้แก่ ทวิ เขาตะนาวศรี ภูเกต็ นครศรีธรรมราช สันกาลาครี ี ท่เี ป็นต้นนา้ ของแม่นา้ สายส้นั ๆ ได้แก่ แมน่ ้าตาปี ปตั ตานี โก-ลก 3. ลกั ษณะภูมิประเทศในภาคใต฾มอี ิทธิพลตอ฽ การดาํ รงชีวติ ของประชากรอย฽างไร ภาคใตม้ ีพน้ื ท่ีท่เี หมาะสมตอ่ การตงั้ ถ่ินฐานค่อนขา้ งน้อยเมื่อเปรยี บเทียบกับภาคอื่นๆ เน่ืองจากภูมิประเทศเป็นคาบสมุทร ที่มที ิวเขาเป็นแกนกลาง ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่บริเวณชายฝ่ังอ่าวไทยท่ีมีท่ีราบกว้าง ในขณะที่ชายฝ่ังทะเลอันดามันมีที่ ราบแคบ แต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของประชากรมีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มีการเพาะปลูกพืชจาพวกยางพารา ปาล์มน้ามัน ผลไม้ต่างๆ มีการประมงบริเวณชายฝ่ังและในทะเล นอกจากนั้นยังมีรายได้จากการท่องเที่ยว เนื่องจากมีหาด ทราย เกาะใกลช้ ายฝั่งที่มที ัศนียภาพสวยงาม 4. ให฾นักเรียนยกตัว อย฽างการประยุกตแใช฾องคแความร฾ู เร่ือง ลักษณะภูมิประเทศภาคใต฾ ในการดําเนิน ชีวติ การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น การทาการประมงเป็นอาชีพสาคัญ เพราะมีอาณาเขตติดต่อกับ ทะเลมาก การสง่ เสริมการทอ่ งเท่ียวทางทะเล เพราะมีระบบนิเวศทางทะเลท่ีสวยงาม การเพาะปลูกพืชที่เหมาะสมกับลมฟ้า อ า ก า ศ ท า ใ ห้ ป ร ะ ช า ก ร ใ น ภ า ค ใ ต้ ส่ ว น ใ ห ญ่ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ แ ล ะ เ ป็ น แบบอย่างในการดาเนนิ ชีวติ ของเราได้

ใบความรู้ ภูมศิ าสตร์ กายภาพ เรือ่ ง ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทีเ่ กิดขนึ้ ในโลก ก ปรากฏการณ์ธรรมชาติ คอื การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ท้งั ในระยะยาวและระยะสนั้ สภาพแวดล฾อม ของโลกเปลย่ี นแปลงไปตามเวลา ทง้ั เปน็ ระบบและไมเ฽ ปน็ ระบบ เป็นสิง่ ทอี่ ยรู฽ อบตวั เรา มักสง฽ ผลกระทบต฽อเรา ในธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงบางอยา฽ งมีผลกระทบต฽อเรารนุ แรงมาก สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงมีท้งั เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติและเป็นส่งิ ทมี่ นษุ ยแทําให฾เกิดข้นึ ในเร่อื งนจี้ ะกลา฽ วถึงสาเหตุและลักษณะปรากฏการณแทางธรรมชาติที่สําคญั ดงั น้ี 1) พายุพายุ คือ สภาพบรรยากาศที่เคลอ่ื นตัวดว฾ ยความเร็วมผี ลกระทบต฽อพ้ืนผวิ โลกโดยบางคร้ังอาจมีความเรว็ ท่ี ศูนยแกลางถึง 400 กโิ ลเมตร/ช่วั โมง อาณาบรเิ วณท่จี ะได฾รับความเสียหายจากพายุว฽าครอบคลุมเทา฽ ใดขึน้ อยู฽กับความเร็วของ การเคล่ือนตวั ของพายุขนาด ความกวา฾ ง เสน฾ ผา฽ ศนู ยแกลางของตวั พายุ หน฽วยวัดความเร็วของพายคุ ือ หน฽วยริกเตอรเแ หมือน การวัดความรนุ แรงแผน฽ ดนิ ไหว พายแุ บ่งเปน็ ประเภทใหญๆ่ ได้ 3 ประเภท คอื 2.1 พายฝุ นฟา้ คะนอง มลี กั ษณะเปน็ ลมพัดย฾อนไปมา หรือพัดเคล่ือนตวั ไปในทิศทางเดียวกนั อาจเกิดจากพายุที่ ออ฽ นตัวและลดความรนุ แรงของลมลง หรือเกดิ จากหย฽อมความกดอากาศตํา่ รอ฽ งความกดอากาศตํา่ อาจไมม฽ ที ิศทางท่ีแนน฽ อน หากสภาพการณแแ วดล฾อมตา฽ งๆ ของการเกิดฝนเหมาะสม ก็จะเกิดฝนตก มลี มพดั 2.2 พายุหมนุ เขตรอ้ น (Tropical cyclone) ได฾แก฽ เฮอรรแ ิเคน ไตฝ฾ ุน และไซโคลนซ่งึ ล฾วนเป็นพายหุ มุนขนาดใหญ฽ เชน฽ เดยี วกัน และจะเกิดขนึ้ หรอื เร่ิมต฾นก฽อตัวในทะเล หากเกดิ เหนือเสน฾ ศูนยสแ ตู ร จะมีทิศทางการหมนุ เวียนทวนเขม็ นา ิกา และหากเกิดใต฾เส฾นศนู ยแสูตรจะหมนุ ตามเขม็ นา กิ า โดยมชี ่ือตา฽ งกันตามสถานท่เี กิด คือ 2.1.1 พายเุ ฮอร์รแิ คน (hurricane) เป็นช่ือเรยี กพายุหมนุ ท่เี กิดบรเิ วณทิศตะวนั ตกของมหาสมุทรแอตแลนติก เช฽น บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมรกิ า อ฽าวเมก็ ซิโก ทะเลแคริบเบียน เป็นต฾น รวมทงั้ มหาสมทุ รแปซิฟิกบรเิ วณชายฝ่ใงประเทศ เม็กซโิ ก 2.1.2 พายไุ ต้ฝุน่ (typhoon) เปน็ ชอ่ื พายุหมนุ ทีเ่ กิดทางทิศตะวนั ตกของมหาสมุทรแปซิฟกิ เหนือ เชน฽ บริเวณทะเล จีนใต฾ อา฽ วไทย อ฽าวตังเกย๋ี ประเทศญป่ี ุน แต฽ถ฾าเกิดในหมเ฽ู กาะฟลิ ปิ ปนิ สแ เรียกวา฽ บาเกยี ว (Baguio) 2.1.3 พายุไซโคลน (cyclone) เปน็ ช่อื พายหุ มนุ ทเี่ กดิ ในมหาสมทุ รอนิ เดียเหนือ เช฽น บรเิ วณอา฽ วเบงกอล ทะเล อาหรบั เป็นตน฾ แต฽ถ฾าพายนุ ้เี กิดบรเิ วณทะเลตมิ อรแแ ละทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ของประเทศออสเตรเลยี จะเรียกวา฽ พายวุ ิล ลี-วิลลี (willy-willy) 2.1.4 พายโุ ซนร้อน (tropical storm) เกิดขึน้ เมื่อพายุเขตรอ฾ นขนาดใหญอ฽ ฽อนกําลงั ลง ขณะเคล่ือนตัวในทะเล และความเร็วทีจ่ ดุ ศนู ยกแ ลางลดลงเมือ่ เคลอื่ นเข฾าหาฝง่ใ 2.1.5 พายดุ เี ปรสชนั (depression) เกดิ ข้ึนเม่อื ความเร็วลดลงจากพายโุ ซนร฾อน ซ่งึ ก฽อใหเ฾ กิดพายฝุ นฟาู คะนอง ธรรมดาหรอื ฝนตกหนัก 2.1.6 พายุทอร์นาโด (tornado) เป็นช่อื เรยี กพายหุ มนุ ท่ีเกดิ ในทวีปอเมรกิ ามีขนาดเนอื้ ทีเ่ ลก็ หรอื เสน฾ ผ฽าศูนยแกลาง น฾อย แตห฽ มุนดว฾ ยความเร็วสูง หรือความเร็วที่จดุ ศูนยแกลางสงู มากกวา฽ พายหุ มุนอน่ื ๆ ก฽อความเสียหายไดร฾ นุ แรงในบริเวณที่

พัดผ฽านเกดิ ไดท฾ ั้งบนบก และในทะเล หากเกดิ ในทะเล จะเรยี กว฽า นาคเลน่ นา้ (water spout) บางครัง้ อาจเกิดจากกลุ฽มเมฆ บนทอ฾ งฟูา แตห฽ มนุ ตวั ย่นื ลงมาจากท฾องฟูาไม฽ถึงพืน้ ดนิ มีรูปรา฽ งเหมือนงวงช฾าง จงึ เรยี กกนั วา฽ ลมงวง__ อนั ตรายของพายุ 1. ความรนุ แรงและอนั ตรายอันเกิดจากพายุไต้ฝุ่นเม่ือพายทุ ี่มีกําลงั ขนาดไต฾ฝนุ พดั ผ฽านทีใ่ ดย฽อมทําให฾เกิดความ เสียหายร฾ายแรงทวั่ ไปเชน฽ บนบกตน฾ ไมจ฾ ะล฾ม ถอนราก ถอนโคน บ฾านเรือนพังทบั ผูค฾ นในบา฾ นและที่ใกลเ฾ คียงบาดเจ็บหรอื ตาย สวน ไร฽นาเสียหายหนกั มาก เสาไฟฟาู ล฾ม สายไฟฟูาขาด ไฟฟูาช็อต เกิดเพลิงไหม฾และผ฾ูคนอาจเสียชีวิตจากไฟฟูาดูดได฾ ผู฾คนที่ มอี าคารพักอาศยั อยร฽ู ิมทะเลอาจถูกนา้ํ พดั พาลงทะเลจมน้ําตายได฾ดงั เช฽นปรากฎการณแที่แหลมตะลุมพุกจงั หวดั นครศรธี รรมราชในทะเลลมแรงจัดมากคล่นื ใหญ฽ เรือขนาดใหญ฽ ขนาดหมื่นตนั อาจจะถูกพัดพาไปเกยฝงใ่ ล฽มจมได฾ บรรดาเรือ เล็กจะเกิดอันตรายเรือลม฽ ไม฽สามารถจะต฾านความรนุ แรงของพายุได฾ คลืน่ ใหญซ฽ ัดขน้ึ ริมฝใง่ จะทาํ ใหร฾ ะดับนํ้าข้นึ สงู มากจนทว฽ ม อาคารบา฾ นช฽องริมทะเลได฾บรรดาโปฺะจับปลาในทะเลจะถกู ทาํ ลายลงโดยคลน่ื และลม 2. ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายุโซนร้อน พายโุ ซนร฾อนมคี วามรุนแรงนอ฾ ยกวา฽ พายุไตฝ฾ นุ ฉะนน้ั อนั ตรายจะ เกิดจากการท่ีพายุน้พี ัดมาปะทะลดลงในระดับรองลงมาจากพายุไต฾ฝนุ แต฽ความรนุ แรงท่ีจะทาํ ให฾ความเสียหายกย็ งั มมี าก เหมือนกนั ในทะเลลมจะแรงมากจนสามารถทําใหเ฾ รือขนาดใหญๆ฽ จมได฾ ตน฾ ไม฾ ถอนรากถอนโคน ดังพายุโซนร฾อนท่ีปะทะฝ่งใ แหลมตะลุมพุก จงั หวดั นครศรีธรรมราชถา฾ การเตรียมการรับสถานการณแไมเ฽ พยี งพอ ไมม฽ ีการประชาสมั พนั ธแใหป฾ ระชาชนได฾ ทราบเพ่ือหลีกเล่ยี งภัยอนั ตรายอย฽างทั่วถึง ไม฽มวี ิธีการดาํ เนินการท่ีเข฾มแข็งในการอพยพการช฽วยเหลือผูป฾ ระสบภยั ต฽างๆ ใน ระหว฽างเกดิ พายุ การสญู เสยี ก็ยอ฽ มมีการเสียทั้งชวี ิตและทรัพยแสมบัตขิ องประชาชน

3. ความรนุ แรงและอันตรายจากพายุดีเปรสชนั่ พายุดเี ปรสช่นั เปน็ พายทุ ี่มีกําลังอ฽อน ไม฽มอี นั ตรายรนุ แรงแตท฽ าํ ใหม฾ ี ฝนตกปานกลางท่ัวไป ตลอดทางท่ีพายดุ ีเปรสชั่นพัดผา฽ น และมีฝนตกหนักเปน็ แหง฽ ๆ พรอ฾ มด฾วยลมกรรโชกแรงเปน็ คร้ังคราว ซึง่ บางคราวจะรนุ แรงจนทําใหเ฾ กิดความเสยี หายได฾ ในทะเลคอ฽ นขา฾ งแรงและคล่นื จัด บรรดาเรอื ประมงเลก็ ขนาดตาํ่ กว฽า 50 ตนั ควรงดเว฾นออกทะเลเพราะอาจจะลม฽ ลงได฾ และพายดุ เี ปรสชัน่ น้เี ม่อื อยู฽ในทะเลได฾รบั ไอนํ้าหล฽อเลย้ี งตลอดเวลา และไม฽มี สิง่ กีดขวางทางลมอาจจะทวีกําลงั ขนึ้ ได฾ โดยฉับพลนั ฉะนน้ั เมื่อไดร฾ บั ทราบข฽าววา฽ มพี ายุดเี ปรสช่นั ขนึ้ ในทะเลก็อย฽าวางใจวา฽ จะมีกําลังอ฽อนเสมอไปอาจจะมอี ันตรายได฾เหมือนกนั สําหรับพายพุ ัดจดั จะลดน฾อยลงเปน็ ลําดบั มีแตฝ฽ นตกทว่ั ไปเปน็ ระยะ นานๆ และตกได฾มากถึง 100 มลิ ลิเมตร ภายใน 12 ชั่วโมง ซึง่ ตอ฽ ไปก็จะทําใหเ฾ กดิ นํา้ ปาุ ไหลบ฽าจากภูเขาและปาุ ใกล฾เคียงลง มาท฽วมบ฾านเรือนได฾ในระยะเวลาส้นั ๆ หลงั จากพายุได฾ผ฽านไปแลว฾ 4. ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายฤุ ดรู ้อนพายฤุ ดรู ฾อนเปน็ พายทุ เ่ี กิดขน้ึ โดยเหตแุ ละวธิ กี ารตา฽ งกบั พายุดเี ปรสช่นั และเกดิ บนผืนแผน฽ ดนิ ทรี่ ฾อนอบอ฾าวในฤดูร฾อนแตเ฽ ปน็ พายุที่มีบริเวณย฽อมๆ มอี าณาเขตเพยี ง 20-30ตารางกิโลเมตร แต฽อาจ มีลมแรงมากถึง 47 นอ็ ต หรือ 87 กิโลเมตรต฽อชว่ั โมง พายุนมี้ ีกาํ ลงั แรงทจ่ี ะทําให฾เกดิ ความเสยี หายไดม฾ าก แตเ฽ ป็นช฽วง ระยะเวลาสน้ั ๆ ประมาณ 2-3 ชว่ั โมง อนั ตรายทีเ่ กิดขึน้ คอื ตน฾ ไม฾หกั ล฾มทับบา฾ นเรือนผคู฾ น ฝนตกหนักและอาจมีลกู เห็บตก ได฾ ในกรณที ีพ่ ายุมกี ําลังแรง การเตรยี มการปอ้ งกนั อนั ตรายจากพายุ 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟใงคําเตอื นจากกรมอตุ ุนยิ มวิทยาสมาํ่ เสมอ 2. สอบถาม แจ฾งสภาวะอากาศรอ฾ นแกก฽ รมอตุ ุนิยมวิทยา 3. ปลกู สร฾าง ซอ฽ มแซม อาคารให฾แขง็ แรง เตรียมปูองกนั ภัยใหส฾ ัตวเแ ลีย้ งและพชื ผลการเกษตร 4. ฝึกซ฾อมการปูองกนั ภยั พบิ ัติ เตรยี มพร฾อมรับมือ และวางแผนอพยพหากจําเปน็ 5. เตรียมเครื่องอปุ โภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วทิ ยกุ ระเป฻าห้วิ เพ่ือติดตามข฽าวสาร 6. เตรียมพร฾อมอพยพเม่ือได฾รับแจ฾งให฾อพยพ 2) นา้ ท่วม สาเหตุสําคัญขึน้ อย฽ูกับสภาพท฾องท่ี และความวปิ รติ ผนั แปรของธรรมชาติแตใ฽ นบางท฾องที่ การกระทาํ ของมนุษยแก็มีส฽วนสําคัญ และ เกิดจากมีนํ้าเป็นสาเหตุ อาจจะเปน็ นา้ํ ท฽วม นํ้าปุาหรืออืน่ ๆ โดยปกติ อุทกภัยเกิดจากฝนตก หนกั ตอ฽ เนื่องกันเปน็ เวลานาน บางคร้งั ทาํ ให฾เกดิ แผน฽ ดนิ ถล฽ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร฾อน ลมมรสุมมกี าํ ลงั แรง รอ฽ ง ความกดอากาศ ตาํ่ มีกําลงั แรงอากาศแปรปรวน นํา้ ทะเลหนุน แผ฽นดนิ ไหว เขอ่ื นพงั ซ่งึ ทําให฾เกิดอทุ กภัยได฾ สาเหตุการเกดิ อทุ กภยั แบ฽งไดเ฾ ป็น 2 ชนิด ดังนี้

2.1 จากนา้ ป่าไหลหลากและน้าทว่ มฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักติดต฽อกันหลาย ชว่ั โมง ดินดูดซับไมท฽ ัน นา้ํ ฝน ไหลลงพ้นื ราบอย฽างรวดเร็ว ความแรงของนา้ํ ทาํ ลายต฾นไม฾ อาคาร ถนน สะพาน ชีวติ ทรัพยสแ ิน 2.2 จากน้าทว่ มขังและน้าเอ่อนอง เกิดจากนา้ํ ในแม฽นํ้า ลําธารล฾นตลิ่ง มีระดบั สูงจากปกติ ทว฽ มและแชข฽ ัง ทาํ ให฾ การคมนาคมชะงัก เกิดโรคระบาด ทําลายสาธารณูปโภค และพืชผลการเกษตร การป้องกันน้าท่วมปฏบิ ตั ิได้ดงั นี้ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟใงคาํ เตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา 2. ฝกึ ซ฾อมการปูองกันภยั พิบัติ เตรียมพร฾อมรบั มือ และวางแผนอพยพหากจําเป็น 3. เตรยี มนาํ้ ด่มื เคร่ืองอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วิทยกุ ระเป฻าห้ิวเพื่อตดิ ตามข฽าวสาร 4. ซอ฽ มแซมอาคารใหแ฾ ข็งแรง เตรยี มปูองกนั ภยั ใหส฾ ัตวเแ ลย้ี งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรียมพร฾อมเสมอเมื่อได฾รับแจ฾งใหอ฾ พยพไปท่สี ูง เมื่ออย฽ูในพนื้ ที่เสย่ี งภยั และฝนตกหนกั ตอ฽ เนื่อง 6. ไมล฽ งเล฽นนํา้ ไมข฽ ับรถผ฽านนํา้ หลากแม฾อยบู฽ นถนน ถ฾าอย฽ูใกล฾น้ํา เตรียมเรือเพื่อการคมนาคม ภมู ิศาสตรกแ ายภาพ 7. หากอยู฽ในพ้นื ท่ีนาํ้ ทว฽ มขงั ปูองกันโรคระบาด ระวังเรอื่ งนา้ํ และอาหารต฾องสุก และสะอาดก฽อนบริโภค 3) แผน่ ดนิ ไหว เป็นปรากฏการณแ การสนั่ สะเทือนหรือเขยา฽ ของพืน้ ผวิ โลก สาเหตขุ องการเกิดแผน฽ ดนิ ไหวนนั้ ส฽วน ใหญ฽เกดิ จากธรรมชาติ โดยแผน฽ ดินไหวบางลักษณะสามารถเกดิ จากการกระทําของมนุษยไแ ด฾เช฽น การทดลองระเบิดปรมาณู การปรับสมดลุ เนื่องจากนํ้าหนกั ของนาํ้ ท่ีกักเกบ็ ในเข่ือนและแรงระเบิดการทาํ เหมืองแร฽เป็นต฾น การปฏบิ ตั ปิ อ้ งกนั ตวั เองจากการเกดิ แผน่ ดินไหว กอ่ นเกิดแผน่ ดนิ ไหว 1. ควรมีไฟฉายพร฾อมถ฽านไฟฉาย และกระเป฻ายาเตรียมไวใ฾ นบา฾ น และใหท฾ ุกคนทราบวา฽ อย฽ูท่ีไหน 2. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบื้องต฾น 3. ควรมีเคร่ืองมือดับเพลิงไวใ฾ นบ฾าน เชน฽ เครอ่ื งดับเพลิง ถงุ ทราย เปน็ ตน฾ 4. ควรทราบตาํ แหน฽งของวาลแวปดิ น้าํ วาลแวปิดก฿าซ สะพานไฟฟูาสําหรบั ตดั กระแสไฟฟูา 5. อยา฽ วางส่งิ ของหนักบนชั้น หรอื ห้ิงสูงๆ เม่อื แผน฽ ดินไหวอาจตกลงมากเป็นอันตรายได฾ 6. ผูกเครื่องใช฾หนกั ๆ ให฾แน฽นกับพ้นื ผนงั บ฾าน 7. ควรมีการวางแผนเรื่องจดุ นัดหมาย ในกรณีท่ีต฾องพลัดพรากจากกัน เพ่ือมารวมกันอีกครง้ั ในภายหลงั

ระหว่างเกิดแผน่ ดนิ ไหว 1. อยา฽ ตน่ื ตกใจ พยายามควบคุมสตอิ ย฽ูอยา฽ งสงบ 2. ถา฾ อยู฽ในบ฾านให฾ยืนหรือหมอบอยู฽ในส฽วนของบ฾านท่ีมโี ครงสรา฾ งแข็งแรงทสี่ ามารถรบั นํ้าหนักได฾มาก และให฾อยห฽ู า฽ ง จากประตู ระเบยี ง และหน฾าต฽าง 3. หากอย฽ูในอาคารสงู ควรตงั้ สติ และรบี ออกจากอาคารโดยเร็วหนใี หห฾ ฽างจากส่ิงทีจ่ ะลม฾ ทบั ได฾ 4. ถา฾ อยู฽ในทโี่ ล฽งแจง฾ ใหอ฾ ยูห฽ ฽างจากเสาไฟฟูา และส่ิงหอ฾ ยแขวนตา฽ งๆ ทีป่ ลอดภยั ภายนอกคอื ที่ โลง฽ แจง฾ 5. อย฽าใช฾ เทียน ไมข฾ ีดไฟ หรือสิง่ ทท่ี ําให฾เกิดเปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแกส฿ รวั่ อย฽ูบริเวณนน้ั 6. ถา฾ กาํ ลังขบั รถใหห฾ ยุดรถและอยภู฽ ายในรถ จนกระทง่ั การส่ันสะเทอื นจะหยุด 7. หา฾ มใชล฾ ิฟทแโดยเดด็ ขาดขณะเกิดแผน฽ ดินไหว 8. หากอยช฽ู ายหาดใหอ฾ ย฽หู า฽ งจากชายฝ่ใง เพราะอาจเกิดคลื่นขนาดใหญ฽ซดั เข฾าหาฝใ่ง หลงั เกิดแผน่ ดนิ ไหว 1. ควรตรวจตัวเองและคนข฾างเคยี งว฽าไดร฾ ับบาดเจบ็ หรือไม฽ ให฾ทําการปฐมพยาบาลขนั้ ต฾นก฽อน 2. ควรรีบออกจากอาคารทเ่ี สียหายทนั ที เพราะหากเกดิ แผ฽นดินไหวตามมา อาคารอาจพังทลายได฾ 3. ใส฽รองเท฾าห฾ุมสน฾ เสมอ เพราะอาจมเี ศษแก฾ว หรอื วัสดแุ หลมคมอ่นื ๆ และสิ่งหักพังทมิ่ แทงได฾ 4. ตรวจสายไฟ ทอ฽ นํ้า ทอ฽ แก฿ส ถา฾ แก฿สรั่วใหป฾ ิดวาลวแ ถงั แก฿ส ยกสะพานไฟ อย฽าจดุ ไมข฾ ดี ไฟ หรือกอ฽ ไฟจนกวา฽ จะ แนใ฽ จวา฽ ไมม฽ ีแกส฿ ร่วั 5. ตรวจสอบวา฽ แก฿สรวั่ ดว฾ ยการดมกล่นิ เท฽าน้นั ถ฾าไดก฾ ลิ่นให฾เปิดประตูหน฾าต฽างทุกบาน 6. ใหอ฾ อกจากบริเวณทส่ี ายไฟขาด และวัสดสุ ายไฟพาดถึง 7. เปิดวิทยฟุ ใงคาํ แนะนาํ ฉุกเฉิน อย฽าใช฾โทรศัพทแ นอกจากจําเปน็ จริงๆ 8. สํารวจดคู วามเสยี หายของทอ฽ สว฾ ม และท฽อนาํ้ ทิง้ ก฽อนใช฾ 9. อย฽าเข฾าไปในเขตท่ีมคี วามเสยี หายสูง หรืออาคารพัง 4) ปรากฏการณ์เรือนกระจก คําว฽า เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถงึ อาณาบรเิ วณท่ปี ดิ ลอ฾ มดว฾ ยกระจก หรือวัสดุอ่ืนซึ่งมีผลในการเก็บกักความร฾อนไว฾ภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใช฾เรือนกระจกในการเพาะปลูกต฾นไม฾เพราะ พลังงานแสงอาทติ ยแสามารถผ฽านเข฾าไปภายในได฾แต฽ความร฾อนที่อยู฽ภายในจะถูกกักเก็บ โดยกระจกไม฽ให฾สะท฾อนหรือแผ฽ออกสู฽ ภายนอกได฾ทาํ ให฾อณุ หภูมิของอากาศภายในอบอ฽ุน และเหมาะสมต฽อการเจริญเติบโตของพืชแตกต฽างจากภายนอกท่ียังหนาว เยน็ นกั วทิ ยาศาสตรจแ ึงเปรียบเทยี บปรากฏการณแทคี่ วามร฾อนภายในโลกถูกกับดักความร฾อนหรือก฿าซเรือนกระ(Greenhouse gases) เก็บกกั เอาไวไ฾ มใ฽ ห฾สะทอ฾ นหรือแผ฽ออกส฽ูภายนอกโลกว฽าปรากฏการณแเรือนกระจกโลกของเราตามปกติมีกลไกควบคุม ภูมิอากาศโดยธรรมชาติอยู฽แล฾ว กระจกตามธรรมชาติของโลก คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดแแ ละไอน้าซ่ึงจะคอยควบคุมให฾ อณุ หภูมิของโลกโดยเฉลี่ยมคี า฽ ประมาณ 15 °C และถ฾าหากในบรรยากาศไม฽มีกระจกตามธรรมชาติอุณหภูมิของโลกจะลดลง เหลือเพียง -20°C มนุษยแและพืชก็จะล฾มตายและโลกก็จะเข฾าส฽ูยุคน้ําแข็งอีกคร้ังหน่ึงืสาเหตุสําคัญของการเกิดปรากฎการณแ

เรือนกระจกมาจากการเพ่ิมข้ึนของก฿าซเรือนกระจกประเภทต฽างๆ ได฾แก฽ คาร์บอนไดออกไซดแ (CO2) ไอนํ้า (H2O) โอโซน (O3) มีเทน(CH4)ไนตรัสออกไซดแ (N2O) และคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ในส฽วนของก฿าซคารแบอนไดออกไซดแจะเกิด การหมุนเวียนและรักษาสมดุลตามธรรมชาติ ปใญหาในเรื่องปรากฏการณแเรือนกระจกจะไม฽ส฽งผลกระทบท่ีรุนแรงต฽อมนุษยแ ชาติโดยเด็ดขาดแต฽ปใญหาที่โลกของส่ิงมีชีวิตกําลังประสบอย฽ูในปใจจุบันก็คือ ปริมาณก฿าซเรือนกระจกที่อย฽ูในบรรยากาศเกิด การสูญเสียสมดุลขึ้น ปริมาณความเข฾มของก฿าซเรือนกระจกบางตัวเช฽น คารแบอนไดออกไซดแ มีเทน ไนตรัสออกไซดแและคลอ โรฟลูออโรคารแบอนกลับเพ่มิ ปริมาณมากขนึ้ นบั ต้ังแตเ฽ กดิ การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม (industrial revolution) หรือประมาณปี พ.ศ. 2493 เป็นต฾นมากิจกรรมต฽างๆ ท่ีทําให฾เกิดการเพิ่มข้ึนของก฿าซเรือนกระจกมีดังน้ีคือ 57% เกิดจากการเผาไหม฾ของ เชื้อเพลิงฟอสซิล (น้ามันเช้ือเพลิง ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ) 17%เกิดจากการใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน 15% เกิดจากการผลิตในภาคเกษตรกรรม 8% เกิดจากการตัดไม้ทาลายป่า ส฽วนอีก 3% เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตาม ธรรมชาติ นักวิทยาศาสตรแทั่วโลกได฾ติดตามการเพ่ิมข้ึนของปริมาณก฿าซเรือนกระจก โดยการใช฾วิทยาศาสตรแและเทคโนโลยีอันทันสมัย เช฽น การใช฾ดาวเทียมสํารวจอากาศและสามารถสรุปได฾ว฽าในแต฽ละปีสัดส฽วนของก฿าซเรือนกระจกที่ถูกปล฽อยออกจากโลก โมเลกุลของคารแบอนไดออกไซดแจะมีผลต฽อการตอบสนองในการเก็บกักความร฾อนน฾อยมาก แต฽เน่ืองจากปริมาณ คารแบอนไดออกไซดแท่เี กดิ จากกิจกรรมต฽างๆ ของมนษุ ยแมมี ากทสี่ ุด ดงั นนั้ หัวใจสําคัญของการแก฾ปใญหาจึงต฾องม฽ุงประเด็นตรง ไปทก่ี ารลดปริมาณคารบแ อนไดออกไซดซแ ่ึงเกดิ จากการเผาไหม฾ของเช้ือเพลิง ฟอสซิลก฽อนเป็นอันดับแรก ต฽อจากนั้นจึงค฽อยลด และเลิกการใชค฾ ลอโรฟลอู อโรคารแบอนรวมถงึ การควบคุมปริมาณของมีเทนและไนตรัสออกไซดแท่จี ะปล฽อยขนึ้ สบ฽ู รรยากาศ ผลกระทบต่อมนษุ ย์ชาติจากการเกดิ ปรากฎการณเ์ รือนกระจก จากการคาดการณแของนกั วิทยาศาสตรแ อุณหภูมิ โดยเฉลีย่ ของโลกสูงขน้ึ ถึงแม฾การเพ่ิมสงู ขึ้นจะแสดงออกมาเปน็ ตัวเลขเพียงเลก็ น฾อย แต฽อาจสง฽ ผลกระทบทีร่ ุนแรงต฽อโลกของ สง่ิ มชี ีวติ เพราะการเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิเฉล่ียของโลกดังทีเ่ กดิ ข้นึ ในปจใ จบุ นั ทําให฾ความแตกตา฽ งระหว฽างอุณหภมู ิบริเวณเส฾น ศนู ยแสูตรกบั บรเิ วณข้วั โลกลดนอ฾ ยลงทําให฾เกิดความผันผวนขึ้นในอุณหภูมอิ ากาศของโลก เชน฽ แนวปะทะระหวา฽ งอากาศรอ฾ น กับอากาศเย็นของลมเปล่ยี นไปอย฽างมากเกิดสภาวะความกดอากาศตาํ่ มากขึ้นทาํ ให฾มลี มมรสุมพดั แรง เกิดลมพายุชนิดตา฽ งๆ เชน฽ พายโุ ซนรอ฾ น ใตฝ฾ นุ ดเี ปรสชัน่ และทอรแนาโดขน้ึ บ฽อยๆ หรอื อาจเกิดฝนตกหนักผิดพื้นที่ สมดลุ ทางธรรมชาตเิ ปล่ยี นแปลง ไปทาํ ให฾เกดิ ภยั ธรรมชาติ เช฽นดินถกู น้ําเซาะพงั ทลายหรือเกิดอุทกภยั เฉียบพลนั เปน็ ต฾นนอกจากนนี้ กั วิทยาศาสตรยแ ังมีความ เชือ่ วา฽ หากอุณหภมู ิเฉลีย่ ของโลกสงู มากจะทาํ ใหน฾ ํ้าแข็งบรเิ วณขวั้ โลกละลาย นาํ้ ในทะเลและมหาสมุทรจะเพม่ิ ปรมิ าณและ ทว฽ มทน฾ ทาํ ใหเ฾ กาะบางแหง฽ จมหายไป เมอื งท่ีอยใ฽ู กลช฾ ายทะเลหรือมรี ะดับพนื้ ท่ตี ํ่าเช฽น กรงุ เทพฯจะเกิดปใญหาน้าํ ท฽วมขึ้นและ ถ฾านํา้ แข็งบรเิ วณขั้วโลกละลายอย฽างต฽อเนื่อง กจ็ ะสง฽ ผลให฾ระดบั นํา้ ทะเลทั่วโลกเพิ่มสงู ข้นึ อกี สามเมตรหรอื มากกว฽าน้นั ซง่ึ หมายถึงอุทกภยั ครั้งใหญจ฽ ะเกิด ขน้ึ ในโลกอยา฽ งแน฽นอน จากเอกสารของโครงการส่งิ แวดลอ฾ มขององคแการสหประชาชาตไิ ด฾ ประมาณการณแวา฽ อณุ หภูมิเฉล่ียของโลกอาจสูงขน้ึ 2 ถงึ 4°C และระดบั นาํ้ ทะเลอาจสูงข้นึ 20-50 เซนตเิ มตร ในระยะเวลา อกี 10 – 50 ปีนบั จากปจใ จุบัน มาตรการปอ้ งกันผลกระทบจากการเกิดปรากฎการณเ์ รือนกระจก หลักจากทเี่ ราได฾ทราบมูลเหตแุ ห฽ง เกิดปรากฎการณแเรือนกระจกแลว฾ ข฾อสรุปท่ีดีท่ีสดุ ในการแก฾ไขปใญหา คอื การลดปริมาณก฿าซเรือนกระจกทจี่ ะถูกปล฽อยออกส฽ู บรรยากาศให฾อย฽ูในสดั สว฽ น และปริมาณท่นี อ฾ ยทีส่ ุดเทา฽ ที่จะกระทําได฾ การรกั ษาระดบั ความหนาแนน฽ ของก฿าซเรือนกระจกใน บรรยากาศท่ีท่ัวโลกกํากลังปฏิบัติมหี ลายวธิ ี ยกตัวอย฽างเชน฽ มาตรการของ IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change) ซ่งึ ประมาณการณเแ อาไว฾ว฽าการรักษาระดบั ความหนาแนน฽ ของก฿าซเรือนกระจกในบรรยากาศใหอ฾ ยูใ฽ นระดับเดียวกบั

ปจใ จบุ ันจะต฾องลดการปลดปล฽อยก฿าซเรือนกระจกจากการกระทาํ ของมนษุ ยใแ ห฾ต่ําลงจากเดิม 6% และไดเ฾ สนอมาตรการตา฽ งๆ ดังน้ี 1. สง฽ เสริมการสงวนและการใชพ฾ ลงั งานอยา฽ งมีประสิทธภิ าพสูงสุดดังจะยกตัวอยา฽ งในบ฾านเมืองของเราก็เชน฽ การใช฾ เคร่อื งไฟฟูาที่มีสลากประหยดั ไฟ หรือการเลือกใช฾หลอดฟลูออเรสเซนตแ ชนดิ หลอดผอมเป็นตน฾ 2. หามาตรการในการลดปริมาณคารแบอนไดออกไซดแ เช฽น กําหนดนโยบายผทู฾ ําให฾เกิดมลพิษต฾องเปน็ ผูร฾ ับผิดชอบ ค฽าใชจ฾ ฽ายในการบําบัด ในบางประเทศมีการกาํ หนดให฾มกี ารเกบ็ ภาษผี ทู฾ ่ีทาํ ใหเ฾ กิดก฿าซคารแบอนไดออกไซดแให฾มากข้ึน ทัง้ น้ีจะ สง฽ ผลตอ฽ การประหยัดพลงั งานของประเทศทางอ฾อมดว฾ ย 3. เลกิ การผลติ และการใชค฾ ลอโรฟลูออโรคารบแ อน (CFCs) รวมทั้งค฾นหาสารอนื่ มาทดแทนคลอโรฟลูออโรคารแบอน ในบางประเทศกําหนดใหใ฾ ช฾ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน(HFCs)แทน สาํ หรบั ประเทศไทยของเรามีการส฽งเสริมการสรา฾ งค฽านิยม ในการใชส฾ เปรยแ และอปุ กรณแที่อย฽ใู นประเภททีป่ ราศจากคลอโรฟลอู อโรคารบแ อน (Non-CFCs) เป็นต฾น 4. หนั มาใช฾เชื้อเพลงิ ท่ีก฽อใหเ฾ กิดคารบแ อนไดออกไซดใแ นปริมาณทนี่ อ฾ ยกว฽าเมื่อเทยี บกับค฽าพลังงานที่ได฾ เชน฽ การ กอ฽ สร฾างโครงการรถไฟฟาู ของกรงุ เทพมหานครจะชว฽ ยลดการใช฾นาํ้ มันเช้ือเพลิงจากการขนส฽งมวลชนในแตล฽ ะวันได฾อยา฽ งดี และประสิทธภิ าพทีส่ ดุ 5. สนบั สนุนการวิจยั เกย่ี วกับแหล฽งพลังงานทดแทนอ่นื ๆ เช฽น พลงั งานแสงอาทติ ยแและพลงั งานนิวเคลียรใแ หเ฾ กิดเป็น รปู ธรรมและไดร฾ ับความเชอ่ื ม่ันจากประชาชนว฽าจะไม฽ก฽อให฾เกดิ มหันตภัยมวลมนษุ ยแชาติดังทเี่ กิดขน้ึ ในเชอรโแ นบวิ ลแ 6. หยดุ ยง้ั การทําลายปุาไม฾และสนับสนุนการปลกู ปาุ ทดแทน สําหรบั ในประเทศไทยการรณรงคใแ นเรื่องการปลกู ปุา เฉลมิ พระเกยี รตินับเป็นโครงการท่นี ฽าสนับสนนุ อย฽างมาก 5) ภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร฾อน หมายถงึ การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศทเ่ี กิดจากการกระทําของมนษุ ยแ ทที่ าํ ให฾อณุ หภูมเิ ฉล่ยี ของโลกเพิม่ สูงขนึ้ เราจึงเรยี กวา฽ ภาวะโลกร้อน (Global Warming)กจิ กรรมของมนุษยทแ ี่ทําให฾เกิด ภาวะโลกร฾อนคือ กิจกรรมที่ทําให฾ปรมิ าณก฿าซเรือนกระจกในบรรยากาศเพมิ่ มากขนึ้ ได฾แก฽ การเพิ่มปรมิ าณกา฿ ซเรอื นกระจก โดยตรง เช฽น การเผาไหม฾เชอ้ื เพลิง และการเพิ่มปริมาณก฿าซเรอื นกระจกโดยทางอ฾อม คือ การตัดไม฾ทาํ ลายปาุ หากไม฽มีการช฽วยกนั แกไ฾ ขปญใ หาโลกในวนั นี้ ในอนาคตจะส฽งผลกระทบดังนี้ 1. ทําให฾ฤดูกาลของฝนเปล่ยี นแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลน่ั ตวั จะเรว็ ขึน้ หมายถึงวา฽ ฝนอาจจะตกบ฽อย ขน้ึ แตน฽ าํ้ จะระเหยเร็วขึ้นด฾วย ทําใหด฾ นิ แห฾งเรว็ กว฽าปกตใิ นชว฽ งฤดกู าลเพาะปลกู 2. ผลผลิตทางการเกษตรจะลดลง นอกจากผลกระทบโดยตรงจากอุณหภูมิ ฝนช฽วงระยะเวลาฤดูกาลเพาะปลูกแล฾ว ยงั เกิดจากผลกระทบทางออ฾ มอกี ด฾วย คอื การระบาดของโรคพืช ศัตรูพชื และวัชพชื 3. สัตวแนํ้าจะอพยพไปตามการเปล่ียนแปลงของอุณหภมู นิ ํ้าทะเล แหล฽งประมงท่ีสาํ คัญๆ ของโลกจะเปลี่ยนแปลงไป 4. มนุษยจแ ะเสยี ชวี ติ เนอื่ งจากความร฾อนมากขน้ึ ตัวนําเช้อื โรคในเขตร฾อนเพ่ิมมากขนึ้ ปญใ หาภาวะมลพิษทางอากาศ ภายในเมอื งจะรุนแรงมากขึ้น

วธิ กี ารลดภาวะโลกรอ้ น มี 10 วธิ ดี งั นี้ 1. ลดการใชพ฾ ลังงานที่ไม฽จําเปน็ จากเคร่ืองใช฾ไฟฟาู เชน฽ เคร่ืองปรับอากาศ พดั ลมหากเป็นไปได฾ใชว฾ ธิ ี เปิดหนา฾ ต฽าง ซึ่งบางชว฽ งทอ่ี ากาศดีๆ สามารถทาํ ได฾ เชน฽ หลังฝนตกหรอื ช฽วงอากาศเยน็ เป็นการลดคา฽ ไฟ และ ลดความร฾อน เนอ่ื งจาก หลกั การทําความเย็นนนั้ คือ การถ฽ายเทความร฾อนออก ดังน้ันเวลาเราใชเ฾ คร่ืองปรับอากาศ จะเกดิ ปริมาณความร฾อน บริเวณหลงั เครื่องระบายความรอ฾ น 2. เลอื กใช฾ระบบขนสง฽ มวลชน ในกรณีที่สามารถทาํ ได฾ ได฾แก฽ รถไฟฟูา รถต฾ู รถเมลแเน่ืองจากพาหนะแตล฽ ะคนั จะเกดิ การเผาผลาญเชื้อเพลงิ ซง่ึ จะเกดิ ความร฾อน และกา฿ ซคารแบอนไดออกไซดแ ดงั นั้นเมื่อลดปริมาณจํานวนรถ ก็จะลดจาํ นวนการ เผา฽ ไหมบ฾ นท฾องถนนในแต฽ละวันลงได฾ 3. ช฽วยกนั ปลกู ตน฾ ไม฾ เพราะต฾นไมจ฾ ะคายความชุม฽ ช้นื ให฾กบั โลก และชว฽ ยดดู กา฿ ซคารบแ อนไดออกไซดแ ซึ่งเปน็ สาเหตุ ภาวะเรอื นกระจก 4. การชวนกนั ออกไปเทยี่ วธรรมชาติภายนอก ก็ช฽วยลดการใชป฾ ริมาณไฟฟูาได฾ 5. เวลาซ้ือของพยายามไม฽รับภาชนะทเ่ี ป็นโฟม หรือกรณีที่เปน็ พลาสตกิ เชน฽ ขวดนาํ้ พยายามนาํ กลับมาใชอ฾ ีก เนือ่ งจากพลาสติกเหล฽าน้ีทาํ การย฽อยสลายยาก ต฾องใช฾ปรมิ าณความร฾อน เหมือนกับตอนทผ่ี ลติ มันมา ซง่ึ จะก฽อใหเ฾ กิดความ รอ฾ นกบั โลกของเรา เราสามารถนาํ กลับมาใช฾เปน็ ภาชนะใสน฽ ้ําแทนกระตกิ น้ํา หรอื ใชป฾ ลกู ต฾นไมก฾ ็ได฾ 6. ใชก฾ ระดาษดว฾ ยความประหยดั กระดาษแตล฽ ะแผ฽น ทาํ มาจากการตดั ตน฾ ไม฾ ซึง่ เป็นเสมือนปราการสําคัญของโลก เรา ดังนน้ั การใชก฾ ระดาษแตล฽ ะแผ฽นควรใชใ฾ ห฾ประหยัดท้ังดา฾ นหนา฾ หลัง ใช฾เสรจ็ ควรนาํ มาเปน็ วสั ดุรอง หรือ นํามาเช็ดกระจกก็ ได฾ นอกจากนี้การนาํ กระดาษไปเผาก็จะเกดิ ความร฾อนต฽อโลกเราเชน฽ กัน 7. ไม฽สนบั สนุนกจิ การใดๆ ท่ีสิ้นเปลืองทรพั ยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการท่มี กี ารคาํ นงึ ถึงการรักษา สงิ่ แวดลอ฾ ม

ใบงาน ภมู ศิ าสตร์ กายภาพ เรอื่ ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขึน้ ในโลก ลักษณะปรากฏการณท์ างธรรมชาติทส่ี าคัญและการป้องกันอนั ตราย 1. ปรากฏการณแเรือนกระจกคืออะไร ............................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................................................................................................................................ ............................ ...................................................................................................... .............................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ...................................................................................................................................................... .............................................. .................................................................................... ................................................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... 2. ในฐานะท่ีท฽านเปน็ ส฽วนหน่ึงของประชากรโลกท฽านสามารถจะช฽วยปูองกันและแก฾ไขปใญหาภาวะโลกร฾อนได฾อย฽างไรให฾บอก มา 5 วธิ ี ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... .................................................................................................................................... ................................................................ ................................................................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................ ........................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................................................................................................................... ......................................... .......................................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................

แนวเฉลย ใบงาน ภมู ิศาสตร์ กายภาพ เรอ่ื ง ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่เี กิดขึน้ ในโลก 1. ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกคืออะไร คําวา฽ เรือนกระจก (greenhouse) หมายถึง อาณาบริเวณที่ปิดล฾อมด฾วยกระจกหรือวัสดุอ่ืน ซ่ึงมีผลในการ เก็บกกั ความรอ฾ นไวภ฾ ายใน ในประเทศเขตหนาวนยิ มใช฾เรือนกระจําในการเพาะปลูกต฾นไม฾เพราะพลังงานแสงอาทิตยแสามารถ ผ฽านเข฾าไปภายในได฾แต฽ความร฾อนท่ีอยู฽ภายในจะถูกกักเก็บโดยกระจกไม฽ให฾สะท฾อน หรือแผ฽ออกส฽ูภายนอกได฾ทําให฾ แนวเฉล อุณหภูมิของอากาศภายในอบอ฽ุนและเหมาะสมต฽อการเจริญเติบโตของพืชแตกต฽างจากภายนอกท่ียังหนาวเย็น นกั วิทยาศาสตรแจึงเปรียบเทียบปรากฏการณแ ที่ความร฾อนภายในโลกถูกกับดักความร฾อนหรือก฿าซเรือนกระจก (Greenhouse agses) เก็บกักเอาไว฾ไม฽ให฾สะท฾อนหรือแผ฽ออกสู฽ภายนอกโลกว฽าเป็นปรากฏการณแเรือนกระจกโลกของเราตามปกติมีกลไก ควบคุมภมู ิอากาศโดยธรรมชาติอย฽ูแล฾ว กระจกตามธรรมชาตขิ องโลกคือก฿าซคารแบอนไดออกไซดแและไอนํ้า ซึ่งจะคอยควบคุม ให฾อุณหภูมิของโลกโดยเฉลี่ยมีค฽าประมาณ 15 °C และถ฾าหากในบรรยากาศไม฽มีกระจกตามธรรมชาติอุณหภูมิของโลกจะ ลดลงเหลือเพียง -20°C มนุษยแแ ละพชื กจ็ ะล฾มตายและโลกกจ็ ะเขา฾ ส฽ูยคุ น้ําแขง็ อกี ครง้ั หนง่ึ 2. ในฐานะทีท่ ่านเป็นส่วนหนึง่ ของประชากรโลกทา่ นสามารถจะช่วยป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาภาวะโลกร้อนได้ อยา่ งไรให้บอกมา 5 วิธี 1. อาบน้าํ ด฾วยฝกใ บัวจะชว฽ ย ประหยัดวา฽ การตักนํ้าอาบหรอื ใชอ฾ า฽ งอาบนา้ํ ถึงคร่ึงหนึง่ ในเวลาเพยี ง 10 นาที และ ปิด นาํ้ ขณะแปรงฟใน 2. ใช฾หลอดไฟตะเกยี บ ประหยดั กวา฽ หลอดธรรมดา 4 เท฽า ใช฾งานนานกวา฽ 8 เท฽า แตล฽ ะหลอดชว฽ ยลดการปลอ฽ ยก฿าซ คารแบอนไดออกไซดแ ได฾ 4,500 กิโลกรัม หลอดไฟธรรมดาเปลีย่ นพลังงานน฾อยกวา฽ 10% ไปเป็นแสงไฟ ส฽วนทเี่ หลือถูก เปล่ียนไปเป็นความร฾อน เท฽ากับสูญพลังงานเปล฽าๆ มากกวา฽ 90% 3. ถอดปลั๊กเคร่ืองใช฾ไฟฟาู ทุกครง้ั จากใชง฾ าน 4. พกถงุ ผา฾ แทนการใชถ฾ ุงพลาสตกิ 5. เชค็ ลมยาง การขบั รถโดยทย่ี างมลี มน฾อย อาจทําให฾เปลืองนํา้ มัน

ใบงาน ภมู ิศาสตร์ กายภาพ เรือ่ งวธิ ีใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ 1. แผนท่หี มายถึง .................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ..................................................................................................................................... ............................................................... ................................................................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ................................................................................................................................................................................ .................... 2. จงบอกประโยชนแของการใช฾แผนทีม่ า 5 ข฾อ ................................................................................................................................................................................................... . ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................... ................................................................................................................ .................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... 3. ใหบ฾ อกวธิ ีการใชเ฾ ขม็ ทศิ ค฽ูกับการใช฾แผนที่พอสงั เขป ............................................................................................................................. ....................................................................... ....................................................................................................................................... ............................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... .................................................................................................................................................................... ...............................

ใบความรู้ ภูมศิ าสตร์ กายภาพ เร่อื ง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น้นั ไดม้ กี ารสารวจทศั นคตขิ องประชาชน ปใญหาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล฾อม น้ันไดม฾ ีการสาํ รวจทศั นคตขิ องประชาชนพบว฽า ปญใ หาสําคัญ 5 ลาํ ดบั แรก มดี งั นี้ ลําดับท่ี 1 การสูญเสยี ทรัพยากรปาุ ไม฾ ลาํ ดับที่ 2 อทุ กภัยและภยั แลง฾ ลาํ ดับที่ 3 ความเสื่อมโทรมของ ทรพั ยากรดนิ และการใชท฾ ี่ดนิ ลําดบั ท่ี 4มลพษิ จากขยะ และลําดบั ท่ี 5 มลพิษทางอากาศ ความสําคัญของส่ิงแวดล฾อมคือ เอื้อประโยชนแให฾สิ่งมีชีวิตท้ังพืชและสัตวแอยู฽รวมกันอย฽างมีความสุข มีการ พึ่งพากันอย฽างสมดุล มนุษยแดํารงชีพอย฽ูได฾ด฾วยอาศัยปใจจัยพ้ืนฐานจากส่ิงแวดล฾อม ซึ่งประกอบด฾วยอาหาร อากาศ น้ํา ที่อยู฽ อาศัย และยารักษาโรค สิ่งแวดล฾อมเป็นองคปแ ระกอบท่สี ําคญั ของสงิ่ มชี ีวติ ทกุ ชนิด แต฽ “ทาํ ไมสง่ิ แวดลอ฾ มจึงถูกทําลาย” และ เกิดปใญหามากมายทั่วทุกมุมโลก เม่ือทําการศึกษาพบว฽า “มนุษยแ” เป็นผู฾ทําลายสิ่งแวดล฾อมมากท่ีสุด สาเหตุที่มนุษยแทําลาย ส่งิ แวดล฾อมเกิดจากความเห็นแกต฽ ัวของมนษุ ยเแ อง โดยม฽งุ เพื่อด฾านวตั ถแุ ละเงนิ มาตอบสนองความต฾องการของตนเอง เมื่อสิ่งแวดล฾อมถูกทําลายมากข้ึน ผลกระทบก็ย฾อนกับมาทําลายตัวมนุษยแเอง เช฽นเกิดการเปล่ียนแปลงบรรยากาศของโลก เกิดสภาวะเรือนกระจก ภาวะโลกรอ฾ นตลอดจนเกิดภัยธรรมชาติต฽างๆ เช฽น น้ําท฽วม แผ฽นดินถล฽ม ควันพิษ นํ้าเน฽าเสีย ขยะมูล ฝอย และสิ่งปฏิกูล ซ่ึงสิ่งเหล฽านี้มีผลโดยตรงและทางอ฾อม และไม฽สามารถหลีกเล่ียงได฾ผลกระทบจากการใช฾แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห฽งชาติฉบับท่ี4 ของไทยเกิดจากการโดยนํานโยบายการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเข฾ามาใช฾เพ่ือม฽ุงพัฒนา เศรษฐกจิ เป็นหลกั ทาํ ให฾ประชาชนตน่ื ตัวในการทําไรป฽ ลกู พชื เชิงเดย่ี ว เชน฽ มนั สาํ ปะหลงั ออ฾ ย ปอ จึงเกดิ การทาํ ลาย ปุาและทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือหาพื้นท่ีในการปลูกพืชเชิงเด่ียวตามนโยบายรัฐบาล มีการใช฾ปุ฻ยเคมี ใช฾ยาปราบศัตรูพืช เกิด โรงงานอุตสาหกรรมจํานวนมาก แต฽ภาครัฐยังขาดการควบคุมอย฽างเป็นระบบและชัดเจน จึงทําให฾เกิดผลกระทบมาจนถึง ปใจจบุ นั เช฽นปาุ ไม฾ถูกทาํ ลาย ดนิ เสอื่ มคุณภาพ น้ําเน฽าเสยี เกดิ สารเคมีสะสมในแหล฽งนํ้าและดิน เกดิ มลพษิ ซ่ึงสิง่ เหลา฽ นเี้ กดิ ผลกระทบโดยตรงและโดยอ฾อม ต฽อสุขภาพและการดํารงชีวิตของประชาชน ทําให฾เกิดความเสยี หายต฽อประเทศโดยรวม จากการศึกษาของนักวิชาการ พบว฽า การแก฾ไขปใญหาสิ่งแวดล฾อมต฾องแก฾ท่ีตัว“มนุษยแ” น่ันคือจะต฾องให฾ความร฾ู ความเข฾าใจ ธรรมชาติ เจตคติ มีคุณธรรมจริยธรรม และสร฾างจิตสํานึกให฾เกิดความตระหนักต฽อส่ิงแวดล฾อม ต฽อประชาชน โดยเรียนรู฾จาก แหลง฽ เรยี นรู฾ใหมๆ฽ สรา฾ งความตระหนกั ในปใญหาทเี่ กดิ ขึ้น และสร฾างการมีสว฽ นร฽วมในการปอู งกันและ แก฾ไขปญใ หาที่เกดิ ขนึ้ ปญใ หาสง่ิ แวดลอ฾ มสําคัญๆ ดัวตอ฽ ไปนี้ คือ 1. ป่าไม้“ปุาไม฾” เป็นศูนยแรวมของสรรพชีวิต เป็นที่ก฽อกําเนิดสายน้ํา ชีวิตพืชและสัตวแท่ีหลากหลายอีกทั้งเป็นที่ พง่ึ พิงและให฾ประโยชนแแ ก฽มนุษยแมาแต฽โบราณกาล เพราะปุาไม฾ช฽วยรักษาสมดุลของธรรมชาติ และสิ่งแวดล฾อม ควบคุมสภาพ ดนิ ฟาู อากาศ กําบงั ลมพายุ ปอู งกนั บรรเทาอุทกภยั ปอู งกันการพังทลายของหน฾าดิน เป็นเสมอื นเขอ่ื นธรรมชาติที่ปอู งกนั การ ตื้นเขนิ ของแมน฽ ้าํ ลําคลอง เปน็ แหลง฽ ดดู ซับกา฿ ซคารแบอนไดออกไซดแ และเป็นโรงงานผลิตออกซิเจนขนาดใหญ฽ เป็นคลังอาหาร และยาสมนุ ไพร และปุาไม฾ยังเปน็ แหลง฽ ศกึ ษาวิจัยและเป็นสถานที่พักผ฽อนหย฽อนใจของมนุษยแ นอกจากนี้ในผืนปุายังมีสัตวแปุา นานาชนดิ ซ่งึ มี ประโยชนตแ อ฽ มนษุ ย่แ ละสิง่ มีชีวิตอ่ืนๆ ในหลายลักษณะ ได่แ ก ฽ การรกั ษาสมดลุ ของระบบนิเวศ เช฽น การ ควบคุมปริมาณสัตวแปุาให฾อย฽ูในภาวะสมดุล การช฽วยแพร฽พันธแุพืช การควบคุมแมลงศัตรูพืช เป็นปุ฻ยให฾กับดินในปุา เป็นต฾น การเป็นแหล฽งพันธุกรรมท่ีหลากหลาย การเป็นอาหารของมนุษยแและสัตวแอ่ืน และการสร฾างรายได฾ให฾แก฽มนุษย แ เชน฽ การค่า จากช้ินสว฽นต฽างๆ ของสัตวแปุา การจําหน฽าย สัตวแปุา และการเปิดให฾บริการ ชมสวนสัตวแ เป็นต฾น ดังนั้น จึงนับว฽าปุาไม฾ให฾ คุณประโยชนแทั้งทางตรงและทางออ฾ มแก฽มวลมนุษยแเป็นอย฽างมากมาย หากปุาไม฾เส่ือมโทรม ชีวิตความเป็นอย฽ูของมนุษยแและ สัตวอแ ย฽างหลีกเล่ยี งไม฽ได฾

ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย ประเภทของปุาไมจ฾ ะแตกตา฽ งกนั ไปข้ึนอย฽ูกบั การกระจายของฝน ระยะเวลาทฝ่ี นตกรวมทง้ั ปริมาณนํ้าฝนทําใหป฾ ุาแต฽ ละแหง฽ มีความชมุ ชน้ื ต฽างกัน สามารถจาํ แนกได฾เปน็ 2 ประเภทใหญ฽ๆ คอื 1. ปุาประเภทท่ีไมผ฽ ลดั ใบ (Evergreen) 2. ปาุ ประเภทท่ผี ลัดใบ (Deciduous) ป่าประเภทท่ีไม่ผลัดใบ (Evergreen)ปาุ ประเภทนมี้ องดูเขียวชอ฽มุ ตลอดปี เนอื่ งจากตน฾ ไม฾แทบทั้งหมดท่ีขน้ึ อยเ฽ู ป็น ประเภทที่ไมผ฽ ลัดใบ ปุาชนดิ สําคัญซึ่งจดั อย฽ูในประเภท น้ี ไดแ฾ ก฽ 1. ปา่ ดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest)ป่าดงดิบทีม่ ีอยู่ทั่วในทุกภาคของประเทศ แตท่ ี่มี มากที่สดุ ได้แก่ ภาคใต้และภาคตะวันออก ในบริเวณนม้ี ีฝนตกมากและมีความชน้ื มากในท้องทีภ่ าคอ่นื ปา่ ดงดบิ มักกระจายอยู่บริเวณท่ีมีความชุ่มชน้ื มากๆ เช่น ตามหบุ เขา ริมแมน่ ้าลาธาร หว้ ย แหล่งน้า และบนภเู ขา ซ่ึงสามารถ แยกออกเปน็ ป่าดงดิบชนิดตา่ งๆ ดงั นี้ 1.1 ปุาดิบช้ืน เป็นปุารกทึบมองดูเขยี วชอุ฽มตลอดปีมีพนั ธแุไมห฾ ลายร฾อยชนดิ ขนึ้ เบียดเสียดกันอยู฽มกั จะพบกระจัด กระจายตัง้ แตค฽ วามสูง 600 เมตร จากระดับน้าํ ทะเล ไม฾ท่ีสาํ คญั ก็คือ ไม฾ตระกูลยางต฽างๆ เชน฽ ยางนา ยางเสยี น ส฽วนไมช฾ นั้ รอง คอื พวกไม฾กอเช฽น กอนํ้า กอเดือย 1.2 ปาุ ดิบแล฾ง เป็นปาุ ทอ่ี ยูใ฽ นพื้นท่ีค฽อนขา฾ งราบมีความชุม฽ ชืน้ นอ฾ ย เชน฽ ในแถบภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือมกั อย฽สู งู จากระดบั นาํ้ ทะเลประมาณ 300-600 เมตรไม฾ท่สี าํ คัญ ไดแ฾ ก฽ มะค฽าโมง ยางนา พะยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ 1.3 ปุาดบิ เขา ปาุ ชนิดนเ้ี กดิ ข้ึนในพน้ื ทสี่ งู ๆ หรือบนภูเขาตงั้ 1,000-1,200เมตร ขนึ้ ไปจากระดบั น้าํ ทะเล ไม฾ ส฽วนมากเปน็ พวก Gymnosperm ได฾แก฽ พวกไมข฾ ุนและสนสามพันปี นอกจากน้ยี ังมีไมต฾ ระกูลกอขึน้ อยู฽ พวกไมช฾ ้ันทส่ี อง รองลงมา ได฾แก฽ สะเดาช฾างและขมนิ้ ชนั 2. ป่าสนเขา (Pine-Forest)ปาุ สนเขามกั ปรากฏอยู฽ตามภูเขาสงู ส฽วนใหญ฽เปน็ พนื้ ท่ซี ง่ึ มีความสูงประมาณ 200- 1,800 เมตร ขึน้ ไปจากระดับน้าํ ทะเลในภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือบางทีอาจปรากฏในพนื้ ท่ีสูง 200-300 เมตร จากระดบั นํ้าทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต฾ ปาุ สนเขามลี กั ษณะเปน็ ปาุ โปร฽ง ชนดิ พันธไุแ มท฾ ่สี าํ คัญของปาุ ชนดิ นคี้ ือ สนสองใบ และสนสามใบ สว฽ นไมช฾ นดิ อ่ืนทข่ี นึ้ อย฽ูด฾วยได฾แก฽พันธุแไมป฾ ุาดบิ เขา เช฽น กอชนิดตา฽ งๆ หรือพันธแไุ มป฾ ุาแดง บางชนิด คือ เต็ง รงั เหียง พลวง เปน็ ต฾น 3. ป่าชายเลน (Mangrove Forest)บางทเี รียกว่า “ป่า เลนน้าํ เค็ม” หรอื ป่า เลน มตี น฾ ไมข฾ ้ึนหนาแนน฽ แตล฽ ะชนดิ มีรากค้าํ ยันและรากหายใจ ปุาชนิดนปี้ รากฏอย฽ตู ามท่ดี นิ และรมิ ทะเลหรอื บรเิ วณปากน้าํ แม฽นํ้าใหญๆ฽ ซง่ึ มนี ํา้ เค็มท฽วมถึงในพน้ื ทีภ่ าคใต฾มีอยต฽ู ามชายฝ่งใ ทะเลทง้ั สองดา฾ น ตามชายทะเลภาคตะวนั ออกมีอย฽ทู ุกจังหวัดแต฽ทีม่ ากทีส่ ดุ คอื บริเวณปากน้ําเวฬุ อาํ เภอขลงุ จังหวดั จนั ทบุรีพนั ธแุไม฾ทขี่ นึ้ อยต฽ู ามปุาชายเลน ส฽วนมากเปน็ พนั ธุแไม฾ขนาดเลก็ ใช฾ประโยชนแ สําหรับการเผ฽าถ฽าน และทาํ ฟืนไม฾ชนิดท่สี าํ คัญ คอื โกงกาง ถ่วั ขาว ถวั่ ขาํ โปรง ตะบนู แสมทะเล ลาํ พนู และลําแพน ฯลฯ สว฽ นไมพ฾ ้ืนล฽างมักเป็นพวก ปรงทะเล เหงือกปลาหมอ และปอทะเลเปน็ ต฾น

4. ปา่ พรหุ รอื ป่าบึงนา้ จืด (Swamp Forest)ปุาชนิดน้มี ักปรากฏในบริเวณท่ีมีนํ้าจดื ทว฽ มมากๆ ดินระบายนํา้ ไม฽ดี ปาุ พรุในภาคกลาง มลี กั ษณะโปรง฽ และมตี ฾นไม฾ข้นึ อยหู฽ า฽ งๆ เชน฽ สนน฽ุ จิก โมกบ฾าน หวายนํ้า หวายโปร฽ง ระกาํ ออ฾ และแขม ในภาคใตป฾ าุ พรมุ ีข้นึ อยตู฽ ามบริเวณทมี่ นี าํ้ ขังตลอดปี ดินปุาพรุ ท่มี เี น้ือทม่ี ากทสี่ ุดอยูใ฽ นบริเวณจงั หวัดนราธิวาส ดนิ ปาุ พรุเป็น ซากพชื ผสุ ลายทบั ถมกนั เป็นเวลานาน ปุาพรุแบ฽งออกได฾ 2 ลกั ษณะ คอื ตามบริเวณซึ่งเป็นพรุน้ํากร฽อยใกล฾ชายทะเลต฾น เสมด็ จะขึ้นอยห฽ู นาแนน฽ พนื้ ที่มีตน฾ กกชนดิ ต฽างๆ เรียก “ปาุ พรเุ สม็ด หรอื ปุาเสมด็ ” อีกลักษณะเปน็ ปาุ ที่มีพนั ธแุไมต฾ ฽างๆ มาก ชนดิ ขน้ึ ปะปนกนั ชนิดพนั ธุไแ ม฾ที่สําคญั ของปาุ พรุ ไดแ฾ ก฽ อินทนลิ นา้ํ หวา฾ จกิ โสกน้ํา กระทุม฽ น้ํากนั เกรา โงงงนั ไม฾พน้ื ล฽าง ประกอบด฾วย หวาย ตะค฾าทอง หมากแดง และหมากชนดิ อ่ืนๆ 5. ป่าชายหาด (Beach Forest)เป็นปุาโปร฽งไม฽ผลัดใบขนึ้ อย฽ูตามบริเวณหาดชายทะเล นา้ํ ไมท฽ ฽วมตามฝงใ่ ดนิ และ ชายเขารมิ ทะเล ตน฾ ไมส฾ ําคญั ทข่ี นึ้ อย฽ตู ามหาดชายทะเล ต฾องเป็นพชื ทนเค็ม และมักมีลักษณะไม฾เปน็ พม฽ุ ลักษณะตน฾ คองอ ใบ หนาแข็ง ได฾แก฽ สนทะเล หกู วาง โพธท์ิ ะเล กระทิงตีนเปด็ ทะเล หยนี าํ้ มกั มตี น฾ เตยและหญ่า ต่า งๆ ขน้ึ อยู่เ ปน็ ไมพ฾ ื้นล่า ง ตามฝง่ั ดินและชายเขามักพบ มะค฾าแต฾ กระบองเพชร เสมา และไม฾หนามชนิดตา฽ งๆ เชน฽ ซงิ ซ่ี หนามหนั กาํ จาย มะดันขอ เป็นต฾น ป่าประเภทท่ผี ลดั ใบ ตน฾ ไมท฾ ่ีขนึ้ อย฽ูในปาุ ประเภทน้เี ป็นจําพวกผลัดใบแทบท้งั สน้ิ ในฤดฝู นปุาประเภทน้ี จะมองดเู ขยี วชอ฽ุมพอถงึ ฤดูแล฾งต฾นไม฾ ส฽วนใหญ฽จะพากนั ผลดั ใบทําให฾ปาุ มองดูโปร฽งข้นึ และมักจะเกดิ ไฟปาุ เผาไหม฾ใบไม฾และ ต฾นไม฾เลก็ ๆ ปาุ สาํ คัญซ่ึงอยใ฽ู นประเภทน้ี ไดแ฾ ก฽ 1. ปา่ เบญจพรรณ ปาุ ผลัดใบผสมหรอื ปาุ เบญจพรรณมีลักษณะเป็นปุาโปรง฽ และยงั มีไม฾ไผ฽ชนิดต฽างๆขน้ื อยู฽กระจัด กระจายท่วั ไปพน้ื ท่ดี ินมักเปน็ ดนิ รว฽ นปนทราย ปุาเบญจพรรณ ในภาคเหนอื มกั จะมีไมส฾ กั ขึ้นปะปนอย฽ทู ัว่ ไปครอบคลมุ ลง มาถึงจงั หวดั กาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคตะวันออก มีปุาเบญจพรรณน฾อยมากและกระจัด กระจาย พนั ธแุไม฾ชนิดสาํ คญั ได฾แก฽ สกั ประดูแ฽ ดง มะคา฽ โมง ตะแบก เสลา อ฾อยชา฾ ง ลา฾ น ยมหอมยมหนิ มะเกลือ เก็ดดํา เกด็ แดง ฯลฯ นอกจากนม้ี ีไม฾ไผ฽ที่สําคัญ เชน฽ ไผ฽ปาุ ไผบ฽ งไผ฽ซาง ไผร฽ วก ไผ฽ไร฽ เป็นตน฾ 2. ปา่ เตง็ รงั หรอื ที่เรยี กกนั ว่าปา่ แดงปุาแพะ ปาุ โคก ลักษณะท่ัวไปเป็นปาุ โปรง฽ ตามพื้นปาุ มักจะพบตน฾ ปรง และ หญ฾าเพก็ พื้นทแ่ี ห฾งแล฾งดนิ รว฽ นปนทราย หรอื กรวด ลูกรงั พบอยู฽ท่ัวไปในที่ราบและทีภ่ เู ขา ในภาคเหนอื สว฽ นมากขนึ้ อยูบ฽ นเขาทีม่ ดี นิ ต้นื และแหง฾ แลง฾ มาก ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มปี ่า แดงหรือป่า เตง็ รังนมี้ ากทีส่ ุด ตามเนินเขาหรือทรี่ าบดนิ ทราย ชนิดของพนั ธุ่ไ ม่ทสี้ าํ คัญในป่า แดง หรือป่า เตง็ รัง ได่แ ก เต็ง รงั เหียง พลวง กราด พะยอม ตว้ิ แตว฾ มะค่า แต ประด฽ู แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟูา ฯลฯ สว฽ นไม฾พน้ื ล฽างท่ีพบมาก ไดแ฾ ก฽ มะพร฾าวเต฽า ปุมแปูง หญา฾ เพ็ก ปรง และหญ฾าชนดิ อื่นๆ 3. ปุาหญา้ (Savannas Forest) ปาุ หญ้าท่ีอยทู่ ุกภาคเกิดจากปุาที่ถกู แผว้ ถางทาลายบรเิ วณพ้ืนดนิ ท่ีขาดความ สมบูรณ์ และถูกทอดทิ้ง หญ้าชนดิ ต่าง ๆ จงึ เกดิ ขนึ้ ทดแทนและพอถงึ หน้าแล้งกเ็ กิดไฟไหม้ทาให้ต้นไม้บริเวณข้างเคยี งล้มตาย พื้นทีป่ าุ หญา้ จึงขยายมากขนึ้ ทุกปี พชื ทพี่ บมากที่สดุ ในปาุ หญ้าคือ หญ้าคา หญา้ ขนตาช้าง หญ้าโขมง หญา้ เพก็ และปุมแปงู บริเวณท่ีพอจะมคี วามชน้ื อยบู่ ้าง และการระบายนา้ ได้ดีก็มักจะพบพงและแขมขน้ึ อยู่ และอาจพบตน้ ไม้ทนไฟขน้ึ อยู่ เช่น ตบั เตา่ รกฟูา ตานเหลือ ตว้ิ และแต้ว

ประโยชนข์ องทรัพยากรป่าไม้ ปุา ไม฾นอกจากเปน็ ที่รวมของพันธแุพืชและพนั ธแุสัตวแจาํ นวนมาก ปาุ ไมย฾ ังมปี ระโยชนแ มากมายตอ฽ การดาํ รงชีวิตของมนุษยแทั้งทางตรงและทางอ฾อม ดังนี้ ประโยชนท์ างตรง ไดแ฾ ก฽ ปจใ จยั 4 ประการ 1. จากการนําไม฾มาสร฾างอาคารบ฾านเรือนและผลติ ภัณฑแตา฽ งๆ เช฽น เฟอรนแ ิเจอรแกระดาษ ไมข฾ ดี ไฟ ฟนื เป็นต฾น 2. ใช฾เปน็ อาหารจากสว฽ นต฽างๆ ของพชื ทะเล 3. ใช่เ สน฾ ใย ทไี่ ดจ฾ ากเปลือกไม่แ ละเถาวลั ยมแ าถกั ทอ เปน็ เครอื่ งนุง฽ หม฽ เชอื กและอื่นๆ 4. ใช฾ทาํ ยารกั ษาโรคตา฽ งๆ ประโยชนท์ างออ้ ม 1. ปุาไมเ฾ ป็นเปน็ แหลง฽ กําเนดิ ต฾นนาํ้ ลาํ ธารเพราะต฾นไมจ฾ ํานวนมากในปุาจะทาํ ให฾นา้ํ ฝนที่ตกลงมาค฽อย ๆ ซึมซบั ลงใน ดนิ กลายเป็นนํา้ ใตด฾ นิ ทซี่ ่ึงจะไหลซึมมาหลอ฽ เลี้ยงให฾แมน฽ าํ้ ลาํ ธารมีนํา้ ไหลอยู฽ตลอดปี 2. ปาุ ไม฾ทาํ ใหเ฾ กิดความช฽ุมช้ืน และควบคมุ สภาวะอากาศ ไอน้าํ ซงึ่ เกิดจากการหายใจของพชื ซ่ึงเกดิ ข้ึนอยู฽มากมาย ในปุาทําให฾อากาศเหนือปุามคี วามชน้ื สูงเมอ่ื อุณหภมู ิลดตาํ่ ลงไอน้าํ เหลา฽ นัน้ กจ็ ะกลั่นตัวกลายเป็นเมฆแลว฾ กลายเปน็ ฝนตกลง มา ทาํ ให฾บรเิ วณที่มีพน้ื ปุาไม฾มีความชม฽ุ ช้นื อย฽เู สมอ ฝนตกต฾องตามฤดกู าลและไมเ฽ กิดความแห฾งแล฾ง 3. ปุาไมเ฾ ปน็ แหลง฽ พักผอ฽ นและศึกษาความรู฾ บริเวณปาุ ไม฾จะมีภูมปิ ระเทศทีส่ วยงามจากธรรมชาติรวมทงั้ สัตวปแ ุาจึง เป็นแหล฽งพกั ผ฽อนไดศ฾ กึ ษาหาความร฾ู 4. ปาุ ไม฾ชว฽ ยบรรเทาความรนุ แรงของลมพายุ และปูองกันอุทกภัย โดยช฽วยลดความเรว็ ของลมพายุที่พัดผา฽ นได฾ตัง้ แต฽ 11 – 44% ตามลักษณะของปุาไม฾แตล฽ ะชนิด จงึ ชว฽ ยให฾บา฾ นเมอื งรอดพ฾นจากวาตภยั ได฾ซึ่งเป็นการปูองกนั และควบคุมนํา้ ตามแม฽น้ําไม฽ใหส฾ ูงขนึ้ มารวดเร็วลน฾ ฝใ่งกลายเป็นอทุ กภยั 5. ปาุ ไมช฾ ฽วยปูองกนั การกดั เซาะและพดั พาหนา฾ ดนิ จากน้ําฝนและลมพายโุ ดยลดแรงปะทะลงการหลุดเลอื่ นของดนิ จงึ เกดิ ข้นึ น฾อย และยงั เปน็ การชว฽ ยให฾แม฽น้าํ ลาํ ธารต฽างๆไม฽ต้ืนเขนิ อีกด฾วย นอกจากน้ปี ุาไม฾จะเปน็ เสมือนเคร่ืองกีดขวางตาม ธรรมชาติ จึงนบั ว฽ามปี ระโยชนใแ นทางยุทธศาสตรแด฾วยเชน฽ กัน สาเหตุสาคญั ของวกิ ฤตการณ์ปา่ ไม้ในประเทศไทย 1. การลักลอบตัดไมท฾ ําลายปุา ตวั การของปใญหานค้ี ือ นายทุนพ฽อคา฾ ไม฾ เจ฾าของโรงเลือ่ ย เจ฾าของโรงงานแปรรูปไม฾ ผ฾ูรับสัมปทานทําไมแ฾ ละชาวบ฾านทั่วไป ซง่ึ การตดั ไม฾เพื่อเอาประโยชนจแ ากเนื้อไม฾ทั้งวิธีที่ถูกและผดิ กฎหมาย ปรมิ าณปุาไมท฾ ี่ถกู ทาํ ลายน้ีนบั วนั จะเพ่ิมขนึ้ เร่ือยๆ ตามอัตราเพิม่ ของจาํ นวนประชากร ยิ่งมีประชากรเพ่มิ ข้นึ เทา฽ ใด ความตอ฾ งการในการใชไ฾ ม฾ก็ เพ่ิมมากข้ึน เช฽น ใชไ฾ มใ฾ นการปลกู สรา฾ งบา฾ นเรอื น เครือ่ งมือเครอื่ งใช฾ในการเกษตรกรรม เครื่องเรือนและถ฽านในการหุงตม฾ เป็น ตน฾ 2. การบุกรุกพน้ื ที่ปุาไม฾เพื่อเข฾าครอบครองที่ดนิ เม่อื ประชากรเพ่ิมสงู ขน้ึ ความต฾องการใชท฾ ดี่ นิ เพื่อปลูกสร฾างท่ีอยู฽ อาศยั และท่ดี ินทํากินก็อยส฽ู ูงขึ้น เป็นผลผลักดนั ให฾ราษฎรเข฾าไปบกุ รุกพน้ื ทีป่ ุาไม฾ แผว฾ ถางปุา หรือเผาปาุ ทาํ ไร฽เล่อื นลอย นอกจากนย้ี ังมีนายทุนท่ดี ินท่ีจา฾ งวานให฾ราษฎรเข฾าไปทาํ ลายปาุ เพ่อื จบั จองทีด่ นิ ไว฾ขายตอ฽ ไป 3. การส฽งเสริมการปลูกพชื หรือเลย้ี งสัตวเแ ศรษฐกิจเพื่อการส฽งออก เชน฽ มนั สาํ ปะหลงั ปอ เปน็ ต฾น โดยไมส฽ ง฽ เสรมิ การ ใช฾ทด่ี ินอยา฽ งเต็มประสทิ ธภิ าพทั้งๆ ทีพ่ ้ืนทีป่ าุ บางแหง฽ ไม฽เหมาะสมทจ่ี ะนาํ มาใช฾ในการเกษตร

4. การกาํ หนดแนวเขตพน้ื ที่ปุากระทําไมช฽ ดั เจนหรือไมก฽ ระทาํ เลยในหลาย ๆ พน้ื ที่ทําใหเ฾ กิดการพิพาทในเรื่องที่ดิน ทํากนิ ของราษฎรและทด่ี นิ ปุาไม฾อยู฽ตลอดเวลา และเกดิ ปใญหาในเร่อื งกรรมสทิ ธ์ิทด่ี ิน 5. การจัดสร฾างสาธารณูปโภคของรฐั เช฽น เข่อื น อ฽างเกบ็ นาํ้ เส฾นทางคมนาคม การสร฾างเขือ่ นขวางลาํ นํา้ จะทําให฾ พืน้ ทเ่ี ก็บนํ้าหน฾าเขื่อนที่อดุ มสมบูรณแถูกตัดโค฽นมาใชป฾ ระโยชนแส฽วนตน฾ ไมข฾ นาดเล็กหรือที่ทาํ การย฾ายออกมาไม฽ทนั จะถูกน้ํา ท฽วมยืนต฾นตาย เชน฽ การสรา฾ งเข่ือนรชั ประภาเพ่ือก้ันคลองพระแสงอันเป็นสาขาของแม฽น้าํ พุมดวง แม฽นํา้ ตาปี ทาํ ใหน฾ ้าํ ท฽วมบริเวณปุาดงดิบซ่ึงมีพันธุแไม฾หนาแนน฽ และสตั วแนานาชนิดเปน็ บริเวณนบั แสนไร฽ ต฽อมาจงึ เกิดปใญหานาํ้ เนา฽ ไหลลงลําน้าํ พุ มดวง 6. ไฟไหมป฾ าุ มกั จะเกิดข้ึนในช฽วงฤดูแล฾ง ซงึ่ อากาศแห฾งแลง฾ และรอ฾ นจดั ทั้งโดยธรรมชาติและจากการกระทาํ ของ มนษุ ยแท่ีอาจลกั ลอบเผาปุาหรือเผลอ จดุ ไฟทิง้ ไว฾ 7. การทาํ เหมอื งแร฽ แหลง฽ แร฽ที่พบในบรเิ วณที่มปี ุาไมป฾ กคลุมอย฽ู มีความจาํ เป็นที่จะต฾องเปิดหนา฾ ดนิ ก฽อนจึงทาํ ให฾ปุา ไมท฾ ี่ข้นึ ปกคลุมถูกทําลายลง เส฾นทางขนย฾ายแร฽ในบางครง้ั ต฾องทาํ ลายปาุ ไม฾ลงเปน็ จํานวนมากเพือ่ สรา฾ งถนนหนทาง การ ระเบดิ หน฾าดนิ เพอ่ื ให฾ได฾มาซ่ึงแร฽ธาตุ สง฽ ผลถึงการทาํ ลายปาุ การอนุรกั ษ์ป่าไม้ ปาุ ไม฾ถูกทําลายไปจํานวนมาก จึงทําให฾เกิดผลกระทบต฽อสภาพภูมอิ ากาศไปทั่วโลกรวมทง้ั ความ สมดลุ ในแงอ฽ น่ื ด฾วย ดังนน้ั การฟน้ื ฟสู ภาพปุาไมจ฾ ึงต฾องดาํ เนินการเรง฽ ด฽วน ทัง้ ภาครัฐภาคเอกชนและ ประชาชน ซงึ่ มีแนวทาง ในการกําหนดแนวนโยบายด฾านการจดั การปุาไม฾ ดงั น้ี 1. นโยบายด฾านการกําหนดเขตการใชป฾ ระโยชนแที่ดินปุาไม฾ 2. นโยบายด฾านการอนรุ ักษแทรพั ยากรปาุ ไม฾เก่ยี วกบั งานปูองกนั รกั ษาปาุ การอนรุ กั ษแสง่ิ แวดลอ฾ ม 3. นโยบายด฾านการจดั การที่ดินทาํ กนิ ให฾แกร฽ าษฎรผย฾ู ากไร฾ในทอ฾ งถิ่น 4. นโยบายด฾านการพฒั นาปุาไม฾ เช฽น การทําไม฾และการเกบ็ หาของปุา การปลูกและการบํารุงปุาไม฾ การคน฾ คว฾าวิจัย และด฾านการอตุ สาหกรรม 5. นโยบายการบรหิ ารทั่วไปจากนโนบายดงั กลา฽ วขา฾ งต฾นเป็นแนวทางในการพฒั นาและการจัดการทรัพยากรปุาไม฾ ของชาตใิ ห฾ได฾รับผลประโยชนแ ท้ังทางด฾านการอนรุ ักษแและด฾านเศรษฐกจิ อย฽างผสมผสาน ท้งั นเ้ี พื่อให฾เกดิ ความสมดลุ ของ ธรรมชาติและมีทรัพยากรปาุ ไมไ฾ วอ฾ ยา฽ งย่ังยนื ต฽อไปในอนาคต สถานการณท์ รพั ยากรปา่ ไม้ การใช฾ประโยชนจาแ กพื้นทีป่ ุา อยา฽ งต฽อ เนื่องในช฽วงสีท่ ศวรรษทีผ่ า฽ นมาทําใหปู ระเทศ ไทยสูญเสีย พนื้ ท่ปี าุ ไม฾แล฾วประมาณ 67 ลา฾ นไร฽ หรือเฉลย่ี ประมาณ 1.6 ลา฾ นไร฽ต฽อปี กล฽าวคือปี พ. ศ. 2504 ประเทศไทย มพี ืน้ ทปี่ ุาอยถ฽ู ึงรอ฾ ยละ 53.3 ของพ้นื ทีป่ ระเทศ หรอื ประมาณ171 ลา฾ นไร฽ และลดลงมาโดยตลอดจนในปี พ.ศ. 2532 ประเทศไทยเหลือพืน้ ทป่ี ุาเพยี งรอ฾ ยละ 27.95 ของพืน้ ทที่ ั้งหมด หรอื ประมาณ 90 ล฾านไร฽ รฐั บาลในอดีตได฾พยายามจะ รักษา พ้ืนท่ีปาุ โดยประกาศยกเลกิ สัมปทานการทาํ ไมในปุาท้ังหมด ในปพี .ศ. 2532 แตห฽ ลงั จากยกเลกิ สัมปทานปุาไม฾ สถานการณแ ดีขึน้ ในระยะแรกเท฽านั้น ตอ฽ มาการทาํ ลายกย็ งั คงเกดิ ขน้ึ ไม฽แตกตา฽ งจากสถานการณแกอ฽ นยกเลิกสมั ปทานปุาไม฾เท฽าใดนัก โดย พื้นทป่ี าุ ท่ีถกู บุกรกุ ก฽อนการยกเลิกสมั ปทาน (ปี พ.ศ. 2525-2532) เฉล่ยี ต฽อปีเทา฽ กับ 1.2 ล฾านไร฽ และพน้ื ทีป่ ุาท่ี ถูกบุกรุกหลังการยกเลกิ สัมปทาน (ปี พ.ศ. 2532-2541) เฉล่ยี 1.1 ลา฾ นไร฽ต฽อปี (ตารางที่ 1) 2. ภเู ขา และแรธ่ าตุ ภูเขา เป็นแหลง฽ ตน฾ กาํ เนดิ ของแร฽ธาตุ ปุา และแหล฽งน้ําทีส่ ําคัญของประเทศไทยภาคเหนือเป็น ภาคทีอ่ ดุ มด฾วยทรัพยากรแร฽ธาตุภาคหนงึ่ ของประเทศไทย เพราะมภี มู ิประเทศท่ีมโี ครงสร฾างเป็นภูเขา เนินเขาและแอง฽ แผ฽นดิน ในยุคกลางเก฽า กลางใหม฽ ท่ีบรเิ วณตอนกลางทผ่ี ฽านการผกุ ร฽อนและมีการเปลยี่ นแปลงของแผน฽ ดนิ โดยเฉพาะภูเขา

ทางตะวนั ตกทเี่ ปน็ แนวของทิวเขา อุดมด฾วยแรโ฽ ลหะ แร฽อโลหะและแรเ฽ ช้ือเพลิงแรโ฽ ลหะ ทีส่ าํ คญั ท่ีพบตามภเู ขาหนิ แกรนติ ใน ภาคเหนอื ได฾แก฽ 1. แรด฽ บี ุก แหลง฽ แร฽ดบี กุ ที่พบในภาคเหนอื อยใ฽ู นเขตภูเขาของจังหวัดท่ีอยทู฽ างเหนือและทางภาคตะวนั ตกของภาค คือ จงั หวัดแม฽ฮอ฽ งสอน จังหวัดเชียงใหม฽ จังหวดั ลําปางจงั หวดั เชยี งราย แตม฽ ปี รมิ าณการผลติ ไมม฽ ากเท฽ากบั แหลง฽ ดีบุกสาํ คญั ทางภาคใต฾ 2. ทังสเตนหรือวุลแฟรม ทีพ่ บมากในภาคเหนอื คอื แหล฽งแร฽ซีไรทแ เป็นแรท฽ ี่สําคญั ทางเศรษฐกจิ การค฾า และยทุ ธ ปใจจยั สาํ คัญ มีการทาํ เหมืองที่ อําเภอดอยหมอก อาํ เภอเวียงปาุ เปาู จงั หวัดเชียงราย และพบแถบภูเขาสงู ในเขต จงั หวัด แม฽ฮ฽องสอนมเี หมืองดาํ เนินการผลิตถงึ 10 เหมอื ง ท่ีสาํ คัญคอื เหมืองที่ อาํ เภอแม฽ลาน฾อย เหมืองหว฾ ยหลวง และเหมือง แม฽สะเรยี ง ทางดา฾ นตะวนั ตกของล฽ุมนํ้ายม 3. ตะกวั่ และสังกะสี แร฽ตะก่ัวและสงั กะสีมักจะเกิดร฽วมกันแต฽ทพ่ี บยังมีปริมาณน฾อยไม฽เพียงพอ ทีจ่ ะนํามาใชใ฾ นเชงิ พาณชิ ยแเหมือนท่ีพบในภาคตะวันตก ภาคเหนือมีแหลง฽ แร฽ตะก่ัวและสงั กะสีในแถบจังหวัดแมฮ฽ อ฽ งสอน จงั หวัดเชียงใหม จงั หวัดลาํ ปางและ จงั หวดั แพร฽ 4. ทองแดง แหลง฽ แร฽ทองแดงมีอยู฽หลายในแห฽งประเทศ แต฽เป็นแหล฽งแร฽ทม่ี ีมูลค฽าทางเศรษฐกิจเพียงไม฽กแี่ ห฽ง บริเวณท่ีพบ ได฾แก฽ ในเขตจงั หวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช฽น จังหวัดนครราชสมี า จงั หวัดเลย แต฽ทภ่ี าคเหนือพบในเขต จงั หวดั อตุ รดติ ถแ จังหวัดแพร฽ จงั หวัดนา฽ น และ จงั หวัดลาํ ปาง 5. เหล็ก แหลง฽ แร฽เหลก็ ในประเทศไทยมีหลายแหง฽ เชน฽ กัน ท้งั ท่กี ําลงั มีการผลติ ทผ่ี ลติ หมดไปแล฾ว แตแ฽ หล฽งท่นี า฽ สนใจ ที่อาจมีคา฽ ในอนาคต ไดแ฾ กท฽ ่ี อําเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค แ ทีเ่ ขาทบั ควาย จงั หวัดลพบุรี แหลง฽ ภูยาง อําเภอเชยี งคาน จังหวัดเลย แหลง฽ อึมครึมจงั หวดั กาญจนบรุ ี ในภาคเหนอื พบท่ี อาํ เภอแม฽แจ฽ม จงั หวดั เชียงใหม฽ แหลง฽ เดมิ อาํ เภอเถนิ จงั หวดั ลาํ ปาง 6. แมงกานสี แหล฽งแมงกานีสในภาคเหนือมีแหลง฽ ผลติ ที่สาํ คัญอยใู฽ น จังหวดั ลําพูนจังหวัดเชยี งใหม฽ จงั หวัดลําปาง จงั หวัดแพร฽ จงั หวดั เชยี งราย และ จงั หวดั นา฽ น 7. นิกเกิลและโครเมียม พบที่ บ฾านห฾วยยาง อาํ เภอท฽าปลา จงั หวัดอตุ รดติ ถแ นอกจากนย้ี งั มีแร฽โครไมตแทใี่ หโ฾ ลหะ โครเมียม ซ่ึงเปน็ แร฽ผสมเหลก็ แรอ่ โลหะ ทีส่ าคัญท่ีพบในภาคเหนอื ได้แก่ 1. ฟลูออไรตแ แหลง฽ แรฟ฽ ลูออไรตทแ ส่ี าํ คญั ของประเทศพบในภาคเหนือและภาคตะวนั ตก ได฾แก฽ ท่ี อําเภอบา฾ นโฮ฽ง อําเภอปาุ ซาง จังหวดั ลาํ พนู อาํ เภอฝาง แม฽แจ฽ม อาํ เภอฮอด อาํ เภออมกเอย จังหวัดเชยี งใหม฽ อาํ เภอแม฽สะเรยี ง จังหวัด แมฮ฽ ฽องสอน นอกจากนก้ี ็มที ่ีภาคตะวนั ตก และภาคใตข฾ องไทยอกี ด฾วย 2. แบไรตแ แหล฽งแร฽แบไรตแท่สี ําคัญ นอกจากจะมมี ากในภาคใตท฾ ีบ่ ริเวณเขาหลวงจังหวดั นครศรธี รรมราชและใน จังหวดั สรุ าษฏรแธานแี ลว฾ ยังมีแหล฽งสาํ คัญในภาคเหนืออีกที่บรเิ วณภไู ม฾ตอง อําเภอดอยเต฽า อําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม฽ นอกจากนี้ยงั มใี น จังหวัดแมฮ฽ ฽องสอน จงั หวดั ลาํ พูน ลําปาง อตุ รดิตถแ เชยี งราย และแพร฽ 3. ยปิ ซมั แหล฽งยปิ ซัมท่สี ําคัญมีท่ี จังหวัดนครสวรรคแแ ละพจิ ติ ร ในภาคเหนือไดแ฾ กแ฽ หล฽งแมเ฽ มาะ อําเภอแม฽เมาะ จังหวดั ลําปาง แหล฽งแมก฽ ัว๊ ะ อําเภอเกาะคา จงั หวดั ลาํ ปางและแหล฽งสองห฾อง อําเภอนาํ้ ปาด จงั หวดั อตุ รดติ ถแ 4. ฟอสเฟต มีแหลง฽ เลก็ ๆ อย฽ูที่ ต.นาแกว฾ อาํ เภอเกาะคา จังหวัดลาํ ปาง 5. ดนิ ขาวหรือเกาลนิ ไดม฾ ีการพบและผลติ ดนิ ขาวในหลายบรเิ วณทัง้ ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต฾ ในภาคเหนอื มี แหล฽งดนิ ขาวที่ อาํ เภอแจ฾หม฽ จงั หวดั ลาํ ปาง นอกจากน้ยี งั มีแร฽อโลหะอ่ืนๆ ทีพ่ บในภาคเหนืออีกเชน฽ แร฽หนิ มา฾ ที่ จังหวดั เชยี งใหม฽ แมฮ฽ ฽องสอน แร฽ใยหินพบใน จังหวดั อุตรดติ ถแ แรเ่ ช้ือเพลิง ที่สําคญั ทางเศรษฐกิจ คอื มกี ารนํามาใช฾เป็นเชื้อเพลงิ สําคัญในโรงงานไฟฟาู เคร่ืองจักรกล โรงงาน อุตสาหกรรมเคมภี ณั ฑแและในกิจกรรมขนส฽งต฽าง ๆ เช฽น ในเครอื่ งบนิ รถยนตแ เรอื ยนตแ เปน็ ต฾น 1. หินน้าํ มัน พบที่ บ฾านปาุ คา฽ อําเภอล้ี จงั หวดั ลาํ พนู แตย฽ งั ไมไ฽ ดน฾ ํามาใช฾ประโยชนแในเชงิ พาณชิ ยแ เน่อื งจากการแยก นํ้ามนั ออกจากหินน้ํามันต฾องลงทนุ สงู

2. ปิโตรเลี่ยม นาํ้ มนั ดิบ ก฿าซธรรมชาตเิ หลว พบท่ี อาํ เภอฝาง จังหวัดเชยี งใหมน฽ ํามาใช฾เป็นนา้ํ มนั หลอ฽ ลนื่ นํา้ มัน ดเี ซลหมนุ เรว็ ปานกลางและน้ํามันเตา 3. ลิกไนตแ พบที่ อาํ เภอแมเ฽ มาะ อาํ เภอแม฽ทะ จงั หวดั ลําปาง ใช฾เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานบ฽มยาโรงไฟฟาู 3. แหล่งน้า ปัญหาเกีย่ วกบั ทรพั ยากรน้า จากพฤตกิ รรมการบรโิ ภคทรัพยากรธรรมชาติของมนุษยแ ซึ่งมผี ลกระทบต฽อสภาวะ แวดลอ฾ มในโลก โดยเฉพาะปใญหาเกี่ยวกบั ทรัพยากรน้าํ ซึง่ เป็นปใจจัยสาํ คัญในการดํารงชีวติ ของมนุษยแ เพราะนา้ํ ได฾ใช฾ในการ บริโภคและผลติ เคร่อื งอุปโภคต฽างๆ ปใจจุบนั ปใญหาทรัพยากรนํ้า มดี ังน้ี 1. ปญใ หาทางด฾านปริมาณ 1) การขาดแคลนนํา้ หรือภยั แล฾ง สาเหตุที่สาํ คญั ได฾แก฽ 1.1 ปาุ ไม฾ถูกทําลายมากโดยเฉพาะปุาต฾นนาํ้ ลําธาร 1.2 ลักษณะพน้ื ทีไ่ มเ฽ หมาะสม เช฽นไม฽มีแหลง฽ น้าํ ดนิ ไมด฽ ูดซับนํ้า 1.3 ขาดการวางแผนการใช฾และอนรุ ักษนแ ํ้าท่ีเหมาะสม 1.4 ฝนตกน฾อยและฝนท้ิงชว฽ งเป็นเวลานาน 2) การเกดิ นํ้าท฽วม อาจเกดิ จากสาเหตหุ นึ่งหรือหลายสาเหตุร฽วมกนั ดังต฽อไปน้ี 2.1 ฝนตกหนกั ตดิ ต฽อกันนานๆ 2.2 ปุาไม฾ถกู ทําลายมาก ทําให฾ไมม฽ ีสงิ่ ใดจะช฽วยดดู ซับน้าํ ไว฾ 2.3 ภมู ิประเทศเป็นทล่ี ม฽ุ และการระบายน้ําไมด฽ ี 2.4 นา้ํ ทะเลหนุนสงู กวา฽ ปกติ ทาํ ใหน฾ ํ้าจากแผ฽นดินระบายลงส฽ูทะเลไมไ฽ ด฾ 2.5 แหล฽งเก็บกักนาํ้ ตนื้ เขินหรอื ได฾รับความเสยี หาย จงึ เกบ็ นํ้าไดน฾ อ฾ ยลง 2. ปใญหาด฾านคุณภาพของนํา้ ไมเ฽ หมาะสม สาเหตุที่พบบ฽อยได฾แก฽ 1) การทิง้ สิง่ ของและการระบายน้าํ ทิ้งลงสแู฽ หลง฽ นํ้า ทําใหแ฾ หล฽งนา้ํ สกปรกและเน฽าเหมน็ จนไมส฽ ามารถใช฾ประโยชนแได฾ มักเกดิ ตามชมุ ชนใหญ฽ๆ ท่อี ยู฽ใกล฾แหลง฽ นา้ํ หรือท฾องถน่ิ ทีม่ ีโรงงานอตุ สาหกรรม 2) ส่ิงทีป่ กคลมุ ผวิ ดนิ ถูกชะล฾างและไหลลงส฽ูแหล฽งนาํ้ มากกวา฽ ปกติ มีทง้ั สารอินทรยี แ สารอนินทรียแ และสารเคมีต฽างๆ ทใ่ี ช฾ในกจิ กรรมต฽างๆ ซง่ึ ทาํ ให฾นํ้าขุน฽ ได฾ง฽าย โดยเฉพาะในฤดูฝน 3) มแี ร฽ธาตุเจอื ปนอยู฽มากจนไม฽เหมาะแก฽การใชป฾ ระโยชนแ น้าํ ทม่ี ีแรธ฽ าตุปนอย฽เู กนิ กว฽า 50 พพี ีเอ็มน้ัน เมือ่ นาํ มาด่ืม จะทําใหเ฾ กดิ โรคน่วิ และโรคอื่นได฾ 4) การใชส฾ ารเคมีท่ีมพี ิษตกค฾าง เช฽น สารทใ่ี ชป฾ ูองกนั หรือกําจัดศตั รูพชื หรือสตั วแซง่ึ เม่ือถูกฝนชะลา฾ งลงสู฽แหล฽งน้าํ จะ ก฽อให฾เกิดอนั ตรายต฽อส่งิ มีชวี ติ

3. ปใญหาการใช฾ทรัพยากรนํ้าอย฽างไมเ฽ หมาะสม เชน฽ ใช฾มากเกินความจําเปน็ โดยเฉพาะเม่ือเกิดภาวะขาดแคลนนํ้า หรอื การสูบน้าํ ใต฾ดนิ ข้ึนมาใชม฾ ากจนดนิ ทรุด เป็นต฾น ปีพ.ศ. 2541 ธนาคารโลกพยากรณแว฽า น้ําในโลกลดลง 1 ใน 3 ของ ปริมาณนํา้ ทเี่ คยมีเม่อื 25ปีกอ฽ น และในปี ค. ศ. 2525 หรอื อีก 25 ปขี ฾างหนา฾ การใช฾น้ําจะเพ่ิมอีกประมาณร฾อยละ 65 เน่อื งจากจํานวนประชากรโลกเพ่ิมข้ึน การใช฾นํ้าอย฽างไม฽ถกู ตอ฾ งและขาดการดแู ลรักษาทรัพยากรนํ้า ซึ่งจะเป็นผลให฾ประชากร โลกกวา฽ 3,000 ล฾านคน ใน 52 ประเทศประสบปใญหาการขาดแคลนน้ํา 4. ปใญหาความเปล่ียนแปลงของฟูา อากาศ เน่ืองจากปรากฏการณ์ เอล นิโน(EI Nino ) และลา นินา (La Nina) โดยปรากฏการณทแ ี่ผิดธรรมชาตจิ ะเกดิ ขึ้นประมาณ5 ปตี อ฽ ครงั้ ครัง้ ละ 8 -10 เดอื น โดยกระแสนา้ํ อน฽ุ ในมหาสมุทรแปซฟิ ิก ตะวนั ตก บริเวณตะวันออกเคลื่อนลงไปถึงชายฝง่ใ ตะวันตกเฉยี งเหนอื ของทวีปอเมริกาใต฾ (ประเทศเปรเู อกวาดอรแ และชลิ ี ตอนเหนอื ) ทาํ ใหผ฾ ิวนาํ้ ท่ีเคยเย็นกลับอนุ฽ ขึ้นและทเ่ี คยอ฽ุนกลบั เยน็ ลงเมอ่ื อณุ หภมู ขิ องผวิ น้ําเปลย่ี นแปลงไปกจ็ ะสง฽ ผลทําให฾ อุณหภมู ิเหนือนาํ้ เปลย่ี นไปด฾วยเชน฽ กนั เป็นผลใหค฾ วามรอ฾ นและความแห฾งแลง฾ ในบรเิ วณที่เคยมีฝนชกุ และเกดิ ฝน ตกหนกั ในบริเวณทีเ่ คยแห฾งแล฾ง ลมและพายุเปล่ียนทิศทาง เนือ่ งจากการเปลยี่ นแปลงดงั กลา฽ วเกิดเปน็ บรเิ วณกว฾าง จึงสง฽ ผล กระทบต฽อโลกอยา฽ งกว฾างขวาง สามารถทาํ ลายระบบนิเวศในซีกโลกใต฾ รวมทั้งพนื้ ที่บางส฽วนเหนือเสน฾ ศูนยแสตู รได฾ สาหรา฽ ย ทะเลบางแห฽งตายเพราะอณุ หภมู สิ งู ปลาทเ่ี คยอาศยั นาํ้ อ฽ุนต฾องวา฽ ยหนีไปหานํ้าเย็นทําใหม฾ ีปลาแปลกชนดิ เพิ่มขนึ้ และหลงั การเกิดปรากฎการณแ เอล นโิ น แลว฾ ก็จะเกดิ ปรากฎการณลแ า นนิ า ซงึ่ มีลักษณะตรงกันขา฾ มตามมา โดยจะเกดิ เมอื่ กระแสนํา้ อุ฽นและคลน่ื ความร฾อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต฾เคลอื่ นย฾อนไปทางตะวันตก ทาํ ให฾บรเิ วณมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันออกที่อณุ หภูมิเริ่มเย็น จะมีการรวมตัวของไอนํ้าปริมาณมาก ทําให฾อากาศเยน็ ลง เกดิ พายุ และฝนตกหนักโดยเฉพาะ ในกล฽มุ ประเทศอาเซียนเอล นโิ น เคยก฽อตัวครง้ั ใหญ฽ในปี พ.ศ. 2525 – 2526 ซึง่ ผลทาํ ใหอ฾ ุณหภูมิผวิ น้าํ สูงกวา฽ ปกตถิ ึง 9 องศา ฟาเรนไฮตแ ทาํ ลายชวี ติ มนุษยแทั่วโลกถึง 2,000 คน ค฽าเสียหายประมาณ 481,000 ล฾านบาท ปะการงั ในทะเล แครบิ เบยี นเสียความสมดุลไปร฾อยละ 50 – 97แต฽ในปี พ.ศ. 2540 กลับก฽อตวั กวา฾ งกว฽าเดิม ซึง่ คิดเป็นพ้นื ท่ีได฾กว฾างใหญ฽ กว฽าประเทสหรัฐอเมริกา โดยเขตน้ําอ฽ุนนอกชายฝใง่ ประเทศเปรขู ยายออกไปไกลกวา฽ 6,000 ไมลแ หรือประมาณ 1 ใน 4 ของเสน฾ รอบโลก อณุ หภูมผิ วิ นํ้าวัดไดเ฾ ท฽ากนั และมคี วามหนาของน้าํ ถงึ 6นิ้ว สง฽ ผลใหเ฾ กดิ ปรากฎการณแธรรมชาตทิ เี่ ลวร฾าย ทส่ี ุดในรอบ 15 0 ปี โดยเริม่ แสดงผลตัง้ แต฽เดือนเมษายน 2541นอกจากนีป้ รากฏการณแเรือนกระจกและการลดลงของ พ้ืนทปี่ าุ ยงั ส฽งเสริมความรุนแรงของปใญหาอีกดว฾ ย ดังตัวอยา฽ งตอ฽ ไปน้ี 1) ประเทศไทย ประสบความร฾อนและแห฾งแล฾งรนุ แรงทั่วประเทศ ฝนตกน฾อยหรือตกลา฽ ชา฾ กวา฽ ปกติ (ยกเวน฾ ภาคใต฾ที่ กลางเดือนสงิ หาคมเกดิ ฝนตกหนักจนนํ้าท฽วม) ปริมาณนา้ํ ในแมน฽ ้าํ อ฽างเกบ็ น้ําและเข่ือนลดน฾อยลงมาก รวมท้งั บางจงั หวดั มี อุณหภูมิในฤดรู อ฾ นสงู มาก และเกดิ ติดตอ฽ กนั หลายวนั เช฽น จังหวัดตากมีอณุ หภูมิในเดือนเมษายน พ.ศ. 2541 สูงถงึ 43.7 องศาเซลเซียส ซึง่ นับวา฽ สงู ทสี่ ุดในรอบ 67 ปี นอกจากน้ยี งั ทําใหผ฾ ลผลติ ทางการเกษตร โดยเฉพาะไมผ฾ ลลดลง 2) ประเทศอนิ โดนเี ซยี ประสบความแหง฾ แล฾ง ทง้ั ที่อยูใ฽ นเขตมรสุมและมีปาุ ฝน เม่อื ฝนไม฽ตกจึงทําให฾ไฟไหม฾ปุาที่ เกดิ ขึ้นในเกาะสุมาตรา และบอรเแ นียวเผาผลาญปุาไปประมาณ14 ล฾านไร฽ พร฾อมท้งั ก฽อปใญหามลพษิ ทางอากาศเป็นบริเวณ กวา฾ ง มผี ู฾คนปวุ ยไข฾นับหมน่ื ทัศนวิลยั ไม฽ดีจนทําใหเ฾ คร่ืองบนิ สายการบนิ การูดาตกและมผี ฾เู สียชีวติ 234 คน อีกทง้ั ยงั ทําให฾ ผลติ ผลการเกษตรตกต่ํา โดยเฉพาะเมล็ดกาแฟโรบสั ตาท่สี ง฽ ออกมากเปน็ อนั ดบั หน่งึ ได฾รับความเสียหายมากเป็นประวตั ิการณแ 3) ประเทศปาปวใ นิวกินี ไดร฾ ับผลกระทบรุนแรงทส่ี ดุ ในภมู ิภาคเอเชียแปซิฟิก มคี นตายจากภัยแลง฾ 80 คนและ ประสบปญใ หาแล฾งอีกประมาณ 1,000,000 คน

4) ประเทศออสเตรเลีย อากาศแห฾งแล฾งรนุ แรงจนตอ฾ งฆ฽าสตั วเแ ลยี้ งเพราะขาดแคลนน้ํา และอาหาร ซ่งึ คาดว฽า ผลผลิตการเกษตรจะเสยี หายประมาณ 432 ล฾านเหรียญ 5) ประเทศเกาหลเี หนือ ปใญหาความแหง฾ แล฾งรนุ แรงและอดอยากรนุ แรงมาก พืชไร฽เสียหายมาก 6) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า เกดิ พายเุ ฮอรแรเิ คนทางดา฾ นฝงใ่ ตะวนั ตกมากขนึ้ โดยเฉพาะภาคใต฾ของรัฐแคลิฟอรเแ นียไดร฾ บั ภยั พิบัติมากทสี่ ุด สว฽ นทางฝงั่ ตะวันออกซึ่งมีเฮอรรแ เิ คนคอ฽ นข฾างมาก คลนื่ ลมกบั สงบกว฽าปกติ 7) ประเทศเปรูและซลิ ี เกิดฝนตกหนกั และจับปลาไดน฾ ฾อยลง (เคยเกดิ ฝนตกหนักและนา้ํ ทว฽ มในทะเลทรายอะตาคา มา ประเทศซลิ ี อย฽างไมเ฽ คยปรากฏมาก฽อน ทั้งๆ ทีบ่ ริเวณน้ีแหง฾ แลง฾ มากจนประเทศสหรัฐอเมริกาขอใช฾เปน็ สถานทฝ่ี ึกนัก อวกาศ โดยสมมติวา฽ เป็นพ้ืนผิวดาวอังคาร) 8) ทวีปแอฟรกิ า แห฾งแล฾งรนุ แรง พืชไร฽อาจเสียหายประมาณคร่ึงหนง่ึ ปัญหาเกี่ยวกบั ทรพั ยากรน้าในประเทศไทย 1. การขาดแคลนนา้ หรือภัยแล้งในหน฾าแล฾ง ประชากรไทยจะขาดแคลนนํา้ ด่มื นํา้ ใช฾จํานวน 13,000 – 24,000 หมูบ฽ า฾ น ประชากรประมาณ 6 -10 ล฾านคน ซง่ึ โดยสว฽ นใหญ฽อยู฽ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล฽าง การขาดแคลนนาํ้ ใน ระดับวกิ ฤตจะเกิดเป็นระยะๆ และรนุ แรงข้นึ น้ําในเข่ือนสาํ คัญต฽างๆ โดยเฉพาะเข่ือนภมู ิพลมปี รมิ าณเหลอื น฾อยจนเกือบจะมี ผลกระทบต฽อการผลิตกระแสไฟฟาู และการผลติ นาํ้ ประปาสาํ หรับใชใ฾ นหลายจังหวัด การลดปริมาณของฝนและน้ําที่ไหล ลงส฽อู ฽างเก็บน้ํา และการเกิดฝนมีแนวโน฾มลดลงทกุ ภาค ประมาณร฾อยละ 0.42 ตอ฽ ปี เป็นสงิ่ บอกเหตุสาํ คัญทีแ่ สดงให฾เห็นถงึ แนวโนม฾ ความรุนแรงของภยั แลง฾ สาํ หรบั ปรมิ าณนํา้ ท่ีไหลลงส฽ูอา฽ งเก็บนาํ้ ของเขื่อนและแม฽นาํ้ สําคญั เชน฽ เขื่อนภมู ิพล เขือ่ นสริ กิ ิต์ิและแมน฽ ํา้ เจา฾ พระยา ต้ังแตป฽ ี พ.ศ. 2515 เป็นต฾นมา กม็ ปี ริมาณลดลงเช฽นกันเนื่องจากต฾นนาํ้ ลาํ ธารถกู ทําลายทํา ให฾ฝนและนาํ้ นอ฾ ย และขณะเดียวกนั ความต฾องการใชน฾ าํ้ กลับมมี ากและเพม่ิ ข้ึนเรือ่ ยๆ เช฽น การประปานครหลวงใช฾ผลติ นาํ้ ประปาประมาณ 1,300ลา฾ นลูกบาศกแเมตรต฽อปี การผลักดนั น้าํ เค็มบริเวณปากแม฽น้าํ เจ฾าพระยา และแมน฽ ํ้าทา฽ จีนจะ ต฾องใชน฾ า้ํ จืด ประมาณ 2,500 ล฾านลกู บาศกแเมตรต฽อปี การทาํ นาปใี ชป฾ ระมาณ 4,000 ล฾านลูกบาศกเแ มตร และการทํานา ปรังจะใชป฾ ระมาณ 6,000 ล฾านลกู บาศกแเมตร โดยมีแนวโนม฾ ของการใช฾เพม่ิ มากขึน้ ทุกปี 2. ปญั หาน้าท่วมหรืออุทกภยั เกดิ จากฝนตกหนักหรอื ตกติดตอ฽ กันเปน็ เวลานานๆ เนื่องจากการตัดไม฾ทําลายปุา แหลง฽ น้ําต้ืนเขนิ ทําใหร฾ องรบั นํ้าไดน฾ ฾อยลง การก฽อสรา฾ งที่ทําให฾น้าํ ไหลได฾น฾อยลง เช฽น การก฽อสรา฾ งสะพาน นอกจากนนี้ า้ํ ท฽วม อาจเกดิ จากน้ําทะเลหนุนสูงขึ้น พื้นดินทรุดตวั เนื่องจากการสูบนา้ํ ใตด฾ ินไปใช฾มากเกนิ ไป พน้ื ท่เี ป็นที่ตา่ํ และการระบายน้ําไมด฽ ี และการสูญเสยี พนื้ ทน่ี ํ้าทว฽ มขัง ตวั อยา฽ ง ไดแ฾ ก฽ การถมคลองเพื่อก฽อสรา฾ งที่อย฽อู าศยั รวมท้ังการบุกรุกพ้ืนท่ชี ฽มุ น้าํ เช฽น กว฿าน พะเยา บงึ บอระเพ็ด ทะเลสาบสงขลา และหนองหาร จังหวัดสกลนครเพือ่ ใช฾ประโยชนอแ ย฽างอน่ื 3. เกดิ มลพษิ ทางน้าและระบบนิเวศถูกทาลายโดยสว฽ นใหญ฽แลว฾ นาํ้ จะเกิดการเนา฽ เสยี เพราะการเจอื ปนของ อนิ ทรยี สาร สารพษิ ตะกอน ส่งิ ปฏิกูลและนํา้ มนั เชื้อเพลงิ ลงส฽แู หลง฽ นาํ้ ซงึ่ มีผลให฾พชื และสัตวแนํ้าเปน็ อันตรายเชน฽ การที่ ปะการัง ตวั ออ฽ นของสัตวแนํ้า และปลาที่เลีย้ งตามชายฝใ่งบริเวณเกาะภเู กต็ ตายหรือเจริญเติบโตผิดปกติ เพราะถูกตะกอนจาก การทาํ เหมืองแร฽ทบั ถม ไปอดุ ตันช฽องเหงือกทาํ ให฾ไดร฾ ับออกซิเจนไมเ฽ พยี งพอ

4. แหล่งนา้ ตน้ื เขินดนิ และตะกอนดนิ ท่ีถกู ชะลา฾ งลงสู฽แหลง฽ นา้ํ นนั้ ทาํ ใหแ฾ หล฽งนํา้ ตนื้ เขนิ และเกดิ น้ําทว฽ มไดง฾ า฽ ย ซ่ึง เป็นอปุ สรรคต฽อการเดนิ เรือ และยงั เป็นผลเสยี ตอ฽ การดาํ รงชีวติ ของสัตวแนา้ํ โดยเฉพาะบริเวณอา฽ วไทยตอนบน โดยในแตล฽ ะปี ตะกอนดินถูกพัดพาไปทับถมกนั มากถงึ ประมาณ 1.5 ล฾านตนั การสูบนํา้ ใตด฾ ินไปใชม฾ ากจนแผ฽นดนิ ทรดุ ตวั ชาว กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑลทั้ง 6 จงั หวดั ใชน฾ ํ้าบาดาลจาํ นวนมาก เมอื่ ปี2538 พบว฽า ใช฾ประมาณวนั ละ 1.5 ลา฾ น ลูกบาศกเแ มตร ภาคอตุ สาหกรรมและภาคธุรกจิ ใชป฾ ระมาณวนั ละ 1.2 ลา฾ นลูกบาศกเแ มตร ทาํ ให฾ดนิ ทรุดตวั ลงทลี ะนอ฾ ย และ ทาํ ให฾เกิดนา้ํ ท฽วมขังได฾ง฽ายขึ้น 4. ทรัพยากรดิน ปใญหาการใชท฾ ด่ี นิ ไมเ฽ หมาะสม และไมค฽ าํ นงึ ถึงผลกระทบต฽อสงิ่ แวดล฾อม ไดแ฾ ก฽ 1. การใชท฾ ่ีดินเพือ่ การเกษตรกรรมอยา฽ งไม฽ถูกหลักวิชาการ 2. ขาดการบาํ รงุ รกั ษาดนิ 3. การปลอ฽ ยให฾ผิวดนิ ปราศจากพืชปกคลุม ทําให฾สูญเสียความชุ฽มช้ืนในดนิ 4. การเพาะปลูกทท่ี ําให฾ดินเสีย 5. การใชป฾ ุ฻ยเคมแี ละยากาํ จดั ศตั รพู ชื เพื่อเรง฽ ผลติ ผล ทําให฾ดินเสอื่ มคณุ ภาพและสารพษิ ตกคา฾ งอย฽ใู นดิน 6. การบกุ รกุ เข฾าไปใชป฾ ระโยชนแท่ดี นิ ในเขตปุาไมบ฾ นพ้นื ทีท่ ่ีมีความลาดชนั สูง 7. รวมท้ังปใญหาการขยายตัวของเมืองท่ีรุกลํ้าเข฾าไปในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม และการนํามาใช฾เป็นที่อยู฽อาศัย ที่ตั้ง โรงงานอตุ สาหกรรม 8. หรือการเก็บท่ีดินไว฾เพ่ือการเก็งกําไร โดยมิได฾มีการนํามาใช฾ประโยชนแแต฽อย฽างใดนอกจากนีการเพิ่มข้ึนของ ประชากรประกอบกับความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจสูงข้ึน ทําให฾ความต฾องการใช฾ท่ีดินเพ่ือการขยายเมือง และอุตสาหกรรม เพ่ิมจาํ นวนตามไปด฾วยอย฽างรวดเร็ว โดยปราศจากการควบคุมการใชท฾ ด่ี นิ ภายในเมืองให฾เหมาะสม เปน็ สาเหตุให฾เกดิ ปใญหาสิ่งแวดล฾อมภายในเมือง หลายประการ เช฽น ปใญหาการต้ังถิ่นฐาน ปใญหาแหล฽งเส่ือมโทรม ปใญหาการจราจร ปใญหาสาธารณสุข ปใญหาขยะมูลฝอย และการบริการสาธารณูปโภคไม฽เพียงพอนอกจากน้ันปใญหาการพังทลายของดินและ การสูญเสียหน฾าดินโดยธรรมชาติ เช฽นการชะล฾าง การกัดเซาะของน้ําและลม เป็นต฾น และที่สําคัญคือ ปใญหาจากการกระทํา ของมนุษยแ เช฽น การทําลายปุา เผาปุา การเพาะปลูกผิดวิธี เป็นต฾น ก฽อให฾เกิดการสูญเสียความอุดมสมบูรณแของดินทําให฾ใช฾ ประโยชนแจากที่ดินได฾ลดน฾อยลง ความสามารถในการผลิตทางด฾านเกษตรลดน฾อยลงและยังทําให฾เกิดการทับถมของตะกอน ดนิ ตามแมน฽ าํ้ ลําคลอง เขือ่ นอา฽ งเกบ็ น้ํา เปน็ เหตใุ ห฾แหล฽งนา้ํ ดงั กล฽าวตื้นเขิน รวมทัง้ การทีต่ ะกอนดินอาจจะทบั ถมอย฽ูใน แหลง฽ ที่อยอู฽ าศัย และท่วี างไข฽ของสัตวแน้าํ อกี ท้งั ยังเปน็ ตวั ก้ันแสงแดดทจี่ ะสอ฽ งลงสพ฽ู ืน้ นํ้าสงิ่ เหล฽าน้ีล฾วนก฽อให฾เกิดผลกระทบต฽อ สิ่งมีชีวิตในนํ้า นอกจากนี้ปใญหาความเส่ือมโทรมของดิน อันเนื่องมาจากสาเหตุด้ังเดิมตามธรรมชาติ คือ การที่มีสารเป็นพิษ เกิดขน้ึ มาพรอ฾ มกับการเกดิ ดิน เชน฽ มโี ลหะหนัก มีสารประกอบท่ีเปน็ พิษ ซึ่งอาจทําให฾ดินเค็ม ดินด฽างดินเปรี้ยวได฾ โดยเฉพาะ ปใญหาการแพร฽กระจายของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือการดําเนินกิจกรรมเพื่อใช฾ประโยชนแจากท่ีดินอย฽างไม฽ เหมาะสม และขาดการจัดการที่ดี เช฽นการสร฾างอ฽างเก็บน้ําในบริเวณที่มีเกลือหินสะสมอยู฽มาก นํ้าในอ฽างจะซึมลงไปละลาย เกลือหินใต฾ดนิ แล฾วไหลกลบั ขึน้ ส฽ผู วิ ดินบริเวณรอบๆ การผลิตเกลือสินเธาวแในเชิงพาณิชยแ โดยการสูบน้ําเกลือใต฾ดินขึ้นมาต฾ม หรือตาก ทําให฾ปใญหาดินเค็มแพร฽ขยายออกไปกว฾างขวางย่ิงข้ึนยังมีสาเหตุท่ีเกิดจากสารพิษและสิ่งสกปรกจากภายนอก ปะปนอย่ใู นดนิ เชน฽ ขยะจากบ่า นเรือนของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมีตกค฾างจากการใช฾ปุ฻ยและยากําจัดศัตรูพืช เป็นต฾นลว฾ นแตส฽ ฽งผลกระทบตอ฽ สิ่งแวดล฾อม และก฽อใหเ฾ กดิ การสูญเสียทางเศรษฐกิจ

5. 5. สตั วป์ า่ สตั ว์ปา่ สาเหตปุ ญั หาของทรพั ยากรสัตวป์ า่ สาเหตุของการสญู พันธหุแ รอื ลดจํานวนลงของสตั วปแ าุ มีดังน้ี 1. การทําลายท่ีอย฽ูอาศัย การขยายพื้นท่ีเพาะปลูก พ้ืนที่อยู฽อาศัยเพื่อการดํารงชีพของมนุษยแ ได฾ทําลายท่ีอย฽ูอาศัย และท่ดี ํารงชพี ของสตั วแปาุ ไปอย฽างไมร฽ ฾ูตัว 2. สภาพธรรมชาติ การลดลงหรือสูญพันธแุไปตามธรรมชาติ ของสัตวแปุา เนื่องจากการปรับตัวของสัตวแปุาให฾เข฾ากับ การดํารงชีวิตในสภาพแวดล฾อมทีเ่ ปลี่ยนแปลงอยูต฽ ลอดเวลา สัตวปแ าุ ชนดิ ที่ปรับตวั ไดก฾ จ็ ะมีชีวิตรอด หากปรับตัวไมไ฽ ด฾ 3. การล฽าโดยตรง โดยสัตวแปุาด฾วยกันเอง สัตวแปุาจะไม฽ลดลงหรือสูญพันธุแอย฽างรวดเร็ว เช฽น เสือโคร฽ง เสือดาว หมาไน หมาจิ้งจอกล฽ากวางและเก฾ง ซึ่งสัตวแท่ีถูกล฽าสองชนิดนี้ อาจจะตายลงไปบ฾างแต฽จะไม฽หมดไปเสียทีเดียว เพราะใน ธรรมชาติแล฾วจะเกิดความ สมดุลอย฽ูเสมอระหว฽างผู฾ล฽าและผู฾ถูกล฽า แต฽ถ฾าถูกล฽าโดยมนุษยแไม฽ว฽าจะเป็นการล฽าเพ่ือเป็นอาหาร เพอ่ื การกฬี า หรือเพ่อื อาชีพ สตั วแปุาจะลดลงจํานวนมาก 4. เน่ืองจากสารพิษ เม่ือเกษตรกรใช฾สารเคมีในการเพาะปลูก เช฽น ยาปราบศัตรูพืชจะทําให฾เกิดสารพิษตกค฾างใน สิ่งแวดลอ฾ ม นอกจากนีก้ ารสาธารณสุขบางครัง้ จําเป็นต฾องกําจัดหนู และแมลงเช฽นกัน สารเคมีที่ใช฾ในกิจกรรมต฽างๆ เหล฽านี้ มี หลายชนิดที่มพี ิษตกคา฾ ง ซง่ึ สัตวปแ าุ จะได฾รับพิษตามหว฽ งโซอ฽ าหาร ทาํ ใหส฾ ารพิษไปสะสมในสัตวแปาุ มาก หากสารพษิ มี จํานวนมากพออาจจะตายลงได฾หรือมีผลต฽อลูกหลาน เช฽น ร฽างกายไม฽สมบูรณแ ไม฽สมประกอบประสิทธิภาพการให฾กําเนิด หลานเหลนต฽อไปมีจํากดั ขึ้น ในท่ีสดุ จะมปี ริมาณลดลง และสญู พันธแุไป 5. การนาํ สัตวแจากถนิ่ อน่ื เขา฾ มา ตัวอย฽างน้ียังปรากฏไม฽เด฽นชัดในประเทศไทย แต฽ในบางประเทศจะพบปใญหานี้ เช฽น การนาํ พังพอนเข฾าไปเพื่อกาํ จดั หนู ต฽อมาเมื่อหนมู ีจํานวนลดลงพงั พอนกลับทาํ ลายพืชผลทปี่ ลกู ไว฾แทน เปน็ ตน฾ 6. มลพษิ ทางอากาศ“มลพิษทางอากาศ” มลพษิ ทางอากาศเปน็ ปญใ หาสาํ คัญปญใ หาหนึง่ ทเ่ี กิดข้ึนใน เขตเมือง โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร เน่ืองจากมลพิษทางอากาศก฽อให฾เกิดผลกระทบด฾านสุขภาพอนามัย ไม฽ว฽าจะเป็นด฾าน กล่ิน ความรําคาญ ตลอดจนผลกระทบต฽อสุขภาพท่ีเกี่ยวกับระบบการหายใจ หัวใจและปอด ดังน้ันการติดตามเฝูาระวัง ปริมาณมลพษิ ในบรรยากาศจงึ เป็นภารกจิ หนง่ึ มี่มีความสาํ คัญ กรมควบคุมมลพิษเปน็ หนว฽ ยงานทที่ ําการตรวจวดั คุณภาพ อากาศมาอยา฽ งต฽อเนอ่ื ง โดยทาํ การตรวจวดั มลพษิ ทางอากาศท่ีสําคัญ ได฾แก฽ ฝุนละอองขนาดเล็ก (ฝุนละอองขนาดไม฽เกิน 10 ไมครอน : PM-10) ก฿าซซัลเฟอรแไดออกไซดแ (SO2)สารตะกั่ว (Pb) ก฿าซคารแบอนมอนอกไซดแ (CO) ไนไตรเจนไดออกไซดแ (NO2) และกา฿ ซโอโซน (O3) สถานการณม์ ลพษิ ทางอากาศผลจากการตรวจวัดคณุ ภาพอากาศในชว฽ งเกือบ 20 ปีที่ผา฽ นมาก พบวา฽ คุณภาพ ทางอากาศในประเทศไทยมีคุณภาพดีข้ึน โดยพิจารณาได฾จากค฽าสูงสุดของความเข฾มข฾นของสารมลพิษส฽วนใหญ฽อยู฽ในเกณฑแ มาตรฐาน ยกเวน฾ ฝนุ ขนาดเลก็ และกา฿ ซโอโซน ท้ังนี้การท่ีคุณภาพอากาศของประเทศไทยมีคุณภาพดีข้ึน มีสาเหตุมาจากการ ลดลงของปริมาณการใชเ฾ ชือ้ เพลงิ ในช฽วงวิกฤติเศรษฐกิจ และอกี สว฽ นหน่ึงมาจากมาตรการของรฐั ที่มีส฽วนทําให฾มลพิษ ทางอากาศลดลง (ธนาคารโลก 2002) ซ่ึงได฾แก฽การรณรงคแให฾ใช฾รถจักรยานยนตแ 4 จังหวะแทนรถจักรยานยนตแ 2 จังหวะ เน่ืองจากรถจักรยานยนตแ 2 จังหวะเป็นแหล฽งกําเนิดสําคัญของการปล฽อยฝุนละออกสู฽บรรยากาศ การปรับเปลี่ยนมาใช฾ รถจักรยานยนตแ 4 จังหวะ จึงจะช฽วยให฾มีการปล฽อยฝุนละอองสู฽บรรยากาศลดลงการติดต้ังอุปกรณแกําจัดสารซัลเฟอรแ (Desulfurization) ในโรงไฟฟูาแม฽เมาะในปีพ.ศ. 2535 เนื่องจากโรงไฟฟูาแม฽เมาะเป็นโรงไฟฟูาท่ีใช฾ถ฽านหินลิกไนตแเป็น เชื้อเพลิงเป็นแหล฽งกําเนิดสําคัญของการปล฽อยก฿าซซัลเฟอรแไดออกไซดแ ดังนั้นการติดต้ังอุปกรณแดังกล฽าวทําให฾ปริมาณก฿าซ

ซัลเฟอรแไดออกไซดแในบรรยากาศลดลงอย฽างต฽อเนื่องจนอยู฽ในระดับท่ีตํ่ากว฽ามาตรฐาน ต้ังแต฽มีการติดตั้งอุปกรณแกําจัดสาร ซัลเฟอรแการบังคับใช฾อุปกรณแขจัดมลพิษในระบบไอเสียรถยนตแประเภท Catalytic converterในรถยนตแใหม฽ในปี พ.ศ. 2536 เน่อื งจากยานยนตแเป็นแหล฽งกําเนิดกา฿ ซคารบแ อนมอนอกไซดแทีส่ าํ คัญ ส฽งผลให฾ระดับก฿าซคารแบอนมอนอกไซดแลดลงจน อย฽ูในระดับที่ตํ่ากว฽ามาตรฐานการลดปริมาณสารตะก่ัวในน้ํามัน โดยในปี พ.ศ. 2532 รัฐบาลได฾มีมาตรการเร่ิมลดปริมาณ ตะก่ัวในนํ้ามันจาก 0.45 กรัมต฽อลิตรให฾เหลือ 0.4 กรัมต฽อลิตร และในปี พ.ศ. 2535ได฾ลดลงมาเหลือ 0.15 กรัมต฽อลิตร จนกระทง่ั ปลายปี พ.ศ. 2538 รฐั บาลไดย฾ กเลิกการใช฾นาํ้ มันเบนซนิ ที่มีสารตะกวั่ ทําใหร฾ ะดับสารตะก่ัวลดลงอย฽างรวดเร็วจน อยูใ฽ นระดบั ท่ีตา่ํ กว฽ามาตรฐานฝุนละอองขนาดเล็ก และกา฿ ซโอโซน ยังเป็นสารมลพิษท่ีเป็นปใญหา ซึ่งถึงแม฾จะมีแนวโน฾มลดลง เช฽นกันแต฽มลพิษทั้ง 2 ตัวก็ยังสูงเกินมาตรฐาน ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะฝุนละอองมีแหล฽งกําเนิดหลากหลาย ทําให฾การออก มาตรการเพื่อลดฝุนละอองทําได฾ยาก โดยแหล฽งกําเนิดฝุนละอองท่ีสําคัญ ได฾แก฽ ยานพาหนะ ฝุนละอองแขวนลอยคงค฾างใน ถนน ฝุนจาก การก฽อสร฾าง และอุตสาหกรรม สําหรับในพื้นที่ชนบท แหล฽งกําเนิดฝุนละอองท่ีสําคัญ คือการเผาไหม฾ในภาคเกษตร ขณะที่ ก฿าซโอโซนเป็นสารพิษทุติยภูมิที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว฽างสารประกอบอินทรียแระเหยง฽าย (Volatile organic compound: VOC) และออกไซดขแ องไนโตรเจน โดยมคี วามร฾อนและแสงอาทติ ยเแ ป็นตัวเร฽งปฏิกิริยา ทําให฾ก฿าซโอโซนมีปริมาณสูงสุดในช฽วง เท่ียงและบ฽าย และถูกกระแสลมพัดพาไปสะสมในบริเวณต฽างๆ ซ่ึงจะเห็นได฾ว฽ามีปใจจัยหลายปใจจัยท่ียากต฽อการควบคุมการ เกิดของก฿าซโอโซน ทําให฾มาตรการต฽างๆ ท่ีกล฽าวมาของภาครัฐ ยังไม฽สามารถลดปริมาณก฿าซโอโซนลงให฾อย฽ูในเกณฑแ มาตรฐานได฾มลพิษทางอากาศมีแหล฽งกําเนิดมลพิษและผลกระทบต฽อสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล฾อมแตกต฽าง และรุนแรง ตา฽ งกนั ไป

ใบงาน ภมู ศิ าสตร์ กายภาพ เรอื่ ง การทาลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดียว 1. ปใญหาการจราจรติดขัดตามเมืองใหญ฽ๆ นอกจากจะทํา 7. ขอ฾ ใดไม฽ใช฽ปใญหาการส้ินเปลอื งพลังงานอนั เกิดจาก ใหเ฾ กิดผลเสียทางเศรษฐกจิ แล฾ว ยังจะทาํ ใหเ฾ กิดผลเสยี ทาง ปใญหาทรัพยากรและสงิ่ แวดล฾อม ใดอีก ก. ปญใ หาการขาดแคลนนํา้ ใช฾ ก. ทําใหค฾ นฝุาฝนื กฎหมาย ข. ปใญหาน้าํ ทว฽ มกรงุ เทพฯ ข. ทาํ ให฾สิ่งแวดล฾อมเป็นพิษ ค. ปใญหาการจราจรติดขดั ค. ทําใหร฾ ถยนตแเสือ่ มสภาพเร็ว ง. ปใญหาการศกึ ษา ง. ทาํ ให฾สูญเสยี เวลาไปโดยเปล฽าประโยชนแ 8. ขอ฾ ใดเป็นการใช฾พลงั งานเพอ่ื ปูองกนั และแก฾ไขปใญหา 2. เราจะแกอ฾ ากาศเปน็ พิษอย฽างเชน฽ ในกรงุ เทพฯ โดยวธิ ี ทรัพยากรและสิ่งแวดล฾อม ใดจึงจะดีท่สี ุด ก. การทงิ้ ขยะมลู ฝอย ก. ลดจาํ นวนรถยนตลแ ง ข. การปลอ฽ ยนาํ้ เสยี ข. ไมส฽ ฽งเสยี งดงั ในโรงภาพยนตรแ ค. การคุมกําเนดิ ของประชากร ค. ปลูกตน฾ ไม฾ให฾มาก ง. การควบคุมหรือปูองกนั อากาศเสีย ง. ขยายเขตเมืองให฾กว฾างออกไปอีก 3. การปูองกันไมใ฽ ห฾เกิดปญใ หามลพษิ ควรปฏบิ ตั อิ ยา฽ งไร ก. ไมส฽ บู บุหร่ีในที่สาธารณะ ข. ไม฽ส฽งเสียงดงั ในโรงภาพยนตรแ ค. ข฾ามถนนตรงทางม฾าลายหรอื สะพานลอย ง. ตดิ ต้งั ระบบปูองกนั ไอเสยี ในรถยนตแ 4. ประเทศไทยขาดดุลการคา฾ กับตา฽ งประเทศ เพราะเหตุใด ก. สนิ คา฾ มจี ํานวนน฾อยกว฽าเปูาหมาย ข. ปริมาณการผลิตสนิ ค฾าน฾อยลง ค. ไม฽สนับสนุนให฾เอกชนส฽งสนิ คา฾ ออก ง. มูลคา฽ ราคาสินค฾าส฽งออกน฾อยกว฽ามลู ค฽าสินคา฾ นาํ เข฾า 5. สาเหตุอะไรท่ีทําให฾ฝนมสี ภาพเปน็ กรด ก. กา฿ ซทม่ี ีออกไซดเแ ปน็ ตัวประกอบ ข. ซลั เฟอรแไดออกไซดแ ค. ออกไซดแของไนโตรเจน ง. คารแบอนมอนนอกไซดแ 6. มลภาวะเปน็ พิษทเี่ กดิ ผลกระทบต฽อระบบนิเวศนแ หมายถงึ ก. ออกซเิ จนในอากาศมีปรมิ าณเพิ่มขนึ้ ข. คารแบอนไดออกไซดใแ นอากาศมีปริมาณเพิ่มข้ึน ค. ออกซิเจนในอากาศมปี รมิ าณเท฽าเดิม ง. คารบแ อนไดออกไซดใแ นอากาศมีปริมาณนอ฾ ยลง

การทแนวเฉลย ใบงาน ภมู ิศาสตร์ กายภาพ กรธรรมชาตแิ ละสิเรือ่ ง การทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จงเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง

แผนการจัดกจิ กรรม

มการเรยี นรู้คร้งั ท่ี 6

แผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอ สาระพฒั นาสงั คม รายวิชาสังคมศึกษา ครงั้ ที่ วนั /เดือน/ปี หวั เรอ่ื ง/ตัวชี้วัด เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ 1. วเิ คราะหปแ ใญหาและ 1. ระบบเศรษฐกิจของประเทศ แนวโนม฾ ทางเศรษฐกจิ ไทย ของประเทศไทยได฾ -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม 2. เสนอแนวทางการ แหง฽ ชาติ แก฾ปใญหาทาง 2. ปใญหาเศรษฐกิจของไทยใน เศรษฐกิจของ ปจใ จุบัน ประเทศไทยใน 3. ความสาํ คญั และความจาํ เปน็ ปใจจุบันได฾ ในการร฽วมมือทางเศรษฐกจิ กับ 3. รู฾และเขา฾ ใจ ตระหนัก ประเทศต฽างๆ ในความสาํ คัญของการ 4. ระบบเศรษฐกจิ ในโลก ร฽วมกล฽มุ เศรษฐกิจ 5. ความสัมพนั ธแและผลกระทบ ระหวา฽ งประเทศ และ ทางเศรษฐกิจระหวา฽ งประเทศ ประเทศต฽างๆ ในโลก กับภูมิภาคตา฽ งๆ ท่ัวโลก 4. ร฾ูและเขา฾ ใจ ในระบบ 6. รปู แบบของระบบเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ แบบต฽างๆ ใน และวธิ ีการเลอื กจัดกจิ กรรมทาง โลก เศรษฐกจิ 5. ร฾แู ละเขา฾ ใจ 7. กลไกราคากบั ระบบ

อนปลาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 า รหัส สค31001 จานวน 3 หน่วยกิต การจดั กระบวนการเรียนรู สอ่ื /แหล่ง การวัดและ เรยี นรู้ ประเมนิ ผล ขนั้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้ 1. หนงั สือ แบบทดสอบ -ครแู ละผู฾เรยี นรว฽ มกันสนทนาเก่ียวกับ แบบเรยี น ใบงาน สภาพเศรษฐกิจในปใจจบุ นั และแนวโน฾ม 2. สื่อมัลติมเี ดีย เลม฽ รายงาน การพฒั นาเศรษฐกจิ ไทยไปสู฽อนาคต 3. อินเทอรเแ นต็ สังเกตพฤตกิ รรม ข้ันท่ี 2 แสวงหาข้อมลู และจัดกจิ กรรม 4. ใบความร฾ู การเรียนรู้ 1.ให฾ผเู฾ รียนศกึ ษาคน฾ ควา฾ สาเหตุและแนว ทางแก฾ไขการมีรายได฾ที่ไม฽ม่ันคงและ ผลกระทบของเศรษฐกิจของประเทศ ไทย จากส่ืออนิ เตอรแเน็ต/ห฾องสมุด แล฾ว นํามาวิเคราะหแ ทํารายงานสรุปเป็น รูปเล฽มและร฽วมกันอภปิ รายในวนั พลกล฽ุม กศน.ตําบล 2.ใหผ฾ เู฾ รียนศึกษาค฾นควา฾ ราคากลไกล ระบบเศรษฐกจิ สาเหตุทที่ ําให฾เกดิ ปญใ หาเศรษฐกจิ ของไทยตกต่ํา ปใญหา หน้ีนอกระบบจากส่ือห฾องสมุด/

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอ สาระพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา ครัง้ ที่ วัน/เดือน/ปี หวั เรอื่ ง/ตัวชว้ี ดั เนื้อหาสาระการเรียนร฾ู ความสัมพันธแและ เศรษฐกิจในปจใ จบุ ัน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ -การแทรกแซงกลไกราคาของ ระหวา฽ งประเทศของ รัฐบาลในการส฽งเสรมิ และแก฾ไ ประเทศไทยกบั กลุม฽ ระบบเศรษฐกจิ เศรษฐกิจของประเทศ 8. ความหมาย ความสําคญั ขอ ตา฽ งๆ ในภูมภิ าค ในโลก เงนิ ประเภท สถาบันการเงิน 6. วิเคราะหคแ วามสาํ คญั และสถาบนั ทางการเงนิ ของระบบเศรษฐกจิ และ 9. การธนาคาร การเลือกจัดกจิ กรรมทาง - ระบบของธนาคาร เศรษฐกิจของประเทศ - ประเภทของธนาคาร ต฽างๆ ในโลก และ - บทบาทหน฾าท่ีของธนาคาร ผลกระทบ แห฽งประเทศไทย (ธนาคาร 7. เข฾าใจใจในเร่อื งกลไก กลาง) ราคากับระบบเศรษฐกิจ 10. การคลงั รายไดป฾ ระชาชา - รายไดข฾ องรัฐบาล และการ จดั ทาํ งบประมาณแผ฽นดิน

อนปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 า รหัส สค31001 จานวน 3 หน่วยกิต 164 การจัดกระบวนการเรยี นรู ส่อื /แหล฽งเรยี นร฾ู การวดั และ ประเมินผล อนิ เตอรเแ น็ต นาํ มาสรุปประเดน็ ปใญหา เป็นรูปเล฽มพร฾อมเสนอแนะแนว ไข ทางแก฾ไข แล฾วนํามาสรปุ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นเรยี นร฾ูใหเ฾ พ่ือนฟใงในวันพบ อง กล฽ุม กศน.ตําบล 3 . ใ ห฾ ผู฾ เ รี ย น ศึ ก ษ า ค฾ น ค ว฾ า คํ า ศั พ ทแ ภาษาอังกฤษที่ใช฾ในการสนทนาซ้ือขาย สินคา฾ และวิธกี ารแก฾ไขปใญหาสินคา฾ อุปโภคบรโิ ภคราคาแพง จาก อนิ เตอรเแ น็ต แลว฾ นํามาสรุปรายงานเป็น ร รปู เลม฽ พร฾อมนาํ เสนออภปิ รายใหเ฾ พอื่ น ฟใงในวันพบกลุ฽ม กศน.ตําบล 4.ให฾ผู฾เรียนศึกษาค฾นคว฾าข฾อมูลระหว฽าง าติ บุคคลที่ทําบัญชีรับ-จ฽าย กับบุคลท่ีไม฽ได฾ ร ทําบัญชีรายรับ-รายจ฽าย จากบุคลใน ชมุ ชน-หมู฽บ฾าน สรปุ ใจความสําคญั ทํา

แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอ สาระพฒั นาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา ครง้ั ที่ วนั /เดอื น/ปี หัวเร่ือง/ตัวช้ีวัด เนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ 8. ร฾ูและเข฾าใจในเรื่อง - ภาษกี ับการพฒั นาประเทศ การเงิน การคลัง และ - ดลุ การค฾า การธนาคาร - ดลุ การชาํ ระเงิน 9. เขา฾ ใจในระบบของ การธนาคาร 10. ตระหนักใน ความสําคัญของเงนิ สถาบนั การเงิน 11.การวเิ คราะหแ ผลกระทบจากปญใ หา ทางเศรษฐกิจในเร่ือง การเงนิ การคลังของ ประเทศไทย และสงั คม โลก 12.รแู฾ ละเขา฾ ใจ เรือ่ ง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง฽ ชาติ

อนปลาย ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 า รหัส สค31001 จานวน 3 หนว่ ยกติ 165 166 การจัดกระบวนการเรยี นรู สอ่ื /แหล่ง การวัดและ ประเมินผล เรยี นรู้ เปน็ รูปเลม฽ พร฾อมทั้งอภปิ รายและให฾ เพือ่ นรว฽ มแสดงความคิดเหน็ วเิ คราะหแ เปรยี บเทยี บ ขอ฾ ดี/ข฾อเสยี ในเนือ้ หาท่ีได฾ คน฾ คว฾ามาในวันพลกล฽มุ กศน.ตาํ บล ขน้ั ที่ 3. ข้ันการปฏบิ ัติและการนาไป ประยกุ ต์ใช้ - ครูและนักศึกษารว฽ มกันสรปุ ผลการ เรยี นรู฾ จดบันทึกผลการเรียนรู฾ ข้นั ที่ 4. ข้ันการประเมนิ ผล - ประเมนิ ผลการเรียนรจ฾ู ากการมสี ฽วน รว฽ มโดยใชก฾ ระบวนการกลุ฽มนักศึกษา

ใบความรู้ ระบบเศรษฐกจิ ของไทย ความหมายระบบเศรษฐกิจ - รฐั เขา฾ มาดําเนินการจัดระเบียบทางเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยกําหนดวา฽ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ชนดิ ใดรฐั จดั ทาํ กจิ กรรมใดใหเ฾ อกชนดําเนนิ การ - การรวมกนั ของหน฽วยเศรษฐกจิ (หน฽วยธุรกจิ /หน฽วยครวั เรือน) เพื่อดําเนินกจิ กรรทางเศรษฐกิจ โดยมีการ กําหนดหนา฾ ท่ขี องหนว฽ ยเศรษฐกิจต฽าง ๆ ประเภทระบบเศรษฐกจิ ในปใจจบุ ันแบ฽งระบบเศรษฐกจิ เป็น 3 ประเภท 1. ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับหรือสังคมนิยม 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรอื ระบบตลาด 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ระบบเศรษฐกจิ ไทย 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมหรอื แบบบังคับ - รัฐกําหนดควบคมุ วางแผน ตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ - ทรัพยสแ นิ ทรัพยากรและปจใ จัยการผลติ เป็นของรฐั - เช฽นในประเทศเวียดนาม เกาหลเี หนือ ควิ บา 2. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมหรอื ระบบตลาด - เอกชนหรือหนว฽ ยธุรกิจตา฽ ง ๆ มอี สิ ระในการประกอบกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ - เนน฾ การแขง฽ ขนั ของเอกชน เกดิ การผลิตสินคา฾ ทีม่ ีคุณภาพเพือ่ แย฽งตลาดการขาย เป็นไปตามกลไกราคา - เอกชนมสี ิทธ์ใิ นทรัพยแสนิ และปจใ จัยการผลติ เงิน - สหรฐั อเมริกา แคนาดา ญ่ีปุน 3. ลกั ษณะระบบเศรษฐกจิ แบบผสม - กิจกรรมทางเศรษฐกจิ บางอย฽างรัฐเป็นผ฾ูดําเนินการบางอย฽างเอกชนดาํ เนินการ - เอกชนมสี ิทธ์ิในทรัพยสแ นิ มเี สรีภาพในการประกอบกิจกรรมภายใตก฾ ฎหมาย มีการแข฽งขัน ภายใตก฾ ลไกราคา มีกาํ ไร - รฐั ประกอบกิจกรรมที่เป็นสาธาณปู โภคพ้นื ฐานที่จาํ เปน็ - รัฐเขา฾ แทรกแซงการผลิตของเอกชนเพ่ือปูองกนั การเอารดั เอาเปรียบ ลกั ษณะเศรษฐกิจไทย ไทยใชร฾ ะบบเศรษฐกจิ แบบผสมแต฽คอ฽ นขา฾ งไปทางทุนนิยมเอกชนมีบทบาทในการผลิตด฾านต฽าง ๆ มากกวา฽ รัฐบาลเอกชนมีสิทธิใ์ นทรัพยแสินและปจใ จัยการผลติ มีเสรภี าพในการดาํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ มกี าร แขง฽ ขนั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพของสินค฾ารฐั บาลดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดา฾ นกิจกรรมสาธารณูปโภค

การแลกเปลี่ยนสินคา้ ความเป็นมา มนษุ ยแมีความสามารถในการผลิตสนิ ค฾าแต฽ละชนิดแตกตา฽ งกนั ทําใหเ฾ กิดการซอื้ ขายและ แลกเปล่ยี นสินค฾าที่ตนไม฽ไดท฾ ําเอง ประเภทการแลกเปลีย่ น 1. แลกเปล่ียนสินคา้ ต่อสนิ ค้าเช฽นชาวบา฾ น เอมขา฾ วสารมาแลกปลา ผลไมแ฾ ลกพรกิ 2. แลกเปล่ียนโดยใช้เงนิ เป็นสอ่ื กลางซง่ึ รวมถึงบตั รเครดิต มีตลาดเป็นศนู ยแกลาง ความสัมพนั ธขแ องการแลกเปลี่ยน หนว฽ ยเศรษฐกิจต฽าง ๆ ต฾องพ่ึงพาอาศยั กนั ท้งั ในด฾านการแลกเปล่ยี นสินคา฾ ตอ฽ สนิ คา฾ และบรกิ ารการให฾ปจใ จยั การผลิต และความสมั พันธใแ นด฾านรายรับรายจ฽าย กลไกราคา หมายถึง ภาวะการณขแ องตลาดเป็นการเคล่ือนไหวของราคาสนิ ค฾าท่ีขน้ึ อยู฽กับความต฾องการของผู฾บริโภค และผ฾ผู ลิตรว฽ มกนั ในตลาด อุปทาน (Supply)คือ ปริมาณสินค฾าที่ผ฾ผู ลิตหรือผข฾ู ายพอใจ จะผลติ หรือขายแกผ฽ บู฾ รโิ ภค กฎของอุปทานเมื่อสนิ ค฾าราคาแพง ผ฾ผู ลติ หรือพ฽อค฾าจะนําสินค฾าออกมาขายมาก หรือผลติ มากขึ้น เม่ือ สนิ คา฾ ต่าํ ลงจะนําออกมาขายน฾อยหรือผลิตน฾อยลง ปัจจยั ที่มีผล 1. ราคาสนิ ค฾า 2. รายได฾ของผ฾บู ริโภค ต฾นทุนการผลติ 3. รสนิยมของผ฾ูบรโิ ภค 4. ราคาสินค฾าอ่นื ที่ใช฾แทนกนั ได฾ 5. จํานวนผผ฾ู ลติ คู฽แข฽ง 6. สภาพลมฟูา อากาส ลักษณะธรรมชาติ สถาบันการเงิน คอื สถาบนั ทีท่ ําหนา฾ ท่ีระดมเงินออมจากประชาชน โดยจา฽ ยดอกเบี้ยใหจ฾ ากนัน้ กจ็ ะนาํ เงินออมดังกลา฽ วไป ปล฽อยกู฾หรือสนิ เช่ือแก฽ผูต฾ ฾องการใช฾เพอ่ื ใชใ฾ นการบรโิ ภคหรอื เพอ่ื การลงทนุ

ประเภทของสถาบันการเงิน สถาบันการเงนิ ตา่ งๆ ธนาคารแห฽งประเทศไทย มีหน฾าที่จัดการดูแล ควบคมุ ระบบเงินของประเทศมีชื่อเรยี กว฽าธนาคารชาติ ธนาคารพาณิชยแ มหี น฾าทเ่ี ปน็ แหลง฽ เงนิ ออมและเงนิ กูส฾ ําคัญของประชาชน ซื้อขายเงินตราต฽างประเทศให฾ เชา฽ ต฾นู ริ ภยั โอนเงิน ชําระค฽าไฟฟูา ประปา ฯลฯ ธนาคารทตี่ ้ังข้นึ เพื่อวตั ถุประสงคเแ ฉพาะ เชน฽ ธนาคารออมสนิ ธนาคารอาคารสงเคราะหแ ธกส. ธนาคารเพ่อื การนาํ เขา฾ และสง฽ เอก บริษัทเงินทนุ มีหน฾าที่ ระดมเงินทนุ หรอื กูย฾ ืมเงินจากประชาชน โดยออกตั๋วสัญญาใชเ฾ งนิ ใหเ฾ ป็นประกนั ครง้ั ละ ไม฽ตํา่ กวา฽ 10,000 บาท บางครง้ั เรียกวา฽ ไฟแนนซแ หรือ ทรสั ตแ บรษิ ทั หลักทรัพยแ มีหน฾าที่ เป็นนายหน฾าหรอื ตวั แทน (โบรกเกอรแ) ซ้ือขายหลักทรพั ยแ (ห฾ุน) แกบ฽ ุคคลอนื่ หรือแนะนาํ การซ้ือขายห฾นุ แก฽ประชาชน บรรษัทเงินทุนอตุ สาหกรรมแหง฽ ประเทศไทย จัดตง้ั เพื่อใหส฾ ินเชอ่ื แกเ฽ อกชนในระยะยาว เพ่อื การลงทนุ ผลติ ภาคอุตสาหกรรม โดยคิดดอกเบีย้ เงินก฾ูในอัตราต่าํ บรรษัทประกันชวี ิตและประกนั ภยั ทําหนา฾ ทร่ี ะดมเงนิ ออมจากประชาชนในรปู ของการขายกรมธรรมแ เปน็ หนงั สอื สญั ญาการประกันชวี ิต ประกนั ภัย หรือประกันอุบัติเหตุให฾แก฽ผูซ฾ ้ือ บริษทั จะได฾รับผลประโยชนจแ ากการ นําเงนิ การขายกรมธรรมแไปลงทนุ ในรปู แบบต฽าง ๆ บริษทั เครดิตฟองซเิ อรแ ทําหน฾าทีป่ ล฽อยสินเชือ่ ใหล฾ ูกค฾าโดยมีทอ่ี สังหาริมทรัพยปแ ระเภทที่ดนิ หรอื บา฾ น เป็น หลักประกัน (จาํ นอง) แหล฽งท่ีมาของเงนิ ทุนมาจากการก฾ูเงนิ จาก ธนาคารพาณิชยแ โรงรับจํานาํ มีหน฾าทเี่ ปน็ สาถาบนั การเงินขนาดเล็ก มีทง้ั ของรฐั และเอกชน โดยมที รพั ยแสนิ ประเภท สังหารมิ ทรัพยแ (แหวน สร฾อย ทองคํา เป็นต฾น) มีช่ือเรียกวา฽ สถานธนานุบาล สถานธนานเุ คราะหแ สหกรณแออมทรัพยแ เกิดจากสมาชกิ ทป่ี ระกอบอาชีพเดียวกนั รวมกล฽มุ กนั เพอื่ ช฽วยเหลอื สมาชกิ ดา฾ นการเงิน โดยรบั ฝากเงนิ และให฾ก฾ูเงนิ เม่ือมคี วามจําเป็น ตลาดหลักทรัพยแแหง฽ ประเทศไทย เป็นสถาบันการเงินภายใตก฾ ารควบคมุ ของรัฐ (กระทรวงการคลงั ) ทาํ หน฾าท่ีเป็นศูนยแกลางในการ ซ้ือขายหลกั ทรพั ยแ (ห฾นุ ) ควบคุมการซื้อขายให฾มรี ะเบยี บยตุ ธิ รรม เกิดผลดตี อ฽ การ พฒั นาเศรษฐกิจของประเภท ความสําคญั ของสถาบนั การเงิน สถาบันการเงนิ มีบทบาทตอ฽ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของชาติ เนอื่ งจากเงนิ ทุน เปน็ ปจใ จยั ทางเศรษฐกจิ ทส่ี ําคัญและมีจาํ นวนจาํ กัดสถาบนั การเงนิ จงึ ต฾องจัดสรรเงินทุนเหลา฽ น้นั ใหเ฾ พยี งพอ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจฯ แผน 9 คือ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศใหป฾ ระชาชนอยูด฽ กี นิ ดี มีงานทํา มีรายได฾มคี วามมน่ั คงและ ปลอดภยั ปจใ จุบันใชแ฾ ผนพฒั นาฉบับท่ี 9 จากปี พ.ศ. 2545-2549 ความเป็นมาแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ มีขึน้ คร้ังแรกในสมัยจอมพลสฤษดธ์ิ นะรชั ตแเป็นนายกรฐั มนตรี โดย กําหนดทศิ ทาง นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย฽างเปน็ ระบบ ปใจจุบันใชแ฾ ผนพัฒนา เศรษฐกจิ ฯ ฉบบั ท่ี 9 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 9 จดุ เดน฽ คือการนําเอาพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ฾าอยห฽ู วั ในเรอ่ื ง “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเปน็ หลักในการพัฒนาเศรษฐกจิ โดยเนน฾ หลักของการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศสร฾างความ เขม฾ แข็งระดับรากหญา฾ จนถงึ ระดบั ประเทศ แกไ฾ ขปใญหาความยากจน และปใญหาสงั คมอ่ืน ๆ เปา้ หมาย 1. ฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ มภี ูมิค฾มุ กันและแข฽งขนั ทางเศรษฐกจิ ยุคใหม฽ได฾ 2. วางรากฐานการพฒั นาประเทศใหย฾ ่งั ยนื พึ่งตนเองอย฽างร฾ูเทา฽ ทันโลก 3. เพ่ือใหเ฾ กิดการบรหิ ารจัดการทีด่ ใี นสังคมไทย 4. แก฾ไขปใญหาความยากจน เพมิ่ ศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพง่ึ พาตนเอง รายไดแ้ ละรายจ่ายของรัฐ รายจ฽ายของรฐั รฐั มบี ทบาทในการบริหารเศรษฐกจิ และกจิ กรรมทางเศรษฐฏจิ ผา฽ นงบประมาณรายขา฽ ยจําแนก ตามกระทรวง 1. งบกลางทีจ่ ัดสรรโดยคณะรัฐมนตรีให฾แกก฽ ระทรวง กรมตา฽ ง ๆ หน฽วยงาน รัฐวสิ าหกจิ 2. งบหมุนเวยี น งบประมาณท่ีจัดสรรใหก฾ องทุนต฽าง ๆ ของรฐั เชน฽ กองทนุ กูย฾ ืนเพ่ือการศึกษา กองทุน ชว฽ ยเหลือเกษตรกร เปน็ ตน฾ รายได้ของรฐั 1. ภาษีอากร 2. การเรยี กเกบ็ ค฽าบรกิ ารของรฐั 3. เงินก฾ู - กโ฾ู ดยตรงของรัฐบาล - กูโ฾ ดยรฐั วิสาหกจิ โดยรฐั คา้ํ ประกัน ความสาํ คญั ของการทําบัญชี การทาํ บญั ชรี ายได฾ (รายรับ) และรายจา฽ ยของตนเองหรือครอบครัวจะส฽งผลให฾ รู฾จกั ตนเอง รู฾จักการใชจ฾ า฽ ย และการออม เพื่อสร฾างความม่ันคงแกต฽ นเองครอบครัว การออมจะสง฽ ผลใหเ฾ กิด ความมน่ั คงระดับครวั เรอื น และระดับประเทศ เพราะฉะนั้นเราจงึ ควรทาํ บัญชรี ายรบั -รายจ฽าย

ใบงานท่ี 1 1. ให฾บอกลักษณะภมู ิประเทศและลกั ษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยและทวีปยโุ รป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกิจ ประเทศ ................................................................................. ........................................................................................... ไทย .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. ................................................................................ ............................................................................................ ทวปี ยโุ รป .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .............................................................................. .......................................................................................... ............................................................................... ..........................................................................................

จงเลอื กคําตอบท่ถี กู ต฾องท่สี ดุ เพยี งคําตอบเดียว 1. ปใญหาการจราจรติดขัดตามเมืองใหญ฽ๆ นอกจากจะทําให฾เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจแล฾วยังจะทําให฾ เกดิ ผลเสียทางใดอีก ก. ทาํ ให฾คนฝาุ ฝืนกฎหมาย ข. ทาํ ให฾สิ่งแวดลอ฾ มเป็นพิษ ค. ทาํ ใหร฾ ถยนตแเส่ือมสภาพเร็ว ง. ทาํ ให฾สญู เสยี เวลาไปโดยเปล฽าประโยชนแ 2. เราจะแก฾อากาศเป็นพิษอย฽างเชน฽ ในกรงุ เทพฯ โดยวธิ ใี ดจงึ จะดีท่ีสดุ ก. ลดจํานวนรถยนตลแ ง ข. ไม฽สง฽ เสียงดังในโรงภาพยนตรแ ข. ปลกู ตน฾ ไมใ฾ ห฾มาก ง. ขยายเขตเมืองให฾กวา฾ งออกไปอีก 3. การปอู งกนั ไม฽ใหเ฾ กิดปใญหามลพษิ ควรปฏิบัตอิ ย฽างไร ก. ไม฽สูบบุหรี่ในทส่ี าธารณะ ข. ไม฽สง฽ เสยี งดงั ในโรงภาพยนตรแ ค. ข฾ามถนนตรงทางม฾าลายหรือสะพานลอย ง. ติดตัง้ ระบบปูองกันไอเสียในรถยนตแ 4. ประเทศไทยขาดดลุ การคา฾ กบั ตา฽ งประเทศ เพราะเหตใุ ด ก. สนิ คา฾ มจี าํ นวนน฾อยกว฽าเปูาหมาย ข. ปรมิ าณการผลิตสินค฾าน฾อยลง ค. ไม฽สนับสนนุ ใหเ฾ อกชนส฽งสินคา฾ ออก ง. มูลคา฽ ราคาสินค฾าส฽งออกน฾อยกว฽ามูลค฽าสินค฾านําเข฾า 5. สาเหตุอะไรท่ีทาํ ให฾ฝนมีสภาพเป็นกรด ก. ก฿าซทมี่ ีออกไซดเแ ปน็ ตวั ประกอบ ข. ซลั เฟอรแไดออกไซดแ ข. ออกไซดแของไนโตรเจน ง. คารแบอนมอนนอกไซดแ 6. มลภาวะเป็นพิษทเี่ กิดผลกระทบต฽อระบบนิเวศนหแ มายถึง ก. ออกซิเจนในอากาศมปี ริมาณเพ่ิมขึน้ ข. คารบแ อนไดออกไซดแในอากาศมีปรมิ าณเพ่ิมขึ้น ค. ออกซิเจนในอากาศมีปริมาณเทา฽ เดมิ ง. คารบแ อนไดออกไซดแในอากาศมปี ริมาณน฾อยลง

7. ขอ฾ ใดไมใ฽ ชป฽ ใญหาการสน้ิ เปลืองพลังงานอนั เกิดจากปใญหาทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ฾ ม ก. ปใญหาการขาดแคลนนํ้าใช฾ ข. ปญใ หานํา้ ทว฽ มกรุงเทพฯ ค. ปใญหาการจราจรติดขดั ง. ปใญหาการศกึ ษา 8. ขอ฾ ใดเป็นการใชพ฾ ลังงานเพอื่ ปูองกันและแก฾ไขปญใ หาทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ฾ ม ก. การทิง้ ขยะมูลฝอย ข. การปลอ฽ ยนํา้ เสีย ค. การคมุ กําเนดิ ของประชากร ง. การควบคุมหรอื ปูองกนั อากาศเสยี

ใบงานที่ 2 ใหผ฾ ู฾เรยี นวิเคราะหแลักษณะที่กําหนดให฾ว฽าเป็นระบบเศรษฐกิจใด โดยกาเคร่ืองหมาย  ในเรื่องระบบ เศรษฐกจิ ที่คดิ วา฽ ถกู ต฾อง ระบบเศรษฐกิจ ลักษณะ ทุนนิยม สงั คมนยิ ม สังคมนยิ ม แบบผสม ประชาธปิ ไตย คอมมิวนิสตแ 1. เอกชนมีเสรีภาพในการผลติ และบรโิ ภคอย฽างเต็มที่ 2. รัฐเปน็ ผว฾ู างแผนกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทั้งหมด 3. รฐั เข฾าไปดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจในส฽วนทเ่ี กี่ยวข฾องกบั ประโยชนแสว฽ นรวม 4. มเี ปูาหมายเพื่อผลกําไร 5. มเี ปาู หมายเพ่ือสรา฾ งความเป็นธรรมในสังคม 6. มีเปูาหมายเพ่อื ความอย฽ูดีกนิ ดีของสังคม 7. เอกชนมกี รรมสทิ ธิ์ในทรัพยแสินอย฽างเตม็ ที่ 8. ไม฽เปิดโอกาสให฾มกี ารแข฽งขนั 9. กจิ กรรมทางเศรษฐกิจขึน้ อยูก฽ ับกลไกแหง฽ ราคา 10. การผลิตอะไรเทา฽ ใดขึน้ อยก฽ู บั รัฐบาลเทา฽ น้ัน 11. รฐั และกลไกราคามีส฽วนในการกาํ หนดว฽าจะผลิตอะไร เทา฽ ใด 12. เปน็ ระบบทป่ี ระเทศส฽วนใหญ฽ใช฾ 13. เปน็ ระบบทีพ่ ัฒนามาจากลิทธิมารกแ ซิสตแ 14. รัฐเกบ็ ภาษีประชาชนในอัตราสงู เพ่ือจ฽ายเป็นสวสั ดกิ ารสังคม แตใ฽ หเ฾ สรภี าพในการบรโิ ภคเต็มที่ 15. เป็นระบบทกี่ ฽อให฾เกิดความแตกต฽างด฾านรายได฾มากท่สี ุด 16. เปน็ ระบบที่แก฾ปใญหาความแตกต฽างดา฾ น รายไดโ฾ ดยไม฽จาํ กัด เสรภี าพของบุคคล 17. เป็นระบบท่ีมีความแตกต฽างด฾านรายได฾น฾อยทีส่ ดุ 18. มีการใช฾ทรพั ยากรส้ินเปลืองมาก 19. มกี ารวางแผนจากสว฽ นกลาง 20. จํากดั กรรมสิทธิใ์ นทรพั ยแสินและปจใ จยั การผลติ บา฾ ง

ใบงานที่ 3 1) ให฾ศึกษาพฤติกรรมของมนุษยใแ นทางเศรษฐศาสตรแและตัดสนิ ว฽าเกย่ี วข฾องกับเศรษฐศาสตรแสาขาใด โดยกาเครื่องหมาย  ให฾ตรงชอ฽ งท่ถี ูกต฾อง พฤติกรรม เศรษฐศาสตรแ เศรษฐศาสตรแ 1. การปลอ฽ ยนํา้ เสยี ของโรงงานอุตสาหกรรมใน กทม. จุลภาค มหภาค 2. การวา฽ งงานของประชากรไทย 3. การผลิตข฾าวของชาวนาในภาคเหนือ 4. การซ้ือขายแลกเปลีย่ นสนิ ค฾าในตลาด 5. การเก็บภาษอี ากร 6. พฤติกรรมของผ฾ูบริโภค 7. ปญใ หาเงินเฟูอ 8. ปญใ หาทางการคลังของรัฐบาล 9. การกักตุนสินคา฾ ของพ฽อค฾าคนกลาง 10. รายได฾ประชาชาติ 11. ปใญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 12. ปญใ หาการส฽งออกลดลง 13. ปใญหาการจราจรตดิ ขดั ในกรุงเทพมหานคร 14. ความนยิ มในการใช฾สนิ ค฾าฟมุ เฟือยของเยาวชน 15. ปญใ หาการลงทนุ ในประเทศลดลง

ใบงานท่ี 4 กิจกรรมที่ 1 เร่อื ง ความสมั พนั ธแ์ ละผลกระทบทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศกบั ภูมิภาคตา่ งๆ ท่ัวโลก คาสั่ง เม่ือผู฾เรียนศึกษาเรื่องความสัมพันธแและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหว฽างประเทศภูมิภาคต฽างๆ ท่ัวโลก แลว฾ ตอบคําถามทกี่ าํ หนดให฾ เรือ่ งที่ 1 การคา฾ ระหว฽างประเทศ หมายถึง การซื้อขายแลกเปล่ียนสินค฾าและบริการระหว฽างประเทศหน่ึงกับ อีกประเทศหน่ึง อาจกระทําโดยรัฐบาลหรือเอกชนก็ได฾ ปใจจุบันประเทศต฽างๆ ส฽วนมากมักมีการติดต฽อซื้อ ขายกันเนื่องจากแต฽ละประเทศมีทรัพยากรธรรมชาติ สภาพของดินฟูาอากาศ และความชํานาญในการผลิต สินคา฾ แตกต฽างกัน สรปุ ไดว฾ า฽ ปใจจยั ท่กี อ฽ ใหเ฾ กิดการค฾าระหวา฽ งประเทศคือ 1. ความแตกต฽างในเร่ืองทัพยากรธรรมชาติ ได฾แก฽ พลังงาน แร฽ธาตุ ปุาไม฾ ความอุดมสมบูรณแของดินในแต฽ ละประเทศในโลกแตกต฽างกัน ประเทศที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณแ ย฽อมมีโอกาสสูงที่จะนําทรัพยากรมาผลิต เป็นสนิ คา฾ และบรกิ าร 2. ความแตกตา฽ งในด฾านลกั ษณะภูมปิ ระเทศและภูมิอากาศ จึงผลิตสินคา฾ ได฾แตกต฽างกนั 3. ความแตกต฽างในเรื่องความชํานาญการในการผลิต เพราะแต฽ละประเทศมีความก฾าวหน฾าทางเทคโนโลยี แตกต฽างกัน ประชากรของแต฽ละประเทศมีความร฾ู ความชํานาญแตกต฽างกัน เช฽น สวิตเซอรแแลนดแ มีความ ชํานาญในการผลิตนาฬกิ า เป็นต฾น ให้ผูเ้ รียนตอบคาถามต่อไปน้ี โดยเติมคาตอบลงในชอ่ งว่าง 1. การคา฾ ระหว฽างประเทศ หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การดําเนนิ กจิ กรรมในด฾านการค฾าระหว฽างประเทศสามารถดาํ เนินการโดย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. สาเหตุท่ีทาํ ให฾เกิดการคา฾ ระหวา฽ งประเทศ ได฾แก฽ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีผลติ ขา฾ วได฾มาก เนอ่ื งจาก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรื่องที่ 2 การท่ปี ระเทศใดจะผลติ สินคา฾ อะไรมากนอ฾ ยเท฽าใดน้ันข้นึ อย฽ูกับปจใ จยั และความเหมาะสมหลายๆ ประการดังกลา฽ วแลว฾ ไมม฽ ปี ระเทศใดสามารถผลติ สนิ คา฾ ที่ประชาชนตอ฾ งการไดห฾ มดทุกอยา฽ ง ประเทศต฽างๆ จงึ นําสนิ ค฾าของตนมาแลกเปลย่ี นกนั ดงั นั้น การคา฾ ระหวา฽ งประเทศจึงก฽อใหเ฾ กิดประโยชนแ ดังน้ี 1. สินค฾าใดที่ผลิตในประเทศเราไม฽ได฾เราสามารถที่จะซื้อสินค฾าจากประเทศอื่นได฾ ทําให฾มีสินค฾าสนองความ ต฾องการของเราไดม฾ ากขน้ึ 2. สินคา฾ ท่ีผลิตไดใ฾ นประเทศแต฽มตี น฾ ทนุ ในการผลิตสูง ประเทศเราควรเลือกผลิตสินค฾าท่ีมีต฾นทุนการผลิตต่ําแล฾ว ส฽งไปขายแลกเปลีย่ น เราจะได฾สินค฾าคณุ ภาพดีและราคาถกู กว฽าทจี่ ะผลติ เอง 3. ก฽อให฾เกิดความร฾ูความชํานาญในการผลิตเฉพาะอย฽างตามความถนัดทําให฾เกิดแรงจูงใจท่ีจะคิดค฾นเทคนิคการ ผลิตใหม฾ ีคณุ ภาพมากข้นึ 4. ช฽วยให฾ประเทศกําลังพัฒนาได฾แบบอย฽างการผลิตที่ทันสมัย สามารถนําทรัพยากรที่มีอย฽ูมาใช฾ในการผลิตเพ่ือ ส฽งออกมากขึน้ 5. ชว฽ ยให฾ประเทศกาํ ลงั พฒั นารูจ฾ ักใช฾เทคโนโลยจี ากประเทศท่ีพฒั นาแลว฾ มาพัฒนาประเทศให฾เจริญก฾าวหน฾าขน้ึ ใหผ้ ู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ โดยเตมิ คาตอบลงในช่องว่างตอ่ ไปน้ี 1. ในการผลิตสนิ ค฾า ถ฾าตน฾ ทุนในการผลิตในประเทศสูง ควรแก฾ปญใ หาโดย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประเทศกาํ ลงั พัฒนาได฾แบบอย฽างในการผลิตสินคา฾ จาก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การค฾าระหว฽างประเทศชว฽ ยให฾เศรษฐกิจขยายตวั เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดกจิ กรรม

มการเรยี นรู้คร้งั ท่ี 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook