Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HighAreaHighAreaNew-60

HighAreaHighAreaNew-60

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-26 06:46:28

Description: HighAreaHighAreaNew-60

Search

Read the Text Version

การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นทส่ี ูงในอดตี และปจั จบุ ัน 423 ชุมชนที่ 20 พระบาทห้วยต้ม หม่ทู ่ี 8 ตาบลนาทราย อาเภอล้ี จังหวัดลาพนู ประวัตคิ วามเปน็ มาของชุมชน ประมาณปี พ.ศ. 2506 ชุมชนบ้านพระบาทหว้ ยตม้ ยงั ไม่ไดเ้ ป็นหมู่บ้าน เป็นอาศรม อาราม ท่ีต้ังอยู่กลางป่าช้ืนข้ึนตรงกับบ้านนาเล่ียง หมู่ท่ี 1 ตาบลนาทราย อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนในสมัยท่ี ชาวเขาเผ่าปกากะญอ มาอาศัยอยู่ใหม่ๆดินแดนบ้านห้วยต้มแห่งน้ีเต็มไปด้วยป่าดงดิบมีสัตว์ป่า มากมาย เป็นเมืองแห้งแล้ง ไม่มีท่ีดินทามาหากินน้าไม่มีด่ืม ขุดบ่อดินลึกถึง 30 ศอก ก็ยังไม่มีน้า หลวงปู่ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา ซ่ึงขณะนั้นได้มาจาพรรษาอยู่ ณ ดินแดนบ้านห้วยต้มแห้งน้ีเป็นเวลา ประมาณ 30 ปี มาแล้ว ต่อมาในวันที่ 2 เมษายน (เดือนแปดเหนือ) พ.ศ. 2514 ปีกุน ได้มีชาวเข่า เผ่าปกากะญอ จากอาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก ใช้เวลาเดินทางเป็นเวลา 5 วัน 5 คืน ได้อพยพ ตามท่านหลวงปู่ครูบาชัยยะวงศา จานวน 13 ครอบครัว มาอยูท่ บ่ี ้านห้วยตม้ เพียง 3 ครอบครวั เท่านั้น อีก 10 ครอบครัวได้ไปอาศัยอยู่ที่สวนป่าสัก บ้านแม่เทย เพื่อรับจ้างทางานเลี้ยงชีพ ถ้าว่างก็จะมา กอ่ สรา้ งใจบา้ น (สะดือเมือง)ท่ีบา้ นหว้ ยตม้ หลวงปู่ครูบาชยั ยะวงศาพฒั นาจงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ ท้งั 3 ครอบครัว โดยมอบหมายให้เป็นผู้ใหญ่บ้าน 1 ครอบครัว และอีก 2 ครอบครัวเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หลวงปู่ท่าน อบรมสัง่ สอนให้คนทม่ี าอยู่กับท่านทุกคนให้มีการถือศลี กินเจไม่ฆ่าสตั วต์ ัดชวี ิต ถา้ ไมร่ ักษาศีล ไมก่ นิ เจ ดินแดนแห่งนี้จะไม่มีน้าดื่ม น้าใช้ หลังจากหลวงปู่ได้พาชาวบ้านแผ้วถางป่าโค่นต้นไม้ต่างๆ ให้เป็น พื้นท่ีโล่ง จนเป็นบริเวณกว้างเจ้าหน้าท่ีบ้านเมืองเดือดร้อน โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีป่าไม้นาความไปแจ้ง ทางราชการ และให้พันเอก ณรงค์ กิตติขจร เข้ามาตรวจสอบข้อเท็จจริงที่หมู่บ้านห้วยต้ม และเมื่อได้ เข้าพบกับหลวงปูค่ รบู าชัยยะวงศาพัฒนาแล้ว จึงนาเรื่องกราบทลู ใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงทราบ พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงทราบ ได้เสด็จพระราชดาเนิน ที่หมู่บ้านห้วยต้มในปี พ.ศ.2521 และได้เข้าพบหลวงปู่ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา หลวงปู่ฯได้กราบทูล ให้ทรงทราบว่าชาวเขาที่ตามท่านมาไม่ได้รับการดูแลคนพวกนี้ก็จะเหมือน วัว ควาย ไม่มีข้าวของ เป็นคนป่า ไม่มีเจ้านาย เราจะดูแลให้ท่าน โดยให้ชาวเขาเหล่านี้ ถือศีลกินเจ รักษาศีลภาวนา ทาบุญ ทาทาน แต่ในการทามาหาเล้ียงต้องพึ่งในหลวงแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ได้เสดจ็ มาเยยี่ มราษฎรในหมู่บา้ นพระบาทหว้ ยต้ม ซึ่งอพยพมาจากพม่า จงั หวัดตาก จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมาปฏิบัติธรรม ถือศีลกินอาหารมังวิรัติและเคารพครูบาชัยยะวงศาพัฒนา ที่จาพรรษาวัดพระบาทห้วยต้ม และทรงทอดพระเนตรเห็นสภาพพ้ืนท่ีชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร ชาวเขาทั้งมีพระราชดาริ“หมู่บ้านแห่งนี้ประสบปัญหาขาดแคลนที่ทากิน มีข้าวไม่พอบริโภคทุกปี ชาวบา้ นเป็นโรคขาดสารอาหารโดยเฉพาะเดก็ และชาวเขาเผา่ กะเหรี่ยงได้อพยพมารวมกันเช่นน้ี เป็น ผลดีในการลดการหักล้างถางป่า ลดพื้นที่ปลูกฝิ่นทางอ้อม จะได้ไม่ไปรับจ้างปลูกฝ่ินให้ขาวเขาเผ่าอืน่ อีกด้วย” ทรงมีพระมหากรุณาธคิ ุณโปรดเกลา้ ฯ ให้รับหมู่บ้าน พระบามห้วยต้มและหมูบ่ ้านผาลาดให้ เปน็ หมู่บ้านบริวารอยภู่ ายใตม้ ูลนธิ ิโครงการหลวงตั้งแตบ่ ัดนเ้ี ปน็ ตน้ มา เมือ่ ปี พ.ศ. 2514 ชาวปกากะญอ จากทีต่ า่ งๆ ได้พากนั มาอยู่บริเวณชุมชนพระบาทห้วยต้ม เพ่ือปฏิบัติธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา จนปัจจุบัน มีทั้งหมด 10 หมู่บ้าน 2,000 กว่าหลังคาเรือน ซึ่งทุกหมบู่ า้ นได้รับปา้ ย และโล่หห์ ม่บู ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบ จนนาส่วู ถิ รี ักษาหมบู่ ้านศลี 5 เปน็ ตน้ มา

424 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ท่ีสงู ในอดตี และปัจจบุ ัน ภูมิประเทศ พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบมีบางส่วนเป็นเนินเต้ียๆ ความสูงจากระดับน้าทะเล ปานกลาง ตั้งแต่ 500-700 เมตร สภาพพื้นท่ีส่วนใหญ่มีความลาดชัน 2-8 เปอร์เซ็นต์ มีห้วยแม่ปู ไหลผ่านทางตอนเหนือ ห้วยแม่หละไหลผ่านทางทิศตะวันออก และห้วยแม่ลองไหลผ่านทางทิศใต้ ของพื้นท่ี ลักษณะอากาศบริเวณพ้ืนท่ี โดยท่ัวไปจะเป็นแบบร้อนชื้นสลับแล้งปริมาณน้าฝนโดยเฉล่ีย 78,105 มิลลิเมตร/ปี อุณหภูมิเฉลี่ยท้ังปี 36.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน 41.58 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 8.84 องศาเซลเซียส ความช้ืนสัมพัทธ์เฉล่ีย รวมทั้งปี 98.3% การระเหยและการคายน้าทั้งปีเท่ากับ 1,438 มิลลิเมตร ในอนาคตมีแนวโน้มที่อากาศ จะรอ้ นชื้น สภาพส่ิงแวดลอ้ มชมุ ชน -พืน้ ท่ที าการเกษตร มพี ้ืนทีท่ ากินจานวน 1,373 แปลง พนื้ ท่ี 7,579 ไร่ เฉลยี่ ครอบครวั ละ 6.9 ไร่ พน้ื ท่ีป่าไม้ เปน็ พื้นทป่ี ่าสงวนแหง่ ชาตปิ ่าแม่ลี้ พน้ื ที่ 18,296.98 ไร่ ซ่ึงมีการจาแนกการใชป้ ระโยชน์ ทรัพยากรท่ีดินและป่าไม้โดยมติ ครม. เมื่อวันท่ี 10 และ 17 มีนาคม 2553 จาแนกเป็น พื้นที่ป่าเพื่อ การอนุรกั ษ์ เนื้อท่ี 2,606.98 ไร่ -พื้นท่ีอยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มแม่น้าช้ัน 1 A เนื้อที่ 670 ไร่ ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 2 พื้นที่ 1,311 ไร่ ชัน้ คุณภาพลุม่ น้าชั้น 3 และ 4 พืน้ ที่ 626 ไร่ -พื้นทปี่ ่าเพอื่ เศรษฐกจิ มีพื้นที่ 15,689.91ไร่ จากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ และการสารวจขอ้ มลู ในพ้นื ท่ีพบวา่ พน้ื ทีป่ ่าแมล่ ี้ ทอ่ี ยู่เขต ของศูนย์ฯ มพี ื้นทป่ี า่ เหลืออยู่ 5,094.59 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 28 และพ้นื ทปี่ า่ เสื่อมโทรม 13,202.21 ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ 72 รวมพนื้ ทีป่ ่าทงั้ หมด 18,296.8 ไร่ อนาคตสภาพแวดล้อมเสอื่ มโทรมลงไป เนื่องจาก การประกอบอาชีพเพิ่มข้ึนจากจานวนประชากรที่เพ่ิมข้ึน การใช้สารเคมีที่มีปริมาณเมข้ึน เกิดมลพิษ ทางอากาศและแมน่ ้า โครงสรา้ งชุมชน ผู้นาธรรมชาติ คือ ตะก๊ะ เป็นผู้ดูแลเร่ืองการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี และเป็นผู้ ขบั เคลอื่ นงานประเพณีวัฒนธรรมในหมู่บ้านให้คาปรึกษากฎ ระเบียบในหมบู่ ้านตามคาสอนของหลวง ปู่ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา สว่ นผนู้ าแบบทางการ คือ ผู้ใหญ่บา้ น ผชู้ ว่ ยผใู้ หญ่บ้าน 2 คน สารวัตรกานนั คณะกรรมการหมู่บ้าน ประธานกองทุนหมู่บ้าน และประธานแม่บ้านชุมชนพระบาทห้วยต้ม แบ่งการ ปกครองเป็น 10 หมู่บา้ น มตี ะกะ๊ หมบู่ ้านละ่ 1 คน ประชากรชมุ ชน 2,675 ครวั เรือน 13,105 คน กตกิ าของชุมชน คือ -หา้ มฆ่าสัตว์ ห้ามนาเนื้อสัตว์เขา้ มาจาหนา่ ยหรือแจกจ่ายภายในหมูบ่ ้าน วดั และสถานทต่ี า่ งๆ -หา้ มจาหนา่ ยหรือจา่ ยแจกเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และของมึนเมาทุกชนิด -หา้ มจดั เล้ยี งเคร่ืองดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอล์และของมึนเมาทุกชนิดในงานเทศกาลและงานตา่ งๆ -ต้องรกั ษาความสงบ ไมร่ บกวนเพื่อนบ้าน ไม่ลักขโมย และไมท่ ะเลาะววิ าท -ต้องรักและซอ่ื สัตยต์ ่อบุคคลในครอบรวั

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้ืนที่สูงในอดีตและปจั จุบัน 425 -ผู้ที่อยู่ในชุมชนห้วยต้ม ควรเข้าวัด รักษาศีล ภาวนา บาเพ็ญสาธารณประโยชน์สม่าเสมอ และไมเ่ ปน็ ปฏิปกั ษต์ อ่ การเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนา อาณาเขตพื้นท่ีติดต่อ ทศิ เหนือ ตดิ กับหมบู่ า้ นห้วยหละ หมทู่ 1ี่ 7 ตาบลนาทราย ทศิ ตะวนั ออก ติดกับ หม่บู ้านท่ี 1 นาเล่ียง ทิศตะวันตก ติดเขตทท่ี ากนิ และทที่ ากินติดพื้นท่ีทากนิ ของตาบลแม่ลาน ทิศใต้ ตดิ กับ หม่ทู ี่ 13 บา้ นแพะหนองหา้ ตาบลลี้ หน่วยงานราชการ คอื -เขตพฒั นาสงั คมบนพน้ื ทสี่ ูงลี้ -ศูนยพ์ ฒั นาโครงการหลวงพระบาทห้วยต้ม -โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลห้วยต้ม -ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กก่อนวยั เรยี น สงั กดั อบต.นาทราย จานวน 4 แหง่ -โรงเรยี นบ้านหว้ ยต้มชัยยะวงษาอปุ ถัมภ์ -โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมวัดพระบาทหว้ ยต้ม สภาพเศรษฐกจิ กลุ่มอาชีพหลักของคนในชุมชน ประกอบอาชีพทางการเกษตร อาชีพนอกการเกษตร คือ รับจ้างภาคเกษตรมากท่ีสุด รองลงมาคือ อาชีพเสริม ได้แก่ การทาเครื่องเงิน การทอผ้า และจักสาน ดา้ นเกษตรกรรม ปลูกพชื อาหารและพชื ไร่ ไดแ้ ก่ ข้าวนาดา ขา้ วไร่ ข้าวโพด ถัว่ เขยี ว มีรายได้จากการ ทาการเกษตรกรรม และงานหัตถกรรม เครื่องเงิน มีศิลปะหัตถกรรม ทอผ้า แปรรูปผ้าทอ เคร่ืองเงิน ความเข้มแข็งในชุมชน คือ ทอผ้ากะเหรี่ยงได้รับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (มผช.) ระดับ 5 ดาว จาหน่าย ให้ร้านค้าของกลุ่มอาชีพในชุมชน และกลุ่มอาชีพส่งจาหน่ายตามคาส่ังซื้อของเครือข่ายกลุ่มอาชีพ และศูนย์งานหตั ถกรรมโครงการหลวง สภาพสังคม มีสถานศึกษา ในพื้นท่ีศูนย์พระบาทห้วยต้ม มีโรงเรียนเด็กเล็ก 4 แห่ง โรงเรียน มัธยมศึกษา 1 แห่ง ประชากรของศูนย์ฯ เข้ารับการศึกษาตั้งแต่ช้ันอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน 1,885 คน คิดเป็นร้อยล่ะ 29.12 ของจานวนประชากร มีคนเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ จานวน 1,816 คน คิดเป็นร้อยละ 28.05 ของจานวนประชากรและผู้ไม่รู้หนังสือจานวน 1,247 คน คิดเป็นร้อยละ 19.26 ของจานวนประชากรทั้งหมด ภายในศูนย์ชาวบ้านนับถือศาสนาพุทธ 100% มีวัด 4 แหง่ ใจบา้ นเป็นทีย่ ึดเหนี่ยวจิตใจ เปน็ สถานท่ีประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา อัตลักษณ์ความเป็นชนเผ่า การแต่งกายของกะเหรี่ยงท้ังสองกลุ่ม และภาษาพูดของท้ังสอง กล่มุ ท่แี ตกตา่ งกนั การดาเนนิ ชวี ติ ในวิถีพุทธ บคุ คลผู้ไร้สญั ชาติไทยมีจานวน 16 คน เพราะเปน็ บุคคล บน พน้ื ทสี่ ูงทีอ่ พยพมาจากพน้ื ท่ีอืน่ เชน่ จงั หวดั ตาก เป็นตน้

426 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ทส่ี งู ในอดตี และปจั จบุ นั วัฒนธรรมชุมชน วัฒนธรรมชนเผ่า กะเหรี่ยงสะกอ ส่วนใหญ่อพยพมาจาก จังหวัดตาก อาเภอแม่ระมาด อาเภอท่าสองยาง และจังหวัดแม่ฮ่องสอน อาเภอแม่สะเรียง อาเภอแม่ลาน้อย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ หมู่ท่ี 8,11,12,13,14,14,21,22 และหมู่ท่ี 23 ต.นาทาย กะเหรี่ยงโปว์ส่วนใหญ่อาศัยอยู่หมู่ท่ี 9 และ หมทู่ ่ี 13 ซ่ึงอพยพมาจากจังหวดั เชียงใหม่ ได้แก่ อาเภออมก๋อย อาเภอดอยเตา่ ประเพณีพ้ืนบา้ น -ประเพณเี ปล่ียนผา้ ครบู าวงค์ (ผา้ ไตรพระราชทาน) -สืบชะตา -ทอดกฐนิ สามคั คี (ขบวนแหต่ น้ ไทยทาน) -ตานข้าวใหม(่ ข้าวจขี่ า้ วหลาม) -เลย้ี งผีเส้อื วดั -สบื ชะตาพระโคอคุ ถุ ราช -ปใี หม่เมอื ง -สรงน้าพระธาตรุ อยพระบาท -พธิ สี บื ชะตาใจบ้าน -ทาบุญวันคลา้ ยวันเกิดครบู าศรีวชิ ัย -งานย่ีเปง็ (ลอยกระทง) -ประเพณเี ปลย่ี นผ้าครูบาขาวปี -ศิลปะการแสดง คือ ราดาบ จะราในงานบญุ ใหญ่ วนั พระใหญ่ การแตง่ กาย กะเหร่ียงทงั้ สองกลมุ่ จะแตกต่างเร่อื งของการวางลวดลายบนผนื ผา้ ไม่เหมือนกัน ดงั นี้ - ชุดผู้หญิงกะเหรี่ยงสาวที่ยังไม่แต่งงาน (โปว์) มาจากอมก๋อยจังหวัดเชียงใหม่ จากอาเภอ แม่สะเรยี ง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน และปัจจบุ ันอาศยั อยู่ หม่ทู ่ี13 บา้ นหนองนา - ชุดผู้หญิงแต่งงานแล้วกะเหร่ียงสะกอ อพยพมาจากจังหวัดตาก ชุดผู้หญิงที่แต่งงาน กะเหร่ียงสะกอเปน็ กะเหรย่ี งกลุ่มใหญท่ ่ีอาศัยอยใู่ นชุมชนพระบาทหว้ ยต้ม

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพนื้ ที่สูงในอดีตและปัจจบุ นั 427 11. ศนู ยพ์ ฒั นาราษฎรบนพนื้ ท่สี ูงจังหวดั ลาปาง ชุมชนที่ 21 บา้ นสันติสขุ หม่ทู ี่ 6 ตาบลนาแก อาเภองาว จังหวดั ลาปาง ประวตั ิความเป็นมาของชมุ ชน บ้านสันติสุขเดิมชื่อบ้านแม่ฮ่างเหนือ หมู่ที่ 4 ตาบลนาแก อาเภองาว จังหวัดลาปาง ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหร่ียง (สะกอ) มีฐานะค่อนข้างยากจนอาศัยอยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง การคมนาคมไม่สะดวก เมื่อปี พ.ศ.2490 นายน้อย มอซอ อพยพเข้ามาเป็นครอบครัวแรก และเพื่อน บ้านอีก 4 ครอบครวั ต้ังรกรากทีน่ ้ี ปี 2504/2510 นายตะนุ ยาง ไดต้ ิดตามมาพร้อมครอบครวั และมี ครอบครัวอ่ืนอพยพมาตั้งรกรากจนถึงปัจจุบัน ชาวบ้านนับถือศาสนาผี เคารพส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ตามสิ่ง ธรรมชาติ ต่อมามผี ู้เผยแพร่ศาสนาคริสตน์ ิกายโรมันคาทอลิก เขา้ มาชาวบา้ นบางสว่ นไดน้ ับถือศาสนา คริสต์ โดยบาทหลวง ชื่ออัลเดรียโน เปโรซีน เข้ามาดูแล ปัจจุบันชาวบ้านนับถือศาสนาคริสต์ทุก หลังคาเรือน ปี 2518 มีหน่วยงานราชการ คือ ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา ได้เข้ามาดูแล ใหค้ วามช่วยเหลอื ดา้ นตา่ งๆ เชน่ การจดั ต้ังโครงการเกษตร ธนาคารข้าว เจ้าหน้าทห่ี วั หน้าเขต หวั หน้า หน่วย เจ้าหน้าท่ีเกษตร เจ้าหน้าที่อนามัย ครูสอนชาวเขา สารวจข้อมูลประชากร เร่ืองสัญชาติ ปี 2532 ทางการปกครอง ได้แต่งตั้งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน คือ นายจันทร์ จีเว พ้ืนที่ เป็นที่ราบสูง ป่าไม้ แหล่งน้าอุดม ป่าไม้ขาดความอุดมสมบูรณ์ มีดินสไลด์ แหล่งน้าลดลง ถ้าชุมชนไม่ฟ้ืนฟูสภาพ ภมู ปิ ระเทศ ทัง้ นา้ และปา่ เส่ือมสภาพและแหง้ แล้ง ในอดีตอากาศรม่ รืน่ ฝนตกตามฤดูกาล แต่ปจั จุบัน อากาศเร่ิมร้อน ลาห้วยเร่ิมแห้งแล้ง ฝุ่นละอองมาก การคมนาคมลาบาก มีฝุ่น และโคลนตลอดทาง ต่อมาการคมนาคนสะดวกข้ึน เพราะถนนมีการปรับปรุงเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก อนาคตคาดหวังว่า ชุมชนเพิ่มขน้ึ ชว่ ยตวั เองไดม้ ากขึ้นเพราะมโี อกาสการศึกษาแหล่งประกอบอาชพี โครงสรา้ งชุมชน ผู้นาชุมชน คอื ผู้นาทางศาสนา – ผู้อาวุโส ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นาทางการ คอื ผใู้ หญบ่ า้ น – อสม. อพม. อบต. อพฟร. อาณาเขตพนื้ ทีต่ ิดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อตาบลปงเตา ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ ตาบลบา้ นอ้อน ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับบา้ นแมแ่ ปน้ ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับตาบลแจซ้ ้อน สภาพเศรษฐกิจ ของชุมชนเป็น การเกษตร การทานา การทาไร่ และการทาสวน ปลูกข้าวนาดา ขา้ วโพด และไมผ้ ล หาของป่าตามฤดกู าล และรับจ้างนอกบ้าน ศิลปหัตถกรรม คอื จักสาน ทอผา้ สภาพความเข้มแข็ง มีกลมุ่ ทอผ้า มีตลาดรองรบั อัตลักษณ์ ด้านภาษา การแต่งกาย อาหาร และความเป็นอยู่ มี 3 เผ่า คือกะเหร่ียง เม่ียน ชนพ้ืนราบ ส่วนมากใชภ้ าษากะเหรีย่ ง แตง่ กายแบบชนเผา่ มคี วามผูกพัน ช่วยเหลือ ดแู ลกนั แบบมิตร

428 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้นื ที่สงู ในอดตี และปัจจุบนั วัฒนธรรมชุมชน มีการอนรุ กั ษ์การแต่งกาย ภาษา ประเพณีพ้นื บา้ น ได้แก่ -วันครสิ ตม์ าส วนั อสี เตอร์ เดือนถือศีลอดอาหาร -วันนมัสการ งานข้ึนบ้านใหม่ พธิ แี ต่งงาน -งานศพ,วันเกิด แนวปฏิบตั ิไปโบสถ์ทุกวันอาทิตย์ และเย่ียมผูป้ ว่ ยในและนอกหมบู่ ้าน เทศกาลครสิ ต์มาส มีการนมัสการขอพรและมีการแสดงเกี่ยวกับการบังเกิดของพระเยซูคริสต์ มี ศิลปะการแสดง การแสดงตามวันสาคัญ เช่น วันคริสต์มาส ส่วนการแต่งกาย สาว เป็นชุดยาวถึงข้อเท้ามีผา้ โพกศีรษะ สร้อยคอลูกปัดเป็นเครื่องประดับ การแต่งกายของสตรีที่แต่งงานแล้วใส่เส้ือสีดามีลวดลายตาม ความชอบใส่ผ้าถุงสีแดงมีลวดลาย เครื่องประดับสร้อยคอ ลูกปัดสีต่างๆส่วนกาไลแขนเป็นเครื่องเงิน อาหารหลกั คือ แกง สภาวะสุขภาพกายใจ ของราษฎรบนพื้นที่สูง มีสุขภาพจิตใจ และร่างกายอยู่ในเกณฑ์ดี กลมุ่ เดก็ และเยาวชน มกี ารออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ มีโรคพ้นื บา้ น เชน่ โรคทางเดนิ อาหาร การรกั ษาโรค รักษาด้วยสมนุ ไพรและยาปัจจุบนั -ขม้นิ ชนั สรรพคณุ รักษาผดผืน่ คัน.โรคกระเพาะอาหาร -ว่านหางจระเข้ สรรพคณุ รักษาแผลนา้ ร้อนลวก,ปวดท้อง -ไพล สรรพคุณ แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ -มะขามป้อม สรรพคุณแก้อาการไอ หมอพ้ืนบ้าน -นวดแผนไทย (นายสคุ า ยาง) -หมอไสยศาสตร์ (นายลิ ปู่ปอ๊ ก นายเลิน เผ่าพนั ธ์ุครี ี นายช่มุ กสิกรรงุ่ เร่ือง นายสุคา ยาง) อาหารพื้นบ้าน คือข้าวเบือ คือการนาข้าวสารมาปรุงกับเคร่ืองแกง ใส่เน้ือหมู,ไก่ หรือสัตว์ป่า และ หลามปลา,กงุ้ ,เนื้อ ผู้ไมม่ สี ญั ชาติไทย บคุ คลทยี่ งั ไมม่ สี ัญชาติ มี 2 คน เพราะขาดการถ่ายบัตรต่อเนือ่ ง ปัญหาของชาวชมุ ชน คือ -ชุมชนมีรายได้ไมเ่ พยี งพอตอ่ การครองชพี -รายไดไ้ มแ่ น่นอน -มีหน้สี ิน -ผลผลติ จากการเกษตรตกต่า -แหลง่ น้าไมเ่ พียงพอตอ่ การเกษตร -แหลง่ น้าดื่มไมส่ ะอาด

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพน้ื ทีส่ งู ในอดตี และปจั จบุ นั 429 -ไมม่ รี ายไดป้ ระจา -ผู้นาขาดความรู้ทางดา้ นเทคโนโลยแี ละภาษาองั กฤษ -เยาวชนไมม่ ีงานทาอย่างถาวร ตอ้ งไปทางานนอกบา้ นไม่มีเงินสง่ ให้ทางบ้าน -ขาดโอกาสทางการศกึ ษาต่อ เพราะไมท่ ุนการศกึ ษา -เด็กรุน่ ใหมไ่ ม่คอ่ ยมีคณุ ธรรม,จริยธรรม ผลการพูดคุยกันชาวชมุ ชนพบวา่ ชาวบ้าน ต้องการให้หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบโครงการ ถ่ายทอดความรู้ใหม่ให้กับชุมชน อย่างต่อเนื่อง และแก้ไขปัญหาให้ถูกต้องตามความต้องการของชุมชน และอย่างยั่งยืน เพ่ือพัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชนให้มีชีวิตท่ีดีข้ึนให้คาแนะนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้สอดคล้องกับ ปัจจุบันโดยต้องการสนับสนุนจากภาครัฐในด้านสง่ เสริมอาชีพต่างๆ รวมถึง จัดหางบประมาณในการ ลงทุนการประกอบอาชีพ แก่ชุมชน และ ควรมีการอบรมเพิ่มความรู้กับชุมชนทุกกลุ่ม ให้มีความรู้ และทนั เหตกุ ารณ์

430 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ทีส่ งู ในอดตี และปจั จุบนั ชุมชนท่ี 22 บ้านแมฮ่ า่ งใต้ หมู่ท่ี 4 ตาบลนาแก อาเภองาว จังหวดั ลาปาง ประวตั ิความเปน็ มาของชุมชน ทีม่ าของคาว่า .ฮา่ ง. หมายถึง ชอ่ื ตน้ ไม้ชนิดหนง่ึ ภาษาไทย เรยี กว่า ตน้ ไทร ต้นโพธ์ิ ดงั น้ันช่ือว่า บ้านแม่ฮา่ ง คือหมูบ่ า้ นทีต่ ั้งอยูใ่ นป่าตน้ ฮา่ ง หรือตน้ ไทร ตน้ โพธ์ิ มากมายนั้นเอง ชุมชนบ้านแม่ฮ่าง เดิมท่ีเดียวคนในชุมชนเป็นราษฎรบนพื้นท่ีสูงเผ่ากะเหร่ียง(โปว์) อาศัยอยู่ที่ บ้านแม่ส้าน ตาบลบ้านดง อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ต่อมามีประมาณ 6-7 ครัวเรือนได้อพยพ จากบ้านแม่กวัก แม้แป้น แม่หิน ตาบลนาแก อาเภองาว จังหวัดลาปาง มาต้ังรกรากท่ีบ้านแม่ฮ่าง พ.ศ.2472 มีผู้นาชนเผ่าคนแรก คือนายเปียง ปิงมูล เป็นผู้นาหมู่บ้าน ขณะนี้บ้านแม่ฮ่างมีท้ังหมด 80 หลังคาเรือน มีประชากร 257 คน เป็นชนเผ่ากะเหรี่ยงโปว์และสะกอ อาข่า และมูเซอ ทุกหลังคาเรือน นับถือศาสนาคริสต์ มีโบสถ์คริสต์ 1 แห่ง ในปี พ.ศ.2477 มีนายลูน ศักดา เป็นผู้นาศาสนาคริสตร์ คนแรก (นิกาย โปรแตสแตน) ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร ปี พ.ศ.2509 มีโรงเรียนประถมศีกษา 1 แห่ง เปิดสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-4 โดยมีนายลือ ไชนาใส เป็นครูใหญ่คนแรก และในปี พ.ศ.2518 ได้ขยายช้ันเรียนถึงประถมศึกษาช้ันปีที่ 6 และต่อมา พ.ศ.2547 ได้ขยายโอกาสทางการศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3 ) ขณะนี้มีจานวนนักเรียน ทั้งหมด 238 คน มีครูผู้สอน จานวน 21 คน เด็กนักเรียนท่ีมาเรียนเป็นเด็กชาวเขาจากหมู่บ้าน ใกลเ้ คยี งประมาณ 5-6หมู่บา้ น ภูมปิ ระเทศ ภูมิประเทศทางธรรมชาติถูกทาลาย และภูเขารอบหมู่บ้านเริ่มเป็นภูเขาหัวโล้นทาให้ฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาล ในฤดูฝนน้าป่าไหลหลากเข้าท่วมหมู่บ้านท่ีอยู่ติดลาห้วย และพ้ืนท่ีทางการ เกษตร (นาขา้ ว) และฤดแู ลง้ น้ากแ็ ห้งขอด ถ้ามีการตัดไม้ทาลายป่าเพ่ิมข้ึนอีก ไม่มีการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ภูมิประเทศจะเกิดความ แหง้ แลง้ ฝนไมต่ กต้องตามฤดกู าล นา้ ปา่ ไหลหลากเขา้ ทว่ มหม่บู ้านและพน้ื ทที่ าการเกษตร เพมิ่ มากขึ้น อย่างแน่นอนในอดีตอากาศดี มีความร่มร่ืน แต่ปัจจุบัน อากาศร้อน เกิดความแห้งแล้งในพ้ืนที่เช่ือว่า อนาคตอากาศจะร้อนเพิ่มมากข้ึน และจะเกิดปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ สภาพแวดล้อมรอบๆ ชุมชนเกิด ความแห้งแล้งแต่มีครัวเรือนเพิ่มขึ้น ชุมชนเพ่ิมข้ึน แต่ทรัพยากรป่าไม้ ต้นไม้แหล่งน้าลดลง อนาคตชุมชน มีขนาดใหญ่มากขึ้น ตามจานวนประชากรที่เพ่ิมสูงขี้น ทรัพยากรป่าไม้ ต้นไม้จะหมดไป แหล่งต้นน้า จะหมดตามไปดว้ ย ถา้ ไม่มกี ารอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมอยา่ งจริงจงั ผู้นา ผู้นาตามธรรมชาติ คือ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. ผู้นาศาสนา วิถีชุมชน คืออยู่ร่วมกัน โดยหลักของกฎหมาย ดูแล รักษาความสงบเรียบร้อยและไกล่เกล่ียประนีประนอม ข้อพิพาทกันเอง ตามหลักการของจารีตประเพณี ผ่านผู้นาอาวุโส ผู้นาศาสนา ใช้หลักการจารีต ประเพณีและศาสนาเขา้ มาไกลเ่ กลยี่ เพ่ือประนีประนอมข้อพิพาทในชมุ ชน ในวันอาทติ ยใ์ หท้ กุ คนแตง่ กายด้วยชดุ ชนเผ่าเขา้ โบสถ์ ทากจิ กรรมทางศาสนาร่วมกนั

การวจิ ัยการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพืน้ ท่สี ูงในอดีตและปจั จุบนั 431 อาณาเขตพ้ืนทตี่ ดิ ต่อ ทิศเหนือ ตดิ กับบา้ นสามเหลีย่ ม ตาบลปงเตา ,บ้านสันติสุข อาเภองาว จังหวัดลาปาง ทิศใต้ ตดิ กับบา้ นแมแ้ ปน้ ตาบลนาแก อาเภองาว จังหวัดลาปาง ทิศตะวันออก ตดิ กบั ลาหว้ ยแมห่ นิ ตาบลปงเตา อาเภองาว จังหวดั ลาปาง ทิศตะวนั ตก ติดกับบา้ นขนุ ออ้ นพฒั นา ตาบลบา้ นอ้อน อาเภองาว จังหวัดลาปาง หนว่ ยงานราชการ คอื โรงเรยี นแมฮ่ ่างวทิ ยา,ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านแม่ฮ่าง สภาพเศรษฐกิจ กลุ่มอาชีพหลักของคนในชุมชน คือเกษตรกรรม/รับจ้าง-เก็บของป่าขาย / คา้ ขาย ส่วนด้านการเกษตรกรรม ปลูกข้าว (ข้าวไร่,ข้าวนาดา) ขา้ วโพด,ผกั กาด,มันสาปะหลัง แหล่งรายได้ คือ พชื ผลทางการเกษตร หาของปา่ รับจา้ ง คา้ ขาย ศิลปหัตกรรม คือ ผ้าทอกี่เอว ผลิตภัณฑ์เส้ือผ้าชาย-หญิง ถุงย่าม ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้า ชิ้นต่างๆ เพ่ือแปรรูป กระเป๋าอ่ืนๆกลุ่มทอผ้า ได้รับการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน และได้ผ่าน การรองรับมาตรฐาน(มผช.) ได้รับคัดสรรผลิตภัณฑ์ 2 คร้ัง อยู่ในระดับ 5 ดาว และ 4 ดาว การจัก สาน ทาฝกั มดี ตะกร้า ก๋วย ไม้กวาด สภาพสังคม มีสถานศึกษาคือ โรงเรียนแม่ฮ่างวทิ ยา,ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านแม่ฮาง มีโบสถ์ ศาสนาคริสต์ ลัทธิโปรเตสแตน มีสัญลักษณ์ไม้กางเขน ความสัมพันธ์ ระบบเครือญาติ มีการนับถือ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม,่ ลูกหลาน นบั ถอื ผอู้ าวโุ สกว่าเปน็ หลกั อัตลักษณค์ วามเปน็ ชนเผา่ คอื กะเหรี่ยง,อาข่า,มูเซอ มอี ตั ลักษณ์ ดา้ นภาษาพูด การแตง่ กาย การสาธารณสุข/สุขภาพคนในชุมชน คนสว่ นใหญ่มสี ุขภาพใจอยู่ในระดับดีส่วนใหญป่ ่วยเป็น โรคระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร กล้ามเน้ือ โรคผิวหนัง รักษาโดยใช้สมุนไพรต้มดื่ม ประคบ/อบดว้ ยสมนุ ไพพร สมนุ ไพรพื้นบ้าน คอื -เปลอื กตน้ มะขามป้อม/ลูกมะขามปอ้ ม สรรพคณุ แก้ไอ,แก้เจ็บคอ -เปลอื กล้ินไฟ สรรพคุณ แกโ้ รคผวิ หนงั ,แก้คัน -ชมุ เหด็ เทศ สรรพคุณ แกโ้ รคผวิ หนงั ,กลากเกลอ้ื น -ขม้ิน/ไพล สรรพคณุ แก้ท้องอืด,ทอ้ งเฟ้อ -ใบฝรงั่ สรรพคุณ แกท้ อ้ งร่วง หมอพื้นบ้าน คือ หมอนวดแผนโบราณ นวดจับเส้น (นายเดช ยาง และนางบุญทา มีจีรักษ์) อาการปวดหัว ตวั ร้อน มไี ข้ ใชส้ มนุ ไพรรกั ษา วฒั นธรรม / ประเพณี มี การแต่งกายและภาษาพูด ประเพณีพ้ืนบ้าน วันคริสต์มาส วันอิสเตอร์ (วันคืนพระชนม์ชีพของพระเยซู),วันขึ้นปีใหม่ การแต่งงาน วนั สง่ ทา้ ยปีเกา่ ต้อนรับปใี หม่ แนวทางปฏิบัติ ใช้พิธีทางศาสนาด้วยการนมัสการพระเจ้า ร้องเพลงสรรเสริญพระเจ้า อธิษฐาน ฟงั คาเทศนาตามหัวข้องานทีจ่ ัด เสรจ็ พธิ ที างศาสนา ชมการแสดง รับประทานอาหารร่วมกัน มีศิลปะการแสดง คือ แสดงบทบาทในพระคัมภีร์ การราประกอบเพลงในพิธีต่างๆ การฟ้อนราดาบ การรากรนู าในพธิ ีตา่ งๆตามเทศกาล

432 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้นื ทสี่ ูงในอดตี และปัจจบุ นั การแตง่ กาย ชายผ้า โพกหวั ทง้ั เดก็ และผใู้ หญ่ ผู้หญิง (ที่สมรสแล้ว) เสื้อมีลวดลาย ตกแต่งด้วยสีต่างๆเน้นสีแดงหรือดาปักด้วยสีต่างๆ สลับกับลูกเดือย ผ้าถุงพ้ืนสีแดง สลับด้วยสีต่างๆ และด้ายมัดหม่ีท่ีเรียกว่าตัวหนอน โพกหัวด้วยผ้า โพกหัวหญิง (โสด) เดิมเป็นชุดสีขาวแต่งลายด้วยสีแดงเป็นหลัก ปัจจุบันใส่เส้ือผ้าถุงได้ แต่ไม่ใช้เส้ือ พ้ืนสีดา โพกหัวดว้ ยผ้าโพกหัว มีสร้อยคอ ลูกปดั ต่างหเู ปน็ เงินกลมๆคลา้ ยหวั ไฟ (ปัจจุบันไมน่ ยิ มใส่กนั ) การแต่งกายชุดประจาเผ่านี้ จะใส่เฉพาะวันอาทิตย์และวันเทศกาลสาคัญเท่าน้ัน อาหาร มีอาหารคาว มีแกงข้าวเบ๊อะ แกงเย็น หลามปลา ส่วนอาหารหวาน ข้าวต้มทรงกรวย ห่อด้วยใบดอก หญ้าใบก๋ง ข้าวต้มห่อด้วยใบตอง ขนมท้ังสองอย่างนี้ ถ้าหากมีกล้วยสุก เมล็ดถั่วลิสง ถ่ัวดา ถ่ัวแดง อย่างใดอย่างหน่ึงมาผสมกับข้าวแล้วห่อจะเพิ่มรสชาติและความอร่อย ข้าวปุ๊ก คือข้าวเหนียวดาคลุก ด้วยงาขาว งาดา งาข้ีมอญ เกลือเมื่อตาเสร็จ รับประทานร้อนๆกับน้าชา หรือนาไปแผ่เป็นแผ่นบางๆ ตัดเป็นชิ้นสีเหลี่ยมเล็กๆ ผึ่งให้แห้ง นาไปทอดหรือปิ้งจิ้มด้วยนมข้นหวาน มีเครื่องด่ืม น้าชา นา้ ตะไครน้ า้ มะตมู น้ากระเจยี๊ บ ประเด็นปญั หาของราษฏรบนพื้นท่ีสูง คือ -ท่ที ากิน ไม่มีเอกสารสทิ ธ์ิ -ลกู หลานไปเรยี นหนังสอื จบแล้ว ไปทางานนอกหม่บู ้าน 40 คน -ผลผลิตทางการเกษตร ราคาถกู ต้นทุนการผลิตสงู เช่น การปลูกข้าวโพด -น้าด่มื นา้ ใช้ ไม่สะอาดและไม่เพียงพอ -ปัญหายาเสพติด มผี ูค้ ้าอย่ใู กล้กบั ชมุ ชน -แนวเขตระหว่างหม่บู ้านกบั เขตปา่ ไมไ้ ม่ชดั เจน -ปัญหาหนีส้ นิ ผลจากการพดู คยุ สนทนากบั ชาวชมุ ชนบ้านแมฮ่ ่าง - ตอ้ งการใหม้ กี ารส่งเสริมด้านวัฒนธรรม ประเพณีให้ดีขึน้ - ไมต่ อ้ งการใหค้ นในชุมชนยุ่งเกย่ี วกับยาเสพติด และอยากใหห้ มดไปกบั ชมุ ชน - ต้องการใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ บา้ นเมืองมคี วามสงบสุข - ให้รัฐจัดพ้ืนท่ีทากินให้กับราษฎรบนพ้ืนที่สูง สามารถปลูกป่าได้ โดยภาครัฐไม่ยึดคืน สามารถอยู่กบั ปา่ อย่างมคี วามสขุ - สนบั สนนุ ความเป็นอยู่ของราษฎรบนพื้นทีส่ งู - ให้ความรู้ด้านกฎหมายและความรู้ด้านอื่นๆให้มากขึ้น และจัดทุนการศึกษาหรือโควต้าไปเรียน ต่างประเทศ จนกลับมาจะได้พัฒนาชุมชนและประเทศไทยร่วมกัน

การวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพื้นทส่ี ูงในอดตี และปัจจุบัน 433 12. ศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรบนพนื้ ทีส่ งู จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ชบุม้าชนนแทมี่ร2ดิ 3ปบ่าแา้ นก่แหมมร่ ู่ทิด่ีป1า่ แตกาบ่ หลมแู่ทมี่เ1หาตะ�ำ บอลาเแภมอเ่ แหมา่สะะอเร�ำ ยีเภงอจแังมหส่ วะดั เรแยี มง่ฮจ่อังหสอวนดั แมฮ่ ่องสอน 1. ประวัติความเป็นมาของชมุ ชน บ้านแม่ริดป่าแก่ ต้ังอยู่หมู่ที่ 1 ตาบลแม่เหาะ อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นชุมชนบนพ้ืนท่ีท่ีราบสูงหรือชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหร่ียง (ปกา-เกอ-ญอ) โดยช่ือเรียกหมู่บ้าน เป็นภาษากะเหรี่ยงว่า “เบาะเด” ซ่ึงแปลว่า “ป่าแก่” เมื่อประมาณ 100 ปีที่แล้ว มีโรคระบาดใน หมู่บ้าน เด-ลอโกล่ะเกิดข้ึน มีผู้คนเสียชีวิตเป็นจานวนมาก จากน้ันจึงมีการแยกจากบ้านหลักช่ือว่า เด-ลอโกล่ะ ย้ายมาตั้งถิ่นฐานในบ้านแม่ริดป่าแก่ สภาพพื้นท่ีมีป่าไม้อากาศเย็นตลอดทั้งปี สภาพภูม ศาสตร์ของชุมชนเป็นป่าดงดบิ สภาพพ้นื ที่ปา่ ก็ยังคงท่แี ตย่ งั มีปญั หาเรือ่ งการขาดแคลนน้าใช้ แตม่ กี าร แบง่ เขต ป่าอนุรักษ์ ปา่ ตน้ นา้ ฯลฯ สภาพพ้นื ท่ี มกี ารแบง่ เขต การอนรุ ักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ป่าตน้ น้า ปา่ ใช้สอย สภาพอากาศเย็น มีฝนต้องตามฤดูกาล มีน้าใช้ตลอดทั้งปี เริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเกี่ยวกับเร่ืองการขาดน้าใช้ อากาศก็เย็น สบายอยู่ แต่มีการเปล่ียนแปลงไปบ้าง แต่ถ้าเรายังรักษาทรัพยากรป่าไม้ของเราอยู่ มีการแบ่งเขต ป่าใช้งาน,ป่าต้นน้า ,ป่าอนุรักษ์ กลุ่มเครือข่ายลุ่มน้าแม่ริด ฯลฯ ส่ิงแวดล้อมชุมชน คงมีการอนุรักษ์ และมีความอุดมสมบูรณ์ ส่ิงแวดล้อมชุมชนเร่ิมเปล่ียนแปลงไปเพราะการปลูกพืชต่างๆ มีการใช้ สารเคมีมาทาใหด้ นิ แขง็ เป็นสาเหตทุ าให้การเพาะปลูกมปี ญั หาเรื่องแมลงหรือศัตรูเพม่ิ มากขึน้ ถ้าหากมี การใช้ทรัพยากรไม่ระมัดระวังจะทาให้ทรัพยากรในชุมชนเร่ิมสูญหายไป การใช้สารเคมีมากข้ึนจะมี ผลกระทบต่อลูกหลานแนน่ อนในอนาคต 2. โครงสร้างชุมชน มีผู้ใหญ่บ้านนายบุญเอง ปองบุญเกษม กติกา/กฎ/ระเบียบชุมชน ไม่ให้คนนอก เข้ามาทาให้ความวนุ่ วายในหมูบ่ ้าน,ห้ามตดั ปา่ ตน้ นา้ .ห้ามปล่อยหมูในหมู่บา้ น,ห้ามทะเลาะววิ าท ทศิ เหนอื ตดิ กบั แมร่ ดิ น้อย ม.1 แมเ่ หาะ อ.แมส่ ะเรียง จ.มส ทศิ ใต้ ติดกับบา้ นแมล่ ายเหนอื ม.6 ต.ป่าโป่ง อ.สบเมย จ.มส ทิศตะวันออก ติดกับบ้านขนุน ปางช้าง ม.1 ต.แมเ่ หาะ อ.แมส่ ะเรียง จ.มส ทศิ ตะวนั ตก ติดกับบา้ นแมส่ วรรค์หลวง ม.3 ต.แม่เหาะ อ.แม่สะเรยี ง จ.มส 3. หนว่ ยงานราชการ - รพ.สต.บ้านแมล่ ดิ ป่าแก่ เป็นหนว่ ยงานของกระทรวงสาธารณสุข - ศนู ย์พฒั นาชาวเขาแมล่ ิดปา่ แก่ - ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็

434 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพืน้ ทสี่ งู ในอดีตและปัจจุบนั 4. กลุ่มอาชพี หลักของคนในชมุ ชน คือ เกษตรกรรม ทาไร่/ทานา/รับจ้างท่ัวไป มีการปลูกข้าวนาปี ข้าวแดง การปลูกกะหล่าปลี ปลูกกาแฟ ถั่วแดงและพืชอ่ืนๆ ฯลฯ แหล่งรายได้ จากการขายกาแฟ การขายกะหล่าปลี ปลูกผัก ต่างๆฯลฯ มีการทอผ้า ตีมีด การจักสาน และอื่นๆ ซ่ึงร้านค้าในชุมชนจะเป็นพวกขายอาหาร ของกิน ของใช้ ประเภทอาหารทหี่ าซื้อไดส้ ะดวก 5. สภาพสังคม สถานศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ริด.วิทยาลัยการอาชีพแม่สะเรียง,แม่สะเรียงบริพัตรศึกษา ศาสนา พุทธ.ครสิ ต์ และเชอื่ ถอื บรรพบุรษุ แตม่ ีการอยรู่ ่วมกนั ฉันท์พนี่ ้อง ศาสนสถาน มีความม่ังคงแข็งแรง,สัญลักษณ์หมู่บ้านคือ ต้นไม้ใหญ่ หมายถึง ต้องอยู่ด้วยกัน ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข มีความสัมพันธ์กันโดยระบบเครือญาติ เป็นพี่เป็นน้องกัน เป็นชนเผ่า ปกา-เกอญอ มีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เผ่า ปกา-เกอญอ มีอัตลักษณ์ เด่นคือ การแต่งกาย,ภาษาพูด,ภาษาเขียน, การทาอาหารประจาชนเผ่า เช่น “แกงข้าวเบ๊อะ” คนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์และมีจิตใจท่ีบริสุทธิ์ พฤตกิ รรมคนในชุมชนสว่ นใหญ่เป็นคนดี มธี รรมะอย่ใู นจติ ใจ 6. สุขภาพของประชาชน เร่ิมดีข้ึนกินอาหารที่เป็นประโยชน์ รักษาความสะอาด มีความเป็นอยู่ หรือที่อยู่อาศัยดีข้ึน มีโรคพื้นบ้าน คือโรคหวัด.โรคอีสุกอีใส ใช้ใบมะระขมใส่,โรคท้องร่วงใช้น้าเกลือ ผสมน้าผึ้ง ตะไคร้ ใช้แก้หวัด ขมิ้นใช้แก้โรคกระเพาะ ฯลฯ มีหมอตาแย หมอนวด ,หมอต่อข้อกระดูก, หมอเรยี กขวญั 7. วัฒนธรรมชุมชน เผ่ากะเหร่ียง,การแต่งกาย,ผ้าทอกะเหร่ียง,การละเล่นพ้ืนบ้าน ประเพณีมัดมือ, ประเพณีขึ้นบ้านใหม่,ประเพณีแต่งงาน เช่น ประเพณีมัดมือหรือภาษากะเหร่ียงเรียกวา่ “ฮิด-ซอ-โค่ะ เป็นการเรียกขวัญลูกหลานให้กลับมารวมตัวกันครั้งที่ 1 และคร้ังที่ 2 คือ “ลา-คุก-บุ” ปีละสองครั้ง มีการแสดง เช่น “การตีกลอง และฟ้อนดาบ” จะเป็นการแสดงในช่วงมีพิธีกรรม เช่น ผูกข้อมือ, งานแตง่ งาน,งานขึ้นปีใหม่ “การแสดงกระทบไม้ไผ่”เป็นการแสดงของหนุม่ สาว เน่อื งในโอกาสงานศพ แต่ปัจจุบันใช้เป็นการแสดงตามพิธีกรรมหรืองานแสดงประเพณีชนเผ่าต่างๆ ฯลฯ“การร้องเพลง” ในวงเหล้างานแต่งงาน,งานผูกข้อมือ เป็นการร้องเพลงท่ีเป็นคากลอน เป็นเพลงโต้ตอบกัน รปู แบบการแต่งกาย ผ้หู ญงิ มี 2 รปู แบบ 1.ผู้หญิงท่ียังไม่แต่งงาน(“หมือ-เกอ-นอ” คือ สาว) ต้องใส่เส้ือผ้าทอสีขาวมีลวดลาย หรือเรียกว่า(“เช-วา” คือ เสื้อขาว) มีความหมายว่า บริสุทธิ์ไม่มีมลทิน ไม่มีอะไรกับผู้ชายมาก่อน ต้องใสเ่ สื้อผา้ นตี้ ลอดชีวิต 2.ผู้หญงิ ทแี่ ตง่ งานแลว้ (พ้อ-หมอื -ปวา คอื แม่บา้ น) ตอ้ งใสเ่ สอื้ ผ้าทอสีมีลวดลายหรือเรียกว่า (“เช-ซุ”คอื เส้ือสดี า) มีความหมายว่า มีความสงบรม่ เยน็ เปน็ สขุ รปู แบบการแตง่ กาย ผชู้ ายมี 1 รูปแบบ 1.ผู้ชายแต่งกายเหมือนกันท้ังแต่งงานและยังไมแ่ ต่งงาน ในอดตี เป็นเส้ือผ้าทอสีแดงใส่กางเกง ผา้ ทอกะเหร่ียง และจะมีผา้ ทอโพกหัว (การแตง่ กายท้ังหมดนจ้ี ะมคี วามหมายคนละแบบแต่จะมี 4 มุม

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพืน้ ทสี่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั 435 เสมอบนเส้ือผ้าแต่ละตัว มีความหมายว่า “ปกา-เกอะ-ญอ” หรือชนเผ่ากะเหร่ียงจะอยู่ในทิศเหนือ. ทิศใต้.ทิศตะวันตก.ทิศตะวันออก.ถ้าถึงเวลาให้กลับมารวมตัวกันเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันไม่มีการทิ้งชน เผ่าของตัวเอง) 8. อาหาร ประเภทที่1 อาหารหลัก (“แกงข้าวเบอะ” ต่า-พอ-พ่อ) เป็นอาหารประจาชนเผ่า ปกา-เกอะ-ญอ จะมีประโยชน์ต่อร่างกายมาก ความเป็นมาของแกงข้าวเบ๊อะคือ สมัยก่อนข้าวไม่พอกินมีความทุกข์ ยากลาบากมากเวลาไปไรก่ เ็ อาขา้ วหอ่ คนละเล็กน้อยมาใสห่ ม้อใหญต่ ้มใสร่ วมกันใสผ่ ัก,เน้อื สัตว.์ จนเต็ม ทาให้กินอิม่ กนั ทกุ คน ประเภทที่ 2 คือ (นา้ พรกิ ดา “ม-ุ ส่า-โต-ซุ”)จะขาดนา้ พรกิ ไมไ่ ดเ้ ลย ประเภทที่ 3 คือ (แกงเย็น “ต่า -จืด-ที่) เป็นแกงเย็นชนิดหน่ึงของชนเผ่าเวลาทานข้าวเบ๊อะ มันร้อนจะชว่ ยลดความรอ้ นลงมาอยา่ งมากเลย 9. ประเด็นปัญหาของราษฏรบนพื้นทส่ี งู สรปุ ไดว้ ่า - ปัญหาของราษฎร คอื เรอ่ื งน้าแหง้ ,จะใชใ้ นการอุปโภคบริโภค เรม่ิ ไม่มแี ล้ว - ปัญหาคนรุ่นหลานจะไม่เห็นความสาคัญของเพณีวัฒนธรรมพิธีกรรมของชนเผ่า เช่นภาษา พูด ภาษาเขยี น แม้แต่การแตง่ กายของชนเผ่า - อนาคตปัญหาครอบครัวขาดความอบอุ่น ขาดการอบรมเรื่อง ประเพณีวัฒนธรรม ศลิ ปะการแสดงพน้ื บา้ นต่าง ๆ ฯลฯ

436 การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพ้นื ท่สี งู ในอดีตและปจั จบุ นั ชบุม้านชนแมทส่ี 2ว4รรบคา้ ์นน้อแยมหส่ วมรู่ทรี่ ค1์น2อ้ ยตาหบมลูท่ แี่ ม1่เ2หาตะ�ำ อบาลเแภมอเ่แหมา่สะะอเรำ�ียเภง อจแงั มหส่วะดั เแรมยี ง่ฮ่อจงังสหอวนัดแมฮ่ ่องสอน 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของชุมชน บา้ นแม่สวรรค์น้อย เร่มิ แรกมีเพียง 1 หลังคาเรือน คือ นายดพิ นุ๊ ุ๊ เป็นครอบครัวแรกที่ย้ายมา จากห้วยป่าจ้ี เพื่อมาบุกเบิกพ้ืนท่ีทากิน และมีครอบครัวของนายทีเนอ๊อะ ที่อยู่กอเซอโกล้ ย้ายมาอยู่ด้วย ปัจจุบันมีจานวนประชากรมากขึ้น บ้านแม่สวรรค์น้อยเป็นหมู่บ้านตั้งช่ือตามขุนห้วยแม่สวรรค์น้อย ซ่ึงมีน้าไหลผ่านตลอดปี ชาวบ้านใช้น้าจากห้วยแม่สวรรค์น้อยในการดารงชีวิตมาจนถึงปัจจุบัน ชาวบ้านแม่สวรรค์น้อย ส่วนใหญ่เป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงสะกอ เดิมบ้านแม่สวรรค์น้อยเป็นหย่อม บ้านหนึ่งของบา้ นแม่เหาะ ปี พ.ศ. 2526 ได้มีการแต่งต้งั ผใู้ หญ่บ้าน นาย แจวา สริ ชิ าญธุรกิจ บา้ นแมส่ วรรค์น้อย ต้งั อยู่ ห่างจากอาเภอไปทางทิศตะวันตกออกตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 ประมาณ 20 กิโลเมตร แยกเข้าหมู่บา้ นทงุ่ บัวตองแมเ่ หาะ ระยะทางประมาณ 3 กโิ ลเมตร 4. อาณาเขตพน้ื ที่ติดตอ่ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับบา้ นแมส่ วรรคห์ ลวง ม.3 ต.แม่เหาะ .อ.แมส่ ะเรยี ง จ. แมฮ่ ่องสอน ทศิ ใต้ ติดต่อกบั บ้านแมเ่ หาะ ม.4 ต.แม่เหาะ .อ.แมส่ ะเรียง จ.แม่ฮอ่ งสอน บ้านแม่สวรรค์น้อย ต้ังอยู่ในบริเวณขุนห้วยแม่สวรรค์น้อย พื้นท่ีเป็นที่ราบ การคมนาคม สะดวก มปี ระชากร 350 คน 86 ครัวเรอื น ประชากรมอี าชพี หลักคือเกษตรกรรม เขน่ ปลกู กะหลา่ ปลี ทานา ทาไร่ และรบั จ้าง ผา้ ทอกะเหร่ียง ผู้หญิงกะเหรี่ยงจะทอผ้าไว้ใช้เอง เช่น เสื้อ ผา้ ห่ม ผ้าถุง ยา่ ม เครอ่ื งจักสานประเภทตา่ งๆ ผูช้ ายจะสานเครื่องใชใ้ นชีวิตประจาวันด้วยไม้ไผ่ เช่น กระบุง ตะกร้า เสอ่ื กระด้ง ชะลอม ลอบดักปลา ไม้กวาดทางมะพรา้ ว 5.วัฒนธรรม ด้านท่ีอยู่อาศัย ชาวเขาเผา่ กะเหร่ียงจะสร้างบ้านเรือนเปน็ แบบบ้านเอนกประสงค์ คือ มีใต้ถุนสูง บนบ้านแบ่ง 2 ส่วน ส่วนในจะก้ันด้วยฝาไม้ไผ่สาหรับนอนและห้องทาครัว ส่วนด้านนอกจะปล่อยไว้ เป็นห้องโล่ง ใช้รับแขกและที่นอนสาหรับบุตรท่ีเป็นชาย และเป็นท่ีทางานต่างๆด้วย ท่ัวไปด้วย ใต้ถุน บ้านจะก้ันเป็นคอกหมู ซึ่งทุกหลังคาเรือนจะเล้ียงหมูใต้ถุนบ้าน บนคอกหมูจะสร้างเป็นเรือนไก่ด้วย พ้นื ใต้ถุนสว่ นทีเ่ หลือจะใชส้ าหรับผูกควายในกลางคืน วฒั นธรรมการแต่งกาย จะมกี ารแตง่ กายเปน็ เอกลักษณข์ องตัวเอง ผชู้ ายสวมเสื้อแดง ผ้หู ญงิ ท่ียังโสดจะแต่งตัวด้วยชุดสีขาว หญิงท่ีแต่งงานแล้วจะนุ่งผ้าถุงสวมเสื้อสีดาหรือแดงประดิษฐ์ เป็นลวดลายสวยงาม มผี า้ ขาวโพกศีรษะ วัฒนธรรมทางภาษา จะมีภาษาพูดและเขียน ภาษากะเหร่ียงไม่มีตัวสะกดมีเพียงสระ พยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ประชากรในหมู่บ้านจะทาส่ิงของเคร่ืองใช้ขึ้นเอง จึงมีการถ่ายทอดวิชา ความรู้ด้านงานฝีมือให้แก่ลูกหลานกันต่อๆกันมา คือการ ทอผ้า เช่น ทอเสื้อ กางเกง ผ้าถุง ย่าม ผ้าห่ม การจักสานไม่ไผ่ เช่น สานกระบุง สานเสื่อ และภาชนะสาหรับใส่ส่ิงของต่างๆ มีน้าตกสวรรค์

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ท่ีสงู ในอดตี และปจั จบุ นั 437 เป็นสถานท่ีท่องเที่ยว ซ่ึงจะมีเส้นทางเดินชมน้าตกจากชั้นบนไล่ลงไปจนถึงช้ันล่าง ลดหล่ันกันอย่าง สวยงาม การแต่งงาน นิยมแต่งงานหลังการเก็บเกี่ยวประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยฝ่ายหญิงจะไปสู่ขอฝ่ายชาย การแต่งงานจะแต่งที่บ้านฝ่ายหญิงก่อน 1 คืน และจะไปแต่งที่บ้าน ฝ่ายชายอกี 1 คนื จากนนั้ ฝา่ ยชายจะมาอยู่กบั ฝา่ ยหญิงทีบ่ ้านผหู้ ญงิ งานศพ เม่ือมีการตายนาศพไว้ 3 คืน มีการเคารพศพทั้ง 3 คืน เพื่อส่งวิญญาณผู้ตายไปสู่ สวรรค์ จากนัน้ นาศพไปยงั ป่าช้า เสือ้ ผา้ ผูต้ ายญาตจิ ะนาไปท้ิงยงั สสุ าน สว่ นของใชเ้ กา่ ๆ จะนาไปวางที่ หลุมฝังศพ งานข้ึนบ้านใหม่ จะสร้างบ้านไม่ถาวร ท้ังน้ีเม่ือมีคนเจ็บป่วยล้มตายจะรื้อบ้านทิ้งแล้ว สรา้ งใหม่ โดยสรา้ งให้เสร็จในวันเดียว ปใี หม่ ชาวเขาจะขึ้นปีใหม่เดือน มกราคม – มนี าคน จะกินเล้ียงกัน ทัง้ หมบู่ า้ น ชาวเขาจะรังเกยี จการมากผวั หลายเมยี มาก ผู้หญิงหลายผวั จะถูกขับไล่ออกจากหมูบ่ า้ น 5. ศาสนา ประชากรบ้านแม่สวรรค์น้อย นับถือศาสนาพุทธและนับถือผี ปัจจุบันนับถือศาสนาพุทธ และครสิ ต์ ชาวกะเหรย่ี งจะมีความเชื่อในการนับถือภูตผีวิญญาณ เจา้ ท่ี เจ้าป่า เจา้ เขา มาต้ังแต่บรรพ บุรุษ เมื่อเจ็บป่วยจึงเช่ือว่าเป็นการกระทาล่วงเกินผี จึงเล้ียงผีเป็นการขอขมาโทษ การที่จะรู้ว่าไม่ ล่วงเกินผีประเภทใด ณ ที่ใดจะให้หมอผีเสยี่ งทาย ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ใช้กระดูกไก่ ใช้ข้าวสาร การจับชีพจร ของผู้ป่วย ผีเรือนหรือผีบรรพบุรษ เป็นผีอีกประเภทท่ีชาวกะเหร่ียงเชื่อถือ เช่ือว่าเป็นผีท่ีให้ความ คุ้มครองครอบครัว จะใช้ไก่หรือหมูเป็นเครื่องเซ่นไหว้ จะเห็นว่าจะมีการเล้ียงหมูไว้เลี้ยงผีประจา ครอบครวั จะขายหรือทาอยา่ งอ่นื ไม่ไดน้ อกจากใช้เล้ยี งผีเรือนเทา่ น้ัน

438 การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพื้นท่สี ูงในอดีตและปัจจบุ นั 133..ศศูนูนยยพ์ พ์ ฒั ฒั นนาราารษาฎษรฎบรนบพน้นื พท้ืนสี่ ทงู จีส่ งั งู หจวังัดหเชวียดั งเชราียยงราย บ้านแชสุมนเชจนริญที่ 2ห5มู่ทบ่ี า้1น0แตสานบเจลรวญิ าวหี อมาู่ทเภี่ 1อ0แมตส่�ำ บรวลยวาจวังีหอวำ�ัดเภเชอียแงมรส่ ารยวย จังหวัดเชียงราย 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของชุมชน หมู่บ้านแสนเจริญเก่า หมู่ 10 ตาบลวาวี อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เดิมช่ือหมู่บ้าน ห้วยป่าเคาะ หมู่ที่ 8 ตาบลแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เน่ืองจากมีป่าเคาะมาก ก่อต้ังหมู่บ้านข้ึน เม่ือปี พ.ศ.2506 ตรงกับปี อาเล่อ หรอื ปีกระตา่ ย นาโดยนายแสนเจริญ หรือชอ่ื ชนเผา่ อาขา่ วา่ อะบอ่ ลอ่ ง เจ่อ จูเปาะ ไดน้ าชาวบา้ นจากบา้ นคะแย (ปจั จุบนั คอื บ้านห้วยไคร้ อาเภอแม่ฟ้าหลวง) จานวน 17 หลงั คาเรือน ได้อพยพมาหาแหล่งท่ีทากินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ปี พ.ศ.2507 ได้มีหน่วยงานของภาครัฐเข้ามาครั้งแรก น่ันคือหน่วยประชาสงเคราะห์ ประจาหมู่บ้าน ปี พ.ศ.2508 ได้มีเจ้าหน้าท่ีจากอาเภอข้ึนมาแต่งตั้ง ผู้ใหญ่บ้านและคัดเลือกนายแสนเจริญซึ่งเป็นหัวหน้าชนเผ่าเป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ปี พ.ศ. 2512 นายอาแซอะ จูเปาะ ก็ได้ข้ึนมาเป็นผู้ใหญ่บ้านแทนนายแสนเจริญ จึงเป็นชื่อหมู่บ้านจากห้วยป่าเคาะ มาเป็นบ้านแสนเจริญเพ่ือเป็นเกียรติแก่อดีตผู้นา ปี พ.ศ.2522 ได้เปลี่ยนช่ือหมู่บ้านจากห้วยป่าเคาะ เป็นบ้านแสนเจริญอย่างเป็นทางการใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ.2414 ได้มีถนนเข้ามาหมู่บ้านครั้งแรก พ.ศ.2527 ได้มีคณะครูและนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยรามคาแหงมาสร้างโรงเรียนและตั้งชื่อโรงเรียน วา่ โรงเรยี นบ้านแสนเจริญ ภมู อิ ากาศอยู่ในโซนร้อน แบบฝนเมืองร้อน ฝนโดยเฉล่ีย 1,230 มม.ตอ่ ปี ปา่ ชมุ ชนมีความอุดมสมบูรณ์ มแี นวเขตการใชป้ ระโยชน์ชัดเจน ผูน้ าชมุ ชน มี - ผู้ใหญ่บ้าน จานวน 1 คน - ผชู้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น จานวน 3 คน - สมาชกิ อบต. จานวน 2 คน ผูน้ าชุมชน แบง่ ออกเป็น 11 หมวด คอื หมวดท่ี 1 ผอู้ าวุโสในชมุ ชน 1.1 ผู้อาวโุ สในชมุ ชน(ผเู้ ฒ่าผู้แก่) เปน็ ผู้ทมี่ าต้งั ถิ่นฐานตั้งรกรากจึงเกิดข้ึนเปน็ ชุมชนซึ่งทาให้ ทกุ คนมบี ้านเรือนอยจู่ นถึงปัจจบุ นั 1.2 ผู้อาวุโสในชุมชนเป็นบุคคลที่คนในชุมชนให้ความเคารพนับถือ การที่ผู้อาวุโสไกล่เกล่ีย ปัญหาใดๆก็ตามให้ทกุ คนยอมรับผลการไกล่เกลีย่ ในเร่ืองน้นั 1.3 บุคคลหรือกลุ่มใดไม่ยอมรับผลการไกล่เกล่ียในเรื่องนั้น จากผู้อาวุโสและฝ่ายปกครองในชุมชน บคุ คลนนั้ หรอื กลมุ่ นัน้ ต้องมาขอขมาผู้อาวโุ สและตอ้ งเสยี ค่าปรับ 500-1000 บาท ตามท่ีกฎชมุ ชนได้วางไว้ หมวดท่ี 2 การจัดสรรที่ดนิ ทอ่ี ยู่อาศยั 2.1 การจัดสรรที่ดินท่ีอยู่อาศัยคณะกรรมการหมู่บ้านจะเป็นผู้กาหนดสถานท่ีในการสร้าง บ้านและกาหนดทีด่ นิ จานวน 2 งานต่อหนง่ึ ครอบครัว 2.2 บุคคลท่ีมีบ้านอยู่แล้วมีความประสงค์จะสร้างบ้านหลังใหม่บนที่ดินบ้านหลังเดิมต้อง ให้บคุ คลที่เข้ามาอย่แู ทน ไมม่ กี ารซอื้ ขายและบ้านทีจ่ ะสร้างใหม่ ไม่ให้บุคคลนั้นเปน็ ผเู้ ลอื กตามใจชอบ คณะกรรมการหมูบ่ ้านจะเป็นผูจ้ ัดสรรท่ดี ินให้

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้นื ทส่ี ูงในอดีตและปจั จบุ นั 439 2.3 บุคคลใดท่ีสร้างบ้านไว้แล้วขายบ้านพร้อมที่ดิน ให้บุคคลน้ันต้องซื้อท่ีดินที่อยู่อาศัย ทคี่ ณะกรรมการจัดสรรเอาไว้ งานละ 1,5000.- บาท 2.4 คณะกรรมการหมู่บ้านได้จัดสรรที่ดินที่อยู่อาศัยให้กับบุคคลท่ีมีความประสงค์ที่จะสร้าง บา้ นไวแ้ นวเดียวกนั เพื่อให้เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย หมวดท่ี 3 การลกั ทรพั ย์ บุคคลใดท่ีลักทรัพย์สินผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาตบุคคลน้ันตอ้ งชดใช้หน่ึงเท่าของมูลค่าทรัพย์นัน้ ๆ ให้แก่เจ้าของ และต้องขอขมาให้กับผู้อาวุโสในชุมชนโดยต้องเสียค่าใช้จ่ายดังน้ี ค่าหมู 2,000 บาท ขา้ วสาร จานวน 2 ถัง คา่ เหล้า 10 ขวด ตามท่กี ฎชุมชนกาหนด หมวดท่ี 4 การทะเลาะวิวาท 4.1 บุคคลใดเสพของมึนเมาหรือไม่เสพก็ตาม ไปทาให้ผู้อ่ืนได้รับบาดเจ็บบุคคลนั้นต้องเสีย คา่ ปรบั 1,000-1,500 บาท และต้องชดใช้ค่ารักษาพยาบาล ค่าเสยี เวลา (100 บาท) คา่ เดนิ ทาง 4.2 บุคคลใดทาร้ายร่างกายผู้ห้ามจนได้รับบาดเจ็บบุคคลนั้นต้องเสียค่าปรับ 2,000 บาท พร้อมทั้งตอ้ งชดใช้ตามขอ้ หน่ึง 4.3 บุคคลใดยุแหย่ให้บุคคลอ่ืนผิดต่อกันจะถูกปรับ 500 บาท และจะสอบสวนบุคคลนั้นถึง ความประสงคท์ ่ีทา หมวดที่ 5 การซอื้ ขายในชุมชนและนอกชมุ ชน 5.1 ห้ามบุคคลใดตัดไม้ภายในรัศมีหนึ่งกิโลเมตรในบริเวณชุมชน โดยเฉพาะไม้ผลป่า เช่น มะเกย๋ี ง, มะม่วง,มะแฟน ฯลฯ จะตอ้ งเสยี ค่าปรบั 3,000-5,000 บาท และจะยึดไมเ้ ป็นของสว่ นรวม 5.2 ห้ามบุคคลใดตัดไม้ภายในเขตหมู่บ้านโดยยึดหลักแนวเขตอุทยานแห่งชาติให้กับ บุคคลภายนอก บคุ คลนนั้ ตอ้ งเสยี คา่ ปรับ 10,000บาท พรอ้ มท้งั ยดึ ไม้เปน็ ของส่วนรวม 5.3 บคุ คลใดมีความประสงค์ท่ีจะตดั ไมเ้ พอื่ สรา้ งบ้านให้บุคคลนนั้ แจง้ กบั คณะกรรมการ หมู่บา้ น แต่หากบุคคลผตู้ ัดไม้ถูกจบั จากทางการ คณะกรรมการหม่บู า้ นและฝ่ายปกครองไม่รับผดิ ชอบ ในทางคดีใดๆทั้งส้ิน ใหท้ างการดาเนนิ คดีตามกฎหมายต่อไป 5.4 ห้ามบุคคลภายนอกเข้ามาตัดต้นไม้และไม้ไผ่ในบริเวณชุมชน บุคคลน้ันต้องเสียค่าปรับ 3,000 - 10,000 บาท หมวดที่ 6 การยืมอุปกรณเ์ ครอ่ื งครัวของชมุ ชน 6.1 บุคคลใดที่มีความประสงค์ที่จะยืมอุปกรณ์เคร่ืองครัว (เก้าอ้ี เต้นท์) จะต้องเสียค่าบารุง 50 บาท/ครั้ง หากเกินห้าวันไม่เกินสิบวันต้องเสียค่าบารุง 100 บาท และหากได้รับความเสียหาย ให้ผยู้ มื ตอ้ งชดใชต้ ามจานวนท่ีเสยี หาย 6.2 การยืมเครื่องครวั ในแต่ละครั้งจะต้องมีการตรวจนับจานวนก่อนยืมและหลังคืน ถ้าของไมค่ รบ ใหม้ ีการชดใชต้ ามจานวน หมวดที่ 7 การยิงปืนในทชี่ ุมชน 7.1 บุคคลใดยิงปืนในชุมชนโดยไม่ได้รับอนุญาตต้ังแต่เวลา 19.00 เป็นต้นไปต้องเสียค่าปรบั 500 บาทต่อหนึ่งนดั 7.2 บุคคลใดยิงปืนด้วยเหตุจาเป็นบุคคลนั้นไม่ต้องเสียค่าปรับแต่ต้องแจ้งวันรุ่งขึ้นกับ คณะกรรมการหมู่บ้าน,ผู้ใหญ่บ้าน .ผู้ช่วย, ผรส

440 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ทส่ี ูงในอดีตและปจั จุบัน 7.3 ห้ามบคุ คลที่อายยุ ังไมถ่ งึ 15 ปีบรบิ ูรณ์ พกพาอาวธุ ปืนในชมุ ชน 7.4 บุคคลใดชักชวนคนใบ้ หูหนวก หรือบุคคลท่ีไม่สมประกอบไปทามิดีมิร้ายให้บุคคลนั้น รับผิดชอบสิง่ ท่ีเกดิ ข้นึ หมวดท่ี 8 ยาเสพตดิ 8.1 ห้ามบุคคลภายนอกนาสิ่งเสพติดเข้ามาในชุมชนหากจับได้บุคคลน้ันต้องเสียค่าปรับ 5,000- 10,000 บาท และคณะกรรมการหมู่บ้านจะจบั สง่ เจ้าหนา้ ทีต่ ารวจเพ่ือดาเนินคดีตามกฎหมาย 8.2 ห้ามบุคคลในชุมชนขายสิ่งเสพติด หากมีบุคคลฟ้องร้อง ฝ่ายปกครอง คณะกรรมการ หมู่บ้านจะทาการตรวจค้น ดังที่มีการฟ้องร้อง หากตรวจพบส่ิงผิดกฎหมายต้องเสียบค่าปรับ 5,000- 10,000 บาท และให้รางวัลกับผูแ้ จ้งเบาะแส 10% ของเงินรางวัล และหากบุคคลนั้นไม่ยินยอมจะจบั สง่ เจ้าหน้าท่ีเพ่ือดาเนนิ คดีตามกฎหมาย 8.3 บุคคลใดท่ีเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้รับการถูกตักเตือนจากผู้อาวุโส ฝ่ายปกครอง และคณะกรรมการหมู่บ้านแล้วหากยังมีพฤติกรรมที่เก่ียวข้องอีก ครอบครัวนั้นจะไม่ได้รับการ ช่วยเหลอื จากชมุ ชน 5. หน่วยงานราชการ คอื โรงเรียนแม่ฮา่ งวทิ ยา,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแมฮ่ ่าง 6.สภาพเศรษฐกิจ กลุ่มอาชีพหลักของคนในชุมชน คือเกษตรกรรม/รับจ้าง-เก็บของป่าขาย /ค้าขาย ส่วนด้านการเกษตรกรรม ปลกู ข้าว (ข้าวไร่,ข้าวนาดา) ข้าวโพด,ผักกาด,มนั สาปะหลัง แหล่งรายได้ คือ พืชผลทางการเกษตร หาของปา่ รบั จ้าง ค้าขาย 7. ศิลปะหัตกรรม คือ ผ้าทอก่ีเอว ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าชาย-หญิง ถุงย่าม ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าช้ิน ต่างๆ เพื่อแปรรูป กระเป๋าอ่ืนๆกลุ่มทอผ้า ได้รับการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน และได้ผ่านการ รองรับมาตรฐาน(มผช.) ได้รับคัดสรรผลิตภัณฑ์ 2 ครั้ง ได้โอทอป (5 ดาว)โอทอป(4ดาว) กาจักสาน ทาผกั มดี ตระกล้า กว๋ ย ไม้กวาด 8. สภาพสังคม มีสถานศึกษาคือ โรงเรียนแม่ฮ่างวิทยา,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่ฮาง มีโบสถ์ ศาสนาครสิ ต์ ลัทธิโปรตสแตน มสี ัญลักษณ์ไมก้ างเขน คสมสัมพนั ธ์ ระบบเครือญาติ มกี ารนับถือ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม,่ ลูกหลาน นบั ถือผูอ้ าวุโสกว่าเปน็ หลกั อัตลักษณ์ความเป็นชนเผ่า 3 เผ่า คือ กะเหรี่ยง,อาข่า,มูเซอ อัตลักษณ์ คือภาษาพูด การแต่งกาย ไม่เหมือนกัน 9. การสาธารณสุข/สุขภาพคนในชุมชน คนส่วนใหญ่มีสุขภาพใจอยู่ในระดับที่ดีประชาชนมรการอยู่ กนิ ตามธรรมชาติ มีโรคพ้ืนบ้านเปน็ ระบบทางเดนิ หายใจ ระบบทางเดินอาหาร กลา้ มเน้อื โรคผิวหนัง รักษาเบือ้ งตน้ โดยใชส้ มุนไพรต้มดม่ื ประคบ/อบดว้ ยสมุนไพพร สมุนไพรพืน้ บา้ น คือ -เปลอื กต้นมะขามป้อม/ลูกมะขามปอ้ ม สรรพคณุ แกไ้ อ,แก้เจ็บคอ -เปลอื กลนิ้ ไฟ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนงั ,แกค้ นั -ชมุ เหด็ เทศ สรรพคณุ แก้โรคผิวหนัง,กลากเกล้ือน -ขมน้ิ /ไพร สรรพคุณ แกท้ อ้ งอดื ,ท้องเฟ้อ -ใบฝร่ัง สรรพคณุ แก้ท้องร่วง

การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ท่สี งู ในอดตี และปจั จบุ นั 441 หมอพ้ืนบ้าน คือ หมอนวดแผนโบราณ นวดจับเส้น (นายเดช ยาง และนางบุญทา มีจีรักษ์) อาการปวดหัว ตัวรอ้ น มีไข้ ใชส้ มุนไพรรกั ษา 10. วัฒนธรรม / ประเพณี มี วัฒนธรรมชนเผ่า มีอยู่ด้วยกัน 3 เผ่า วัฒนธรรมท่ีแตกต่างกันคือ การแต่ง กายและภาษาพูด ประเพณีพื้นบ้าน วันคริสต์มาส(วันประสูตพระเยซู),วันอิสเตอร์(วันคืนพระชนของพระเยซ)ู , วันข้ึนปีใหม่ การแต่งงาน วันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันนมัสการการลงงาน(วันเกิด/พิธีศพ/ แต่งงาน) แนวทางปฏิบัติ ใช้พิธีทางศาสนาด้วยการนมัสการพระเจ้า ร้องเพลงสรรเสริญ พระเจ้า อธิฐาน ฟังคาเทศนาตามหวั ข้องานท่ีจัดหรือเกยี่ วข้องกัน เสรจ็ พิธที างศาสนา ชมการแสดงรบั ประทายอาหาร ร่วมกนั มศี ลิ ปะการแสดง คือ แสดงบทบาทในพระคัมภีร์ (วนั ครสิ มาส, วนั อสิ เตอร์, วนั ขึ้นปใี หม่) มกี ารราประกอบเพลง(พิธีต่างๆ) มี การรากรนู า(วิถีชีวติ กะเหร่ยี ง) พธิ ตี ่างๆตามเทศกาล มี การฟ้อนราดาบ การแตง่ กาย ชายผา้ โพกหวั ทงั้ เดก็ และผใู้ หญ่ หญงิ (ที่สมรสแล้ว) เสื้อมีลวดลาย ตกแต่งดว้ ยสตี ่างๆเน้นสแี ดงหรือดาปักดว้ ยสตี ่างๆสลับกับ ลูกเดือย ผ้าถุงพื้นสีแดง สลับด้วยสีต่างๆและด้วยมัดหมี่ท่ีเรียกว่าตัวหนอน โพกหัวด้วยผ้าโพกหัว หญิง (โสด) เดิมเป็นชุดสีขาวแต่งลายด้วยสีแดงเป็นหลัก ปัจจุบันใส่เส้ือผ้าถุงได้ แต่ไม่ใช่เสื้อพื้นสีดา แต่จะเป็นตามชอบตามวัยโพหกหัวด้วยผ้าโพกหัว มีสร้อยคอ ท่ีร้อยด้วยลูกปัดสีต่างๆ ต่างหูเป็นเงิน กลมๆคล้ายหัวไฟ (ปจั จบุ ันไมน่ ยิ มใส่กัน) การแต่งกายชุดประจาเผ่านี้ จะใส่เฉพาะในวันอาทิตย์และวันเทศกาลสาคัญเท่าน้ัน อาหารมี อาหารคาว มีแกงข้าวเยอะ แกงเย็น หลามปลาส่วนอาหารหวาน ข้าวต้มทรงกรวย ห่อด้วยใบดอก หญ้าใบก๋ง ข้าวต้มห่อด้วยใบตอง ขนมท้ังสองอย่างน้ี ถ้าหากมีกล้วยสุข เมล็ดถั่วลิสง ถั่วดา ถั่วแดง อย่างใดอย่างหน่ึงมาผสมกับข้าวแล้วห่อจะเพิ่มรสชาติและความอร่อย ข้าวปุก คือข้าวเหนียวดาคลุก ด้วยงาขาว งาดา เกลือเม่ือตาเสร็จ รับประทานร้อนๆกับน้าชา หรือนาไปแผ่เป็นแผ่นบางๆตัดเป็นชิ้น สีเหล่ียมเล็กๆ ผึ่งให้แห้ง นาไปทอดหรือปิ้งจิ้มด้วยนมข้นหวาน มีเคร่ืองด่ืม น้าชา น้าตะไคร้น้ามะตูม น้ากระเจี๊ยบ 11. ประเด็นปัญหาของราษฏรบนพน้ื ทีส่ งู คือ -ท่ที ากิน ไมม่ เี อกสารสิทธ์ิ -ลกู หลานไปเรียนหนังสือจบแล้ว ไปทางานนอกหม่บู า้ น 40 คน -ผลผลติ ทางการเกษตร ราคาถูก ตน้ ทุนการผลติ สูง เช่นการปลูกข้าโพด มี -นา้ ด่มื น้าใช้ ไมส่ ะอาดและไม่เพียงพอ -ต้องการประปาภูเขาเพอ่ื การเกษตรบนพน้ื ทีส่ ูง(เกษตรผสมผสานแบบกสกิ รรมธรรมชาติ) -ต้องการทีกกั เก็บน้าเพอื่ การเกษตร -ตอ้ งการกล้าไม้พนั ธ์ุต่างๆ กลา้ กาแหทเ่ี หมาะสมกบั พนื้ ท่ีทม่ี ีความสงู จากนา้ ทะเล 600 เมตร -ปัญหายาเสพตดิ มีผ้คู า้ อย่ใู กลก้ บั ชมุ ชน -แนวเขตระหวา่ งหมูบ่ า้ นกับเขตป่าไมไ้ ม่ชัดเจน -ปัญหาหน้สี ิน

442 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ท่สี ูงในอดตี และปัจจุบนั 12. ผลจาการพูดคยุ สนทนากบั ชาวชุมชนบ้านแมฮ่ ่าง อพบว่าชาวบ้าน -ต้องการให้มีการส่งเสริมด้วนวฒั นธรรม ประเพณีใหด้ ีขนึ้ -ไมต่ ้องการใหค้ นในชมุ ชนยุ่งเกี่ยวกับยาเสพตดิ และอยากให้หมดไปกับชมุ ชน -ตอ้ งการใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ บา้ นเมอื งมีความสงบสุข -ให้รฐั จดั พน้ื ทที่ ากินให้กับราษฏรบนพน้ื ทีส่ งู สามารถปลกู ปา่ ได้ โดยภาครัฐไมย่ ดึ คนื สามารถ อยู่กับป่าอยา่ งมีความสขุ -สนับสนุนความเป็นอยู่ของราษฎรบนพืน้ ทส่ี งู -ให้ความรู้ด้านกฎหมายและความรู้ด้ายอื่นๆให้มากขึ้น และจัดทุนการศึกษาหรือโควต้าไป เรียนต่างปะเทศ จนกลบั มาจะไดพ้ ัฒนาชุมชนและประเทศไทยร่วมกัน

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้นื ทสี่ ูงในอดีตและปจั จุบัน 443 ช2มุ 6ช) นชทุมชี่ 2น6บา้บนา้ แนมแย่ มางย่ มา้นิงมหน้ิ มู่ทห่ีม4่ทู ตี่ 4าบตล�ำ ศบรลีถศอ้ รยีถ้ออยาเอภำ�อเแภมอ่สแรมวส่ ยรวจยงั หจวงั ัดหเวชดั ียเงชรยี างยราย ประวัติความเปน็ มาของชมุ ชน บ้านแม่ยางม้ิน เมื่อปี 2452 ประชากรในหมู่บ้านเป็นชาวเขาเผากะเหร่ียง อพยพมาจาก จังหวดั เชียงใหม่ โดยการนาของนายพาตดี้ ้ดู ู ฯ บ้านหว้ ยเฮยี้ จานวน 48 คน 12 หลังคาเรอื น ตอ่ มาได้ ที่ย้ายมาจากบ้านห้วยเฮี้ย เน่ืองจากคนเมืองในพ้ืนท่ีได้ย้ายเข้ามาทากินใกล้หมู่บ้าน ได้เข้ามารบกวน ในการประกอบพธิ ีกรรม และไดม้ กี ารฝ่าฝืนประเพณีของชาวเผา่ กะเหรี่ยง ชาวกะเหรี่ยงบ้านท่าเก้าล้าน ได้แยกกันเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกตั้งบ้านอยู่ทางทิศเหนือ ประมาณ 1 กิโลเมตร สาเหตุท่ีย้ายเนื่องจากมีพื้นท่ีทากินอยู่ที่น้ัน โดยการนาของนายแดง ขุนวาส ผู้นาทางพิธีกรรม ร่วมกับนายต๊ิบเต๋จ๊ะ กลุ่มที่สอง นายอ้าย เต๋จ๊ะ ผู้นาทางพิธีกรรมเป็นแกนนา ยา้ ยมาจากทิศใตป้ ระมาณ 1.5 กโิ ลเมตร ลงมาอยู่ ณ บา้ นหว้ ยหกนอ้ ย ตอ่ มาในปี พ.ศ.2530 ได้มีการ แยกหย่อมบ้านในเขตลุ่มน้าแม่ยางมิ้นออกจากหมู่บ้านห้วยเฮ้ีย ต้ังเป็นหมู่บ้านใหม่ คือ หย่อมบ้านแม่ยาง หมู่ที่ 14 ต่อมาได้มีการแบ่งเขตการปกครองใหม่ บ้านแม่ยางมิ้น จึงเปลี่ยนจาก หมู่ 14 เป็นหมู่ที่ 4 บ้านแมย่ างมนิ้ ตาบลศรถี ้อย อาเภอแม่สรวย จังหวดั เชียงราย มีถนนตัดผ่านหมู่บ้าน แต่ถนนยังไม่ได้ลาดยาง อนาคตคาดว่าจะมี ถนนลาดยาง การจราจร ไดส้ ะดวกมากขน้ึ มีฝนตกตอ้ งตามฤดูกาล ป่าไม้ชุมชนอุดมสมบรู ณม์ ีแนวเขตการใช้ประโยชน์ชดั เจน - ผู้นาชุมชน (ท้ังผู้นาตามธรรมชาติและผู้นาแบบทางการ) คือ - ผู้ใหญบ่ ้าน - ผูช้ ว่ ยผ้ใู หญ่บ้าน - สมาชิกองคก์ ารบริการส่วนตาบล และ ผ้ชู ่วยรกั ษาความสงบ ปจั จุบันบา้ นแม่ยางมิ้นมจี านวน หลงั คาเรอื น 83 หลงั คาเรอื น จานวนประชากรท้งั หมด 363 มีระเบียบชุมชน คือห้ามมินาไม้มาขาย ไม่ว่าจะเป็นไม้เน้ือแข็ง หรือไม้ยืนต้น ไม้ซาง ไม้บง ไม้ไร่ แตก่ ส็ ามารถนาไมล้ ้มแหง้ มาทาฟนื ได้ กตกิ าในชมุ ชน เชน่ - หา้ มกา๋ นหรือถากไม้ หรอื ทาการอย่างใดอยา่ งหน่ึง เพือ่ ให้ต้นไมต้ าย - ห้ามบคุ คลภายนอกนอกหมู่บ้านเข้าไปหาของปา่ ทุกชนดิ ในเขตป่าอนรุ กั ษ์ - หา้ มเผาถ่านหรือตัดตน้ ไม้ทุกชนดิ ในเขตป่าชุมชน และป่าอนุรกั ษ์ - หา้ มถางไร่และเลี้ยงสัตว์ในเขตป่า แตส่ ามารถหาอาหารและสมนุ ไพรบางอยา่ งได้ - หา้ มจุดไฟเผาปา่ อย่างเดด็ ขาด ให้เจา้ ของไรท่ าแนวกนั ไฟทกุ ครงั้ ที่เผาไร่ เพอื่ ป้องกนั ไฟลุกลาม ห้ามตัดหวายต๋าวเชือง กลว้ ยปา่ หนอ่ ไมเ้ ขตป่าอนรุ ักษ์ อนุญาตให้มีการตัดต้นไม้เพ่ือใช้ในการปลูกสร้างบ้านเรือน โรงเรียน วัด โบสถ์ อาคาร ส่วนรวมของหมู่บ้าน ในกรณีสร้างใหม่ ซ่อมแซม ปรับปรุงโดยตัดในเขตป่าชุมชนใช้สอยเท่าน้ัน ซ่ึง จะต้องได้รับ การพิจารณาจากคณะกรรมการป่าชุมชนของหมู่บ้านก่อนทุกกรณี การทาไร่ต้องอยู่ใน ขอบเขตที่คณะกรรมการจัดสรรให้ ห้ามล่าสัตว์ในเขตป่าอนุรักษ์ จะต้องมีการทาแนวกันไฟป่าทุกปี ประมาณ เดือนกุมภาพันธ์-เดือนมีนาคม ตั้งเวรยามตรวจป่าวันละ 4 คน ชาวบ้านในชุมชนช่วยกัน

444 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพนื้ ท่ีสูงในอดตี และปจั จุบัน ดูแล สอดส่องป้องกันรักษาอย่างจริงจังและต่อเน่ือง ชาวบ้านและคณะกรรมการชุมชนต้องศึกษาหา ความร้เู ก่ยี วกบั ป่าชุมชน ประชาสัมพนั ธ์ให้กบั ชุมชนรอบนอก ใหเ้ ข้าใจเกย่ี วกับการรักษาป่าเพอื่ ความ ร่วมมือกันในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้า เป็นท่ีตั้งของหน่วยพัฒนาสังคมบนพ้ืนท่ีสูงบ้านแม่ยางมิ้น กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ข้าวโพด ลาไย มันสาปะหลังมีศิลปหัตถกรรม คือ ผ้าทอกะเหร่ียง สภาพสังคม มี สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก 1 แห่ง ประชาชนนับถือ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ กะเหร่ียงถือผีฝ่ายแม่ คือการลาดับญาติทางฝ่ายแม่ ลักษณะ ความเป็นเครอื ญาติของกะเหรี่ยง เปน็ ดงั น้ี - ญาติลาดบั ท่ี 1 พ่นี อ้ งท้องเดยี วกนั (ดอ-ปี่อ-แหว่) (แตง่ งานกนั ไมไ่ ด้) - ญาติลาดับท่ี 2 พ่อแมเ่ ป็นพี่นอ้ งกัน (เตอ-เตอะ-ควา) (แต่งงานกันไม่ได)้ - ญาตลิ าดับที่ 3 ปยู่ ่าตายายเป็นพี่น้องกัน (ค/ี เตอะ-ควา) (แต่งงานกนั ไมไ่ ด)้ - ญาติลาดบั ที่ 4 ทวดเป็นพี่น้องกัน (เซอ-เตอะ-ควา) แต่งงานกนั ได้ อัตลักษณ์ความเป็นชนเผ่ากะเหร่ียง คือ การแต่งกาย ,ภาษาพูด-เขียน,ประเพณี,อาหาร สุขภาพคนในชุมชนของราษฎรบนพ้ืนท่ีสูง มีสุขภาพกายใจดี มีการรักษาสุขภาพตามความเชื่อ และรักษาตามบรกิ ารตามของรฐั สมัยใหม่ มีสมุนไพรพื้นบ้าน คือ -ขงิ ,ขา่ ,ตระไคร,้ มะขามป้อม,แกอ้ าการไอ -ปูเลย,หญ้าตดหมา แกอ้ าการเจบ็ ท้อง,ทอ้ งอืด -หญ้าวงวาย ใช้รักษาแผลกระเพาะ , ห้ามเลอื ด -ไม้เปา้ ,ไม้ผาแป้ง แก้อาการปวด -ชา้ งหัวหมู,ช้างปอย,ชา้ งคนา แก้รอ้ นใน -เปลอื กไม้ลมแลง้ ,เปลอื กไม้พุทรา แก้อาการปวดฟนั - มีหมอพ้ืนบ้าน คือหมอสมุนไพร ใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้านในการรักษา หมอผี ใช้พิธีกรรมทาง ศาสนาในการรักษา มีวัฒนธรรมชนเผ่าของกะเหรี่ยง วัฒนธรรมการแต่งกาย,การพูด มีประเพณี พน้ื บา้ น คอื ผูกข้อมือ วนั ศริสตมาส กินข้าวใหม่ (กนิ วอ) กะเหร่ียงทอผ้าจนเป็นวัฒนธรรมประจาเผ่า เส้ือเด็กและหญิงสาวจะเป็นชุดทรงกระสอบ ผ้าฝ้ายพื้นขาว ทอหรือปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่วนหญิงท่ีมีครอบครัวจะสวมเส้ือสีดา สีน้าเงิน และผ้านุ่งสีแดงคนละท่อน ตกแต่งด้วยลูกเดือย หรือทอยกดอก ยกลาย สาหรับผู้ชายกะเหร่ียงนั้น ส่วนมากจะสวมเส้ือตัวยาวถึงสะโพก ตัวเสื้อจะมีการตกแต่งด้วยแถบไม่มีการปักประดับเหมือน เสอื้ ผู้หญงิ นงุ่ กางเกงสะดอ นยิ มใชส้ รอ้ ยลูกปดั เปน็ เครอ่ื งประดับ และสวมกาไลเงินหรอื ต้มุ หู อาหารพ้นื บ้าน เช่น - ต่าพอเพาะ : แกงขา้ วเบ๊อะ - มสึ า่ โต่ถอ่ น่ออึ : น้าพริกถ่ัวเน่า - มึส่าโต่ ห่อวอ่ : นา้ พริกห่อวอ - โกะเมตอ : ข้าวต้มมดั ใบกง๋ - เมโต่พิ : ขา้ วปุ๊ก

การวิจัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพื้นท่สี งู ในอดตี และปจั จุบนั 445 ประเด็นปญั หาของราษฎรบนพ้ืนทส่ี งู เชน่ - ชุมชนบา้ นแมย่ างมน้ิ ยังไม่มถี นนลาดยาง (ฤดูฝน) - ราคาผลผลติ ทางเกษตรตกตา่ - ชมุ ชนไม่มที ท่ี ง้ิ ขยะ(ไมม่ รี ถเกบ็ ขยะ) - นา้ อปุ โภค ไม่เพยี งพอ

446 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพ้ืนที่สงู ในอดีตและปัจจบุ ัน 1ช214ุม74.).ชศศชนนูนูมุทยยช่ี ์พ2์พน7บฒัฒั ้านบนนา้าาปรนราาาปษงษปาฎฎงเูรลปบราบูเนะลนพาหพน้ืะมทนื้ ูท่ห่สีท่ีม1งู่สี ู่ทจ3งู ่ีังจ1ตหัง3าวหบัดตวลพ�ำัดศะบพรเยลถีะาศ้อเยรยาีถอ้อายเภออำ�แเภมอใ่ จแมจใ่ังจหวจัดงั พหะวเัดยพา ะเยา 1.ประวตั คิ วามเป็นมา บา้ นปางปูเลาะ หมทู่ ่ี 13 ตาบลศรถี ้อย อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา เปน็ ชมุ ชนที่ประชาชนเป็น ชาวเขาเผ่าเย้า (เม่ยี น) ซึง่ อพยพมาจากประเทศจีน เน่อื งมาจากปัญหาสงคราม และความยากจน ประชากรของ หมู่บ้านส่วนใหญ่ย้ายมาจากบ้านป่าคา ตาบลวังแก้ว อาเภอวังเหนือ เดิมรวมเป็นหมู่บ้านอยู่ท่ีบ้านผา แดง หมู่ท่ี 10 ตาบลศรีถ้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้มีการย้ายถิ่นฐานมาตั้งรกรากใหม่บริเวณห้วยหาญ ฟ้า โดยแกนนาของนายเหวิ่นต๊ะ แซ่โฟ้ง ย้ายเข้ามาครั้งแรก จานวน 50 ครัวเรือน ในปี พ.ศ.2504 ไดย้ ้ายเขา้ มาอาศยั ในพ้นื ที่บ้านปางปเู ลาะปัจจุบนั โดยมีนายเลาเหลอ แซ่จ๋าว เปน็ ผู้นา บ้านปางปูเลาะ เดิมมีชื่อว่า “บ้านปู่ล่อ” โดยตั้งตามชื่อของพ่อค้าชาวจีนช่ือ นายปู่ล่อ ซึ่งอพยพมาอาศัยอยู่บริเวณท่ีตั้งหมู่บ้าน โดยมีอาชีพทาสวนเมี่ยงขาย เมื่อได้เสียชีวิตลงจึงได้ฝังศพ ในบริเวณหมู่บ้าน ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนไปเป็น “ปางปูเลาะ” และได้รับการแต่งตั้งเป็นหมู่บ้าน เปน็ ทางการเม่ือปี พ.ศ.2513 โดยมีนายสมลนุ แซล่ ี เป็นผู้ใหญ่บา้ นคนแรก 2. ภูมปิ ระเทศ 2.1 อดีต ลักษณะภูมิประเทศของบ้านปางปูเลาะในอดีต เน่ืองจากเป็นชุมชนท่ีอาศัย อยู่บริเวณพ้ืนท่ีต้นน้ากว๊านพะเยา ทั้งยังอยู่ในบริเวณเขตอุทยานแห่งชาติดอยหลวง จึงมีลักษณะ เป็นพื้นที่ภูเขาสูง สลับซับซ้อน พื้นท่ีอยู่สูงกว่าระดับน้าทะเลปานกลาง เฉลี่ยประมาณ 800 เมตร มีเส้นทางการคมนาคมท่ีไม่สะดวก เป็นถนนดิน ในช่วงฤดูฝนจึงเป็นโคลน ไม่สามารถสัญจร ไดโ้ ดยสะดวก 2.2 ปัจจุบัน ลักษณะภูมิประเทศยังเป็นพื้นท่ีภูเขาสูงสลับซับซ้อน แต่เส้นทางการคมนาคม ขนสง่ ดขี นึ้ กว่าอดีตมาก ถนนเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3.3 แนวโน้ม / อนาคต การพัฒนาในปัจจุบัน อาจส่งผลให้เกิดการพัฒนาด้านการคมนาคม ขนสง่ ซงึ่ ส่งผลโดยตรงกบั การพฒั นา หรอื การปรบั เปลยี่ นพน้ื ทีโ่ ดยเครอ่ื งจักรขนาดใหญ่ 3. ภมู อิ ากาศ 3.1 อดีต ด้วยการที่ชมุ ชนอยบู่ นพ้ืนที่สูง จึงทาให้มีสภาพภูมิอากาศที่เย็นตลอดปี ในช่วงฤดูหนาว มอี ากาศหนาวจดั เป็นอปุ สรรคต่อการดาเนินชีวติ ของชาวบา้ น 3.2 ปจั จบุ ัน สภาพอากาศยังเหมือนดังเช่นอดตี แต่ในช่วงฤดรู อ้ น ค่อนขา้ งรอ้ นเพิม่ ข้นึ กวา่ อดีต 3.3 แนวโน้ม / อนาคต จากสภาพอากาศท่ีเปล่ยี นแปลงไป อาจทาใหอ้ ุณหภมู ใิ นอนาคตสูงข้นึ 4. สภาพส่ิงแวดล้อมชุมชน 4.1 อดีต บ้านปางปูเลาะ ตั้งอยู่ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติดอยหลวง ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ป่าไม้ เบญจพรรณทม่ี คี วามสมบรู ณ์ เป็นพนื้ ทต่ี น้ น้า ส่งผลให้อากาศเย็นตลอดท้ังปี

การวิจัยการศึกษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ทสี่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั 447 4.2 ปจั จบุ นั สภาพสิง่ แวดลอ้ มไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงมากนัก เนอ่ื งจากไมม่ ีการบุกรุกพ้นื ที่เพิม่ จากอดตี แต่ดว้ ยการพฒั นาเกษตรแผนใหม่ของรฐั ทาใหป้ ระชาชนมกี ารใชส้ ารเคมที ่ีเขม้ ข้นกว่าอดตี มาก 4.3 แนวโนม้ / อนาคต ถ้ามกี ารบรหิ ารจัดการพน้ื ทที่ ี่ดี อาจทาให้การเปลย่ี นแปลงของ สภาพแวดล้อมน้อยลง 5. โครงสรา้ งชุมชน 5.1 โครงสร้าง / จานวนประชากร - ประชากร รวม จานวน 247 คน แยกเป็น ชาย 103 คน หญิง 80 คน เด็กชาย 30 คน เด็กหญงิ 34 คน จาก 58 ครอบครวั 56 หลงั คาเรอื น **ขอ้ มลู จากศูนย์พฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่ี สูงสารวจ ปี 2559 5.2 ผงั เมืองชมุ ชน - อาณาเขตพน้ื ท่ีตดิ ตอ่ ทิศเหนอื ตดิ กับ บา้ นผาแดง หมู่ท่ี 10 ต.ศรีถ้อย อ.แม่ใจ จ.พะเยา ทิศใต้ ตดิ กบั ตาบลแม่สุก อ.แม่ใจ จ.พะเยา ทิศตะวันออก ตดิ กับ อาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง 5.3 หนว่ ยงานราชการ - เขตพัฒนาสังคมพ้ืนที่สูงปางปูเลาะ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดพะเยา เป็นอาคารสานักงาน เพอื่ ให้บรกิ ารให้คาปรกึ ษาและช่วยเหลือประชาชนในพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบ 3 หมบู่ า้ น ได้แก่ บา้ นปางปเู ลาะ บ้านผาแดง และบ้านป่าเมี่ยง - สถานบริการสาธาณสุขชุมชนบ้านปางปูเลาะ กระทรวงสาธารณสุข ให้บริการ ตรวจสขุ ภาพ และรักษาโรค ปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น แก่ประชาชนในพน้ื ท่ี 6. สภาพเศรษฐกจิ / อาชีพ 6.1 กลุ่มอาชีพ - กลมุ่ ผา้ ปักสตรีชนเผ่าเมยี่ น สมาชิก 40 คน - กลุ่มปุย๋ ยา สมาชิก 55 คน 6.2 การเกษตรกรรม - ขา้ วไร่ ปลกู ไวเ้ พ่อื รับประทานภายในครวั เรอื น ไมไ่ ดม้ งุ่ หวังทางเศรษฐกิจ - ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูก แต่ผลผลิตที่ออกมากค่อนข้างต่า ต้องมขี นาดของพ้ืนทป่ี ลูกเปน็ มาก ราคาตกต่า ไมส่ ามารถกาหนดราคาขายได้ และใชส้ ารเคมอี ย่างเขม้ ข้น - กาแฟ เป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านได้เป็นอย่างดี ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดพะเยา เป็นผู้เข้ามาส่งเสริมคร้ังแรก โดยทาโครงการความ ร่วมมือระหว่างประเทศไทย-นอร์เวย์ ชาวบ้านมีความเชี่ยวชาญในการปลูก การเก็บเกี่ยว คุณภาพ กาแฟสงู แตย่ งั ไมไ่ ดพ้ ัฒนาถงึ ข้นั คว่ั การออกเปน็ แบรนด์ สามารถส่งเสริมใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ได้ - ลิ้นจ่ี เป็นพืชเศรษฐกิจของหมู่บ้านท่ีสร้างช่ือเสียงให้แก่จังหวัดพะเยา บางปี มีปัญหาเรื่องผลผลิตล้นตลาด เน่ืองจากลิ้นจ่ีเป็นพืชที่ให้ผลผลิตท่ีพร้อมกัน จึงไม่สามารถทยอย

448 การวจิ ยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพนื้ ทส่ี ูงในอดีตและปัจจุบนั เก็บเกย่ี วได้ ราคาจึงตกต่า อีกทง้ั ลิน้ จ่เี ป็นผลไม้ที่ไมส่ ามารถเกบ็ ไว้ไดน้ าน จงึ ต้องเก็บเก่ียวและส่งขาย อย่างรวดเรว็ กอ่ นเกิดการเน่าเสีย 6.3 แหล่งรายได้ - การทาการเกษตรเป็นรายได้หลักของคนในชุมชน ทั้งการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กาแฟ และล้นิ จี่ - จากการรบั จา้ งทวั่ ไป เปน็ อาชีพเสรมิ ระหวา่ งรอชว่ งเพาะปลกู ประจาปี - จากอาชีพค้าขายนอกพื้นที่ ชาวบ้านปางปูเลาะ เป็นผู้ที่มีความชานาญเรื่องการ ทานา้ เตา้ หู้ ดงั นน้ั หลายครอบครวั จงึ ผนั ตัวจากครอบครัวเกษตรกรรม มาเปน็ การขายน้าเต้าหู้ในเขต ตัวเมืองพะเยา และตา่ งจังหวดั ซงึ่ สรา้ งรายไดใ้ ห้แกค่ รอบครัวได้เป็นอยา่ งดี 6.4 ศิลปหตั ถกรรม - ผ้าปักลายชาวเขาเผ่าเยา้ (เม่ียน) เป็นหัตถกรรมและหัตถศิลป์ท่ีแสดงถงึ อัตลกั ษณ์ และความงามของชาวเขาเผ่าเย้า ซ่ึงสตรีชาวเขาเผ่าเย้าทุกคนในหมู่บ้านหลังจากเสร็จจากกิจกรรม การทาเกษตรกรรมของแต่ละปี จะมีการรวมตัวกันปักผ้าลายเย้า(เมี่ยน) ท่ีมีความงดงาม โดดเด่น ด้วยสีสัน ลงบนผืนผ้าตาราง ส่วนหนึ่งเก็บไว้เพื่อนาไปตัดเย็บเป็นเคร่ืองนุ่งห่มชนเผ่า อีกส่วนหนึ่ง นาออกไปขายนอกหมู่บา้ น สร้างมลู ค่าและรายได้ใหแ้ กค่ รอบครวั ชาวเขาเผา่ เย้า บ้านปางปูเลาะ 6.5 ร้านค้า/สินค้า/ลานจาหนา่ ยสินค้า - รา้ นขายของชา จานวน 1 แห่ง 7. สภาพสงั คม 7.1 การศกึ ษา / สถานศึกษา - ศูนย์ส่งเสริมการเรยี นรู้ชมุ ชน 1 แหง่ - ทีอ่ า่ นหนังสอื ประจาหมูบ่ า้ น 1 แหง่ 7.2 ศาสนา / ความเชอื่ / ลัทธิ - ความเชื่อแบบดั้งเดิมของเย้าคือ ความเชื่อเกี่ยวกับผี (Animism) โดยเช่ือว่า ทุกหนทุกแห่งมีผีสิงสถิตอยู่ทั้งสิ้น มีทั้งผีดีและผีร้าย แต่ผีท่ีสาคัญและศักดิ์สิทธ์ิท่ีสุดคือ ผีใหญ่ ซึ่งมีทั้งหมด 18 ตน ในพิธีใหญ่จะมีการนาภาพผีใหญ่มาประดิษฐานในพิธีนั้นๆ และหมอผีผู้ประกอบ พิธีจะต้องแต่งตัวใส่ชุดใหญ่ด้วย เย้าเชื่อว่า มนุษย์เมื่อตายไปแล้ว วิญญาณจะเดินทางไปสู่โลก ของความตาย ซึ่งมีทั้งแดนท่ีดี คือแดนสวรรค์และแดนไม่ดีคือแดนนรก นอกจากนี้เย้ายังเชื่อว่า ตามร่างกายของคนเรานั้น มีขวัญประจาตัวอยู่ต้ังแต่แรกเกิด เรียกว่า “ขวัญเปี้ยง” เม่ือเด็กอายุได้ 12 ปี จะมีพิธีรับขวัญของคนหนุ่มสาว ซึ่งเช่ือว่ามีจานวน 11 ขวัญ ขวัญเหล่านี้ จะอยู่กับร่างกาย ตลอดไปจนกระท่ังตาย เม่ือตายไปแล้วก็จะกลายเป็นวิญญาณไปเกิดในภพใหม่ เย้าได้รับอิทธิพล วัฒนธรรมจีนเป็นอันมาก ไม่ว่าจะเป็นภาษาเขียน ภาษาพูด ปรัชญาชีวิต วรรณคดี และพิธีกรรม บางอยา่ งทีแ่ ฝงด้วยลัทธเิ ต๋า และมีคมั ภีรค์ าสอนทจ่ี ารึกดว้ ยอกั ษรจนี ดว้ ย

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพ้นื ทสี่ งู ในอดีตและปจั จบุ นั 449 7.3 ศาสนสถาน / สัญลกั ษณ์ ภาพเทพเจ้าของชนเผ่าเมยี่ น หรอื ผีใหญ่ฝ่ายดขี องชนเผ่าเมี่ยน มที ง้ั หมด 18 ตน ใช้ในพธิ ที ี่สาคญั เท่านั้น 7.4 ความสัมพนั ธ์ ระบบเครอื ญาติ - ชาวเขาเผ่าเม่ียนมีความสัมพันธ์ในระบบเครือญาติค่อนข้างเหนียวแน่น โดยมีการ นับถือผู้ใหญ่ และบรรพบุรุษท้ังท่ีมีอายุ และท่ีล่วงลับไปแล้ว จะมีการเซ่นไหว้ทุกปีในเทศกาลปีใหม่ หรอื ตรุษจีน มีการใช้ตระกลู แซ่เพ่ือแสดงถึงความสมั พันธร์ ะหวา่ งกัน เผา่ เยา้ หรอื เมย่ี นมีทง้ั หมด 12 ตระกูล แซ่ซ่งึ ตามตานานกล่าวว่าทั้ง 12 ตระกลู แซ่ เปน็ พน่ี ้องกนั ท้ังหมด 7.5 ความผกู พนั / อัตลกั ษณ์ความเป็นชนเผา่ - ชาวบ้านปางปูเลาะ เป็นชาวเขาเผ่าเย้าหรือเม่ียน มีความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติสูง มีอตั ลกั ษณก์ ารแตง่ กายท่ีโดดเด่น สวยงาม 7.6 บคุ คลผู้ยังไมไ่ ดส้ ัญชาตไิ ทย จานวน 2 คน 9. วฒั นธรรมชมุ ชน 9.1 วฒั นธรรมชนเผา่ เม่ยี น วฒั นธรรมการตง้ั ชื่อ การตั้งชื่อของเมี่ยนเป็นเร่ืองสาคัญมาก เพราะช่ือของแต่ละคนน้ัน จะบอกถึงสถานภาพ ของคนในครอบครัว หรอื ลกั ษณะเม่ือแรกเกิดและบ่งชี้ชัดว่าในช่ือหนึ่ง ๆ จะบอกให้ทราบว่าเป็นหญิง หรือชาย เป็นบุตรคนท่ีเท่าไหร่ และเป็นบุตรของใคร รายละเอียดบางอย่างของเจ้าของช่ือ ไปจนถึง การต้ังชื่อเพ่ือเปลี่ยนสถานภาพในวงจรชีวิต ตั้งแต่เกิด แต่งงาน จนถึงตาย การตั้งช่ือจะแบ่งออกเป็น ชายและหญงิ เช่น ผู้ชายเมย่ี นมชี ่ือ 3 ช่อื คือ ชื่อเล็ก (ตั้งตอนเกิด) ช่ือใหญ่และชื่อผี ช่ือเล็กมีคานาหน้าท่ีต้ังตามลาดับการเกิดก่อนหลัง หรือตั้งตามลักษณะ การเกิดและใช้พยางค์ท้ายของพ่อ มาเป็นพยางค์ท้ายของช่อื ลูก เช่น เก๊า เป็นคา นาหน้าของลูกชายคนโต และพ่อช่ือชุนเอ่ ลูกคนแรกกจะช่ือว่า เก๊าเอ่ เป็นต้น และลูกคนท่ีสองก็ช่ือ ไหน และซานรองลงมา ชื่อใหญ่ของชายเม่ียนตั้งโดย หมอผีหรือผู้รู้ขนบธรรมเนียม ชื่อน้ีแสดงลาดับเครือ ญาติ 4 ชั่วคน เช่น คนแซ่ลีคนรุ่นท่ี 1-4 มีช่ือเร่ิมต้นว่า เจียม ฝู หว่าน และยุ่น ตามลาดับ และเม่ือคน

450 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ท่สี ูงในอดตี และปัจจุบัน รุน่ ที่ 5 จะมชี ื่อเร่มิ ต้นเปน็ เจียม อีก สาหรบั ชอ่ื ผนี น้ั ตง้ั เมอ่ื อายุ 12 ปี โดยหมอผี จะถามเทวดาสูงสุด (เม้ยี นฮูง) วา่ ใครจะมีช่ือผีวา่ อยา่ งไร ซ่ึงเม่อื ตายไปจะต้องใช้ชื่อผีนเ้ี พียงชอ่ื เดียว และหากมกี ารเล้ียงผี ผีจะมีหน้าท่ีติดต่อกับผีบรรพบุรุษก็ต้องเรียกช่ือผีน้ี แต่ตอนท่ีมีชีวิตอยู่จะไม่ใช้ช่ือน้ีเด็ดขาด ผู้หญิงเมี่ยนมี 2 ช่ือคือ ชื่อตอนเกิดและชื่อผี ช่ือตอนเกิดเช่น เหมยหรือหมวงเป็นคานาหน้าของลูก สาวคนโตและไหน ฟาม เฝยเป็นชื่อเรียงลาดับรองลงมาสว่ นคาหลงั ก็จะใช้พยางค์หลังของพ่อมาเป็น พยางค์หลงั ของลูก ชอ่ื ผนี ้ีจะใชต้ ามสามีคือ บอกว่าเปน็ ภรรยาของใคร (บอกชื่อผีของสามี) เพราะเม่ือ ผู้หญิงแต่งงานก็ต้องเปล่ียนมานับถือผีและใช้แซ่ของสามี เช่น ผู้หญิง ชื่อว่านางลายเจียวและชื่อผี ของสามีชอ่ื ฝา่ เยา่ นางลายเจยี วจะถกู เรยี กชอ่ื ผีในพิธกี รรมว่า ภรรยาของฝา่ ยเย้า เด็กเมี่ยนอาจจะมีช่ือเล่นหรือสมญานามที่ต้ัง เพื่อแสดงเหตุการณ์ตอนเกิด หรือแสดงความ เอ็นดูและชื่อนี้อาจเปลี่ยนไป หากเด็กป่วยกระเสาะกระแสะอาจเป็นเพราะพ่อแม่ต้ังช่ือน้ัน ๆ เปน็ กาลกิณี และการตั้งชื่อเอาเคลด็ หรอื ตามสถานการณ์ เชน่ - คลอดในกระท่อมอาจชือ่ วา่ หลิว่ เซง็ (หลิ่ว=กระท่อม) - จ้ายเซ็ง (จ้าย=สดุ ท้อง) - ดจา่ น คานาหน้าช่อื สาหรับเดก็ ปัสสวะราดขณะคลอดท้ังหญงิ และชาย - เล่อว คานาหน้าสาหรับเด็กท่ีคลอดกลางทางระหว่างกลับจากไร่ หรือไปโรงพยาบาลท้ังหญิงและ ชาย - เฉง คานาหนา้ ช่ือเด็กท่ีเกิดมามสี ายสะดือพนั คอ ทง้ั หญิงและชาย - ก้อยหรือเหย่ียน ในกรณีที่มีลูกสาวจนพอแล้วอยากได้ลูกชาย เมี่ยนมักจะใช้ช่ือก้อย หรอื เยย่ี นมาตง้ั ซงึ่ ก้อยหรอื เย่ยี นหมายถงึ เปลยี่ นหรอื แลก 9.2 ประเพณพี ื้นบา้ น ประเพณกี ารแตง่ งาน การเลือกคู่ครอง (หล่อเอ๊าโกว่) เม่ือเริ่มเป็นหนุ่มเป็นสาว อายุประมาณ 15 ปีข้ึนไป ก็เร่ิม จะหาคู่ครอง ในการเลือกคู่ครองน้ันเผ่าเมี่ยน ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายเข้าหาฝ่ายหญิง หนุ่มสาวเม่ียนมี อิสระในการเลือกคู่ครอง หนุ่มอาจจะเข้าถึงห้องนอนเพียงคืนเดียว หรือไปมาหาสู่อยู่เร่ือย ๆ ถ้าทาง ฝ่ายสาวไมข่ ัดข้องกย็ ่อมได้เสรี ในการเลอื กคขู่ องเมยี่ นมีขอบเขตอยเู่ พยี ง 2 กรณีเท่าน้ัน คือ ควรแตง่ กับคน ต่างแซ่ หรือบางทีคนแซ่เดียวกัน ถ้าชอบพอกันก็สามารถอนุโลมได้ไม่เข้มงวดมากนัก แต่ที่เข้มงวด คือ ดวงของหนุ่มสาวท้ังสองต้องสมพงษ์กัน โดยทั่วไปแล้วพ่ีควรจะแต่งก่อนน้อง หากน้องจะทาการ แตง่ ก่อนพี่ ก็ต้องจา่ ยค่าทาขวัญให้กับพี่ท่ยี งั ไม่ได้แตง่ งาน เมื่อทงั้ สองฝา่ ยมคี วามรกั ต่อกนั ฝ่ายชายจะเปน็ ฝา่ ยไปบอกพอ่ แมห่ รือเครือญาตมิ าตดิ ตอ่ ส่ขู อตามประเพณตี ่อไป การสู่ขอ (โท้นิ่นแซง) เม่ือหนุ่มตกลงปลงใจจะแต่งงานกับสาวใดแล้วฝ่ายชายจะต้องหา ใครไปสืบถามเพ่ือ ขอทราบวัน เดือน ปีเกิดของฝ่ายหญิง ถ้าพ่อแม่ฝ่ายหญิงยินยอมบอกก็แสดงว่า พวกเขายอมยกให้ หลงั จากนนั้ กจ็ ะนาเอาวัน เดือน ปี เกดิ ของหนุม่ สาวคูน่ ้ัน ไปให้ผชู้ านาญเรื่องการ ผูกดวงผู้ชานาญผูกดวง จะดูว่าท้ังคู่มีดวงสมพงศ์กันหรือไม่ ถ้าดวงไม่สมพงศ์กันฝ่ายชายจะไม่มาสู่ขอ พร้อมแจ้งหมายเหตุให้ฝ่ายหญิงทราบ เมื่อดูแล้วถ้าเกิดดวงสมพงศ์กัน พ่อแม่จึงจัดการให้ลูกได้สม ปรารถนา เร่ิมด้วยการส่งส่ือไปนัดพ่อแม่ฝ่ายสาวว่า ค่าพรุ่งน้ีจะส่งเถ้าแก่มาสู่ขอลูกสาว แล้วพ่อแม่

การวิจยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพืน้ ทสี่ ูงในอดีตและปจั จบุ นั 451 ฝ่ายหญิงจะต้องจัดข้าวปลาอาหารไว้รับรอง ระหว่างท่ีด่ืมกินกันนั้น เถ้าแก่ก็จะนากาไลเงินหนึ่งคู่ มาวางไว้บนสารับเมอ่ื เวลาดม่ื กินกันเสรจ็ สาวเจ้าเขา้ มาเก็บถ้วยชาม หากสาวเจา้ ตกลงปลงใจกับหนุ่ม ก็จะเก็บกาไลไว้ หากไม่ชอบก็จะคืนกาไลให้เถ้าแก่ ภายใน 2 วัน เถ้าแก่จะรออยู่ดูให้แนใ่ จแล้ววา่ สาว เจ้าไม่คืนกาไลแล้ว เถ้าแก่จึงนัดวันเจรจา เม่ือถึงเวลาซึ่งวันเดินทางไปน้ีสาคัญมาก เพราะมีข้อห้าม และความเช่ือในการเดินทางหลายอย่าง เช่น ขณะเดินทาง ระหว่างทางหากพบคนกาลังปลดฟืนลง พนื้ สตั วว์ ิ่งตดั หนา้ ไมก้ าลังลม้ คนล้ม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ คือ ส่ิงท่ีส่อไปในทางท่ีไม่ดีจะไม่มีโชคตามความเชื่อแต่ถ้าไม่พบสิ่งเหล่านี้ระหว่าง ทางก็สามารถเดินทางไปบ้านฝ่ายหญิงได้ และถ้าไปถึงบ้านฝ่ายหญิง แล้วพบสาวเจ้ากาลังกวาดบ้าน หรอื พบคนกาลังเจาะรางไม้ หรือเตรยี มตวั อาบน้าอยู่ พ่อแมข่ องฝา่ ยชายก็จะเลิกความคิดท่ีจะไปสู่ขอ เหมอื นกนั เพราะเชือ่ ว่าเปน็ สิ่งไม่ดีจะทาให้คบู่ า่ วสาวตอ้ งลาบาก เม่ือพ่อแมฝ่ า่ ยชายเดินทางไปถึงบ้าน ฝ่ายหญิงโดยไม่ได้พบอุปสรรคใด ๆ แล้วครอบครัวของฝ่ายชายจะต้องนาไก่ 3 ตัว ไก่ตัวผู้ 2 ตัว และไก่ตัวเมีย 1 ตัว แล้วนาไก่ตัวผู้ 1 ตัวมาปรุงอาหาร เพ่ือเป็นการสู่ขอ แล้วร่วมกันรับประทาน พ่อแม่ฝ่ายหญิงจะเชิญญาติอย่างน้อย 2-3 คน มาร่วมเป็นพยาน ระหว่างท่ีรับประทานอาหารกันอยู่ น้ัน ก็เริ่มเจรจาค่าสินสอดตามประเพณี ซึ่งส่วนใหญ่ ค่าสินสอดจะกาหนดเป็นเงินแท่งมากกว่า หรือบางครั้งอาจจะใช้เงินก็ได้ตามฐานะ สาหรับไก่อีก 2 ตัว หลังจากฆ่าแล้วจะนามาเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษ ของตระกลู ท้ังสองฝา่ ย เพ่ือเป็นการแจ้งให้บรรพบุรุษท้ังสองฝ่ายให้รับรู้ในการหม้ัน พร้อมท้ังฝ่ายชายจะมอบด้าย และผ้าทอหรืออุปกรณ์ในการปักชุดแต่งานไว้ใช้สาหรับงานพิธีแต่งให้กับฝ่ายหญิง เพ่ือใช้ปักชุด แตง่ งาน เจ้าสาวจะต้องปักชดุ แต่งงานให้เสร็จจากอุปกรณ์ที่ฝ่ายชายเตรียมไว้ในตอนหม้ันและเจ้าสาว จะไม่ทางานไร่ จะอยู่บ้านทางานบ้านและปักผ้าประมาณ 1 ปี ส่วนเจ้าบ่าวต้องเตรียมอาหารท่ีจะใช้ เล้ียงแขกและทาพิธีกรรมเช่น หมู ไก่ และจัดเตรียมเครื่องดนตรี จัดบุคคลท่ีจะเข้าทาพิธีกรรมทา ง ศาสนา และอุปกรณก์ ารจดั งานทว่ั ไป หลงั จากหมน้ั แล้วบา่ วสาวจะอย่ดู ้วยกันท่บี า้ นฝา่ ยใดก็ได้แล้วแต่ จะตกลงกนั

452 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ทส่ี ูงในอดตี และปจั จุบนั พิธีแต่งงานใหญ่ (ต่ม ชิ่ง จา) พิธีนี้เป็นพิธีใหญ่ซ่ึงจะต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง คนที่จัดพิธีใหญ่น้ี ส่วนมากจะเปน็ ผู้ทม่ี ีฐานะดี จะใชเ้ วลาในการทาพธิ ี 3 คืน 3 วนั ซึง่ จะตอ้ งใช้เวลาเตรยี มงานกันเป็นปี คอื ตอ้ งเลี้ยงหมู เล้ียงไก่ไวใ้ หพ้ อกับการเลีย้ งแขก วันแรก ฝ่ายเจ้าบ่าวจะจัดคนไปรับเจ้าสาวตั้งแต่ก่อนเช้า โดยจะมีคนเตรียมบรรเลงเพลง ประกอบไปดว้ ย ฝา่ ยเจา้ บา่ วจะจดั เตรยี มสถานท่โี ดยการจดั มา้ นง่ั เปน็ วงกลมไว้ และขบวนของเจา้ สาว น้ันจะมี 1 คน ถือปลายผ้าเช็ดหน้า เพ่ือจูงมือเจ้าสาวซึ่งอาจเป็นน้องของเจ้าสาว ส่วนน้องชายของ เจ้าสาวอีก คนหนึ่ง จะทาหน้าที่แบกสัมภาระของเจ้าสาวท่ีจะต้องนามาใช้ในบ้านเจ้าบ่าว อีกคนจะมี หน้าที่กางร่มให้เจ้าสาว เพ่ือนเจ้าสาวแต่ละคนจะแต่งตัวด้วยชุดชนเผ่าเต็มยศเช่นกัน เม่ือขบวนของ เจ้าสาวมาถึง จะยังไม่ได้น่ังจะให้ยืนอยู่กลางวงก่อน โดยจะมีเพื่อนเจ้าสาวสองคนคอยยืนล้อมรอบ เจา้ สาว วงดรุ ิยางค์ จะเล่นดนตรีวนท้ัง 3 คน แลว้ จะแห่สอดแทรกเขา้ ไปรอบ ๆ เจ้าสาว และทาความ เคารพโดยคานบั 3 ครง้ั ฝา่ ยเจ้าสาวจะโคง้ คานับตอบ 3 คร้งั เชน่ เดียวกนั จะคานับทงั้ หมด 4 รอบจงึ จะหยุด ระหว่างนั้นฝ่ายต้อนรับจะนาเอาน้าชา เหล้า บุหร่ีมาเพ่ือเป็นการต้อนรับ และขอบคุณแขกท่ีมา ร่วมงาน จากนัน้ ก็นาน้ารอ้ นท่ีได้เตรียมไว้เพ่ือใหแ้ ขกลา้ งหน้า พอแขกลา้ งหน้าเสร็จ จะเอาผา้ เช็ดหน้า ท่ีตัวเองล้างเอากลับไปบ้าน พร้อมกับวางเงินไว้ในถาดจะเท่าไหร่ก็ได้เพ่ือเป็นธรรมเนียม เสร็จแล้วก็ ร่วมรับประทานอาหารที่ได้จัดไว้ ระหว่างน้ันเจ้าบ่าวกับเจ้าสาวจะยกน้าชาเหล้าไปให้แขกรอบงาน พอมอบให้แขกแล้วเมื่อแขกด่ืมเสร็จจะวางเงินไว้ในถาดเท่าไหร่ก็ได้เพื่อเป็นธรรมเนียม จากนั้น จะแยกกันไปผักผ่อนตามที่พักท่ีทางฝ่ายเจ้าบ่าวได้จัดไว้ ส่วนเจ้าสาวจะยังไม่ได้เข้าไปในบ้านของเจ้าบ่าว โดยฝ่ายเจ้าบ่าวจะทาเพิงพักให้กับเจ้าสาว ที่พักของเจ้าสาวนั้นจะนิยมสร้างห่างจากบ้านเจ้าบ่าว ประมาณ 20 เมตร จนกว่าจะถงึ ฤกษท์ ไี่ ดก้ าหนดเอาไว้ คอื วันพรงุ่ นี้ วันที่สอง เจ้าสาวจะต้องต่ืนนอนแต่เช้ามืดเพื่อเตรียมตัวทาพิธีตามข้ันตอน แล้วเข้าบ้าน เจ้าบา่ ว การเขา้ มาในบ้านนั้นจะต้องเขา้ ทางประตูใหญ่ พอเสร็จพิธีกรรมอะไรแลว้ ก็มีการด่ืมกินกันท่ัวไป วันที่สาม จะเป็นการกินเล้ียงส่วนใหญ่จะฉลองอย่างเดียวจะไม่ค่อยมีพิธีกรรมอะไรมาก นอกจากการบรรเลงดนตรี เป่าปี่ ตีกลองให้งานสนุกสนานร่ืนเริง กลางคืนเจ้าบ่าวเจ้าสาวจะออกมา ยกนา้ ชาให้กบั แขกท่มี ารว่ มงานกเ็ ปน็ อนั วา่ เสร็จพธิ ี พิธีแต่งงานเล็ก (ชิ่งจาตอน) พิธีต่าง ๆ จะเป็นการกินเลี้ยงฉลองอย่างเดียวไม่มีพิธีกรรม อะไรมาก จะใช้เวลาทาพิธีเพียงวันเดียว เจ้าสาวไม่ต้องสวมที่คุมท่ีมีน้าหนักมาก และพิธีเล็กนี้ไม่ต้อง ส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายมาก จุดสาคัญของการแต่งงานของเม่ียน คือ ตามท่ีเจ้าบ่าวตกลงสัญญาจ่ายค่าตัว เจ้าสาวกับพ่อแม่ของเจ้าสาวไว้ เพื่อเป็นการทดแทนที่ได้เลี้ยงดูเจ้าสาวมา และฝ่ายเจ้าบ่าวจะต้อง บอกวิญญาณบรรพบุรุษของตนเองยอมรับ และช่วยคุ้มครองเจ้าสาวด้วย ประการสุดท้ายเจ้าบ่าว และเจ้าสาวจะต้องดื่มเหล้าท่ีทาพิธี แล้วร่วมแก้วเดียวกัน การแต่งงานของเมี่ยนน้ันจะต้องทาตาม ประเพณที ุกขน้ั ตอนอยา่ งพิถพี ิถัน และเปน็ ไปในลกั ษณะท่ใี ห้เกียรติซง่ึ กนั และกนั ทั้งสองฝา่ ย 9.4 การแตง่ กาย ผู้หญิงเย้า มีการแต่งกายท่ีดูเด่นแปลกตา ด้วยการโพกศีรษะด้วยผ้าพิเศษมีทั้งสีแดง น้าเงิน ปนดา พันทับกันหลายชั้น และมีลายปักตรงปลายท้ังสองข้างอย่างงดงาม สวมใส่เส้ือคลุมยาวสีดา ติดไหมพรมสีแดง เป็นแนวทางยาวรอบคอลงมาด้านหน้าถึงหน้าท้อง สวมกางเกงขายาวสีดาปนน้า

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพน้ื ทีส่ ูงในอดีตและปัจจบุ นั 453 เงนิ ด้านหน้าของกางเกงปักลวดลายทลี่ ะเอียดประณีตมาก มีหลายสีสลบั กัน ใช้ผา้ พนั คาดเอวหลายๆ รอบ นิยมประดับด้วยเคร่ืองประดับเงิน เช่น ต่างหู สร้อยคอ สร้อยแขน กาไล และแหวน ผู้ชายเย้า นิยมนุ่งกางเกงจีนขายาวสีดา สวมเสื้อดาอกไขว้แบบเส้ือคนจีน ติดกระดุมที่คอและรักแร้เป็นแนวถึงเอว เส้ือผ้าจากตานานที่บันทึกไว้ในหนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา [เกีย เซ็น ป๊อง] ท่ีเมี่ยนได้คัดลอก กันต่อ ๆ มาจนถึงทุกวันน้ี ระบุให้ลูกหลานเม่ียน ปกปิดร่างกายของผันหู ผู้ให้กาเนิดเมี่ยน โดยใช้เส้อื ลายหา้ สีคลุมร่าง เข็มขดั รดั เอวผา้ เชด็ หน้าลายดอกไม้ผูกทห่ี น้าผาก กางเกงลายปดิ กน้ ผ้าลายสองผืน ปดิ ทขี่ า เชื่อกนั ว่าจากตานานน้เี องทาใหเ้ มี่ยนใช้เส้ือ ผ้าคาดเอวผ้าโพกศีรษะ และกางเกงที่ปักดว้ ยห้าสี สมัยก่อน การคมนาคมการค้าขายยังไปไม่ถึงบนดอย ส่วนใหญ่เม่ียนนิยมใช้สีปกั ลาย เพียง 5 สีเท่าน้ัน คอื สแี ดง สเี หลอื ง สนี า้ เงินสเี ขียวและสขี าว ในชว่ งสองทศวรรษทีผ่ า่ นมานี้เมีย่ นนยิ มปักลายผา้ เพม่ิ มากขึ้น และใช้สตี า่ งๆเพิ่มข้ึนมากอีกด้วย การปกั ลายและการใช้สสี ันในการปกั ลายในแต่ละท้องถ่ินจะแตกต่าง กันบ้างตามความนิยมของแต่ละท้องถิ่น การปักลายเสือ้ ผ้าทกุ วนั นี้หญิงเมย่ี นกย็ ังคงแตง่ กายตามแบบ ฉบับท่ีระบุไว้ในตานานได้อย่างเคร่งครัด ผ้าที่เม่ียนนามาปักลายเป็นผ้าทอมือ กล่าวกันว่าเมี่ยนเคย ทอผ้าใช้เอง แต่เมื่ออพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย แล้วค้นพบว่าผ้าทอมือของไทลื้อท่ีมีถิ่นฐานอยู่ใน ประเทศพม่า และประเทศไทยเหมาะแก่การปักลายจึงได้ซ้ือผ้าทอมือ ของไทล้ือมาย้อมและปักลาย จนกลายเป็นความนิยมของเมยี่ นไป เมี่ยนมีลักษณะการแต่งกาย การใช้สีสัน จะแตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อย เมื่อแต่งกาย ตามจารีตประเพณีก็พอจะทราบได้วา่ มถี นิ่ ฐานอยู่ในท้องทใี่ ด หรอื อยูใ่ นกลมุ่ ใด แตม่ ีบ้างทก่ี ลมุ่ ที่อาศัย อยู่ใกล้เคียงกันจะมีการลอกเลียนแบบซึ่งกันและกันบ้าง การปักลายเมี่ยนจะจับผ้า และจับเข็ม แตกต่างกับเผ่าอื่น ๆ เมี่ยนจะปักผ้าจากด้านหลังผ้าข้ึนมายังด้านหน้าของผ้าเม่ียนจึงต้องจับผ้าให้ ด้านหน้าคว่าลง เมื่อปักเสร็จแต่ละแถวแล้วก็จะม้วน และใช้ผ้าห่อไว้อีกชั้นหนึ่งเพื่อป้องกันสิ่งสกปรก ตา่ ง ๆ การปักลายเสื้อผา้ เพื่อใชท้ าเป็นเครอื่ งแต่งกาย และของใชต้ ามจารตี ประเพณี เมย่ี นมวี ิธีการปักลาย ส่ี แบบคอื การปักลายเสน้ [กิว่ ก่วิ ] การปักลายขัด [โฉง่ เกยี ม] การปัก ลายแบบกากบาท [โฉง่ ทิว] และการปักไขว้ [โฉ่ง ดับ ยับ] การเรียกช่ือลายปัก ในการปักลายสตรีเมี่ยนจะต้องจดจาช่ือและวิธีการปักลายไปพร้อม ๆ กัน สาหรับการปักลายขัด [โฉ่ง เกียม] และลายกากบาท [โฉ่ง ทิว] ส่วนใหญ่จะเป็นลายเก่าท่ีชือ่ เรียก เหมือนกัน แต่สาหรับลายไขว้ [โฉ่ง ดับ ยับ] น้ัน เม่ียนอาจนาลักษณะเด่นของแต่ละลายปักเดิมมา ปรบั ปรงุ หรอื ปักเพ่ิมเติมให้ลายปักใหม่อีกลายหนึ่ง และให้สสี นั สวยงามตามใจตนเองชอบ โดยอาจต้ัง ช่ือใหม่ก็ได้ นอกจากนี้สตรีเม่ียนบางคนที่มีความเฉลียวฉลาดอาจประดิษฐ์ลายปักใหม่ ๆ ข้ึนมา โดยการนา ส่วนประกอบของลายต่าง ๆ มาประกอบเข้าด้วยกัน หรือดัดแปลงเป็นลายปักใหม่แล้วตง้ั ชื่อเรียกใหม่ แต่โดยทั่วไปแล้วจะเรียกช่ือที่คงลักษณะเด่นของลายเดิม เช่น ลายปักหมวกขององค์ผู้ บริสทุ ธ์ทิ ัง้ สาม [ฟามกนุ ] เป็นลายทป่ี รบั ปรุงมาจากลายฟามซิง บางคร้งั ลายปักแบบปักไขว้แต่ละลาย นี้มีลายละเอียดแตกต่างกันไป บางหมู่บ้านที่มีขนาดใหญ่ แต่ละกลุ่มอาจเรียกช่ือที่แตกต่างกันด้วย และบอ่ ยคร้งั พบว่าเมี่ยนเรียกชื่ออย่างเดยี วกัน แต่เป็นลายปักแตกต่างกันก็มี แต่อยา่ งไรกต็ ามช่ือลาย ปักที่เมี่ยนเรียกกันจะมีความหมายที่สัมพันธ์ หรือเก่ียวข้องกับสิ่งต่าง ๆ คือ ความเชื่อ วิธีการปักลาย พชื ผลทางการเกษตร

454 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพืน้ ที่สงู ในอดีตและปจั จุบนั ถึงแม้เม่ียนจะปักลายตามความเช่ือน้ี แต่เม่ียนไม่ได้ถือว่าลายปักน้ัน เป็นเคร่ืองลางของขลัง หรือเป็นของศักด์ิสิทธ์ิ การปักลายจึงเน้น ท่ีความสวยงามมากกว่าท่ีจะเป็นเคร่ืองลางของขลัง นอกจากนี้เมี่ยนยังเช่ือว่ากางเกงของผู้หญิง เป็นของต่าไม่สมควรท่ีจะเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่อาจเป็นไป ได้ทว่ี า่ เมย่ี นต้องการแสดงใหเ้ หน็ ว่า เมี่ยนเป็นกลมุ่ ทีม่ คี วามเชือ่ ในเรือ่ งเทพยดา การปกั ผ้าของชาวเม่ยี นท่ผี ิดแปลกจากเผา่ อน่ื ๆ คอื ปักจากด้านหลังผา้ ขน้ึ มายังด้านหน้าของผา้ 10. สภาวการณ์ อื่นๆ ประวัติและการพัฒนาทผ่ี า่ นมา ชาวเขาเผ่าเย้าหรอื เมีย่ น ทีอ่ าศัยอยู่บนดอยหลวงซงึ่ เปน็ พื้นทภี่ เู ขาสูงเขตรอยตอ่ ระหว่าง 3 จังหวดั ได้แก่ เชียงราย พะเยา และลาปาง เดิมทีอาศัยอยู่ในประเทศจีน แต่ได้เกิดภัยแล้งและสงคราม จึงได้อพยพถอยร่นลงมาเร่ือยๆ มาต้ังถิ่นฐานอยู่แขวงหลวงน้าทา ประเทศลาว ต่อมาได้เกิดความขัดแย้งกัน ภายในกลุ่ม จึงย้ายขึ้นไปอยู่ที่แขวงบ่อแก้ว ตรงกันข้ามกับ อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ต่อมา ในประเทศลาวมีปัญหาทางการเมืองอย่างหนกั มีการต่อสู้เพ่ือแย่งชิง เอกราชจากฝร่ังเศสของกองทพั กู้ชาติลาว และการปฏิวัติการปกครองของลาว จึงได้อพยพเข้ามาประเทศไทย โดยข้ามฝ่ังแม่น้าโขง ทางด้าน อาเภอเชียงแสน และไปอยู่บนดอยแม่สลอง และดอยภูลังกา และด้วยสถานการณ์การสู้รบ ระหว่างกองทัพรัฐบาลไทย กับกองทัพประชาชนพรรคคอมมิวนสิ ต์แหง่ ประเทศไทย เนื่องจากกลัวไม่ มีความปลอดภยั ในชีวติ ในปี พ.ศ. 2485 จงึ มีการอพยพจากภลู ังกามาอยดู่ อยหลวง บ้านป่าคา จงั หวดั พะเยา หลงั จากนนั้ ได้มีกลมุ่ ทม่ี าจากประเทศจนี สมยั ก๊กมินตัง๋ แตกพ่ายได้อพยพถอยรน่ ลงทางเมืองหงสาวดี ก่อนเข้าประเทศไทยท่ี อาเภอเชยี งแสน จากน้นั ยา้ ยไปอยทู่ ีบ่ นดอยแมส่ ลอง อาเภอแมจ่ ัน และไดย้ ้าย อพยพมาอย่ทู บี่ ้านปา่ คา บนดอยหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2505 กลุ่มชุมชนเผ่าเม่ียน บ้านแม่ต๋อม เดิมที มาจากบ้านผาดา แขวงไทรบุรี ประเทศลาว ก่อนข้ามยังฝั่งไทย ประมาณปี พ.ศ.2495 อพยพมาอยู่ที่บ้านผารก อาเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ก่อนโยกย้ายมาอยู่เขตพ้ืนทดี่ อยหลวง บริเวณ ตาบลวังแก้ว อาเภอวังเหนอื จงั หวดั ลาปาง นอกจากน้ัน จะมี กลุ่มลัวะ ซึ่งเป็นอาศัยอยู่บนพื้นท่ีสูงในเขตจังหวัดเชียงราย อพยพย้ายถ่ิน เข้ามาในเขตพื้นท่ีดอยหลวงเมื่อปี พ.ศ.2518 และ กลุ่มชุมชนเผ่าลีซู ได้เข้ามาในประเทศไทย เมอื่ ปี พ.ศ.2496 มาอยดู่ อยตงุ อาเภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวัดเชียงราย ก่อนยา้ ยเร่ือยมา และมาอยทู่ ี่บ้าน ห้วยฮ่อม ตาบลปา่ หุ่ง อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ซงึ่ อยใู่ นเขตดอยหลวงเชน่ กนั

การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพ้ืนท่ีสงู ในอดตี และปจั จุบนั 455 พ.ศ. 2499 บนดอยหลวงซ่ึงเป็นรอยต่อระหว่าง 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พะเยา และลาปาง จึงมีชาวเขาอาศัยอยูร่ วมกัน จานวน 11 กลมุ่ บา้ น ทั้งหมดยดึ อาชีพเกษตรกรรม โดยการ ทาไร่เลอ่ื นลอย และปลกู ฝ่ิน เปน็ หลัก เนือ่ งจากสมัยน้นั ฝนิ่ ยังไมถ่ ือว่าเป็นพืชผดิ กฎหมาย ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2513 กองสงเคราะห์ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย ได้จัดให้มี “หน่วยพัฒนาชาวเขาเคลื่อนที่” ซ่ึงหนึ่งหน่วยจะประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่จานวน 5 คน ดาเนินการพัฒนาสวัสดิการ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านการเกษตร และด้านสุขภาพอนามัย ประกอบไปดว้ ย (1) นักพฒั นาสังคม เป็นหวั หน้าหน่วย (2) เจา้ หน้าที่อนามยั (3) เจ้าหนา้ ท่ีเกษตร (4) ครสู อนชาวเขา (5) ลา่ มชาวเขา หนว่ ยพัฒนาชาวเขาเคลื่อนทไี่ ด้เขา้ ดาเนนิ การสารวจขอ้ มูลตา่ งๆ ในพื้นที่ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ และส่งเสริมการจัดตั้งถิ่นฐานถาวรของชาวเขา ซึ่งในปีเดียวกันจึงได้มีประกาศจัดตั้งหมู่บ้าน ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 จานวน 8 หย่อมบ้าน ได้แก่ บ้านผาแด ง บา้ นปางปูเลาะ บา้ นป่าเมี่ยง บา้ นปา่ คา บ้านแมส่ ้าน บา้ นแมต่ อ๋ ม บ้านหว้ ยฮอ้ มเหนือ บ้านห้วยฮอ้ มใต้ พ.ศ. 2525 กรมประชาสงเคราะห์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศไทย-นอร์เวย์เข้ามา พัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อลดพ้ืนที่การปลูกฝิ่น และส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ และพืชเมืองหนาว เช่น บ๊วย ท้อ กาแฟ ฯ มีการสนับสนุนจัดตั้งกองทุนปุ๋ย ธนาคารข้าว จัดหาเมล็ดพันธุ์พืช กองทุน อาชพี การพฒั นาในช่วงดงั กล่าวทาใหช้ วี ติ และความเป็นอยู่ของชาวบา้ นเร่มิ ดีขึ้นเรื่อยมา พ.ศ.2528 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพะเยา ไดด้ าเนินการขยายเขตไฟฟ้าเข้าสู่บ้านปางปูเลาะ ตามโครงการเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี วันที่ 16 เมษายน 2533 กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้กันพื้นที่จานวน 731,250 ไร่ แล้วประกาศเป็นเขตอุทยานแห่งชาติดอยหลวง ตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ครอบคลมุ พื้นท่ี 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ เชียงราย ลาปาง และพะเยา ซง่ึ พ้ืนทีด่ งั กล่าว ไดท้ ับพ้ืนที่ ทากินและพื้นท่ีอยู่อาศัยของ 8 หมู่บ้านชาวเขาและในวนั ท่ี 10 กันยายน 2535 ได้มีมติคณะรัฐมนตรี ให้อพยพชาวเขา 5 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านป่าคา บ้านแม่ส้าน บ้านแม่ต๋อม บ้านห้วยฮ้อมเหนือ บ้านห้วยฮ่อม ใต้ ออกจากพื้นท่ี ลงไปอาศัยอยู่บริเวณบ้านผาช่อ อาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง และให้ชาวเขาบ้านปาง ปูเลาะ บ้านผาแดง และบ้านป่าเมี่ยง ทดลองต้ังถ่ินฐ านอยู่ในลักษณะคนอยู่กับ ป่ า โดยใหส้ ถานพี ัฒนาท่ีดนิ จงั หวดั พะเยา ดาเนินการรังวดั พนื้ ท่ีกาหนดขอบเขตทดี่ นิ ทากนิ และที่อยู่อาศัย (ปางปูเลาะ 436 ไร่ , ผาแดง 247 ไร่ , ป่าเมย่ี ง 330 ไร)่ พ.ศ. 2547 ชาวเขาบ้านปางปูเลาะ ได้ถวายฎีกาขอถนนลาดยางเข้าสู่หมู่บ้าน และได้รับ อนุมตั ิให้กรมทางหลวงชนบทเปน็ ผู้กอ่ สรา้ ง ตลอดระยะเวลาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2547-2557 ชาวเขาท้ัง 3 หม่บู า้ น ไดร้ ับการส่งเสริมการปลูกพชื เศรษฐกจิ เชน่ ล้นิ จี่ กาแฟอาราบิก้า ข้าวไร่ ฯ จนสามารถเปน็ แหลง่ ผลิต ลิ้นจี่และกาแฟ ท่ีมีคุณภาพสามารถส่งออกไปขายสร้างรายได้และช่ือเสียงให้แก่จังหวัดพะเยาไม่น้อย

456 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพัฒนาบนพน้ื ท่สี ูงในอดตี และปัจจุบนั และจากการส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจดังกล่าวทาให้ปัจจุบันชาวเขาท้ังสามหมู่บ้านได้เลกิ ปลูกฝ่ิน 100 เปอร์เซ็นต์ พ.ศ. 2558- ปจั จบุ ัน ศูนยพ์ ัฒนาสงั คมหนว่ ยท่ี 31 จังหวัดพะเยา ไดป้ รบั เปลย่ี นภารกจิ ในชื่อ ใหม่คือ “ศูนย์พัฒนาชาวเขาจังหวัดพะเยา” เข้ามาดาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ลดความเหลอื่ มล้า โดยน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนนิ งาน เพือ่ พัฒนาด้านเศรษฐกจิ สังคม และสงิ่ แวดล้อม เปน็ การบูรณาการ มุ่งเน้นการมีสว่ นร่วม ของชมุ ชน เพ่อื ให้ราษฎรบนพน้ื ทส่ี ูงมคี ุณภาพชีวติ ท่ดี ี สอดคล้องกับภูมสิ งั คม

การวิจัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพื้นทส่ี งู ในอดีตและปจั จุบัน 457 2ช8ุม)ชชนมุ ทชน่ี 2บ8้านบปา้ รนะปชารภะชักดาภี หักมด่ทู ี หี่1ม3ทู่ ต่ี า1บ3ลตร�ำ่มบเยล็นร่มอเยาเน็ ภออเำ�ขเภียงอคเขาียจงงัคหำ�วจดั งั พหะวเดัยพา ะเยา ประวัติความเป็นมา บ้านประชาภักดี หมู่ที่13 ตาบลร่มเย็น อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา เป็นชุมชน ชาวเขา เผ่าม้ง นับถือศาสนาพุทธควบคไู่ ปกับการนับบรรพบุรุษ เม่ือปี พ.ศ. 2513 ทางราชการได้จัดการปฏิรูปท่ีดินและได้เปิดรับผู้ท่ีไม่มีที่อยู่อาศัย ที่ดินทา กนิ มาอาศัยอยู่อยู่ในพ้ืนท่ีโครงการ โดยจดั สรรทีด่ ินเพ่ือให้อยู่อาศยั ครอบครวั ละ 1 ไร่ และท่ีดนิ ทากิน ครอบครัวละ 15 ไร่ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงมีการโยกย้ายถ่ินฐานของกลุ่มชาวเขาเผ่าม้งต่างๆ ตามโครงการพระราชดาริ เข้ามาอยใู่ นพ้ืนทโ่ี ครงการ เช่น อพยพมาจากบา้ นลาอู บา้ เลาจอื จังหวดั เชียงราย บ้านห้วยสา้ น ตาบลภูซาง อาเภอเทิง จังหวัดเชยี งราย ต้ังชอ่ื หมู่บา้ นใหมว่ ่า “บา้ นร่องสา้ น” ประชาชน ประกอบด้วย 3 ชาติพันธุ์ คือ 1 ชนเผ่าม้ง มีนายเลาจือ แซ่หาง เป็นผู้นา ซึ่งในขณะน้ันการปกครอง มีพอ่ เตรียมศักดิ์ เปน็ ผใู้ หญบ่ ้านบ้านรอ่ งส้าน ปี พ.ศ.2528 ด้วยการที่เป็นชุมชนขนาดใหญ่ บ้านร่องส้านเดิมจึงได้แยกการปกครองมาเป็น อกี 1 หมบู่ า้ น ชือ่ “ บา้ นประชาภักดี” หมู่ที่ 13 โดยมีนายหนูเยยี หาญบญุ ศรี เป็นผใู้ หญบ่ า้ น บ้านประชาภักดี เป็นหมู่บ้านที่ได้รับการจัดสรรพื้นที่จากรัฐ และเป็นหมู่บ้านที่มีผู้เข้ามา อาศัยไม่นานมากนัก พ้ืนทห่ี มู่บา้ นสว่ นใหญ่เป็นท่รี าบกวา้ ง เหมาะแก่การทาการเกษตร และเล้ยี งสัตว์ มีพื้นท่ีท้ังหมด 1.363 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่อาศัย 120 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตร 1200 ไร่ และพื้นที่ สาธารณประโยชน์ 43 ไร่ ตลอดเวลาท่ีผ่านมาต้ังแต่เร่ิมต้ังหมู่บ้านในปี พ.ศ.2528 สภาพภูมิประเทศ แทบไม่ได้รับผลกระทบ และเกิดการเปลี่ยนแปลงมากนัก อาจมีเพียงพ้ืนที่ทาการเกษตรท่ียังมีการ บกุ เบกิ พ้นื ท่ีอยูบ่ ้างแนวโน้ม/อนาคต ดา้ นภูมิประเทศ ดว้ ยการพัฒนาด้านเทคโนโลยี และการส่งเสริม การทาการเกษตรแผนใหม่ของรัฐโดยตลอด อาจส่งผลให้เกิดการบุกเบิกพื้นท่ีเพ่ือพัฒนาเป็นพื้นที่ทา การเกษตรทผ่ี ิดกฎหมายเพิ่มมากขึ้น บ้านประชาภกั ดี มพี ้นื ท่ีติดต่อกับพืน้ ทอี่ นื่ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ต่อ บา้ นประชาพัฒนา หมทู่ ่ี 21 ตาบล ร่มเยน็ ทศิ ใต้ ติดตอ่ บ้านใหมร่ ่มเยน็ หม่ทู ่ี7 ตาบล รม่ เย็น ทิศตะวนั ออก ติดต่อ พื้นที่เทือกเขา ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อ บ้านรอ่ งสา้ น หมทู่ ่ี 8 ตาบล ร่มเย็น สภาพภูมิอากาศบ้านประชาภักดี ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบันไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ยังมี อุณหภูมทิ ่สี ูงขน้ึ กว่าอดีตอย่บู ้าง โดยลักษณะภูมอิ ากาศประกอบดว้ ย ฤดรู อ้ น ระหวา่ งเดือน มีนาคม – พฤษภาคม ฤดูฝน ระหวา่ งเดอื น มถิ นุ ายน-ตุลาคม

458 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพน้ื ทสี่ งู ในอดีตและปัจจบุ ัน ฤดหู นาว ระหว่างเดอื น พฤศจกิ ายน – กมุ ภาพนั ธ์ สภาพสิง่ แวดลอ้ มชุมชน อดีต มีการจัดสรรพ้ืนท่ีท่ีเป็นระบบ มีการขุดแหล่งกักเก็บน้าที่เป็นระบบ ทั้งยังมีการจัดพ้ืนท่ี ให้มีพ้ืนที่สาธารณประโยชน์ มีการตั้งกฎระเบียบชุมชนในการบริหาจัดการป่าชุมชน สภาพของป่าชุมชนมี แนวโนม้ คงเดิม หรือมกี ารพัฒนาพน้ื ท่สี าธารณะอืน่ เพอ่ื ปลูกต้นไม้ตง้ั เป็นป่าใช้สอยชุมชน ผู้นาชมุ ชน คือ คณะกรรมการหม่บู า้ นประกอบด้วย 1.นายนพโรจน์ ธันยพนั ร์จริ า ผใู้ หญบ่ ้าน 2.นายวิฉยั คณุ จิระรุง่ เรือง ผชู้ ่วยผ้ใู หญ่บา้ น 3.นายธนกร ยงิ่ ธนไพศาล ผู้ช่วยผู้ใหญบ่ ้าน 4. นายใช้ ศกั ดช์ิ ัยพิบูรณ์ กรรมการฝ่ายวฒั นธรรม 5.นายเซอ้ แซย้ า้ ง กรรมการฝ่ายปฏคิ ม 6.นายชยั ศรี แซ่ยา่ ง กรรมการฝา่ ย ชรบ. 7.นายชานนท์ ศักด์ชิ ัยพบิ ูรณ์ กรรมการฝ่าย อสม. 8.นายนพนนท์ แซ่ยา่ ง กรรมการฝ่ายการศกึ ษา 9.นายสรุ ศักดิ์ แซจ่ าง กรรมการหมบู่ ้านฝ่าย พช. 10.นายเลาเก๊า แชย่ า่ ง กรรมการฝ่ายสงเคราะห์ประจาหมบู่ า้ น 11.นายเกรียงศกั ด์ิ จางศิรสิ กลุ ชัย กรรมการฝ่ายเยาวชน 12.นางวยิ ะดา ยอดมณีกาญจน์ กรรมการฝา่ ยแม่บา้ น บ้านประชาภักดี มีประชากรทงั้ ส้ิน 1,999 คน แยกเป็นชาย 773 คน หญิง 761 คน เดก็ ชาย 251คน เด็กหญิง 214 คน จาก 329 ครัวเรือน 328 หลังคาเรือน(อ้างอิงจากผลการสารวจจานวน ประชากร ราษฏรบนพืน้ ทสี่ ูงจังหวดั พะเยา ปี 2559 โดยศนู ยพ์ ฒั นาชาวเขาจงั หวัดพะเยา) มีหน่วยงานราชการ คือ เขตพัฒนาสังคมพื้นท่ีสูงประชาภักดี ศูนย์พัฒนาราษฏรบนพื้นท่ีสูง จังหวัดพะเยา กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เป็นอาคารสานักงานเพ่ือให้บริการปรึกษาด้านปัญหาสังคม และสง่ เสริมการพัฒนาสังคมในพ้ืนท่ี กลมุ่ อาชพี บา้ นประชาภกั ดี ประกอบด้วย กลุ่มปุ๋ยหมกั กลุม่ ถกั ผ้า กลมุ่ ไมผ้ ล กล่มุ เพาะเห็ด การเกษตรกรรม ของบ้านประชาภักดี มีการปลูกข้าวไร่ และข้าวนาดาบ้างส่วนเพื่อนามา รับประทานภายในครัวเรือน นอกจากน้ันจะเป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆเสริม เช่น ลาไย มะขาม ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ และมีมะม่วงโชคอนันต์ท่ีชาวบ้านนิยมปลูกกันมาก บางปีราคาตกต่าชาวบ้าน ไมส่ ามารถควบคุมราคาผลผลิตที่สู่ตลาดได้

การวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพ้ืนทส่ี งู ในอดีตและปจั จบุ นั 459 แหล่งรายได้ ของชาวบา้ นประชาภักดีมาจาก - การทาเกษตร มศี ิลปหตั ถกรรม ด้านผา้ ปักและผลติ ภัณฑ์แปรรูปจากผ้าปักม้ง ผ้าปกั ลาย ดอกการทาหัตถกรรมของชาวบา้ นประชาภกั ดี บางสว่ นสามารถต่อยอดความคดิ นามาประดิษฐ์เป็น สินคา้ เพื่อขายใหแ้ กน่ ักท่องเที่ยวได้ อย่างไรก็ดยี ่อมต้องการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ดา้ นความร้ใู นการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ให้เปน็ ท่ตี ้องการของตลาดอาเซียนในอนาคตตอ่ ไป สถานศึกษา มีแหล่งศึกษาของชุมชน จานวน 2 แห่ง คือ ท่ีอ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน และกระดานประสานสัมพันธ์ความรู้ของหมู่บ้าน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธควบคู่กับการนับถือ บรรพบรุ ษุ ผลู้ ่วงลบั ศาสนสถาน มอี าศรมพระธรรมจารกิ บ้านประชาภักดี ความสัมพันธ์ ระบบเครือญาติ คือ ความสัมพันธ์ในรูปแบบระบบเครือญาติของชาวม้ง มีค่อนข้างสูง โดยเฉพาะการนับถือโดย อาศัยตระกูลแซ่เป็นส่ือกลาง จะมีความเหนียวแน่นเป็นอย่าง ยง่ิ บ้านประชาภักดี และหมูบ่ า้ นใกล้เคียง ทง้ั หมดเปน็ ชุมชนชาวม้งขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง ในแตล่ ะช่วงปี ใหม่ม้ง ประมาณเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ของทุกปี จะมีการจัดเทศกาลปีใหม่ม้งท่ีย่ิงใหญ่ จัดโดย ชาวม้งพ้ืนท่ี นาโดยสมาคมมง้ จังหวัดพะเยา ลกู หลาน ญาตมิ ิตร ทีไ่ ปทางานต่างพน้ื ที่ จะกลับมาเฉลิมฉลอง เทศกาลดังกล่าว ซ่ึงสามารถสร้างความสนใจ ให้แก่นักท่องเที่ยวท้ังในและนอกพื้นท่ีได้เป็นอย่างดี วัฒนธรรมชนเผ่า คือ วันไหว้บรรพบุรุษ วัฒนธรรมการต้ังช่ือจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ เม่ือมีครอบครัวและ บุตรแล้ว มีประเพณีพื้นบ้าน เช่น ประเพณีปีใหม่ม้ง เล้ียงศาลกล่าวเจ้าที่ (ดงเซ้ง) ทาบุญทอดสะพาน เสริมดวง ต่ออายุ บายศรีสู่ขวัญเด็กเกิดใหม่ มี ศิลปะการแสดง เช่น ลูกข่างม้ง โกคาร์ม้ง (รถลาก เลื่อน) แคนม้ง ลูกช่วง การแต่งกายชาย เส้ือแขนยาวจรดข้อมือ แต่ชายเส้ือระดับเอว ปกสาบเสื้อ ดา้ นขวาจะปา้ ยเลยมาทับซกี ซ้ายของตัวเส้ือตลอดจนแนวสาบเสื้อจะใชด้ า้ ยสี และปกั ผ้าลวดลายต่างๆ สะดุดตา กางเกงสีเดียวกับเสื้อ มีลักษณะขากว้างมากแต่ปลายขาแคบลง ส่วนที่เห็นได้เด่นชัด คือ เป้ากางเกงจะหย่อนลงมาจนต่ากว่าระดับเข่ารอบเอวจะมี ผ้าสีแดงพันทับกางเกงไว้ซ่ึงชายผ้าทั้ง สองข้างปักลวดลายสวยงาม อยู่ด้านหน้า และนิยมคาดเข็มขัดทับผ้าแดงไว้ หญิง ปัจจุบันเสื้อม้งเขียว หรือม้งดาจะทาให้มีหลากหลายสีมากข้ึน ชายเส้ือยาวจะถูกปิดเดียวกระโปรงเวลาสวมใส่ สาบเส้ือ ทั้งสองข้างจะปัก ลวดลาย หรือขลิบด้วยผ้าสี ด้วยกระโปรงจีบเป็นรอบทาเป็นลวดลายต่างๆ ทั้งการ ปกั และย้อมรอยผา่ ของกระโปรงอยู่ดา้ นหน้า มผี ้าเหล่ยี มผืนยาวปักลวดลายปดิ รอยผ่า และมีผ้าสแี ดง คาดเอวทับอีกที่หน่ึง โดยผูกปล่อยชาย เป็นหางไว้ด้านหลัง สาหรับกระโปรงน้ีจะใส่ในทุกโอกาส และในอดีตนยิ มพันแขง้ ด้วยผ้าสดี าอย่างประณตี ซอ้ นเหล่ียมเป็นชั้น ๆ ปัจจุบันกไ็ มค่ อ่ ยนิยมใสก่ ันแล้ว ผู้หญิงม้งดานิยมพันผมเป็นมวยไว้ตรงกลางกระหม่อม และมีช้องผมมวยซ่ึงทามาจากหางม้าพันเสริม ให้มวยผมใหญ่ข้ึนใช้ผ้าแถบเป็นตาข่าย สีดาพันมวยผมและประดับด้วยลูกปัดสีสวยๆ ส่วนเครือ่ งประดับเพมิ่ เติมนั้น มีลักษณะเหมอื นกบั มง้ ขาว

460 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทียบการพัฒนาบนพนื้ ที่สูงในอดตี และปจั จบุ ัน 15. ศ1นู5.ยศพ์ นู ัฒยน์พาัฒรานษาฎรารษบฎนรพบน้ื นทพีส่ ้ืนูงจทัง่สี หูงวจัดงั หแพวัดรแ่ พร่ 29) ชมุ ชนทบี่้า2น9แมบ่พ้านร้าแวม่พตร.ส้าะวเอตีย.สบะเออ.ียสบองอจ.ส.แอพงรจ่ (.แผพ่าอรา่ (ขผ่าา่ )อาขา่ ) ประวตั คิ วามเป็นมาของชุมชน เดมิ ย้ายมาจากเชียงราย ยา้ ยมาปี พ.ศ. 2515 ภมู ปิ ระเทศ (สารวจสงั เกตบันทกึ ข้อมลู เกี่ยวกับสภาพพ้ืนท่ี สภาพภูมิศาสตร์ของชมุ ชน) - อดตี (ช่วง 5 ปี ท่ีผ่านมา) สภาพพื้นทเี่ มอ่ื 5 ปีก่อน คอ่ นขา้ งอยู่ง่าย - ปัจจุบัน (สภาวะปจั จุบนั ชว่ ง 5 ปนี ี)้ ปจั จุบนั คอ่ นขา้ งเส่ือม เนือ่ งจากทามาหลายปี - แนวโนน้ /อนาคต (สภาวะการณต์ ่อจาก 5 ปี ปจั จุบนั ) อาจเป็นไปได้ถ้าไม่มีแนวทางแก้ไข สภาพสง่ิ แวดล้อมชุมชน (สภาพภูมสิ ถาปตั ย์ชมุ ชน/แผนผัง/แผนทชี่ มุ ชน) - อดตี (ช่วง 5 ปี ท่ีผ่านมา) สภาพโดยรอบเต็มไปด้วยธรรมชาติ - ปจั จุบัน (สภาวะปจั จบุ นั ชว่ ง 5 ปนี ้)ี ปจั จุบันโดยรวม โล่งโดยมบี างสว่ นให้เห็นอยู่ - แนวโน้น/อนาคต (สภาวะการณต์ อ่ จาก 5 ปี ปัจจบุ นั ) แนวโน้นอนาคตอาจมีการเปลยี่ น สภาพเศรษฐกจิ (แยกตามกลุ่มอาชพี ในชมุ ชน) - กลมุ่ อาชีพหลักในชุมชน ทาการเกษตร - การเกษตรกรรม ข้าวโพด เสาวรส ฟักทอง สบั ปะรด - แหลง่ รายได้ พ่อคา้ ไดม้ าจากโครงการตา่ งๆ - ศลิ ปะหตั ถกรรม ผ้าด้นมือ - รา้ นค้า/สนิ ค้า/ลานจาหน่ายสนิ ค้า ขายตามงานตา่ งๆ สภาพสงั คม - ศาสนา/ความเช่ือ/ลัทธิ ศาสนาพุทธ ความเชอ่ื ผบี รรพบุรุษ - อัตลกั ษณ์ความเปน็ ชนเผา่ (มีกเ่ี ผ่าและอัตลักษณ์ของเผา่ ) มี 1 เผา่ การแตง่ กาย - บุคคลผ้ยู งั ไม่ไดม้ สี ัญชาติไทย 6 คน ไปแตง่ งานและมีครอบครัวทเี่ ชยี งราย การสาธารณสุข/สุขภาพคนในชมุ ชน - สภาวะสุขภาพกาย/ใจของราษฎรบนพ้นื ทส่ี ูง มีบางคนที่ไม่สบาย แตก่ ็แข็งแรงเปน็ ส่วนมาก - พฤตกิ รรม สขุ ภาพของประชาชน สว่ นมากผสู้ ูงอายุท่พี บพฤติกรรมที่ไม่สบาย - โรคพื้นบา้ น/การรักษาพน้ื บา้ น ปวดข้อมอื ขอ้ เทา้ รกั ษาโดยทายาสมนุ ไพร - สมนุ ไพรพ้นื บ้าน เกบ็ หลายอย่างมารวมกัน - หมอพ้นื บ้าน ใช้ทาบ้าง กนิ ยาน้าบา้ ง วฒั นธรรมชุมชน - วัฒนธรรมชนเผา่ มี 1 เผ่า ประเพณีปีใหม่ของแต่ละปี - ประเพณีพืน้ บ้าน ปีใหมป่ ระจาปี โล้ชงิ ช้า เลน่ ลูกขา่ ง - ศิลปะการแสดง การแสดงของแมบ่ ้านและเดก็ นกั เรยี นในชว่ งเทศกาล - การแตง่ กาย จะแตง่ กายชดุ ชนเผ่า - อาหาร อาหารพ้ืนบ้าน ตามความชอบ สภาวะการณ์ อ่นื ๆ ทเ่ี ปน็ ประเด็นปญั หาของราษฎรบนพนื้ ท่ี 1. ปัญหาทุกเรอ่ื งอาจไมต่ รงประเด็นและไม่ครบทุกประเภท 30) ชุมชนบา้ นหว้ ยฮ่อมพฒั นา ม.13 ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 1. ประวัติความเป็นมาของชุมชน เป็นเผา่ มง้ อพยพมาจากบ้านขนุ สถาน อ.นานอ้ ย จ.นา่ น 2. ภมู ปิ ระเทศ

การวจิ ยั การศึกษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพนื้ ท่ีสงู ในอดตี และปจั จุบนั 461 1. ปัญหาทุกเรื่องอาจไมต่ รงประเด็นและไม่ครบทุกประเภท ช30มุ )ชชนมุทชี่ 3น0บบ้านา้ นหห้วย้วฮยอ่ฮมอ่ พมพัฒฒั นานามม.1.313ต.ตบ.บ้าน้านเวเียวงยี งอ.อร.้อรงอ้ กงวกาวงางจ.จแ.พแพร่ร่ 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของชุมชน เปน็ เผา่ มง้ อพยพมาจากบา้ นขุนสถาน อ.นานอ้ ย จ.นา่ น 2. ภูมปิ ระเทศ 2.1 อดตี (ชว่ ง 5 ปี ที่ผ่านมา) มปี า่ ไม้อดุ มสมบรู ณ์ มลี าห้วยนา้ ไหลผ่านตลอดปี 2.2 ปจั จบุ ัน (สภาวะปจั จบุ ันชว่ ง 5 ปีน้ี) สภาพป่าลดลง หนา้ แลง้ ขาดแคลนน้า ลาห้วยมนี ้านอ้ ยลง 2.3 แนวโน้น/อนาคต (สภาวะการณ์ตอ่ จาก 5 ปี ปจั จุบัน) ไม่มตี ้นไมใ้ หญ่ น้าใช้มนี ้อย ฝนลดนอ้ ยลง 3. ภมู ปิ ระเทศ 3.1 อดีต (ชว่ ง 5 ปี ท่ีผ่านมา) ฤดูหนาวอากาศเย็น ฝนตกตามฤดูกาล 3.2 ปัจจบุ ัน (สภาวะปัจจุบนั ชว่ ง 5 ปนี )้ี อากาศร้อนเพิ่มขึ้น ฝนตกนอ้ ยลง 3.3 แนวโนน้ /อนาคต (สภาวะการณต์ อ่ จาก 5 ปี ปัจจุบัน) อากาศจะร้อนเพ่ิมขน้ึ ฝนจะแล้ง นา้ ไม่พอใช้ 4. สภาพส่ิงแวดล้อมชุมชน (สภาพภูมิสถาปัตย์ชมุ ชน/แผนผงั /แผนทีช่ ุมชน) 4.1 อดีต (ชว่ ง 5 ปี ที่ผา่ นมา) มีปา่ ไม้แวดล้อม อากาศเย็นสบาย มีประปาหมู่บา้ น 4.2 ปัจจบุ ัน (สภาวะปจั จบุ ันชว่ ง 5 ปนี ้ี) ปา่ ไม้เร่ิมลดลง อากาศเรม่ิ ร้อน เสน้ ทางคมนาคม สะดวกขึ้น 4.3 แนวโน้น/อนาคต (สภาวะการณ์ต่อจาก 5 ปี ปจั จบุ ัน) สภาพความเป็นปา่ ไมล้ ดลง 5. โครงสร้างชมุ ชน 5.1 ผู้นาชุมชน เปน็ ผู้นาทีช่ ุมชนเลอื กข้นึ และไดร้ บั การแต่งตงั้ 5.2 โครงสร้าง/จานวนประชากร ชนเผ่าม้ง จานวน 992 คน ชนเผา่ มลาบรี จานวน 87 คน 5.3 กตกิ า/กฎ/ระเบียบชุมชน 5.4 อาณาเขตพ้ืนท่ีติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จ.น่าน ทิศใต้ ติดต่อกับ จ.อุตรดิตถ์ ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั จ.น่าน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านปากหว้ ยออ้ ย อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 5.5 หนว่ ยงานราชการ เขตพัฒนาราษฎรบนพืน้ ทีส่ ูงบ้านห้วยฮอ่ ม/กศน./อนามยั /โรงเรียน 6. สภาพเศรษฐกจิ 6.1 กลุ่มอาชีพหลักในชมุ ชน การเกษตร 6.2 การเกษตรกรรม การปลูกข้าวโพด ขา้ วไร่ พชื โครงการหลวง สงิ่ ของ ผลิตขายได้ 6.3 แหล่งรายได้ การขายผลผลิตทางการเกษตร 6.4 ศิลปหตั ถกรรม การปักผ้าลายมง้ ผ้าเขียนเทยี น ไม่ค่อยมีใครทา 6.5 รา้ นคา้ /สินค้า/ลานจาหน่ายสนิ ค้า ยงั ไม่มี 7. สภาพสงั คม 7.1 การศึกษา/สถานศึกษา คนในชุมชนได้รับการศึกษาตามเกณฑ์ มีศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนขยายโอกาส 7.2 ศาสนา/ความเชอ่ื /ลัทธิ ยงั นับถอื ผีอยเู่ ปน็ บางสว่ น มศี าสนาพุทธและครสิ ต์

462 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพฒั นาบนพ้ืนทสี่ ูงในอดีตและปจั จุบนั 7.3 ศาสนสถาน/สญั ลักษณ์ มีโบสถ์ 1 แห่ง 7.4 ความสัมพันธ์ ระบบเครอื ญาติ ยงั มีความเปน็ ระบบเครือญาตทิ ้ัง 2 เผ่า 7.5 อตั ลกั ษณค์ วามเป็นชนเผ่า มี 2 เผา่ เผ่ามง้ การแตง่ กายชดุ ประจาเผา่ /มลาบรวี ิถชี ีวติ ท่ีเรียบงา่ ย 7.6 บุคคลผู้ยังไม่ได้มีสัญชาติไทย 35 คน มีบัตรประจาบุคคลท่ีไม่มีสถานะทางทะเบียนแล้ว รอลงสถานะขอสญั ชาตไิ ทย 8. การสาธารณสุข/สขุ ภาพคนในชมุ ชน 8.1 สภาวะสุขภาพกาย/ใจของราษฎรบนพืน้ ทีส่ ูง สมบูรณ์ แขง็ แรงดี 8.2 พฤติกรรม สขุ ภาพของประชาชน เมอ่ื เจบ็ ป่วย จะเขา้ รบั การรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบล 8.3 โรคพ้นื บา้ น/การรักษาพื้นบา้ น 8.4 สมุนไพรพืน้ บ้าน 8.5 หมอพื้นบ้าน 9. วฒั นธรรมชมุ ชน 9.1 วัฒนธรรมชนเผ่า เผ่าม้งมีการรักษาประเพณีวัฒนธรรมอยู่ นับถือผีและพุทธ/มลาบรี การตายยังคงรูปแบบเดิม คอื การฝงั 9.2 ประเพณพี ้ืนบ้าน ไมม่ ีประเพณี 9.3 ศิลปะการแสดง เผา่ มง้ เป่าแคน เตน้ ราเผา่ ม้ง ใช้แสดงรับแขก ปใี หม่/มลาบรี ไม่มี 9.4 การแต่งกาย เผ่าม้งมีชุดที่เป็นเอกลักษณ์ จะแต่งเต็มในวันปีใหม่/เผ่ามลาบรี เดิมจะนุ่ง ใบตอง ปัจจบุ ัน นงุ่ เสือ้ ผา้ 9.5 อาหาร อาหารพ้นื บา้ น ตามความชอบ 10. สภาวะการณ์ อ่นื ๆ ท่ีเป็นประเดน็ ปญั หาของราษฎรบนพนื้ ที่ 1. ที่อยอู่ าศยั อยู่ในเขตปา่ สงวน ไมม่ เี อกสารสทิ ธ์ิ 2. สภาวะผลผลิตตกต่า รายไดน้ อ้ ย 3. เดก็ เยาวชน ความสนใจท่จี ะศกึ ษาต่อในระดับสูง

การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ท่ีสงู ในอดตี และปจั จบุ ัน 463 1ช31616มุ .).ชศศชนูนูนมุทยชย่ี พ์3นพ์ 1บัฒัฒ้านบนนา้าาหรนราว้ าหษยษว้ฎเลฎยรียรบเลบบนียนพหบพมื้นห้นืทู่ทมท่สีี่ 5ู่ทงูสี่ จูง่ีต5งัจาหงับตวหล�ำดั วบแนัดมลา่ น่ขแนา่ มะนน่ขงิะนองิ าเอภ�ำ อเเภวอยี เงวสียางสจาังหจวังหัดนวัด่านน่าน 1.ประวตั คิ วามมาของชุมชน บ้านห้วยเลยี บ หม่ทู ี่ 5 ตาบลแม่ขะนงิ อาเภอเวยี งสา จังหวัดน่าน ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2518 โดยชาวบ้านจากบ้านห้วยไฟ (ชาวเขาเผ่าเม่ียน) เข้ามาทาไร่ก่อน แต่ต่อมาได้ชักชวน พ่ีน้องเข้ามาทาไร่กันมากข้ึนจึงจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน ช่ือบ้านห้วยเลียบ ซ่ึงคาว่า “เลียบ หากเป็นภาษา พื้นเมืองจะหมายถึง มีลาห้วยไหลผ่านกลางหมู่บ้าน จึงได้ชื่อว่าบ้านห้วยเลียบ โดยได้รับอนุญาตอย่าง เปน็ ทางการเมื่อพ.ศ.2531 2.ภมู ปิ ระเทศ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงและป่าไม้ล้อมรอบด้วยภูผา ลาห้วยเลียบ และลาห้วยไหล ผ่านหมู่บ้าน พ้ืนท่ีเป็นท่ีราบเชิงเขา ประชาชนต้ังถ่ินฐานอยู่ตามท่ีราบระหว่างภูเขาตามเนินเขาที่ไม่ ชันมากนกั ตามรมิ หว้ ยที่ไหลผ่านหมูบ่ า้ น 3.ภมู อิ ากาศ ภูมิอากาศมีลักษณะแบบป่าฝนเมืองร้อน มี 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูหนาวและฤดูร้อน ฤดูหนาว อากาศหนาวเย็นมาก บางปีหนาวถึงกับว่าหยดน้าคา้ งท่อี ยู่บนยอดหญ้าเป็นนา้ แข็ง 4. สภาพแวดลอ้ มชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ ที่ยังคงเหลืออยู่จริงประมาณ 100 ไร่ (ข้อมูลปี 2542) ป่าไม้ส่วนใหญ่ถูกทาลาย จากการทาไร่เล่ือนลอยของชาวบ้าน และการถูกลักลอบตัดไม้ของนายทุนจนทาใหเ้ กิดป่าเส่ือมโทรม ในบริเวณพน้ื ทห่ี ลายรอ้ ยไร่ ป่าไม้ชุมชน เกิดจากการท่ีหน่วยพัฒนาต้นน้าแม่ขะนิงของกรมป่าไม้และการเห็นคุณค่า ของป่าไม้ของชาวบา้ นท่รี ่วมมือกันปลกู ปา่ ชมุ ชนขึ้นโดยมีพ้ืนทป่ี ระมาณร้อยกว่าไร่ สัตว์ป่า มีหมูป่า ลิง ตัวตะกวด ตัวกินมด นกชนิดต่าง ๆ ฟาน ฯลฯ สัตว์ป่าเหล่านีม้ ีเหลอื อยู่ ไมม่ ากนัก เน่อื งจากถูกลา่ มาเป็นอาหารจากชาวบา้ นและลา่ เพ่ือการจาหนา่ ย แหล่งน้า มีแหล่งน้าท่ีไหลผ่านหมู่บ้าน แหล่งน้าเหล่านี้ส่วนใหญ่นามาใช้ในการอุปโภค บริโภค การเกษตร และเป็นแหล่งท่องเท่ียวมีน้าตกหว้ ยเลียบที่สวยงามคอื -ลาห้วยเลยี บ -ลาห้วยตน้ ตอง - ลาหว้ ยหมู่ -ลาห้วยตน้ ผ้งึ -ลาหว้ ยบอน -ลาห้วยจันต๊ะ -ลาห้วยเมีย้ ง เส้นทางคมนาคม จากจังหวัดน่านถึงบ้านห้วยเลียบ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 เล้ียวเข้าใช้เส้นทางบ้านดู่ใต้ – แม่ขะนิง และเดินทางต่อเส้นทางแม่ขะนิง-ห้วยหยวก เล้ียวเข้าถนน

464 การวิจยั การศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพ้นื ท่ีสงู ในอดีตและปัจจบุ ัน ท่ีหน่วยต้นน้าแม่ขะนิงไปหาหมู่บ้านบ้านห้วยเลียบ การคมนาคมจากจังหวัดน่านถึงหน่วยต้นน้า บ้านห้วยเลียบเป็นถนนดินธรรมดา ไม่มีลูกรัง ฤดูฝนลาบากมากรถยนต์เข้าไม่ได้ ไม่มีรถโดยสารประจาทาง สว่ นถนนในหมู่บา้ นเป็นถนนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ การส่ือสาร ในหมู่บ้านมีระบบโทรศัพท์สาธารณะมีอยู่ 2 จุด คือ ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน และหน้าสถานีอนามัยหลังเก่า มีการสื่อสารทางจดหมาย โดยผู้ใหญ่บ้านรับ-ส่งในวันประชุม ประจาเดือน การสาธารณูปโภค ในหมู่บ้านมีระบบน้าประปาภูเขา ชาวบ้านจะมีน้าประปาใช้ตลอดปี นอกจากจะมีน้าประปาภูเขาแล้ว การบริโภคยังอาศัยน้าห้วยที่มีอยู่ในบริเวณหมู่บ้านอีกหลายสาย และภายในหมูบ่ ้านมีไฟฟา้ ใช้เกือบทุกหลังคาเรือน 5.โครงสร้างชมุ ชน 5.1 ผ้นู าชมุ ชน (ทั้งผนู้ าตามธรรมชาติและผู้นาแบบทางการ) 1. ผ้ใู หญ่บ้าน 2. ผชู้ ่วยผ้ใู หญบ่ า้ น 3. สมาชกิ อบต. 4. หัวหนา้ คมุ้ 5. กรรมการฝา่ ยปกครอง 6. กรรมการประปา 7. กรรมการสถานศกึ ษา 8. กรรมการประชาคม 9. กรรมการฝ่ายตา่ ง ๆ ในหมู่บา้ น 5.2 โครงสร้าง/จานวนประชากร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเผ่าถิ่น เรียกตัวเองว่าคนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมา จากบ้านสบมาง บ้านห่างทางหลวง บ้านนากอก บ้านนาขวาง อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จานวน ครวั เรอื น 95 ครวั เรือน ประชากร 345 คน ชาย 196 คน หญงิ 149 คน 5.3 อาณาเขตพน้ื ที่ติดต่อ ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับบ้านห้วยไฟและตาบลเรือง อาเภอเมือง จังหวดั นา่ น ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับบา้ นป่าแพะ ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับบา้ นปา่ แพะและตาบลบ่อสวก อาเภอเมือง จงั หวัดน่าน ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับบา้ นห้วยไฟ ตาบลแม่ขะนิง อาเภอเวยี งสา เน้อื ทบี่ ้านห้วยเลยี บ มีพนื้ ทท่ี ั้งหมดประมาณ 3,800 ไร่ 6. สภาพเศรษฐกิจ 6.1 กลุ่มอาชพี หลักของคนในชมุ ชน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร และรับจ้างทั่วไป อาชีพ ที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ทาคือ การทานา ทาไร่ข้าวโพด และการเล้ียงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ สุกร ปลา เป็นตน้

การวจิ ัยการศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพื้นท่สี งู ในอดตี และปัจจุบัน 465 ประชากรส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมทาให้เกิดการว่างงานในช่วงหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว บางคน ต้องออกไปหางานทาในเมืองหลวง รายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรเฉลี่ยแล้วครอบครัวละ ประมาณ 4,000 – 5,000 บาทตอ่ ปี ครอบครัวสว่ นใหญ่มฐี านะยากจน 6.2 การเกษตรกรรม (มอี ะไรบ้าง/สถานภาพความเป็นเข้มแขง็ เปน็ อย่างไร) - ทานา จานวน 26 ครัวเรือน - ทาไร่ จานวน 93 ครวั เรือน - เลย้ี งสตั ว์ จานวน 30 ครัวเรอื น - ปลกู พชื ผกั จานวน 10 ครัวเรือน 6.3 แหล่งรายได้ รายไดส้ ่วนใหญม่ าจากการทาอาชีพการเกษตรเฉล่ีย 38,607 บาท/ครอบครวั /ปี รายได้นอกภาคเกษตรเฉลย่ี 5,000 บาท/ครัวเรือน/ปี 7. สภาพสังคม 7.1 การศกึ ษา/สถานศกึ ษา การศกึ ษามีโรงเรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ชื่อโรงเรยี นไตรธารวทิ ยา 7.2 ศาสนา/ความเชื่อ/ลัทธิ ศาสนา ที่นับถือมีอยู่ 2 ศาสนา คือ ศาสนาพุทธ กับศาสนาคริสต์ แต่ชาวบ้านส่วน ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีความเช่ือเร่ืองไสยศาสตร์สืบทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ มีขนบธรรมเนียม ทบี่ างอยา่ งชาวพนื้ เมืองเหนือ เช่น การรดนา้ ดาหวั ผู้เฒ่าผู้แก่ การเคารพความเป็นอาวโุ ส การสะเดาะเคราะห์ การส่ขู วัญ ผกู ขอ้ มือ การสบื ชะตา การเล้ียงผีบา้ นผเี รอื น ผีประจาหม่บู า้ น เพ่อื เป็นการเซน่ ไหว้ขอขมา 7.3 ศาสนาสถาน/สญั ลกั ษณ์ มีอาศรมพระธรรมจาริก ประจาหมูบ่ า้ นหว้ ยเลียบ 7.4 ความสัมพันธ์ระบบเครือญาติ (ชนเผา่ /แผนภูมคิ วามเปน็ เครือญาตใิ นชุมชน) - 7.5 อตั ลกั ษณค์ วามเปน็ ชนเผ่า ชนเผา่ ถิน่ 7.6 บุคคลผูย้ ังไมไ่ ด้มีสัญชาติไทย - 8. การสาธรณสขุ /สภุ าพคนในชุมชน สถานบริการทางด้านสาธารณสุขของบ้านห้วยเลียบ ภายในหมู่บ้านไม่มีแต่มีอยู่อีกหมู่บ้านหน่ึง คอื บา้ นตะเคียนทอง เปน็ สถานอี นามัยชน้ั 1 อยู่ห่างจากหมู่บา้ นประมาณ 6 กโิ ลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงดี โดยได้รับคาแนะนาในการรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล จากเจ้าหน้าที่อนามยั บ้านหว้ ยตะเคียนทองอยู่เสมอ

466 การวิจยั การศึกษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพน้ื ทีส่ ูงในอดตี และปจั จบุ ัน 9. วฒั นธรรมชุมชน 9.1วัฒนธรรมชน มี 1 ชนเผ่าคือ ชนเผ่าถน่ิ 9.2 ประเพณีพ้นื บ้าน ประเพณีพื้นบ้าน เป็นประเพณีที่บางอย่างเหมือนชาวพื้นเมืองเหนือ เช่น การรดน้า ดาหัวผู้เฒ่าผู้แก่ การเคารพความเป็นอาวุโส การสะเดาะเคราะห์ การสู่ขวัญ ผูกข้อมือ สืบชะตา การเลี้ยงผบี ้านผเี รือน ผปี ระจาหมบู่ า้ น เพอ่ื เปน็ การเซ่นไหว้ขอขมา 9.3 การแตง่ กาย การแต่งกายจะแตง่ ตามสมยั นิยม ไม่มีสญั ลักษณ์เปน็ ของตนเอง ข้าวท่ีรบั ประทาน จะเป็นขา้ วเหนยี ว 9.4 อาหาร รบั ประทานข้าวเหนยี วเปน็ หลัก

การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพืน้ ที่สูงในอดีตและปจั จบุ ัน 467 3ช2ุม)ชบนา้ ทน่ี ห3่า2งทบาา้ งนหหลา่วงงทาหงมหูท่ ลี่ ว2งตาหบมลทู่ ภ่ี ฟู2้าต�ำอบาเลภภอูฟบ้า่อเอกำ�ลเภอื อจบงั ่อหเวกดั ลนือา่ จนงั หวดั น่าน 1. ประวัติความมาของชุมชน เดิมบ้านห่างทางหลวง ต้ังอยู่บริเวณชายแดนไทย – ลาว อาเภอบ่อเกลือ (อดีตขึ้นกับเขตปกครองอาเภอปัว) มีราษฎรประมาณ 30 ครัวเรือน จากนั้นปี 2512 บ้านห่างทาง หลวงได้แตกเพราะภัยสงครามความไม่สงบตามเขตชายแดนไทย – ลาว โดยกล่มุ ผกค. (คอมมวิ นิสต์) ทาให้ราษฎรได้อพยพเข้าไปอาศัยอยู่ในฝ่ังลาวได้ 6 ปี (2512 – 2518) จึงได้อพยพกลับเข้ามาในฝ่ัง ไทย เพราะสถานการณ์ในลาวกาลังรุนแรง โดยกลุ่มปฏิวัติการปกครองกับประเทศฝรั่งเศส และได้ อพยพเข้าไทยทางเขตกิ่งอาเภอแม่จริม บ้านน้าพูนและได้รับความช่วยเหลือจากองค์การ สหประชาชาติหรือ UN โดยให้อาศัยในศูนย์ลี้ภัยหรือศูนย์อพยพบ้านสบตวง เขตกิ่งอาเภอแม่จริม จงั หวัดนา่ น เป็นเวลา 6 ปี (2518-2524) และทางราชการกจ็ ัดหาที่อยู่ให้ใหมโ่ ดยแบ่งเป็น 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศท่ี 3 คือประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา โดย ความสมัครใจและคนทอ่ี ยู่ในประเทศไทยทางการจึงจัดให้มาตั้งถ่ินฐานอยใู่ นเขตตาบลบ่อเกลือ อาเภอ บ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในปี พ.ศ.2527 และนายอาเภอ (นายพูนชัย เหนี่ยมวัฒนา) ได้ต้ังชื่อหมู่บ้าน ว่าบ้านสบกอก และต่อมาจึงได้เปล่ียนกลับไปใช้ช่ือหมู่บ้านเดิมคือบ้านห่างทางหลวง ในปี พ.ศ.2533 จนถึงปจั จุบันนี้ 2. ภูมิประเทศ (สารวจสงั เกตบนั ทึกข้อมลู เกยี่ วกับสภาพพ้ืนที่ สภาพภูมศิ าสตร์ของชุมชน) สภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่ เป็นสันเขาและป่าไม้ หมู่บ้านตั้งอยู่กลางหุบเขา ส่วนท่ีราบเชิงเขาเล็กน้อย มลี านา้ มางไหลผา่ น และมลี าน้าหว้ ยขมนิ้ ไหลผา่ นกลางหมบู่ ้านตลอดทงั้ ปี 3. ภมู อิ ากาศ ภมู อิ ากาศมลี ักษณะแบบปา่ ฝนเมืองร้อน มี 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดหู นาวและฤดูร้อน ฤดหู นาว อากาศหนาวเย็นมาก 4. สภาพแวดลอ้ มชมุ ชน ทรพั ยากรธรรมชาติ ปา่ ไม้เป็นป่าแพะและมสี ัตวป์ า่ มีหญ้าสามเหลย่ี ม ไมไ้ ผ่ กา้ นตอง ซ่งึ ชาวบา้ นใชส้ าหรับงานจกั สาน ชาวบ้านสามารถหาของป่า พืชผักตามฤดูกาล เช่น หน่อไม้ เห็ดต่าง ฯลฯ มีน้ามางและห้วยขมิ้น ที่ชาวบ้านสามารถไปจบั กงุ้ หอย ปู ปลาตา่ ง ๆ มายงั ชพี 5. เส้นทางคมนาคม จากจังหวัดน่านใช้ทางหลวงได้ 2 ทางคือ สายน่าน-สันติสุข และถนนสายน่าน – ปัว – บ่อเกลือ เป็นถนนลาดยาง การคมนาคมสะดวกสามารถเดินทางได้ตลอดทั้งปี ถนนภายในหมู่บ้านเป็นถนน คอนกรตี เสริมเหล็ก

468 การวิจยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพืน้ ท่ีสงู ในอดตี และปจั จบุ ัน 6. จานวนพ้นื ท่ขี องหม่บู ้านท้งั หมด จานวน ๒,๐๖๐ ไร่ แยกเป็น พื้นทที่ าการเกษตร (ทานา ทาไร่ ทาสวน) จานวน ๑,๒๐๐ ไร่ พ้ืนที่อยอู่ าศัย จานวน ๑๕๐ ไร่ พ้นื ท่สี าธารณะ จานวน ๑๐ ไร่ พนื้ ที่อ่ืน ๆ (ระบุ) จานวน ๗๐๐ ไร่ 7. โครงสร้าง/จานวนประชากร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเผ่าถ่ิน เรียกตัวเองว่าคนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมา จากบ้านสบมาง บ้านห่างทางหลวง บ้านนากอก บ้านนาขวาง อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จานวน ครวั เรือน 95 ครัวเรือน ประชากร 345 คน ชาย 196 คน หญิง 149 คน 8. อาณาเขตพื้นที่ตดิ ตอ่ ทศิ เหนือ ติดต่อกับบ้านห้วยไฟและตาบลเรอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดนา่ น ทิศใต้ ตดิ ต่อกับบา้ นป่าแพะ ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านปา่ แพะและตาบลบอ่ สวก อาเภอเมอื ง จังหวดั น่าน ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับบา้ นห้วยไฟ ตาบลแมข่ ะนิง อาเภอเวยี งสา เนอื้ ท่ีบ้านห้วยเลยี บ มีพน้ื ทที่ ้ังหมดประมาณ 3,800 ไร่ 9. สภาพเศรษฐกิจ 9.1 กล่มุ อาชีพหลักของคนในชมุ ชน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรแบบอาชีพและรับจ้างท่ัวไป อาชีพที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ทาคือ การทานา ทาไร่ข้าวโพด และการเล้ียงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ สุกร ปลา เป็นต้น ประชากรส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมทาให้เกิดการว่างงานในช่วงหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว บางคน ต้องออกไปหางานทาในเมืองหลวง รายได้ท่ีจากการประกอบอาชีพเกษตรเฉล่ียแล้วครอบครัว ละประมาณ 4,000 – 5,000 บาทตอ่ ปี ครอบครวั สว่ นใหญ่มีฐานะยากจน 9.2 การเกษตรกรรม - ทานา จานวน 26 ครัวเรือน - ทาไร่ จานวน 93 ครัวเรอื น - เลีย้ งสตั ว์ จานวน 30 ครัวเรอื น - ปลูกพชื ผัก จานวน 10 ครัวเรือน 9.3 แหลง่ รายได้ (ระบทุ มี่ าของรายได้รวมในชมุ ชน) รายไดส้ ่วนใหญม่ าจากการทาอาชีพการเกษตรเฉล่ีย 38,607 บาท/ครอบครวั /ปี รายได้นอกภาคเกษตรเฉลีย่ 5,000 บาท/ครวั เรือน/ปี 9.4 ศิลปหตั ถกรรม (มีอะไรบ้าง/สถานภาพความเข้มแข็งเป็นอยา่ งไร) – 9.5 รา้ นคา้ /สนิ ค้า/ลานจาหนา่ ยสนิ คา้ –

การวจิ ยั การศกึ ษาเปรียบเทียบการพฒั นาบนพื้นทส่ี งู ในอดีตและปจั จบุ ัน 469 10. สภาพสงั คม 10.1 การศึกษา/สถานศกึ ษา การศึกษามีโรงเรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ชอื่ โรงเรียนไตรธารวทิ ยา 10.2 ศาสนา/ความเชือ่ /ลัทธิ ศาสนา ท่ีนับถือมีอยู่ 2 ศาสนา คือ ศาสนาพุทธ กับศาสนาคริสต์ แต่ชาวบ้านส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มีความเช่ือในเรื่องไสยศาสตร์สืบทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ มีขนบธรรมเนียม ทีบ่ างอย่างชาวพื้นเมืองเหนือ เช่น การรดน้าดาหวั ผเู้ ฒา่ ผูแ้ ก่ การเคารพความเปน็ อาวุโส การสะเดาะเคราะห์ การสขู่ วัญ มัดมอื การสืบชะตา การเลย้ี งผบี ้านผีเรอื น ผีประจาหมู่บา้ น เพือ่ เป็นการเซน่ ไหว้ขอขมา 10.3 ศาสนาสถาน/สญั ลกั ษณ์ มอี าศรมพระธรรมจาริก ประจาหมูบ่ า้ นหว้ ยเลยี บ 10.4 ความสัมพันธ์ระบบเครือญาติ (ชนเผ่า/แผนภมู ิความเป็นเครือญาตใิ นชมุ ชน) - 10.5 อัตลกั ษณค์ วามเปน็ ชนเผา่ มี 1 ชนเผ่า คือชนเผา่ ถ่ิน 10.6 บคุ คลผู้ยังไมไ่ ด้มีสัญชาติไทย - 11. การสาธารณสุข/สุขภาพคนในชุมชน สถานบริการทางด้านสาธารณสุขของบ้านห้วยเลียบ ภายในหมู่บ้านไม่มีแต่มีอยู่อีกหมู่บ้าน หนึ่ง คือ บ้านตะเคียนทอง เป็นสถานีอนามัยช้ัน 1 อยู่ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 6 กิโลเมตร ถนนไม่ไดป้ ูลกู รงั ฤดูฝนลาบากมาก ประชากรส่วนใหญม่ สี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรงดี โดยไดร้ บั คาแนะนา ในการรกั ษาสขุ ภาพและการรกั ษาพยาบาลจากเจ้าหน้าที่อนามัยบ้านห้วยตะเคียนทองอยู่เสมอ 12. วัฒนธรรมชมุ ชน 12.1 วฒั นธรรมชนเผา่ มี 1 ชนเผ่าคอื ชนเผ่าถน่ิ 12.2 ประเพณีพนื้ บา้ น ประเพณีพ้ืนบ้าน เป็นประเพณีที่บางอย่างเหมือนชาวพ้ืนเมืองเหนือ เช่น การรดน้าดาหัว ผู้เฒ่าผู้แก่ การเคารพความเป็นอาวุโส การสะเดาะเคราะห์ การสู่ขวัญ มัดมือ สืบชะตา การเล้ียงผี บา้ นผเี รอื น ผปี ระจาหมบู่ า้ น เพือ่ เปน็ การเซน่ ไหว้ขอขมา 12.3 การแตง่ กาย การแต่งกายจะแต่งตามสมัยนิยม ไม่มีสัญลักษณ์เป็นของตนเอง ข้าวที่รับประทาน จะเปน็ ขา้ วเหนียว 12.3 อาหาร รับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก

470 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรียบเทยี บการพฒั นาบนพ้ืนที่สูงในอดตี และปัจจุบนั สรปุ ผลการศึกษาชุมชน ผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากชุมชนในแนวทางของ Community Study ในมิติ ของการศึกษาภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศ ๓มิอากาศ และภูมิปัญญา ท่ีมีอยู่ ตลอดจนวิถีชีวิต ดั้งเดิม วิถีชีวิตร่วมสมัยและการปฏิบัติต่อสถานการณ์ทางสังคมในชุมชนปัจจุบัน กล่าวได้เบ้ืองต้น ว่ากรมประชาสงเคราะห์ ในอดีต มีแนวทางเชิงนโยบายและกาหนดวิธีการพัฒนาชาวเขาท่ีชัดเจน ทัง้ ในลกั ษณะของรปู แบบการพฒั นาและเน้ือหาสาระ การสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ิตของชุมชนสังคมราษฎร บนพ้ืนท่ีสูงในปัจจุบันล้วนตั้งต้นจากการเสริมหนุน ชี้แนะและส่งเสริม การเปล่ียนแปลงสังคมชนเผ่า จากบุคคล เจ้าหน้าที่ และผู้บริหารของกรมประชาสงเคราะห์ ชุดเคล่ือนท่ีพัฒนาต่างๆ อย่างแท้จริง ความทรงจา ความประทับใจ และคาขอบคุณจากพี่น้องชาวเขาทุกชนเผ่า ทุกพื้นท่ี ใน 16 ศูนย์เขต การทางาน 20 จังหวัดชนเผ่าล้วนช่ืนชมและศรัทธาชุดทางาน ชุดพัฒนาเคลื่อนท่ี (Mobile unit) ซึ่งในปัจจุบันคืองานในพันธกิจของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่นั คงของมนษุ ยน์ นั้ เอง บทสรปุ ลาดบั จนการศกึ ษาชุมชน คือ 1. คุณลักษณะชุมชนราษฎรบนพื้นท่ีสูง ยังคงความเป็นอยู่แบบด่ังเดิม ทุกชุมชน มีประวัติศาสตร์มคี วามเปน็ มา และปูมหลงั ของการตัง้ รกรากถิ่นฐานในชุมชนน้นั ๆ อยา่ งชัดเจน ทุกคน เข้ามาอยู่อาศัยในพ้ืนท่ีจัดสรรท่ีทางราชการมอบให้ ในอดีตพอเพียง ต่อการทามาหากินและเป็นท่ีอยู่ อาศัยสาหรับครอบครัวขณะน้ัน แต่ปัจจุบันสภาวะทางเศรษฐกิจการแข่งขันการใช้จ่ายเปล่ียนไป วิถีชีวิตแบบเรียบง่าย ในภูมิประเทศเป็นป่าเขา และมีทรัพยากรธรรมชาติ สวยงามก็เร่ิมเปลี่ยนไป ต้องลงมาทางานกับคนพ้ืนราบลงมาเรียนรู้ วิถีการประกอบอาชีพและมีการซึมซับเอง ค่านิยมคนพื้นราบ สู่ท่ีสูงวถิ ชี ีวติ รว่ มสมยั 2. ในชมุ ชนมสี าธารณปู โภค คน ไฟฟา้ ประปา และบรกิ ารทางสงั คมของรัฐเข้าไปในหมู่บา้ น 3. มอี ุปกรณ์เครื่องใชไ้ ฟฟ้า ตเู้ ยน็ ทีวี และโทรศัพท์ ทนั สมยั ไมแ่ ตกต่างจากคนพืน้ ราบเลย 4. มีชุดพฤติกรรมการดาเนินชีวติ รปู แบบใหม่ ไม่เหมือนชนเผ่าด่ังเดิม มีการแต่งกายเหมือน คนพ้ืนราบ ใช้ภาษาการส่ือสารแบบคนพ้ืนราบ ทานอาหาร แบบคนพ้ืนราบ มีกิจกรรมบันเทิง และอบายมขุ เช่นเดยี วกับคนพนื้ ราบทวั่ ไป 5. มีการซึมซับรับเข้า วัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมจากคนพ้ืนราบเข้าไปในชุมชน ของชนเผา่ มรี ถยนต์ใช้ แทบทุกบ้านมรี ถจกั รยาน มเี ทคโนโลยี การดาเนนิ ชวี ติ เฉกเช่นเดยี วกบั คนพนื้ ราบ 6. สภาพชุมชน ภูมิสังคม ภูมิประเทศ เปล่ียนแปลงไปจากเดิมมาก สมัยก่อนเมื่อ 3.-40 ปีที่แล้ว มีป่าไม้ อุดมสมบูรณ์ มีทรัพยากรในป่ามากมาย มีของป่าเพียงพอต่อการดารงชีพ ปัจจุบัน สภาพป่า ถูกบุกรุก เป็นภูเขาหัวโล้นในบ้างแห่ง ด้วยเหตุผลทางสังคมว่าพ่อค้า นายทุน มีอิทธิพล ดาเนินการ ให้ชนเผ่าต่างพ้ืนที่ มาทาลายป่า บุกรุกปลูกพืชเศรษฐกิจ ท้ังที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย นิเวศวทิ ยาจงึ เปล่ยี นไป ภมู อิ ากาศส่วนมากชนื้ อณุ หภูมใิ นชุมชน มีค่าเฉล่ยี สูงข้นึ ภูมิอากาศไมเ่ ป็นไป ตามฤดกู าลปกติ ทุกคนในแตล่ ะชมุ ชน รับรแู้ ละปรบั ตวั 7. ปญั หาสังคม ปญั หาวัยร่นุ ปัญหาการแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ ในชุมชนของสงั คมราษฎร บนพื้นที่สูงมีมากข้ึน ครอบครัวไม่เข้มแข็ง ขาดความอบอุ่น พ่อแม่ต้องไปทางานหาเงิน เป็นค่าใช้จ่าย ในครอบครัว และเพื่อการศึกษาของ บุตร- หลานขาดความใกล้ชิดเหมือนก่อน เยาวชนมุ่งสน แต่กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษาพ้ืนราบ ใส่ใจแต่เทคโนโลยีมือถือ ขาดความเอาใจใส่ ในวิถีชีวิต

การวิจัยการศึกษาเปรียบเทยี บการพัฒนาบนพ้นื ท่ีสูงในอดตี และปัจจบุ ัน 471 ด้งั เดิม หา่ งเหนิ ผู้อาวุโส ในหมบู่ ้าน ห่างไกลครอบครวั แบบเดิม เม่ือจบการศกึ ษาแลว้ ท้งั ในระดับ ม.6 หรือปริญญาตรีก็ต้องไปทางานต่างถิ่น อยู่ไกลบ้านเกิด ห่างเหินครอบครัว พ่อแม่และเครือญาติ ชาติพนั ธ์ 8. ความเป็นชนเผา่ เป็นชาวเขาท่ีคนพืน้ ราบ เรยี กขานยงั คงมสี ภาพปัญหาในการดาเนินชีวิต พอควร เชน่ 8.1 สภาพปัญหาด้านที่ดินทากินและที่อยู่อาศัยซ่ึงไม่เพียงพอ ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ความเป็นเจ้าของและไม่สามารถใช้เป็นเครดิตทางการเงินเพ่ือการลงทนุ ได้ 8.2 ปัญหาการจัดการน้าในชุมชนซึ่งขาดแคลนแทบทุกหมู่บ้านชนเผ่าทั้งคุณภาพไม่ดี ไม่มีน้าเพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค และความขาดแคลนน้าเพ่ือการเพาะปลูก การผลิต พืชสวน เกษตร ท่ียงั ตอ้ งพงึ พานา้ ฝนตามฤดูกาล ยังขาดการจัดการท่ีดี ทาใหน้ ้าใชอ้ ย่างพอเพียง อย่างย่งั ยืน 8.3 สภาพปัญหาความไมต่ ่อเนอ่ื ง และไมค่ รบวงจรในการพัฒนาภาครัฐมเี ขา้ ไปในชุมชน ท้งั โครงการด้านสาธารณปู โภค โครงการด้านสุขภาพ โครงการพัฒนาชมุ ชน โครงการดา้ นพฒั นาสังคม โครงการแก้ปัญหายาเสพติด และปัญหาหนี้สินความยากจน รวมทั้งการปรับปรุงกาศึกษาของบุตร- หลาน ซึ่งไม่แน่นอน ไม่เพียงพอและไม่ชัดเจน แทบทุกโครงการ แผนการท่ีต้องเข้าไปในชุมชน ราษฎร บนพื้นท่ีสูงที่พอเพียงตอบสนองตัวชี้วัด จากภาครัฐ ของแต่ละหน่วยงาน ทาได้เพียงงบประมาณ เท่าน้ัน ปีต่อปี แล้วจบไป ไม่ชัดเจน ไม่ต่อเนื่องและไม่เห็นผลสาเร็จใดใด ชาวบ้านก็ไม่ได้รับการ ตอบสนอง ตามความต้องการท่มี อี ยู่ และไมม่ ีสทิ ธไิ ปรียกรอ้ งกบั หน่วยงานใดได้ 8.4 ผู้นาชุมชน คือ ผู้นาชนเผ่า ต้องการอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม ของแต่ละชาติพันธ์ ต้องการส่งเสริมศิลปหัตถกรรม และผลงานการเย็บปัก ถักร้อย สินค้าผลิตภัณฑ์ งานฝีมือ คนในชุมชนผลงานกลุ่มสตรี อันมีเอกลักษณ์และมีความโดดเด่น สวยงาม ต้องการส่งเสริม สงิ่ ดดี เี หลา่ น้ใี หม้ ีอยู่ อยา่ งมคี ุณภาพ มคี ณุ คา่ และมีมูลคา่ อย่างเป็นรปู ธรรม มคี วามชดั เจนและจรงิ จัง 8.5 ทัศนคติมุมมองและความเช่ือของคนพื้นราบจากประเด็น เช่น มองว่าคนพ้ืนท่ีสูง ทาลายป่า ทาร้ายส่ิงแวดล้อม บุกรุกป่า เผาป่า ทาให้นิเวศวิทยา เสื่อมถอย รวมถึงการกล่าวโทษว่าคนภูเขา ชนเผ่ามักเก่ียวข้องกับยาเสพติดสงิ่ เหล่าน้ี เป็นมุมมองท่ีไม่สร้างสรรค์และไม่ส่งเสริมใหก้ ารอยู่รว่ มกนั มีคุณภาพมีความสัมพันธ์ท่ีดี อยากให้คนพ้ืนราบ ปรับทัศนคติและความเชื่อใหม่ ใครคนใดทาผิด กฎหมายในการบกุ รกุ ป่าก็ดี คา้ ยาเสพติดก็ดี ควรประณามและกล่าวโทษเปน็ บุคคลไปไม่ควรเหมารวม ว่าเปน็ การกระทาของชาวชนเผ่าคนชาวเขาจะทาใหภ้ าพลกั ษณช์ าติพันธุ์ 8.6 พี่น้องราษฎรบนพื้นที่สูงมีความปรารถนาให้ชุมชนสังคมชนเผ่าได้รับคนพ้ืนราบ ได้แสดงวิถีชีวิตอันเรียบง่ายตรมหลัดเศรษฐกิจพอเพียงอยากให้คนทั่วไปเห็น ผลงาน ด้านศิลปะ หัตถกรรมงานฝีมือ ด้านการถักทอเสื้อผ้า ชุดแต่งกาย ของใช้ ผ้าปูโต๊ะ ผ้าตกแต่ง บ้านเรือนและงานฝีมือ อ่ืนๆ ตลอดจน ต้องการเผยแพร่งาน ศิลปะการแสดง การขับร้อง การเต้นรา และการเผยแพร่ วัฒนธรรมอัตลักษณ์ของแต่ละชนเผ่า ถ้าชุมชนราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงได้รับการดูแลสางเสริม ให้พื้นที่สูง เป็นดินแดนแห่งความมีสีสัน มีความหลากลายความงดงาม มีความเป็นธรรมชาติมีคนอยู่กับป่า ให้ป่าดูแลคนอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข แบบพอเพียง ชุมชนสังคมชนเผ่าจึงควนเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวอันมีคณุ ค่า มีความหมาย และเพ่มิ มูลค่า ตอ่ ทุกคน ทุกวัย

472 การวจิ ัยการศกึ ษาเปรยี บเทียบการพฒั นาบนพื้นท่สี ูงในอดตี และปัจจุบนั ภาคผนวก ข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook