Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HighAreaHighAreaNew-60

HighAreaHighAreaNew-60

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-26 06:46:28

Description: HighAreaHighAreaNew-60

Search

Read the Text Version

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้นื ที่สงู ในอดีตและปจั จบุ ัน 3 รายงานวจว ยั การศึกษาเปรยร บเทียบ การพัฒนาบนพนื้ ทีส่ งู ในอดตี และปจจุบนั The comparative study of the development on the highland : Past and Present

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ท่ีสูงในอดีตและปัจจบุ นั ก คำนำ กำรศึกษำวิจัย กำรศึกษำเปรียบเทียบกำรพัฒนำบนพ้ืนท่ีสูงในอดีตและปัจจุบัน ได้ดำเนินกำรวิจัยในพื้นที่ 32 ชุมชน 16 ศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพ้ืนที่สูง 16 จังหวัด ท่ีอยู่ในพื้นที่ ควำมรับผิดชอบของสำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 , 8 , 9 และ 10 กำรศึกษำวิจัยครั้งนี้ เป็นกำรวิเครำะห์ภำพและชดุ ของปัญหำกำรพัฒนำรำษฎรบนพ้ืนทีส่ ูง วิเครำะห์และสงั เครำะห์ชุดของ ควำมต้องกำรกำรพัฒนำของรำษฎรบนพื้นที่สูง ศึกษำรูปแบบและกำรจัดกำรเชิงนโยบำยในกำร บริหำรกำรพัฒนำรำษฎรบนพ้ืนที่สูง จัดระบบองค์ควำมรู้กำรบริหำรกำรพัฒนำที่เหมำะสมต่อรำษฎร บนพื้นที่สงู เพ่ือกำหนดจุดยืนกำรทำงำนของศนู ย์พฒั นำรำษฎรบนพื้นที่สงู กำรดำเนนิ กำรวจิ ยั คร้ังนี้สำเร็จได้ดว้ ยควำมรว่ มมือจำกหลำยฝ่ำยท่ีเก่ยี วข้อง คณะผวู้ ิจัย ขอขอบคุณภำคีเครือข่ำยในพ้ืนท่ี ผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้นำชุมชน ผู้แทนชุมชน และรำษฎรบนพ้ืนท่ีสูง ในพ้ืนท่ีดำเนินกำรวิจัยท่ีให้ควำมร่วมมืออย่ำงดีย่ิงในด้ำนข้อมูล ขอขอบคุณ คณะเจ้ำหน้ำที่และผู้บริหำรศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพ้ืนที่สูงท้ัง 16 จังหวัด คณะเจ้ำหน้ำท่ี และผูอ้ ำนวยกำรสำนักงำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 4 , 8 และ 9 ขอขอบคุณผ้บู รหิ ำรกระทรวง และอดีตผู้บริหำรกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งท่ำนอิระวัชร์ จันทรประเสริฐ ประธำนที่ปรึกษำอธิบดีกรมพัฒนำสังคมและสวัสดิกำร ท่ีให้ควำมรู้และคำแนะนำอย่ำงดียิ่ง และขอขอบคณุ คณะอำจำรย์ที่ปรกึ ษำ นำวำอำกำศเอก ดร.นภัทร์ แก้วนำค นำวำอำกำศเอก ดร. อมั พร เพช็ รำช นำวำอำกำศเอกหญิง ดร.อุษำ โพนทอง และดร.จิดำภำ เร่งมีศรีสุข ที่เป็นกำลังสำคัญทำให้กำร ศึกษำวจิ ัยครงั้ น้ี บรรลุเปำ้ หมำยและวตั ถปุ ระสงค์ของโครงกำร คณะผวู้ ิจยั หวังเปน็ อยำ่ งยิง่ วำ่ รำยงำนวิจยั ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนก์ บั ผ้ทู เ่ี กีย่ วข้องและ บุคคลที่สนใจ ด้ำนกำรพัฒนำสังคมบนพ้ืนท่ีสูง อันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน สังคมและ ประเทศสบื ไป สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 10 จังหวัดเชียงใหม่

ข การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพนื้ ทีส่ ูงในอดตี และปจั จุบนั บทคดั ยอ ชื่อเร่ือง : การศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้ืนทสี่ ูงในอดีตและปจ จุบัน ผวู ิจัย : สํานักงานสงเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4, 8, 9,10 ป พ.ศ. : 2560 งานวิจัยน้ี มีวัตถุประสงคที่จะวิเคราะหแงมุมตางๆของการพัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง เชน สภาพปญหา ความตอ งการ รูปแบบและการจัดการเชงิ นโยบาย องคค วามรู และจดุ ยนื ของหนวย ปฏิบัติงาน การไดขอมูลสําหรับงานวิจัยนี้มาจากแบบสํารวจ แบบสอบถาม การสัมภาษณ และการสนทนา ซึ่งเก็บขอมูลใน 32 พ้ืนที่ ของ 16 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง 16 จังหวัด ทางภาคเหนือและภาคกลางของประเทศ จากนั้นจึงนําขอมูลมาประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป ทางสังคมศาสตร และทําการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ตามแนวทางของ หลักการยืนยัน 3 เสา (Triangulation Tsinnie) หลักการวิภาษวิธี (Dialectic Process) และหลักการ 6 ซี (Content Analysis Teenier ) ปญหาหลักของราษฎรบนพื้นที่สูง คือเรื่องสิทธิในที่ดินทํากิน การขาดแคลนส่ิงที่จําเปน ตอการใชชีวิต และระบบสวัสดิการ หรือการสงเสริมดานอาชีพ และวัฒนธรรม ประเพณี และนี้คือ ส่ิงพ้ืนฐานทร่ี าษฎรบนพืน้ ทีส่ งู ตองการ โดยเฉพาะการมีสวนรวมและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และมีความคาดหวังใหรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมศักยภาพและสวัสดิการใหครบวงจร ประกอบกับทุนทางสังคม ท่ีจะทําใหเปนชุมชนคุณภาพ เชนความเชื่อ การมีปราชญผูรูในชุมชน ภาษา เครื่องแตงกาย งานฝมือ และวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ยุทธศาสตรการพัฒนาจึงถูกกําหนดเพื่อใหสอดคลองกับปญหา ความตองการ และมงุ สง เสริมอัตลกั ษณข องชุมชน/ชนเผา งานวิจัยพบวา การพัฒนาบนพ้ืนท่ีสูงนั้น มีความสําเร็จในหลายเรื่อง กลาวคือ ชาวบาน มีความเช่ือม่ันและศรัทธาตอการทํางานของรัฐ ปญหาฝนไดรับความเขาใจและการปองกันท่ีถูกจุด เชนเดียวกับปญหาความม่ันคง และความสัมพันธระหวางชนเผาดีข้ึน รัฐสามารถสรางตนแบบของการ พัฒนาบนพื้นที่สูงได เกิดนวัตกรรมของการพัฒนาในอนาคต น่ันคือ การสรางเครือขายการพัฒนา ที่เขมแข็งขึ้น มุงการพัฒนาเชิงคุณภาพไดมากข้ึน ใชเทคโนโลยีออนไลนและดิจิตัลในการขยายขอมูล ทํากิจกรรมการตลาด การสงเสริมและอนุรักษตนทุนทางสังคมใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งจะตองไดรับ การพัฒนาใหเปนโครงการตางๆท่ีเปนรูปธรรม ใหมีการบริหารและการจัดการท่ีทําใหการพัฒนา บนพ้ืนที่สูงประสบความสําเร็จ เปนประโยชนแกราษฎร ชุมชนบนพ้ืนที่สูง และประเทศชาติโดยสวนรวม ตอ ไปอยางแทจ รงิ งานวิจัยเชิงเปรียบเทียบการศึกษานี้ ทําใหไดบทสรุปใหมบางประการท่ีนาสนใจ เชน การคงอยูของปญหาเดิม และการเกิดใหมของปญหาใหม และในแงของอัตลักษณ/ส่ิงดีงามเกา ที่ควรรักษาเอาไว กับคุณคาใหมท่ีควรไดรับการสงเสริมใหเขมแข็งยิ่งขึ้น ความตระหนัก ตอความสําคัญของระบบเครือขาย หรือการรวมประสานการทํางานของ 4 ประสาน คือ รัฐ ชุมชน/ทองถ่ิน ประชาชน/ชาวบาน และเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และความตระหนัก การรับรูที่วาระบบและ กระบวนการพฒั นาท่จี ะสาํ เรจ็ และตอ เนื่องไดตองไดรบั การริเร่มิ และการขบั เคลอ่ื นจากภายในทา ยสุด การสนับสนุนที่เขมแข็งขึ้นจากทุกภาคสวนจะเปนความพยายามท่ีนาช่ืนชม ท้ังนี้ เพื่อศกั ยภาพของความเตบิ โตของชมุ ชนบนพน้ื ท่สี ูง และเพอื่ สังคมทม่ี กี ารพัฒนาท่ียั่งยืนอยางถาวร

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพื้นทีส่ งู ในอดีตและปจั จบุ นั ค Abstract Subject : The comparative study of the development on the highland : Past and Present Researcher : Technical Promotion and Support Office 4-8-9-10 Year : 2017 The purpose of this research is to analyze different aspects of highland population development, such as image, problems, demands, pattern and policy management, knowledge and positions of operational agencies. Data for this research comes from surveys, questionnaires, interviews and discussions. The data was collected in 32 areas of 16 development centers in 16 provinces in the north and central parts of the country. Then the raw data was put into the finished program in the social sciences. And then the qualitative analysis was performed in accordance with the principles of the Triangulation Tinnier, with the dialectical principles and principles of the Content Analysis Teenier. The main problems of highland people are the rights to land, shortage of necessities for life, and welfare system, or of the promotion of occupational career and cultural traditions. And these are the basic things that highland people want to have improved. Especially, participation and opportunities to improve the quality of life. These cause expectations that the government has to set up a policy to promote the full potential and welfare. Hand in hand with social capitals, the highland communities can easily become quality communities. The social capitals are traditional and religious faiths, knowledgeable sages in communities, languages, costumes, crafts and lifestyles. Development strategies are to be designed to meet the needs and to promote the identity of the community/ tribe. The research also found that developments on highland have been in many aspects a success, namely, that people have faith and confidence in the works of the state. Opium has been understood and solved at points, as well as security issues. And the relationships among the tribes have become much better. The state agencies could create prototypes for highland development. The innovations of future development are to build a stronger network of development, focusing on more qualitative development. To use online and digital technology to expand the information, to do marketing activities, to promoting and preserving social values for maximum benefit. These innovations are to be developed into concrete and practicable projects, with a practical management and well organized administration that maximizes development for the ground benefits to the people, to highland communities and then to the nation as a whole.

ง การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพื้นท่ีสูงในอดตี และปัจจุบนั Comparative method of this research makes some interesting new findings come to light and consciousness, such as the persistence of old problems, the emergence of new problems. And in terms of identities / good old things to preserve, with new values that should be encouraged to get stronger. Awareness of the importance of networking or the cooperation of the 4 parties: the state, community/ locals, citizens / villagers and the private sectors / NGOs. Least but not last is the awareness / perception that a successful and sustainable development projects and planning must be initiated and driven from within. Finally the more support will be appreciable, -for the more highland community potential growth and sustainable development society.

การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพนื้ ทสี่ ูงในอดีตและปจั จุบัน จ บทสรุปสำหรับผู้บรหิ ำร การศึกษาวจิ ัยเร่อื ง“การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพืน้ ท่ีสูงในอดีตและปัจจบุ นั ”มวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ภาพและชุดของปัญหาและความต้องการพัฒนาราษฏรบนพื้นท่ีสูง ศึกษารูปแบบ และการจัดการเชิงนโยบายในการบริหาร จัดระบบองค์ความรู้การบริหารการพัฒนาที่เหมาะสมต่อราษฏรบนพ้ืนท่ีสูง รวมท้ังการกาหนดจดุ ยนื การทางานของศนู ย์พฒั นาราษฏรบนพ้นื ท่สี ูง การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method Design) มีท้ังการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซ่ึงเครื่องมือการศึกษาวิจัยครั้งน้ี มี 4 แบบ คือ 1.การใช้แบบสอบถามความคิดเห็น 2.การศึกษาชุมชน 3.การสัมภาษณ์ โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารกระทรวง และอดีตผู้บริหารกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้ง นายอิรวัชร์ จันทรประเสริฐ ประธานท่ีปรึกษาอธิบดีกรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการผู้อานวยการและเจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาราษฏรบนพ้ืนท่ีสูง ผู้บริหารองค์กรบริหารส่วนท้องถ่ิน ผู้นา ชุมชน ผู้แทนชุมชน และเครือข่ายการพัฒนาสังคม 4.การจัดเวทีสนทนากลุ่มย่อย โดยเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง 32 หมู่บ้านในพ้ืนท่ีศูนย์พัฒนาราษฏรบนพื้นที่สูง 16 แห่ง ทั้งภาคเหนือและภาคกลาง แล้ววิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้เทคนิควิทยา 3 แนวทาง คือ หลักการยืนยัน 3 เส้า (Triangulation Tsinnie) หลักการวิภาษวิธี (Dialectic Process) หลักการ 6 C (Content Analysis Teenier) Commu(6n) ications (1) (2) การอธบิ าย Concept Content ความหมาย มโนทัศน์ สาระ+เน้อื หา Concep(5t)ualized 6’C Cla(3ss) ify จัดกรอบระบบ Teenier ความคดิ วเิ คราะหจ์ ำ�นวน (4) ขอ้ มลู Categry จดั หมวดหมขู่ อ้ มูล แผนภาพ 1 การวเิ คราะห์ข้อมลู จากการศึกษาชุมชนการสัมภาษณแ์ ละการสนทนากล่มุ ยอ่ ย (form Group)

ฉ การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพื้นท่ีสงู ในอดตี และปจั จุบัน ผลผกลำกรำวรจิ วัยจิ สัยรสุปรไุปดไ้สดำ้สรำะรสะำสคำญั คญั ดังดนงั ้ี นี้ 5 5ปรปะรเดะเ็นดป็นญั ปหญั าหขาอขงอรงารษาฏษรฏบรนบพนื้นพท้นื ีส่ ทงู ่สี ในงู ใปนัจปจัจบุ จนั ุบัน 5 5ปรปะรเดะเ็นดคน็ วคาวมาตม้อตง้อกงากราพรฒั พนัฒานขาอขงอรงารษาฎษรฎบรนบพนื้นพทน้ื ส่ี ทูงี่สูง 5 5แนแวนทวาทงากงากราจรัดจกัดากราเชรเิงชนงิ โนยโบยาบยาทยี่จทาี่จเปาเ็นปน็ 5 5องอคง์คคว์คาวมารมเู้ พรูเ้ื่อพกื่อากราบรรบิหราิหรากรากราพรัฒพนฒั านทาี่เทห่ีเมหามะาสะมสม 5 5จดุ จยดุ ืนยกนื ากราทราทงางนาขนอขงอศงูนศยนู ์พยัฒ์พนัฒานรารษาฎษรฎบรนบพนืน้ พทืน้ ส่ี ทงู ส่ี งู 6 6ชุดชคุดวคาวมาคมดิ คขิดอขงอรงปู รแูปบแบบกบากราพรัฒพนฒั านรารษาฎษรฎบรนบพนื้นพท้นื ส่ี ทูงีส่ งู (1)(1) ส่งิ สทิง่ ี่รทา่ีรษาฎษรฎบรนบพนนื้ พทนื้ สี่ ทูงส่ี ขูงาขดาแดคแลคนลน(5(5ปรปะรกะากรา)ร) (2)(2) ทุนททนุ าทงาสงังสคังมคขมอขงอชงุมชชุมนชรนารษาฎษรฎบรนบพนื้นพทนื้ ี่สทูงี่ส(งู 5ป(5รปะรกะากรา)ร) (3)(3) ควคาวมาคมาคดาหดวหงั วขงั อขงอรงารษาฎษรฎบรนบพนืน้ พทื้น่ีสทงู ่สี 4งู 4ปรปะรกะากราร (4)(4) ยุทยธทุ ศธาศสาตสรตก์ ราก์ ราพรฒั พนัฒานรารษาฎษรฎบรนบพนืน้ พทน้ื ่ีสทูงีส่ 5งู 5ปรปะรกะากราร (5)(5) ควคาวมาสมาสเรา็จเรใ็จนใอนดอีตดขีตอขงอกงากราพรัฒพนัฒานขาอขงอชงุมชชมุ นชน5 5ปรปะรกะากราร (6)(6) นวนัตวกตั รกรรมรกมากราพรฒั พนฒั านอานอานคาตคต5 5ปรปะรกะากราร (7)(7) แผแนผงนางนาโนคโรคงรกงากราเชรเิงชยงิุทยธุทศธาศสาตสรตเ์ พรเ์ือ่ พกื่อากราพรัฒพนัฒานรารษาฎษรฎบรนบพน้ืนพท้ืน่ีสทงู ่ีส9ูง 9โคโรคงรกงากราร โดโยดแยตแ่ลตะล่ ปะรปะรเดะเน็ ดมน็ ีสมาสี ราะรสะาสคาัญคัญโดโยดสยรสปุ รดปุ ังดนงั ้ี นี้ 5 5ปรปะรเดะเน็ ดปน็ ัญปหญั ำหขำอขงอรงำรษำฎษรฎบรนบพน้นืพทน้ื ่ีสทงู ี่สใูงนใปนัจปจจั บุ จนั ุบัน ระรบะบบสบวสั (5วดสั)ิก(5ดา)ิกรสารงั (สค5ังม)คม จาจนาวนนวทนดี่(1ทนิ )่ดี(แ1นิ ล)(แ1ะ)ลสะทิ สธทิ ิ ธิ (2(2)()2) ในใชนุมชชุมนชทนุกทดกุ ้าดน้าน ทาทงกางฎกหฎมหามยาย ขาขดาแดคแลคนลนา้ นอ้าุปอโุปภโคภค ปัญปหัญำหำ บรบโิ ภรโิคภแคลแะละ ทาทกากรเากรษเกตษรตร (4)(4) (4) (3)((33)) กากรสารนสบั นสบั นสนุ นสนุ ง่ สเส่งรเสมิ รมิ ระรบะบบกบากรสารง่ สเส่งรเสมิ ริม วฒั วนฒั ธนรธรมรรปมรปะรเพะณเพี ณี อาอชาีพชใีพนใชนมุ ชชุมนชอนยอ่ายง่าง ชมุ ชชมุ นชน ย่งั ยง่ัืนยนื แผแนผภนาภพาพ2 25 5ปรปะรเดะเน็ ดปน็ ญั ปหญั าหขาอขงอรงารษาฏษรฏบรนบพนน้ื พทนื้ ่ีสทูงสี่ ในงู ใปนจั ปจัจบุ จนั บุ ัน ผลผกลากราวริจวยั จิ พัยบพวบา่ วรา่ รษาฎษรฎบรนบพน้ืนพท้ืนส่ี ทงู ีส่มงู ปี มัญีปหัญาหตารตงรกงันกคันือคขือาขดาเอดกเอสกาสราสริทสธิทใิ นธใิสนิทสธทิ ิทธาิทกานิ กนิปัญปหัญาหขาขดาแดคแลคนลน นา้ นด้า่มื ดน่มื า้ นใชา้ ใ้ ชน้านเพา้ เ่ือพก่ือากราเกรเษกตษรตแรลแะลกะากราสร่งสเส่งเรสมิ รอมิ าอชาีพชอีพยอา่ ยง่ายง่ังยยั่งืนยนื

การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพื้นท่ีสงู ในอดตี และปจั จบุ ัน ช 5 ประเ5ด็นปครวะำเดม็นตค้อวงำกมำตรก้อำงรกพำรัฒกนำำรขพอัฒงนรำษขอฎงรรบำนษพฎ้นื รทบ่ีสนูงพื้นที่สูง (1) (1) การสง่ เสกรามิ รวส(ัฒ1่ง)เนสธรริมรวมฒั นธรรม ชนเผ่า ชนเผา่ (5) (5) (2) (2) การมสี ว่ กนารร่วม(ม5สีก)ว่ านรร่วมการ การพัฒนก(า2คร) พุณัฒภนาพาคุณภาพ พฒั นาชุมพชฒั นนาชุมชน ชวี ิตทกุ ชชว่ วี งิตวทัยกุ ชว่ งวยั สวัสดกิ (4าสร)วชัส(มุ 4ดช)ิกน(4าร) ชมุ ชน ในชุมชนในชุมชน ควำมตอ้ คงวกำำมรต้องกำร พัฒนำ พัฒนำ การสง่ เส(ก3ร(า3)มิ ร)วสถิ ง่ ีชเสวี(3ริต)ิมวถิ ชี วี ติ ดั้งเดิม ด้ังเดมิ แผนภาพแผ3นภ5าพปร3ะเ5ดน็ ปครวะาเดม็นตค้องวกามารตกอ้ างรกพาฒัรกนาารขพอฒั งรนาาษขฎอรงบรานษพฎนื้ รทบี่สนูงพน้ื ที่สูง ทกุ ชมุ ชทนกุ ตช้อุมงชกนารตใ้อหง้อกนาุรกัใหษ้อส์ น่งเรุ สกั รษิมส์ ว่งฒั เสนรธิมรวรฒัมปนรธะรเรพมณปรีมะีกเาพรณพีมัฒีกนาารคพุณฒั ภนาาพคชณุ วี ภิตาทพกุ ชีว่ ิตงวทยั ุกชว่ งวยั และวถิ ีชแีวลติะแวถิบชีบีวดติ ง้ั แเดบิมบดั้งเดิม

ซ การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้นื ทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั 5 แ5นวแทนำวงทกำำงรกจำดั รกจำดั รกเชำริงเนชโิงยนบโำยยบทำีจ่ยำทเจ่ีปำน็ เป็น ชนากตโยชบัิพนบายนั กตโาา(ธยับยพิ5เเุ์บสปยก)นั พาาอ้่ยี(ธย5เตวงเ์ุสปก)(กดขิ 5พอ้ยี่ันอ้ )ตวงงกดขิ ันอ้ ง นโศยักนบพยโาศภยงึ่ ยักตบา(กพ1ยนพาา)ภงึ่ เยชรตอา(กพุม1นงพาชัฒ)(เช1รนอนพ)ุมงาชัฒนนา เหน็นโยเคหนบชว็นโาาายตยค(ม2บชใิพวสห)าาานัาตย้(มคธอ2ใิพสญัุ์ห)ป(ัน2า้ทกค)ธอับ.ญัุ์ปทกับ. . กำรกจำดั รกจำัดรกำร เชงิ เนชโิงยนบโำยยบำย ตวั แนตทใโวันยนแนบชชทใโุมาานย(นยชต4บชสชนิพ)มุา่งาชัน(ยเชต4าสธสนพิ)(ตร์ุร4ง่ ชนัิมิะ)เาสธดตร์ุรับิมิะดับ ในนสชโวยใมุัสนนบสชดชโาวนกิย(มุยสั3คาบสชด)รรา่งนิกสบ(ยเ3คาังสวส)คร(รรง3่งสมบจมิ เ)งัสรวครงมจิมร แผนแภผานพภา4พ54แ5นวแทนาวงทกาางรกจาดั รกจาัดรกเชาริงนเชโิงยนบโายยบทาี่จยาทเปจ่ี าน็ เปน็ ให้พใงึ่หต้พนง่ึ เตอนงเไอดรง้ าใไษหดรฎท้้ าใร้อษหบงฎ้ทถนร้อน่ิ พบงทถื้นนุกิน่ทพรทีส่้ืนะกุงูทดมร่สีับะีคูงใดวมหับาีค้คมใววหคาา้คามมดวคสาหาามวดคสงั หัญาจวคกางั ญัับกจชกหานับนกเชว่หผยนา่นงเแว่ผาลยน่าะงแภสาลานง่ ะคเภสสรารง่ฐั คเิมวสรส่ารัฐจวมิวะัสส่าไดจวดกิะสั้มาไดนีดริกโส้มยาังนี รบคโสามยังยใบคนสามง่ชยใเมุนสสชรง่ชเนมิุมสศอชรักยนิม่ายศองภักยคา่ายรพงภบคชาวรุมพงบชจชวนรุมงชจนร

การวิจยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพื้นทส่ี งู ในอดีตและปัจจุบนั ฌ 5 องค์ควำมรเู้ พ่ือกำรบริหำรกำรพฒั นำรำษฏรบนพื้นที่สูงทีเ่ หมำะสม (5) (5) (1) (1) (2) (2) ความรู้การจัด ความร้กู ารศึกษา ความรู้เชิง สวสั ดกิ ารสังคมใน และพฒั นาชมุ ชน กระบวนการวิจยั และ พฒั นาชุมชน ชุมชน องคค์ วำมรู้ (4) (4) (3) (3) ความรกู้ ารสรา้ งการ ความรกู้ ารสรา้ งและ พัฒนาเครือขา่ ยทาง มสี ว่ นร่วม สังคม แผนแภผานพภ5าพ55อ5งคอ์คงวคา์คมวราูเ้ มพร่ือูเ้ กพา่ือรกบารรหิ บารริหกาารรกพาฒั รพนัฒารนาาษรฎารษบฎนรพบนื้นทพ่สีนื้ ูงที่สูงเหมาะสม ใหท้ ้อวชงงุมถจช่นิรรนาทใษุกหฎร้พะรึ่งบดตับนนรใพเาหอื้นษ้คงทฎวไดส่ีารงู้มบใมสหนคี�ำ ้ทพวค้อาญั้ืนมงทกถคบั่ีิ่นสาชดูทงนมหุกีเควรผงัะว่าดาจแับมาลกใคะหหสา้คนด่งวเว่หสายรวมงมิังสาสนาจวคภาัสัญากดคกหกิ รับานฐั รช่ววสนา่ยงัจเงคผะาม่าไนดใแนภ้มลชนีาะุมคสโยช่งรบนเัฐสาอวรยย่าิมส่าจสง่งะวเคสไัสรดรดบ้ิมมิกวศีนงากัจโรยยสรภบังคาาพมยชใสนมุ่งชชเุมสนชรใิหมนพ้ศอัยงึ่กต่ายนงภคเอารงพบได้

ญ การวิจัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ทสี่ ูงในอดีตและปัจจุบนั 5 จดุ ยืนกำรทำงำนของศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพ้ืนทีส่ ูง 5 จุด5ยนื จกุดำยรืนทกำำงรำทนำขงอำงนศขนู อยง์พศฒันู ยน์พำัฒรำนษำฎรรำบษนฎพรบนื้ นทพีส่ ูงืน้ ท่สี งู (1) การเปน็ ที่พึ่งพาได้ของ ราษกฏารรรบาเษปนกฏ็นพารรทน้ืราบ(่พีเทษ1ปนงึ่ส่ี)ฏ็นพพูงรทืน้าบ(พ่ีไท(1ด1นึ่งสี่))้ขพพงู อนื้างไทดส่ี ข้ ูงอง (5) (2) เปน็ ศนู ยก์ ลาง สงเคราะหเ์ กอื้ กลู ประสาปทนรกุเกะปมาส็นติราปทพศินร(ุกนูเฒักะ2ปมยสา)น็นติ์กราาทศพินล(ุกนูาัฒ(ก22มงยา)น)ติก์ราพิลาฒั งนา ผูด้ ้อสยงผโเอคดู้ กร้อสาาย(งะส5ผโเหคอ)ูด้ ์เรกอ้กาาย้อื(ะ(ส5โ5กหอ))ลู เ์กกาื้อสกูล (4) จดุ ยืน กำรทำงำน ของ กขศำพอจรงพดุทกขศ.ยำำอพงนื จรงำพุดทนศ.ยำพงืนำพน. (3) สร้างการมีสว่ นร่วม เปน็ หนว่ ยงานสรา้ ง เสรมิ สใเวเสนปสัรช็นดมิ มุ หกิสชเในาเวสนนปรสัว่รช(ส็นมยดิ3มุ งัหงิกส)ชคใานาวนนมนรสั่วช(สส(ยด3ุม3รังงิก))ชค้าาางนนมรสสรงั ค้างม การพัฒกสรานระร้าาบพงอบกฒักยสราา่ารนะรรงา้(ามบ4พเงอปสี)กบัฒย็น่วรานา่นะร(งา(มรบ44เอว่ปีส)บ)ยม่ว็นา่นงรเว่ปม็น แผนภาพ 6 5 จุดยนื การทางานของศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรบนพ้ืนทส่ี ูง ผลการวิจัย พบแวผ่านรภาแาษผพฎนภ6รบาพ5นพ6จดุื้น5ยทืนี่สจกูดุงาทยรุนืกทชกาุามงราชทนนาขงอตาง้อนศงขูนกอยางพ์รศใฒันู หยน้ศพ์าูนรัฒยาน์พษาัฎฒรรานบษานฎรพารษ้ืนบทฎนส่ีพรบูงื้นนทพ่สี ้ืงูนท่ีสูง มีจุดยืน การทางานที่ชัดเจนท้ังในด้านการพ่ึงพิง การประสานงาน สวัสดิการชุมชน การมีส่วนร่วม การพัฒนาและส่งเสรมิ เก้ือกเกลู กาผอ้ื รู้ดกท้อเกลู ากยาผงอื้โรา้ดูอกทนอ้กูลาทยาผงสโี่ชาดู้อผัดนอ้กลเทยาจกโ่ีสชนาอผัดทรกลเว้ังาจกิจใสนานัยทรดวพ้ัง้าิจในบนัยกวดา่าพ้ารรนบพากวษึ่งา่าพฎรริงพราบกษ่ึงพานฎริงพรปบื้นกรานทะรพส่ีสปาู้ืงนรนททะงุกสี่สาชาูงนุมนทสชงุกาวนชนัสุมตดสช้อิกวนงาัสกรตดชา้อิกุมรงาใชกรหนชา้ศุมรกูนใชาหยนร์พ้ศมกัูฒนีสาย่วนร์นพามรัฒรีส่วา่วนมษนาฎกรร่วราามบรษพนฎกัฒพราบร้ืนนพนาทแัฒพ่ีสลู้ืนงนะาทมสแี่สี่งจลเูงุดสะยมรสืนมิี่งจเุดสยรืนิม

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ท่สี งู ในอดตี และปัจจบุ นั ฎ

ฏ การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั แตล่ ะกรอบการดาเนนิ งานมีสาระสาคัญ ดังน้ี 1. ควำมคำดหวงั ของรำษฎรบนพน้ื ท่ีสงู 1. สวสั ดิการสงั คมทกุ ชว่ งวยั 2. การพฒั นาชมุ ชนอย่างต่อเน่อื ง 3. การอนรุ กั ษ์สง่ เสรมิ วัฒนธรรม 4. สทิ ธคิ วามเสมอภาคของบุคคล 2. ทุนทำงสังคมในชุมชนที่มีคณุ ภำพ 1. ทุนทางวัฒนธรรมด้านภาษาและชุดแตง่ กาย 2. ทนุ ประเพณีการแสดง/ความเช่ือ 3. ทนุ ภมู ิปัญญาการเย็บปัก ถักรอ้ ย 4. ทนุ ปราญช์ าวบา้ น ผู้ร้ใู นชมุ ชน 5. ทนุ วถิ ชี ีวติ ด้ังเดิมสาหรับการท่องเทีย่ วเชงิ อนุรักษ์ 3. ควำมขำดแคลนของชุมชนรำษฎรบนพนื้ ท่สี งู 1. ขาดปจั จยั การประกอบอาชีพท้ังทนุ /ความรู้/น้า 2. ขาดท่ดี นิ และสิทธิการครอบครอง 3. ขาดการส่งเสรมิ อาชพี อย่างยัง่ ยืน 4. ขาดการสนับสนนุ สง่ เสรมิ วฒั นธรรมชมุ ชน 5. ขาดสวสั ดกิ ารสังคมและการส่งเสรมิ คุณภาพชวี ิต 4. ยทุ ธศำสตรก์ ำรพัฒนำชุมชนรำษฎรบนพ้ืนที่สูง 1. ยทุ ธศาสตร์การจัดการศกึ ษา มุ่งพัฒนาชุมชนและคุณภาพคน 2. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมศักยภาพชุมชนพึ่งตนเอง 3. ยทุ ธศาสตรก์ ารส่งเสริมการท่องเทยี่ วเชิงวฒั นธรรม 4. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชุมชน/ต้นแบบ สร้างอตั ลักษณ์ชนเผา่ 5. ยุทธศาสตรก์ ารยกระดบั คุณภาพชีวิตชนเผา่ อย่างมสี ่วนร่วม 5. ชดุ ควำมสำเร็จของผลงำนในอดตี 1. การสรา้ งความเชอื่ มนั่ ความศรทั ธา ให้กบั ชาวบ้าน 2. การป้องกันและเข้าใจปัญหาการปลูกฝ่ิน 3. การป้องกนั และเขา้ ใจปัญหาด้านความมน่ั คง 4. การสรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีกับทุกชนเผ่า 5. การสร้างตน้ แบบการพัฒนาราษฏรบนพนื้ ทสี่ งู

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ทสี่ ูงในอดีตและปจั จบุ ัน ฐ 6. นวัตกรรมกำรพัฒนำแห่งอนำคตของชุมชนรำษฎรบนพน้ื ทสี่ งู 1. นวตั กรรมการสร้างเครือขา่ ยการพฒั นาราษฎรบนพ้นื ทส่ี ูง 2. นวตั กรรมการพฒั นาชุมชนบนพน้ื ทส่ี งู เชงิ คุณภาพ (การอนุรกั ษป์ ระเพณี) 3. นวัตกรรมการเผยแพร่ขอ้ มูลกลุม่ ชาติพันธผุ์ า่ นดิจิตอลเทคโนโลยี 4. นวัตกรรมสง่ เสรมิ การตลาด การทอ่ งเทยี่ วเชิงอนุรักษผ์ า่ นสงั คมออนไลน์ 5. นวัตกรรมสาหรบั สังคมออนไลนส์ ร้างชมุ ชนต้นแบบการใชท้ นุ ทางสังคมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง

ฑ การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทส่ี งู ในอดตี และปจั จุบนั แผนภาพ 7 องค์ความร้กู ารวจิ ยั

การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ที่สงู ในอดีตและปจั จบุ ัน ฒ องค์ความรู้การวิจัยเกิดจากการสังเคราะห์ผลการวจิ ัยที่ได้ประเด็นข้อค้นพบใหม่ จากการวิเคราะห์ ข้อมูลต้ังแต่การศึกษาวิเคราะห์สภาพประเด็นปัญหาของราษฎรบนพ้ืนที่สูง การวิเคราะห์ความต้องการ การพัฒนา การศึกษา วิเคราะห์ผลงานความสาเร็จจากการพัฒนาในอดีต เพ่ือสังเคราะห์เป็นแนวทางในการ บริหารการพัฒนาราษฏรบนพ้นื ท่สี งู ตงั้ แต่ 1.การกาหนดนโยบาย การบรหิ ารการพัฒนาราษฏรบนพื้นท่ีสูง ที่ชดั เจน 2.การกาหนดจุดยนื การทางานของ ศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรพ้ืนท่สี งู (ทุกแห่ง) 3.การสงั เคราะห์ องคค์ วามรู้ การพัฒนา ราษฏรบนพืน้ ท่ีสูงที่เหมาะสม 4.การกาหนดนวตั กรรมการจดั การพัฒนาเชงิ สรา้ งสรรค์ 5.การกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาอยา่ งเปน็ ระบบ 6.การกาหนดแผนงานการพัฒนาเชิงสรา้ งสรรค์เป็นรูปธรรม 7.การกาหนดโครงการเชิงยทุ ธศาสตรเ์ พ่อื การพฒั นาครบวงจร 8.การกาหนดกจิ กรรมตวั ชี้วัดผลการดาเนนิ งานทชี่ ัดเจน 9.การแสวงหากฎหมายรองรับการทางานของ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงและ หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง 10.การสร้างการมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วนภาคีเครือขา่ ยการพัฒนาชุมชนบนพ้นื ท่ีสงู 11.ผลลพั ธ์ท่ีจะเกดิ ขนึ้ 2 ประการ คอื 11.1 ศกั ยภาพชมุ ชนราษฎรบนพ้ืนทส่ี งู ทีส่ ามารถพัฒนาและเข้าใจ ปัญหาชุมชนไดด้ ้วยตนเอง 11.2 ศักยภาพการพึง่ พาตนเองของกลมุ่ ราษฎรบนพื้นท่สี งู ทุกชนเผา่ ข้อเสนอแนะ ดำ้ นนโยบำย 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการจัดการเชิงนโยบายที่จะสรรค์สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ศพพ.กบั ชมุ ชนราษฎรบนพนื้ ทส่ี งู ทุกแห่งให้เกิดข้ึนใหมอ่ ยา่ งสมบูรณแ์ บบ 2. หน่วยงานพัฒนาควรได้มีชุดความคิดเชิงนโยบายท่ีจะผลักดันขับเคล่ือนการพัฒนาบน พนื้ ทีส่ งู อย่างเปน็ ระบบครบวงจรและมคี วามต่อเน่ืองไมข่ าดตอนและทางานรว่ มกัน 3. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรได้มีการกาหนดและจัดทายุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนา ศักยภาพ และคณุ ภาพชุมชนราษฎรบนพนื้ ทสี่ งู ระยะยาว 20 ปี ท่แี บง่ ช่วงตอน ทกุ พ้นื ทีแ่ ละทาเปน็ ทมี ด้ำนวชิ ำกำร 1. ควรให้มีการศึกษาต่อยอดให้เกิดความต่อเน่ืองในเชิงวิชาการด้านการวิจัยชุดโครงการ ภาพอนาคต คุณภาพชีวิตราษฎรบนพนื้ ทส่ี ูงใน 20 ปขี า้ งหน้า (ด้วยกระบวนการวิจัย EDFR) 2. ควรพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมของท้องถิ่นเพื่อการเผยแพร่สู่สากลให้เป็นจุดเด่น มีจุดแข็ง และพรอ้ มนาคุณค่าและมลู คา่ แก่คนท้ังโลก 3. ควรพัฒนาแบบจาลองระบบ และกลไกการบริหาร การพัฒนาชุมชนราษฎรบนพื้นที่สูง โดยมปี ระชาชนเป็นศูนยก์ ลาง ครบวงจร 4. ออกแบบระบบการวิจัยให้ได้ชุดคาตอบท่ีจะเสริมหนุนให้ภาครัฐบาลเห็นคุณค่า และความสาคญั ของการมนี โยบายบรหิ ารการพัฒนาบนพ้ืนทสี่ งู แบบครบวงจร

ณ การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้ืนทส่ี ูงในอดตี และปัจจบุ นั องค์ความรู้การวิจัยเกิดจากการสังเคราะห์ผลการวิจัยที่ได้ประเด็นข้อค้นพบใหม่ จากการวิเคราะห์ข้อมูล ต้ังแต่การศึกษาวิเคราะห์สภาพประเด็นปัญหาของราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง การวิเคราะห์ความต้องการการพัฒนา การศกึ ษา วเิ คราะหผ์ ลงานความสาเรจ็ จากการพฒั นาในอดีต เพือ่ สังเคราะห์เปน็ แนวทางในการบรหิ ารการพัฒนา ราษฏรบนพืน้ ทสี่ ูง

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพื้นที่สงู ในอดตี และปจั จบุ ัน ด สารบัญ หนา ก คํานาํ ข บทคัดยอ จ บทสรปุ ผบู รหิ าร ด สารบัญ ธ สารบญั ตาราง ป สารบญั แผนภาพ 1 บทที่ 1 บทนํา 1 1. ความสาํ คญั และทมี่ าของการวิจัย 2 2. วัตถุประสงคการวิจยั 2 3. ขอบเขตการวจิ ยั 5 4. กรอบแนวคดิ การวิจัย 6 5. พน้ื ท่ีดาํ เนินการ 7 6. โจทยการศกึ ษาวิจัย 7 7. นยิ ามศัพทท สี่ ําคัญ 7 8. ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรับ 8 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ ง 9 1. ความหมาย “ชาวเขา” 10 2. ความรทู ่ัวไปเกี่ยวกบั ราษฎรบนพนื้ ทส่ี งู 11 3. การกระจายตัว และประชากรกลุมชาติพันธุ 28 4. ความสาํ คญั ของชาวเขาตอสงั คมไทย 30 5. สถานการณ ปญ หา การพัฒนาบนพน้ื ทส่ี งู 38 6. พฒั นาการของงานพฒั นาและสงเคราะหชาวเขา – ปจ จุบัน 49 7. ประวัติงานพฒั นาชาวเขา 90 8. แนวคิดการพัฒนาชาวเขาและสังคมบนพ้นื ท่สี ูง 98 9. สวัสดิการสังคม 113 10. ทฤษฏที ี่เกี่ยวขอ ง 123 11. งานวิจยั และผลงานท่ีเก่ียวของ 151 12. บทสรุปผลการพัฒนาบนพ้นื ท่ีสงู

ต การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพนื้ ทสี่ งู ในอดตี และปัจจบุ นั สารบญั (ตอ) บทท่ี 3 วธิ ดี ําเนนิ การวจิ ยั 154 1. การวิจัยเชงิ ปรมิ าณ 154 2. การวิจยั เชงิ คุณภาพ 157 3. การสรา งและหาคุณภาพของเครอื่ งมอื การวิจยั 160 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข อมูล 162 4.1 การวเิ คราะหข อมูลเชงิ ปริมาณ 162 - ตอนที่ 1 ขอ มูลทวั่ ไป การวิเคราะห สังเคราะห ขอ มูลเชงิ ปรมิ าณ 163 - ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ ตอการพัฒนาบนพื้นทส่ี งู ในอดีตและปจ จบุ นั (ตารางที่ 4.2 – 4.21) 164 - สรปุ ผลการวเิ คราะหขอมลู เชงิ ปริมาณ 199 4.2 การวิเคราะหขอมลู เชิงคุณภาพ 202 4.2.1 ผลการศกึ ษาชมุ ชน 202 4.2.2 ผลการวเิ คราะหข อมูลจากการสัมภาษณก ลุม ผูใหข อมูลสาํ คัญ 204 1. สภาพปญหาการพฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่ีสงู 204 2. คณุ ภาพชีวิตของราษฎรบนพื้นท่ีสงู 210 3. ทัศนคติของคนไทยพื้นราบตอ ชาวไทยราษฎรบนพ้นื ทส่ี งู 213 4. ทนุ ทางสังคมของชมุ ชนราษฎรบนพ้ืนทีส่ ูง 215 5. ชุดความคดิ ในการศกึ ษากลมุ ราษฎรบนพื้นที่ แบบ Inside Out และ Outside in 218 6. การศึกษาราษฎรบนพื้นทีส่ ูงแบบวฒั นธรรมขา มคน หรอื แบบคนขามวัฒนธรรม 221 7. จุดยนื ของศนู ยพ ฒั นาราษฎรบนพื้นทส่ี ูง (ภาพรวม) 226 8. การจดั การระบบสวสั ดกิ ารสงั คมพืน้ บา นและสวสั ดกิ าร สงั คมรปู แบบใหม ของชุมชนบนพ้ืนทีส่ งู 227 9. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงราษฎรบนพน้ื ที่สูง 229 10. กระบวนการศึกษาวัฒนธรรมพ้ืนบา นของราษฎรบนพื้นทส่ี งู แบบหยดุ นง่ิ (Static) และแบบพลวัตร (Dynamic) 230 11. การสงเสรมิ และพฒั นาสวัสดกิ ารทางสงั คมในชมุ ชนราษฎรบนพืน้ ทีส่ งู 233 - บทสรุปผลการวิเคราะหขอ มลู จากการสัมภาษณ 238

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพื้นทสี่ งู ในอดีตและปจั จบุ ัน ถ สารบญั (ตอ) 244 244 4.2.3 ผลการวเิ คราะหขอมลู จากการสนทนากลุมยอ ย 248 1. สภาพปญ หาการพัฒนาราษฎรบนพ้นื ทส่ี ูง 253 2.ความตอ งการของราษฎรบนพื้นท่สี ูงในการพัฒนา 3. จุดยนื การทํางานของศูนยพัฒนาราษฎรบนพน้ื ท่ีสูง 260 4. แนวทางการพัฒนาศักยภาพชมุ ชนเพ่อื การพ่งึ ตนเอง 266 ของราษฎรบนพ้นื ทส่ี ูง 5. ภาพอนาคตของความเปน ราษฎรบนพน้ื ที่สูง 272 6. ปจ จยั แหง ความสาํ เรจ็ และปจ จยั แหง ความลมเหลว ในการพัฒนาราษฎรบนพื้นทส่ี งู 276 7. การบริหารจัดการพิพิธภัณฑศนู ยเรยี นรรู าษฎรบนพื้นทีส่ งู 280 (Discovery Museum) 284 - สรปุ ผลการวเิ คราะหข อมูลจากการสนทนากลุม ยอ ย 290 293 4.2.4 ขอ คดิ เห็นจากเวทีวิพากษวจิ ารณผลการวิจัย 293 4.2.5 การคืนขอ มลู จากการวจิ ยั สูชมุ ชนและการปรบั ตวั สูการปฏบิ ตั ิ 295 4.2.6 สรปุ จุดรว มของความเหน็ จากเวทีคืนขอ มูลชุมชน 296 1. แบบแผนพฤติกรรม ชนเผา รนุ ใหม 297 2. การอนุเคราะหเก้อื กลู คนไทยไรสญั ชาติ 3. ราษฎรบนพ้นื ที่สูงตองการมีท่พี ง่ึ จากหนวยงาน 299 302 และที่ปรึกษาทจี่ ริงใจ 304 4. เปนราษฎรบนพนื้ ทส่ี ูง 4.0 เปน ชนเผา คุณภาพ 306 5. การรกั ษาพัฒนาและสงเสริมอัตลกั ษณช นเผา อยางเขมแข็งและยง่ั ยืน 6. การบริหารการสงเสริมการทอ งเทีย่ วเชงิ ภมู ิวัฒนธรรม 7. ชดุ ผลิตภณั ฑการทองเทีย่ วภมู ิวฒั นธรรมและมูลคาเพมิ่ 8. การจัดการตนเองของชมุ ชนราษฎรบนพืน้ ท่ีสูง

ธ การวจิ ยั การศึกษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ทีส่ ูงในอดตี และปจั จุบัน สารบญั (ตอ) 312 บทที่ 5 บทสรปุ อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ 312 บทสรปุ ผลการวิจัย 314 5.1 สภาพปญหาและประเด็นปญหาของการพัฒนาราษฎรบนพน้ื ท่สี ูง 329 5.2 ความตองการการพฒั นาราษฎรบนพ้นื ทสี่ ูง 337 5.3 รปู แบบการพฒั นาชุมชนราษฎรบนพนื้ ท่ีสูง 346 5.4 แนวทางการจัดการเชิงนโยบายเพือ่ การบรหิ ารการพฒั นาราษฎรบนพ้นื ท่ีสงู 346 5.5 ขอคนพบใหมจากการวจิ ยั 347 1. ชุดขอ มลู ท่นี า สนใจใหม 348 2. ขอเสนอของชมุ ชนระหวางวัฒนธรรมกับปากทอง 350 3. ดุลยภาพของการสง เสรมิ สิ่งใหมก บั การอนุรักษสิง่ ดีงาม 352 4. การพัฒนาชุมชนราษฎรบนพ้นื ท่สี งู ตองเรมิ่ จากภายใน 354 เพอ่ื ทําโครงการพฒั นา 355 5. การทํางานท่ถี กู ตอ งและมคี วามมั่นใจการมีกฎหมายรองรับ 357 6. ชมุ ชนมที ุนทางสังคมทีส่ รา งมูลคาเพม่ิ ได 357 7. การสรา งมลู คาเพ่มิ ของวฒั นธรรมสผู ลติ ภณั ฑ บริการทอ งเที่ยว 358 สมบรู ณแ บบ 359 5.6 ขอเสนอแนะจากการวิจยั 362 - ขอเสนอแนะเชงิ นโยบาย 362 - ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ 363 บรรณานกุ รม 374 ภาคผนวก 482 ภาคผนวก ก. 503 - เคร่อื งมือการวิจยั - ผลการศกึ ษาชุมชนราษฎรบนพื้นท่สี งู 32 ชมุ ชน ภาคผนวก ข. - ภาพ คณะผดู าํ เนินงานวิจัย

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพน้ื ทีส่ ูงในอดีตและปัจจบุ ัน ท สารบญั ตาราง บทที่ 1 พ้ืนที่ดาํ เนินการวิจยั หนา ตาราง 1.1 แสดงจาํ นวนหมบู าน/กลุมบาน/ชุมชน และราษฎรบนพ้นื ที่สูง พ.ศ. 2559 6 บทท่ี 2 จําแนกตามกลมุ ชาติพันธุ ตาราง 2.1 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาตพิ นั ธุ (เผา) มง หรือ แมว 12 จําแนกตามพ้ืนทจ่ี ังหวัด 15 ตาราง 2.2 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาติพันธุ (เผา ) ลาหู หรือ มเู ซอ 16 จําแนกตามพน้ื ทจี่ ังหวัด 18 ตาราง 2.3 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาติพนั ธุ (เผา) อาขา หรือ อกี อ 20 จาํ แนกตามพ้ืนทจี่ งั หวัด 22 ตาราง 2.4 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาตพิ ันธุ (เผา ) ลัวะ หรอื ละวา 24 จาํ แนกตามพืน้ ทีจ่ งั หวัด 25 ตาราง 2.5 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาตพิ นั ธุ (เผา) เมย่ี น หรือ เยา 26 จําแนกตามพื้นท่จี งั หวดั 28 ตาราง 2.6 แสดงการกระจายตวั ของกลุมชาตพิ ันธุ (เผา ) ลซี ู หรือ ลีซอ จําแนกตามพืน้ ที่จงั หวดั 163 ตาราง 2.7 แสดงการกระจายตัวของกลุมชาติพนั ธุ (เผา) ขมุ 164 จาํ แนกตามพ้นื ที่จงั หวัด 165 ตาราง 2.8 แสดงการกระจายตวั ของกลุมชาติพันธุ (เผา ) ถน่ิ จําแนกตามพื้นท่จี งั หวัด ตาราง 2.9 แสดงการกระจายตวั ของกลุมชาติพันธุ (เผา) มลาบรี หรอื ตองเหลือง จาํ แนกตามพ้นื ทีจ่ ังหวดั ตาราง 2.10 แสดงจํานวนและรอ ยละจาํ แนกตามสถานภาพสว นบุคคล คาเฉลีย่ สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็น บทท่ี 4 ตอ การพฒั นาราษฎรบนพน้ื ทส่ี ูงในอดีตและปจจบุ ัน ตาราง 4.1 คา เฉล่ยี สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคิดเห็น ตาราง 4.2 เก่ียวกับสภาพปญหาของราษฎรบนพนื้ ทส่ี งู ตาราง 4.3

น การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพนื้ ทสี่ ูงในอดีตและปัจจุบนั สารบัญ (ตอ ) ตาราง 4.4 คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับของความคิดเห็น หนา ตาราง 4.5 ตาราง 4.6 เกย่ี วกับประเด็นความตอ งการของชุมชน 167 ตาราง 4.7 คาเฉลยี่ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็นเกยี่ วกบั ตาราง 4.8 แนวทางการจดั การเชงิ นโยบาย 169 ตาราง 4.9 คา เฉล่ีย สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็น ตาราง 4.10 ตอการพฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่สี ูงในอดตี และปจ จุบนั 171 ตาราง 4.11 คา เฉล่ีย สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคิดเหน็ ตาราง 4.12 เกยี่ วกบั สภาพปญหาของราษฎรบนพ้นื ท่สี งู 172 ตาราง 4.13 คาเฉลย่ี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับของความคดิ เห็น ตาราง 4.14 เกยี่ วกับประเด็นความตองการของชมุ ชน 174 ตาราง 4.15 คา เฉลย่ี สวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดับของความคดิ เห็นเกยี่ วกับแนวทาง ตาราง 4.16 การจัดการเชิงนโยบาย 176 คา เฉลีย่ สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เหน็ ตอการพัฒนาราษฎรบนพืน้ ทส่ี ูงในอดีตและปจจบุ ัน 178 คาเฉลีย่ สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคิดเหน็ เกยี่ วกบั สภาพปญหาของราษฎรบนพืน้ ทส่ี งู 179 คา เฉล่ีย สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคิดเห็น เกี่ยวกับประเด็นความตองการของชุมชน 181 คา เฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั แนวทางการจัดการเชงิ นโยบาย 183 คา เฉลย่ี สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เหน็ ตอการพัฒนาราษฎรบนพืน้ ทีส่ ูงในอดีตและปจ จบุ ัน 185 คาเฉลย่ี สวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็น เกย่ี วกับสภาพปญ หาของราษฎรบนพืน้ ทส่ี งู 186 คาเฉลี่ย สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับของความคิดเหน็ เกีย่ วกับประเด็นความตองการของชมุ ชน 188

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ท่ีสงู ในอดีตและปัจจุบนั บ สารบัญ (ตอ ) ตาราง 4.17 คาเฉลี่ย สวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดับของความคดิ เห็น หนา ตาราง 4.18 เกยี่ วกับแนวทางการจัดการเชิงนโยบาย ตาราง 4.19 คา เฉลย่ี สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับของความคิดเห็น 190 ตาราง 4.20 ตอการพัฒนาราษฎรบนพนื้ ทีส่ ูงในอดตี และปจจุบนั 192 ตาราง 4.21 คาเฉลยี่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็นเก่ยี วกบั 193 สภาพปญหาของราษฎรบนพ้ืนทสี่ ูง 195 คา เฉลย่ี สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั ของความคดิ เห็น 197 เก่ียวกบั ประเด็นความตองการของชมุ ชน คาเฉลย่ี สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับของความคดิ เห็นเกยี่ วกับ แนวทางการจดั การเชงิ นโยบาย

ป การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพน้ื ทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั หนหานา สาสราบรัญบญั แผแนผภนาภพาพ นตฌณดชฉจ นตฌณดชฉจ แแแแแแแบแผผผผผผผผทแแแแแแแบแนนนนนนนนผผผผผผผผสทภภภภภภภภนนนนนนนนรสาาาาาาาาปุภภภภภภภภรพพพพพพพพผาาาาาาาาปุ พพพพพพพพบูผ45776312รบู 45776312::::::::หิ รอ556555ก::::::::าิหงาอ556555กรแชอจปปาครงาุดนดุรงรรวแชอจปปคครคะะยคเิวุดนุดงวรรวคคคเเทืนควาะะยคเิวดดวรความคกาเเทืนวาา็น็นดดามรงรวาามะกามคปกาน็็นครูกามงหราะวรญาทมคปดิกาครกูขเูหารรวรพาํญาพทหิดามอจขวูเงารรน้ืพาํอ่ืาพหดัมตาจิมอจวงขฐกื้นนเอือ่ลูาัยดัมตาิจชอาาขฐงกขจนเอลูัยนงิรงชกอาาอางขจนรบรนิงากรงกงาาอโปูนรรรบศรกยากษงหิาแโูปรูนารบกศกฎยษบาริหแยานูาาบกรรฎศบบารรพยยบาากึรรพศกกบทัฒรพยนบษกึาาฒัพกก่จีทัฒพนนรราษําาาฒันจี่พพช้ืนาพนเรราําปารนุมฒััฒทพพชืน้าเบานชปารมุีส่ัฒัฒทนนษนบานนชูงีส่าาฎนนษพนในรรงูนกราาฎ้นืพใาาบรราปนกรษษท้นืาารนจบาปฎฎ่ีสษษสทรจพนจงูรรัมฎฎสี่สบุนื้จพบบภงูรรัมนัุบท้นืนนบบาภนั่สีษทพพนนางู่ีสณน้ืษนื้พพงูททณ้นืน้ืแสี่ีส่ลททแ งููงะสี่สี่ลกูงงูะากราสรนสทนนทานกาลกมุลยุมอยยอ ย 55 แบผทแบนผททภน่ีท1าภี่ พ1าพ1.11.1: ก: รกอรบอแบนแวนควิดคกดิ ากราวริจวัยิจัย แแแแแแแแบแแแแแแแแแแแแแผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผทแแแแแแแบแแแแแแแแแแแแแแนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผผททภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนี่ทา4าาาาาาาาภาาาาาาาาาาาาภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ่ีพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพา4าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพ444444444444444444444.....................444444444444444444447316245822111111111149....................105497863102.731625482211111111119::::::::: 105498673012ชจ::::::::::::รจชปรรปช::::::::: ะะะาดุาจรรรรชแรมรรสุดดุรรชจเ::::::::::::รจชปรรปชกขบบบกปูะะะะูปะคุดะุดะนภคมุคะะะาุดาจรรรรชแรมรรสดุุดรรเภมบบบบบสวกบเบบเแแขยขบบบกวูปะะะะูปะววมาคดุะุดะนภคมุคดดาาแภภบบบบบาพบืนบมาทอบบบบบกกปสวบอเบบเแแยขวววมายน็น็มดดมขมาาาแกงสคคกาาขภบบาปบบบบบญงาพบืนบาทอกกปอนคคปยน็็นมพง็กคครรงแมขวมาาวอวากกญกงสคคกาาขบบาปญงอดิอหวนกญจสคาคปดิรริดัสาาบปพง็กคงครรงแาาวาาวอวกกกญากยหราอัดนามนมมดิอหวเดคกญจสรราบญหดิรริดสัาาบปงมสศชาาามทารกกาากสียํารคับหรบวาิกดัวนามนมมเดควารรรบญหงตูภพงิหพอกมสสี่หศชูกามทาวเิาราดิากาสสีรกํบัฒารคบับวยิกวทคอวาารางราัฒงพตงูภพนมงิหพาลรอกิหสี่ใหูกนาวิเาาดิ่งัราสยรกบฒััศชรยสผรทงทนรนคสอาเรกั.างราฒัพงรนมยานิหาลรนุหิใใากนหดามุนั่งศรูรลยนุัศธชรวสังกผรทงนพรนนใเรสนืเระกั.าารยจานิหาะําุนศน็ชคึกตใานกรคหมดมุนศรูลาทกุนธรวงักฒัรหพนใเรรเนืาบะารา(รนษจมอาจระตาํใกศ็นชกนคกึตนารคมาOาากทกกรคฒัมรนหษรนบจเาบาชใใริทราา(ษารงนษมอจรตินใกกนาาภาuOานนกนขกกกดัคพฐรมรสวานคมุษนบจ่ดีาชใใรฎรทิาาษาชงินtาาพาขกพพภชuกภัฒากนนนงัขวกชกัฒัดsพพฐรรสวาครีุมีวรี่ดครฎมชรคามุtาiจิาาาฒัาฒั้ืนพาขกพพชนกภัฒาะกdังนวบิตชฒัฒัsพีรนพรมรคีวรมรคมยพมชรคามุหาiทจิาาัฒeแาฒันื้นนแะธนฐันdนศบิตฒัสาวนฒันนพรตใทนมรคมรอมยพชวลส่ีรหทาลeแนคาพนกึัฒแวธน–ัฐนศอสาาใวนัฒแีม่นเตใาทรนนระงูอชะแวล่ีสัสนรนสพษาลนรคนื้าพกึฒังว–งามบนีอiอาใสแ่ีมาเผามุรนรลnะงูดาภูชเะกแกคษาสันยีนสทพษร้ืนชยชธงบปงงัามบนอีiล)ษสชะากิผเมุลnาาานงดาูภฎเกกคคส่ีษรายีมุใูทมุรผชนยชกมธบปนังรรมยฎาล)ษชะนกิเรไาราายีนงูมงฎชชคี่สรสมุใูมุสรเรศรุมทผอนนากมนรมแรรมยฎชาตนนชรไนนรยีะงูมสมชูจชเูนมสบยสเรยศอรมุลทขอนมุาริมมรแาชรตทนแรังชผนดุนะสมอายูพจะนกเนูมอบยียชตยอลูคเขคมุาิมรบบารสยงทแรชังตงกผดุ พองายน้ืนพะนพินกษนอียมชตยคูเ(คแบาาืนตบมุบรม็ลสยงชตงกIทร้นือพงน้ืนแันฎนรั่งิพนnษนบมยาออ(ชแาบาืนคตมุูสร็มลยาย่ีสIศทลทรธนื้sอรษแันฎรง่ังนnบรนงบาุณออชูกาษค(ืนiาูสงูรุบะูนยเ่สีายคส่ีศทาลdพฎธsรษบคงบรพนงางกณุาฎวกูษภ(ษืนยiนูงาูงรุรบะูนeเ่ีสครืน้าdเนนพรฎษบคบั่อืัฒพางกรปวาพาฎวฎพภบษยนูงปรeบพขร้นืเนนรกฎบ-คษมพับือ่ฒันนรฒัปวรพานื้นฎพบฏาปา้ืนบพาขนรนoกฎบ-ชคบมพรธนมนพทนฒัริบนืน้รนฏบทาา้ืนไuาพีวะนรรนoนชบรวจธแส่ีทื้นมพทนตัาิบรนน่สีติบรทบtื้นไuพวีะัฒพรัดนรลูง)วจิจทยแ่ีสมทื้นูงัตารพนบีส่ิตรบtทา้นืก้นืะัฒพัดรนพรลาูง่ีส)รจิทยม้ืนูงรพษบี่สาสิงททาษกาน้ืะธงูืน้รนพาี่สรทรื้นฎูงษมษี่สารสีส่งิฎทษาทธูง้นื ่ีสทรรัยรฎงูปฎมงูษรรส่ีฎร่ีทบูงมใ่ีสรบยัรราปฎางู รห่ีรนบงูมขบใบนบรา ามหพอนนขบพบน) มงื้นพอพน้นืพช) ทง้นืนื้พทืนุ้มชีส่ททนื้ี่สชทุมูง่ีสี่สูงทนีส่ชูงูงสี่งูนูง 222122221109001222212222741987201109001274197820 222222222222051422220514 222222222555242333222222222872981295555224333872918529

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพ้ืนท่ีสูงในอดีตและปจั จุบนั ผ สารบัญแผนภาพ (ตอ) แผนภาพ 4.22 : กระบวนการพัฒนาศกั ยภาพชุมชนเชิงระบบ 260 แผนภาพ 4.23 : กระบวนการพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน แบบ 261 แผนภาพ 4.24 : ชุดแบบจําลองชมุ ชนพ่งึ ตนเอง ดานการทองเทยี่ วเชิงวฒั นธรรมภมู ิสังคม 262 แผนภาพ 4.25 : ระบบบรหิ ารการทาํ หนา ทขี่ อง ศพพ. อยา งครบวงจร 265 แผนภาพ 4.26 : ระบบการพัฒนาราษฎรบนพื้นท่สี งู ที่เกยี่ วของกบั ปจจยั แหง ความสําเร็จ และปจจยั แหงความลมเหลว 275 แผนภาพ 4.27 : ระบบการจัดการพิพธิ ภณั ฑศนู ยการเรียนรูราษฎรบนพ้นื ที่สูง 277 แผนภาพ 4.28 : ระดับการจดั การพิพิธภัณฑ ศูนยการเรยี นรูร าษฎรบนพนื้ ท่สี งู แตล ะพ้ืนทแี่ ตล ะระดับ 278 แผนภาพ 4.29 : ระดบั การจดั การพิพธิ ภณั ฑ ศนู ยก ารเรียนรทู ดี่ ี 279 แผนภาพ 4.30 : สรุปผลการวิเคราะหข อ มลู จากการสนทนากลมุ ยอ ย 280 แผนภาพ 4.31 : ระบบทุนทางสังคมในชุมชนเพือ่ การพฒั นาชุมชนราษฎรบนพ้นื ที่สงู 283 แผนภาพ 4.32 : กระบวนการใชก ารวจิ ัยเปนฐานการเรยี นรแู ละการทํางาน 288 แผนภาพ 4.33 : แนวทางการประยุกตใชค วามรูจากการวิจัยสูการปฏิบัติ 288 แผนภาพ 4.34 : ระบบการพัฒนาบนพน้ื ที่สูงเพือ่ การพัฒนาเชิงบรู ณาการจากหลากหลายมติ ิ 289 แผนภาพ 4.35 : แบบแผนความคิดดานการแสดงออกของคนรุนใหม (เกดิ หลัง พ.ศ.2540) คนบนพนื้ ทสี่ งู 294 แผนภาพ 4.36 : แนวทาง การเกื้อกลู คนไทยผูไ รสัญชาติ ในชุมชนราษฎรบนพื้นที่สูง 296 แผนภาพ 4.37 : ประเดน็ ความพรอมของชมุ ชนสคู วามเปน ชนเผา คุณภาพเปน ชาวเขา 4.0 298 แผนภาพ 4.38 : ชดุ ขอมูลการจัดการชุมชนสงเสรมิ การทองเทยี่ วภูมิวัฒนธรรม 303 แผนภาพ 4.39 : การจดั การ 5 ดา น 307 แผนภาพ 4.40 : ชดุ ความคิดในการจดั การตนเองของชมุ ชน “แบบ 5 ดาน” 308 แผนภาพ 4.41 : แนวคิดการจัดการตนเองของชุมชนราษฎรบนพ้ืนที่สงู 309 แผนภาพ 4.42 : ชดุ ความคดิ รว มจากผลการคนื ขอ มลู การวจิ ยั สูชมุ ชนเพ่ือการพฒั นาราษฎรบนพืน้ ทีส่ งู 311 บทที่ 5 313 แผนภาพ 5.1 : ชดุ ของประเด็นปญ หาการพฒั นาราษฎรบนพืน้ ทีส่ ูง 314 แผนภาพ 5.2 : ความตองการคุณภาพชวี ติ ราษฎรบนพื้นท่สี ูงในปจจบุ นั 316 แผนภาพ 5.3 : ระบบความตองการการสงเสริมอาชพี มีรายไดใหก ารศกึ ษาแกบุตร-หลาน 318 แผนภาพ 5.4 : ระบบสวสั ดกิ ารสังคมในชุมชนทีด่ สี งผลตอ การสรางมลู คา ทางวัฒนธรรมอยา งยงั่ ยืน 320 แผนภาพ 5.5 : แบบจาํ ลองระบบพทุ ธบรู ณาการการจดั การปาชมุ ชน 321 แผนภาพ 5.6 : ระบบการจดั การปา ชมุ ชน 322 แผนภาพ 5.7 : ระบบการมสี ว นรว มจากภาคสวนในรูปแบบองครวม 322 แผนภาพ 5.8 : ระบบความสัมพันธระหวา ง จนท.รฐั กบั ชมุ ชน 324 แผนภาพ 5.9 : ชุดความคดิ ในการอนรุ กั ษ สงเสริม วัฒนธรรมชุมชนอยา งเปน ระบบ 325 แผนภาพ 5.10 : ระบบการจัดการดานน้ําในชุมชนราษฎรบนพื้นทสี่ งู 327 แผนภาพ 5.11 : ระบบการจัดการปญหายาเสพตดิ 328 แผนภาพ 5.12 : คณุ ภาพชีวิตของราษฎรบนพ้ืนทส่ี ูง 329 แผนภาพ 5.13 : ชุดความคดิ ในการบริหารการพฒั นาชมุ ชนราษฎรบนพนื้ ท่ีสูงยุคปจ จบุ นั

ฝ การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทสี่ งู ในอดีตและปจั จุบนั สารบัญแผนภาพ (ตอ ) 330 แผนภาพ 5.14 : ชดุ ความคิดความสอดคลองของระบบการบรหิ ารชุมชนบนพื้นทสี่ งู 331 แผนภาพ 5.15 : ระบบการจัดการพัฒนาราษฎรบนพ้นื ทส่ี ูงท่ีตอ งประสานสอดคลองกัน 332 แผนภาพ 5.16 : ประเดน็ การจดั การพฒั นาราษฎรบนพนื้ ที่สูง 333 แผนภาพ 5.17 : รูปแบบการบริหารการพฒั นาชมุ ชนราษฎรบนพืน้ ทส่ี ูง 334 แผนภาพ 5.18 : ระบบการจัดการ ประสานความสอดคลอ ง 5 ประการ 336 แผนภาพ 5.19 : KSF (ปจ จัยความสําเรจ็ ) : 5’P การจดั การโดยรวม 337 แผนภาพ 5.20 : ชดุ นโยบายการจดั การพัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่สี ูง 340 แผนภาพ 5.21 : เสน กราฟแสดงปจจยั การเคลอ่ื นยายประชากร สทู ่ใี หมท ี่ดีกวาเดมิ 341 แผนภาพ 5.22 : ผลลพั ธการพฒั นาเชิงประเดน็ 342 แผนภาพ 5.23 : สมั ฤทธิผ์ ลในการพฒั นาทเ่ี ขม แขง็ 343 แผนภาพ 5.24 : ประสิทธผิ ลของการบริหารการพัฒนาชุมชนบนพ้ืนที่สูง 344 แผนภาพ 5.25 : ชุดความคดิ แนวทางการพัฒนาทีม่ นี ยั สาํ คัญตอ ความสําเร็จ 346 แผนภาพ 5.26 : ชดุ ความคิดขอคนพบใหมจ ากการวจิ ยั (จาก 4 แนวคิด) 348 แผนภาพ 5.27 : แนวทางการสง เสรมิ วัฒนธรรมพื้นบานในชมุ ชนราษฎรบนพื้นทีส่ งู 349 แผนภาพ 5.28 : ดลุ ยภาพการอนุรักษแ ละสง เสรมิ วฒั นธรรมพ้ืนบา นในชมุ ชน 350 แผนภาพ 5.29 : รปู แบบการทํางานโครงการเพือ่ การพฒั นาชุมชนราษฎรบนพนื้ ท่สี งู 351 แผนภาพ 5.30 : กระบวนการพัฒนาชมุ ชนที่เรมิ่ ดว ยจากคนในชมุ ชน 353 แผนภาพ 5.31 : ระบบการออกแบบแผนงานโครงการเพือ่ การพัฒนาชุมชนทีม่ กี ฎหมายรองรบั 354 แผนภาพ 5.32 : การบริหารตนทนุ ทางสังคมในชุมชนเชิงสรา งสรรค 355 แผนภาพ 5.33 : ระบบการจัดการสรางสรรคว ฒั นธรรมทอ งถ่นิ สูพ้นื ที่การทอ งเที่ยวเชิงอนุรกั ษ

1 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทีส่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั 1 บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมสำคญั และทมี่ ำของกำรวิจัย งานพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา เป็นนโยบายท่ีดาเนินการต่อเน่ืองมาเกินกว่า คร่ึงศตวรรษ (2502-ปัจจุบัน) โดยในช่วงปี-2552 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ปรับโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการภายในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา เปลี่ยนเป็นศูนย์พัฒนาสังคม ต่อมาปี 2558 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้ปรับโครงสร้างซึ่งส่วนของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ปรับศูนย์พัฒนาสังคมมาเป็นศูนย์ พัฒนาชาวเขาอีกคร้ังหนึ่ง ในขณะที่สภาพสังคม เศรษฐกิจ บริบทในพื้นท่ี ตลอดทั้งแนวคิด นโยบาย ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ทาให้การปฏิบัติงานบนพ้ืนท่ีสูง ขาดความ ตอ่ เนื่องการปฏิบัติงานท่ีมปี ระสิทธภิ าพด่ังเชน่ ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาที่เจ้าหน้าที่เคยมีการ ทางานด้วยความเข้มแข็ง มีผลงานที่ประสบความสาเร็จ สร้างช่ือเสียงเป็นท่ีประจักษ์ให้กับกรมฯ มาโดยตลอด ในครั้งอดีตท่ีผ่านมาราษฎรบนพืน้ ท่ีสูง คือ คาศัพท์บัญญัติใหม่ เพ่ือการบริหารกลุ่มชาติ พันธ์หรือชนเผ่า โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวดั ภาคเหนือและภาคกลางจะมีศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง ซึ่งมีหน้าที่การพัฒนาชาวเขา มาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สถานการณ์ทางสังคมโลก เปล่ียนแปลงไป มาก เช่นเดียวกับสภาพปัญหาการบริหารการพัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง ก็ยังคงอยู่ในหลากหลายด้าน เกิดผลกระทบต่อชุมชนสังคมส่ิงแวดล้อมในด้านต่างๆ มากมาย เช่น จานวนประชากรบนพื้นท่ีสูง ของชนเผ่ามีจานวนมากกว่า 1 ล้านคน นับวันจะมีจานวนสูงขึ้นในขณะที่ ปริมาณท่ีดินจากัดเท่าเดิม พ้ืนที่อยู่อาศัยจะคับแคบแออัดและมีสภาพปัญหาอ่ืนๆ ตามมา เช่น ปัญหาด้านความยากจนเพราะ การปลูกพืชเกษตรเดิมไม่ได้ผลต้องหันมาปลูกพืชเศรษฐกิจแต่ก็ขาดการส่งเสริมให้ความรู้ และการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องท่ีครบวงจร โดยเฉพาะ กระบวนการผลิต มีค่าใช้จ่าย ในการลงทุนสูงมาก ต้ังแต่ค่าเมล็ดพันธ์ุ ค่าปุ๋ย บารุง ค่ายาเร่งดอกผล ยาฆ่าแมลง เม่ือมีผลผลิตกลับขาย ได้ในราคาต่า ตลาดไม่มีความพอดีจึงเกิดข้ึน เพราะรายจ่ายมากแต่รายรับน้อย มีค่าใช้จ่ายในการดาเนิน ชีวิตสูง เกิดปัญหาความยากจนถ้วนหน้า โดยเฉพาะการปลูกข้าวโพด ปัญหาด้านสังคมยังมีการลักลอบ ปลูกฝ่ินการค้ายาเสพติด ในบางพ้ืนท่ีของราษฎรบางพื้นที่สูง ซ่ึงกลุ่มขบวนการค้ายาเสพติดใช้เป็น ทางผ่าน และท่ีพักยาเสพติดก่อนลาเลียงสู่พื้นท่ีเป้าหมายต่อไป มีปัญหาความไม่เสมอภาคทางสังคม ท้ังราษฎรบนพ้ืนที่สูง และคนพื้นที่ราบ ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้และส่ิงแวดล้อม ถูกทาลาย กลายเป็นป่าเส่ือมโทรม เป็นภูเขาหัวโล้นในบางพ้ืนท่ีภาคเหนือ ปัญหาการบุกรุกพื้นท่ีป่า ก็ยังคงมีอยู่ทั่วไป สภาพปัญหาการขาดแคลนแหล่งน้า เพื่อการเกษตร การบริโภคใช้สอยในครัวเรือน ปัญหาท่ีดินเสื่อมโทรม หรือแม้แต่ความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ท่ีดินระหว่างชุมชนหรือกับเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ประเด็นปัญหาเหล่าน้ีเป็นสภาพปัญหาภายในพื้นท่ีชุมชนราษฎรบนพื้นที่สูง เม่ือมาเจอกับ สภาพปัญหา ด้านการบริหารชุมชนของภาครัฐ ภาคสังคม และท้องถ่ินที่ยังคงขาดความชัดเจน ขาดความต่อเน่ืองและขาดความจริงใจ ท้งั ในเชิงป้องกนั ปญั หา แก้ไขปญั หา และช่วยกันพัฒนาชมุ ชน ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงจนกระทั่งเกิดผลกระทบ ต่อความม่ันคงชายแดน ท้ังความม่ันคงในเชิง

2 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้ืนท่ีสูงในอดีตและปัจจุบัน 2 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชาติในภาพรวมได้การปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานของ ศนู ย์พัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง นอกจากในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการทางานเก่ียวกับการพัฒนา และสงเคราะห์ชาวเขา ตามเป้าหมายของรัฐบาลในแต่ละยุคสมัย ตามสถานการณ์ เหตกุ ารณ์ของโลก และความตื่นตัวทางการเมืองและสังคมภายในประเทศแล้วยังมีการดาเนินงานต่างๆ ที่เป็นลักษณะ ความร่วมมือ จากองค์กรระหว่างประเทศโดยเฉพาะในยุคแรกๆ และต่อมามีการทางานร่วมกับ หน่วยงานอื่นๆที่เก่ียวข้องเช่นโครงการหลวง โครงการพระราชดาริ โครงการพระธรรมจาริก ฯลฯ เห็นได้ชัดว่างานพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูงมีรูปแบบที่หลากหลาย ท้ังนโยบายการดาเนินงาน ได้มีการ เปลี่ยนแปลงการจัดองค์กรการบริหารองค์กรหลายครั้ง จึงสมควรท่ีจะมองย้อนอดีต ศึกษารูปแบบ การพัฒนาบนพ้ืนที่สูง และเปรียบเทียบสภาพการณ์ในปัจจุบันเพื่อหาข้อสรุป ท่ีจะเป็นบทเรียน จากอดีตและกาหนดวิสัยทัศน์การทางานในอนาคตในรูปแบบของข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิง ปฏบิ ัตกิ าร และเพอ่ื บรรลผุ ลถึงการพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาต่อไป คณะผู้วิจัย จึงตระหนกั วา่ การ ท่หี น่วยงานทุกภาคส่วนจะได้มแี นวทางการบรหิ ารจัดการชมุ ชนและราษฎรบนพื้นท่ีสูงได้อยา่ งถูกต้อง ยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งปัญหาเก่าควรไดร้ บั การแก้ไข ปญั หาใหม่ควรได้รบั การปอ้ งกัน สิ่งดีเกา่ ต้อง รักษาไว้และสิ่งดีใหม่ต้องมีการพัฒนานั้นหนทางท่ีเหมาะสม ก็ควรเกิดจากการวิจัยที่จะเป็นเส้นทาง สู่การแสวงหาคาตอบอันเป็นองค์ความรู้ ท้ังชุดความคิดหลักในการวางแผนบริหารจัดการและนามา ซ่งึ การพฒั นาชุมชนราษฎรบนพืน้ ทีส่ ูงอย่างยั่งยืน 2. วัตถุประสงคข์ องโครงกำรวจิ ยั 1. เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของการพฒั นาราษฎรบนพ้นื ทีส่ ูง 2. เพ่อื ศึกษารปู แบบและนโยบายการดาเนินงานพฒั นาราษฎรบนพื้นท่สี งู ท้งั ในอดตี และปัจจบุ ัน 3. เพื่อกาหนดองคค์ วามรู้และจุดยนื ของศูนย์พัฒนาราษฎรบนพน้ื ทสี่ งู เป็นแนวทาง ในการดาเนินงานพัฒนาชาวเขาท่ีเหมาะสม 3. ขอบเขตกำรวจิ ยั 3.1 ขอบเขตเนือ้ หา 1.1 สถานภาพชมุ ชน จานวน 32 แห่ง ในพ้ืนทศี่ นู ยพ์ ฒั นาราษฎรบนพ้ืนทสี่ งู 1.2 คณุ ภาพชีวติ ราษฎรบนพ้นื ท่ีสงู 1.3 ศักยภาพชมุ ชนและสังคมชาติพันธ์ุ 1.4 สภาวะเชงิ เศรษฐกจิ และสงั คม 1.5 สวสั ดิการสงั คมในชุมชน 1.6 ความตอ้ งการการพฒั นาของราษฎรบนพืน้ ทส่ี ูง 1.7 วฒั นธรรมประเพณีท่ีมคี ณุ ค่า 1.8 บทบาทสทิ ธิและหน้าท่ชี นชาติพนั ธุ์ 1.9 ชดุ ความคิดการพัฒนาสสู่ งั คมราษฎรบนพนื้ ทส่ี งู ในศตวรรษท่ี 21

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพนื้ ทีส่ งู ในอดตี และปจั จบุ ัน 3 3 3.2 ขอบเขตพน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย ศึกษาในพ้ืนที่ ความรับผิดชอบของ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4, 8, 9, 10 ในพ้นื ท่ีศูนยพ์ ัฒนาราษฎรบนพื้นทส่ี ูง 16 แหง่ 32 ชุมชน ไดแ้ ก่ 2.1 พน้ื ทใี่ นความรับผิดชอบของ สสว.4 มี 4 จังหวดั คอื 1. จงั หวดั กาญจนบุรี ได้แก่ บ้านเขาเหล็ก ตาบลเขาโจท อาเภอศรสี วสั ดิ์ และบา้ นทิพเุ ย ตาบลชะแล อาเภอทองผาภมู ิ 2. จงั หวดั ราชบุรี ไดแ้ ก่ บา้ นบางกะมา่ ตาบลบ้านบึง อาเภอบา้ นคา และบ้านพุระกา ตาบลตะนาวศรี อาเภอสวนผง้ึ 3. จังหวดั เพชรบุรี ไดแ้ ก่ บา้ นป่าเดง็ ใต้ ตาบลป่าเด็ง อาเภอแก่งกระจาน 4. จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ได้แก่ บ้านป่าละอู ตาบลหว้ ยสัตวใ์ หญ่ อาเภอหัวหิน 2.2 พื้นทใ่ี นความรับผดิ ชอบของ สสว.8 มี 2 จังหวดั คือ 1. จังหวดั กาแพงเพชร ไดแ้ ก่ บ้านม้งโละ๊ โค๊ะ ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสัมพีนคร และบา้ นกะเหรีย่ งโละ๊ โค๊ะ ตาบลโกสัมพี อาเภอโกสมั พีนคร 2. จังหวัดอุทัยธานี ไดแ้ ก่ บา้ นอมี าดอที ราย ตาบลแก่นมะกดู อาเภอบ้านไร่ และบา้ นใต้ ตาบลแก่นมะกูด อาเภอบา้ นไร่ 2.3 พ้ืนท่ใี นความรับผิดชอบของ สสว.9 มี 3 จงั หวัด คอื 1. จงั หวัดตาก ไดแ้ ก่ บ้านห้วยปลาหลด ตาบลพระวอ อาเภอแม่สอด และบา้ นปแู ป๋ ตาบลพระวอ อาเภอแมส่ อด 2. จังหวัดพษิ ณโุ ลก ไดแ้ ก่ บา้ นห้วยนา้ ไซเหนือ ตาบลเนนิ เพ่มิ อาเภอนครไทย และห้วยน้าไซไต้ ตาบลเนนิ เพม่ิ อาเภอนครไทย 3. จงั หวัดเพชรบูรณ์ ไดแ้ ก่ บา้ นดอยเพียงดิน ตาบลบา้ นเนิน อาเภอหลม่ เกา่ บ้านทบั เบิก ตาบลวังบาง อาเภอหลม่ เก่า 2.4 พืน้ ท่ใี นความรบั ผดิ ชอบของ สสว.10 มี 8 จงั หวดั คอื 1. จังหวดั เชยี งใหม่ ได้แก่ บ้านปางกด๊ึ (หว้ ยตาด) ตาบลอนิ ทขิล อาเภอแมแ่ ตง และบ้านแมส่ านอ้ ย ตาบลโปง่ แยง อาเภอแม่ริม 2. จงั หวดั ลาพูน ได้แก่ บา้ นหว้ ยฮอ่ มนอก ตาบลทาแมล่ อบ อาเภอแม่ทา และบา้ นพระบาทหว้ ยตม้ ตาบลนาทราย อาเภอล้ี 3. จงั หวดั ลาปาง ได้แก่ บา้ นสันตสิ ุข ตาบลนาแก อาเภองาว และบา้ นแมฮ่ ่างใต้ ตาบลนาแก อาเภองาว 4. จังหวัดแมฮ่ ่องสอน ได้แก่ บา้ นแมร่ ดิ ป่าแก่ ตาบลแม่เหาะ อาเภอแม่สะเรยี ง และบา้ นแม่สวรรค์น้อย ตาบลแม่เหาะ อาเภอแม่สะเรยี ง 5. จงั หวดั เชียงราย ได้แก่ บ้านแสนเจรญิ ตาบลวาวี อาเภอแมส่ รวย และบ้านแมย่ างม้นิ ตาบลศรถี ้อย อาเภอแม่สรวย 6. จังหวัดพะเยา ไดแ้ ก่ บ้านปางปเู ลาะ ตาบลศรีถ้อย อาเภอแม่ใจ และบ้านประชาภักดี ตาบลร่มเยน็ อาเภอเชยี งคา

4 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้นื ทส่ี ูงในอดตี และปัจจุบัน 4 7. จังหวัดแพร่ ไดแ้ ก่ บา้ นแมพ่ ร้าว ตาบลสะเอยี บ อาเภอสอง และบา้ นหว้ ยฮอ่ ม ตาบลบ้านเวียง อาเภอร้องกวาง 8. จังหวัดน่าน ได้แก่ บา้ นห้วยเลียบ ตาบลแมข่ ะนิง อาเภอเวยี งสา และบา้ นหา่ งทางหลวง ตาบลภูฟ้า อาเภอบ่อเกลอื 2.5 พื้นท่ีกรุงเทพมหานคร ศึกษาจากผู้บริหารในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรมกิจการเดก็ และเยาวชน (ซึง่ เคยเป็นผบู้ ริหารงานศูนย์พฒั นาและสงเคราะห์ชาวเขา) 3.3 ขอบเขตประชากร ประชากรในการศกึ ษาคร้งั นี้ ประกอบดว้ ย - ผ้บู รหิ ารสว่ นกลาง - อดีตผ้บู รหิ ารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ - ผอู้ านวยการศูนย์และเจ้าหน้าที่ศนู ยพ์ ฒั นาราษฎรบนพ้ืนที่สูง จานวน 16 แห่ง - เจา้ หน้าทห่ี นว่ ยงานในทอ้ งถน่ิ - นกั พฒั นาสงั คม - นักวิจัยทางสงั คม - นกั วิชาการด้านการพฒั นาสังคม - ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นการบริหารศูนยง์ านชาวเขา - ราษฎรบนพื้นทีส่ ูงผแู้ ทนชมุ ชน 32 แหง่ - ผแู้ ทนองคก์ รเอกชน - ผู้แทนหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ท่ีสูงใน5อดีตและปัจจบุ นั 5 4. กรอบแนวคิดกำรวจิ ัย ศึกษำวิเครำะหช์ ุมชน สภำพปัญหำ ทิศทำงแก้ไข วิเครำะหค์ วำมตอ้ งกำรกำรพฒั นำ ประเด็น กระบวนกำรพัฒนำ ผลลัพธ์กำรพฒั นำ กำรพัฒนำ ประเดน็ ศกึ ษำ (1) (2) (3) (4) (5) เชิงนโยบำย กำรบรหิ ำร วิชำกำร ปฏบิ ตั ิ กำรสนบั สนนุ คณุ ภำพชีวิตและศกั ยภำพชมุ ชน (1)ครอบครัวคุณภาพ (2)สงั คมเขม้ แขง็ (3) วัฒนธรรมทม่ี ีคุณค่า (4) การพฒั นาอย่างยัง่ ยนื คน ชุมชน และสังคมชาตพิ ันธุ์ ผลลัพธ์กำรวิจัย การจดั การ องค์ความรู้การ จดุ ยนื การทาแบบของ เชิงนโยบาย พฒั นา ศพพ. ทเ่ี หมาะสมและต่อเน่อื ง ทถ่ี ูกต้องเหมาะสม ท่ีถูกต้องเหมาะสม แผนภำพ 1.1 กรอบแนวคดิ กำรวิจยั

6 การวิจยั การศึกษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพื้นทส่ี ูงในอดีตและปัจจบุ ัน 5. พ้ืนที่ดําเนนิ การวจิ ัย ตารางที่ 1.1 พน้ื ท่ีดําเนนิ การวจิ ยั ศูนยพัฒนา ราษฎร พน้ื ที่ บนพน้ื ท่ีสูง บา น ชนเผา ตาํ บล อาํ เภอ จงั หวัด จงั หวัด 1.ปา เด็งใต 2.ปาละอู สสว. 4 1. เพชรบุรี (หว ยสตั วใ หญ) กะเหรีย ง ปาเดง็ แกง กระจาน เพชรบุรี 1.บางกะมา กะเหรยี ง หว ยสตั วใ หญ หัวหนิ ประจวบครี ขี นั ธ 2.ราชบุรี 2.พรุ ะกาํ กะเหรียง บานบึง บา นคา ราชบุรี 3.กาญจนบรุ ี 1.เขาเหลก็ กะเหรียง ตะนาวศรี สวนผงึ้ กาญจนบุรี สสว. 8 1. กาํ แพงเพชร 2.ทิพุเย กะเหรยี ง เขาโจท ศรสี วสั ดิ์ กําแพงเพชร 2.อุทยั ธานี 1.มงโละ โคะ กะเหรียง ชะแล ทองผาภมู ิ อุทยั ธานี สสว. 9 1. ตาก 2.กะเหรียงโละโคะ มง โกสัมพี 1.อีมาดอีทราย กะเหรยี ง โกสมั พีนคร 2.บานใต กะเหรยี ง แกน มะกรูด 1.หว ยปลาหลด กะเหรยี ง แกน มะกรดู บา นไร 2.บานปแู ป มูเซอ บา นไร 1.หว ยน้ำไซเหนอื กะเหรยี ง 2. หวยน้ำไซใต พระวอ แมสอด ตาก 1.ดอยเพยี งดิน 2.พิษณโุ ลก 2.ทับเบิก มเู ซอ เนนิ เพ่ิม นครไทย พิษณโุ ลก 3.เพชรบูรณ 1. ปางกด้ึ หวยตาด) มูเซอ ต.บา นเนนิ หลม เกา เพชรบูรณ สสว. 10 1. เชียงใหม 2.แมสานอ ย(ใหม) มง วงั บาง แมแ ตง เชยี งใหม 2.ลาํ พูน 1.หวยฮอมนอก มง อินทขลิ แมรมิ ลําพนู 3.ลาํ ปาง 2.พระบาทหวยตม ลาหู โปงแยง แมทา 1.สนั ตสิ ขุ มง ทาแมล อบ ล้ี ลาํ ปาง กะเหรียงโปว นาทราย 2.แมฮางใต กะเหรยี ง งาว แมฮองสอน กะเหรยี ง นาแก เชยี งราย 4.แมฮ องสอน 1.แมรดิ ปา แก กะเหรียง แมส ะเรยี ง พะเยา 5. เชยี งราย 2.แมสวรรคน อย อาขา แมเ หาะ แมส รวย แพร 6. พะเยา 1.แสนเจริญ มเู ซอ วาวี แมใจ นา น 7.แพร 2.บา นแมย างมิน้ กะเหรยี ง ศรถี อ ย เชียงคํา 8.นาน 1.ปางปเู ลาะ กะเหรียง ศรถี อย สอง 2.ประชาภกั ดี อาขา รมเยน็ รอ งกวาง 1.แมพรา ว กะเหรียง สะเอยี บ เวยี งสา 2.หวยฮอ ม เมยี น บา นเวียง บอ เกลอื 1.หว ยเลยี บ มง แมขะนิง 2.หา งทางหลวง อาขา ภูฟา มลาบรี เมีย น ถิน

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพืน้ ท่สี ูงในอดตี และปจั จุบนั 7 7 6. โจทยก์ ำรศึกษำวจิ ัย 1. สภาพปญั หาและความตอ้ งการของการพฒั นาชาวเขาและสงั คมบนพน้ื ทสี่ งู เปน็ อยา่ งไร 2. รปู แบบและนโยบายการดาเนินงานพัฒนาชาวเขาท้ังในอดตี และปัจจุบันเป็นอยา่ งไร 3. แนวทางในการดาเนินงานพฒั นาชาวเขาที่เหมาะสม ควรเปน็ อยา่ งไร 7. นิยำมศัพท์ทส่ี ำคัญ พ้ืนท่ีสูง หมายถึง พื้นที่ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนที่สูง จานวน 16 แห่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูน แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน ตาก กาแพงเพชร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุทยั ธานี กาญจนบรุ ี ราชบุรี และเพชรบุรี รำษฎรบนพ้ืนท่ีสูง หมายถึง ประชาชนทเ่ี ป็นชนเผ่าของแต่ละกลุ่มชาติพนั ธุ์และผู้ท่ีอยอู่ าศัย บนพนื้ ท่สี ูง ในเขตพ้ืนท่ีศนู ย์พฒั นาราษฎรบนพื้นทสี่ ูง จานวน 16 แหง่ 8. ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะได้รับ ดำ้ นวชิ ำกำร 1. ได้องคค์ วามรู้เก่ียวกับสภาพปัญหาความต้องการของการพัฒนาราษฎรและสังคมบนพ้ืนท่ีสงู 2. ไดร้ ปู แบบและนโยบายการดาเนินงานพฒั นาราษฎรบนพื้นทส่ี ูงท้ังในอดตี และปจั จบุ นั 3. ได้แนวทางในการดาเนนิ งานพฒั นาราษฎรบนพนื้ ท่ีสงู ที่เหมาะสมและองคค์ วามรู้ท่ี เกี่ยวกบั การพฒั นาสังคมบนพื้นทสี่ ูง ดำ้ นนโยบำย 1. เข้าใจประเด็นแวดล้อมท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูง และสังคมบนพ้ืนท่ีสูงอัน จะนาไปสู่การกาหนดนโยบายและข้อเสนอนโยบาย ระดับชุมชน ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และระดบั ประเทศ ด้ำนสงั คมและชมุ ชน 1. รูปแบบการพัฒนาชุมชนบนพื้นท่ีสูงท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตตาม แตล่ ะกลุม่ เป้าหมายและพื้นที่ หนว่ ยงำนท่นี ำผลวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ 1. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ 2. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 3. ศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรบนพ้นื ที่สูง 4. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 5. สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6. สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั ท่เี กย่ี วข้อง 7. กระทรวงและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง กับการพัฒนาสังคมบนพื้นท่ีสูง เช่น กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงคมนาคม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

8 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้ืนทส่ี ูงในอดีตและปจั จุบนั 1 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้อง ก า ร วิ จั ย เ รื่ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร พั ฒ น า บ น พ้ื น ท่ี สู ง ใ น อ ดี ต แ ล ะ ปั จ จุ บั น เป็นการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของการพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง และสังคมบนพื้นท่ีสงู ศึกษารูปแบบและนโยบายการดาเนินงานพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงทั้งในอดีตและปัจจุบัน และเพ่ือ เป็นแนวทางในการดาเนินงานพัฒนาราษฎรบนพ้นื ท่สี ูงทเ่ี หมาะสม โดยมีแนวคดิ ทฤษฏี และเอกสาร งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง ดังต่อไปน้ี 1. ความหมาย “ชาวเขา” 2. ความรู้ท่วั ไปเกีย่ วกบั ราษฎรบนพ้ืนท่ีสงู 3. การกระจายตวั และประชากรกลมุ่ ชาติพนั ธุ์ 4. ความสาคัญของชาวเขาต่อสงั คมไทย 5. สถานการณ์ ปญั หา การพฒั นาบนพื้นท่ีสงู 6. พฒั นาการของงานพฒั นาและสงเคราะหช์ าวเขา - ปจั จบุ ัน 7. ประวตั งิ านพฒั นาชาวเขา 8. แนวคิดการพฒั นาชาวเขาและสังคมบนพื้นที่สูง 9. ทฤษฏีที่เก่ียวขอ้ ง 10. งานวจิ ยั และผลงานทเ่ี กย่ี วข้อง 11. บทสรปุ ผลการพัฒนาบนพ้นื ทส่ี งู

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพน้ื ท่สี ูงในอดตี และปจั จุบนั 9 1. ความหมาย “ชาวเขา” นกั วชิ าการได้ให้ความหมาย “ชาวเขา”ไว้ดงั นี้ ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ให้ความหมาย “ชาวเขา” หมายถึง “ชนกลุ่มน้อยซึ่งตั้งถิ่นฐาน บ้านเรือนอยู่ในอาณาบริเวณพื้นที่ที่เป็นเทือกเขา สูงไม่เกินหน่ึงหมื่นฟุ ตจากระดับน้าทะเล มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาพูด ความเชื่อ อาชีพและอุปนิสัยใจคอคล้ายคลึงกัน มีการปกครอง ร่วมกัน แต่แตกต่างออกไปอย่างเห็นได้ชัดจากประชากรเจ้าของประเทศในด้านชาติพันธ์ุ ขนบธรรมเนียม ประเพณแี ละภาษาพูด และมีความเช่อื เรื่องภตู ผปี ศี าจ” กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (ม.ป.ป:37-38) หมายถึง กลุ่มชนชาติส่วนน้อย ที่อาศัยถาวรอยู่ในพ้ืนท่ีสูง และทุรกันดารของภาคเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไทย มภี าษา ค่านิยม ความเช่อื ประเพณี วัฒนธรรมแตกตา่ งจากชาวไทยพนื้ ราบ ชาวเขา (chm-thai.onep.go.th/chm/mountain/detail/hilltri_01.htm) หมายถึง กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมประเพณีและภาษาพูดเป็นของตนเอง อาศัยอยู่บนภูเขา มีอาชีพและรายได้ จากการเกษตรเป็นหลัก ลักษณะด้านครอบครัว เครือญาติ และชุมชนระดับหมู่บ้านของแต่ละเผ่า มีเอกลักษณ์ของตน ซ่ึงแตกต่างกัน ทุกเผ่ายังคงนับถือผีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษเป็นส่วนมาก และการแตง่ งานกย็ ังนิยมแตง่ งานกนั กบั คนในเผ่าของตนเองมากกว่าแต่งกับคนนอกเผ่า จากความหมาย ชาวเขา ข้างต้น สรุปได้ว่า ชาวเขา หมายถึง กลุ่มชนส่วนน้อยท่ีมี วัฒนธรรม ค่านยิ ม ประเพณี ความเช่ือ ภาษาพูด การปกครองเปน็ เอกลักษณ์ของตนเอง อาศยั อยู่บน ภูเขา มอี าชีพและรายได้จากการเกษตรเปน็ หลัก นอกจากนี้ยังมีนยิ ามทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี ชุมชนบนพื้นท่ีสูง หมายถึง ชุมชนที่ชาวเขาชาติพันธุ์ต่างๆ อยู่อาศัยทากิน ได้แก่ กะเหรี่ยง แม้ว เย้า มูเซอ ลีซอ อีก้อ ลัวะ ถ่ิน ขมุ และมลาบรี รวมท้ังพื้นที่ท่ีชนกลุ่มน้อยอื่นๆ เช่น ปะหลอ่ ง ตองสู จีนฮ่อ ไทยใหญ่ คนไทยพื้นราบ ขนึ้ ไปอยู่อาศยั ปะปนอยู่กับชาวเขา พื้นที่สูง หมายถึง ตามระเบียบสานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ว่าด้วย การพิจารณาลงรายการสถานะบุคคลในทะเบียนราษฎรให้แก่บุคคลบนพ้ืนท่ีสูง พ.ศ.2543 ใหค้ วามหมายไว้วา่ พน้ื ท่ีที่เปน็ ที่อยขู่ องชาวเขาเผ่าต่างๆ และชนกลุ่มน้อยหรือเปน็ ที่ตงั้ บ้านเรอื น และ ท่ีทากินที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 35 หรือมีความสูงกว่าระดับน้าทะเล 500 เมตรขึ้น ไปในจังหวัดต่างๆ 20 จังหวัด คือ จังหวัดกาญจนบุรี กาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน ประจวบคีรีขันธ์ พะเยา พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ราชบุรี เลย ลาปาง ลาพูน สโุ ขทยั สพุ รรณบุรี และอทุ ยั ธานี หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านชุมชนบนพื้นท่ีสูงท่ีจัดต้ังถูกต้องตามพระราชบัญญัติลักษณะ การปกครองท้องท่ี พ.ศ.2457 กลุ่มบ้าน หมายถึง ชุมชนบนพื้นที่สูงซ่ึงตั้งบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยไม่ได้รับ การจดั ต้งั เป็นหม่บู ้านถูกต้องตามกฎหมาย แตร่ วมอยกู่ บั หม่บู า้ นที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีลักษณะ การต้งั ชมุ ชนตา่ งกนั ไปนั้น กลุ่มบา้ น หย่อมบ้าน หรือปอ๊ กบ้าน

10 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพนื้ ท่ีสูงในอดตี และปัจจุบัน ชาติพันธ์ุ หมายถึง การสืบทอดทางสายโลหิต เชื้อชาติ ภาษา ความเชื่อ วิธีการดารงชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ของกลุ่มชนใดกลุ่มชนหนึ่ง ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยทั่วไปใช้ คาว่า “เผา่ ” เพื่อแยกกลมุ่ ชนท่แี ตกตา่ งกันอยา่ งชดั เจนออกจากกนั ชนพ้ืนเมืองด้ังเดิม (Indigenous People) หมายถึง “ชุมชน ประชาชน ประชาชาติ ท่ีเป็นชนเผ่าพ้ืนเมือง คือ บรรดาผู้ซึ่งมีความต่อเน่ืองทางประวัติศาสตร์กับสังคมก่อนการรุกรานและ ก่อนการล่าอาณานิคมท่ีได้พัฒนาขึ้นในเขตแดนของพวกตน พิจารณาว่าตนเองมีความแตกต่างจาก ส่วนอื่นๆ ของสังคมที่กระจายกันอยู่ทั่วไปหรือในบางสว่ นในเขตแดนเหล่านั้น ในปัจจุบันพวกเขามิได้ เป็นกลุ่มครอบงา ของสังคม และมีความมุ่งม่ันท่ีจะอนุรักษ์ พัฒนา และสืบทอดเขตแดน บรรพบุรุษ ของตน และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของตนไปสู่คนรุ่นอนาคต ในฐานะท่ีเป็นพื้นฐานของการดารงอยู่ อย่างต่อเน่ืองในฐานะประชาชนตามแบบแผนทางวัฒนธรรม สถาบันสังคม และระบบกฎหมายของตน (จากเอกสารการจัดการความรู้งานพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา โครงการคลังปัญญางานพัฒนา ชาวเขา 53 ปี: กรมพฒั นาสังคมและสวสั ดกิ าร : 36-38) ราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง หมายถึงบุคคลหรือกลุ่มชาติพันธุช์ าวเขาท่ีพักอาศัยและดารงชีพอยู่ ในพ้ืนท่ีสูง ท่ีเป็นชุมชนซ่ึงศูนย์พัฒนาชาวเขาได้จัดทาเป็นทาเนียบชุมชนบนพื้นที่สูงไว้แล้ว รวมทั้ง ราษฎรพ้ืนท่ีอพยพเข้ามาต้ังถิ่นฐานและประกอบอาชีพอยู่บนพื้นท่ีสูงมาแล้วไม่ต่ากว่า 3 ปี ( กองกจิ การนิคมสรา้ งตนเองและพัฒนาชาวเขา : 2 ) 2. ความรู้ท่ัวไปเก่ยี วกับราษฎรบนพื้นท่ีสงู การแบ่งกลมุ่ ตระกูลภาษา นกั ภาษาศาสตร์ชาตพิ ันธุไ์ ดจ้ ัดแบง่ ไวเ้ ป็นกลมุ่ สายตระกูลใหญ่ 4 กลุ่ม ดงั นี้ 1) จนี -ทิเบต ( Sino-Tibetan ) แบ่งออกเปน็ ตระกูลภาษาจีน ได้แก่ ภาษาจีน สาเนียง ต่างๆ (Sinitic) ตระกูลภาษาทิเบต-พม่า เช่น ภาษาลาหู่ ลีซู อาข่า และคะฉ่ิน เป็นต้น และตระกูล ภาษากะเหรีย่ ง (Karenic) เชน่ ภาษาปกาเกอะญอ โพล่ง คะยา และกะยนั้ เป็นต้น 2) ออสโตร - ไทย ครอบคลมุ ตระกูลภาษาไทย-ไต-ลาวท้งั หมด รวมทัง้ ภาษาม้ง - เมี่ยน 3) ออสโตร - เอเชียครอบคลุมตระกูลภาษามอญ-เขมรท้ังหมด เช่น ภาษาละเวือะ มอญ โส้ ขมุ เขมรถ่ินไทย ชอง ญัฮกรู ดาระอาง มลาบรี มานิ และกูย เป็นต้น 4) ออสโตรนีเชียน ( Austronesian ) ได้แก่ ภาษามาเลย์ อุรักละโว้ย มอเเกน และ มอเกลน็ กลุ่มชาติพันธุ์เหล่าน้ีกระจายตัวกันอยู่ในภาคต่างๆ ของประเทศไทย โดยภาพรวม อาจกล่าวได้ว่า กลุ่มตระกูลภาษาจีน-ทิเบตส่วนใหญ่มีบรรพบุรุษท่ีอพยพมาจากจีนเข้าสู่ประเทศไทย จากลาวและพม่า โดยเฉพาะกลุ่มท่ีทางราชการเรียกว่า “ชาวเขา” หรือ “ชาวไทยภูเขา” ที่มีประชากรเกือบทั้งหมดตั้งถิ่นฐานอยู่ในภาคเหนือและภาคกลางฝ่ังตะวันตก อันเป็นแนวเทือกเขา สาคัญของประเทศ สาหรับกลุ่มตระกูลภาษาออสโตรนีเชียเป็นกลุ่มที่กระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศบริเวณคาบสมุทรมาเลย์ ชาวมอแกน และอูรักวะโว้ยมีวิถีชีวิตผูกพันกับท้องทะเลจนได้ ชื่อว่าเป็นชาวเล กลุ่มตระกูลภาษาออสโตร-เอเชีย จัดว่าเป็นกลุ่มชนพื้นถิ่นด้ังเดิมในภูมิภาค นี้มายาวนาน ส่วนกลุ่มออสโตร-ไทย โดยเฉพาะกลุ่มท่ีพูดภาษาไทย-ไต-ลาว ถึงแม้จะมีข้อสันนิษฐาน

การวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพื้นที่สงู ในอดีตและปจั จบุ นั 11 เปน็ หลายทาง แต่ข้อสันนษิ ฐานทีเ่ ชื่อกนั สว่ นใหญ่ระบวุ า่ มเี สน้ ทางอพยพมาจากทางตอนเหนือของจีน จึงมีประชากรกระจายตัวกันอยู่ท้ังในประเทศจีน เวียดนาม ลาว พม่า ไทย และบางส่วนของประเทศ อนิ เดยี และมาเลเซยี นอกจากน้ียงั มีนกั มนษุ ยวิทยา ชื่อกอร์ดอน แบง่ ชาวเขาในไทยออกเปน็ 2 กลุ่ม คือ - กลุ่มเอเชียตะวันออก [Austro Asiatic] มีทิศทางการอพยพจากใต้ขึ้นเหนือ และ อาศัยอยู่ในประเทศไทยก่อนชนชาติไทยจะอพยพลงมาตั้งอาณาจักร ได้แก่ ละว้า ขมุ ฮ่อ ถิ่น และ ผีตองเหลอื ง - กลุ่มจีน - ทิเบต [Sino-Tebetan Stock] ท่ีมีทิศทางการอพยพจากเหนือลงมาใต้ คือ อพยพลงมาจากจีน พม่า ลาว เข้าสูป่ ระเทศไทย หลังจากทชี่ นชาติไทย ได้ต้ังอาณาจักรขึน้ มาแล้ว และกลมุ่ นยี้ งั แบง่ ได้เปน็ กลมุ่ ย่อยอกี 2 กล่มุ คอื - กล่มุ ทเิ บต - พม่า [Tibeto - Berman] ไดแ้ ก่ เผ่าอีก้อ มูเซอ กะเหรย่ี ง - กล่มุ จนี เดมิ [Main Chinase] ไดแ้ ก่ เผ่าแมว้ และเย้า กองกิจการนิคมสร้างตนเองและพัฒนาชาวเขา กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้สารวจและจัดเก็บข้อมูลการกระจายตัวของ ราษฎรบนพ้ืนที่สูงประกอบด้วย ข้อมูลที่ต้ัง กลุ่มชาติพันธุ์ จานวนหลังคาเรือน จานวนครอบครัว จานวนราษฎรชาย หญิง เด็กชาย และเด็กหญิง ในพ้ืนที่ 20 จังหวัด ได้แก่กาญจนบุรี กาแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย ตาก แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบูรณ์ เลย ราชบุรี ลาปาง ลาพูน อุทัยธานี และสุพรรณบุรี จากการสารวจพบว่าราษฎรบนพนื้ ท่ี สงู มจี านวน 10 ชนเผา่ ประกอบดว้ ย กระเหร่ยี ง ม้ง หรอื แม้ว ลาหู่ หรือ มูเซอ อาขา่ หรอื อีก้อ ลวั ะ หรือ ละว้า เม่ียน หรือ เย้า ลีซูน หรือ ลีซอ ขุม ถ่ิน และมลาบรี อยู่ในพ้ืนที่ท้ังหมด 3,704 หมู่บ้าน 310,079 ครัวเรือ 342,584 ครอบครัว ด้านราษฎรบนพ้ืนที่สูงพบว่าท้ังหมดจานวน 1,441,135 คน แบ่งเป็นชาย จานวน 724,257 คน จานวน 716,878 คน เม่ือแบ่งตามอายุ พบว่าเป็นผู้ใหญ่ จานวน 1,049,743 คน โดยชายเป็น จานวน 527,265 คน หญิง จานวน 522,469 คน เป็นเด็ก จานวน 391,401 คน โดยเป็นชาย จานวน 169,992 คน หญิง จานวน 194,409 คน ปรากฏการจาแนก รายละเอียดการกระจายตัวของกลมุ่ ชาติพนั ธุ์ ได้ ด้ังน้ี 3. การกระจายตัว และประชากรกล่มุ ชาติพันธุ์ จังหวัดที่มีการกระจายตัวของราษฎรบนพื้นที่สูงมากที่สุด คือ จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 349,118 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24.22 รองลงมา คือ จงั หวดั เชยี งราย จานวน 237,766 คน คดิ เป็นร้อย ละ 16.49 และจังหวดั ตาก จานวน 223,531 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15.51 สาหรบั จังหวดั ทม่ี กี ารกระจาย ตวั นอ้ ยท่ีสุด คือ จงั หวดั เลย จานวน 1,847 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.12

12 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพื้นท่สี งู ในอดตี และปัจจบุ นั 2. การกระจายของหมู่บ้าน/กล่มุ บา้ นจาแนกตามกลุ่มชาติพันธ์ุ ตาราง 2.1 แสดงจานวนหมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน/ชุมชน และราษฎรบนพื้นท่ีสูง พ.ศ. 2559 จาแนกตามกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ชาติ จานวน จานวน จานวน ประชากร รวม พันธุ์ กลมุ่ บา้ น หลงั คาเรอื น ครอบครัว ชาย หญิง 548,195 (38.04%) 1,927 125,653 136,635 278,300 269,895 207,151 (14.37%) 1. กะเหรยี่ ง 40,863 102,067 105,084 116,126 (8.06%) 2. ม้ง 269 29,515 24,250 57,941 58,185 87,429 (6.07%) 3. ลาหู่ 452 23,167 17,170 43,161 44,268 58,803 (4.08%) 4. อาข่า 301 15,463 15,576 29,475 29,328 48,882 (3.39%) 5. ลัวะ 182 13,905 10,754 24,605 24,277 35,622 (2.47%) 6. เม่ียน 143 9,256 7,524 17,639 17,983 13,094 (0.91%) 7. ลีซู 142 7,961 3,590 6,655 6,439 8. ขมุ 37 3,224 528 482 1,010 (0.07%) 9. ถิ่น 3 138 210 162 195 357 (0.02%) 10. มลาบรี 2 62 560,533 556,136 1,116,669 รวมทัง้ หมด 3,458 50 256,634 228,332 จากตารางการกระจายตัวจาแนกตามกลุ่มชาติพันธุ์พบว่า ราษฎรบนพื้นท่ีสูง ประกอบดว้ ย 10 กลมุ่ หลกั ได้แก่ กะเหรี่ยง ม้ง หรอื แม้ว ลาหู่ หรอื มูเซอ อาข่า หรือ อีกอ้ ลวั ะ หรอื ละว้า เม่ียน หรอื เยา้ ลีซู หรอื ลีซอ ขมุ ถิ่น และมลาบรี กระจายตัวอย่ใู น 3,458 กลุม่ บ้าน 228,332 หลังคาเรอื น 256,634 ครอบครวั จานวน 1,116,669 คน กลุ่มชาติพันธ์ุท่ีพบมากที่สุด คือ กะเหรี่ยง จานวน 548,195 คน คิดเป็นร้อยละ 38.04 รองลงมา คือ ม้ง หรือ แม้ว จานวน 207,151 คน คิดเป็นร้อยละ 14.37 และลาหู่ จานวน 116,126 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.06 สาหรับกล่มุ ชาตพิ ันธท์ุ ่พี บนอ้ ยทส่ี ดุ คือ มลาบรี จานวน 357 คน คิดเปน็ รอ้ ย ละ 0.02 กะเหร่ยี ง ข้อมูลทั่วไป กะเหรยี่ ง หรือ ปกาเกอะญอ เปน็ ชนเผ่าที่จดั ไดว้ ่ามีหลายเผ่าพันธุ์ หลากภาษามีการนับ ถือศาสนาที่ต่างกัน แต่กะเหรี่ยงด้ังเดิมจะนับถือผีเช่ือเรื่องต้นไม้ป่าใหญ่ กะเหร่ียงมีถ่ินฐานต้ังอยู่ที่ ประเทศพม่าแต่หลังจากถูกรุกรานจากสงครามจึงมีกะเหรี่ยงที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย กะเหรยี่ งในประเทศไทยแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คอื กะเหรี่ยงสะกอ หรือ ปากะญอกะ เหรี่ยงโปร์ กะเหรีย่ งบเว และปะโอ หรอื ตองสู้

การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นทีส่ ูงในอดีตและปจั จบุ นั 13 ภาษา กะเหร่ียงแต่ละเผ่ามีภาษาพูด และภาษาเขียนเป็นของตนเอง โดยการดัดแปลงมาจาก ตวั หนงั สอื พม่าผสมอักษรโรมนั การแต่งกาย กะเหร่ียงในประเทศไทยแบ่งอออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กะเหร่ียงสะกอ และกะเหร่ียง โปวอ์ ีก 2 กลุ่มย่อย คือ คะยา หรือบะเว และปะโอ หรือตองสู้ กะเหร่ียงกลมุ่ ต่างๆ เหล่านีม้ ีวัฒนธรรม คล้ายคลึงกัน แต่การแต่งกายของแต่ละกลุ่มมีลักษณะเฉพาะของตนเองที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ฉะน้ันลักษณะการแต่งกายจึงเป็นส่วนหน่ึงท่ีสามารถบ่งชี้ให้เห็นได้ชัดเจนถึงเอกลักษณ์ของกะเหร่ียง แต่ละท่ีแต่แต่ละกลุ่ม การแต่งกายของเด็กและหญิงสาวจะเป็นชุดทรงกระสอบผ้าฝา้ ยพื้นขาวทอหรอื ปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่วนหญงิ ที่มคี รอบครัวแล้วจะสวมเสือ้ สีดา นา้ เงนิ และผา้ น่งุ สแี ดงคนละ ท่อน ตกแต่งด้วยลูกเดือย หรือทอยกดอก ยกลาย สาหรับผู้ชายกะเหร่ียงน้ันส่วนมากจะสวมเส้ือตัว ยาวถึงสะโพกตัวเส้ือจะมีการตกแต่งด้วยแถบสีไม่มีการปักประดับเหมือนเส้ือผู้หญิงนุ่งกางเกงสะดอ นยิ มใชส้ รอ้ ยลูกปดั เปน็ เครอ่ื งประดับและสวมกาไลเงินหรือตุ้มหู วฒั นธรรมประเพณี ชาวกะเหรย่ี งมปี ระเพณีทเี่ กีย่ วข้องกับการทาพธิ ีกรรมเลี้ยงผีบวงสรวงดวงวิญญาณ ด้วย การต้มเหล้า ฆ่าไก่-แกงและมัดมือผู้ร่วมพิธีด้วยฝ้ายดิบ ซึ่งเก่ียวโยงกัน ประเพณีอ่ืนๆ ได้แก่ ประเพณี ขึ้นปีใหม่ ศาสนา ความเชื่อ และพธิ ีกรรม เดิมชาวกะเหรี่ยงนับถือผี มีการบวงสรวงและเซ่นสังเวยอย่างเคร่งครัด ภายหลังหันมา นับถอื ศาสนาพทุ ธและศาสนาคริสต์มากขึน้ แต่ก็ยังคงความเช่ือเดิมอยู่ไม่น้อย เช่น ความเชือ่ เรอื่ งขวัญ หรือการทากิจกรรมต่างๆ จะต้องมกี ารเซน่ เจ้าที่เจา้ ทาง และบอกกล่าวบรรพชนให้อดุ หนุนค้าจุนช่วย ให้กิจการงาน้ันๆ เจริญก้าวหน้า ทาเกษตรกรรมได้ผลผลติ ให้อยเู่ ย็นเป็นสุข ปกป้องคุ้มครองดูแลและ ยงั เป็นการขอขมาอกี ดว้ ย ม้ง ขอ้ มูลทั่วไป ม้ง หรือ แม้ว เดิมอาศยั อยใู่ นประเทศจนี ตอ่ มาชาวจนี เข้ามาปราบปรามเป็นเหตุใหอ้ พยพลง มาถึงตอนใต้ของจีนและเขตอินโดจีนในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 และตอนเหนือของประเทศไทย ประมาณ พ.ศ. 2400 ไม่ชอบให้เรียกว่าแม้วโดยถือว่าเป็นการดูถูกเหยียดหยาม ม้งตั้งถ่ินฐานอยู่ตาม ภูเขาสูง หรือท่ีราบเชิงเขาในเขตพ้ืนท่ีจังหวัด เชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ ลาปาง กาแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย และตาก ภาษา ภาษาม้ง จัดอยู่ในสาขาเมี้ยว – เย้าจอง ตระกูลจีน – ธิเบต ไม่มีภาษาเขียนแต่ยืมตัวอักษร ภาษาโรมันมาใช้ ม้งไม่มีภาษาที่แน่นนอน ส่วนใหญ่มักจะรับภาษาอื่นมาใช้พูดกัน เช่น ภาษาจีนยูน นาน ภาษาลาว ภาษาไทย ภาคเหนือ เป็นต้น ม้งสามารถใช้ภาษาเผ่าของตนเองพูดคุยกับม้งเผ่าอื่น เข้าใจได้เป็นอย่างดี แต่ไม่มีภาษาเขียนหรือตัวหนังสือ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันชาวม้งได้เขียนและ อ่านหนงั สือภาษามง้ โดยการใช้ตวั อักขระหนังสือละตนิ (Hmong RPA)

14 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพืน้ ท่สี งู ในอดีตและปจั จุบนั ลกั ษณะการแต่งกาย - ลักษณะการแต่งกายของม้งขาว หรือม้งด๊าว ผู้ชายตัวเสื้อจะเป็นผ้ากามะหย่ี เส้ือแขนยาว จรดข้อมอื ชายเสอื้ จะยาวคลุมเอว ดา้ นหนา้ มสี าบเสือ้ สองขา้ งลงมาตลอดแนว สายเส้อื ลงไปยังชายเส้ือ ด้านหลังมักจะปักลวดลายสวยงามด้วย ส่วนกางเกงจะสวมใส่กางเกงขาก๊วยหรอื กางเกงจีนเป้าตื้นขา บานมลี วดลายนอ้ ย และใสผ่ ้าพนั เอวสแี ดง คาดทบั กางเกงและอาจมีเข็มขัดเงนิ คาดทับอกี ชน้ั หน่ึงด้วย เหมือนกัน ส่วนผู้หญิงตัวเสื้อจะเป็นผ้ากามะหยี่ เสื้ออาจจะเป็นสีน้าเงินเข้มหรือดา แต่ปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงให้มีหลากสีมากขึ้น เป็นเส้ือแขนยาวซึ่งท่ีปลายแขนนี้มีการปักลวดลาย ใสด่ ้านหน้ามสี าบเสอื้ สองขา้ งลงมาและมีการปักลวดลายใสด่ ้วย - ลักษณะการแต่งกายของม้งดา และม้งก๊ัวมะบา ผู้ชายเส้ือแขนยาวจรดข้อมือ แต่ชายเสื้อ ระดับเอวปกสาบเสื้อด้านขวาจะป้ายเลยมาทับซีกซ้ายของตัวเสื้อ ตลอดจนแนวสาบเสื้อจะใช้ด้ายสี และผ้าสีปักลวดลายต่างๆ สะดุดตา กางเกงสีเดียวกับเสื้อมีลักษณะขากว้างมากแต่ปลายขาแคบลง ส่วนท่ีเห็นได้เด่นชัดคือเป้ากางเกงจะหย่อน ลงมาจนต่ากว่าระดับเข่า รอบเอวจะมีผ้าสีแดงพันทับ กางเกงไว้ซ่ึงชายผ้าท้ังสองข้างปักลวดลายสวยงามอยู่ด้านหน้า และนิยมคาดเข็มขัดทับผ้าแดงไว้ส่วน ผู้หญิงปัจจุบันเส้ือม้งเขียวหรือม้งดาจะทาให้มีหลากหลายสีมากข้ึนเหมือนกัน ชายเส้ือยาวจะถูกปิด ด้วยกระโปรงเวลาสวมใส่ สาบเสื้อท้ังสองข้างจะปักลวดลายหรือขลิบด้วยผ้าสี ตัวกระโปรงจีบเป็น รอบทาเป็นลวดลายต่างๆท้ังการปักและย้อมรอยผ่าของกระโปรงอยู่ด้านหน้ามีผ้าเหลี่ยมผืน ยาวปัก ลวดลายปิดรอยผ่าและมีผ้าสีแดงคาดเอวทับอีกทีหน่ึง โดยผูกปล่อยชายเป็นหางไว้ด้านหลังสาหรับ กระโปรงน้จี ะใสใ่ นทุกโอกาสผู้หญิงมง้ ดานยิ มพันผมเป็นมวยไว้กลางกระหม่อมและมีช้องผมมวยซึ่งทา มาจากหางม้าพันเสริมให้มวยผมใหญ่ข้ึนใช้ผ้าแถบเป็นตาข่ายสีดาพันมวยผมแล้วประดับ ด้วยลูกปัด สีสวยๆ วฒั นธรรมประเพณี มีประเพณีและวัฒนธรรมตลอดทั้งความเชื่อเป็นของตนเองสืบมาแต่บรรพบุรุษ เช่น ประเพณแี ต่งงาน ประเพณีขน้ึ ปีใหม่ และประเพณีกนิ ขา้ วใหมข่ องมง้ ศาสนา ความเชื่อ และพธิ กี รรม ชาวม้ง มีการนับถือวิญญาณบรรพบุรุษส่ิงศักด์ิสิทธิ์เกี่ยวกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ บนฟ้า ในลาน้าประจาต้นไม้ ภูเขา ไร่นา ฯลฯ ชาวม้งจะต้องเซ่นสังเวยสิ่งศักดิ์สิทธ์ิต่างๆ เหล่าน้ีปีละ คร้ัง โดยเชื่อว่าพิธีไสยศาสตร์เหล่าน้ี จะช่วยให้วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องและทาการรักษาได้ผล เพราะ ความเจ็บป่วยทั้งหลาย ล้วนแต่เป็นผลมาจากการผิดผีทา ให้ผีเดือดดาลมาแก้แค้นลงโทษให้เจ็บป่วย จึงต้องใช้วิธีจัดการกับผีให้คนไข้หายจากโรค หากว่าคนทรงเจ้ารายงานว่า คนไข้ท่ีล้มป่วยเพราะขวัญ หนีก็จะต้องทาพิธีเรียกขวัญกลับเข้าสู่ร่าง จะต้องมีพิธีกรรมในการปฏิบัติมากมาย บางครั้ง บางพิธีกรรมก็มีความยุ่งยากในการปฏบิ ัติ ม้งเชื่อว่าการที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงโดยไม่มีโรคภยั มา เบียดเบียนน่ันคือ ความสุขอันยิ่งใหญ่ ฉะน้ันม้งจึงต้องทาทุกอย่างเพื่อเป็นการรักษาให้หายจากโรค เหล่าน้ัน ซ่ึงพิธีกรรมในการรักษาโรค ของม้งน้ันมีอยู่หลายแบบ แต่ละแบบก็รักษาโรคแต่ละโรค แตกต่างกันออกไป การที่จะทาพิธีกรรมการรักษาได้น้ัน ต้องดูอาการของผู้ป่วยว่าอาการเป็นเช่นไร แลว้ จงึ จะเลือกวธิ ีการรกั ษาโดยวธิ ีใดถงึ จะถูกตอ้ ง

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพืน้ ที่สงู ในอดีตและปจั จบุ นั 15 ตาราง 2.2 แสดงการกระจายตวั ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ (เผา่ ) มง้ หรอื แม้ว จาแนกตามพ้นื ทจี่ ังหวัด จังหวัด จานวน จานวน จานวน ประชากร หมู่บ้าน หลงั คา ครอบครัว เรือน ชาย หญงิ เด็กชาย เด็กหญงิ รวม 1.ตาก 50 7,713 11,995 17,019 19,461 9,158 8,979 54,617(26.36%) 2. เชยี งราย 59 5,665 6,030 10,349 10,562 5,650 5,402 31,963(15.42%) 3. นา่ น 31 4,661 5,907 9,672 9,780 5,788 5,797 31,037(14.98%) 4. เชียงใหม่ 47 4,023 5,272 8,999 9,464 4,090 4,411 26,964(13.01%) 5. เพชรบรู ณ์ 23 461 3,632 6,984 7,032 3,516 3,340 20,872(10.07%) 6. พะเยา 18 2,234 2,695 5,247 5,608 2,325 2,214 15,394(7.43%) 7. พิษณุโลก 10 2,099 2,099 3,529 3,148 1,657 1,796 10,130(4.89%) 8. กาแพงเพชร 6 818 1,353 1,461 1,500 932 826 4,719(2.27%) 9. แพร่ 3 450 450 1,462 1,635 632 562 4,291(2.07%) 10. แมฮ่ อ่ งสอน 11 652 638 1,235 1,238 529 508 3,510(1.69%) 11. ลาปาง 6 335 340 421 452 295 264 1,432 (0.69%) 12. เลย 1 248 244 653 637 - - 1,290(0.62%) 13. สโุ ขทัย 3 141 189 274 272 116 121 783(0.37%) 14. กาญจนบุรี 1 15 19 54 49 20 26 149(0.07%) รวมทั้งหมด 269 29,515 40,863 67,359 70,838 34,708 34,246 207,151 สาหรับชาติพันธุ์ม้ง หรือ แม้ว ในประเทศไทย พบว่าม้ง หรือ แม้ว กระจายตัวอาศัยอยู่ ใน 14 จังหวัดประกอบด้วยจังหวัดตาก เชียงราย น่าน เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ พะเยา พิษณุโลก กาแพงเพชร แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปางเลย สุโขทัย และกาญจนบุรี มีท้ังส้ินจานวน 269 กลุ่มบ้าน 29,515 หลังคาเรือน 40,863 ครอบครัว เป็นเพศชายจานวน 67,359 คน หญิง จานวน 70,838 คน เด็กชาย 34,708 คน เดก็ หญิง จานวน 34,246 คน รวมท้งั ส้ินจานวน 207,151 คน จากตารางการกระจายตัวของกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ (เผา่ ) ม้ง หรือ แม้ว จาแนกตามพ้ืนทีจ่ งั หวัด พบว่า จังหวัดตากมีการกระจายตัวของชาติพันธุ์ม้ง หรือ แม้ว มากท่ีสุด จานวน 54,617 คน คิดเป็น ร้อยละ 26.36 รองลงมา คือจังหวัดเชียงราย จานวน 31,963 คน คิดเป็นร้อยละ 15.42 และจังหวัด นา่ นจานวน 31,037 คน คิดเป็นร้อยละ14.98 ลาหู่ ข้อมูลทั่วไป ลาหู่ หรือ มูเซอ อาศัยอยู่ในประเทศจีน เมื่อถูกรุกรานจึงอพยพมาทางตอนใต้เข้าสู่ ประเทศพม่าและทางเหนือของประเทศไทย มูเซอท่ีรู้จักกันมากได้แก่ มูเซอดา และมูเซอแดง มวี ัฒนธรรมประเพณีคล้ายคลึงกัน

16 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพน้ื ที่สงู ในอดตี และปัจจุบัน ภาษา เซอพูดภาษาธิเบต - พม่า ซึ่งคล้ายคลึงกับพวกอาข่า และลีซอ มูเซอส่วนใหญ่พูดภาษา ไทใหญ่และลาวได้บางคนพูดภาษาจีนยูนานหรือพม่าภาษามูเซอแดงและมูเซอดาต่างกันไม่มากนักจึง ฟังกันรู้เร่ือง โดยภาษาพูด เป็นการสืบทอดต่อๆ กันมาตั้งแต่สมัยบรรพบรุ ุษมาถึงปัจจุบนั โดยแสดงถงึ วัฒนธรรมด้านภาษาของตนเอง ภาษามูเซอ มีแต่ภาษาพูดเท่านั้นการสืบทอดและการสื่อสารต่างๆ นั้นสืบทอดโดยใชร้ ะบบความจา พดู และฟงั การแตง่ กาย ชาวมูเซอในแต่ละกลุ่มมีเคร่ืองแต่งกายที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวในด้านสีสัน และผ้าของ มูเซอใช้ผ้าสีดา หรือ ผ้าสีฟ้าและสีแดงซึ่งขึ้นอยู่กับว่ามูเซอกลุ่มใดตกแต่งด้วยผ้าหลายสีเป็นลวดลาย สวยงามรูปแบบของเสื้อมูเซอจึงแตกต่างกันไปตามกลุ่ม แต่ทุกกลุ่มจะนุ่งซิ่นเหมือนกัน รูปแบบของ เสอื้ ผู้หญิงจะเปน็ เสือ้ แขนยาวตวั ส้ันแค่เอวตกแต่งดว้ ยผา้ หลากสแี ละเครื่องเงิน วฒั นธรรมประเพณี ชาวมูเซอมีอิสระในการเลือกคู่ครอง มีสัมพันธ์ทางเพศเมื่ออายุยังน้อย ไม่ชอบแต่งงาน กับหญิงสาว บ้านเดียวกัน การแต่งงานการหย่าของมูเซอจะต้องมีการฆ่าหมูเพื่อสังเวยแก่ผีกลางลาน ใหญ่ของหมู่บ้านเป็นที่สาหรับ เต้นในช่วงงานปีใหม่ หรือมีพิธีทาบุญต่างๆ เช่น ทาบุญข้ึนบ้านใหม่ พธิ ีกินข้าวใหม่ เป็นต้น ศาสนา ความเช่ือ และพิธกี รรม มูเซอนับถือผีบรรพบุรุษและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิเป็นหลัก แต่ปัจจุบันมีการนับถือศาสนาพุทธ หรือศาสนาคริสต์มากข้ึน มีความเชื่อที่มีพิธีกรรมเข้ามาเกี่ยวข้องในการดารงชีวิต ต้ังแต่การเกิด เจ็บ และตาย บุคคลที่มีอิทธิพลในหมู่บ้าน มากท่ีสุด ได้แก่พ่อครูหรือปู่จอง การตัดสินเรื่องสาคัญๆ ของหมู่บ้าน หัวหน้าหมู่บ้านและทุกคนจะต้องฟังความคิดเห็นของพ่อครูเป็นหลัก ซ่ึงหัวหน้าหมู่บ้าน กับพ่อครูอาจจะเป็นคนเดียวกันที่เปน็ ผนู้ าทางพิธีกรรมเป็นผ้ทู านายทายทักรักษาอาการเจ็บป่วยดว้ ย สมุนไพรหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นความเชื่อของมูเซอนี้จะนับถือพระเจ้า หรือ (อ่ือซา) ชาวมูเซอมีความ เช่อื เรอื่ งภตู ผี ขวัญ วิญญาณ ผสมผสานไปด้วยกนั ตาราง 2.3 แสดงการกระจายตัวของกลุ่มชาติพนั ธ์ุ (เผา่ ) ลาหู่ หรือ มูเซอ จาแนกตามพ้ืนท่ีจังหวัด จังหวัด จานวน จานวน จานวน ประชากร กลุ่ม หลังคา ครอบครวั บ้าน เรือน 11,024 ชาย หญิง เดก็ ชาย เดก็ หญงิ รวม 10,260 10,507 17,870 17,978 8,376 8,085 52,309(45.04%) 1. เชียงราย 217 9,459 15,500 15,666 7,581 7,915 46,662(40.18%) 2. เชยี งใหม่ 173 1,788 946 2,713 2,658 1,104 1,033 7,508(6.46%) 3. แมฮ่ ่องสอน 37 1,120 1,188 3,122 3,078 585 593 7,378(6.35%) 4. ตาก 13 270 301 410 527 116 140 1,193(1.02%) 5. กาแพงเพชร 4 253 270 381 349 155 142 1,027(0.90%) 6. ลาปาง 5 7. น่าน 2 7 7 11 8 4 3 26(0.08%) 8. เพชรบรู ณ์ 1 10 7 10 8 3 2 23(0.01%) รวมทัง้ หมด 452 23,167 24,250 40,017 40,272 17,924 17,913 116,126

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพื้นท่สี ูงในอดตี และปจั จบุ นั 17 สาหรับชาติพันธุ์ลาหู่ หรือ มูเซอ ในประเทศไทย พบว่าลาหู่ หรือ มูเซอ กระจายตัว อาศัยอยู่ใน 8 จังหวัดประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาแพงเพชร ลาปาง น่าน และเพชรบูรณ์ มีท้ังส้ินจานวน 452 กลุ่มบ้าน 23,167 หลังคาเรือน 24,250 ครอบครัว เป็นเพศชาย จานวน 40,017 คน หญิง จานวน 40,272 คนเด็กชาย 17,924 คน เด็กหญิง จานวน 17,913 คน รวมทัง้ สิน้ จานวน 116,126 คน จากตารางการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธ์ุ (เผ่า) ลาหู่ หรือ มูเซอ จาแนกตามพ้ืนที่ จังหวัดพบว่าจังหวัดเชียงราย มีการกระจายตัวของชาติพันธ์ุลาหู่ หรือ มูเซอ มากที่สุด จานวน 52,309 คน คิดเป็นร้อยละ 45.04 รองลงมาได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 46,662 คน คิดเป็นร้อย ละ 40.18 และจังหวัดแม่ฮ่องสอน จานวน 7,508 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.46 อาข่า ขอ้ มูลทั่วไป อาข่า หรือ อีก้อ มีบรรพบุรุษพื้นเพเดิมอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน ในประเทศ จีนเรียกว่า ฮานี หรือโวน ในประเทศไทยสามารถแบ่งชนเผ่าอาข่าได้เป็น 8 กลุ่ม ดังน้ี กลุ่มอู่โล้อาข่า กลุ่มลอมี้อาข่า กลุ่มผะหมี๊อาข่ากลุ่มหน่าค๊าอาข่า กลุ่มเปี๊ยะอาข่า กลุ่มอ้าเค้ออาข่า กลุ่มอ้าจ้ออาข่า และกล่มุ อพู ีอาข่า ภาษา ภาษาของเผ่าอาข่าจัดอยู่ในสาจา ยิ (โลโล) ของตระกูลพม่า – ธิเบต มีภาษาพูดแต่ไม่มี ภาษาเขียนไม่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของภาษาและต้นกาเนิดที่แน่ชัด แต่จะเป็นในลักษณะสืบ ทอดต่อๆ กันมาอย่างไรก็ตามการใช้ภาษาของชนเผ่าอาข่ามีลักษณะการสื่อเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ ต่างกัน โดยใชล้ กั ษณะวัยและลักษณะงานเปน็ ตัวแยกแยะการพดู สือ่ สาร กล่าวคือหากพูดกบั เดก็ เล็กที่ กาลังฝึกพูดจะมีการใช้ภาษาอีกแบบหนึ่งเช่น น้า จะเรียกว่าอ่าอ่า ในขณะที่ถ้าสื่อสารกันได้ก็จะ เรียกว่า อ๊ีจุ และหากมีการใช้ภาษาในพิธีกรรม เช่น งานศพ ก็จะใช้ศัพท์ค่อนข้างยาก เช่น พระอาทิตย์ เรียกว่า น๊องมา แต่ถ้าใช้ในการสวดพิธีจะเรียกพระอาทิตย์ว่า น๊อง โดยไม่ใช้คาเต็ม สาเนียงภาษาพูดของชนเผ่าอาข่ามีลักษณะเสียงส้ันสูง นิยมตะโกนออกเสียงดังและมีเสียงแหลมอาจ เพราะอาข่า อาศัยอยู่บนพื้นที่สูงและอากาศหนาวเย็น จึงมีการใช้เสียงดังเพื่อจะได้ยินในระยะไกล เน่อื งจากวา่ อาขา่ มีหลายแขนง ทแ่ี ตกออกไปกระจัดกระจายอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย รวมถึง ประเทศอนื่ ๆ การใช้ภาษาถึงแม้จะคล้ายกนั แต่ตา่ งกันตรงสาเนียง การแต่งกาย ผู้หญิงชนเผ่าอาข่าเมื่อแต่งตัวครบเครื่องน้ันมีความสวยงามเป็นอย่างมาก ตั้งแต่ศีรษะ จรดเท้าสว่ นเคร่ือง แตง่ กายของผู้ชายชนเผา่ อาข่าจะไม่เยอะเท่าของผูห้ ญิงแต่ก็มคี วามเฉยี บและเรียบ อาข่าใช้ผา้ ฝา้ ยทอเน้อื แนน่ ยอ้ มเป็นสีนา้ เงินเขม้ เกือบดา วัฒนธรรมประเพณี ประเพณีโล้ชิงช้า (แย้ขู่อ่าเผ่ว) ครอบครัวอาข่าเป็นแบบครอบครัวขยาย อยู่รวมกัน หลายครอบครัวหนุม่ สาวอาข่ามีอสิ ระในการเกีย้ วพาราสีและการเลือกคู่ครอง หากแตง่ งานแล้วผู้หญิง จะเป็นสมาชิกคนหน่ึงในครอบครัวของผู้ชายและมานับถือผีฝ่ายสามี ทุกหมู่บ้านจะมีลานโล่งกลาง

18 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ที่สงู ในอดตี และปจั จบุ ัน หมู่บ้านเพ่ือกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้านเป็นลานดินเรียกว่า ลานสาวกอด หรือแดห่อง เป็นลานท่ีดินท่ี หนุม่ สาวชาวอาขา่ มาพลอดรกั กัน และเดก็ ๆ มารอ้ งราทาเพลงกนั ศาสนา ความเชื่อ และพธิ ีกรรม ชนเผ่าอาข่าไม่มีคาว่า ศาสนา แต่มีคาว่า บัญญัติอาข่า ซ่ึงครอบคลุมไป ถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีและพิธี การทุกอย่างในการดาเนินชีวิต มีความเช่ือในเรื่องผี โชคลาง และ การเส่ียงทายเป็นท่ีสุด ผีหรือแหนะได้เข้ามามีบทบาทในวิถีชีวิตของชาวอาข่า ชนเผ่าอาข่ามีความ เช่ือถือผีและสิ่งเร้นลับในธรรมชาตจิ ึงต้องคอยระมัดระวังไม่ใหเ้ กิดการกระทบกระเทือนต่อสิ่งดังกล่าว ดังน้ันก่อนทาส่ิงใดจะตรวจดูโชคลางก่อน บางทีมีการเสี่ยงทาย บางทีถือเอาปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ เกิดขึ้นตามธรรมชาติว่าเป็นการบอกลางดีลางร้าย นอกจากน้ียังพบว่าชนเผ่าอาข่านับถือผีบรรพบุรุษ โดยทกุ ครัวเรือนจะมหี ง้ิ ผบี รรพบุรษุ ไวเ้ ซ่นไหว้ปลี ะ 9 ครัง้ รองลงมาได้แก่ผีใหญ่ ซึ่งถอื วา่ เป็นหวั หน้าผี ตาราง 2.4 แสดงการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ (เผา่ ) อาข่า หรือ อกี อ้ จาแนกตามพ้ืนท่จี ังหวดั จังหวัด จานวน จานวน จานวน ประชากร 1. เชียงราย กล่มุ บ้าน หลงั คาเรือน ครอบครวั 2. เชียงใหม่ ชาย หญิง เด็กชาย เดก็ หญงิ รวม 3. ลาปาง 245 12,714 14,027 25,283 26,352 11,106 11,069 73,810(84.42%) 4. ตาก 45 2,047 2,433 3,408 3,635 1,555 1,479 10,077(11.52%) 5. แพร่ 7 341 346 548 592 221 202 1,563(1.78%) รวมทัง้ หมด 2 251 251 691 618 1,439(1.64%) 2 110 113 220 208 60 70 301 15,463 17,170 30,150 31,405 69 43 540(0.61%) 13,011 12,863 87,429 สาหรับชาติพันธุ์อาข่า หรือ อีก้อ ในประเทศไทย พบว่าอาข่า หรือ อีก้อ กระจายตัว อาศัยอยู่ใน 5 จังหวัดประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลาปาง ตาก และแพร่ มีท้ังส้ินจานวน 301 กลุ่มบ้าน 15,463 หลังคาเรือน17,170 ครอบครัว เป็นเพศชาย จานวน 30,150 คน หญิง จานวน 31,405 คน เด็กชาย จานวน 13,011 คนเด็กหญิง จานวน 12,863 คน รวมท้ังส้ิน จานวน 87,429 คน จากตารางการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ (เผ่า) อาข่า หรือ อีก้อ จาแนกตามพ้ืนท่ี จังหวัดพบว่าจังหวัด เชียงราย มีการกระจายตัวของชาติพันธุ์อาข่า หรือ อีก้อ มากท่ีสุด จานวน 73,810 คน คิดเป็นร้อยละ 84.42 รองลงมาได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 10,077 คน คิดเป็น ร้อยละ 11.52 และจังหวัดลาปาง จานวน 1,563 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.78 ลวั ะ ข้อมูลท่ัวไป ลัวะ หรือ ละว้า ประมาณ 1,300 ปีมาแล้ว ก่อนท่ีพวกมอญจะนาความเจริญรุ่งเรืองมา สู่เขตลุ่มน้าปิงบรรพบุรุษของละว้าได้ตั้งถิ่นฐานอยู่แล้ว ละว้า หรือท่ีคนไทยภาคเหนือเรียกว่า ลัวะ เป็นกลุ่มชนออสโตรนีเซียนและเรียกตัวเองว่า ละเวียะ เช่ือกันว่าอพยพมาจากทางตอนใต้ของไทย

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ท่ีสงู ในอดตี และปจั จบุ ัน 19 มลายา หรือเขมร เม่ือประมาณ 2,000 ปี มาแล้ว ลัวะเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตเมืองเชียงใหม่ เมื่อประมาณ 900 ปีมาแล้ว พวกมอญจากลพบุรีซ่ึงเป็นผู้สร้าง เมืองลาพูน และลาปางได้รุกราน พวกลัวะจนต้องหนไี ปอยบู่ นภเู ขากลายเปน็ ชาวเขาไป ภาษา ภาษาของลัวะจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร – เอเชียติค และได้รับอิทธิพลจากภาษา ของพวกมอญ – เขมรด้วยภาษาของลัวะมีแตกต่างกันหลายกลุ่มแต่แบง่ เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่มคือ กลุ่มวาวู ใช้พดู กันในหม่ลู ัวะเขตลุ่มแมน่ ้าปงิ เช่น บ้านบ่อหลวง อีกกลมุ่ หนึ่งคือ กลมุ่ อังกา ใช้พดู กันใน เขตตะวันตก เขตอาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอนความแตกต่างกันของภาษานี้จะต่างกันไปตาม หมู่บ้านท่ีอยู่ห่างกัน แต่สามารถเข้าใจกันได้ นอกจากน้ียังนาคาในภาษาไทยพื้นเมืองทางเหนือไปใช้ เป็นจานวนมาก การแตง่ กาย ผู้ชายนุ่งผ้าพื้นโจงกระเบนหรือโสร่ง ผู้หญิงสวมเสื้อสีดาผ่าอกแขนยาวปักเป็นแผ่นใหญ่ ทห่ี น้าอกตามแถวกระดุม และแถวรังดมุ รอบคอปกั ท่ชี ายแขนเสอ้ื ตรงข้อมือท้ังสองข้างและท่ีใต้ตะโพก รอบเอวดว้ ยดิ้นเล่ือมไหมเงินคล้ายเส้ือขุนนางไทยโบราณ ผา้ ซิน่ ติดผา้ ขาวสลับดาเล็กๆ ตอนกลางเป็น ริ้วลายชายซิ่นตดิ ผา้ สดี ากวา้ งประมาณ 1 ศอก ตามปกตผิ ู้หญงิ อย่บู ้านไม่ค่อยสวมเสื้อชอบเปิดอกเห็น ถนั ถ้าเข้าไปในเมอื งกจ็ ะสวมเส้ือแต่งกายอย่าง ชาวเหนือ ถา้ ออกไปหาผกั ตามป่าเอาผ้าขาวโพกศีรษะ สะพายกระบุงก้นลึกโดยเอาสายเชือกคล้องศีรษะตรงเหนือหน้าผากใส่คาดคอรองรับน้าหนักอีก ช้ันหนง่ึ ไม่สวมเสือ้ แต่ดงึ ผา้ ซน่ิ ขึ้นไปเหนบ็ ปดิ เหนือถันแบบนงุ่ ผ้ากระโจมอก วฒั นธรรมประเพณี ลัวะมีระบบการแต่งงานแบบผัวเดียวเมียเดียว โดยฝ่ายหญิงจะเข้าไปอยู่บ้านฝ่ายชาย และนับถือผีบรรพบุรุษ ฝ่ายชาย โดยทั่วไปประกอบด้วยสามี ภรรยา บุตรบุตรชายคนโตต้องไปสร้าง บ้านใหม่เมื่อแต่งงาน บตุ รชายคนสดุ ทา้ ย จะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ีได้รับมรดกและเลีย้ งดูพ่อแม่ตลอดชีวิตหน้าที่ ในครัวเรือนจะแบ่งออกตามอายุ และเพศ กล่าวคือผู้หญิง มีหน้าที่รับผิดชอบหาฟืน ตักน้า ตาข้าว ทาอาหาร และทอผ้า ผชู้ ายมหี นา้ ท่ซี ่อมแซมบ้าน ทารัว้ ไถนาและล่าสัตว์ สว่ นงานในไร่เป็นหน้าที่ของ ท้งั สองฝา่ ยตอ้ งชว่ ยกันทารวมท้งั สมาชิกวัยแรงงานทุกคนในครอบครัวด้วย ศาสนา ความเชื่อ และพธิ กี รรม ชาวลัวะ นอกจากนับถือศาสนาพุทธ ยังนิยมนับถือผี มีการถือผีเส้ือบ้าน ส่งเคราะห์ ผูกเส้นด้ายข้อมือถือขวัญ เวลาเจ็บป่วย ใช้ยารากไม้สมุนไพรเสกเป่าและทาพิธีฆ่าไก่เซ่น ถ้าตายก็จะ ทาพิธีอย่างชาวเหนือ มีพระสงฆ์สวดมนต์บังสกุล เอาศพไปป่าช้าฝังมากกว่าเผาแต่ถ้าตายอย่างผิด ธรรมดาก็เผาให้สิ้นซากไปในวันงานพิธีเลี้ยงผีเสื้อบ้าน (ผีหมู่บ้าน) เขาทาซุ้มประตูสานไม้เป็นรูปรัศมี 8 แฉกตดิ ไว้ ห้ามไม่ให้คนต่างถิ่นเขา้ เขตหมบู่ ้าน เครือ่ งหมายนชี้ าวเหนือเรยี กว่า ตาแหลว ซ่ึงชาวไทย กลางเรียก เฉลว เขาปิดบ้านทาพิธีเลี้ยงผีเส้อื บ้าน 1 วัน ถ้าเดินทางไปพบเครื่องหมายเฉลวน้ีแลว้ ต้อง หยุดมีธุระอะไรก็ตะโกนเรียกชาวบ้านให้ไปพูดกันทต่ี รงนั้น ถ้าขืนเดินล่วงล้าเขตหมู่บ้านของเขาจะถูก ปรับเป็นเงิน 5 บาท ถ้าไม่ยอมให้ปรับเขาบังคับให้ค้างแรม 1 คืน เวลาเกิดมีโรคสัตว์ระบาดหรือไข้ ทรพษิ เกดิ ขึ้นแก่คนภายในหมบู่ ้าน เขาจะปิดเฉลวหรือเครื่องหมายหา้ มเขา้ หมบู่ า้ นเชน่ เดยี วกัน

20 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพ้ืนที่สูงในอดีตและปัจจบุ นั ตาราง 2.5 แสดงการกระจายตวั ของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ (เผ่า) ลัวะ หรือ ละว้า จาแนกตามพืน้ ทจ่ี งั หวัด จงั หวัด จานวน จานวน จานวน ประชากร 1. น่าน กลมุ่ บ้าน หลงั คาเรือน ครอบครวั 2. เชยี งราย ชาย หญงิ เด็กชาย เด็กหญิง รวม 3. แม่ฮอ่ งสอน 129 10,543 12,140 16,044 15,718 5,292 5,231 42,285(71.90%) 4. เชียงใหม่ 22 1,072 1,252 2,236 2,428 789 819 6,272(10.66%) 5. อทุ ยั ธานี 16 1,043 1,007 2,025 2,075 656 619 5,375(9.14%) 6. สุพรรณบุรี 9 517 446 967 983 307 263 2,520(4.28%) 7. เลย 2 382 382 437 381 186 253 1,257(2.13%) 8. กาแพงเพชร 1 226 226 377 391 30 40 9. ตาก 1 106 102 838(1.42%) รวมทง้ั หมด 1 15 20 60 73 - - 133(0.22%) 1 45 40 23 14 122(0.20%) 182 1 1 1 - - - 1(0.00%) 13,905 15,576 22,192 22,089 7,283 7,239 58,803 สาหรับชาติพันธ์ุลัวะ หรือ ละว้า ในประเทศไทย พบว่าลัวะ หรือ ละว้า กระจายตัว อาศัยอยู่ใน 9 จังหวัดประกอบด้วยจังหวดั น่าน เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ อุทัยธานี สุพรรณบรุ ี เลย กาแพงเพชร และตาก มีทั้งสิ้นจานวน 182 กลุ่มบ้าน 13,905 หลังคาเรือน 15,576 ครอบครัว เป็นเพศชาย จานวน 22,192 คน หญิง จานวน 22,089 คน เด็กชาย 7,283 คน เด็กหญิง จานวน 7,239 คน รวมทงั้ สน้ิ จานวน 58,803 คน จากตารางการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธ์ุ (เผ่า) ลัวะ หรือ ละว้า จาแนกตามพื้นท่ี จงั หวดั พบวา่ จังหวัดน่านมีการกระจายตัวของชาติพันธุล์ ัวะ หรอื ละว้า มากทีส่ ดุ จานวน 42,285 คน คิดเป็นร้อยละ 71.90 รองลงมาได้แก่ จังหวัดเชียงราย จานวน 6,272 คน คิดเป็นร้อยละ 10.66 และ จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน จานวน 5,375 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.14 เมย่ี น ขอ้ มูลท่ัวไป เม่ียน หรือ เย้า นักมานุษยวิทยาได้จัดชาวเม่ียนอยู่ในกลุ่มภาษาจีน ถ่ินฐานเดิมอยู่ใน ประเทศจนี แถบแมน่ ้าแยงซี จนี เรียกขานว่า เย้า แปลว่าป่าเถอื่ น เมย่ี นเป็นช่ือท่ีทางราชการตั้งให้หรือ บางครั้งจะเรียกว่า อ้ิวเมี่ยนแปลว่ามนุษย์ การอพยพโยกย้ายของเผ่าเมี่ยน 12 สกุล ลงมาทางใต้ ประมาณศตวรรษท่ี 15 - 16 เขา้ สู่เวยี ดนามผ่านลาวและเข้ามาทางตอนเหนือของประเทศไทยโดยอยู่ ในประเทศไทยราว 100 ปเี ศษท่ผี า่ นมา ภาษา ภาษาของเมี่ยนจัดอยู่ในภาษาตระกูลจีนธิเบต สาขาแม้ว – เย้า ภาษาพูดของเมี่ยน พัฒนาจากกลุ่มภาษาหน่ึงของชาวหมานและแพร่กระจายไปสู่เขตต่างๆ ตามท้องถ่ินท่ีมี ชาวเม่ียนอพยพไปถึง ภาษาเม่ียนได้กระจายไปท่ัวเขตมณฑลกวางสี กวางตุ้ง กุยจิ๋ว และฮูหนานจาก การติดต่อกับชนเผ่าอื่นๆ เป็นระยะเวลานานจึงทาให้ภาษาในปัจจุบันผ่านการพัฒนากลายเป็นภาษา

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพื้นท่สี ูงในอดีตและปัจจบุ นั 21 ถ่ินย่อย 3 ภาษา คือภาษาเมี่ยน ภาษาปูนู และภาษาลักจา สาหรับภาษาเขียนของเมี่ยนมักจะ มีความเห็นโดยทั่วไปว่าชาวเม่ียนมีแต่ภาษาพูดไม่มีภาษาเขียน จึงได้ยืมภาษาฮั่นมาใช้ชาวเม่ียนที่รู้ ภาษามีไม่มากนัก แต่ภาษาฮ่ันก็ยังมีบทบาทและอิทธิพลต่อชนชาติเมี่ยนมาก ชาวเม่ียนมีวิธีการใช้ ตวั เขียนภาษาฮ่ันเปน็ ของตวั เอง ตวั เขยี นนแี้ ตกต่างกันกับตวั หนังสือฮน่ั แบบมาตรฐานเพราะชาวเม่ียน ได้คิดสร้างตัวหนังสือไว้ใช้เองโดยดัดแปลงจากของฮั่นทาให้ได้ภาษาเขียนใหม่ท่ีมีลักษณะเฉพาะซึ่งมี ลักษณะผสมระหว่างภาษาเมี่ยนกับภาษาฮ่ัน คือ มีรูปแบบการเขียนแบบกู้สูจื้อตามท้องถิ่นของ ชาวเม่ียน และรูปแบบตัวหนังสือฮ่ันในอักษรฮ่ันซ่ึงเป็นตัวเดียวกันในอักษรเมี่ยน จะเขียนคนละอย่าง กันแต่อักษรท่ีประดิษฐ์ข้ึนน้ีมีจานวนไม่มากและใช้เขียนข้อความให้สมบูรณ์ไม่ได้ ต้องใช้ปนกับ ตัวหนงั สือฮั่น คาศพั ท์ในภาษาเม่ียนจะอ่านเปน็ สาเนียงชาวเม่ียนโดยเฉพาะภาษาเม่ยี น ในประเทศไทยคลา้ ยกับภาษาจนี ถิ่นกวางตงุ้ การแต่งกาย ชาวเมี่ยนมีช่ือเสียงในเร่ืองการตีเคร่ืองเงินท้ังน้ีเพราะเม่ียนนิยมใช้เคร่ืองประดับที่เป็น เงินเช่นเดียวกับชาวชนเผ่ากลุ่มอ่ืนๆ และรูปแบบเครื่องประดับแต่ละชิ้นเป็นงานฝีมือประณีต เม่ือมี งานประเพณผี ู้หญิงเมยี่ นจะประดบั เครอ่ื งเงินกันอยา่ งเต็มท่ี การตัดเย็บ การปักลาย และการใช้สีในการปักลายเครื่องใช้ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน และใช้ในพิธีกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพิธีบวช (กว๋าตัง) และพิธีแต่งงานเช่นผ้าต้มผาเป็นผ้า คลุมวางทับโครงไว้บนศีรษะของเจ้าสาวในพิธีแต่งงานแบบใหญ่ ฯลฯ แต่ที่เมี่ยนนิยมปักลายมีผ้าห่อ เด็กสะพายหลัง (ซองปุ๋ย) และถุงใส่เงิน (ย่านบั่ว)และสิ่งที่เมี่ยนนามาตกแตง่ คือ การถักเส้นด้ายคลา้ ย ดิ้นใช้สาหรับติดปลายชายเสื้อผ้าการใช้ผ้าตัดปะเป็นวิธีการอันเก่าแก่ของเม่ียนที่ได้รับอิทธิพลมา จากประเทศจีน ส่วนใหญ่เม่ียนท่ีพันหัวแบบหัวแหลม (ก่องเปลวงผาน) จะนิยมการตัดปะส่วนการใช้ พู่ประดับสตรีเม่ียนทุกกลุ่มจะติดพู่ก้อนกลมสีแดงเป็นแถวยาวและสร้อยลูกปัดติดพู่ห้อง อาจจะใช้ ไหมพรมสแี ดงจานวนเสน้ คตู่ ้ังแต่ 2-8 เสน้ ติดที่ชายเส้อื สตรตี รงขา้ งเอว วัฒนธรรมประเพณี พิธีกรรมที่สาคัญ จะมีพิธีกรรมการตั้งครรภ์พิธีกรรมการเกิด การสู่ขวัญ การบวช การแต่งงาน พธิ ีงานศพขนึ้ ปใี หมแ่ ละวนั กรรม วนั เจีย๋ เจียบเฝย (สาร์ทจนี ) พิธซี ิบตะปูงเมยี้ น ศาสนา ความเชอ่ื และพิธีกรรม ชาวเม่ียน สว่ นใหญจ่ ะนับถือเทพยดา วิญญาณบรรพบรุ ุษ และวิญญาณทั่วไปทุกบ้านจะ มีหิ้งบูชาเป็นท่ีสิงสถิตของวิญญาณบรรพบุรุษมีความเช่ือในเร่ืองที่อยู่เหนือธรรมชาติและสิ่งศักด์ิสิทธิ์ ตลอดจนการนับวันเดือนปี สิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน โชคลาง และการทานาย เมี่ยนได้เริ่ม นาเอาลัทธิเต๋ามาเป็นแนวทางในการปฏิบัติเมื่อครั้งอพยพทางเรือในช่วงคริสศตวรรษท่ี 13 ความเช่ือ ของเมีย่ นจึงผสมผสานกันระหวา่ งความเช่ือเร่ืองเทพและวิญญาณ ซึ่งมีความคิดพ้ืนฐานในการยอมรับ เร่ืองอานาจของเทพเจ้า เจ้าป่า เจ้าเขา หรือส่ิงเหนือธรรมชาติเป็นหลกั ชาวเม่ียนเชือ่ ว่าในชีวติ คนจะ มีขวัญ (เวิ่น) ซ่อนอยู่ในสวนต่างๆ ของร่างกายซ่ึงมีทั้งหมด 11 แห่ง คือท่ี เส้นผม ศีรษะ ตา หู จมูก ปาก คอ ขา แขน อก ท้อง และเท้า เม่ือเส่ียชีวิตไปขวัญจะเปลี่ยนเป็นวิญญาณหรือผี (เมี้ยน) และจะ สิงสถิตอยู่ในธรรมชาติ เช่น ในภูเขา แม่น้า หรือทั่วไป ซ่ึงปกติอานาจของวิญญาณหรือของเหนือ ธรรมชาติในโลกจะมีความสัมพันธ์อันดีกับมนุษย์ แต่ถ้าไปทาให้โกรธแล้วผีจะทาให้เกิดความทุกข์

22 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพ้นื ที่สงู ในอดตี และปัจจุบัน ทรมานและมีความเสียหายได้ เมี่ยนมีทัศนคติว่าความม่ันคงและความปลอดภัยของมนุษย์ ท้ังขณะ ดารงชีวิตอยู่และหลังจากตายไปแล้วล้วนจะข้ึนอยู่กับวิญญาณหรือภูตผี เพราะเม่ียนเช่ือว่ามนุษย์อยู่ ในความคุ้มครองของวิญญาณหรือภูตผีการสร้างความสัมพันธ์หรือติดต่อกับวิญญาณภูตผีก ระทาได้ โดยผ่านพิธีกรรมเทา่ นนั้ ตาราง 2.6 แสดงการกระจายตัวของกลุ่มชาตพิ ันธุ์ (เผา่ ) เม่ยี น หรอื เยา้ จาแนกตามพน้ื ท่ีจงั หวัด จังหวัด จานวน จานวน จานวน ประชากร 1. เชียงราย กลุ่มบ้าน หลงั คาเรือน ครอบครวั 2. นา่ น ชาย หญงิ เด็กชาย เดก็ หญงิ รวม 3. พะเยา 56 2,677 3,088 5,510 5,675 1,636 1,609 14,430(29.52%) 4. ลาปาง 9 1,957 2,240 4,810 4,595 1,276 1,229 11,910(24.36%) 5. กาแพงเพชร 31 1,746 2,261 3,937 3,709 700 665 9,011(18.43%) 6. ตาก 22 1,409 1,482 2,430 2,441 699 672 6,242(12.76%) 7. เชยี งใหม่ 13 639 813 1,398 1,476 388 384 3,646(7.45%) 8. สุโขทยั 3 352 352 706 680 40 66 1,492(3.05%) 9. กาญจนบุรี 4 284 284 395 425 172 157 1,149(2.35%) 10. เพชรบูรณ์ 3 141 182 252 257 64 62 รวมทั้งหมด 1 23 26 82 76 35 30 635(1.29%) 1 28 26 53 51 22 18 223(0.45%) 143 9,256 10,754 19,573 19,385 5,032 4,892 144(0.29%) 48,882 สาหรบั ชาติพนั ธ์ุเม่ียน หรือ เยา้ ในประเทศไทย พบวา่ เม่ียน หรอื เยา้ กระจายตัวอาศัย อยู่ใน 10 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา ลาปาง กาแพงเพชร ตาก เชียงใหม่ สุโขทัย กาญจนบุรี และเพชรบูรณ์ มีท้ังสิ้นจานวน 143 กลุ่มบ้าน 9,256 หลังคาเรือน 10,754 ครอบครัว เป็นเพศชาย จานวน 19,573 คน หญิง จานวน 19,385 คน เด็กชาย 5,032 คน เด็กหญิง จานวน 4,892 คน รวมทงั้ สิ้น จานวน 48,882 คน จากตารางการกระจายตัวของกลุ่มชาติพันธ์ุ (เผ่า) เมี่ยน หรือ เย้า จาแนกตามพื้นที่ จังหวัดพบว่า จังหวัดเชียงราย มีการกระจายตัวของชาติพันธุ์ เม่ียน หรือ เย้า มากท่ีสุด จานวน 14,430 คน คิดเป็นร้อยละ 29.52 รองลงมาได้แก่ จังหวัดน่าน จานวน 11,910 คน คิดเป็นร้อยละ 24.36 และจังหวดั พะเยาจานวน 9,011 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.43 จงั หวดั ลซี ู ขอ้ มูลทั่วไป ลีซู หรือ ลซี อ เปน็ กลุ่มชาติพันธ์ุที่จดั อยู่ในกลุ่มธิเบต - พมา่ ของชนชาติโลโล ถ่นิ กาเนิด ดั้งเดิมของชนเผ่าลีซูอยู่บริเวณต้นน้าโขงและแม่น้าสาละวินอยู่เหนือหุบเขาสาละวินในเขตมณฑลยูน นานตะวันตกเฉียงเหนือและตอนเหนือของรัฐคะฉิ่น ประเทศพม่า ชนเผ่าลีซูส่วนใหญ่เช่ือว่าเม่ือ 4,000 ปี ที่ผ่านมาเคยมีอาณาจกั รเป็นของตนเองแตต่ ้องเสียดินแดนใหก้ ับจีนและกลายเป็นคนไรช้ าติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook