Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HighAreaHighAreaNew-60

HighAreaHighAreaNew-60

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-26 06:46:28

Description: HighAreaHighAreaNew-60

Search

Read the Text Version

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้นื ที่สูงในอดตี และปัจจุบัน 223 กล่าวได้ว่า ถ้ามองแบบแยกส่วนระหว่างคนกับวัฒนธรรมชนเผ่า แต่ละชนเผ่า ก็จะมองเห็น คณุ ลักษณะชมุ ชนทม่ี ลี ักษณะเฉพาะในแตล่ ะพ้ืนท่ีการวเิ คราะหช์ ุมชน มุมมองแบบวฒั นธรรมข้ามคน - วัฒนธรรมมคี วามสาคญั มาก - ไปทางานภายนอก - ประเพณีต้องอนรุ กั ษ์ไว้ - มีความเข้มแข็งในการรักษา -ไม่ตอ้ นรบั วฒั นธรรมตา่ งๆ ประเพณี จากภายนอก - เคารพบรรพบุรุษและผู้อาวุโส - การพ่ึงพาตนเอง - เน้นการทางานในชมุ ชน - ใชช้ ีวิตามวิถีชีวิตด้ังเดิม - ฝกึ อาชีพในชมุ ชน ครบวงจร - ใสช่ ุดแต่งกายชนเผ่า - ทกุ คนเก้อื กูลกันในชุมชน แตล่ ะชนเผ่า มมุ มอง แบบวัฒนธรรมข้ามคน คือ สนใจใส่ใจความเป็นอยู่แบบเรียบง่ายไม่ต้องการฟุ้งเฟ้อ พออยู่พอกิน ในสภาพธรรมชาติ ในขณะท่ีคนต้องดิ้นรนมีการเรยี นรู้มีการปรับตัวและแยกตัวเองออกจาก วัฒนธรรม ห่างเหินและแยกชวี ติ ออกมาจากวฒั นธรรมมากข้ึน

224 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพ้นื ที่สูงในอดตี และปจั จุบนั มมุ มองแบบคนข้ามวฒั นธรรม - มีการแตง่ กายไม่เหมอื นเดมิ - อยู่กบั โลกปัจจบุ นั ตามความ (แบบเกา่ ) เปน็ จริง - มีการแตง่ กายแบบคนพ้นื ราบ - มชี วี ิตแบบวตั ถุนยิ มทนุ นยิ ม - ไม่เห็นคุณคา่ วัฒนธรรม - เป็นคนสขุ สบาย - ไม่ใส่ใจความเช่อื ทเ่ี คยทา ประเพณขี องชนเผ่า - นกั ทอ่ งเทยี่ วนาวัตถนุ ิยม - ต้อนรับคา่ นยิ มภายนอกเขา้ มา จากภายนอกเขา้ มา ในชุมชน - เยาวชนไมส่ นใจผู้อาวโุ ส - มสี ไตล์ชีวิตคนแบบพืน้ ราบ - สภาพสงั คมมสี ่งิ ราคาญในชมุ ชน - ใหเ้ ชา่ ชดุ ชนเผ่าเป็นสินคา้ หารายได้ - มีบุคคลผิดเพศมากขึน้ เพศสภาพ - มีเทคโนโลยีในชุมชนทาธรุ กิจ เปลี่ยนไป ค้าขาย - ใชเ้ งนิ เปน็ ศนู ยก์ ลาง การดาเนนิ ชีวิต แผนภาพ 4.11 : มมุ มองแบบวัฒนธรรมข้ามคน และมมุ มองแบบคนข้ามวัฒนธรรม มุมมองแบบคนข้ามวัฒนธรรม คือ คนไม่ใส่ใจความเป็นชนเผ่า ค่านิยม ประเพณีด้ังเดิม ลดลง นิยมมุมมองแบบคนข้ามวัฒนธรรม คือ คนไม่ใส่ใจความเป็นชนเผ่า ค่านิยม ประเพณีดั้งเดิมลดลง นิยมความเป็นคนพื้นราบ รับและทาตามคนภายนอก ห่างเหินและห่างไกลชุมชน ไม่สนใจส่ิงดีที่มีอยู่เดิม รับรู้ มองเหน็ แต่มองข้ามไป เปน็ มมุ มอง แบบคนข้ามวฒั นธรรม แต่โดยทางการศึกษาเรียนรู้และการวิจัยชุมชนชาติพันธุ์ที่ดีควรได้มีวิธีคิดเชิงองค์รวม ของการมองการเรียนรู้ในทุกด้าน วัฒนธรรมประเพณี ศิลปหัตถกรรม ความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิต ดา้ นอ่นื ๆ ทจี่ ะทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจได้ว่า 1. สิง่ ดเี ก่าๆ ทตี่ อ้ งรักษาไว.้ .. 2. สิ่งดีใหม่ๆ ทคี่ วรรบั เข้ามา.. 3. ปญั หาเกา่ ๆ ที่ต้องแก้ไข 4. ปญั หาใหม่ๆ ท่ตี ้องปอ้ งกัน

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทส่ี งู ในอดตี และปัจจบุ ัน 225 การมีมมุ มองอย่างถูกต้อง มองอยา่ งรอบคอบรอบดา้ นจะทาให้ ชดุ ของความคดิ ในการ จดั การชมุ ชนพฒั นาชมุ ชนและแกไ้ ขปญั หาชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตาม แผนภาพ แผนภาพ 4.12 : ชุดของการมองชมุ ชนในการศึกษาเรียนรู้คนและวัฒนธรรมราษฎรบนพื้นทีส่ งู

226 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ทีส่ ูงในอดตี และปจั จุบัน 7) จุดยืนของศนู ยพ์ ฒั นาราษฎรบนพนื้ ที่สูง (ภาพรวม) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับ จุดยืนของความเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูง เพ่ือความชัดเจนในการทางาน เพ่ือความโดดเด่นในการปฏิบัติหน้าท่ี และเพื่อความสง่างาม ของความเป็นหน่วยงานท่ีพร้อมเก้ือกูลสังคม ดูแลชุมชนพ่ีน้องชาติพันธุ์ทุกชนเผ่า การแสดงจุดยืนที่ชัดเจนก็จะนามาซ่ึงการสร้างความพร้อมการพัฒนาตนเองให้เข้มแข็งก่อนผู้อ่ืน และให้ เข้มแข็งตาม ส่วนหน่ึงคือ การแสวงหาจุดแข็งของตัวเองความสามารถของเราว่าจะทาอะไรให้กับชุมชน ได้บ้าง เพราะส่ิงนี้จะทาให้ศูนย์เรามีความพร้อม มีคนทาได้ไหม มีงบประมาณสนับสนุนหรือไม่แสวงหา กฎระเบียบท่ีมีอยู่ให้ทาได้ อย่างถูกต้องหรือไม่อย่างไร ด้านการเกษตร ด้านสาธารณสุขเป็นภารกิจโดยตรง ของเราหรือไม่ หรือภารกิจหลัก คือการสร้างกระบวนการพัฒนาสังคม ก่ึงการจัดระบบสวัสดิการสังคม ดังนั้นจึงเกิด ศูนย์สง่ เสริมการจดั การสวัสดิการสังคมบนพื้นที่สูง (ศสส.) เจ้าหน้าที่น้อยลง จึงใช้กลไก รูปแบบบูรณาการ กับพื้นที่ แกนนาชุมชนเป็นคณะกรรมการโครงการ ศสส. โดยศูนย์ฯ เป็นผู้ประสาน ผู้นาพา ใช้รูปแบบ คณะกรรมการ กจิ กรรม ในโครงการ ศสส.ยึดแบบสวัสดิการ 7 ดา้ นมาจบั เช่น - การศึกษา - สุขภาพ - บรกิ ารทางสังคม (พพิ ิธภณั ฑ์ศนู ย์การเรยี นรู้) - ที่อยู่อาศยั มัน่ คง สะอาด ใหค้ นอยกู่ บั ป่า - มีงานทา รายได้ เชน่ การทอ่ งเที่ยว หตั ถกรรม - นนั ทนาการ สร้างมูลค่าเพิ่ม การแสดง - กระบวนการยุตธิ รรมในชุมชน ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์เสนอความคิดเห็นท่ีหลากหลาย ดังน้ี “ช่วยผู้มี รายได้น้อย เช่นช่วยผ้าห่ม ช่วยผู้ด้อยโอกาส ช่วยผู้ตกอยู่ในสภาพลาบาก เร่ืองการให้สัญชาติเดิมศูนย์ฯ เซ็นรับรองได้ ปัจจุบันต้องให้มหาดไทยรับรองเท่านั้น ปัจจุบัน ฟ้ืนการกลับมาใช้บัตรสีชมพู ซึ่งศูนย์ฯ ช่วยด้านการประสานงาน ปัจจุบันผู้ที่ไม่มีสัญชาติ มีไม่ถึง 1,000 คน แต่ส่วนใหญ่ เป็นประเภทที่จะไป ประเทศที่ 3 บุคคลที่ไม่มีสัญชาตินี้ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องเจ็บป่วย ช่วยเหลือไม่ได้ เพราะไม่มีบัตรแต่ศูนย์ฯ ได้ช่วยให้การด้านสวัสดิการ แนวทางการพัฒนาชุมชนบนพื้นท่ีสูงเน้นเร่ืองการพึ่งตนเองได้อยู่กับป่า ให้ได้ มีเอกสารสิทธ์ิ มีที่ทากินถูกต้อง ที่ปางปูเลาะ มีป่าเม่ียง ซึ่งศูนย์รวมกับป่าไม้ แบ่งท่ีทากิน ท่ีป่าสงวนให้มีการทาพกิ ัด รงั วดั ทาแผนที่เดินดินแตล่ ะบา้ นแต่ละล็อค นา่ จะอยู่ไดอ้ ยา่ งมัน่ คง “ด้านท่ีอยู่ อาศัยได้ให้ความช่วยเหลอื หรือสนับสนนุ งบประมาณในการซอ่ มแซมบ้านให้กับคนทีไ่ มม่ ีรายได้หรือรายได้ นอ้ ย ดา้ นการพัฒนาหมู่บ้าน มีการพัฒนาท่ที าไดจ้ ริง” ตอ้ งการให้ศนู ย์ฯ จัดกิจกรรมสร้างความสามคั คีใน ชุมชน ส่งเสริมในเร่ืองของการฝึกอาชีพต่างๆ เพ่ือให้ราษฎรสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ทาให้มีอาชีพและมรี ายไดเ้ พ่มิ มากข้ึน นอกเหนือจากการปลกู พืช รวมทงั้ ต้องการใหศ้ นู ย์ฯ ฝึกอบรมการแปรรูป ผลิตภณั ฑง์ านฝมี ือประจาชนเผา่ กระเป๋าจักสาน สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือ ตลอดจนหาตลาดให้อย่างตอ่ เนอื่ ง ส่งเสริมด้านอาชีพ การมีงานทาและรายได้ อาชีพเสริม การทาไม้กวาด ส่งเสริมเมล็ดพันธุ์พืชต่างๆ ท่ีใช้ใน การเพาะปลูก ไว้บริโภคในครัวเรือน ส่งเสริมการเพาะปลูกตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เช่นกล้าไม้ผล ต้นมะขาม เป็นต้น ทง้ั น้ีควรมุ่งมนั่ การมกี ารทางานอย่างต่อเนือ่ ง ท้ังการส่งเสริมอาชีพและรายได้ การพฒั นาดา้ น

การวิจัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นทส่ี งู ในอดตี และปจั จุบนั 227 การศกึ ษา การดูงานพื้นที่สูงต่างจังหวัด : ศึกษาแลกเปล่ียนเรียนร้จู ากหน่วยงานหรือชุมชนอื่น ใหค้ วามรู้ นโยบายด้านกฎหมาย ให้ความรู้ด้านการจัดการชุมชน ให้ทุนการศึกษา ให้ทุนการประกอบอาชีพ ให้การ สงเคราะห์ช่วยเหลือ เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปรับการรักษาพยาบาล อบรมเรื่องสุขอนามัย ส่งเสริม สุขอนามัยในชุมชน การรักษาพยาบาล อบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นการใช้ยาสามัญประจาบ้าน สมุนไพร อบรมการใช้สมุนไพร สรรพคุณสมุนไพร นโยบายการส่งเสริมสุขภาพอนามัย มีการอบรม ให้ความรู้พาไปดูงาน ส่งเสริมการรักษาวัฒนธรรม ส่งเสริมส่ิงแวดล้อมโดยการปลูกต้นไม้ ให้ความรู้ ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการอนุรักษ์ คนอยู่กับป่าได้อย่างสมดุล มีงบประมาณสนับสนุน กิจกรรมอย่างต่อเน่ืองเป็นระบบ ท้ังนี้ ควรดาเนินโครงการในรูปแบบประชารัฐ ท่ีเน้นชุมชน เน้นราษฎร บนพ้ืนท่ีสูง เน้นหลักในการดาเนินงาน และหน่วยงานภาครัฐเป็นคนหนุนเสริม เติมเต็มและประสาน เช่อื มโยง 8) การจัดการระบบสวัสดิการสังคมพื้นบ้านและสวัสดิการสังคมรูปแบบใหม่ ของชุมชนบนพืน้ ทสี่ งู ชุดระบบสวัสดิการสังคมพ้ืนบ้านและสวัสดิการสังคมรูปแบบใหม่ของชุมชนราษฎร บนพ้ืนท่ีสูง ท่ีประชุมทุกพื้นที่วิจัยให้ตาตอบว่า ควรจัดการคู่ขนานหรือจัดระบบสวัสดิการเชิงบูรณาการ แบบผสมผสานควบคู่กันไป อาจจาแนกกลุ่มได้ไม่ชัดเจน ควรมีหลักคิดหลักการและเป้าหมายการมี สวัสดิการแบบผสมผสานให้เกิดผลดีมีผลลัพธ์ต่อชาวบ้านชุมชนและสังคมราษฎรบนพื้นที่สูงอย่างเป็นธรรม มคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพอยา่ งแท้จรงิ เช่น 1. ระบบสวสั ดิการการส่งเสรมิ อาชีพการเกษตรชุมชนอย่างยง่ั ยนื (ครบถ้วนทง้ั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ) 2. สวัสดิการกองทุนฌาปนกิจแบบพอเพียง (เน้นการมีส่วนร่วมรับผิดชอบชีวิตทุกคน ร่วมกัน) 3. สวัสดิการกองทุนคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส ทุกกลุ่มเป้าหมาย (ท้ังชุมชน มีส่วนร่วม พฒั นาสวสั ดิการชุมชน) 4. สวัสดิการชุมชนส่งเสริมทุนการศึกษา บุตร-หลาน สู่ความเป็นบัณฑิต (ให้ บุตร –หลาน มแี หล่งทนุ สนบั สนุนการศกึ ษา ที่สะดวกและเพยี งพอตอ่ การเรียนรู้จนจบปริญญาตรี) 5. สวัสดิการกองทุนออมทรัพย์เพื่อพึงพากันในชุมชน (ส่งเสริมการออมสนับสนุนการ พึง่ พากันในกองทนุ ของทุกคนในชุมชน 6. จัดตัง้ กองทนุ ประชารัฐ-สวัสดิการส่งเสริมศักยภาพชมุ ชนให้พึ่งตนเองได้ โดยการ - ดแู ลผู้สงู วัยให้มคี ุณค่า - ดูแลอาชีพเกษตรครบวงจร - ดแู ลเยาวชนให้เปน็ คนดี - ดแู ลสงั คมประเพณใี ห้มคี วามหมาย

228 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ทีส่ งู ในอดีตและปจั จุบัน 7. สวัสดิการกองทุนสนับสนุนหัตถกรรมพ้ืนบ้านสู่ตลาดโลก (ให้มีผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญา พื้นบา้ นทมี่ คี ุณค่าและมูลค่าต่อชมุ ชนชาติพันธ์ุ) 8. สวัสดิการกองทุนสนับสนุนสุขภาพคนในชุมชนเชิงองค์รวม (มีกองทุนให้คนดูแล สขุ ภาพเชงิ ป้องกนั และส่งเสรมิ สขุ ภาพก่อนรักษาอาการป่วย) 9. สวัสดิการกองทุนเก้ือหนุนหมู่บ้าน ด้วย โมเดล ศสส.ศพพ. (จัดสรรงบประมาณ เกื้อกูลผู้ยากไร้ โดยไม่ยึดตดิ กบั สญั ชาติ) สรุปได้ว่าชุมชนราษฎรบนพื้นท่ีสูงควรได้รับการเก้ือกูลจากทุกภาคส่วนในสังคมแบบมีส่วนร่วม ทั้งจากการพัฒนาศักยภาพตามแนวทางของชาวชุมชนและการสนับสนุนจากภาครัฐเครือข่ายการพัฒนา สังคมทุกภาคส่วนอนั จะนามาซ่ึงบคุ คลชุมชนและสงั คมชาติพันธุ์เขม้ แขง็ อยา่ งย่ังยืนตามแผนภาพ แผนภาพ 4.13 : ระบบสวสั ดกิ ารสงั คมในชุมชนแบบผสมผสาน (พน้ื บา้ นและสมัยใหม่) เข้มแข็งอยา่ งย่ังยนื

การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพื้นทสี่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั 229 9) ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงราษฎรบนพื้นทสี่ งู ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มย่อยกับผู้ให้ข้อมูลสาคัญทุกพ้ืนท่ีการวิจัยได้ สรปุ ที่น่าสนใจมาก จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องมีการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้แล้ว มีการศึกษา ดงู านใหเ้ ห็นภาพจริงจนเกดิ ทัศนคติท่ีดี และมีการลงมือปฏิบตั จิ ริงจะได้สัมผัสกับความรคู้ วามเข้าใจท่ีมอี ยู่ ผา่ นการลงมือทาใหเ้ ข้าใจพยายามทาใหส้ าเร็จเปน็ ลาดบั ขัน้ ตอน ชดั เจน ดงั นี้ ชาวบา้ นราษฎรบนพื้นท่สี งู แผนภาพ 4.14 : ระบบการนาหลักเศรษฐกิจพอเพยี งมาเรียนรูส้ ่กู ารปฏบิ ัติจรงิ เศรษฐกิจพอเพียง มีสาระสาคัญ คือต้องการแบบไม่เดือนร้อน มีหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. มีเหตุผล 2. ภูมิคุ้มกัน 3. พอเพียง 4. ความรู้ 5. มีคุณธรรม หลักคิดนี้สามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชีพ การทากินได้อย่างเหมาะสม เข้าใจส่ิงที่พอมี มีที่น้อย จัดสรรที่ ใช้หลักนี้ในการ ดาเนินชวี ิต ปลูกผักท่ีกิน ซื้อเสรมิ บ้าง ศูนย์ฯ มีโครงการส่งเสริมหมูหลุม ให้นักเรียนฝึกเลี้ยง ทาเป็นกลุ่ม ปลูกผัก ปลูกกล้วยให้คนกิน ให้หมูกิน เม่ือหมูเกิดลูก แบ่งสมาชิกเลี้ยงปลา เลี้ยงกบ เล้ียงไก่ บนดอย เลีย้ งปลาในบ่อดิน เลี้ยงกบในบ่อดิน คนในชุมชนสนใจและต้องการขยายการเลย้ี งสัตว์เพมิ่ ขึ้น ได้ไปดูงาน ที่เวียงป่าเป้า และกลับมาทบทวนบทเรียนประชุมต้ังคณะกรรมการในหมู่บ้าน เสนอรูปแบบกิจกรรม ให้คาแนะนาเร่ือง การกิน การใช้หลักเศรษฐกิจ สภาพพื้นที่บางหมู่บ้านอาจไม่อานวย เนื่องจากไม่มีแหล่งน้า

230 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้ืนทส่ี ูงในอดตี และปัจจุบัน จึงเลี้ยงหมู ไก่แทน การปลูกพืช กรณีพ่ีน้องม้งยากจนจะทาอย่างไรให้หารายได้ กู้ยืมหน้ีสินมา ทาไป ซื้อไป ปัจจุบันท่ีอยู่พออยู่ได้แต่ละครอบครัวมีส่ิงอานวยความสะดวกมากมายทาให้เป็นหนี้ ในหมู่บ้านทุกคน เป็นหนี้กันหมด มีเครดิต รู้จักบริบทของชุมชน เข้าใจปัญหา เน้นการเป็นผู้นา สร้างทัศนคติ สามารถพัฒนา พ้ืนที่ของตนได้ รู้ปัญหา มีสวนร่วมยอมรับ เข้าใจในบริบทของพ้ืนท่ีเกิดการเรียนรู้ คุณภาพชีวิต สู่ความสาเร็จ เหน็ ความสาคญั เห็นตวั อยา่ ง นาแบบความสาเร็จ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชน ศาสตร์ของ การทางานของพระราชา มาเปน็ ตัวอยา่ งในการดาเนินชีวิต อยไู่ ด้โดยปลูกข้าวกินเองไมไ่ ด้ซือ้ มียุ้งฉางเก็บ ข้าวในชุมชน มขี ้าวกินตลอดปี พง่ึ ตนเองได้ ปลกู ผัก เลย้ี งสตั ว์ ชว่ ยเหลอื ตนเอง ลุงทองเพียน ริมโขลง จากแม่ฮ่องสอน กล่าวสรุปว่าการทาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ต้องเรียน รู้ ดู ทา มีคนทาให้ดูแล้วทาให้ดี ทาให้จริง ทาให้สาเร็จ ไม่โลภ ไม่รวย ไม่ทุกข์ขณะทา ทาแล้วได้เรียนรู้ มีผลผลิต มีกิน มีแจก มีขาย ในชุมชน แบบแลกเปล่ียน แบบแบ่งปัน มีความเก้ือกูลกัน พ่ึงพากนั ไมเ่ อาเปรียบใคร ไม่เอาเปรยี บกัน ทาแลว้ มคี วามสุขทกุ ครัวเรือน (ทองเพียน รมิ โขลง 14 ก.ค.60) 10) กระบวนการศึกษาวัฒนธรรมพ้ืนบ้านของราษฎรบนพ้ืนที่สูง แบบหยุดนิ่ง (Static) และแบบพลวตั ร (Dynamic) ราษฎรบนพ้ืนที่สูงมีความเข้าใจท่ีว่าอะไรคือสิ่งดีดีในชุมชนที่ควรคงไว้ในหมู่บ้าน อะไรคือส่ิงท่ีต้องพัฒนาปรับปรุงชีวิตให้ทันสมัย ทันเหตุการณ์มีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีมากยิ่งขน้ึ ไม่ยึดติดกับส่ิง เดิมๆ ไปทุกเรื่อง โดยไม่มีการพัฒนา การศึกษาชุดความรู้ เชิงวัฒนธรรมพ้ืนบ้านซึ่งสื่อความหมาย ท้ังศิลปะ หัตถกรรม ประเพณี ความเชื่อ และวิถีชีวิตต่างๆ ในความเป็นชนเผ่าสมัยใหม่และถูกเรียกชื่อ ใหม่ โดยรวมว่าเป็น “ ราษฎรบนพ้ืนที่สูง”จึงต้องมีการมองให้เห็นความเป็นวัฒนธรรมท่ีแท้จริงทั้งใน สถานการณห์ ยุดน่งิ (Static) และมองดูสภาวะการเคลื่อนไหว (Dynamic) ดังตอ่ ไปนี้ การศึกษาวัฒนธรรมในสภาวะหยุดนิ่ง ด้านศาสนาบางพ้ืนที่ มีทาบุญใส่บาตรทุกวันพระ มีการเข้าวัด ไปวัดเหมือนเดิม ทาบุญผีเช้ือข้าวอยู่เช่นเดิม ทอดกฐินมีการเปลี่ยนแปลงไป ต้นกฐินลดความสูง ลง เพราะสายไฟต่า แต่ก็มีประเพณีน้ีไปเร่ือยๆ อยากให้ประเพณีน้ีเป็นเหมือนเดิม เปล่ียนผ้า ครูบาเหมือนเดิมทุกปี วันพระใส่บาตรรพระ เหมือนเดิมทุกปี อยากให้มีแบบน้ีไปเร่ือยๆ ถือศีลกินเจ ในหมู่บา้ น (ช่วง 3 เดือน เข้าพรรษา) ถือศลี กนิ เจ เขา้ วัดปฏิบัตธิ รรม การเข้าวัดทาบุญประจาไมเ่ น้นเรื่อง การปฏิบัติแต่ปัจจุบันมีการปฏิบัติธรรมในวัดมากขึ้น การเข้าวัดปฏิบัติธรรมทุกคร้ังจะแต่งชุดชนเผ่า ท่ีมีสีสัน คนภายนอกต้องแต่งกายสุภาพ มีประเพณีสืบชะตา คนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันแรกเยอะ วันท่ี 2 คนจะน้อยลง ต้องการให้วัฒนธรรม ภาษาพูด ภาษาเขียน ดารงอยู่ต่อไป มีการกินโดยใช้มือ มีกีฬาแบบด้ังเดิม มีวัฒนธรรมประเพณี มีการรดน้าดาหัวผู้เฒ่าผู้แก่ ไม่จาเป็นต้องรับวัฒนธรรมภายนอก เช่น พิธีแต่งงาน เจ้าสาวใส่ชุดขาว เมื่อตกลงแต่งกันแล้ว ไม่มีสินสอดทองหมั้น กาหนดวันแต่ง พิธีกรรมในวันแต่ง ต้องเตรียมชุดแม่บ้าน เตรียมของผู้ชายมาด้วย (ฝ่ายเจ้าสาวเตรียมให้) มีน้าส้มป่อยรดให้เจ้าบ่าว กราบล้างเท้า และเอาผมถูเท้าเจ้าบ่าว มีการผูกข้อมือ คู่บ่าว-สาว กินข้าวด้วยกัน ผู้หญิง ม้วนบุหรี่ให้เจ้าบ่าว ต่อหน้าแขก ที่มาร่วมงาน วัฒนธรรมหลักๆ จะไม่มีการเปล่ียนแปลง ปฏิบัติเหมือนเดิม เช่น การเปล่ียนผ้าครูบา การทาบุญข้าวใหม่ สิ่งท่ีไม่ควรนามาปฏิบัติ ค่านิยมการแต่งงาน ค่านิยมการรักษาโดยหาหมอพ้ืนบ้าน

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้นื ที่สงู ในอดตี และปจั จบุ นั 231 ควรรักษาควบคู่กับการรักษาหมอแผนปัจจุบัน ควรหยุดเรื่องวัฒนธรรมการแต่งงานเร็ว เพื่อโอกาส ดา้ นการศึกษาและการมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี การทามาหากิน อดีตเร่รอนหากินในป่า เมื่อป่าถูกทาลายลง ก็ต้องปรับไปตามกาลเวลา เช่น ไม่มีทางเลือกจากการหาอาหารในป่า ก็ไปรับจ้าง แต่ก็ยังคงถูกกดข่ีจากนายจ้างอดีตมีการล่าสัตว์ ปัจจุบันไม่ค่อยมีสัตว์ให้ล่า อยู่กินใช้ชีวิตลาบาก การใช้ชีวิตประจาวันยังคงเดิมยังหาของป่าเพื่อบริโภค ยงั มวี ถิ ีชีวิตทีเ่ หมอื นเดิม ทาเคร่ืองมือทามาหากนิ เอง จากเหล็ก จากไม้ วัยรุ่นเร่ิมไมค่ ่อยสนใจสืบสานวัฒนธรรมเดิมไปสนใจวฒั นธรรมใหมๆ่ เข้ามาทางสื่อประเภทต่างๆ หรืออาจมีคนพ้ืนที่ราบเข้ามาถ่ายทอดวัฒนธรรมใหม่ๆแปลกๆ ให้ลูกหลานได้สืบทอดต่อ เช่น ประเพณีปีใหม่ม้ง ท่สี ืบทอดมาจนถึงทุกวนั นี้ การฆา่ หมูดาและแบง่ ปนั ให้คนในชมุ ชน การเกษตร ทาไร่ ทานาไม่มียาฆ่าหญา้ ใช้ จอบขุด (ถอนหญ้า) และตัดต้นไม้ทาลายป่า เพ่ือเปล่ียนการทาเกษตร เนื่องจากทา การเกษตรมานาน หลายปี ทาให้ดินเสื่อม ประเพณีลงแขก ประเพณีการเล่นลูกข่าง ยิงธนู การเป่าแคน อนรุ ักษ์ภาษา การศึกษาวัฒนธรรมในสภาพเคล่ือนไหว พัฒนาวัฒนธรรมการใช้ชีวิตแบบเดิมที่เคยมี ท้ังวฒั นธรรม วิถีชีวติ ภาษาพูด ภาษาเขยี น ประเพณีสงกรานต์ วัฒนธรรมเปล่ียนแปลง เช่น การแต่งกาย ประยุกต์ให้ทันสมัย เส้ือกะเหรี่ยง แบบเท่ห์ๆสั้นๆเส้ือเป็นเอวลอย ดัดแปลง แหวกหน้า แหวกข้าง แหวกหลัง การทานอาหารมีการใช้ช้อน พัฒนาตามสังคมสมยั ใหม่ในทางท่ีดอี าจพัฒนาได้ เดก็ อาจจะเปล่ยี นแปลงไป เล่นกีตาร์ วิถีชีวิตเริ่มเปลี่ยนหลังจากเทคโนโลยีต่างๆเข้าถึงชุมชน ไม่ต้องไปตัดไม้ทาลายป่า เพื่อเปล่ียน พ้ืนท่ีทากิน ด้านอาชีพ มีการพัฒนาไปเรื่อยๆให้สามารถมีกินมีใช้ ไม่อดอยาก ล่าสัตว์ อาชีพ ผสมผสาน มีรายได้ มีงานทา : ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ มีการพัฒนาด้านทักษะอาชีพ มีการนาประเพณี ข้างนอกเข้ามาประยุกต์เข้ากับวัฒนธรรมเดิม มีการร้องเพลง เล่นกีต้าร์ เล่นโยนผ้า ร้องเพลงม้งเกี่ยวกับ หนุ่มสาว มีการปรบั เปล่ียนไปตามสภาพสังคมให้ทันสังคมในปัจจุบัน ด้านการศึกษา เช่น ชาวตองเหลือง ได้รบั การศกึ ษา และสง่ เสริมใหล้ ูกหลานเรียนหนงั สอื ทกุ คน กล่าวได้ว่าการสร้างกรอบการมองเห็น เพ่ือการศึกษาการทาความเข้าใจวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน ของราษฎรบนพื้นที่สูงทุกชนเผ่า จะทาให้เข้าใจได้ว่าวัฒนธรรมท่ีมีภาวะหยุดน่ิง คือชุดของความเชื่อ ในสังคมชนเผ่าจนกลายเป็นวิถีชีวิต เป็นประเพณีอันดีงามที่มีความเข้มแข็ง ซึมซับอยู่ในความคิดของคนทุกวัย สามารถมองเห็นได้ในรูปแบบของวัฒนธรรมที่หยุดน่ิงอย่างมีเสถียรภาพ ไม่ใช่การหยุดน่ิงแบบไม่มีความเข้มแข็ง เพียงรอรับการสูญหายไปอย่างนั้น และ Staticculture เป็นวัฒนธรรมความเป็นชนเผ่าท่ีบ่งบอก อัตลักษณ์ความโดดเด่นความชัดเจนในวิถีชีวิตของตนเอง ซึ่งสามารถวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูล เป็นแผนภาพ ไดด้ งั น้ี

232 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ทสี่ งู ในอดีตและปัจจุบนั แผนภาพ 4.15 : ระบบความร้กู ารศกึ ษาวฒั นธรรมชมุ ชนแบบองคร์ วม

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพื้นทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั 233 11) การส่งเสริมและพฒั นาสวัสดกิ ารทางสงั คมในชมุ ชนราษฎรบนพน้ื ทีส่ ูง จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล ได้กล่าวถึงเรื่องการส่งเสริมและการพัฒนาสวัสดิการทางสังคม ในชุมชนราษฎรบนพื้นท่ีสูง ดังนี้ “ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงให้ สวัสดิการ ส่งเสริมสวัสดิการให้ดีข้ึน และต่อเน่ือง ปัจจุบันจัดสวัสดิการเร่ืองอาชีพรายได้ทางตรงและทางอ้อม มีการจัดสวัสดิการโดยผ่าน กองทุนให้กับสมาชิก ให้มีสวัสดิการรายได้ขยายกลุ่มอาชีพที่หลากหลาย ให้มีการจัดสวัสดิการ ด้านการศึกษาให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการให้ครอบคลุมท้ัง 7 ด้าน ต้องการสวัสดิการด้านอาชีพ เก่ียวกับผ้าชาวเขา คนในชุมชนดูและผู้ด้อยโอกาสให้มากขึ้น (คณะกรรมการดูแลผู้ด้อยโอกาส) ส่งเสริม ด้านอนามัย ส่งเสริมด้านอาชีพ นาวัตถุเข้ามาส่งเสริมให้มากขึ้น กลุ่มทอผ้า ตีเหล็ก เคร่ืองเงิน จักสาน เป็นประธานกลุ่มแปรรูปผ้า ปัจจุบันจัดสวัสดิการเรื่องอาชีพ รายได้ทางตรงทางอ้อม จานวน 10 คน และจัดสวัสดิการโดยผ่านกองทุน ให้กับสมาชิกจานวน 20 คน มีการอบรมให้ความรู้เร่ืองอาชีพ สร้างรายได้ เพ่ิมความหลากหลาย เพม่ิ การชว่ ยเหลือเรื่องการฝึกอาชีพศนู ย์พัฒนาราษฎรบนพน้ื ทส่ี งู ควรเพ่ิมโรงเพาะ เห็ด เพ่ือให้ชาวบ้านมาศึกษาและนาความรู้ไปใช้ในครัวเรือน ควรมีคณะกรรมการดาเนินงานโดยมี หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละด้านเข้ามาสนับสนุน งบประมาณโดยมองกลุ่มเป้าหมายเป็นคนเดียวกัน ติดตามผลการทางาน เพิ่มการช่วยเรื่องเงิน เจ็บไข้ได้ป่วย มีเงินสารองสวัสดิการ ต้องการให้ศูนย์ ฯ ส่งเสรมิ จุดบริการนักท่องเทีย่ ว มีการจัดสวัสดิการด้านอาชีพเก่ียวกับผ้าชาวเขา อยากเห็นการพัฒนาท่ีไม่ หยุดนิ่งในเร่ืองของ ศูนย์การเรียนรู้และศูนย์หัตถกรรม ต้องการให้ศูนย์ฯส่งเสริมร้านค้าผลิตภัณฑ์ผ้าทอ และเครื่องเงิน ทาให้ทุกคนสามารถนาผ้าทอและเคร่ืองเงินมาขายได้ ไม่เน้นเฉพาะแค่กลุ่มอาชีพ ควรจัดแสดง วิถีวัฒนธรรมของชาวกะเหร่ียงควรจัดให้ครอบคลุมในทุกกิจกรรม เพ่ือให้เด็กรุ่นหลังได้เรียนรู้ ปัจจุบันมีน้อย ปัจจุบันก็ดีแล้ว แต่ยังไม่ครอบคลุมควรจัดแสดงให้ละเอียดมากกว่าเดิม ถ้ามีภาพวาดประกอบด้วยจะดี ส่งเสริมด้านการใช้ชีวิต อยู่บ้านใช้แบบพอเพียง ให้อาชีพ ให้ความรู้เพิ่มทักษะมากข้ึน ใช้เงินกองทุน ไปดูแลผู้ด้อยโอกาส ที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ มีกองทุนฌาปนกิจ ครอบครัวละ 20 บาทมีกลุ่มแม่บ้าน ช่วยทาอาหารมีอุปกรณ์เก่ียวกับการจัดงาน เช่นโต๊ะ เก้าอี้ เป็นกองกลางหมู่บ้าน อนาคต กองทุน ผู้ด้อยโอกาส อยากให้ช่วยเหลือดูแลคนเพิ่มมากข้ึน มีการต้ังกองทุนผู้ด้อยโอกาส อยากให้มีการจัดกา ร สวัสดิการด้านการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส เอกสารสิทธิ์ ที่ทากินีน้อย อยากได้เอกสารสิทธิ์ที่ดินทากิน ที่อยู่ 70 % (สิทธ์ิทากิน) มียาเสพติดมากขึ้น ในหมบู่ า้ น ผเู้ สพส่วนใหญค่ อื เยาวชนและผูใ้ ช้แรงงาน ควรเพ่ิมโรงเพาะเห็ด เพ่ือให้ชาวบ้านได้มาศึกษาและนาความรู้ไปใช้ในครัวเรือน อยากให้พัฒนาอาชีพ ตรงตามความต้องการ ของตลาด ปรับเปลี่ยนรปู แบบสินค้าใช้วิทยากรจากภายนอก เพ่ือจะได้มีรายได้ คือให้เด็กที่เคยไปทางาน ในเมืองใหก้ ลบั มาบา้ นกลับมาแล้วมีรายได้ เพ่อื การดงึ เด็กกลบั มาในชุมชนสามารถให้ความรู้ ไดท้ ้ัง 7 ด้าน การศึกษา อาชีพ รายได้ กระบวนการยุติธรรม สุขภาพ นันทนาการ บริการทางสังคม ควรมี คณะกรรมการในแต่ละด้าน เข้าไปดาเนินการจัดการขับเคลื่อนการดาเนินงานโดยมีหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในแต่ละด้าน เข้ามาสนับสนุนงบประมาณโดยมองกลุ่มเป้าหมายเป็นคนเด่ียวกัน มีศูนย์เรียนรู้ไว้ ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีดังเดิม อยากให้ศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้กับคนชาวเขาอ่ืนๆ อยากให้พิพิธภัณฑ์ คงอยู่ตลอด ไม่เปล่ียนแปลง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาหาความรู้ อยากให้ศูนย์เรียนรู้มีเจ้าหน้าท่ี มาให้ความรู้ มีการประชาสัมพันธ์ อยากให้มีการปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม ร่มร่ืน และวางการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ภายในให้เป็นสัดส่วน อนาคตอยากให้ศูนย์นี้เป็นแหล่งเรียนรู้กับกลุ่มชาวเขาอ่ืนๆ ในพิพิธภัณฑ์ ขาดประเพณีวิถีชีวิติหลายๆ ด้าน เช่นประเพณีงานบุญ ประเพณีแต่งงาน ประเพณีเปล่ียนผ้าครูบา

234 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพน้ื ที่สงู ในอดีตและปจั จุบัน ควรมีการฉายภาพอธิบายให้นักท่องเท่ียวดู เป็นห้องฉายภาพเคลื่อนไหว เป็นสิ่งที่ดี ที่ทาให้คนรุ่นหลัง นกั ท่องเท่ียวได้มาเห็นจรงิ ได้รับรู้ คดิ ว่าอย่างไรดีที่จะคงอยู่อย่างยังยืน อยากให้มีคาแนะนา มีคนพาไปดู (เด็ก นักเรียน) ให้มีครู มีผู้สูงอายุอยู่ในพิพิธภัณฑ์ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ชุมชน ควรได้รับตามนโยบายเท่าเทียม กับคนพื้นท่ีราบ มีเขตหน่วยขยายสู่ชาวบ้าน/ชุมชน ขยายเป็นเครือข่ายญาติต้องต่อเน่ือง ด้านอาชีพและ รายได้เพ่ือคนอยู่ในชุมชนของตนเองอย่างมีความสุข ควรส่งเสริมอาชีพอย่างจริงจัง แบบเข้าใจ เข้าถึง ชุมชนอย่างแท้จริง ความม่ันคงในแหล่งประกอบอาชีพและที่อยู่อาศัย ส่งเสริมงานฝีมือของกลุ่มแม่บ้าน เน่ืองจากกลุ่มแม่บ้าน เมื่อผลิตสินค้าออกมาไม่มีตลาดในการส่งออก การมีกลุ่มภายในชุมชน การมีกองทุน เพื่อส่งเสริมรายได้ สวัสดิการทางสังคมยังมีน้อย ควรมีศูนย์พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ชัดเจน มากกว่านี้ การเข้าถึงในด้านสุขภาพ บัตรทองประกันสังคม การเข้าถึงในด้านของการรักษาสุขภาพเด็ก แรกเกิด ส่งเสริมการมีสัญชาติให้ครบถ้วน ปรับปรุงบ้านเรือนให้คงทนถาวร เจ้าหน้าที่ศูนย์เข้ามาฝั่งตัว ในพื้นท่ี ลงพ้ืนที่บ่อยๆ อยากให้เจ้าหน้าท่ีศูนย์ฯเข้ามาเย่ียมบ่อยๆ อยากให้คนพ้ืนที่เป็นผู้ช่วยหน่วยเขต อยากให้มีเจ้าหน้าท่ีศูนย์ฯมาประจาเขตหน่วยเพ่ือจะติดต่อสื่อสารกันง่ายข้ึน อยากให้อยู่ตลอดไป อยาก ให้มีเจ้าหน้าทปี่ ระจา จะไดร้ ับข่าวสาร มีเจ้าหน้าที่เขตประจาหน่วย สามารถติดตอ่ ขอความชว่ ยเหลอื ได้งา่ ย ทง้ั นี้ศูนย์ควรเป็นหน่วยกลางประสานงานกับหน่วยงานภายนอก ส่งเสริมอาชพี ที่ตอ้ งการ มีการฝกึ และให้ความรเู้ รือ่ ง การประกอบอาชีพ มีการพาไปศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอกเพื่อเรียนรู้และแลกเปล่ียนประสบการณ์ รวมทั้งจัดทาแปลงสาธิตตามปรัชาญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือเชื่อมปัญหา/ความต้องการของชุมชน กับหน่วยงานรัฐท่ีรับผิดชอบ จัดกิจกรรมให้เยาวชนอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้เด็กรุ่นใหม่มีการศึกษา มคี ณะกรรมการท่ีมีสว่ นร่วมกับ เผ่าม้ง ดาเนินกิจกรรมตามสวัสดิการสังคม 7 ดา้ น อยากให้ศูนย์ฯ เข้ามาดูแล เรื่องสวัสดิการ ส่งเสริมงบประมาณการสร้างพ้ืนท่ีเล่นกีฬา/อุปกรณ์ ออกกาลังกายเพื่อลดการม่ัวสุ่ม ของวัยร่นุ

การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพน้ื ท่ีสูงในอดตี และปัจจบุ นั 235 กล่าวได้ว่า ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงต้องการระบบสวัสดิการท่ีครอบคลุมคุณภาพชีวิตท้ังหมด ท้ังด้านสุขอนามัย อาชีพ รายได้ การบริหารการตลาดพืชเกษตร เศรษฐกิจตลอดจน กองทุนสวัสดิการ การศกึ ษาเล่าเรยี นบตุ ร – หลาน ซ่ึงโดยรวมแลว้ ชุดกองทุนสวสั ดกิ ารและการจดั การ 3 รปู แบบ คอื แผนภาพ 4.16 : ระบบความคิดในการจดั การสวัสดกิ ารสงั คมราษฎรบนพื้นท่ีสูง

236 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ทสี่ ูงในอดีตและปัจจุบัน บทสรุปแนวทางการจดั การสวสั ดิการสังคมในชุมชนราษฎรบนพ้ืนทสี่ ูง ลาดบั ระบบสวัสดกิ าร แนวทางการจัดการสวสั ดกิ ารสังคมในชุมชน เป็นการจัดการกองทนุ ใหห้ ุ้นสว่ นชวี ิต 3 ฝ่าย คอื ทอ้ งถนิ่ สวัสดิการกองทนุ เพื่อบุคคล ชุมชนและประชาชนรวมทุนกันปฏิบัตหิ ลกั จดั สวัสดกิ ารดแู ล 1. กองทนุ สาหรบั สุขภาพอนามยั การเจ็บป่วยท้ังกายและใจ เชิงองค์รวม 2. กองทุนสง่ เสริมอาชพี ในชมุ ชนครบ เป็นการรว่ มทนุ การจัดสวัสดกิ ารให้ความรฝู้ กึ ทักษะอาชีพ วงจร ในชุมชน เพือ่ การมงี านทา มีรายได้ มีตลาดรองรับดว้ ยชมุ ชน คณะกรรมการอาชีพและท้องถิน่ เปน็ การจัดร่วมกันของ สถาบันการศึกษาในชมุ ชนท้องถ่ิน กองทุนสง่ เสริมการศกึ ษา บตุ ร- หลาน และคณะกรรมการบรหิ ารกองทุน สนับสนนุ กจิ กรรมการศึกษา 3. ใหม้ ีงานทา/ปริญญาตรี ของ บตุ ร- หลานมงี านทาถา้ มีความประพฤติทด่ี ีส่งเสริม ให้เรยี นจนจบปริญญาตรี เป็นการร่วมกันสะสมเงินออมของทกุ คนที่รว่ มกจิ กรรมเพ่ือ 4. สวสั ดิการกองทนุ ดูแลคุณภาพชีวติ ทุก พัฒนาคุณภาพชวี ติ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการมชี ีวิตที่มา ชว่ งวยั จากชาวบา้ น ท้องถน่ิ และคณะกรรมการกองทนุ เปน็ การระดมทนุ ของระบบคณะกรรมการชมุ ชนทดี่ ูแลการ สวัสดกิ ารกองทุนสนับสนนุ การปลูกพชื จัดการ พชื เศรษฐกิจชมุ ชน อย่างถูกต้อง ประหยดั 5. เศรษฐกจิ ครบวงจร มีประสทิ ธภิ าพ ครบวงจรให้ได้ผลผลติ ดี และราคาดไี ม่มีสารพิษ ในชุมชน เปน็ การระดมทุน สร้างการมีสว่ นร่วมในระบบการออม 6. สวัสดิการกองทนุ สนับสนนุ ชวี ิตทด่ี ขี อง และสร้างทนุ ชีวติ ผู้สูงวัย ดา้ น ลกู - หลาน ให้ผู้สูงอายใุ นชุมชน ผูส้ ูงวยั ในชมุ ชน มีความสขุ และมีความหมาย สวสั ดิการกองทนุ เพ่ือชุมชน เปน็ การระดมทุนเป็นเงินออมจากประชาชนพ่นี ้องร่วมกิจกรรม กับคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนชมุ ชนและจากทอ้ งถ่นิ ร่วมใจ 7. สวสั ดกิ ารกองทนุ เงนิ ออมของชุมชน กันบริหารและพัฒนาให้คนและชุมชนมีความเข้มแข็งแบบ มสี ว่ นร่วม เป็นการระดมทรัพยากรทุกประเภทเพ่ือสรา้ งกลุ่มคน 8. สวสั ดกิ ารกองทนุ สนับสนนุ การพฒั นา และทรัพยากรบริหารการพฒั นาการแก้ปัญหาของชมุ ชน และสง่ เสริมเครือข่ายการพัฒนาชมุ ชน ด้วยคนในชมุ ชนเพ่ือคนในชมุ ชนทัง้ ในเชงิ รกุ -เชงิ รบั

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ที่สงู ในอดีตและปัจจบุ ัน 237 ลาดับ ระบบสวสั ดกิ าร แนวทางการจดั การสวัสดิการสังคมในชุมชน สวัส ดิ ก ารก อ งทุ น ส นั บ ส นุ น ก าร เป็นการระดมทุนจากผู้มีชีวิตและในนามคณะกรรมการบริหาร 9. พ่งึ ตนเองของชมุ ชน ชนเผ่าต่างๆ ได้ร่วมมีส่วนดูแลส่งเสริมพัฒนาชุมชนของตน ให้เข้มแข็ง มีการระดมทนุ ระดมทุนท่กี ารจัดการอยา่ งครบวงจร สวัสดิการกองทุนเพื่ อสนับสนุน ชาติพนั ธุ์ กองทุ นสนับสนุนการปฏิบัติตาม เป็นการระดมเงินทุนทรัพย์ของชุมชนในการเกื้อหนุนให้มีการ 10. วัฒนธรรมประเพณี ปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน เพ่ือประโยชน์ ของส่วนร่วมให้ทุกคนมีขวัญกาลังใจและมีความรัก ความ สามัคคี กองทนุ สนับสนุนกิจกรรมการถา่ ยทอด เป็นการจัดการให้มีเงินกองทุนรวมเพื่อได้มีงบประมาณ วัฒนธรรม ประเพณี การถ่ายทอด ต่อวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงาม การตีกรอบ 11. การถ่ายทอด ภูมิปัญญา ด้านศิลปะ หัตถกรรมจากชนเผ่า ให้ส่ิงดีที่มีอยู่ในชุมชน ได้ส่งเสริม ลูก – หลานให้ได้เรียนรู้ และเป็นผู้สบื ทอด ภมู ิปญั ญา/วฒั นธรรม กองทนุ สนับสนุนภมู ิปญั ญา เป็นการจดั การใหม้ เี งินทนุ และกิจกรรมการสนบั สนุนการเรียนรู้ การถ่ายทอดทั้งการจัดทาส่ือผสม เพ่ือรวบรวมบันทึก 12. และนาเสนอให้ผู้สนใจไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบัติ ในดา้ นภูมิปัญญา ในการเลือกแบบแผนความเช่ือด้ังเดิมท่ีดีต่อคน ชุมชน และชาตพิ นั ธุ์ กองทุนสนับสนุนสวัสดิการเชิงรุกใน เป็นการจัดสวัสดิการดูแลคุณภาพชีวิตคนพัฒนาศักยภาพ ชุมชนบนพ้ืนท่สี งู ชุมช น และส่งเสริมคุณ ค่าความเป็ น ช น เผ่าทุ กชน เผ่า 13. ทั้งสวัสดิการเชิงรุก การเข้ารู้พ้ืนที่ การรุกถึงเปาหมายการ พัฒนา การให้บริการเชิงรุกทุกกิจกรรมในชุมชน การมีบริการ เชิงรุกกับเครือข่ายภาคสังคม เพื่อการระดมทรัพยากรทุน ทางสังคมในชมุ ชน เก้ือกูลทุกสรรพส่งิ

238 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้นื ท่ีสงู ในอดตี และปจั จุบัน บทสรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์ กล่าวได้ว่าผู้ให้ข้อมูลผ่านกระบวนการสัมภาษณ์กลุ่มหรือสัมภาษณ์บุคคล ทั้ง 400 ท่าน ได้มีชุดความคิดที่ดีมีเหตุผลในการอภิปรายให้ข้อมูลอย่างมีคุณภาพซึ่งเป็นกลุ่มตัวแทนจากประชากร ในพื้นที่เป้าหมายการวิจัย ทั้ง 16 ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง 20 จังหวัด เช่น เป็นนักพัฒนาสังคม เป็นพ่อบ้านชาวเขา เป็นผู้นาตามธรรมคติ เป็นผู้นาเยาวชน เป็นพ่อหลวงหรือผู้ใหญ่บ้าน เป็นกรรมการชุมชน เปน็ ครู กศน.เปน็ ประธานกลุม่ การเกษตรในชุมชนแต่ละแห่งเป็นนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล เป็น ผอ. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เป็น ผอ.โรงเรยี นในชุมชน รวมท้ังเป็นตารวจหรอื นักปราชญ์ภมู ิปญั ญา ของชุมชน โดยมีสาระสาคัญจากการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการสนทนาพูดคุย ใน 11ประเด็นคาถาม ตั้งแต่สภาพปัญญาของการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง ทุนทางสังคมในชุมชนที่นามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง วธิ กี ารศึกษาชุมชนแบบมองจากภายนอกสู่ภายใน (Out side in) และมองจากภายในสภู่ ายนอก (In side out) การมองความสัมพันธ์พัฒนาคนกับวัฒนธรรมที่ควรศึกษาทั้งรปู แบบคนข้ามวัฒนธรรม และการมอง แบบวัฒนธรรมข้ามคน จุดยืนการทางานของ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูง (ศพพ.) ทุกพ้ืนที่เขต รบั ผิดชอบ แนวทางการจัดระบบสวสั ดิการสังคมในชุมชนทเี่ หมาะสม การศกึ ษาสถานภาพของวฒั นธรรม พื้นบ้านที่มองแบบหยุดน่ิง หรือมองแบบเคลื่อนไหวมีวิวัฒนาการ ทส่ี อดคล้องกับภูมสิ ังคม เปน็ วัฒนธรรม ภูมิสังคมของประเทศไทย (รวมถึง วิธีการศึกษาวัฒนธรรมแบบหยุดน่ิง) (Static culture) และแบบพลวัตร (Dynamic Culture) ตามกรอบการศึกษาวจิ ยั คอื

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพื้นท่ีสูงในอดตี และปจั จบุ ัน 239 กกรระะบบววนนกกาารรศศึกึกษษาา กกาารบรบพพนนฒั ฒัพพนนื้น้ืนาทาทรร่ีสา่สี าษูงงู ษฎฎรร ววเิ คิเครราาะะหห์ สสภภาาพพ ววิเคิเครราาะะหห์คคววาามม ปปญั ญหหาากกาารรพพัฒฒั นนาา ตต้อองงกกาารรพพฒั ฒั นนาา พแพแนัฒนฒั วนวทนาทาาชางชมุงกุมกชาชานรนร ททศัไไศัททนนยคยคพพตต้ืนิขนื้ ิขรอรอางางบคบคนน ททุนใุนในทนทชาชางุมงุมสชสชงั นังคนคมม หวหวลัฒลัฒาานกนกธหธหรลรรลารมายมย จจดุ ดุ ยยนื นื ศศพพพพ.. ศศวึกวึกาษาษททากาวกวรฒั รัฒรรนมนมธกธกรารารรรรมม คคววาามมมม่ันนั่ คคงง ขขอองงคคนน พพัฒฒั นนาากกาารรขขอองงชชมุ ุมชชนน กากราพรงึ่ พพึ่งาพตานตเนอเงอขงอขงอชงุมชชุมนชน ผผลลลลพั พั ธธก์ กาารรพพฒั ฒั นนาา คมคมุณีชณุีชนภนภเาผเาผพ่าพา ชชุมมุ ชชเนรเนรียแยีแนหนหรง่ รงกู้ กู าารร สสังงัคคมมชชมุ มุ ชชนนบบนน พพ้ืนนื้ ททสี่ ี่สงู ูงพพัฒฒั นนาา แแผผนนภภาาพพ44.1.177แแนนววททาางงกกาารรพพฒั ฒั นนาารราาษษฎฎรรบบนนพพน้ื ื้นททส่ี ส่ี งู ูง

240 การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ทส่ี งู ในอดตี และปจั จบุ นั บทสรุปของผลการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ราษฎรบนพื้นท่ีสูง ยังคงต้องมีปัญหาไม่น้อยกว่า 10 ประการ เช่น ปัญหาด้านท่ีดินทากินไม่เพียงพอท้ังส่วนที่เป็นที่พักอาศัยก็คับแคบต้องปลูกสร้างบ้านเพิงพัก ในลักษณะหลังชนหลัง หลังคาต่อหลังคา เพราะมีพ้ืนที่ ปลูกสร้างได้น้อยมากขาดสุขลักษณะที่ดี แต่ก็จาเป็นต้องมีที่อาศัยในการมีชีวิตและการใช้ชีวิต ส่วนท่ีดินทากินก็ไม่เพียงพอต่อปริมาณ ลูกหลาน ท่ีมีเพิ่มมากขึ้น พ้ืนที่มีเท่าเดิมหรือทาการเกษตรได้ลดลง เพราะสภาพดิน คุณภาพดินที่เสื่อมคุณภาพ ไปตามธรรมชาติและยังมีปัญหาเร่ืองน้าไม่เพียงพอ ท้ังน้าเพ่ือการอุปโภค การใช้ในการดาเนินชีวิต น้าเพ่ือการด่ืม ปรุงอาหาร และโดยเฉพาะที่เพื่อการทาการเกษตรที่มีเพียงพอ ย่ิงในหน้าแล้ง น้าจะขาดแคลน ทาให้การปลูกพืชผักต่างๆได้ผลผลิตลดลง ส่งผลถึงสภาพปัญหาด้านการประกอบอาชีพของชุมชนซึ่งไม่มั่นคง ขาดความรู้การดูแล บารุง และการจัดการที่ถูกต้อง รวมถึงขาดการจัดการระบบตลาดที่ไม่มีแหล่งรับซื้อ ท่ีดีทาให้เสียเปรียบพ่อค้าคนกลาง ซึ่งเป็นนายทุนและเป็นผู้ให้สินเช่ือการทาการเกษตรของระบบ โดยเฉพาะการปลกู ไร่ ข้าวโพด ซ่ึงทามากยง่ิ ยากจนมาก เป็นหน้ีมาก จะไม่ทากไ็ ม่มอี าชีพอ่ืนทา ทาเสียก็ขาดทุน ขายผลผลิตไม่ได้ราคา เลยเป็นปัญหาของชีวิต เป็นความทุกข์ในการประกอบอาชีพ ท่ียังเป็นปัญหา ของชาวชุมชนราษฎรบนพื้นที่สูงท่ีขาดความรู้ ขาดโอกาส และขาดระบบการสนับสนุน การส่งเสริมท่ีดี เป็นปัญหาหนี้สินและปัญหาความยากจนตามมาต่อเนื่องจนเป็นภาระของชีวิต เป็นห่วงโซ่ปัญหาคุณภาพชีวิต ของราษฎรบนพ้ืนท่สี ูงที่มีมาช้านาน เมื่อมีปัญหาต่างๆโอกาสในการเข้าถึงภาครัฐที่มีคุณภาพ เพราะการเดินทาง ที่ลาบากและระยะทางท่ีห่างไกล ขาดเงินค่าใช้จ่ายขาดความสามารถในการส่ือสาร ภาษาที่แตกต่างกัน จึงกลายเป็นบุคคลที่ต้องรอคอยการรับบริการนานกว่าคนอื่น โดยเฉพาะด้านสุขภาพที่ไม่สามารถดูแล รักษาด้วยตนเองได้ ไม่มีแพทย์พ้ืนบ้าน หรือ หมอสมุนไพร เพราะไม่ได้รับการส่งเสริมตามหลักวิชาการ สมัยใหม่ และไม่สอดคล้องกับกฎระเบียบของหน่วยงาน ทาให้มีความยากลาบากในการต้องเผชิญกบั โรค ท่ีเจ็บป่วยทางกายและต้องได้รับบริการที่ขาดความสะดวก จากฐานะความยากจนและความสามารถ ของภาษา การสื่อสารกับคนพื้นราบ ที่มีภาษาพูด เขียน และเป็นภาษาราชการ ไม่มีภาษาชาวบ้าน และภาษาชนเผ่าในระบบการเรียนรู้และการให้บริการที่เหมาะสมกับราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง คุณภาพชีวิต ของชาวบ้านและภาษาชนเผ่าในระบบการเรียนรู้และการให้บริการท่ีเหมาะสมกับราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง คณุ ภาพชวี ิตของชาวบ้านจึงมีน้อย กอปรกับในสภาวะปัจจุบันที่ต้องเผชิญการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สังคมไทยพ้ืนราบและยุคแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีทุกคนต้องปรับตัว ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตต้องมี โทรศัพท์ รุ่นใหม่ต้องใช้การติดต่อผ่านระบบ สังคมออนไลน์ มีค่าใช้จ่าย รายเดือน รายสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้น ทั้งครอบครัวและบุตร หลานทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ในขณะที่รายรับ คงเดิม และรายได้ไม่แน่นอน ต้องดิ้นรนมากขึ้น ขาดความเอาใจใส่ครอบครัวไม่มีเวลาอยู่ร่วมกัน ปัญหายาเสพติดเข้ามาในชุมชน แพรร่ ะบาดในเด็กและเยาวชนทุกหมู่บา้ น เปน็ ปญั หาสงั คมในหมู่บา้ นเพม่ิ ขึ้นไม่แตกต่างจากสงั คมพนื้ ราบ ท่ีมีปัญหายาเสพตดิ ไมต่ ่างกนั

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพื้นท่ีสูงในอดีตและปจั จุบนั 241 กล่าวได้ว่า ชุมชนภาครัฐบนพื้นทส่ี ูงยังคงมีสภาพปัญหาการพัฒนาท่ีเป็นห่วงโซ่คุณภาพชีวิตตาม แผนภาพ แผนภาพ 4.18 : สภาพปญั หาการดาเนนิ ชีวติ และผลกระทบต่อราษฎรบนพื้นท่สี งู

242 การวิจยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพื้นท่ีสงู ในอดีตและปัจจบุ ัน กล่าวได้ว่า สภาพปัญหาของราษฎรบนพื้นท่ีสูงข้างต้น ชุมชนไม่สามารถดาเนินการได้โดยลาพัง เพียงชุมชนเท่าน้ัน ต้องอาศยั การสนับสนุนการริเร่ิมและให้โอกาส เกื้อกูล ช่วยเหลือจากภาครัฐหลายภาคส่วน เพี่อท่ีจะบรรเทาปัญหาหรือสร้างเสริมศักยภาพชีวิตของชุมชนให้เข้มแข็งมากมากขึ้น โดยมีเป้าหมาย การพัฒนาอยู่ที่มีสิทธิในท่ีดินทากินอย่างเหมาะสม มีโอกาส และได้รับการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตดั้งเดิมทาตามความเช่ือโบราณ มีการส่งเสริมอาชีพท่ีมั่นคงให้สามารถมีรายได้เพียงพอ ต่อการส่งบุตร หลานเข้าเรียนได้ในสังคมพ้ืนราบ ในระดับการศึกษาที่สูงข้ึนจากการศึกษาภาคบังคับ รวมถึงได้มีโอกาสเข้าถึงบริการจากภาครัฐ ทุกสวัสดิการสังคมของความเป็นคนไทยคนหนึ่ง โดยเฉพาะ อย่างย่ิงต่อการรับบริการด้านสุขภาพท่ีดีมีคุณภาพ ทัศนคติของคนไทยพื้นราบกับราษฎรบนพื้นที่สูง ก็มีความสาคัญมากต่อการดาเนินชีวิตและการใช้ชีวิต ร่วมกันในสังคมไทย ปัจจุบันที่ราษฎรบนพื้นท่ีสูง บางส่วนยังคิดว่า ชาวไทยพ้ืนราบไม่ต้อนรับ ชนเผ่า หรือชุมชนชนเผ่า หาว่าคนเหล่าน้ีไม่มีการศึกษา ไม่ร่วมมือกันพัฒนาประเทศ เป็นผู้บุกรุกป่า เผาป่า ทาลายป่า เป็นผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ท้ังการผลิต และการจาหนา่ ยรวมถึง ถูกหาว่าเป็นผู้ทารา้ ยทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ทาให้เกดิ ภาวะนา้ ทว่ ม ฝนแล้งหรือ ภัยธรรมชาติต่างๆ สภาพความรู้สึกทั้งทัศนคติเชิงลบ เหล่านี้มีข้อเท็จจริงไม่มาก ส่วนหนึ่ง มีอยู่จริงในทัศนคติของคนไทยพ้ืนราบ ซึ่งกระตุ้นเร้าให้ พี่น้องชาวเขา ชนเผ่า ทั้งราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง ต้องเพิ่มการปรับตัวและเรียนรู้ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการประกอบอาชีพในการดาเนินชีวิต และพฤติกรรมการดูแลรักษาป่าการอยู่ร่วมกับป่า ด้วยความรับผิดชอบให้มากข้ึน ให้ชัดเจนมากขึ้น ตามทศั นคติของคนทีเ่ คยมองเราอย่างนน้ั จะไมเ่ กิดข้นึ เป็นภาพบวกที่ดี เชน่ 1. ชนเผ่าไม่ใชค่ นดอ้ ยการศกึ ษา 2. ชนเผ่าไมใ่ ชค่ นสกปรก 3. ชนเผ่าไมใ่ ชค่ นนา่ กลัว 4. ชนเผา่ ไม่ใชค่ นทาลายปา่ /เผาปา่ 5. ชนเผ่าไมใ่ ชค่ นทาลายธรรมชาติ 6. ชนเผ่าไมใ่ ช่คนเก่ียวข้องกับยาเสพติด 7. ชนเผา่ ไม่ใช่คนอื่นแต่เปน็ คนไทยเหมอื นกนั อีกส่วนหน่ึงคือราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงคิดไปเองว่า คนไทยพื้นราบมองตนเองไม่ดีไม่น่าไว้ใจ ไมก่ ลา้ สนทนาดว้ ย ท้ังๆที่ ยุคสมัยปัจจุบนั คนไทยในส่วนใหญ่ไม่มใี ครคิดไม่ดีเชน่ นน้ั ทกุ คนรบั รวู้ า่ คนไทย ราษฎรบนพ้ืนที่สูง ก็คือคนไทย มีสัญชาติไทย และมีใจเป็นไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ กฎหมายและสถาบัน พระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน มี 3 สถาบันหลัก คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เป็นสิ่งยึดเหน่ียว จิตใจความเป็นคนไทยเช่นเดียวกัน การกระทาอันเป็นความผิด เกี่ยวกับการตัดไม้ ทาลายป่า การบุกรุก ป่า การค้ายาเสพติด การขนยาเสพตดิ เป็นเพียงการกระทารายบุคคลของบุคคล ผกู้ ระทาผิด แต่ไม่ใช่การ กระทาของความเป็นชนเผ่า ไม่ใช่เจตนาของชาวเขาทั้งหมดและไม่ใช่ความปรารถนาของชนชาติพันธ์ุ ท่ีต้องการมีชีวิตและใช้ชีวิตบนความไม่ถูกต้อง นอกเหนือจากนั้นแล้วการลงข่าวของสื่อมวลชนท้ังสื่อทีวี หรือสื่อส่ิงพิมพ์มักใช้คาพูดเหมารวม ว่าเป็นการกระทาความผิดของ แม้วบุกรุกป่าฯ สานวนภาษาแบบ เหมารวม เชิงตาหนิ เหล่าน้ี ไม่ควรมีอยู่ในสื่อท่ีรับผิดชอบ เป็นส่ือคุณภาพจะไม่มีคาพูดเหมารวม เชิงตาหนิประณามชนชาติพันธ์ุ ท้ายสุดแล้วผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่ม ก็ได้ข้อสรุปว่า อยากให้ทุกฝ่าย มองกันในภาพดีมีความจริงใจต่อกัน รับรู้ข้อเท็จจริง ในความ ผิด ถูก อย่างถ่องแท้

การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้ืนทีส่ งู ในอดีตและปจั จบุ นั 243 ไม่ใช่ความรู้สึกในการตัดสนิ ใดๆ ไม่มีทัศนคติแบบเหมารวมควรศึกษาซ่ึงกันและกัน เรียนรู้ที่จะอยู่รว่ มกัน ร่วมมือกันพัฒนาชุมชน สร้างสรรค์สังคมและส่งเสริมความเข้มแข็งของชาติร่วมกัน อยู่ร่วมกันได้อย่างมี ความสุขด้วยจิตสานึกของความเป็นคนไทยด้วยกัน พบว่าในชุมชนของราษฎรบนพื้นท่ีสูง มีทุนทางสังคม ในชุมชนมากมายท้ังทุนทางสังคมในตัวคน เป็นวิถีชีวิตความเป็นชนเผ่า การใช้ชีวิตบนพื้นที่สูง มีภูมิปัญญา พ้ืนบ้านด้านการเกษตร การดูแลสุขภาพ การดาเนินชีวิต มีความเช่ือ มีศาสนา และมีปราชญ์ชาวบ้าน มีทุนทางปัญญามากมาย รวมถึงทุนทางสังคมท่ีมีอยู่ในชุมชน เช่น ทุนทางศิลปหัตถกรรมชุมชน ทุนความเป็น ธรรมชาติของสงิ่ แวดล้อม การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการดาเนินชวี ิต การมีสมุนไพรพ้นื บา้ น ในชมุ ชน และมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์อย่างน่าสนใจ ตลอดจนการมีทุนทางสังคมจากความเป็นชนบน พ้ืนที่สูงหรือชนเผ่าที่มีชุดแต่งกายสวยงามประจาเผ่า มีศิลปะการแสดงท่ีสวยงาม และมีความหมาย มีผลิตภัณฑ์ผลงานการถักผ้า การจักสาน และสิ่งประดิษฐ์ ผลงานอันทรงคุณค่าซ่ึงทุนทางสังคมในชุมชน เหล่านี้มีศักยภาพสูงมากต่อการนาไปพัฒนาต่อยอด สร้างเสริมให้เป็นของใช้ท่ีมีคุณค่าทางวัฒนธรรม ตามภูมิสังคมที่จะเกิดมูลค่าเพิ่มได้อย่างมากมาย ส่งเสริมและสร้างสรรค์ศักยภาพชุมชนบนพ้ืนที่สูง ให้เข้มแข็งมากข้ึน ส่งผลตอ่ เน่ืองใหม้ ีการจัดการด้านสวัสดิการสังคมในชุมชนแบบผสมผสานท้ังสวสั ดกิ าร สังคมพื้นบ้านแต่ละชนเผ่าและสวัสดิการสังคมสมัยใหม่ จะทาให้เกิดผลทางการบริหารการพัฒนาชุมชน ราษฎรบนพน้ื ท่ีสูงทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพและบรรลุผลการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงอยา่ งยัง่ ยนื เชน่ 1. สวสั ดกิ ารกองทนุ สง่ เสริมสุขภาพอนามัยเชิงองคร์ วม 2. กองทนุ สง่ เสรมิ อาชีพในชุมชนแบบครบวงจร 3. กองทุนสาหรบั การศึกษา บุตร- หลาน ให้มีงานทา ถงึ วุฒิ ปริญญาตรี 4. กองทนุ ดูแลสขุ ภาพชีวติ ทุกชว่ งวยั 5. กองทนุ สนับสนนุ การปลกู พืช เศรษฐกจิ ครบวงจร 6. กองทนุ สนบั สนุนคุณภาพชีวติ ผู้สูงวัย 7. กองทุนเงินออมของชุมชน 8. กองทนุ สาหรบั พัฒนาเครอื ข่ายชมุ ชน 9. กองทุนสนบั สนุนการพงึ่ ตนเองของชุมชน 10. กองทนุ สนับสนนุ การส่งเสริมและอนรุ กั ษ์ วฒั นธรรม ประเพณี ในชมุ ชน 11. กองทนุ สนบั สนุนการถ่ายทอดวัฒนธรรม ประเพณแี ละความเช่ือโบราณ 12. กองทนุ สนบั สนนุ ภูมิปัญญาพืน้ บา้ น 13. กองทนุ สนับสนนุ การใหส้ วสั ดกิ ารเชงิ รุกในชมุ ชนชาตพิ นั ธุ์

244 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้ืนทส่ี ูงในอดตี และปจั จุบนั 4.2.3 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลจากการสนทนากลุ่มยอ่ ยแตล่ ะพนื้ ท่ี ในการจัดการสนทนากลุ่มย่อยของแต่ละพ้ืนท่ี การวิจัยทั้งที่จัดดาเนินการใน สานักงานศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงแต่ละแห่งและจัดดาเนินการสนทนากลุ่มย่อยในชุมชนต่างๆของ พ้ืนท่ีการวิจัย โดยมีความมุ่งหมายท่ีจะขอรับฟังความคิดเห็นและการแลกเปล่ียนมุมมองในการพัฒนาพ่ี นอ้ งราษฎรบนพน้ื ท่ีสงู มีหวั ข้อสาคัญคอื 1. สภาพปัญหาการพัฒนาราษฎรบนพนื้ ท่สี งู 2. ความตอ้ งการของราษฎรบนพ้ืนทีส่ งู ในการพฒั นา 3. จดุ ยืนการทางานของศนู ย์พฒั นาราษฎรบนพน้ื ทีส่ งู 4. แนวทางการพัฒนาศกั ยภาพของชุมชนเพือ่ การพ่ึงตนเองของราษฎรบนพนื้ ทีส่ ูง 5. ภาพอนาคตของชุมชนและกล่มุ ราษฎรบนพ้นื ที่สูง 6. ปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็ และปจั จยั ความล้มเหลวในการพฒั นาราษฎรบนพืน้ ท่สี ูง 7. การจดั การพิพิธภัณฑศ์ ูนยก์ ารเรยี นรู้การพัฒนาราษฎรบนพ้ืนทสี่ ูง (Discovery Museum) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มย่อยในพื้นท่ีการวิจัยท้ัง 16 ศูนย์พัฒนา ราษฎรบนพ้ืนท่ีสงู และขอ้ มลู จากชมุ ชนได้ข้อสรุปดงั นี้ 1. สภาพปญั หาการพัฒนาราษฎรบนพื้นทส่ี ูง บทสรุปของการสนทนากล่มุ ยอ่ ยจากบุคลากรเจ้าหน้าท่ีของศูนยพ์ ัฒนาราษฎรบนพ้ืนทีส่ ูง (ศพพ.) และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากชุมชน ในประเด็นสภาพปัญหาของการพัฒนาราษฎรบนพ้ืนทส่ี ูงจะได้ภาพรวมชุด ข้อมูล ของการพัฒนาในการพัฒนาพี่น้องชาวเขาในความเป็นชนเผ่าแต่ละชาติพันธุ์ชื่อเรียกขาน ในปัจจุบัน คือ “พัฒนาการของการพัฒนาความเป็นราษฎรบนพ้ืนที่สูง ตั้งแต่อดีต ปัจจุบันและแนวโน้ม ทจี่ ะเปน็ ในอนาคต” จากการสนทนากลุ่มย่อยผู้ให้ข้อมลู แสดงความคดิ เห็นในเรื่องต่างๆ ดังนี้ “สภาพปัญหาการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงในอดีตวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของชุมชน จากการที่รัฐประกาศเขตอุทยานป่า ทาให้ชาวบ้านต้องอพยพย้ายออกจากพ้ืนท่ีป่าหน่วยงาน ประชาสงเคราะห์ได้นาชาวบ้านย้ายมาอยู่ ณ ที่แหง่ น้ี รวมถงึ รัฐบาลประกาศไม่ให้เผาป่าในพื้นท่ที ากินทา ให้วิถีชีวิตการเกษตรเปล่ียนไป ผลผลิตจึงไม่ได้ตามความต้องการ มีการดูแลป่าเป็นไปตามระบบ ในปี พ.ศ. 2536 ได้แบ่งพื้นท่ีป่าเป็น 3 ประเภท คือ พื้นท่ีทากิน พื้นที่อนุรักษ์ และพื้นที่ป่าใช้สอย ปัญหาท่ีตามมา คือหน่วยงานราชการขอคืนพ้ืนที่ตามนโยบายทวงคืนผืนป่า และได้ยึดพื้นที่ทากินไปเป็น ป่าอนุรักษ์ และไม่ได้มาพูดคุยกับทางชาวบ้าน ทาให้เกิดปัญหาไม่มีพื้นท่ีทากินและกลายเป็นปัญหา ชาวบ้านบุกรุกเขตป่าชุมชนอนุรักษ์(คืนพื้นท่ีป่า จากปี พ.ศ.2519) และได้มีการอนุรักษ์ป่าจนเป็น ประเพณขี องหมู่บา้ น มกี ารกาหนดกฎระเบียบในการรักษาป่า มีกองทุนเงนิ ลา้ นในชว่ งแรกหมูบ่ ้านปฏเิ สธ เนื่องจากชาวบ้านไม่พร้อม ก็ต้องรับโครงการมาจนทาให้ชาวบ้านเร่ิมเป็นหนี้ และในปัจจุบัน ชาวบ้าน เป็นหน้ีทุกหลังคาเรือน มีโรงเรียนเข้ามา ค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงในด้านการเกษตรมีการจากัดเขตพ้ืนที่ ทากิน ส่งผลให้พ้ืนท่ีเพาะปลูกไม่สามารถให้ผลผลิตดีเท่าท่ีควร เลี้ยงผีขุนน้าทุกปี และไม่มีหน่วยงานใด เข้ามาส่งเสริมเรื่องการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับพื้นที่ และหากมีการเข้ามาส่งเสริมแต่ผลผลิต ไม่มีตลาดรองรับ พี่นอ้ งชนเผ่าอา่ นเขยี นได้ เพราะศูนย์สงเคราะห์ชาวเขามาสอนให้ การพฒั นาบางอย่าง

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพืน้ ทส่ี ูงในอดีตและปจั จุบัน 245 ของรัฐมีทั้งผลดีผลเสีย ดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอพียง พออยู่พอกิน แต่ในปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบาย มาให้หมู่บ้านโดยไม่มองถึงวิถีชีวิตความพร้อมชุมชน ส่งผลให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ในอดีตโรงเรียน ของศูนย์สงเคราะห์ชาวเขาไม่ต้องซ้ือชุดนักเรียน ปัจจุบันรัฐบาลส่งเสริมในเรื่องการศึกษาเร่ืองการศึกษา รัฐบาลให้เด็กเรียนสูงๆ ทางรัฐบาลให้เรียนฟรี จบ ม.6 ถ้าเรียนสูงข้ึนไปอีก ต้องกู้เรียน (กยศ.) กองทุน เงินกู้ยืมเพ่ือการศึกษา ของเด็กท่ีไปเรียนหนังสือ เม่ือจบมาไม่มีงานทา แต่ก็ต้องหาเงินเพื่อใช้หนี้ท่ีกู้เรียน ส่งผลให้เกิดปัญหามากในชุมชนมีนโยบายภาคบังคับตั้งแต่อนุบาล-ม.3 แต่รัฐบาลไม่ให้การสนับสนุน งบประมาณในชั้นที่สูงขึ้น จะเป็นภาระให้ผู้ปกครองต้องเป็นหน้ีเม่ือส่งบุตรหลานเรียนหนังสือแล้วระบบ การเข้าทางานหน่วยงานต่างๆ ต้องผ่านการสอบในภาครวมท่ัวประเทศ ไม่มีนโยบายเป็นกรณีพิเศษ ทจี่ ะรับคนสอบเข้าทางานเฉพาะผู้ที่อยใู่ นพื้นท่ีให้เข้าทางานในพื้นท่ีเข้าทางานเท่านั้น ทาให้เด็กท่ีอยู่ในพ้ืนที่ เรียนจบมาไม่มีงานทา อยากให้มีครูท้องถิ่นเข้ามาสอนในหมู่บ้าน (ให้มีระบบการศึกษาในหมู่บ้าน เพ่ือศึกษาภาคบังคับและเรียนรู้วิถีชีวิตด้ังเดิมของหมู่บ้าน) การสร้างเข่ือน ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตชุมชน ของชาวบ้าน ส่งผลให้น้าท่วมหมู่บ้านและจะทาให้ชาวบ้านไม่มีที่ทากิน ทางแก้ไข คือ การขุดลอก และการดูแล รักษาป่าจะเป็นส่ิงแก้ไขปัญหาได้ดีกว่าการสร้างเข่ือน น้าไม่พอใช้ น้าน้อยลง ปล่อยน้าให้ใช้เป็นเวลา กลางวันต้องปิดน้าเปิดเป็นเวลามีที่พักน้า ในช่วงเทศกาลไม่มีน้า น้าแห้งมา 2 ปีแล้ว คนใช้น้ามากข้ึน เจาะน้าบาดาลทาให้น้าน้อยลงไม่น่าให้เจาะน้าบาดาล เพราะบางคนไปทาธุรกิจส่วนตัว เชน่ ไปใช้ในการ ปลูกกะหล่าปลี เลยทาให้น้าไหลลงมาเติมในถังเก็บน้าน้อยคนท่ีได้รับประโยชน์ มีเพียง 1-2 คน แต่คนท่ี ต้องกินน้ามีท้ังหมู่บ้าน คนเจาะบ่อบาดาลเป็นคนนอกพ้ืนที่ ไม่ได้ถามคนในหมู่บ้านต้องการให้สร้างฝาย ชะลอน้า เด็กที่ไปเรียนนอกหมู่บ้านรับวัฒนธรรมในเมืองเข้ามา การส่ือสารและเทคโนโลยีเข้ามา สง่ ผลให้ต้องซือ้ เทคโนโลยี เชน่ โทรศพั ท์มอื ถือ เป็นตน้ สง่ ผลให้เด็กรนุ่ หลังไม่มีความรู้ในเร่ืองของวิถีชุมชน ชุมชนชาวบ้านมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ทาให้ต้องออกไปทางานนอกบ้าน เพื่อส่งลูกเรียน และใช้จ่ายในหมู่บ้านเน่ืองจากมีรายได้ทางเดียว คือการเกษตร รวมถึงผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต่า จาเป็นตอ้ งกเู้ งนิ มาใชจ้ า่ ยในครอบครวั ในส่วนของ ศพพ. เชียงรายมีข้อสรุป คือ การเปลี่ยนแปลง จากเดิมอยู่อย่างพอเพียง ปัจจุบัน มีส่ิงอานวยความสะดวกมีมากข้ึน มีรายได้เพ่ิมขึ้น การใช้พื้นท่ีปลูกพืชเดิมนานๆ การปลูกพืชไม่ได้ ผลผลิตท่ีดี ผลผลิตมีมากรายได้ก็จะน้อยลง เผ่าลาหู่ สมัยก่อนใช้จอบขุดดิน แต่เดียวน้ีใช้การพ่นยาฆ่าแมลง ต้องใช้พ้ืนที่มากและจะขยายพ้ืนท่ีออกไป เพราะสารเคมีจากยาฆ่าแมลง มีผลเสียต่อสุขภาพ ดินก็เส่ือมโทรม และสารเคมีตกค้างในร่างกาย อดีต ความเจรญิ เขา้ ไมถ่ งึ ปจั จุบนั มีรถยนต์ จกั รยานยนต์ ช่ือหน่วยงานก็เปล่ียนไปแต่ชาวบ้านจะจาชื่อกรมประชาสงเคราะห์มากกว่า ในอดีต ศูนย์พัฒนาชาวเขาช่วยเหลือทุกด้าน ปัจจุบันได้พัฒนาขึ้น ด้านสัญชาติ ทะเบียนสารวจ รับรองเอกสาร สิทธิ์ มีปัญหาเรื่องคนต่างด้าว มาจากพม่า ในชุมชนยังคงมียาเสพติดคนในชุมชนมีเป็นผู้เสพเพราะอยู่ใน แนวชายแดนพื้นที่ทากินอยู่ในพ้ืนที่สูงอยใู่ นเขตป่าสงวน ท่ีดินเส่ือมโทรม ได้ค่าแรงต่าอาจจะหันมารับจ้าง ขนยาเสพติดมากขึ้นเพราะค่าแรงสงู การพัฒนาชาวเขา อดีตเข้าไปสะดวกสบายแต่ปัจจุบันเจ้าหน้าที่ไม่ค่อยดูแล ไม่ค่อยมา ทางานในพื้นท่ี

246 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพืน้ ที่สูงในอดีตและปจั จบุ ัน กองทุนเงินล้าน เดิมราษฎรบนพื้นที่สูงไม่มีความพร้อมในการรู้นโยบายน้ี ในปัจจุบัน หลังจากเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนทาการกู้เงินและนาเงินไปใช้ซื้อสิ่งอานวยความสะดวก เช่น โทรศัพท์ รถยนต์ วัตถใุ หม่ๆ ให้ลกู หลานมกี ารนาวิวัฒนาการจากในเมืองเข้ามา เชน่ ใส่กางเกงยีน สายเด่ียว เอวลอย เล่นเกมส์ ติดเกมส์ทาให้ผู้ปกครองต้องลาบากใจ ต้องหาเงินมาให้ลูกหลานนาไปใช้จ่ายส่ิงอานวย ความสะดวก การสอื่ สารตา่ งๆทาให้สิน้ เปลืองคา่ ใชจ้ ่าย ทาใหเ้ ป็นหนี้ สภาพปญั หาของชาวบ้านบนพื้นทีส่ งู คนไร้สญั ชาติ มกั จะไมไ่ ด้รับเบยี้ ผู้สูงอายุ เบ้ียคนพิการ ไมค่ อ่ ยทามาหากนิ เปน็ เรอื่ งราว ผ้ปู กครองไมส่ บายใจเรือ่ งวัยรุ่นในหมูบ่ ้านหันไปทางดา้ นยาเสพติด แรงงาน ออกจากบ้านไปทางานในตัวเมืองและต่างประเทศไปทางานที่ไต้หวัน ท้งิ พ่อแม่ อยู่บ้านตามลาพังทิ้งคนแก่ เด็กไว้ท่ีบ้าน วัยแรงงานหายไปมาก ยาเสพติด อดีตมีฝ่ิน ต่อมา เฮโรอีน ปัจจบุ ันมยี าบ้า ยาไอซ์ วยั รนุ่ เสพกนั มาก จะหาวธิ ีการอยา่ งไรเพอ่ื จะปราบปรามให้หมดส้ิน สมั มะโนปญั หากับชมุ ชน อาหารเปลย่ี นไปในปจั จุบัน เปน็ ปัญหาต่อสุขภาพ เมี่ยน แตง่ กายตามเทศกาล มีการแต่งกายแบบสมยั ใหม่มากขึ้น ไม่ค่อยพูดภาษาชนเผ่าไปใช้ภาษาไทย จะไปทางานท่ีอ่ืนท่ีได้ค่าจ้างสูงกว่า คนต่างด้าว แยง่ ชงิ แรงงาน วัฒนธรรมประเพณีในอดีตเม่ือ 30 ปี ก่อนการเย็บปักผ้า เด็กๆ ก็ทาได้ ปัจจุบัน มีแต่คนแก่ ทที่ าเด็กมกั ไมส่ นใจการปกั ผ้า จกั สาน เลย อนาคตจะไม่เหลือแล้ว การแสดง มแี ต่ผูใ้ หญท่ ีย่ งั อนรุ ักษ์ไว้ แต่พวกเด็กๆ ไม่ค่อยสนใจทา การขอเอกสารสทิ ธทิ์ ที่ ากิน การขอสญั ชาติ ไมม่ บี ัตรประชาชน ฐานะยากจน มีเพิ่มสูงข้ึน ยาเสพติดระบาดมาก มีความเก่ียวโยงความเป็นอยู่ เป็นเครื่องมือของชาวต่างประเทศ ความลาบากจะทาอะไรไม่ได้ต้องรับจ้างขนยาเสพติด ไปทาสิ่งที่ รเู้ ทา่ ไมถ่ ึงการณไ์ ม่รู้กฎหมาย นายาเสพติดเขา้ สู่ชุมชน สาเหตุทีท่ าให้หมู่บ้านค้ายาเสพติด ทงั้ ขายและเสพ ท่ีทากินไม่เพียงพอ/การเพ่ิมของประขากร ท่ีทากินอยู่ในพ้ืนที่ทุรกันดาร ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ต้องเช่าท่ีดิน เพอ่ื การเกษตร (ทาไร่ ทานา) ประกาศพ้ืนทอี่ ุทยานทบั พ้ืนท่ที ากิน/การทวงคนื ปา่ ของรฐั ไมไ่ ด้รับการจัดต้ัง จากหมู่บ้านอย่างเป็นทางการ ได้ผลผลิตไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย น้าน้อย ไม่เพียงพอต่อการทาเกษตร มีการขายท่ีดินให้นายทุนด้านการศึกษา โรงเรียนอยู่ไกลจากท่ีอาศัย (ต้องไปพักต่างอาเภอ/จังหวัด) การคมนาคนไม่สะดวกสบาย เช่น ต้องเดินไปโรงเรียนอยากให้มีการสนับสนุนงบประมาณจ้างรถรับส่ง ไปโรงเรียน เด็กเล็กต้องไปอยู่โรงเรียนประจา ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ อยากให้มีโรงเรียนใกล้บ้าน ผูป้ กครองจะได้ดูแลลูกหลานได้ ไม่มีทนุ การศึกษา อยากให้มที ุนการศึกษาให้เด็กเรยี นดี ผู้สูงอายุต้องการ มีสถานที่ถ่ายทอดเก่ียวกับการใช้ยาสมุนไพร มีลูกมาก ค่าใช้จ่ายในการเรียนสูง เรียนจบไม่มีงานทา ก้เู รียน กยศ. (ไม่มีเงนิ ชดใช้ กยศ.) โรงเรยี นในพืน้ ที่มีถงึ ม.3 (ขยายโอกาส) ไม่เปน็ การส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ เรยี น ตอ่ วัฒนธรรรม วนั ปีใหมม่ ้ง ส่งผลให้เดก็ ร่นุ หลงั ไม่สามารถร่วมงานได้ เพราะไม่ใชว่ ันหยดุ ราชการถา้ ใช้แซ่ จะถูกกีดกันการรับราชการ ต้องเปลี่ยนนามสกุล เป็นการท้ิงวัฒนธรรมม้ง ถูกแบ่งชนชั้น ทาให้เด็กมีปมด้อย ไม่มีผู้สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมม้งเด็กรุ่นใหม่ไม่ค่อยให้ความสนใจในการสืบทอดหลักสูตรในโรงเรียน ไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมม้งการแต่งกาย แต่งชุดม้งจะแต่งเฉพาะชว่ งเทศกาล ทาให้ประเพณีเร่ิมหายไป ประเพณีการตั้งช่ือม้งเริ่มหายไปอยากให้แต่งชุดชนเผ่าทุกวันศุกร์ ตอนกีฬาโรงเรียนประเพณีเริ่มหาย

การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั 247 (ลูกข่าง) ไม่ได้รับสัญชาติ ไม่มีสัญชาตทิ าให้ไม่มีสิทธิในการรักษา ตกหล่นการสารวจ (เดิมอยู่ศูนย์อพยพ) พ่อแม่ไม่มีสัญชาติลูกจึงไม่ได้รับสัญชาติ ไม่สามารถพิสูจน์สัญชาติได้ คนเร่รอนไม่มีสัญชาติ ไม่สามารถ เข้าถึงบริการของรัฐได้ คนต่างด้าวเข้ามาอาศัยนานแล้ว และไม่ได้รับสัญชาติความยากจน รายได้น้อย รายจ่ายสูง การศึกษาลูก ใช้จ่ายในครัวเรือนการพนันมีบ้างเล็กน้อย (ชนไก่) ราคาผลผลิตตกต่า (มะม่วง ลาไย) ใช้ปุ๋ยและสารเคมีจานวนมาก ราคาสูงที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ได้ผลผลิตน้อย ไม่มีที่ทากิน รัฐควร ส่งเสริมอาชีพเกิดการจ้างงานอย่างต่อเนื่อง ขาดความรู้ในการประกอบอาชีพ ไม่มีตลาดรองรับ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต - การทาเกษตร - เทคโนโลยี – การคมนาคม ประเพณีวัฒนธรรมคงเดิม แต่ขาดการสืบทอด ไม่มีวันหยุดช่วงเทศกาล ปัจจุบันอาหารการกินสมบรูณ์ มากขึ้น การทาเกษตรในอดีตเพื่อยังชีพ-ปัจจุบันเพื่อการขายมากข้ึน ปัจจุบันเริ่มมีปัญหาสุขภาพ เน่ืองมาจากการกิน (เบาหวาน,เก๊าท์) มีการพัฒนาเร่ืองการศึกษามากขึ้น ปัจจุบันมีเทคโนโลยีมากย่ิงข้ึน ชุดประจาเผา่ เปลี่ยนแปลง/ประยุกตไ์ ปมากโดยเฉพาะเรื่องสีสัน/กระโปรงสัน้ เรื่องเพศสัมพันธ์ยังมีอยบู่ า้ ง มีหนี้สินเพิ่มข้ึนการช่วยเหลือ ถ้าไม่มีสัญชาติ ทาให้การเข้ารับบริการตางๆมีปัญหาในหมู่บ้านไม่กล้าช่วย เพราะไม่มีเลขรหัสบัตรประจาตัวประชาชน 13 หลัก การช่วยเหลือจาก ศสส. ช่วยคนท่ีเป็นปัญหาท่ีไม่มี สัญชาติได้บ้างระดับหน่ึงการไม่มีสัญชาติ อาจเกิดจากการมีครอบครัวได้สามีไม่มีสัญชาติ ซึ่งไม่สามารถ ยืนยันความเป็นสัญชาติได้จึงตกค้างในหมู่บ้าน ซึ่งแก้ปัญหาไม่ตก อาเภอให้รอเพราะยังมีปัญหา บ้านถ่ิน มีสัญชาติ แต่เข้ารับบริการของรัฐไม่ได้ เกี่ยวกับ พรบ. ทางอาเภอ บอกว่าเป็นผู้แทนไม่ได้ ซึ่งประสาน พื้นท่ีอ่ืนๆ สามารถเป็นผู้นาได้ แต่ทาไม คนบ้านถ่ินไม่มีสิทธิ์สมัครเป็นผู้แทนได้ เป็นพ้ืนที่ติดชายแดน ชนเผ่าม้ง เป็นชนที่มคี รอบครัวขยาย ลาวแต่งงานเป็นสามีภรรยากับคนไทย และบางคนมารับจ้างทางาน และอยู่ในเมืองไทยต่อ ซ่ึงไม่มีหลักฐานการลงสัญชาติให้ได้ ได้มีการวิจัยจากมหาวิทยาลัยพะเยา สรุปว่า ไม่มีสิทธิ์ใดๆ กรณีเดือดร้อนต้องหาวิธีอื่น ช่วยเหลือเป็นครั้งคราวได้ มีการทาบัตรสีชมพู ถ้าใครมาหลัง บัตรสีชมพูยังคงอยู่ชายแดน มีการแต่งงานกันข้ามชาติการให้ค่าแรง 300 ต่อวัน เป็นเหตุให้เรียกคนเข้า ประเทศมากข้ึน ซ่ึงต่อมามีลูกมีหลาน ทาให้มีปัญหาหมักหมม บางพ้ืนท่ีต้องการสิทธิ์การเป็นคนไทย เพื่อสิทธ์ิการสงเคราะห์ไปโรงพยาบาลการต้ังกองทุนสวัสดิการกองทุน ศสส. ให้งบดาเนินการกิจกรรม หมู่บ้านละ 2 หมื่นบาท ถ้ามีเหตุกรรมการช่วยเหลือได้ ไม่อิงสัญชาติก็จะเป็นการส่งเสริมที่ดี อยากให้มี การพัฒนาและขยายผลให้มีประสิทธภิ าพ ดแู ลทกุ คนทวั่ ถึง ทกุ ๆ ความเดือนรอ้ นจาเป็น สรุปได้ว่าสภาพปัญหาประเด็นปัญหาการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงทั้งในอดีตและปัจจุบัน ยังคงมีอยู่ ซ่ึงต้องศึกษาวิเคราะห์ รับรู้ เรียนรู้ให้เข้าใจ พร้อมการเข้าถึงเพื่อการพฒั นาราษฎรบนพ้ืนที่สูง อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป โดยมีตาราง สรุป ผลการวิเคราะห์รายการปญั หา ราษฎรบนพน้ื ท่สี ูง ดังน้ี

248 การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นทส่ี งู ในอดตี และปจั จบุ ัน สภาพปัญหาในอดตี 9 ประการ สภาพปญั หาในปจั จุบัน 8 ประการ 1. การจัดการเรอ่ื งคนกบั ป่า 1. การประกอบอาชพี 2. ปญั หาทด่ี นิ ทากิน 2. เอกสารสทิ ธ์ทิ ่ีดนิ ทากิน 3. ปญั หาน้าของชมุ ชน 3. คณุ ภาพชีวติ 4. ปัญหาด้านอาชีพ 4. ความยากจน 5. ปัญหาจากการเปลย่ี นแปลงทางสังคม 5. ยาเสพติดในชมุ ชน 6. ปญั หาสัญชาติ 6. สาธารณสขุ สุขภาพ 7. ปญั หายาเสพตดิ 7. สังคมชมุ ชน สมยั ใหม่ 8. ปญั หาหนี้สนิ 8. ส่ิงแวดลอ้ มชุมชน 9. ปญั หาวัฒนธรรม 2. ความตอ้ งการของราษฎรบนพืน้ ทีส่ งู ในการพัฒนา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มย่อยของพ้ืนท่ีวิจัยทุกชุมชนสรุปได้วา่ ชุดของข้อมูล ความต้องการของชาวชุมชน ราษฎ รบน พ้ื นที่สูงส่วน หนึ่ งจะสัมพั น ธ์ และสอดคล้องกับ สภาพปัญ ห า การพัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูงท้ังในอดีตและปัจจุบัน อีกส่วนหน่ึง คือ ชุดของความต้องการเชิงสวัสดิการ ของชมุ ชนทชี่ าวบ้านมคี วามคาดหวงั การสนบั สนุนจากภาครัฐใหเ้ กิดคณุ ภาพชีวิตท่ีดีมากขึน้ สรปุ ไดด้ ังน้ี 2.1 สทิ ธิที่ดินทากนิ ราษฎรบนพื้นท่ีสูงมีความคาดหวังและความต้องการความม่ันคงในชีวิต มีความ มั่นใจในการประกอบอาชีพบนท่ีดินทากิน ซ่ึงตนเองมีสิทธิ์ครอบครองเป็น เจ้าของอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย สามารถใช้เป็นหลักทรัพย์เป็นหลักประกันความมั่นคงของครอบครัวได้ ซ่ึงในสภาวะ ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบันชาวบ้านมักขาดความพอดีในการใช้ที่ดินในการประกอบอาชีพ ทามาหากินเลี้ยงชีพ เล้ียงคนในครอบครัว เพราะมีลูกหลานมากขึ้นทุกคนมีภาระค่าใช้จ่ายท่ีต้องดูแลมากข้ึน ประกอบกับ ขาดเอกสารสิทธิ์การครอบครองทด่ี ินและการใช้เงินลงทุนการเกษตรใหม้ ากขึ้น ทาอย่างทุ่มเท ก็ขาดความม่ันใจ ท่ีจะปลกู ชา กาแฟ หรอื พืชเศรษฐกจิ อน่ื ๆ

การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้ืนท่ีสูงในอดตี และปัจจุบนั 249 2.2 ระบบจดั การนา้ ของชุมชน ในหลายพ้ืนที่ชุมชนของราษฎรบนพื้นท่ีสูง ยังคงต้องการน้าที่เพียงพอในเชิงปริมาณ เพื่อการอุปโภคบริโภค ต้องการน้าสะอาดในชุมชนเพื่อการดื่มกินและการประกอบอาหาร ความต้องการ น้าสาหรับเพาะปลูก ทาการเกษตร โดยเฉพาะในหน้าแล้งจะขาดน้าสะอาดที่เพียงพอในการดื่มขาดน้า ท่ีจะใช้ในการดูแลกระบวนการเพาะปลูกพืชการเกษตรหรือพืชเศรษฐกิจ หากได้รับการสนับสนุน จากภาครฐั ดูแล ด้านวัสดุอุปกรณ์ และการจดั การแหล่งน้าที่ดีของชุมชนชาวบา้ นราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงก็จะมี ความมั่นใจในการทากิน มีความมั่นคงในอาชีพมากย่ิงข้ึน โดยไม่ต้อง รอคอย ฝากความหวัง หรือฝาก อนาคตไว้กบั ธรรมชาตเิ พยี งอย่างเดียว 2.3 การประกอบอาชีพ ราษฎรบนพ้ืนที่สูง ต้องการการสนับสนุนด้านการประกอบอาชพี ในทุกด้าน ต้ังแต่ ด้านการอบรมให้ความรู้ในการประกอบอาชีพการเกษตร การเพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ การปลูกพืชผักสวนครัว และผลไม้ในท้องถิ่นต่างๆเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ การเพาะปลูกพืชท่ีดี มีผลผลิตออกสู่ตลาดได้อย่างมี คุณภาพได้ผลผลิตที่ดี มีราคาดี นอกจากนี้ ราษฎรบนพื้นท่ีสูง ยังคงต้องการ การจัดการด้านการตลาด ของพืชเศรษฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะการปลูกข้าวโพดท่ีมผี ลผลิตมากแตร่ าคาตกต่า จนขายขาดทุน ไมค่ ุ้มค่า การลงทุนท่ีมีต้นทุนสูงมากอยู่แล้ว ทาให้ขาดความมั่นใจในการประกอบอาชีพ นอกจากนี้แล้ว ยังคงต้องการให้ภาครัฐมาสนับสนุนอาชีพ ส่งเสริมอาชีพด้านศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน การเย็บปักถักร้อย การจักสานการทอผ้าพื้นเมือง ชุดสวมใส่ประจาเผ่า หรือการผลิตสินค้าชุมชนด้านอื่นๆ ท่ีอาจเป็นได้ ท้ังอาชีพหลกั และอาชีพเสรมิ ของคนในชมุ ชน ควรได้รับการสนับสนนุ ดา้ นการให้ความรู้ การพัฒนท่ยี ั่งยืน การแปรรูปสินค้าเกษตรหรือแม้แต่การจัดการด้านการตลาดให้มีแหล่งขายมีพื้นที่ขายอย่างเหมาะสม สามารถขายของไดข้ ายสินคา้ ได้ เปน็ รายไดข้ องคนในชมุ ชน 2.4 การสง่ เสรมิ วฒั นธรรมท้องถ่นิ ประเพณชี มุ ชน ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงแต่ละชนเผ่าก็จะมีวัฒนธรรมมีประเพณีมีวิถีชีวิตตามการอบรม สงั่ สอนทส่ี ืบทอดกนั มาเป็นเวลาช้านาน จนกลายเปน็ รากเหงา้ ของวถิ ชี ีวิตของแตล่ ะชนเผา่ ที่ทุกคนยอมรับ เช่ือถือ และเป็นวัฒนธรรมท้องถ่ิน ความเป็นชนเผ่าท้ังวัฒนธรรมการดาเนินชีวิต การแต่งกาย การทาอาหาร ศิลปะ หัตถกรรม การทอผ้า การปกั ผา้ การผลติ สินคา้ ท้องถ่ินจาพวก เคร่ืองเงนิ ทองลงยา ท้ังผลิตสินค้าของใช้ เคร่ืองประดับ ต่างๆแต่ละชนเผ่า รวมถึง วัฒนธรรม ประเพณีศิลปะการแสดง การร่ายรา การขับร้อง การดีดสีตีเป่า เคร่ืองดนตรีพ้ืนบ้าน และส่ิงท่ีพ่ีน้องขนเผ่าเน้นให้มีการอนุรักษ์ มากท่ีสุดคือวัฒนธรรมชนเผ่า “ผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีประเด็นที่น่าสนใจ คือ ชุมชนที่สภาพ เศรษฐกิจท่ีดี มีความเป็นอยู่ที่ดี มีคุณภาพชีวิตพอเพียง จะให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมชุมชน ประเพณี ท้องถ่ิน เน้นความเป็นเอกลักษณ์ รักษาความเป็นชนเผ่าอนุรักษ์ ส่งเสริม สืบทอด ศิลปวัฒนธรรมอย่างทุ่มเท แต่ชุมชนใดหมู่บ้านใดที่ประชาชนในชุมชนยังขาดความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตยังต่ายังต้องดิ้นรน หาเช้ากินค่าจะคานึงถึงปากท้องของทุกคน ในครอบครัวเป็นสาคัญ คนกลุ่มนจี้ ะละเลยการใหค้ วามสาคัญกับวฒั นธรรมประเพณีอันดีงาม แทบจะ

250 การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ทส่ี ูงในอดีตและปัจจุบัน ไม่มีเวลากล่าวถึงหรือเห็นความสาคัญใดๆ เลย แต่ก็ยังคงปฏิบัติและมีวิถีชีวิต (Way of life) ตามแบบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีแต่ล่ะชาติชนเผา่ อย่างเป็นปกติ” 2.5 การจดั การปัญหายาเสพตดิ ในชุมชน ผู้นาชุมชนและราษฎรบนพ้ืนที่สูงมีความคาดหวังให้ชุมชนมีความปลอดภัย ปลอดยาเสพติดในทุกรูปแบบไมว่ ่าจะเป็นแหล่งผลิตยาเสพติด เปน็ ทางผ่านการขนส่งยา เป็นผู้ขาย เป็นผู้ซ้ือ ผู้เสพหรือมีส่วนเก่ียวข้องใดใดกับยาเสพติด ชุมชนต้องการมีอาชีพสุจริตไม่มีภาพลักษณ์เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด ทุกกิจกรรมโดยเฉพาะการกระทาของรายบุคคลเฉพาะชนเผ่าชาติพันธุ์ใด ก็ควรจะระบุชื่อ ผู้กระทาผิดเฉพาะบุคคลนั้นๆ ไม่ควรระบุชื่อชนเผ่า หรือเขียนข่าวด้วยภาษาเหมารวมว่าเป็นชาวเขา เป็นพวกชนเผ่าท่ีทาให้ราษฎรบนพ้ืนที่สูง เสียภาพพจน์ เสียความรู้สึก ด้อยคุณค่าในสังคมโดยทั่วไป ภาครัฐควรเข้ามาฝึกอบรมสร้างความตระหนักความเข้าใจ ในการหลีกเลี่ยงไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ส่ิงที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมในชุมชน โดยเฉพาะการเข้ามาเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับเด็กและเยาวชน ทุกพนื้ ท่ี 2.6 ระบบสวสั ดิการสังคมในชุมชน ราษฎรบนพ้ืนที่สูงต้องการสิทธ์ิความเป็นคนไทยท่ีมีความเท่าเทียมกันกับคนไทย พ้ืนราบ หรือคนไทยในพื้นที่อื่นๆ ต้องการการยอมรับ การให้คุณค่า ได้มีโอกาสทางสังคมเศรษฐกิจ การเมืองที่ไม่แตกต่างกัน ต้องการให้ภาครัฐมีความเข้าใจ สนใจและร่วมใจใน การเป็นคนไทยของราษฎร บนพ้ืนท่ีสูง ไม่เลือกปฏิบัติ มีความเป็นกันเองได้ เข้าถึงสิทธ์ิพ้ืนฐานในสังคม มีความเข้าใจในความเป็น ชนเผ่าที่มีวัฒนธรรมประเพณีเช่นที่เป็นอยู่ เวลาไปติดต่อกับสถานที่ราชการ การให้ความเป็นกันเอง มีความเสมอภาค ช้ีแจงทาความเข้าใจในแนวทางปฏิบัติด้วยการไม่เน้นเอกสารหลักฐานหนังสือต่างๆ มากเกินไป มีความอลุ่มอล่วย ไม่เน้นกฎหมายกฎระเบียบใดๆ ชนเผ่าไม่รู้ไม่เข้าใจและขาดหลักฐาน เอกสารข้อมูลท่ีทางการต้องการ ราษฎรบนพื้นท่ีสูงต้องการสวัสดิการสังคมในชุมชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการให้บริการดูแลสุขภาพในชุมชนเชิงรุก และเชิงบูรณาการ ทั้งสวัสดิการการเกิดการเจ็บและการตาย ให้มีสวัสดิการกองทุนด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ การส่งเสริมอาชพี ศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้าน ศิลปะ การทอผ้าเย็บปักถักร้อย การแต่งกายที่ควรได้รับการหนุนเสริม การมีคุณค่าทางใจและให้มูลค่าเชิงธุรกิจ เปน็ รายได้จุนเจือครอบครวั 2.7 การแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงแต่ละชนเผ่ายังคงคาดหวังว่า ภาครัฐหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง จะได้เข้ามาเกื้อกูล ราษฎรบนพื้นที่สูงให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีไม่มีปัญหาความยากจนหรือใช้ชีวิตในสภาวะ ขาดแคลนให้ภาครัฐเข้ามาสนับสนุนกิจกรรมการจัดการรายได้ลดภาระหรือการมีรายรับจากการลด ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย อบรมเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการใช้ชีวิตที่เหมาะสม มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน และมีความพอประมาณ รวมทั้งบริหารชีวิตของตนเองและครอบครัวให้หลดุ ออกจากสภาวะความยากจน อย่างยั่งยืน มีการประหยัดอดออมไม่เห็นแก่ตัวทั้งค่าใช้จ่ายด้านการดาเนินชีวิต ค่าใช้จ่ายด้านวัฒนธรรม ประเพณี ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา ของบุตร-หลาน หรือการลงทุนประกอบอาชีพที่ไม่มากเกินไป

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพืน้ ที่สูงในอดีตและปัจจบุ นั 251 ไม่เป็นภาระชีวิตและครอบครัวมากเกินไป มีหลักการบริหารชีวิตลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายรับจากการ ลดรายจ่ายอยา่ งต่อเนือ่ งอย่างม่ันคง ภาครฐั เข้ามาสนบั สนุนอยา่ งจรงิ จังและต่อเน่ือง 2.8 การมสี ่วนรว่ มรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ผลการไปพูดคุยเชิงสัมมนาและและการสนทนากับผู้นาชาวบ้านและประชาชน พ่ีน้องชนเผ่าทุกพื้นที่ต่างพูดว่า ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง มีความรู้สึกเป็นคนไทยเช่นเดียวกับคนไทยพ้ืนราบ หรือพื้นที่อื่นๆ ทั่วไป มีความภาคภูมิใจและสานึกในการได้ อยู่ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของ พระเจ้าอยู่หัวองค์เดียวกับคนไทยทุกคน ฉะน้ันจึงมีความตระหนักอยู่เสมอว่า ชุมชนท้องถิ่นพ้ืนท่ี ซ่ึงทุก คนอยู่อาศัยนี้ ทกุ คนตอ้ งมสี ่วนรว่ มกนั ดูแลรกั ษา พัฒนาให้มีส่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรท่ีสมบูรณ์ ต้องการ มีชีวิตสงบและได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นปกติ ในการดูแลป่า รักษาป่าและอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างลงตัว โดยไม่ทาร้ายป่า ไม่จุดไฟเผาป่าและไม่ตัดไม้ทาลายป่าที่ตนอยู่อาศัย ต้องการให้คนพื้นที่ราบและภาครัฐ ทุกฝ่ายมีความม่ันใจในความตั้งใจของชุมชนน้ีว่าพร้อมท่ีจะปกป้องดูแลรักษาความเป็นป่าให้มีอยู่ ให้เป็น ธรรมชาติดังเดิมให้ได้ เป็นธรรมชาติ ที่มีสัตว์ป่า อาหารป่า มีของป่า มอี ากาศดี อากาศบริสทุ ธิ์และมีความเย็น มคี วามเปน็ ปา่ ต้นนา้ มแี หลง่ น้า และเปน็ ปา่ อุ้มน้าไม่เป็นปา่ หวั โลน้ ที่พบเห็นในบางจังหวัดบางพ้นื ที่ กล่าวได้ว่า ประชาชนราษฎรบนพ้ืนที่สูง มีความต้องการมีความคาดหวัง และปรารถนาจะได้รับการดูแลและสนับสนุนและมสี ่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ด้วยเป้าหมาย ว่าให้ชุมชนมีความสามารถในการพ่ึงพาตนเองและสามารถพัฒนาชุมชนตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้น การแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมและจริงใจ มีความต่อเน่ือง ทั้งภาคประชาชน ภาคสังคม ภาครัฐและ ภาคท้องถ่นิ ร่วมมอื กัน ตามแผนภาพตอ่ ไปน้ี

252 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ทส่ี งู ในอดีตและปจั จุบัน แผนภาพ 4.19 ระบบการมีส่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชนราษฎรบนพ้นื ที่สงู

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพ้ืนท่สี งู ในอดตี และปัจจบุ นั 253 3. จุดยนื การทางานของศนู ย์พฒั นาราษฎรบนพืน้ ท่สี งู (ศพพ.) ทัง้ 16 แห่ง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มย่อยในด้านความเห็นเก่ียวกับจุดยืนการ ทางานของศูนย์พฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่สี ูงท้ัง 16 แห่งของแต่ละจังหวัดท่ีมีราษฎรบนพืน้ ที่สูงมีผลวเิ คราะห์ ข้อมูลดังนี้ จากการสนทนากลุ่มย่อย ผู้ให้ข้อมูลในเร่ืองจุดยืนการพัฒนาของ ศูนย์พัฒนาราษฎร พนื้ ที่สงู ดังนี้ “ต้องมีข้อมูลราษฎรบนพ้ืนที่สูงท่ีสามารถช้ีแจงได้ การปรับเปล่ียนบทบาท ภารกิจ พันธกิจต้องชัดเจน การพัฒนาให้มีความต่อเน่ือง ราษฎรบนพื้นที่สูงนึกถึงการพัฒนาต้องนึกถึง ศูนย์ชาวเขา แม้ว่าจะเปลี่ยนกรมใหม่ชาวบ้านก็ยังคงเรียกศูนย์พัฒนาชาวเขาเหมือนเดิม การต่อเนื่อง การปฏิบัติงาน รุ่นน้องไม่สามารถทาได้ นโยบายภารกิจของกรม กระทรวงชัดเจน สับสนตามไม่ทัน เปลี่ยนชื่อบอ่ ยๆ ชาวเขางง” การพฒั นา ทามามาก วัฒนธรรมจงั หวัดทาเร่ืองชนเผ่า ชาติพนั ธ์ุ เราสู้เขาไมไ่ ดเ้ พราะเรา มีงบน้อย ศูนย์เรียนรู้ทาเป็นบ้านตัวอย่าง ผู้นาเปล่ียนแปลงนโยบายบ่อยทาให้ไม่ต่อเน่ือง มีการ ประชาสัมพันธ์น้อยบางหน่วย เจ้าหน้าที่ไม่รู้จริง รู้ไม่ลึก ควรรู้ข้อมูลให้ลึก ตอบได้หมด มีการจัดทาคู่มือ หนังสือ 10 ชนเผ่า สร้างวัฒนธรรมของชนเผ่าให้เข้มแข็งและมีความยั่งยืน มีการทางานท่ีตอบสนอง ความต้องการของชุมชนได้ การเป็นผู้นาในการพัฒนาชาวเขา ศึกษาข้อมูลต่างๆท่ีเก่ียวกับงานของเรา ให้รู้อย่างถ่องแท้ พอตอบได้ มีจุดยืน จุดแข็ง จุดขาย ความมีชีวิตจิตวิทยาของเรา รับรู้การเปล่ียนแปลง ยอมรับอย่างรอบคอบ การศึกษา ทางานบูรณาการทุกภาคส่วน มีงบน้อย อปท. มีบทบาทต่อราษฎร บนพ้ืนที่สูงมากกว่า การพัฒนาชาวเขาต้องรู้ว่าปัญหาของชาวเขาท่ีเหมือนกันคือ ที่ทากิน เอกสารสิทธ์ิ ต้องเข้าใจเขา ต้องไปช่วยเหลือเขาตามนโยบาย เจตนารมณ์ ของกรมฯ ยืดนโยบายของกรมและจุดยืน ของเราก็น่าจะเข้มแข็ง ถ้าไม่ยึดนโยบายของกรมแล้ว จุดยืนไม่เหมือนกัน แต่นโยบายต้องชัดเจน จดุ ยืนของ พม. การมอบนโยบายตอ้ งชัดเจน ในหน่วยงานต้องปฏิบัติหน้าที่ บุคลากรมคี วามต้ังใจทาก็จะ สาเร็จ รู้จักภูมิสังคม บริบทในพ้ืนที่มีความเป็นมาอย่างไร บุคลากร ความชัดเจน บริหาร นโยบาย วิชาการ การปฏบิ ตั ิ ควรสนับสนนุ และเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน “ฟนั ธง ตรงเป้า เขา้ ประเด็น” อยากให้ศนู ย์ฯสอนให้ความรู้ด้านการเกษตร แบบต่อเนื่อง อยากใหศ้ ูนย์ฯช่วยสนับสนุน ทุนประกอบอาชีพ อยากให้ศูนย์ฯสนันสนุนพันธ์ุไม้ไผ่ ไม้เคาะ อยากให้ศูนย์ฯ สนับสนุนด้านเงินทุน แก่ชาวบ้าน เพื่อจะได้นาเงินไปซื้อพันธ์ุไม้เพื่อนาไปปลูกในหมู่บ้าน อยากให้ศูนย์ฯสนับสนุนพันธุ์ไก่ สนับสนุนยารักษาสัตว์ ดูแลเร่ืองคุณภาพชีวิต เป็นผู้ประสานหน่วยงานรัฐ มาทางานในหมู่บ้าน อย่างต่อเน่ือง ส่งเสริมการปลูกถ่ัวเหลือง ส่งเสริมอาชีพ เพาะเห็ด ช่างไม้ สารพัดช่าง โครงการประชารัฐ คือคนกับรัฐทาร่วมกัน อยากให้มีคุณภาพที่ดี มีอาชีพ มีรายได้ มีสุขภาพแข็งแรง มีอายุยืน ดูแลศาสนา ผีบรรพบุรุษ วัด อยากให้มีโรงสีข้าวในชุมชน เพ่ือสีข้าวกล้อง ข้าวก่า เจ้าหน้าท่ีศูนย์ฯควรรู้จริงทางาน เป็นรูปธรรม ส่งเสริม/สนับสนุนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความยุติธรรม มีกาลังใจ มีความเข้าใจกัน เข้าใจในงาน มีความเป็นนักพัฒนา มีข้อมูลในการพัฒนาพร้อมใช้งานตลอด สามารถให้คาปรึกษาได้ ยึดความโปร่งใส มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเน่ือง ให้รู้จักการคิดเน้นระบบ ทาเป็นระบบอย่างรู้จริง

254 การวิจยั การศึกษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพื้นทีส่ ูงในอดตี และปจั จบุ นั ศึกษาวิถีชีวิตชนเผ่า บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีความสามัคคี พ่ีสอนน้องและภารกิจ บทบาท ชัดเจนต่อเนื่อง มีการประชาสัมพันธ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ บุคลากรมีความรู้ด้านภาษาชนเผ่า ตอบสนองความต้องการของชมุ ชนให้ตรง มีการเรียนรงู้ านซ่ึงกันและกนั มีการจ้างงาน ทีม่ ีคณุ วุฒติ รงตาม ตาแหน่งทุกวุฒิ/ทุกสาขา มีความเสมอภาคในหน่วยงานไม่แบ่งชนชั้น (ข้าราชการ/ลูกจ้างประจา/ พนักงานราชการ) มีผู้นาชนเผ่าท่ีได้รับการยอมรับ สนับสนุนหอพักชนเผ่าเพ่ือการศึกษา รับฟังความเห็น มกี ารจ้างงานคนในชุมชน นายกยาพี จูเปาะ นายก อบต.วาวี อ.แม่สรวย กล่าวว่า “ช่วงแรก 40 ปี ท่ีผ่านมาเห็นการ เข้ามาของศูนย์สงเคราะห์ชาวเขาท่ีน้ี เคยเห็นกจิ การรมท่ีทาในท่ีน้ี และคนเหลา่ น้ีเคยส่งลกู หลานมาเรียน กับครทู ่ีนี่ (หน่วยแสนเจรญิ ) เคยมีทากิจกรรมต่างๆ ที่นี่ เคยต่อตา้ นยาเสพติดและสงเคราะหช์ าวเขาได้รับ การพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นการเกษตร การศึกษา สุขภาพอนามัย และการสงเคราะห์ต่างๆ และดีใจที่ ศูนย์สงเคราะห์ชาวเขาเข้ามา การพัฒนาสงเคราะห์ชาวเขาจนทาให้ราษฎรบนพื้นท่ีสูงได้รับเหรียญ จากพระเจ้าอยู่หัว ร.9 จนได้สัญชาติไทยและได้รับการพัฒนามากมาย ถ้าเราเข้าใจสงเคราะห์ชาวเขา เราก็จะเข้าใจแสนเจริญ สงเคราะห์ชาวเขาเช่ือมโยงกับราชวงศ์และได้สร้างโรงเรียน ตชด.ข้ึนท่ีดอยล้าน ช่วงที่สอง แสนเจริญและสงเคราะห์ชาวเขา มีความใกล้ชิดกัน ปลัดนายอาเภอไม่เคยเข้าถึง แต่สงเคราะห์ ชาวเขาเข้ามาเป็นหน่วยแรก ทาให้คนแสนเจริญมีความไว้วางใจสงเคราะห์ชาวเขา ปัจจุบันเราต้องรักษา ศนู ยส์ งเคราะห์ชาวเขาไว้ เพราะศูนยส์ งเคราะห์ชาวเขาเหนื่อยกับแสนเจรญิ มามาก และปจั จบุ ันยงั มาช่วย และให้คาปรึกษาเสมอ ช่วงที่ตั้ง อบต. ทั่วประเทศไทย ทาให้ศูนย์สงเคราะห์ถูกลดบทบาทลง แต่ อบต. ก็รับหน้าท่ีของ ศูนย์สงเคราะห์ต่อ และชาวบ้านทุกคนต้องสานต่องานศูนย์สงเคราะห์ซ่ึง อบต . และเจ้าหน้าที่ อบต. ไม่มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองวิถีชนเผ่า เพราะเป็นเด็กรุ่นใหม่ ไม่มีประสบการณ์ ในเรื่องการพัฒนาสังคม อีกท้ังเครื่องมือไม่เอ้ือต่อการพัฒนาสังคม แต่เจ้าหน้าท่ีศูนย์ฯ มีประสบการณ์ และความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนบนพื้นที่สูง และหน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่จะเข้าใจสังคมเมืองมากกว่า สังคมบนดอย อนาคตตอ้ งพลิกฟื้นฟูการทางานศูนย์สงเคราะห์ชาวเขาข้ึนมาใหม่ให้ได้ หน่วยพัฒนาสงั คม จาเป็นต้องเป็นหน่วยงานกลางที่จาเป็นในการดูแลเรื่องของการสูญเสียของประเพณีวัฒนธรรมชนเผ่า ซ่ึงถือเป็นภัยคุกคาม ต่อชุมชน และต้องเป็นหน่วยงานกลางในการเป็นพี่เล้ียงให้กับท้องถ่ินหรือทางาน ร่วมกัน ต้องมีกิจกรรมบ้านพักคนชรา ซึ่งเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ สนับสนุนให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่าง ส่งเสริม รรู้ ักสามัคคี และศาสตร์พระราชา แสนเจริญมเี จ้าท่ีเร่ืองดิน ความอดุ มสมบูรณ์ของดิน เพราะดิน เป็นเร่ืองที่ยิ่งใหญ่ วิถีคนแสนเจริญต้องเอาดินเป็นเจ้าท่ีและขอให้เจ้าที่สถิตอยู่ที่น้ัน ให้เป็นดินแดนท่ีสงบสุข และอุดมสมบูรณ์ เม่ือมีการรวมกลุ่มบนดินแล้ว จะมีศาลเจ้าต๊ักแตน ศัตรูพืชที่สาคัญของเกษตรกร แสนเจริญคือ ตั๊กแตน มีวิธีแก้ คือ หาภูเขาท่ีสูงสุดและทาพิธี เพ่ือขอให้ไม่มีตั๊กแตนและศัตรูพืชทาลาย พืชผลทางการเกษตร ตาแหน่งที่เป็นดวงของหมู่บ้าน ถ้า ตาแหน่ง “ยือมะ” ประวัติไม่ดี หรือไม่บริสุทธ์ิ ถือว่าไม่ดี เพราะถอื ว่า “ยือมะ” สาคัญที่สุดท่ีทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ไมม่ ีศัตรูพืช ซึ่งคนเป็นสิ่งเชื่อมโยงกับ ทุกส่ิง จึงต้องทาพิธีคาราวะสิ่งศักดิ์สิทธิในหมู่บ้าน เชื่อมโยงชาวบ้านกับอาเซียนและทุกหน่วยงานให้ได้ เพ่ือการพัฒนาชุมชนบนพ้ืนท่ีสูงอย่างย่ังยืน ศูนย์พัฒนาฯ ชาวเขา ควรมีจุดยืนท่ีชัดเจน บทบาทหน้าท่ี ในอดีตศูนย์ฯชาวเขาได้ช่วยเหลือกับราษฎรในทุกด้าน เช่นการศึกษา ทาให้ชาวบ้านได้มีการศึกษา อยากให้ ศนู ย์ฯชาวเขา ส่งเสริมด้านการเกษตรและควรสง่ เสริมในเร่ืองของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ิมขึ้น เช่น ส่งเสริม องค์ความรู้ในเรื่องการทาเกษตรพอเพียง เพื่อให้สามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ หน่วยงานแรกท่ีเข้ามา

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ทสี่ งู ในอดีตและปจั จุบัน 255 ในหมู่บ้านหน่วยงานแรก คือ ศูนย์ฯ ชาวเขา และปัจจุบันอยากให้ศูนย์ชาวเขาเป็นหน่วยรับรอง เหมือนเดิมและเป็นหน่วยงานกลางในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ของทางภาครัฐอยากให้ มาเป็นพี่เล้ียงในเร่ืองของกองทุน และเป็นหน่วยประสานให้กับชุมชน รู้สึกดีใจ เพราะศูนย์สงเคราะห์ มบี ุญคุณกบั ชาวบ้านมากไมว่ ่าจะเปน็ การปลูกพชื ตามความลาดชัน (Watersheds) และศนู ย์ฯ สงเคราะห์ ทางานด้วยใจจริงๆ และดีใจที่ ศูนย์ชาวเขาจะกลับมา อยากให้ศูนย์ชาวเขาเข้ามาส่งเสริมเร่ืองอาชีพ การเย็บผ้า การทอผ้า และหาตลาดในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน และส่งเสริมเรื่องของวัฒนธรรม วิถีชีวิตด้ังเดิมของชุมชน และปรับปรุงอาชีพของแม้บ้านให้ดีขึ้น อยากให้ส่งเสริมองค์ความรู้ในเร่ือง ของปุ๋ยอินทรีย์ เพ่ือลดการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก อยากให้ศูนย์ฯชาวเขาเข้ามาเป็นตัวเชื่อมประสาน ระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนาและการช่วยเหลือชุมชน อยากส่งเสริมให้เด็กๆ สืบทอด ภูมปิ ัญญาของชนเผ่า เช่น การทอผ้า การจกั สาน” กล่าวได้ว่า การแสดงบทบาทหน้าท่ีอันเป็นจุดยืนของความเป็นศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง (ศพพ.) น้ัน ผู้ให้ข้อมูลทุกหน่วยพื้นที่การวิจัยก็ได้แสดงความคิดเห็นกนั อย่างมีชีวิตชีวา เพราะเป็นข้อคาถาม ที่โดนใจท้ังผู้ให้บริการและผู้รับบริการเกี่ยวกับการพัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง ในขณะปัจจุบันและอนาคต สรุปไดด้ ังนี้ 1. ศูนย์ฯ ต้องเป็นแหล่งรวมข้อมูลการพัฒนาชาวเขาหรือชนเผ่าหรือราษฎรบนพื้นที่สูง ในทุกดา้ นอยา่ งมรี ะบบ สามารถสืบค้นและแสวงหาแล้วใช้ไดท้ นั ที เชน่ 1.1 ขอ้ มูลฐานประชากรทุกชนเผ่า 1.2 ขอ้ มูลชุมชนทุกแหง่ 1.3 ขอ้ มลู อาชพี รายได้ 1.4 ข้อมลู ด้านวฒั นธรรมประเพณี 1.5 ขอ้ มลู ด้านศิลปะ/หัตถกรรมและบริการใหช้ มุ ชน 1.6 ข้อมูลด้านสาธารณสุข 1.7 ข้อมลู ดา้ นการศึกษาของชมุ ชน 1.8 ข้อมลู ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมชมุ ชน 1.9 ข้อมลู ด้านวิวฒั นาการภมู ิหลัง ประวตั ศิ าสตร์ชนเผ่า 1.10 ขอ้ มลู ด้านยาเสพติดในชมุ ชน 1.11 ขอ้ มูลดา้ นอาชญากรรม/ภัยคกุ คามในชมุ ชน 1.12 ขอ้ มูลด้านภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบา้ น 1.13 ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ ในชุมชน ฯลฯ อยา่ งยง่ั ยนื 2. ศูนย์ฯต้องแสดงจดุ ยืนการทางานแสดงบทบาทหนา้ ท่ีทีช่ ัดเจน 2.1 เปน็ หนว่ ยประสานการพัฒนาชุมชนและราษฎรบนพน้ื ทีส่ ูงทกุ ด้าน 2.2 เป็นหน่วยสง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ ของการพฒั นาวฒั นธรรมชนเผ่า 2.3 เป็นหน่วยสนับสนุนการพัฒนาเชิงบูรณาการ สร้างชุมชนชนเผ่าให้พ่ึงพาตนเองได้

256 การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพืน้ ท่ีสงู ในอดีตและปจั จบุ ัน 2.4 เป็นหน่วยประสานการปฏิบัติการหรือสิทธิหน้าที่ความเป็นพลเมืองไทยที่มี คณุ ภาพและคุณธรรม 2.5 เป็นหน่วยประสานการพัฒนาความรชู้ าติพันธุ์และภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ให้เข้มแข็ง ยงั่ ยืน 2.6 เป็นหน่วยงานพ่ีเล้ียงสนับสนุนการจัดวัฒนธรรมทางสังคม ในชุมชนท่ีมี มาตรฐานคุณภาพ 2.7 เป็นหน่วยการศึกษาวิจัยและพัฒนาชุมชนและวัฒนธรรมชนเผ่า เพ่ือความ เข้มแขง็ เชิงบูรณาการ 3. ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงต้องแสดงบทบาทและหน้าท่ีในการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาชุมชนราษฎรบนพื้นท่ีสงู ท่ี ท่ีจรงิ จังต่อเนื่อง จนงานพัฒนาบรรลุผลสาเร็จ สร้างความเช่ือม่ัน ศรทั ธาให้กับชนเผา่ อย่างจริงใจ 4. เป็นหน่วยงานแกนนาประสานการทาโครงการประชารัฐด้านสวัสดิการสังคม พ้ืนบ้านและสวัสดิการสงั คมรูปแบบใหม่ในชมุ ชน 5. บุคลากรของศนู ยฯ์ ตอ้ งมีความรคู้ วามสามารถ รอบด้านอยา่ งน้อย 10 ประการ 5.1 มคี วามสามารถในการวางแผนงานครบวงจร 5.2 มีความสามารถในการประสานงานเชงิ สร้างสรรค์ 5.3 มคี วามสามารถในการสร้างและพฒั นาเครือข่ายพฒั นาสงั คม 5.4 มคี วามสามารถในการส่ือสาร/หรอื ทักษะการถา่ ยทอดข้อมลู 5.5 มีความสามารถในการศึกษาวเิ คราะห์ ศกั ยภาพชมุ ชนอย่างเปน็ ระบบ 5.6 มคี วามสามารถในการวิจยั แบบชาติพันธ์ุ วรรณา และวจิ ยั เชิงประจักษ์แบบมีสว่ นร่วม 5.7 มีความสามารถในการฝึกอบรมพฒั นาชาวเขาในดา้ นอาชีพและวัฒนธรรม 5.8 มีความสามารถในการทางานเป็นทมี เชิงรุกมงุ่ สคู่ วามสาเร็จ 5.9 มคี วามจรงิ ใจต่อบทบาทหน้าทแี่ ละชาวชมุ ชนบนพน้ื ท่ีสงู 5.10 มีความภาคภมู ิใจในการทาหน้าที่เพ่ือประโยชนส์ าธารณะของชุมชน 6. สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาสวัสดิการสังคมในชุมชนชาติพันธุ์ทั้งในด้านการศึกษา บตุ ร – หลาน ด้านสขุ ภาพ ด้านวัฒนธรรม การประกอบอาชพี และด้านคณุ ภาพชีวติ 7. ศนู ยฯ์ มีระบบการจัดการงานองคก์ รทีด่ ี 7.1 มีความตอ่ เนอ่ื งในการปฏิบัตงิ าน 7.2 มีนโยบายการให้บริการสาธารณะเชิงสร้างสรรค์ 7.3 มีงบประมาณการจัดการที่เพียงพอต่อการให้บริการประชาชนโดยไม่ต้อง ให้บุคลากรเจา้ หนา้ ท่ีออกคา่ ใชจ้ ่ายเอง (ในการเดินทางและทากจิ กรรมพฒั นาชาวเขา) 7.4 มกี ารสอ่ื สาร ประชาสัมพนั ธก์ ารทางานและการส่ือสารองคก์ รทด่ี ี 7.5 มีคู่มือเป็นแนวทางการปฏิบัติงานท่ีมีมาตรฐานทั้งด้านบริหารและบริการ วิชาการและการสนบั สนนุ ชุมชน 7.6 มีระบบธรรมภบิ าลการจัดการทีด่ มี คี วามโปรง่ ใส ถูกตอ้ งชัดเจนตรวจสอบความจริงได้

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นท่ีสูงในอดตี และปจั จุบนั 257 สรุปได้วา่ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง ในยุคปัจจุบันต้องเน้นคนเป็นศูนย์กลางให้ชาวบ้าน เปน็ ศนู ย์รวมการพัฒนา พัฒนาคน พฒั นาชมุ ชน และสิ่งแวดล้อม ให้สามารถอยรู่ ่วมกันได้ ให้คนอยู่กบั ป่า ให้ปา่ มีคน คุ้มครองคน ที่อยู่กับป่าดว้ ยความจรงิ ใจ ในรูปแบบของานจดั การปา่ ชมุ ชนตามแผนภาพ ดงั น้ี แผนภาพ 4.20 รปู แบบการบรหิ ารการพัฒนาคนเป็นศนู ย์กลางเพื่อการจัดการ ปา่ ของชมุ ชน

258 การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพนื้ ท่สี งู ในอดตี และปจั จุบัน แผนภาพ 4.21 จุดยืนของ ศพพ. ในการพฒั นาชุมชนอย่างย่ังยืน จากแผนภาพข้างต้น การพัฒนาให้ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงมีศักยภาพพร้อมท่ีจะทา หน้าที่ได้อย่างมีความหมาย ควรสร้างการมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วน เป็นศูนย์ท่ีรู้จริงด้านชนเผ่า เข้าใจจริง ด้านวิถีชุมชนในชีวิตชนเผ่า มีระบบฐานข้อมูล การพัฒนาอย่างรอบด้าน สามารถเป็นท่ีพ่ึงให้กับชุมชน ชาติพันธุ์และราษฎรบนพ้ืนที่สูงได้ในทุกที่ การพฒนาท้ังด้านการเกษตรครบวงจร การประกอบอาชีพ ศิลปะ หัตถกรรม สินค้าพื้นบ้านงานฝีมือและชุดแต่งกายท่ีเป็นสัญลักษณ์ชนเผ่า เป็นศูนย์ฯ ท่ีพร้อม ประสานการปฏิบัติงานกับเครือข่ายในทุกิจกรรม ประเมินทิศทางแนวโน้มของสถานการณ์การ เปล่ียนแปลง ประมวลข้อมูลการพัฒนาได้อย่างครบถ้วน เพียงพอ และพร้อมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรู้ ความสามารถ ด้วยจิตสาธารณะ ศูนยฯ์ มธี รรมาภิบาล การจัดการอย่างครบวงจร ทั้งการสร้างการมีส่วน ร่วม ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และมีคุณธรรม การทาหน้าท่ีของตนใหช้ ุมชนบนพ้ืนท่ีสูง และราษฏร บนพื้นที่สูงมีการพัฒนาอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน เน้นการพัฒนา จากภายใน (ระเบดิ จากข้างใน)

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ทีส่ งู ในอดตี และปัจจบุ ัน 259 ศูนย์พัฒนาราษฎรพ้ืนที่สูง (ศพพ.) ในปัจจุบันต้องเตรียมการปรับเปลี่ยนชุดความคิด (Mind Set) สู่ความพร้อมการเป็นศูนย์ประสานการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงเชิงสร้างสรรค์ในประเด็น สาคัญต่างๆเช่น ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง (ศพพ.) ในปัจจุบันต้องเตรียมการปรับเปล่ียนชุดความคิด (Mind Set) สู่ความพร้อมการเป็นศูนย์ประสานการพัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูงเชิงสร้างสรรค์ในประเด็น สาคัญต่างๆ เชน่ 1. เป็นศูนย์ฯ ทีม่ ีองค์ความรูก้ ารพัฒนาคน ชุมชน สังคมราษฎรบนพืน้ ทสี่ ูง 2. เปน็ ศนู ย์ฯ ทม่ี ีบทบาทหนา้ ท่สี อดคล้องกับความชานาญของตนเอง 3. ปรับเปล่ียนชุดความคิด (Mind set) ใหม่ สู่การให้บริการเชิงรุก ให้บริการ เชงิ สร้างสรรคแ์ ละบูรณาการการพฒั นาเชงิ องคร์ วม 4. เป็นศูนย์ ทีม่ ีความพร้อมการเป็นหน่วยเคลอ่ื นทีส่ ชู่ ุมชนมชี ดุ เคลอ่ื นที่พร้อมใหบ้ ริการ สาธารณะสู่สงั คมราษฎรบนพืน้ ทีส่ งู อยเู่ สมอ 5. สร้างส่ือหรือพัฒนาเครือข่ายให้มีความรู้จริง มีความเข้าใจจริงและมีจิตสานึก สาธารณะเพอ่ื ส่วนร่วม 6. เป็นศูนย์ฯ สร้างมูลค่าเพิ่มการทางานในชุมชนทั้งด้านวัฒนธรรมประเพณี ศลิ ปหตั ถกรรมและอตั ลกั ษณ์ความเปน็ ชนเผา่ รวมถงึ การใช้ทนุ ทางสังคมทีเ่ หมาะสม 7. เป็นศูนย์ฯ ที่มีองค์ความรู้และความชานาญในการสร้างสรรค์สวัสดิการสังคมแบบมี สว่ นรว่ ม 8. สร้างการยอมรับ ความเช่ือมั่น ความศรัทธา จากบุคคลและหน่วยเก่ียวข้องอย่าง ยง่ั ยืน 9. มีระบบขอ้ มูลชุมชนเพ่ือการพัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสงู และแก้ปัญหาชาวบ้านด้วยการ ใชป้ ัญญามากกว่าการใชเ้ งินเปน็ ใหญ่

260 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพนื้ ท่สี งู ในอดีตและปจั จุบนั 4. แนวทางการพัฒนาศักยภาพชมุ ชนเพอื่ การพง่ึ พาตนเองของราษฎรบนพืน้ ท่สี ูง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากับผใู้ หข้ ้อมลู วจิ ัยทุกพน้ื ท่กี ารวจิ ัยได้ขอ้ สรุปเร่อื ง แนวทางก4า.รแพนัฒวนทาาศงกั กยาภรพาพฒั ขนอางศชุมักยชภนเาพพอ่ื ชกมุ าชรพนเ่ึงพพื่อาตกนารเอพงึ่งขตอนงเรอางษขฎอรงบรนาพษื้นฎทรบส่ี นูง พทนื้ง้ั ใทน่ีสสูงว่ นของ เร่ืองกแรนะวบทวนางกกาารรผพพลัฒักฒนานารแาวลศิเคะักปรยารภะะาหเดพ์ขน็ ช้อกุมมาชูลรพนจาัฒเพกน่ืกอาากศรากั สรยนพภท่ึงาพนพาาชกตมุ ับนชผนเอู้ใดหงขงั้ขนอ้อี้งมรูลาวษิจฎัยรทบุกนพพื้นื้นทที่กี่สาูงรวทิจ้ังัยในไดส้ข่ว้อนสขรอุปง กระบ วนการพ4ฒั.1นการแะลบะวปนรกะาเดร็นพกฒั านราพศัฒกั นยาภศากัพยชภุมาชพนช:มุ 4ชนขัน้ ดตังอนน้ี 4.1 กระบวนการพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชน: 4 ขั้นตอน (4) (1) (2) ประเมนิ และ(ป4ร)บั ปรงุ สํารวจและก(1าํ )หนด วเิ คราะหและ(2ก)ําหนด กาปรพระฒั เมนนิาศแกัลยะภปารพับปรงุ ปญหสาครวาจมแตลอะงกกาาหรนด ศวกัิเคยรภาาะพหช์แุมลชะนกาหนด การชพมุ ัฒชนาศักยภาพ ปัญขอหงาชคมุ วชานมตอ้ งการ ทีตศอักงยพภฒั าพนชามุ ชน ชมุ ชน ของชมุ ชน (3) ท่ตี อ้ งพัฒนา ดศแาํ ักเบดนยศบานิ ภักเมกนายสี าพินภว รกชนา(พ3ามุพรฒั)รชวชพนมนุมัฒาชนนา แบบมสี ว่ นร่วม แผนภาพ 4.22 กระบวนการพฒั นาศักยภาพชุมชนเชิงระบบ จากแผนภาพอธิบายได้ว่า การพ่ึงพาตนเองของชุมชนราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง จะต้องมีแนวทาง เชิงกระบวนการ 4 ข้ันตอน เป็นการพัฒนาอย่างเป็นระบบพัฒนาด้วยการมีส่วนร่วมและพัฒนา เชิงสรา้ งสรรค์ จะเป็นการพฒั นาและเข้าถึงปัญหาชุมชน พึง่ พาตนเองอย่างยงั ยืน เชน่ 1) ชมุ ชนมีศกั ยภาพพ่ึงตนเองไดใ้ นดา้ นการจดั การนา้ สทิ ธทิ ่ีดินทากนิ 2) ชมุ ชนมศี ูนย์เรียนรกู้ ารจดั การอาชีพการเกษตรครบวงจร 3) ชมุ ชนมศี ูนยก์ ารเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม 4) ชมุ ชนมศี ักยภาพการส่งเสริมและสรา้ งสรรค์ศิลปหตั ถกรรมชนเผ่า 5) ชุมชนใช้ทุนทางสงั คมเพื่อการพัฒนาศักยภาพอยา่ งยั่งยืน เชน่ 5.1) ทนุ ทางวัฒนธรรม 5.2) ทนุ ภมู ิปัญญาพืน้ บา้ น 5.3) ทนุ ทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 5.4) ทุนมนษุ ย์ปราชญ์ชาวบ้าน 5.5) ทุนการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น 5.6) ทุนศิลปหัตถกรรมชนเผ่า

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพน้ื ท่ีสูงในอดตี และปจั จบุ ัน 261 5.7) ทนุ ปญั ญาหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5.8) ทุนวิถีชีวิตเรียบง่ายด้ังเดิม 6) พัฒนาชมุ ชนสคู่ วามเป็นชมุ ชนตน้ แบบ แผนภาพ 4.23 กระบวนการพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบ เช่น 6.1 การสร้างหมบู่ ้านต้นแบบสง่ เสริมการท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์และวฒั นธรรมท้องถิ่น 6.2 หม่บู า้ นตน้ แบบส่งเสรมิ การเรียนรเู้ ชงิ วัฒนธรรมภมู ิสงั คม 6.3 ชมุ ชนต้นแบบการสง่ เสริมการเกษตรและคุณภาพชีวติ ปลอดภยั ไรส้ ารพิษ

262 การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทสี่ ูงในอดีตและปจั จบุ ัน 7) สรา้ งแบบจาลองชมุ ชนการพึ่งพาตนเองดา้ นการท่องเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรมภมู ิสงั คม แผนภาพ 4.24 : ชดุ แบบจาลองชมุ ชนพ่ึงตนเอง ดา้ นการทอ่ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรมภมู สิ งั คม ผลการพัฒนาศักยภาพชุมชนจะทาให้ชุมชนเข้มแข็ง “คุณภาพชีวิตดีขึ้น อนาคต 10 ปี ข้างหน้าอยากเห็นคุณภาพชีวิตดีขึ้น แต่ต้องอาศัยญาติพ่ีน้อง เพ่ือนบ้านและยังใช้ทรัพย์สินร่วมกัน ส่งเสรมิ เรือ่ งคุณภาพชวี ิต สง่ เสริมคุณภาพชีวติ ของผู้พิการ สง่ เสริมความสามคั คี ใหช้ ุมชนเข้มแข็ง สงบสุข ครอบครัวอบอุ่น การศึกษา เน้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จัดสรรสวัสดิการ ให้ความสาคัญ ด้านการศึกษา การจัดสรรอาชีพให้เหมาะกับความต้องการ อยากให้ช่วยเหลือเร่ืองอาชีพ ที่ทาก็ดีอยู่แล้วและอยากให้ ส่งเสรมิ อาชีพให้กับคนรายได้น้อยจรงิ ๆ จนจริงๆ มีปัญหาจรงิ สนับสนุนโครงการส่งเสริมอาชีพ อยากให้ ศูนย์ นาโครงการอาชีพเสริมมาอบรมให้ความรู้เร่ืองต่างๆ ให้ชาวบ้าน บ่อยๆ ศูนย์ควรมีการจัดการ เรื่องการสนับสนุนเร่ืองอาชีพรายได้ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สามารถพ่ึงตนเอง ต้องการให้หน่วยงาน ส่งเสริมอาชีพ โดยการให้ความรู้ ส่งเสริมการมีอาชีพ การประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มอาชีพ เพ่ือความ ย่ังยืนในการดารงชีพ มีการส่งเสริมสนับสนุนเร่ืองอาชีพหลายอย่างดีขึ้น ต้องการให้ส่งเสริมให้ต่อเนื่อง จากอดีตและต่อๆไปในอนาคต ไม่ว่าจะเป็น อาชีพการตีเหล็ก การเกษตร ให้ศูนย์ส่งเสริมอาชีพหลัก ด้านการตีเหล็ก ให้มีความต่อเนื่องตลอดไป ไม่อยากให้สูญหาย ส่งเสริมอาชีพให้กับคนมีรายได้น้อย ศูนย์ฯ ควรมีการจัดการเร่ืองคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สนับสนุนกิจกรรมฝึกอาชีพ แปรรูปผลิตภัณฑ์ ให้ครอบคลุมทุกชุมชน สนับสนุนกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมของชนเผ่า เช่น การบวช อยากให้คน ในชมุ ชนเอื้อเฟอื้ เผ่ือแผร่ ักษาเอกลักษณ์ สานสมั พันธ์ทด่ี ี เหมือนเดิม รักษาอาหารการกินพื้นบ้าน ส่งเสริม เร่ืองการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีโครงการเวทีสัญจร ไปให้ทั่วถึงทุกครัวเรือน ถ้าเป็นไปได้ จะจัดปีละ 2 ครั้ง

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพนื้ ทส่ี ูงในอดีตและปัจจุบนั 263 ซ่ึงกิจกรรมอ่ืนจะตามมา จัดกิจกรรมเวทีสนทนา มาแลกเปลี่ยน เปิดเวทีพูดคุย เดิมมีแต่ผู้นาชุมชนมีส่วนร่วม อยากให้ชาวบ้านมีส่วนร่วม ในกิจกรรมน้ีด้วย จัดเดือนละครั้ง เดิมเลือกประชุมเฉพาะแต่ผู้นาชุมชน ผู้รู้เท่าน้ัน อยากให้ชาวบ้านร้บู ้าง แบ่งเป็นกลุ่ม เปน็ โซน คนแก่ที่มอี านาจ เป็นผู้นาแต่เขามีข้อคิดดๆี ที่เคย ฟังจากครบู าวงศ์โดยตรง อยากถ่ายทอดลูกหลาน ซงึ่ ต้องให้ลูกหลานไปหา จัดเวทสี นทนาในชุมชน ควรมี โครงการท่ีมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง มีการติดตามผลควรมีการพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้การตลาด เยอะข้ึน เพื่อการจัดหาตลาดรองรับ ผลิตผลทางการเกษตร อยากให้ศูนย์นาโครงการอาชีพมาอบรม ส่ิงอานวยความสะดวก สาธารณูปโภคเพิ่มมากข้ึน อยากให้มีการส่งเสริมการปลูกพืชระยะสั้นให้มีน้า เพื่อการบริโภค เร่ืองแหล่งน้าการเกษตร องค์ความรู้การเกษตร ทาในปริมาณน้อย แต่ให้ผลตอบแทนสูง ส่งเสริมการปลูกพืชระยะส้ัน ปลอดสารพิษเพื่อการบริโภคและขายให้เป็นระบบในหมู่บ้าน อยากให้ช่วย แก้ไขกลุ่มคนท่ียากจน ยากไร้ ไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้ยังต้องอาศัยภาครัฐสนับสนุน ออกมาเข้าร่วม อบรมโครงการ เพราะคนท่ีเข้าร่วมโครงการกเ็ ป็นคนหน้าเดิมๆ ไม่สามารถพง่ึ พาตนเองได้ยังคงต้องอาศัย ภาครัฐสนับสนุน เร่ืองแหล่งน้าการเกษตร การได้รับความรู้จากคนภายนอก เช่น การผลิตสินค้า การแปรรูปสินค้า เป็นต้น เป็นแนวทางใหม่ที่ทาให้เกิดรายได้ การถ่ายทอดในด้านวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ในการพัฒนาควรใช้วัฒนธรรม เป็นจุดยืนเพ่ือไปเช่ือมโยงกับงานอนื่ วฒั นธรรมภายนอกเขา้ มามากเกินไป เข้ามาอยู่กับชาวบ้านได้ เร่ืองน้าเริ่มจะมีปัญหามากข้ึน และมีมากในอนาคต ศูนย์ควรเป็นตัวกลางในการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามความตอ้ งการของราษฎร ควรมกี ารพฒั นาอยา่ งจรงิ จังและเปน็ รูปธรรม มกี ารบรู ณาการ พัฒนาการศึกษาของคนในพ้ืนที่เกิด ผู้สูงอายุ โดย 1. วัยเรียนท่ีพลาดโอกาส 2. ผู้สูงอายุด้านการพัฒนา คณุ ภาพชีวิต การที่ทาให้คนมีการศึกษา เช่น กศน. ที่เข้ามาเพ่ือการศึกษา การส่งเสริมในด้านองคค์ วามรู้ มีการส่ือสารที่ชัดเจนกับหมู่บ้าน มีการประชาสัมพันธ์ที่ชัดเจน ควรให้มีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ประเพณี น้อยท่ีสุดตามความเหมาะสม ส่งเสริมอาชีพที่ไม่ใช่ที่ดนิ นอกเหนือจากเกษตร ยกระดบั คุณภาพ ชวี ติ เรื่องรายได้ครวั เรือน สร้างรายไดเ้ พิ่มขึน้ ผอู้ านวยการศนู ย์พัฒนาราษฎรบนพน้ื ท่ีสงู ทา่ นหนึ่งกล่าวไว้ว่า “คนรุ่นใหม่ไม่ได้เตรียมคน ขาดการถอดรหัสการทางานบนพื้นท่ีสูง ควรมีหลักสูตรเตรียมคน เดิมมีการ เตรียมเจา้ หน้าท่ีที่จะเข้าทางานพัฒนาชาวเขาที่แม่เหาะ จงั หวดั แม่ฮองสอน ให้ร้ขู ้อห้าม ข้อนิยม จดุ อ่อน จุดแข็ง ในการทางาน อาข่าศาสตร์ เป็นศาสตร์ท่ีลึกซ้ึง (เพศสัมพันธ์) เข้าถึงประวัติศาสตร์ภูมิปัญญา มิติคนทางาน เข้าใจกับมิติท่องเที่ยว เป็นส่ิงสวยงาม มีศิลปะการแสดง มีสินค้า มีอาหาร และมีการ พกั อาศัย ตัวอย่างการท่องเท่ียวที่ประเทศสวิซเซอรฺแลนด์ มีจุดขาย เช่น มีผลผลิต ช็อกโกแลต ธรรมชาติ ส่วนการท่องเท่ียวของเมืองไทยมีความหลากหลายมากกว่า เช่น มีชาวเขา 10 เผ่า มีอาหารมูเซอ ลาบมูเซอที่อร่อยมาก ส่วนอาหารอาข่า ไม่ค่อยเด่น ส้มตาเป็นอาหารยอดนิยมของคนบนดอย ชาวม้ง เล้ียงลูกง่ายๆให้กินข้าวเปล่ากับเกลือ สนใจการศึกษา แต่ไม่สนใจอาหาร ควรให้ สาธารณสุขศึกษา เรื่องอาหารชนเผ่าต่างๆว่าทาไม คนเผ่าม้ง เป็นคนฉลาด อาหารสมองเผ่าม้งคืออะไร การค้าขาย มูเซอ เป็นคนค้าขายเก่งมีจิตวิทยา ม้งเป็นเจ้าของธุรกิจ เป็นเจ้าของ Order สินค้าต่างๆ งานวิจัยคู่ (ดร.พิสิฐ ลี่อาธรรม) มีการวิจัยรองรับโครงการ กิจกรรม Research Bared working, From routine to research ต้องมี ชุดความรู้ในการคดิ มชี ุดความคดิ ในการทางาน เช่น 1. Digital Networking สร้างประวัติศาสตร์ การเผยแพร่ชาติพันธุ์ ผ่านเครือข่ายพัฒนา เครือขา่ ย ให้ทัว่ ถึงทันสมัย เป็นศูนย์พฒั นาชาวเขา 4.0 2. ประวัติศาสตร์ ภูมิปญั ญา วถิ ีภูมิปญั ญาตามภมู สิ งั คม (สืบทอดครอบครวั เข้าถึง เข้าใจ)

264 การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ทส่ี งู ในอดตี และปัจจบุ ัน 3. กาหนดโครงสร้าง พัฒนาบุคคล (ขาดแคลน ต่อเนอ่ื ง) 4. ส่งเสรมิ วฒั นธรรมประเพณี สร้างเศรษฐกิจ สรา้ งสังคม สร้างชุมชนชาติพันธุใ์ หเ้ ขม้ แขง็ 5. เมนูชาวเขา คิด ค้นคว้า ศึกษาเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ของชนเผ่า อาหารวัฒนธรรม ทอ้ งถ่นิ 6. วิจัย ควบคู่กับการทางาน เพ่ือให้ได้งาน มีความชดั เจน ถูกต้อง เช่ือถือได้เป็น Research Bared working การถูกนาเสนอที่ไม่เป็นเอกภาพ เพราะไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง แต่ราษฎรบนพื้นที่สูงยังคงทาตาม วิถีชีวิต จึงถูกเปล่ียนแปลง ควรให้เขาคิดเอง โดยหาเวทีให้เขาพูดคุยกันอย่างต่อเน่ือง และให้เกิดความ หลากหลาย เขามีสิ่งดีๆอยู่แล้ว จึงควรส่งเสริมให้มีการนาเสนอการถ่ายทอด ถ้าภาคเหนือ ไม่มีกลุ่มชาติ พันธุ์ ภาคเหนอื จะขาดเสน่ห์ อสี านสูอ้ ีสานไมไ่ ด้ มชี าตพิ ันธุเ์ ยอะมาก แตไ่ ม่มีการสบื ต่อ คนอีสานใส่เสอ้ื ผ้า เหมือนกันหมดทั้งอีสาน ไม่ใช่ชุดชนเผ่า ภาคเหนือมีการแต่งกายชนเผ่า อาหารการกิน ท่ีมีความโดดเด่น หลากหลาย ดูเฉพาะข้างหน้า ไม่ดูอดีต จึงคิดใหม่ไม่ย้อนดูอดีต เสียเวลาอยู่กับที่ มีการเชื่อมโยงกับ ศิลปะการแสดง เช่น กีฬา ยิงหน้าไม้ ความสวยงาม อาหารเคร่ืองดื่ม ที่พัก ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรรักษาโรค ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม Value chainge ท่ีอยู่อาศัย Culture value, Economic base value เชื่อมโยง ดิจิตอล การใช้เทคโนโลยีการจัดการ ทาให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ทากิจกรรม IO (Information operations) การจัดการเชงิ ขา่ วสาร เพื่อให้สังคมเช่ือถือศรทั ธา การเช่ือมโยง 4 มิติ จากคุณคา่ สูม่ ูลค่า สกู่ ารพฒั นา ชุดความคิดเหล่านี้ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงทุกศูนย์ฯ ต้องมีอยู่และร่วมกันทาเป็น เครอื ข่ายทาเป็นระบบ” กล่าวได้ว่า การมีจุดยืนที่เข้มแข็ง ของ ศูนย์พัฒนาราษฎรพ้ืนท่ีสูง ควรมีความพร้อม 5 ประการ มีความสามารถ 5 ประการและมีบทบาทสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้ ดว้ ยหลักการทว่ี ่า การพฒั นาชมุ ชนบนพนื้ ทส่ี งู ตอ้ งใหช้ ุมชนพฒั นาดว้ ยตนเอง ศูนยฯ์ จะไมท่ าให้ราษฎรบนพ้ืนที่สูง เป็นราษฎรบนพื้นที่ราบ ทาใหค้ วามคิดของคนพ้ืนราบ ไปครอบงาวิถีคิดของคนบนพ้ืนท่ีสูง เพราะทุกพ้ืนท่ีบริบท ต่างกันในด้านภูมิสังคม การพัฒนาพ้ืนที่ จึงแตกต่างกัน ผลการพัฒนาจะเกิดผลลัพธ์ท่ีดีก็ต่อเมื่อได้บูรณาการการทางานของทุกฝ่ายงานในพ้ืนท่ี พัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง ทั้งบูรณาการเป้าหมาย บูรณาการกระบวนการทางาน บูรณาการผลลัพธ์ บูรณาการทรพั ยากร การพัฒนาในชุมชนต้องไปแสวงหาแนวทางปฏิบัติให้มีความสาเร็จจากชุมชน ส่ิงสาคัญ ในชุมชนควรมีการร่วมมือให้เห็นคุณค่า สร้างมูลค่าเพิ่มจากความโดดเด่นของชุมชนชนเผ่าบนพ้ืนที่สูงท่ี หลากหลาย ไม่ใช้วิธีการเดียวกัน การพฒั นาหลากหลายพื้นที่ มหี ลายกลุม่ เปา้ หมายและหลากหลายความ ต้องการ มีองค์ความรู้ ในชุมชนท่ีพร้อมจะนามาลงมือทา ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูงก็จะกลายเป็น ศูนย์กลางการเก้ือกูลชุมชน เป็นศูนย์รวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นศูนย์ประสานงานสวัสดิการสังคม ในชุมชน เป็นเพ่ือนคู่คิด เปน็ มิตรคู่ชุมชน พรอ้ มร่วมมือร่วมใจในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และจะประสบ ผลสาเรจ็ ดว้ ยระบบการบริหารท่ีประสานสอดคล้องกันในทกุ ระดับทุกมิตงิ าน ดงั แผนภาพต่อไปน้ี

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทส่ี งู ในอดตี และปจั จบุ นั 265 แผนภาพที่ 4.25 : ระบบบริหารการทาหน้าที่ของ ศพพ. อยา่ งครบวงจร สรุปได้ว่าชาวบ้านในชุมชนบนพ้ืนที่สูงพ้ืนท่ีต่างๆ ต้องได้รับการเรียนรู้และอบรมบ่มเพาะ สิ่งท่ีถูกต้องไม่คลาดเคลื่อนในความเข้าใจ การใช้ชีวิตแบบวัตถุนิยม ไม่เน้นความหรูหรา ฟุ่มเฟือยในการ ดาเนินชีวิต อยู่อย่างพอเพียงเรียบง่ายสมถะ พร้อมปรับทัศนคติ ปรับความเชื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง เม่ืออบรมเรียนรู้ ดูงานและลงมือทา ทาจนสาเร็จและเรียนรู้สู่ส่ิงใหม่ในชีวิต จนมีพฤตกิ รรมแบบย่ังยืน แบบพอเพียงในทุกดา้ นของชวี ติ

266 การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้นื ทสี่ งู ในอดตี และปัจจบุ ัน 5. ภาพอนาคตของความเปน็ ราษฎรบนพน้ื ท่สี ูง ผลการวิเคราะห์และเรียบเรียงความคิดเห็น ได้สาระสาคัญ คือ “ควรส่งเสริมผ้าปัก มง้ เมี่ยน ทาให้เป็นวิสาหกิจชุมชน ทาให้อาชีพดั้งเดิมให้เป็นอาชีพหลักที่ไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม ควรได้รับ การศึกษาอย่างทั่วถึงทุกภาคบังคับเท่าเทียมกับพ่ีน้องพื้นราบ อนาคตเราควรมีอาชีพแน่นอนม่ันคง ไม่ทาลายป่า เปล่ียนอาชีพภาคเกษตรเป็นนอกภาคเกษตร ส่งเสริมให้มีรายได้มั่นคงแน่นอน รักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีชนเผ่า แต่มีความคิดว่า แม้ว่าในอนาคตท่ีห้วยเลียบเด็กรุ่นใหม่พูดภาษาชนเผ่า ไม่ได้ พูดไม่ชัดเจน ควรรักษาประเพณี วัฒนธรรม ปัญหาต่างๆอาจแก้ไขได้หน่วยงานภาครัฐ แม้ว่า ทางราชการมองวา่ ชาวเขาเป็นปัญหา แต่บางครั้งไม่มีปัญหา แต่การทาลายป่าทาให้น้าท่วม ไม่ใช่ชาวเขา ทั้งหมดท่ีเป็นคนทา คนพ้ืนที่ราบก็ทา อยากให้คนท่ัวไปปรับภาพมุมมองชาวเขาในแง่ดี ปัญหาเกิดจาก ต้นเหตุใดควรค้นหาความชัดเจน มุมมองแต่ละหน่วยงานมองว่าปัญหาชาวเขา ทาลายป่า (น้าท่วม) ยาเสพติด ทาให้ไมอ่ ยากใหเ้ ยาวชนวัยรนุ่ พวั พันยาเสพตดิ ทกุ วันนวี้ ยั รนุ่ อยากลองอยากรู้ อยากเห็นพ่ีน้อง ชาวเขามีการศึกษาดี มีด็อกเตอร์หลายคน มีความต้องการให้มีการศึกษา น่าจะเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด ในเขตป่าสงวนควรวางขอบเขตให้ชัดเจน ส่วนใดเป็นพื้นท่ีทากินกับพื้นป่าจะได้ไม่ต้องขยายพ้ืนท่ีทับซ้อน กัน ช่วยป้องกันการทาลายบุกรุกป่าไม้ควรแก้ไขปัญหาการปลูกข้าวโพด การปลูกพืชเชิงเดี่ยว ทุกวันนี้ ปัญหามีมากมาย ท้ังราคาตกต่าและขายผลผลิตไม่ได้ คนพ้ืนราบยัดเยียดวัฒนธรรมให้เรา เดิมเราอยู่ตามป่า กลัววัฒนธรรมพี่น้องจะหายไป อยากปลูกจิตสานึกคนในชุมชนให้รักบ้านเกิด พัฒนาตนเอง รักป่า รักชุมชน รักส่ิงแวดล้อม เน้นเกษตรอินทรีย์ (บา้ นนา้ สอด) เรม่ิ รวมตัวกันเปน็ กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชน โดยการ ลดการใช้สารเคมี เกษตรอินทรีย์ ส่วนมากเน้นการปลูกไม้ผล ไม่เน้นข้าวโพด อีก 10 ปีข้างหน้า ต้องเร่ิม แก้ปัญหา ในแต่ละข้อ ปลดล็อคในแต่ละประเด็น ลดใช้สารเคมี มีธรรมชาติที่สวยงาม ช่วยกันดูแล ผู้สูงอายุ ดแู ลคุณภาพชีวติ ได้ดีขนึ้ .คุณภาพชีวิตการศึกษาสงู ขึ้น กลบั มาพัฒนาบา้ นเกดิ ภูศักด์ิ ธรรมสาร อดีตรองอธิบดีกล่าวว่า “เผ่าพันธุ์ไหนก็ตามท่ีมีอยู่ในประเทศไทย มีศักดิ์ศรี เป็นคนไทยของประเทศไทยเท่าเทียมกัน ให้วัดความสามารถของบุคคล อย่าวัดท่ีเผ่าพันธุ์” (14 พ.ค.2560) 10 ปีข้างหน้าไม่ควรมีใครทาลายป่า เพราะคนท่ีสูงจะไปรับจ้างคนกทม. และไป ต่างประเทศกันหมดในหมู่บ้านจะเห็นคนเฒ่าคนแก่ ไม่มีคนหนุ่มสาวในบ้าน ในปีหนึ่งๆ จะเจอกัน เดือนเมษายน ไม่ว่าพื้นราบหรือพื้นที่สูง เน่ืองจากหากินรับจ้างอย่างเดียว พืชผลทางการเกษตรเขาทาไร่ เล่ือนลอย เหมือนทาลายป่าเยอะ แต่ความจริงคนทาไม่มีแล้ว ลูกๆ ไม่มีใครอยู่บ้าน เพราะฉะนั้นขอให้ แต่ละชุมชนพ่ึงตนเองให้ได้ ไม่ไปรับจ้างท่ีอ่ืน ขาดวัยแรงงาน ขาดคุณภาพชีวิตท่ีดี เป็นปัญหาเดียวกัน กับคนพื้นราบ ต้องการผู้รับผิดชอบร่วมกับกรมทรัพยากรป่าไม้ เพ่ิมหลักสูตรท้องถิ่น ในการส่งเสริมการ อนุรักษ์ป่า น้า เช่น จังหวัดน่าน เป็นต้นน้าสายหลักต่างๆ ลงสู่จังหวัดต่างๆ ลงสู่แม่น้าเจ้าพระยา ถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับการอนุรักษ์ป่า เพื่อให้เด็กเป็นผู้ใหญ่ท่ีดีเพิ่มวิชาหลักสูตรท้องถิ่นอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมพ้ืนที่สูงมีส่ิงแวดล้อมป่าไม้ร่มร่ืนสวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยว ชุมชนในหมู่บ้านอยู่อย่างเป็น ระเบียบ มีถนนหนทาง ไม่มีการบุกรุก มีเกษตรถาวร อากาศร่มร่ืน ดอยมูเชอเหมือนต่างประเทศ ภูมิประเทศสวยงาม มีการกาหนดเส้นทางท่องเที่ยว มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ คนมีคุณภาพ มีการศึกษา ไม่มใี ครดูหมิ่น ม้งสอบได้เปน็ ผู้พพิ ากษา มีการศึกษา มีระเบียบวินัยปัจจุบันส่วนใหญ่ จะเอาผลประโยชน์ ง่ายทาให้เราทางานยาก “อยากเห็นทุนทางสังคมในพื้นท่ีสูง วัฒนธรรมแต่ละ ชนเผ่า ทุกชุมชน

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพื้นท่สี ูงในอดีตและปัจจุบนั 267 เช่น เม่ียน คนรุ่นใหม่สัมผัสไม่ถึง เห็นแต่ภาพเก่าๆ สมัยที่เป็นกองชาวเขา ไม่รู้ความเป็นมาปัจจุบัน เรากลับมาอยากฟ้ืนฟูให้คนรุ่นหลัง ลกู หลานได้ถ่ายทอดต่อไป ฟื้นฟูอดีตสร้างปัจจุบัน เห็นภูมิปัญญาแต่ละ ชนเผ่า น่าน มี 5 ชนเผ่า มีภูมิปัญญา เช่น การผสมสีย้อมผ้าใช้สีธรรมชาติ หาดู ได้ยาก ยารักษาโรค ท่ีพัฒนาจากสมนุ ไพร ร้ขู ั้นตอนการทาอยา่ งละเอยี ด” มีอัตลักษณแ์ ต่ละชนเผ่าในชุมชน การสืบทอดรกั ษา วัฒนธรรมประเพณีในชนเผ่า ธรรมชาติส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ การท่องเท่ียว เชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ เน้นอนุรักษ์วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อมของชุมชน ทุน 2 อย่าง คือ ทุนคน กับวัตถุทาอย่างไรจะดึงศักยภาพ มาพัฒนาเร่ืองท่องเที่ยวกับรายได้ ส่ิงแวดล้อม อนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม่ในชุมชน ถ้ามีป่า มีสัตว์ มีอาหาร อยู่ในตัว ถ้าทุกคนมีส่วนร่วม มีจิตสาธารณะในอนาคตมีการร่วมกลุ่มเป็นสมาคม แซ่ เช่น บ้านขุนกลาง ท่ีเชียงใหม่ เพ่ือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปัจจุบัน เวลาขอความช่วยเหลือจะกราบไหว้ แต่พอเสร็จแล้วจะ หนีหาย ควรส่งเสริมช่วยเหลือ ผมู้ ีทุนทางสังคมด้ังเดมิ เพราะถา้ ชว่ ยเหลือเขา ส่งเสริมให้มีเกียรติ มหี น้ามีตา ในสังคม การรวมกลุ่มวัฒนธรรมในการสร้างสวัสดิการชนเผ่าให้เข้มแข็ง การบริหารปราศจากการเมือง ธรุ กจิ ปราชญ์ชาวบ้าน มที นุ เรอ่ื งการพดู การแตง่ กาย วฒั นธรรม การเกดิ บางหมู่บ้านเดก็ พูดภาษาชนเผ่า ไม่ได้เพราะพูดภาษาคาเมอื ง ภาษาภาคกลาง อยากให้อนุรักษ์ตรงน้ี ความร่วมมือ ความเข้มแข็งของผู้นา ชุมชนสรา้ งกิจกรรม ทาให้กลุ่มรู้จักกันมากขึ้น นาสู่ความสาเรจ็ ตั้งกลุ่มรวมตัว เป็นต้นแบบเพิ่มพลังพื้นท่ี สเี ขียว พบความสาเร็จเร็วขึ้น เห็นหลายๆพื้นทส่ี ่งเด็กไปศกึ ษาต่อ เอาวัฒนธรรมข้างนอกมาใช้ วัฒนธรรม ท่ีสูงจะหายไป ต้องถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน ถ้าไม่ถ่ายทอดสิ่งดีๆจะหมดไปอบรม เช่น เป็นบ้านป่ากลาง หมอผีจะหมดไปในวันหน่ึง ทาไงให้รุ่นลูกหลานสนใจเรียนรู้ ถ้าเขาไม่สนใจก็ยากท่ีเขาจะเรียนรู้ด้านต่างๆ เช่นการนับถือผี การมีประสบการณ์ เจ้าหน้าท่ีรัฐสามารถดาเนินการได้ แต่มีปัญหาหลายอย่าง เช่น การท่องเท่ียว สนับสนุนมา 20 กว่าปี แต่ศูนย์ไหนส่งเสริมได้ไม่เด่นไม่ดังก็โชคดีไป แต่ใครจัดการ ท่องเที่ยวกันดีเริ่มอันตราย เช่น ที่ภูทับเบิก คิดว่าศูนย์เพชรบูรณ์สนับสนุน กลัวว่าสนับสนุนให้บริการ จัดการท่องเที่ยวได้ แต่ตอนหลังถูกส่ังรื้อถอนทุกสิ่งทุกอย่าง ชุมชน ประชาชน ร้ือหมด คิดว่าภาครัฐ ต้องระวังด้วย ให้ชุมชน เด่น ดี ดัง การส่งเสริมมีธรรมนูญชุมชน กาหนดสิ่งที่ให้ทาและสิ่งท่ีไม่ให้ทา การทอผ้าปัจจุบันมีการประยุกต์ ตกแต่งปรับปรุงสีสวยข้ึน แต่ควรเป็นผ้าของชนเผ่าของแต่ละชนเผ่า อยากให้ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ไดร้ ับการสืบทอดตอ่ ไป เน้นเสื้อผ้าที่นาเทคโนโลยมี าผลิตไดเ้ ร็ว ยังคงอัตลกั ษณ์ อยู่แต่คุณค่าหายไป ให้ความเป็นชนเผ่าอยู่ ลวดลายอยู่ แต่อัตลักษณ์หายไป พ่อแม่ปักชุดให้ 1 ปี 1 ชุด ปัจจุบันซ้ือจากตลาดใส่แทนมีการจัดงานเหมือนงานอีเว้น ไม่ศักดิ์สิทธิ์ งานปีใหม่ม้งที่ กทม. ที่เชียงใหม่ จัดตรงในช่วงที่ทุกคนไปร่วมได้ ทาไมคนแต่งกายได้ 90 % แต่คนในหมู่บ้านทาไมไม่ใส่ ถ้าม้งจัดงาน ขอบรรจุวันปีใหม่เป็นวันหยุด การจัดงานจะจัดให้ตรงกับวันท่ีลูกหลานกลับบ้านได้ จะตรงกับปีใหม่เมือง อยากให้คนทางานในเมือง มาปีใหม่ม้งโดยไม่ขาดราชการ ตรงกับที่หมู่บ้านประชาภักดีจังหวัดพะเยา ต้องการให้ปีใหม่ม้งเป็นวันหยุด หรือควรจัดให้เป็นวันพิเศษ ตามหลักทฤษฎีปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง ต้องลงมือทา ทาด้วยความรู้ความเข้าใจ หรือทาจนเกิดความเคยชิน แม้ว่าบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี แต่ละหมู่บ้านไม่เหมือนกัน มีความพอเพียงเร่ืองการกิน ไม่พอเรื่องน้า เข้าใจปัญหาแต่ละพื้นท่ี ผู้นา และคนในชุมชน เงินท่ีทุ่มให้เขาจะไม่สูญเปล่าและสร้างการยอมรับที่เขาพร้อมรับ การพัฒนาชุมชน ให้ย่ังยืน เข้าใจการบริหารท้องถิ่น หากท่านต้องเป็น back office ระยะเวลาส้ัน อาจเห็นภาพไม่ชัดเจน ตอ้ งบูรณาการกับพ้ืนที่ ผนู้ า ศึกษาตัวอย่างท่ีทาแล้วสาเร็จ เศรษฐกิจพอเพียงควรคานึงทุกด้าน ชาวบ้าน ยังมีความจาเป็นต้องกิน ต้องใช้หน้ี ควรมีตัวอย่างให้ดูชัดเจน ยังมองไม่ออก คิดยาก ประเทศอื่นนาไป

268 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ทสี่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั ขยายผล เช่น ประเทศติมอร์เลทเต้ นาไปขยายผลท้ังประเทศ ต้องเรยี นรู้เข้าใจพร้อมแนะนา พยายามให้ ชาวบ้านเข้าใจ เข้าถึง ในอดีตชาวบ้านทาอยู่แล้ว แต่ปัจจุบันเปล่ียนแปลงไป ดีบ้างไม่ดีบ้าง ให้ชาวบ้าน สมัครใจ อย่าไปบังคับ คุยก่อน ศึกษาดูงานขยายผลเอง ต่อเติมวิถีชีวิตเป็นแบบพอเพียงอยู่แล้วให้เป็น ปกติประจาครัวเรือน แต่ความเป็นระบบความเข้าใจยังไม่มี ไม่เข้าใจ กระบวนการไม่เข้าใจระบบจริง เช่น บ้านแม่ฮ่างใต้ จังหวัดลาปาง ใช้เศรษฐกิจพอเพียง 14 ครอบครัว ขยายผลต่อไปท้ังหมู่บ้าน มีหลัก ศูนย์การเรียนรู้ศาสตร์พระราชานาสู่ศูนย์การท่องเที่ยว เดิมอยู่ได้โดยปลูกข้าวกินเอง ไม่ซ้ือเขา วางแผน กินข้าว ให้มีกินถึง 25 ปี พ่ึงตนเองได้ ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ พ้ืนที่เขาอยู่ไม่เอื้ออานวยต่อการขยับพื้นท่ี ท่ีทากินไม่มีต้องเช่าเอา สภาพเศรษฐกิจถ้าช่วยตนเองไม่ได้ต้องใช้เงิน มีพื้นที่ใช้ความรู้ความสามารถ ที่สาเร็จ ควรมีตัวอย่างให้เห็นชัดเจน ถ้ารู้เข้าใจ พอใจ อดทนทา ไม่โลภ ไม่อยากมีเกินไป ไม่แข่งขัน ไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่ฟุ่มเฟือย พาไปดูงาน กลับมาแล้วไม่เคยประเมินติดตามผลว่าเขาทาจริงไหม รู้ทั้งรู้แต่ไม่ ปฏิบัติ แม้เพียง 20 % ก็ทาไม่ได้ ควรเริ่มท่ีตัวเองก่อนลงมือปฏิบัติ ช่องว่างการปฏิบัติการเรียนรู้เกิดจาก ความพร้อมความเข้าใจ ความมั่นใจ ความอดทน อยู่ที่การปฏิบัติของแต่ละคน บางคนในชุมชนต้องการ ควรเอาเพียงแค่เล้ียงตวั เองได้ ดา้ นการศึกษาควรเพ่ิมหลักสตู รท้องถิ่นได้รับการศึกษาเท่าเทียมคนพื้นราบ มคี ุณภาพด้านการศึกษา มีระเบียบวินัย ชนเผ่ามีการศึกษาที่ดี สามารถพัฒนาหม่บู ้านได้ พัฒนาศกั ยภาพ ชีวิตดีข้ึน มีการศึกษาสูงข้ึน(กลับมาพัฒนาบ้านเกิด) ด้านประเพณี วัฒนธรรมการแต่งกายไม่ควรเป็นชุด พ้ืนราบ เรม่ิ ใชช้ วี ิตเหมอื นคนพ้นื ราบ คนพื้นราบนาวฒั นธรรมเข้ามาเยอะ/อยากให้รักษาวัฒนธรรมเดิมไว้ สร้างจิตสานึกเด็กรุ่นใหม่กลับมาพัฒนาบ้านตนเอง อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไว้ เด็กสืบทอดประเพณี/ วัฒนธรรม ที่ดินทากินควรจัดขอบเขตในการทากินที่ชัดเจน (ลดการทาลายป่า) จัดให้มีท่ีดินทากิน มีสมาคมรวมม้ง 18 แซ่ ทากิจกรรมร่วมกัน จัดงานประจาปี แสดงถึงความจงรักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดิน รวมตัวกันของตระกูลแซ่ แซ่เดียวกันเป็นพ่ีน้องกัน ด้านเกษตรอินทรีย์ ควรสนับสนุนการปลูกไม้ผล (พืชเศรษฐกิจ) ลดการใช้สารเคมี มีธรรมชาติท่ีสวยงาม ป่าสมบูรณ์ มีแหล่งท่องเที่ยว ปลูกฝังเด็ก ใหอ้ นรุ กั ษป์ า่ ไม้/นา้ สิง่ แวดล้อม ดูแลสุขภาพชีวิตผูส้ ูงอายุให้ดีขึน้ มีการคมนาคมสะดวกทุกหมู่บา้ น วยั รุ่น ไกลยาเสพติด มองชนเผ่าเป็นระดับเดียวกัน ไม่มีอคติต่อกัน มีสิทธิเท่าเทียมกัน มีอาชีพหลักท่ีดี ทาเป็น วิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมอาชีพค้าขายที่ม่ันคง มีรายได้ที่ม่ันคง บุตรหลานมีการศึกษาดี ชุมชนไหน มีการศึกษาดี พัฒนาการศึกษาจนเป็น ดร. (บ้านปากกลาง) ถ้ามีรายได้มั่นคง ปัญหาต่างๆ ก็จะแก้ไขได้ หน่วยงานภาครฐั มองว่าเขาเป็นตวั ปัญหา เชน่ ไฟปา่ น้าท่วม ยาเสพติด บุกรกุ ป่า ในอนาคตควรจะปรับ ภาพให้ดูดี ไม่อยากให้เยาวชนพัวพันกับยาเสพติด เพราะอยากลองอยากรู้ เขตป่าสงวนมองขอบเขตว่า พื้นท่ีทากินอยู่ส่วนไหน ท่ีป่าสงวนอยู่ตรงไหน เพื่อจะไม่บุกรุกป่า จะได้ปลูกพืชเชิงเด่ียวได้ เช่น ข้าวโพด จะไม่มีปัญหาเกดิ ข้ึน วัฒนธรรมถูกทาลาย เช่น วัฒนธรรมของตองเหลือง เพราะมีการ ยัดเยยี ดวัฒนธรรม พน้ื ราบให้เขา อนาคตกลวั วัฒนธรรมของเขาสูญหายไป อยากจะปลกู จิตสานึกให้รักบ้านเกิด อยากให้เขา มาพัฒนาบ้านเกิดตนเอง เช่น ไปเรียนหนังสือและไปทางานท่ีอื่น แต่งงานกับคนพ้ืนราบไม่กลับบ้านเกิด ลืมถิ่นกาเนิด ไม่พูดภาษาท้องถิ่นชนเผ่า ไม่ยอมรับว่าตัวเองเป็นชนเผ่า ลดการใช้สารเคมีปลูกพืช เศรษฐกิจ มีวิสาหกิจชุมชน สามารถสามโนปัญหาในอดีต นาไปแก้ไข จะนามาซ่ึงความยั่งยืนทุกปัญหา อยากจะได้รับการแก้ไข จะเห็นภาพอนาคต รู้ปัญหาในอดีต ปัจจุบัน ได้ชัดเจนทาสามโนปัญหาชัดเจน ศึกษาให้ถ่องแท้ การรวมกลุ่มของม้ง รวมกลุ่มเป็นสมาคม “แซ่ว่าง”ประชุมท่ีบ้านขุนวาง มีฌาปนกิจ (ผลงานชิ้นโบว์แดง) มีการสง่ ข่าวสาร ร่วมทาบญุ สมาคม 18 แซ่ รวม ม้งท้งั ประเทศไทย ในไทยมี 15 แซ่

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพน้ื ท่ีสูงในอดตี และปัจจบุ นั 269 ผู้นาด้านจิตวิญญาณ มี 2 แบบคือ เรียนมาและวิญญาณจะเลือกคนมาเป็นหมอผีต้องมา กราบไหว้ให้ช่วยเหลือ ต้องอนุรักษ์ไว้เพื่อจะได้ไม่ให้สูญหายไป ต้องส่งเสริม หมอผีก็ไม่มี ต้องไปจ้างที่อ่ืน มาทาพิธีในหมู่บ้าน ให้มีหน้ามีตาในสังคม สืบสาน สืบทอดไว้ให้ลูกหลานคนชายขอบ ลืมรากเหง้า ของตนเอง ไม่เรียนรู้วัฒนธรรมของตนเอง ปัญหาเด็กเยาวชนที่ลืมสัญชาติ (รากเหง้า) ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นแบบอย่างทางด้านภาษาพูด การแต่งกาย วัฒนธรรมการกิน ชาวเขาบางคนลืมภาษาของชนเผ่า ไปอยู่ในเมืองพูดภาษาไทย ภาษาพ้ืนราบ ลืมรากเหง้า ไม่ยอมแต่งชุดชนเผ่า ไม่ยอมรับว่าตนเอง เป็นชนเผ่า ควรมีการอนุรักษ์ชนเผ่าวัฒนธรรม ด้านภาษา การแต่งกายให้เป็นมรดกของชนเผ่าต่อไป พลังการมีส่วนร่วมโดยไม่มีผลประโยชน์ ไม่หวังผลกาไร มีการร่วมมือกันอย่างเข้มแข็งของผู้นาทางสังคม การทากิจกรรมกันมากข้ึนนาไปสู่ความสาเร็จของหลายๆ กิจกรรมท่ีเกิดจากการรวมตัวกันจะพบกับ ความสาเร็จมากขึ้น อนาคตการสูญหายของทุนทางสงั คมของชนเผ่าเพราะนาเอาวฒั นธรรมท่อี ่ืนมาแทรก ทาให้ถูกลืมวัฒนธรรมไปแบบอัตโนมัติ ต้องสอดแทรกหลักสูตรการศึกษาให้เยาวชน ไม่เช่นน้ันจะหาย แบบสาบสูญไปเลย คนชายขอบ คือคนที่เป็นคนพื้นราบก็ไม่ได้ เป็นคนพื้นท่ีสูง (ชนเผ่า) ก็ไม่เอา วัฒนธรรมของเก่าต้องรักษา สิ่งใหม่ต้องเรียนรู้ ชนเผ่า ไม่โยกย้าย มีป่าอนุรักษ์ รักษา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ควรสง่ เสรมิ การถ่ายทอดภมู ิปัญญา เชน่ หมอผี หมอสู่ขวัญ ตอ้ งอบรมโดยนาวทิ ยากรมาให้ความรู้ ถ้าไม่มี การถ่ายทอดก็จะสูญหายไป มีหมอผี หมอขวัญ เลี้ยงเจ้าท่ีในหมู่บ้าน 1 ปี ฆ่าหมู 1ตัว 20 ปี ฆ่าวัว 1 ตัว ฆ่าเพื่อนาไปเล้ียงเจ้าท่ีในหมู่บ้าน มีสุรา (อุ) ชาวบ้านทาเอง โดยมีข้ันตอนการทา คือ นาข้าวเหนียว ผสมกับรา หัวเช้ือ หมักไว้นานย่ิงอร่อย อนาคต 10 ปีข้างหน้า มีคนพื้นราบอพยพเข้ามาอาศัยในหมู่บ้าน อยากให้คนในชุมชนอยู่ดีกินดี ไม่มีโรค ไม่มีหน้ีสิน ปลูกไม้ เช่น ยางพารา โดยปลูกหลายๆ อย่าง เพ่ือป้องกันความเส่ียงในผลผลิต เช่น ยางพาราไม่มตี ลาดรองรับ ได้ถนนดีๆ ลาดยาง เพราะการคมนาคม ลาบากมากโดยเฉพาะในฤดูฝน ขาดงบประมาณในการทาถนนหนทาง เพราะป่าไม้ห้าม แต่ก็ยังใช้ถนน ของหมู่บ้าน ส่วนมากจะช่วยเหลือกันด้วยวาจา ไม่เป็นรูปธรรม อยากให้หมู่บ้านปลอดยาเสพติด ให้หมู่บ้านปลอดสารเคมี ให้ราคาผลลิตดี เพราะปุ๋ยมีราคาสูงมาก ในช่วงฤดูฝนวิตกเรื่องผลผลิต ทางการเกษตรมาก ทาฝายเพื่อนาน้าเข้าสู่พ้ืนที่ทากิน ทาการเกษตรทุกรูปแบบ แต่ไม่มีน้าเพียงพอความ ตอ้ งการ ปัญหาเรื่องการตลาด ขาดงบประมาณในการลงทนุ เพ่ือจะนาผลผลิตไปขายในเมือง ขายผลผลิต ให้พ่อค้าคนกลาง เช่น ขายกล้วยน้าว้าในราคา 8 บาท แต่พ่อค้านาไปขายในเมืองราคา 35 บาท บุตรหลานไปเรียนหนังสือในต่างจังหวัด ต้องเช่าหอพัก ค่าใช้จ่ายอ่ืนแพงมาก รวมถึงความปลอดภัยด้วย ส่วนเรื่องกฎหมาย จากัดจานวนเด็ก เร่ืองการยุบโรงเรียนในชุมชน เช่น นักเรียนจานวน 68 คน ครูจานวน 14 คน ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องยุบโรงเรียน อยากให้มีการเลือกตั้ง เพราะปี 2561 จะมีประชาธิปไตยเตม็ ตัว 100% แล้ว ไม่อยากได้พรรคเดิมๆ เพราะชอบแบ่งพรรคแบ่งพวก ภูมิใจท่ีเรามี พ่อคนเดียวกัน อยากให้ความเป็นอยู่ดีข้ึน ถึงแม้ว่าจะเลือกต้ังหรือไม่เลือกต้ังก็ได้ ใช้เศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกผักสวนครัว ไม่มีหน้ีสินมาก ไม่ต้องลงทุนเยอะ เลี้ยงสัตว์ มีโครงการเข้ามาช่วยเหลือ เช่น บอ่ ปลา 10 บอ่ แจกวัวให้เลยี้ ง มีระบบน้าพอเพียง มีน้าใช้ มีระบบประปา ให้ความรู้การทาระบบน้า (ตอนน้ีมีการสร้างฝายเล็กๆ) สัตว์เล้ียง ปลา วัว ภาครัฐช่วยส่งเสริมโครงการเลี้ยงปลา ช่วยสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง เล้ียงโค กระบือ มีพ่อพันธ์ุ แม่พันธ์ุ ปลูกผัก ปลอดสารพิษ มีผลผลิตงอกงาม มีแผนการ ดาเนินการ อยากมีงบสนับสนุน มีการแจกพันธุ์ไม้ มีการอบรมให้ความรู้ในการประกอบอาชีพ หน้ีสิน หมดไป มีการพักชาระหน้ี ปลดหน้ี สุขภาพแข็งแรงไม่มีโรค อาชีพ มีตลาดรองรับ มีการประกันราคา

270 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพืน้ ทสี่ งู ในอดีตและปัจจบุ นั ขายไม้ไผ่ราคาขายดี ขายยางพารามีการสอนกรีดยาง ส่งเสริมการประกอบอาชีพ เป็นพ่อค้าคนกลางเอง จะได้เพิ่มราคาผลผลิตการเกษตร ไร่ข้าวโพดไม่มีการใช้สารเคมีแต่ใช้ปุ๋ยหมัก ให้หมู่บ้านมีความเจริญ มีความเป็นอยู่ดี มีการเลือกตั้งคณะกรรมการทางานมาพัฒนาหมู่บ้าน อยากให้พัฒนาถนนเป็นเรื่องแรก เพราะว่าปัจจุบัน ถนนลื่นมีโคลนมากในหน้าฝน ถนนมีความยากลาบากในการเดินทาง อยากให้มีการ สนับสนุนงบประมาณในการสร้างอยากให้ป่าไม้ช่วยสร้างให้มีโรงเรียน ม.3 ถึง ม.6 ใกล้บ้าน มีน้าใช้ อย่างพอเพียงพอต่อบริโภคอุปโภค เพียงพอกับการทาเกษตร อนาคตอยากให้ชนเผ่ามีความเจริญเท่ากับ คนพื้นราบ ให้ความเสมอภาคของคนชนเผ่า ให้เห็นชนเผ่าอยู่ดีกินดี เห็นความเข้มแข็งของผู้นาชุมชน เห็นการยอมรับของสังคมของชนเผ่า อย่าดูถูกเขา เห็นชนเผ่าได้รับการพัฒนาในทุกๆ ด้าน คงความเป็น ชนเผ่า รักษาความเป็นชนเผ่า อนุรักษ์ชนเผ่า คงความเป็นเอกลักษณ์ท่ีดีงาม เห็นชนเผ่าอยู่รวมกัน ไม่ต้องไปทางานท่ีอ่ืนให้รวมกันในหมู่บ้าน สร้างครอบครัวที่อบอุ่น เห็นการแต่งกายอยากให้ราษฎร บนพ้ืนที่สูงเจริญไปกบั คนพ้ืนราบ แต่คงวัฒนธรรมวิถีชีวิตของแต่ละชนเผ่า ไม่ลืมรากเหง้าชนเผ่า เห็นชน เผา่ อยู่แบบพี่น้อง เออื้ เฟ้ือเผอื่ แผ่กนั เห็นราษฎรบนพื้นท่ีสูงไม่ลืมเจ้าหน้าท่ีประชาสงเคราะห์ที่เคยมาปฏิบัติหน้าท่ีในเขตพื้นที่ หน่วยที่ชาวบ้านเมื่อคร้ังในอดีต อยากเห็นชนเผ่าอนุรักษ์เครื่องแต่งกาย ภาษาชนเผ่า ไม่ต้องไปอายเขา เห็นชนเผ่ามีความรัก ความสามัคคีในชุมชน ท้ังในระดับตาบล อาเภอ จังหวัด เห็นพ่ีน้องชนเผ่าอนุรักษ์ ส่ิงท่ีดีๆ เช่น ประเพณีวฒั นธรรม การเลี้ยงผี ศาสนา บรรพบุรุษ เห็นชนเผ่าไม่เอารดั เอาเปรียบกัน เห็นคนไทย ยอมรับเดก็ รนุ่ ใหมท่ จ่ี บแล้วทางาน พอร้วู า่ เป็นราษฎรบนพน้ื ทส่ี ูงจะไม่รับทางาน เพราะราษฎรบนพน้ื ที่สูง เคยไปสมัครสอบตารวจเขาไม่รับ การทางานของ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูง ให้ยึดความโปร่งใส สวัสดิการของเจ้าหน้าที่ อยากให้ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงจะทาอย่างไรให้บุคลากรมีประสิทธิภาพ มีความสามัคคี ทางานด้วยใจด้วยความรักองค์กรของเรา อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข พ่ีสอนน้อง ด้านผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ดีต่อลูกน้อง สร้างขวัญและกาลังใจ ใส่ใจช่วยเหลือลูกน้อง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ให้ความยุติธรรมเสมอภาคกับลูกน้อง หน่วยงานราชการทางานเพื่ออยากได้เงิน ทางานไม่ต่อเน่ือง ไม่จริงจัง ทางานตามตัวชี้วัด ชาวบ้านไม่ได้อะไรเลย กาลังใจ การทางานต้องมีความเป็นธรรม ทางาน ได้ผลเป็นตัวอย่างให้แก่ท่ีอ่ืนได้ บางชุมชนปักป้ายไม่ยอมรับองค์กรภาครัฐ ไม่ต้องการโครงการ เช่นที่จังหวัดนครพนม มีความรัก ความสามัคคี ไม่ผลักภาระให้แก่กัน เดิมเป็น ศูนย์พัฒนาสังคม ปัจจุบัน เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง ชาวบ้านสับสนในศูนย์ ไม่ปิดทองหลังพระ ระบบการทางาน นโยบาย วิชาการ ปฏิบัติเป็นเอกภาพในการทางานมีบุคลากรท่ีทางานเชิงมหภาค ยุทธศาสตร์ ทางาน ให้สาเร็จ ไม่ใช่ทาให้เสร็จทาให้ลึก ให้กว้าง เป็นรูปธรรม ฟันธง ตรงเป้าเข้าประเด็น ก่อนพัฒนาคนอ่ืน ต้องพัฒนาตัวเองก่อน ด้วยความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ พัฒนาเจ้าหน้าที่ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ตอบสนองความต้องการของชุมชนให้มากที่สุด มีหอพักของชนเผ่าทุกเผ่า ถ้ารวมกันได้ค่าใช้จ่าย จะน้อยลง ในระดับอุดมศึกษา ต้องการให้กรมจ้างเด็กท่ีจบการศึกษาทุกสาขาวิชา มาทางานในศูนย์ฯ เปน็ งานสหวิชาชพี ทุกสาขา มีการจ้างงานคนในชมุ ชนเข้ามาทางานในชุมชน เป็นการสร้างงานสร้างอาชีพ ให้กับเยาวชนในชุมชน ให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันและกัน รักกันสามัคคกี ัน เห็นการทางานไปทิศทาง เดียวกัน ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน อยากเห็นผู้นาของชนเผ่าสามารถทาตัวเป็นท่ีน่าไว้วางใจได้ เป็นท่ี ยอมรับของชุมชน ให้เจ้าหน้าท่ี ที่ทางานกับชาวเขาในพื้นที่ ศึกษาวิถีชีวิตของชนเผ่าน้ันๆ และศึกษา พิธกี รรมต่างๆ ของแต่ละหมู่บ้านว่าเป็นอย่างไรบ้าง เราจะได้ปฏิบัติงานตรงกับวัตถุประสงค์ของชาวบ้าน

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ที่สงู ในอดตี และปจั จุบนั 271 อยากให้บุคลากรมีความรู้ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน สามารถส่ือสารกับชาวต่างชาติได้ และเป็นเจ้าของ โครงการต่างๆ เพื่อจะนามาพัฒนาหมู่บ้านได้ ให้เจ้าหน้าท่ีไม่แบ่งแยกตาแหน่ง เช่น ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ เรามาทางานร่วมกันมีศักดิ์ศรีทุกคน ไม่ต้องแบ่งแยกว่าใคร ตาแหน่ง อะไร มีความรับผดิ ชอบเหมือนกัน ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ศูนยพ์ ัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง ควรมนี โยบาย ที่ชัดเจน การแบ่งงานชัดเจน จุดยืนชัดเจน ความต่อเน่ือง ภารกิจ บทบาทหน้าท่ี สวัสดิการ การบรรจุ แทนตาแหน่งบุคลากรของเราถูกมองข้ามขั้นเงินเดือน ควรมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีคุณค่า และบุคลากรมักทยอยลาออกไปมากแล้วเสียดายคนรุ่นหลัง การแลกเปลี่ยนความรู้ One Home ควรให้ ชัดเจน อยากให้ One Home เร่ิมจากล่างสู่บนก่อน อัตราส่วนของเจ้าหน้าท่ี ลูกจ้างประจา พนักงาน ราชการ เช่น ลูกจา้ งประจาจะหายไปหมด เสยี ดายตาแหน่งน่าจะทดแทนตาแหนง่ ทห่ี ายไป ถ้ า มี ง บ ป ร ะ ม า ณ ส นั บ ส นุ น ศู น ย์ ก า ร เรี ย น รู้ ท่ี ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ให้ แ ก่ ลู ก ห ล า น ห รื อ จดุ แลกเปลี่ยนประเพณีวฒั นธรรม เพราะลูกหลานในอนาคตจะไม่สืบทอด อยากได้ตลาดและราคาสินค้า ท่ีแน่นอนไม่ผ่านนายหน้า อากาศไม่เหมาะสมปลูกกาแฟ เร่ืองสิ่งแวดล้อมบ้านแสนเจริญรักษาป่าไว้ อย่างสมบูรณ์และอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานรักษาต่อไป ให้มีคงความเป็นชนเผ่า ลูกหลานกลับมาสืบทอด การสืบทอดไล่เรียงบรรพบุรุษช่วงการตาย-เกิด มีสิทธิทากินให้แน่นอนชัดเจนให้ตกทอดแก่ลูกหลาน อยากเป็นชุมชนท่องเท่ียว เพื่อพัฒนารายได้ มีการประกันราคาสินค้า มีตลาดรองรับผลผลิต ปลูกผักกินเอง อยากมีศูนย์การเรียนรู้จุดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ลูกหลาน สร้างการจ้างงาน/อาชีพ มีป่าไม่อุดมสมบูรณ์ มีศาสนาเป็นท่ีพึงทางใจภูมิใจท่ีเป็นอาข่า ทุกเผ่าร่วมงานบวงสรวงดอยตุง เพื่อให้ผลผลิตดีและอายุยืน ปัจจุบันอยากให้ชุมชนกลับสู่สภาพอดีต อยากให้มีอากาศแบบนี้เหมือนเดิม อยากให้การเปลี่ยนแปลง มีการพัฒนาด้านสาธารณสุข อยากให้รักกันเหมือนพีน้องคุยกัน แบบสบายใจ ถ้าสิ่งแวดล้อมสมบูรณ์ จะอยู่กันอยู่อย่างมีความสุข อยากให้พัฒนาอาชีพในการรักษาป่า ส่งเสริมอาชีพให้ คนอยู่กับป่า เช่น ทาสวน ก๋ง (ไม้กวาดดอกหญ้า) ปลูกกาแฟ พริกไทยใต้ต้นไม้ใหญ่ ท่ีไม่ต้องตัดกิ่งไม้ ให้ทากิน แบบต่อเน่ือง ไม่มีต้นไม้ใหญ่ ชาวบ้านจึงไม่กล้าปลูกต้นไม้ แต่วงจรกะเหร่ียงต้องปลูกต้นไม้ แต่ถ้าปลูก ต้นไม้และป่าไม้ไม่ยึดคืน ถึงจะไม่ให้เอกสารสิทธ์ิก็ขอให้ได้สิทธิทากินในท่ีนั้นๆ ถ้าปลูกข้าวโพด ต้องใช้ พื้นท่ีเยอะ เป็นการทาลายป่า ควรลดใช้สารเคมี เพระถ้าใช้สารเคมีมากจะทาให้ดินเสียหากใช้ไม่เป็น การแต่งงานแต่ก่อนต้องถามพ่อแม่ก่อน ถ้าพ่อแม่พอใจจึงจะแต่งงานได้ แต่ปัจจุบันไม่สนใจพ่อแม่ (จะทาให้ผิดผี) ในทางศาสนาคริสต์ ต้องมีใบจดทะเบียนและให้คามั่นว่าจะรักกันจนตาย แต่ปัจจุบัน ไม่มีแลว้ ควรสง่ เสริมให้การแต่งงานมีความมน่ั คง อยากให้เคารพผู้ใหญ่ ห่างไกลยาเสพติด เดิมไม่มีหนส้ี ิน เม่ือก่อนบ้านไม่ใหญ่ แต่ปัจจุบันบ้านใหญ่โต ข้างในร้อนลุ่ม มีหน้ีสินมาก มีความเจริญเทียบคนข้างล่าง มีเซเว่นอีเลฟเว่น มีตู้ ATM เพราะปัจจุบันต้องไปเบิกเงินข้างล่าง แต่รถไม่ค่อยมี มีร้านกาแฟดอยช้าง กาแฟวาวี ทุกชนเผ่าสิทธิเท่าเทียมกัน ไม่เอารัดเอาเปรียบ ไม่ร่ารวย ไม่อวดเก่งอยู่ดี กนิ ดี ไม่มีความทุกข์ ผู้นาเข้มแข็งเป็นกลาง แก้ปัญหาได้ ลูกบ้านไม่ทะเลาะกัน ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีการยอมรับชนเผ่า แต่ละเผา่ ส่วนใหญ่จะดูถกู ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงอยากให้ยอมรบั ว่าราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง คือคนไทยคนหน่ึงอยาก ให้คนไทยยอมรับเด็กรุ่นใหม่ ให้ชนเผ่าได้รับการพัฒนาทุกด้านตามท่ีตนเองต้องการ คงความเป็นชนเผ่า รักษาวิถีชีวิตด้ังเดิมไว้ รับส่ิงใหม่เข้ามาขณะเดียวกันก็รักษาเอกลักษณ์ตนไว้ อยากเห็นพี่น้องชนเผ่า มีสิ่งดีๆ อนุรักษ์สิ่งสาคัญ เช่น การโล้ชิงช้า การเลี้ยง ผี ผีป่า ผีน้า มีการถ่ายทอดสิ่งดีๆ ให้ลูกหลาน ประเพณีต่างๆ 12 ครั้งต่อปีอยากให้หมู่บ้าน มีงานรองรับ ได้อยู่กับพ่อแม่ ไม่สร้างความเหงาให้ผู้สูงอายุ

272 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นทีส่ งู ในอดตี และปัจจบุ นั ไม่อยากให้ลูกหลานฃไปทางานนอกบ้าน แม้หลีกเลี่ยงไม่ได้ในเรื่องเทคโนโลยีการสื่อสาร เช่น line และ Facebook อยากให้ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงเจริญพร้อมกับเทคโนโลยี แต่ไม่ลืมวัฒนธรรมตนเอง ไม่ลืมอดีตอยู่แบบพอเพียง พี่น้องเอ้ือเพ้ือกัน เผ่ือแผ่ รักษาประเพณีชนเผ่า อยากให้คนชาวเขาเก่าๆ ไม่ลืมเจ้าหน้าท่ีเก่าๆ เพราะทางานให้ชาวเขามากมาย ให้สิ่งดีๆ ขอให้บอกลูกหลานว่า อย่าค้ายาเสพติด เพราะมีกฎหมาย หนีไม่รอด มีศูนย์เด็กเล็กบนดอย มีครูสอนหลานได้เรียน มีครูบนดอย จะได้ไม่ต้อง ลาบากไปเรียนข้างล่าง เยาวชนดารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรม เผยแพร่วิชาความรู้ท่ีตนเองมี มีที่ทากินขาย เหมือนเม่ือก่อนมีนักท่องเท่ียวมาเยอะ ปัจจุบันเงียบ เด็กขาดรายได้ ไม่มีการแสดงสองสามปีแล้ว ที่นักท่องเที่ยวหายไป เด็กเริ่มอายไม่กล้าแสดงออก ถ้านักท่องเที่ยวมาจะแสดงอะไร ทุกชนเผ่ามีการ เต้นเพลงประจาเผ่าประเพณีชนเผ่า ทุกคนมสี ุขภาพแข็งแรง มีท่ีออกกาลังกาย สามารถออกกาลังกายเปน็ งานอดิเรก ต้องการเคร่ืองออกกาลังกาย เม่ือก่อนน้ีมีการเต้นแอโรบิก ต้องการให้ชุมชนปลอดอบายมุขมีการศึกษา ต้องการให้มีงานดี จบการศึกษาเพื่อนาความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาวัตถุดิบท่ีมีในหมู่บ้านกลายเป็นอาชีพ สร้างงานในชุมชนดี มีงานรองรับ ถนนหนทางของหมู่บ้านเปล่ียว อยากให้ติดไฟเป็นระยะ ให้หลายหน่วยงาน เขา้ มาสนับสนุน ไม่อยากเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพตดิ ตอ้ งการปลอดยาเสพติด วัยรุ่นด่ืมเหล้า เปิดเพลงเสยี งดัง ขอให้ผู้ใหญ่ช่วยจัดการ ต้องการแบรนด์กาแฟท่ีเป็นของบ้านบางปูเลาะ พัฒนาการท่องเท่ียว โฮมสเตย์ ต้องการให้พัฒนาเส้นทางไปแหล่งท่องเท่ียว ไปจุดชมวิว ถ้าประกายเพชร เดินข้ึนไปได้แต่ไกล ต้องการ ให้มีการขยายถนนให้ใหญ่ขึ้น มีรถประจาทางรับส่งนักเรียน ให้เดินทางอย่างปลอดภัยเพราะถนนแคบ ต้องการถนนท่ีสวยงาม มีดอกไม้ ศูนย์ส่งเสริมการปลูกพืชทดแทนฝิ่นฝ่ินหมดไป ศูนย์ชาวเขาเปล่ียนภารกิจ ทิ้งส่ิงปลูกสร้าง ให้ชาวบ้านดาเนินการเอง ศูนย์ฯ ควรถ่ายทอดดูแลและเน้นการแปรรูปผลิตผล สู่ท้องตลาด เพิ่มมูลค่าสินค้า ผลิตผลการเกษตร หัตถกรรม ต้องการให้ศูนย์เป็นตัวประสานกับหน่วยงาน เกี่ยวข้องให้เข้ามาดาเนินการด้านคนพิการ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นตัวประสานหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องขอให้เข้ามาดาเนินการให้มีการพัฒนาตนเองให้เข้มแข็ง ให้เป็นชนเผ่าสากลของอาเซียน มกี ารแตง่ กาย และศิลปะวัฒนธรรมชนเผา่ ที่เปน็ เอกลักษณ์ ใหภ้ ูมิใจในความเปน็ คนไทย สรุปได้ว่าชาวบ้านในราษฎรบนพื้นที่สูงในพื้นท่ีต่างๆ ต้องได้รับการเรียนรู้และอบรม บ่มเพาะส่ิงที่ถูกต้อง ไม่คลาดเคล่ือนในความเข้าใจ การใช้ชีวิตแบบวัตถุนิยม ไม่เน้นความหรูหรา ฟุ่มเฟือยในการดาเนินชีวิต อยู่อย่างพอเพียง เรียบง่ายสมถะ พร้อมปรับทัศนคติปรับความเชื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง เมื่ออบรมเรียนรู้ ดูงานและลงมือทา ทาจนสาเร็จ และเรียนรูส้ ่สู ่ิงใหมใ่ นชีวติ จนมพี ฤตกิ รรมแบบยงั่ ยนื แบบพอเพียง ในทกุ ด้านของชีวิต 6. ปัจจัยแห่งความสาเร็จและปจั จยั แห่งความล้มเหลวในการพัฒนาราษฎรบนพ้ืนทีส่ ูง ปัจจัยหลากหลายประการที่จะส่งผลให้การพัฒนาราษฎรบนพื้นที่ส่งประสบผลสาเร็จ หรอื ลม้ เหลว ทีผ่ ู้ใหข้ อ้ มลู เชงิ การวจิ ัยได้ใหไ้ ว้ สรปุ ได้ดงั นี้ ปจั จยั แห่งความสาเรจ็ ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงมีวิถีทางของการดาเนินชีวิตท่ีเป็นธรรมชาติอยู่กับธรรมชาติ รักและเคารพ ในความเป็นธรรมชาติ ต้ังแต่คร้ังโบราณกาล คร้ันเม่ือกระแสทิศทางการเปล่ียนแปลงได้เข้ามาแทรกซึม ในชุมชน ในสังคมราษฎรบนพ้ืนที่สูง ซึ่งวิถีชีวิตและพฤติกรรมการดาเนินชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook