Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

Description: พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข

Search

Read the Text Version

หยดุ เสพตอ่ เนอ่ื ง หยดุ เสพตอ่ เนอ่ื ง ก. ผา่ นการบำ� บดั รักษาตาม มลภาวะในอากาศ. (อ. bronchitis). มาตรฐานการบ�ำบัดโรคร่วมจิตเวชยาเสพติด หลอดละอองเรณู น. หลอดทีง่ อกยื่นออกจาก ของกรมสุขภาพจิตแล้วอาการดีข้ึน ได้รับ การติดตามแล้วไม่กลับไปเสพยาเสพติดซ�้ำ ละอองเรณูไปตามคอเกสรตัวเมียเข้าไปยังรังไข่ ในระยะเวลา ๓ เดือนตอ่ เนื่อง. เพื่อให้น�ำสเปิร์มนิวเคลียสเข้าไปผสมกับไข่ ในออวุลได.้   หลอดเก็บอสุจิ น. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย หลอดเลอื ด น. อวยั วะในระบบไหลเวยี นเลอื ด อยู่ด้านบนของอณั ฑะ ลักษณะเปน็ ทอ่ เลก็ ๆ และน้�ำเหลือง อยู่ใกล้ผิวหนัง ท�ำหน้าที่ ท�ำหน้าที่เก็บอสุจิจนแข็งแรงแล้วส่งไปที่ท่อ สง่ เลอื ดไปเลยี้ งหัวใจ. (อ. coronary artery). ซ่ึงใหญก่ วา่ เรียกว่า ท่ออสจุ ิ ทำ� หน้าทีล่ �ำเลยี ง หลอดเลือดเวน น. เส้นเลือดที่น�ำเลือดจาก อสุจิไปเก็บไว้ท่ีต่อมสร้างน้�ำเลี้ยงอสุจิ. ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสหู่ วั ใจ. (อ. epididymis). หลอดเลือดอาร์เทอรี น. หลอดเลือดทนี่ ำ� เลอื ด ออกจากหัวใจไปสเู่ นื้อเย่อื ต่าง ๆ มผี นงั เหนียว หลอดคอ น. อวัยวะในระบบหายใจ ชว่ ยน�ำอากาศ และยดื หยนุ่ ได้ มกี ลา้ มเนี้อเรยี บ ทำ� ให้หดตัว จากปากหรือจมูกเข้าสู่กล่องเสียง (larynx) หรอื ขยายตวั ไดด้ ี.  ท�ำหนา้ ท่ชี ่วยท�ำใหเ้ กิดเสยี ง ชว่ ยในการเคลอื่ น หลอดสรา้ งอสจุ ิ น. หลอดที่มีลักษณะขดไปมา ของอาหาร. (อ. pharynx). อยู่ภายในอณั ฑะ  เป็นแหล่งสรา้ งอสจุ .ิ หลอดน�ำอสุจิ น. อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศผู้ บรเิ วณทีเ่ ป็นหลอดขนาดเล็ก  ทำ� หน้าทีเ่ ป็นทาง ล�ำเลยี งน�ำ้ อสจุ จิ ากอณั ฑะ. หลอดลม น. อวัยวะในระบบหายใจใช้ส�ำหรับ หลอดอาหาร น. อวัยวะในระบบการยอ่ ยอาหาร เป็นทางผ่านของอากาศเข้าออกจากปอด อยู่บริเวณคอหอย ท�ำหน้าท่ีบีบอาหารลงสู่ ถ้าทางเดินน้ีอุดตันจะท�ำให้ขาดออกซิเจน กระเพาะอาหาร.  เกิดอาการหนา้ เขียว.  (อ. trachea). หลกั การก�ำกบั ดูแลกจิ การทีด่ ี ดู ธรรมาภิบาล. หลอดลมฝอย น. หลอดเล็ก ๆ ทแี่ ตกแขนงออก หลกั เกณฑก์ ารปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน น. หลกั เกยี่ วกบั มาจากหลอดลมและแยกแขนงออกไปท่ัวปอด มหี นา้ ท่ีลำ� เลียงอากาศ. ปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่คณะกรรมการการแพทย์ ฉุกเฉินก�ำหนดไว้เพื่อใช้วินิจฉัยและปฏิบัติตาม. หลอดลมอกั เสบ น. การอักเสบอย่างเฉียบพลัน (อ. emergency operational principle). หรือเรื้อรังท่ีเกิดข้ึนกับเย่ือเมือกของหลอดลม หลักชัยด้านสุขภาพ น. ผลลัพธ์รวบยอด ท�ำให้ไอและมีเสมหะ มีสาเหตุหลายอย่าง ด้านสุขภาพท่ีประเทศหรือชุมชนใด ๆ หวัง เช่น จากการติดเช้ือแบคทีเรีย การสูบบุหร่ี 476 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

หลกั สตู ร ท่ีจะบรรลุผลภายในห้วงเวลาท่ีก�ำหนดไว้ ใกล้สารเคมีทีเ่ ปน็ พษิ อืน่ ๆ. โดยค�ำนึงถึงความรู้และทรัพยากรท่ีมีอยู่. หลักพิจารณาในการปรุงอาหาร น. หลัก ๓ ประการ (อ. health goal). หลักฐานการตรวจสอบ น. เอกสาร ข้อมลู หรือ (๓ส) คือ ๑) สงวนคุณค่า มีวิธีการปรุง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่ผู้ตรวจสอบภายในได้ เพื่อช่วยสงวนคุณค่าของอาหารให้มีประโยชน์ จากการใชเ้ ทคนิคและวิธีการต่าง ๆ รวบรวม เตม็ ที่ ๒) สุกเสมอ ใชค้ วามร้อนในการปรุงอาหาร ขึ้นระหว่างท�ำการตรวจสอบ. (อ. audit ใหส้ กุ เพ่ือท�ำลายเชือ้ โรค โดยต้องใช้ความร้อนสงู evidence). ในเวลาเพียงพอ เพ่ือใหค้ วามรอ้ นเข้าถงึ ส่วนใน หลักฐานเชิงประจักษ์ น. ข้อมูลสารสนเทศ ของอาหารได้ท่ัวถึงก็จะท�ำลายเช้ือโรคได้ ท่ีเป็นข้อค้นพบโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อย่างมีประสิทธิภาพ ๓) สะอาดปลอดภัย ซ่ึงได้จากงานวิจัยผสมผสานกับความช�ำนาญ ต้องมีการตรวจสอบสภาพอาหารดิบก่อนปรุง ของผู้ปฏิบัติการทางคลินิกที่สามารถยืนยัน ทุกคร้ังให้อยู่ในสภาพท่ีสะอาด ปลอดภัย โดย ผลลพั ธข์ องการปฏบิ ตั .ิ (อ.evidence-based). เฉพาะจากสารพิษที่อาจตกค้างในอาหาร หลักธรรมานามัย น. การดูแลสุขภาพแบบ และต้องมีกรรมวิธีในการปรุงอาหารที่สะอาด องค์รวมที่ให้ความส�ำคัญกับสุขภาพแบบ มีผู้ปรุงอาหารท่ีมีสุขนิสัยปรุงอาหาร ใช้ บูรณาการ ร่วมกับการด�ำเนินชีวิตในแนว ภาชนะอปุ กรณ์และสารปรงุ แต่งทดี่ ี. พุทธศาสนาว่าด้วยธรรมชาติของกายและจิต หลกั พจิ ารณาในการเลือกอาหารสด น. หลกั ที่ต้องเคลื่อนไหวไปตามกาลเวลาและ ๓ ประการ (๓ป) คือ ๑) ประโยชน์ ต้อง การกระท�ำความดีหรอื ความชั่ว. เป็นอาหารท่ีสุกใหม่ มีคุณค่าทางโภชนาการ หลักในการเก็บอาหาร น. หลัก ๓ ประการ ครบถ้วน เหมาะสมกับความต้องการในช่วง (๓ส) คอื ๑) สัดส่วน มีการจัดเก็บเปน็ ระเบยี บ อายุต่าง ๆ ของมนุษย์ ๒) ปลอดภัย ต้อง มีการแยกเกบ็ เป็นประเภทอาหารต่าง ๆ ใหเ้ ปน็ เลอื กอาหารที่เข้าใจวา่ สะอาดปลอดภัย ผลติ สัดส่วนเฉพาะไม่ปะปนกัน ๒) ส่ิงแวดล้อม จากแหล่งผลิตที่เช่ือถือได้ ไม่มีความเส่ียงต่อ เหมาะสม โดยการเก็บอาหารต้องค�ำนึงถึง การเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร ท้งั นี้เน่อื งจาก การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับประเภท สารพิษและสารเคมีไม่อาจท�ำลายด้วยความร้อน ของอาหารเพื่อท�ำให้อาหารสุก เก็บได้นาน ๓) ประหยัด ตอ้ งเลอื กซ้อื อาหารตามฤดกู าล ไม่เน่าเสียง่าย โดยพิจารณาถึงความชื้น ซึ่งจะส่งผลให้ได้อาหารท่ีมีคุณภาพดีและ อุณหภูมิ รวมท้ังสภาพท่ีป้องกันการปนเปื้อนได้ ราคาถูก หาซ้อื ได้สะดวก. ๓) สะอาดปลอดภัย เก็บอาหารในภาชนะ หลกั สูตร น. แผนสำ� หรับน�ำไปใช้จดั การศึกษา บรรจุท่ีถูกต้องและสะอาด มีการท�ำความ ประกอบด้วย จุดมุ่งหมายของหลักสูตร สะอาดสถานท่ีเก็บอย่างสม�่ำเสมอ ไม่เก็บ เนื้อหาสาระ แนวทางการจดั การเรียนการสอน และการวัดประเมินการเรียนรู้ เพื่อเป็น แนวทางให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้ปฏิบัติหรือน�ำไปใช้ กระทรวงสาธารณสุข 477

หลกั สูตรนักบริหารการแพทย์และสาธารณสขุ ระดับสูง ในการจัดการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุตาม เรยี กยอ่ ว่า ผ.บ.ต. จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ก�ำหนดไว้. (อ. หลักสตู รฝกึ อบรม น. หวั ขอ้ วชิ า เนื้อหาสาระ curriculum). หลักสูตรนักบริหารการแพทย์และสาธารณสุข วิธีการ กจิ กรรม ประสบการณท์ ีผ่ จู้ ดั การฝกึ อบรม ระดบั สูง น. หลักสูตรเพอื่ พฒั นานักบรหิ าร จัดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพ่ือให้เกิดการ การแพทย์และสาธารณสุขระดับสูงของ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมด้านความรู้ทักษะ กระทรวงสาธารณสขุ ระยะเวลาในการฝกึ อบรม และเจตคตไิ ปในทิศทางท่ตี งั้ วัตถุประสงค์ไว.้ ๑๓ สัปดาห์ ประกอบด้วยมอดูล ๗ มอดูล หลกั สูตรฝึกอบรมการพยาบาลเฉพาะทาง น. ได้แก่ ๑) การพัฒนาคนและทีมงาน ๒) พ้นื ฐาน หลักสูตรฝึกอบรมที่จัดข้ึนเพ่ือให้พยาบาล ทางการบริหาร ๓) การบริหารยุทธศาสตร์ มคี วามรคู้ วามชำ� นาญเฉพาะทางในสาขาตา่ ง ๆ ๔) การบริหารทรัพยากร ๕) ภูมิปัญญา ท่สี ภาการพยาบาลให้การรับรอง. (อ. program แห่งความเป็นผู้น�ำ ๖) การเสริมสร้าง of nursing specialty). ประสบการณเ์ ชงิ ประจกั ษ์ ๗) การบรู ณาการ หลักสูตรสาขาพยาบาลศาสตร์ น. หลักสูตร ความรสู้ ู่งานทร่ี ับผิดชอบ เรียกย่อว่า น.บ.ส. ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ชี พ ก า ร พ ย า บ า ล แ ล ะ หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง การผดุงครรภระดับปริญญาตรี โท หรือเอก น. หลกั สูตรเพอ่ื พฒั นาผ้บู ริหารการสาธารณสขุ รวมทั้งประกาศนียบัตรเทียบเทาปริญญาบัตร. ระดับกลางของกระทรวงสาธารณสุข ระยะ (อ. nursing curriculum). เวลาในการฝกึ อบรม ๔ สัปดาห์ ประกอบดว้ ย หลังค่อม น. ความผิดปรกติของความโค้ง หน่วยการเรียน ดังน้ี ๑) การเตรียม ในกระดูกสันหลังส่วนอก ท�ำให้เกิดภาวะ ความพร้อมในการอบรม ๒) การเรียนรู้ หลังค่อม อาการนี้มักเป็นอาการแทรกซ้อน ดา้ นทฤษฎแี ละฝกึ ปฏิบตั ิ ๓) การแลกเปล่ยี น ของโรคอืน่ โดยเฉพาะวัณโรคท่มี กี ารแพรก่ ระจาย สรุปผลการเรียนรู้และรับประกาศนียบัตร ของเช้ือเขา้ ไปในกระดกู สันหลัง ทำ� ให้กระดกู เรยี กยอ่ วา่ ผ.บ.ก. สนั หลังที่ตดิ เชอื้ งอลงมา. (อ. kyphosis). หลกั สตู รผบู้ ริหารการสาธารณสุขระดับตน้ น. หลมุ นก ดู ก�ำแพงเจ็ดชั้น. หลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้บริหารการสาธารณสุข ห่วงคุมก�ำเนิดประเภทขดลวดทองแดง น. ระดบั ต้นของกระทรวงสาธารณสขุ ระยะเวลา ห่วงที่ใช้สวมเข้าในมดลูกเหมือนกับห่วงคุม ในการฝึกอบรม ๓ สัปดาห์ ประกอบด้วย ก�ำเนิดแบบฮอร์โมน ห่วงคมุ ก�ำเนดิ ประเภทนี้ หน่วยการเรียน ดังน้ี ๑) การเตรียม จะขัดขวางไม่ให้ไข่ฝังตัวลงในมดลูกได้ และ ความพร้อมและการพัฒนาตนเอง ๒) การเรยี นรู้ ขัดขวางเช้ืออสุจิไม่ไห้เคลื่อนเข้าไปในมดลูก ด้านทฤษฎีและฝึกปฏิบัติด้านการบริหารงาน ห่วงคุมก�ำเนิดประเภทนี้ใช้ได้ผลดีเป็นเวลา และการจัดการ ๓) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลการเรียนรู้และรับประกาศนียบัตร 478 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

ห้องปฏบิ ัตกิ ารรังสวี ินจิ ฉยั ของโรงพยาบาลในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข ๕-๑๐ ปี และถือเป็นวิธีการคุมก�ำเนิดที่ดี ในการแพทย์ ท่อช่วยหายใจ ชุดให้เลือด พอสมควร แต่ท�ำให้ประจ�ำเดือนมีมาก ชดุ ปีกผีเส้อื ใช้ในการแพทย์ สายสวนปัสสาวะ กว่าปรกติและอาจมีอาการปวดประจ�ำเดือน ถงุ บรรจโุ ลหติ สำ� ลี ผ้าโปร่ง ผ้าพันแผล ผ้าซบั ตามมา. (อ. copper coil). เป็นตน้ . ห่วงโซ่อาหาร น. กระบวนการหรือขั้นตอน ห้องปฏิบัติการทดสอบเคร่ืองก�ำเนิดรังสีรักษา ท้ังหมดที่เก่ียวข้องกับการผลิตอาหาร เร่ิม น. ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์และ ต้ังแต่วัตถุดิบจากการเพาะปลูก การเล้ียงสัตว์ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง การเกบ็ เก่ียว การขนส่ง การแปรรปู การบรรจุ เคร่ืองก�ำเนิดรังสีรักษาที่ใช้ในทางการแพทย์ การเก็บรักษา การจัดเตรียม การปรุง เช่น เครอ่ื งเรง่ อนภุ าคพลังงานสงู เครอื่ งก�ำเนดิ การวางจำ� หน่าย จนกระทงั่ ถงึ มือผบู้ รโิ ภค. รังสีรักษา เครื่องโคบอลต์-๖๐ เคร่ืองเอกซเรย์ รักษา เครื่องใส่แร่ เครื่องเร่งอนุภาคโฟตอน ห้องคลอด น. หอ้ งรับหญิงตัง้ ครรภ์ท่คี รบกำ� หนด อย่างเดยี ว. คลอดและพร้อมทีจ่ ะคลอด. (อ. labor room). ห้องปฏิบัติการทดสอบเคร่ืองก�ำเนิดรังสีวินิจฉัย ห้องบนของหัวใจ น. หัวใจห้องบนของสัตว์ น. ห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพ มีกระดูกสันหลัง มีผนังบางกว่าหัวใจห้องล่าง ความปลอดภัยของเคร่ืองเอกซเรย์วินิจฉัย ท�ำหน้าที่รับโลหิตจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ถ ่ า ย ภ า พ บ น แ ผ ่ น เ รื อ ง แ ส ง และจากปอดสง่ ผา่ นไปยังหัวใจห้องล่างตอ่ ไป. เครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยท่ัวไป เครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเอกซเรย์ฟัน เคร่ือง ห้องปฏิบัติการคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า น. ห้อง เอกซเรย์เตา้ นม เป็นตน้ . ปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย ของเคร่ืองมือแพทย์ที่ใช้ในการวินิจฉัยและ ห้องปฏิบัติการรังสีบุคคล น. ห้องปฏิบัติการ รักษาโรค และอุปกรณ์ท่ีใช้หลักการของ เฝ้าระวังระดับการได้รับรังสีขณะปฏิบัติงาน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ของผทู้ �ำงานดา้ นรงั สี โดยใหบ้ รกิ ารเคร่อื งวัด ต่อสุขภาพ เช่น เครื่องเอ็มอาร์ไอ [magnetic รังสีบคุ คล. resonance imaging (MRI)]. ห้องปฏิบัติการรังสีมาตรฐานทุติยภูมิ น. ห้องปฏิบัติการเครื่องมือแพทย์ น. ห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการการสอบเทียบเครื่องวัดรังสี ตรวจสอบคุณภาพถุงยางอนามัยและถุงมือ ในระดับมาตรฐานทุตยิ ภมู ขิ องประเทศ โดยใช้ ทางการแพทย์ สอบเทยี บเครือ่ งวดั แอลกอฮอล์ เคร่ืองวัดรังสีระดับอ้างอิงท่ีสามารถทวนสอบ ในเลือดโดยวิธีเป่าลมหายใจ ทดสอบ ไปไดถ้ งึ ระดับมาตรฐานปฐมภมู ิ. [อ. secondary เคร่ืองวัดความดนั โลหติ ทดสอบกระบอกฉดี ยา standard dosimetry laboratory (SSDL)]. ทางการแพทย์ กระบอกฉีดอินซูลิน เขม็ ฉีดยา ชุดให้สารละลายทางหลอดเลือด สายต่อใช้ ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข 479

หอ้ งปฏิบตั ิการหน่วยบรกิ ารระดบั ตตยิ ภมู ิ ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข น. หอ้ งปฏิบัตกิ าร ได้ทั้งทางกฎหมายและวชิ าการ โดยดำ� เนนิ การ รังสีวินิจฉัยของส�ำนักงานปลัดกระทรวง ตรวจตัดสินผลขั้นสุดท้าย ตรวจยืนยัน หรือ สาธารณสุข (โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลท่วั ไป ทดสอบด้วยวิธีมาตรฐาน หรือใช้เทคโนโลยี และโรงพยาบาลชุมชน) กรมควบคุมโรค ชั้นสูง หรือเครื่องมือพิเศษ. (อ. reference กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย และกรมการแพทย์ laboratory). รวมท้ังสถานประกอบการท่ีให้บริการการตรวจ หอ้ งผา่ ตดั น. ห้องที่รบั ผ้ปู ว่ ยเพ่อื ทำ� การผ่าตดั หรอื วินิจฉัยด้วยรังสีเอกซ์ท่ีมีผู้ประกอบการ เพอื่ แก้ไขพยาธสิ ภาพของโรค. (อ. operating วิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ซ่ึงเป็นผู้ประกอบ room). โรคศิลปะสาขารังสเี ทคนิค. ห้องปฏิบัติการหน่วยบริการระดับตติยภูมิ น. ห้องพยาบาลบนเรือ (กฎ) น. สถานพยาบาล ห้องปฏิบัติการให้บริการการตรวจด้วยวิธี ทีใ่ หก้ ารรกั ษาพยาบาลในสถานประกอบการ และเครื่องมือท่ีซับซ้อนยุ่งยาก ทันสมัย ขนส่งเรอื เดินทะเล. และยังอาจมกี ารวจิ ัยและวธิ กี ารตรวจใหม่ ๆ อีกด้วย. ห้องแยก น. ห้องส�ำหรับผู้ป่วยจิตเวชท่ีมี พฤตกิ รรมก้าวรา้ ว ไม่อยนู่ ิง่ โดยไม่มอี ปุ กรณ์ ห้องปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยบริการระดบั ทุติยภมู ิ น. ท่ีใช้ท�ำร้าย เพื่อป้องกันการท�ำร้ายตนเอง ห้องปฏิบัติการท่ีสามารถให้การตรวจกรอง และผู้อื่น. (อ. seclusion room). โรคติดต่อที่พบบ่อย โดยการตรวจวินิจฉัย ด้วยชุดตรวจแบบเร็ว ด้วยวิธีและเครื่องมือ ห้องอบุ ตั ิเหตุและฉกุ เฉิน น. หอ้ งทรี่ ับการตรวจ ที่ซับซ้อนขึ้นส�ำหรับการตรวจกรองและ โรคปจั จบุ นั ทันดว่ น. (อ. emergency room). ตรวจเสริมเพอื่ ยนื ยนั ผล. หอผู้ป่วยระยะกึ่งวิกฤติ น. หอผู้ป่วยท่ีดูแล ห้องปฏิบตั กิ ารหนว่ ยบรกิ ารระดบั ปฐมภมู ิ น. ผู้ป่วยหนักในระยะวิกฤติท่ีมีความซับซ้อน ห้องปฏิบัติการของสถานบริการด่านหน้าท่ี ของโรคร่วมไม่มากและเป็นการดูแลเฉพาะด้าน ให้บรกิ ารประชาชน ส่วนใหญเ่ ป็นสถานบริการ หรือเฉพาะสาขาวิชา เปน็ กลุม่ ผ้ปู ว่ ยที่ต้องได้ ท่ีไม่มีแพทย์ประจ�ำ โดยวิธีการตรวจทาง รับการดูแลต่อเนื่องด้วยเคร่ืองมือติดตาม หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเปน็ วิธีทงี่ ่าย ไม่ซับซ้อน ใชช้ ุด สัญญาณชีพจากผู้ให้บริการทางการแพทย์ ทดสอบส�ำเร็จรูปแบบเร็วหรือการย้อมสี ที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลผู้ป่วย ตัวอย่างส่งตรวจ และดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ระยะวิกฤติมาแล้ว มีระบบสนับสนุน ธรรมดา. การรักษาพยาบาลท่ีจ�ำเป็นคือ ระบบการให้ บรกิ ารยา ระบบติดตาม ระบบชว่ ยการหายใจ ห้องปฏิบัติการอ้างอิง น. ห้องปฏิบัติการที่มี การเฝา้ ระวงั ดา้ นโภชนาการ และอน่ื ๆ. ความเช่ียวชาญ ให้ผลการตรวจวิเคราะห์ ตามมาตรฐานสากลที่สามารถน�ำไปใช้อ้างอิง หอผู้ป่วยระยะวกิ ฤติ น. หอผปู้ ว่ ยทด่ี ูแลผปู้ ว่ ยหนัก 480 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

หายใจ ในระยะวิกฤติท่ีมีความซับซ้อนของโรคร่วม หัวใจ น. อวัยวะที่ทำ� หน้าท่ีสบู ฉดี โลหติ ของสตั ว์ หลายอย่างร่วมกัน เป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้ ทมี่ ีระบบหมุนเวยี นโลหติ . รับการดูแลต่อเน่ืองด้วยเคร่ืองมือติดตาม สัญญาณชีพที่ละเอียดตลอดเวลาจากผู้ให้ หัวตะคาก น. ปมุ่ กระดูกเชงิ กรานท่ีย่ืนออกมา บริการทางการแพทย์ท่ีได้รับการฝึกอบรม สูงท่สี ดุ ทางด้านหน้าของล�ำตัว. ดา้ นการดแู ลผ้ปู ่วยระยะวกิ ฤตมิ าแลว้ . หะธะโยคะ น. การใช้พลังในการก�ำจัดแหล่ง หัวน้�ำนม น. น้�ำนมสีเหลืองใสท่ีหล่ังช่วง หรือต้นตอของสุขภาพท่ีไม่ดีซ่ึงจะสร้างความ หลังคลอดถงึ ๗ วัน มปี รมิ าณโปรตนี วิตามิน ผิดปรกติ เช่ือกันว่าคือการได้รับออกซิเจน แร่ธาตุสงู มภี มู ิคมุ้ กันจากมารดาสทู่ ารก ช่วยลด ไม่เพียงพอ อาหารและโภชนาการที่ไม่ดี การติดเชื้อของทารก, นมน้�ำเหลือง ก็เรียก. การออกก�ำลังกายไม่เพียงพอ และการขจัด (อ. colostrum). ของเสยี ไมด่ ี คอื สาเหตขุ องโรค. หัดเยอรมัน น. โรคติดต่อเกิดจากเช้ือไวรัส หวั หน้าครอบครวั น. บคุ คลใดบุคคลหน่งึ ทีเ่ ปน็ Paramyxovirus ท�ำให้เกิดอาการคือมีไข้ สมาชิกในครอบครัวและทุกคนยอมรับให้ เปน็ ผ่ืน และต่อมนำ้� เหลืองโต สว่ นใหญ่มักจะ เป็นหวั หน้า. (อ. head of the family). หายเองโดยท่ีไม่มีโรคแทรกซ้อน หากเกิดใน หญงิ มคี รรภอ์ าจจะทำ� ให้เดก็ ที่เกิดมาพิการได.้ หางนม ดู นมขาดมนั เนย. หัตถการในร่างกาย (กฎ) น. กลวิธีเพ่ือการวินิจฉัย ห้าตัวจ๊ีด น. คุณลักษณะและศักยภาพของทีมงาน และบ�ำบัดรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินซ่ึงต้องใช้อุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือแพทย์ เจาะหรือผ่าตัด หรือ พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ สอดใส่วัตถใุ ด ๆ เขา้ ไปในรา่ งกายมนุษย์ และ เพ่ือสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ที่หากสมาชิก หมายรวมถงึ การให้หรอื บริหารยาหรอื สารอ่นื ในทีมมีบุคลิกหรือศักยภาพรวมกันแล้วครบ เข้าไปในร่างกายมนุษย์ด้วย แต่ไม่รวมถึง ๕ ลักษณะ ก็จะท�ำให้การขับเคลื่อนงาน การกระท�ำใดอันเป็นการปฐมพยาบาลและ บรรลุเป้าหมายได้อย่างเรียบร้อย ราบร่ืนดี ปฏบิ ัตกิ ารแพทยข์ นั้ พ้ืนฐาน. โดยท่ีสมาชิก ๑ คน อาจมีบุคลิกหรือศักยภาพ มากกว่า ๑ ลักษณะก็ได้ อันประกอบด้วย นกั ประสานงาน นักวชิ าการ นกั วิทยาศาสตร์ นักสอ่ื สาร และนกั จัดการ. หตั ถการบ�ำบัด น. เทคนคิ การบ�ำบดั ของการแพทย์ หายใจ น. กระบวนการซ่ึงน�ำอากาศเข้าหรือ ทางเลอื กชนิดหน่ึง โดยการใชห้ ตั ถการต่าง ๆ ออกจากปอด สิ่งมีชีวิตท่ีต้องการออกซิเจน เชน่ การนวด การดัด การดึง การจดั กระดูก ต้องการออกซิเจนเพื่อปลดปล่อยพลังงาน การฝังเข็มแบบต่าง ๆ. (อ. manipulative ผา่ นการหายใจระดบั เซลล์ในรูปเมแทบอลิซึม. therapy). กระทรวงสาธารณสขุ 481

หายทุเลา หายทุเลา ก. ผู้ป่วยโรคจิตเวชท่ีได้รับการดูแล หูดข้าวสุก น. เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ บ�ำบัดรักษาแล้วมีอาการหายทุเลา โดยวัด เกิดจากเชื้อ Molluscum contagiosum ประเมินด้วยเคร่ืองมือที่มาตรฐาน เช่น virus (MCV) ท�ำใหเ้ กดิ เป็นตุ่มนนู บนผวิ หนงั โรคจิตเภท วัดด้วย PANSS scale, BPRS, ผิวเรยี บ ขนาด ๒-๕ มลิ ลิเมตร จะพบมากขึ้น PASS8, CGI-S และโรคซมึ เศรา้ วัดดว้ ย 9Q, ในรายที่มกี ารติดเช้ือเอชไอวี จ�ำนวนตมุ่ ท่เี กดิ HRSD-17 โดยทัง้ ๒ โรค มคี า่ คะแนนในระดบั ขึ้นอาจมีมากหรือน้อยข้ึนกับสภาพร่างกาย ปรกติ ทุเลา หายนานอย่างน้อย ๖ เดือน. ของผู้ป่วยขณะน้ันว่าร่างกายมีความแข็งแรง (อ. full remission). เพียงใด ถ้าใช้เข็มสะกิดตรงกลางแล้วบีบดู จะได้เน้ือหูดสีขาว ๆ คล้ายข้าวสุก มักเป็น หิด น. โรคติดต่อที่เกิดจากตัวไร Sarcoptes ที่บริเวณหัวหน่าว อวัยวะเพศภายนอกและ scabei ลักษณะจะมีตุ่มน�้ำใสและตุ่มหนอง โคนขาด้านใน. (อ. Molluscum contagiosum). คันขึ้นกระจายท้งั ๒ ข้างของร่างกาย มักพบ ตามง่ามนิ้วมือ ข้อศอก รักแร้ รอบหัวนม หูดหงอนไก่ น. เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รอบสะดือ อวัยวะสบื พนั ธ์ุ ข้อเท้า หลงั เท้า กน้ เกิดจากไวรัส human papilloma ลกั ษณะ ผู้ป่วยมักมีอาการคันมาก โดยเฉพาะเวลา เป็นต่ิงเนื้ออ่อน ๆ สีชมพูคล้ายหงอนไก่ กลางคืน ติดต่อได้จากการสัมผัสใกล้ชิด ชอบข้ึนท่ีอุ่นและอับช้ืน ในผู้ชายมักพบ สัมผัสทางเพศหรืออยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย. ที่อวัยวะเพศบริเวณใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะ (อ. scabies). เพศชาย ตลอดทั้งบริเวณรอบรอยเปิดขอบ รอบท่อปัสสาวะและอัณฑะ ส่วนผู้หญิง หีบเย็น น. อุปกรณ์ที่ใช้เก็บวัคซีนในระหว่าง จะพบที่ปากช่องคลอด ผนังช่องคลอด การขนสง่ หรอื เมื่อมีไฟฟ้าดับนาน ตเู้ ยน็ เสยี ปากมดลูก ปากทวารหนัก และฝีเย็บ หูดมี หรือระหว่างการละลายน้�ำแข็งในช่องแข็ง ขนาดโตขนึ้ เร่ือย ๆ การตงั้ ครรภจ์ ะท�ำใหห้ ดู ซึ่งมีขนาดใหญ่พอท่ีจะใช้ในการขนส่งวัคซีน โตเร็วกว่าปรกติ ถ้าไมร่ ีบรกั ษาจะเป็นมากขึน้ และเก็บความเย็นได้อย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง. ยากต่อการรักษา และทารกอาจติดเชื้อได้ (อ. vaccine cold box). ขณะคลอด. (อ. Condyloma acuminata). หีบหอ่ ยาสบู น. ซอง ห่อ หรือสิ่งบรรจอุ นื่ ซ่งึ ใช้ หูตึง น. การท่ีบุคคลมีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติ ในการหมุ้ ห่อบรรจผุ ลติ ภณั ฑย์ าสูบ. กิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน หรือการเข้าไปมี ส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมา หืด น. โรคปอดชนิดหนึ่งและพบบ่อยในเด็ก จากความบกพร่องทางการไดย้ นิ เม่ือตรวจวดั อาการที่ปรากฏชัด ได้แก่ ระบบหายใจ การได้ยินโดยใช้คล่ืนความถ่ีที่ ๕๐๐ เฮิรตซ์ อกั เสบ ทางเดินของลมหายใจถกู ปดิ ก้นั ท�ำให้ ๑,๐๐๐ เฮิรตซ์ และ ๒,๐๐๐ เฮิรตซ์ ในหูข้างท่ี หายใจล�ำบาก. (อ. asthma). ได้ยินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินที่ความดังของ เสียงตงั้ แต่ ๙๐ เดซิเบล จนถงึ ๔๐ เดซเิ บล. หุ้นสว่ น ดูท่ี พนั ธมติ ร. 482 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

เหรยี ญจักรพรรดมิ าลา หูฟังแพทย์ น. อุปกรณ์การแพทย์ชนิดหนึ่ง ท่ีเกิดขึ้นเม่ือได้รับการรักษา แล้วทําให้ ใช้ส�ำหรับช่วยฟังเสียงการอัตราการเต้น ๑) เสยี ชีวิต ๒) เปน็ อนั ตรายคกุ คามต่อชีวิต ของหวั ใจ. (อ. stethoscopes). ๓) ต้องเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล หรือ ต้องอย่ใู นโรงพยาบาลนานขน้ึ ๔) เกดิ ความพกิ าร หูหนวก น. การท่ีบุคคลมีขอ้ จ�ำกัดในการปฏบิ ตั ิ ทพุ พลภาพทสี่ าํ คัญอย่างถาวร ๕) เกิดความ กิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันหรือการเข้าไปมี พกิ าร ความผดิ ปรกติแต่กําเนิด. [อ. serious ส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผล adverse event (SAE)]. มาจากการมีความบกพร่องในการได้ยิน เหตุตาย น. พยาธิสภาพหรือโรคท่ีท�ำให้ตาย จนไม่สามารถรับข้อมูลเม่ือตรวจการได้ยิน โดยตรงหรอื โดยออ้ ม. โดยใช้คล่ืนความถ่ีที่ ๕๐๐ เฮิรตซ์ ๑,๐๐๐ เหตุรำ� คาญ (กฎ) น. เหตุร�ำคาญตามกฎหมาย เฮิรตซ์ และ ๒,๐๐๐ เฮริ ตซ์ ในหขู ้างท่ีได้ยินกวา่ วา่ ดว้ ยการสาธารณสุข. จะสูญเสียการได้ยินที่ความดังของเสียง ๙๐ เดซเิ บลขนึ้ ไป. หหู ิน น. หูหนวกสนิท. เหยยี ดเสน้ ดู ยืดเสน้ . เหงื่อ น. น�้ำและสารบางอย่างท่ีร่างกายก�ำจัด เหยยี บเหลก็ แดง (พบ.) น. วิธกี ารรักษารูปแบบหนง่ึ ออกทางตอ่ มเหงื่อทผ่ี ิวหนงั . ของหมอพื้นบ้านภาคกลาง โดยใช้ความร้อน ในการคลายเส้น ช่วยลดความเจ็บปวด เหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น น. ลักษณะวิธีการคล้ายกับการย�่ำขางของภาคเหนือ เหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึนและมีผลกระทบระบบ คือการใช้เท้าของผู้รักษาเหยียบลงบนแผ่นเหล็ก ลูกโซ่ความเย็น เช่น ไฟฟ้าดับ ตู้เย็นเสีย ที่เผาไฟให้ร้อนพร้อมกับบริกรรมคาถาก�ำกับ ส่งผลให้วัคซีนเสอ่ื มคณุ ภาพ. (อ. cold chain ความร้อนของเท้า แล้วน�ำเท้าไปเหยียบบน break down). อวัยวะส่วนที่ต้องการรักษาของผู้ป่วย ใช้ในการ รักษากลุ่มอาการปวดกล้ามเน้ือ อัมพฤกษ์ เหตกุ ารณ์ไมพ่ ึงประสงค ์ น. เหตกุ ารณห์ รือผล อัมพาต การเหยียบเหลก็ แดงและการย่�ำขาง ไม่พงึ ประสงคท์ างการแพทย์ใด ๆ ซึง่ เกดิ ขึ้น ตา่ งกนั ท่ีเทคนิค วธิ กี าร อุปกรณ์ และสมนุ ไพร กับผู้ป่วยหรืออาสาสมัครท่ีเข้าร่วมการวิจัย ที่ใชร้ ่วม. ทางคลนิ กิ หรือระหวา่ งการบ�ำบดั โดยเหตุการณ์ นั้นไม่จ�ำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยา เหรียญจักรพรรดิมาลา น. เหรียญราชการ ทไ่ี ด้รบั , ผลไมพ่ ึงประสงค์ หรือ อาการไมพ่ ึง ส�ำหรับพระราชทานข้าราชการฝ่ายพลเรือน ประสงค์ กว็ า่ . (อ. adverse event). ที่รับราชการมาด้วยความเรียบร้อยเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า ๒๕ ปี ปฏิบัติหน้าที่เป็นไป เหตุการณไมพึงประสงค์ชนิดรายแรง น. ตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทาง เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงคใ์ ด ๆ ทางการแพทย์ ราชการ และปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดีหรือ กระทรวงสาธารณสุข 483

แหก ความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความอุตสาหะ และในกรณีท่ีแหล่งน้�ำนั้นอยู่ติดกับทะเล เอาใจใส่ ไม่ละท้ิงหรือทอดทิ้งราชการ ให้หมายความถึงแหล่งน�้ำที่อยู่ภายในปาก เป็นบ�ำเหน็จแห่งความย่ังยืนและม่ันคง แม่นำ้� หรอื ปากทะเลสาบ โดยปากแม่น้ำ� และ ในราชการ การนับเวลาราชการ (ต้องไม่ถูก ปากทะเลสาบให้ถือแนวเขตตามที่กรมเจ้าท่า ลงโทษทางวินัยและถูกว่ากล่าวตักเตือน ก�ำหนด. เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร รวมถงึ กรณีขา้ ราชการ แหลง่ นำ้� เสยี ในชมุ ชน น. แหลง่ นำ้� เพอื่ การเกษตร ไม่ได้รับการเลื่อนเงินเดือนเน่ืองจากผล บ่อ ขดุ หนอง บงึ ห้วย คลอง แม่นำ�้ อ่างเกบ็ น�ำ้ การประเมินการปฏิบัติราชการต่�ำกว่าเกณฑ์ สระว่ายน�้ำ ฯลฯ ที่ชุมชนเห็นร่วมกันว่าเป็น ลาป่วย ลากิจ และมาสายเกิน) ให้นับ แหล่งน�้ำเสีย เช่น แหล่งน�้ำท่ีมีการลงเล่นน�้ำ โดยค�ำนวณเวลาราชการทั้งหมดของผู้น้ัน แหล่งน้�ำท่มี กี ารสัญจรผ่าน แหล่งนำ้� มีการท�ำ รวมกัน แต่ถ้าผู้นั้นเข้ารับราชการก่อนอายุ กจิ กรรมทางนำ�้ (จบั สตั ว์นำ้� เกบ็ ผกั กีฬาทางน�้ำ). ครบ ๑๘ ปีบริบรู ณ์ ให้นับตัง้ แตว่ นั อายคุ รบ แหล่งโรค น. คน สัตว์ สิ่งของ ที่มีเชื้อโรคอยู่ ๑๘ ปีบรบิ ูรณ์ เป็นต้นไป เรียกย่อวา่ ร.จ.พ. และสามารถแพรต่ ิดตอ่ ไดท้ นั ท.ี (อ. source แหก ก. ใช้มดี หมอ (ไมค่ ม) กรดี แหก ขดู ผิวหนัง of infection). บริเวณท่ีมีอาการปวดหรือบวม โดยต้องใช้ แหล่งโรคจดุ เดียว ดทู ี่ แหล่งโรคร่วม. คาถาประกอบ เป็นรูปแบบการให้หัตถการ แหล่งโรคตอ่ เน่อื ง ดูท่ี แหล่งโรครว่ ม. แผนไทยภาคเหนือ ต่อเน่ืองจากวิธีการเช็ด แหลง่ โรคแพร่กระจาย น. ชนิดของการระบาด หากรักษาด้วยการเช็ดแล้วไม่หายต้องท�ำการ ที่มีการแพร่ต่อเน่ืองไปเรื่อย ๆ จากคนหนึ่ง แหกตอ่ อปุ กรณก์ ารแหกประกอบด้วย เข้ียวหมู ไปสู่อีกคนหนึ่ง. (อ. propagated source). เขี้ยวเสือ มีดหมอ ไม้ตาย ฟ้าผ่า งาช้าง เขาควายเผือก เขาควายตายฟ้าผ่า และ น้�ำปูเลย (น�้ำส้มป่อย) เพ่ือท�ำน้�ำมนต์ แต่ถ้า ไมม่ อี ะไรเลย ใชน้ ้ำ� ปเู ลยแหกก็ได้. แหล่งก�ำเนิดมลพิษ (กฎ) น. ชุมชน โรงงาน แหล่งโรครว่ ม น. ชนิดของการระบาดทมี่ ที ี่มา อตุ สาหกรรม อาคาร ส่ิงกอ่ สรา้ ง ยานพาหนะ ของเช้อื มาจากแหลง่ เดียวกนั แบ่งได้ ๒ แบบ สถานที่ประกอบกิจการใด ๆ หรือส่ิงอื่นใด คือ แหล่งโรคจุดเดียวหรือเป็นช่วงส้ัน ๆ ซงึ่ เป็นแหลง่ ท่ีมาของมลพิษ. (point source) และแหล่งโรคต่อเน่ือง (continuous source) ซึง่ มีการแพรข่ องเชอื้ โรค แหล่งนำ้� ผิวดิน น. แม่นำ้� ลำ� คลอง หนอง บึง ต่อไปเรื่อย ๆ. (อ. common source). ทะเลสาบอา่ งเก็บนำ�้ และแหล่งน้ำ� สาธารณะ อื่น ๆ ทอี่ ยูภ่ ายในผืนแผน่ ดนิ ซึ่งหมายความ แหวนใส่ช่องคลอด น. เป็นวงแหวนอ่อนนุ่ม รวมถึงแหล่งน้�ำสาธารณะท่ีอยู่ภายในผืน ที่มีความยืดหยุ่นสามารถสวมลงในช่อง แผ่นดินบนเกาะด้วย แต่ไม่รวมถึงน้�ำบาดาล คลอดได้ด้วยตัวเอง แหวนใส่ช่องคลอด 484 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

ให้ค�ำปรกึ ษาแบบสั้น ประกอบด้วยเอสโทรเจนและโพรเจสโทเจน ให้ค�ำปรึกษา ก. สื่อสารสองทางระหว่าง ในปริมาณที่น้อยกว่ายาเม็ดคุมก�ำเนิด ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษาโดยอาศัย แหวนน้ีจะค่อย ๆ ปล่อยฮอร์โมนออกมา สัมพันธภาพและทักษะต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับ ควรท้ิงไว้ในช่องคลอดเป็นเวลา ๓ สัปดาห์ การปรึกษาเกิดความเข้าใจในปัญหาและ จากนั้นจึงค่อยถอดและสวมใหม่หลังผ่านไป หาทางออกอย่างสรา้ งสรรคไ์ ดด้ ้วยตนเอง. ๑ สัปดาห์ แหวนใส่ช่องคลอดช่วยป้องกัน การตกไข่ ใชไ้ ด้อยา่ งปลอดภัย สามารถหาซอื้ ใหค้ �ำปรกึ ษาแบบสนั้ ก. สนทนาสร้างแรงจงู ใจ แหวนใส่ช่องคลอดได้จากร้านยา นับเป็น อย่างเหมาะสมกับผู้ท่ีมีแรงจูงใจอยู่บ้างเน้น อุปกรณ์ที่มีความน่าเช่ือถือสูง ผู้หญิงที่ใช้ยา เสรมิ แรงความตระหนกั การประเมนิ ปัญหา เม็ดคุมก�ำเนิดไม่ได้จะไม่สามารถใช้แหวน ทั้งความรู้และแรงจูงใจแนะน�ำให้ข้อมูล คุมก�ำเนิดได้เช่นกนั . ต้ังเป้าหมายที่ชัดเจน วางแผน เพ่ือไปยัง ให้ค�ำแนะน�ำแบบสั้น ก. ให้ข้อมูลเชิงปรึกษา เปา้ หมาย เปน็ การชว่ ยเหลอื แบบคร้ังเดยี วจบ โดยเน้นการสร้างแรงจูงใจ ใช้เวลา ๕-๑๐ (แต่นัดต่อได้) เน้นเร่ืองที่ส�ำคัญเท่าน้ัน นาท.ี [อ. brief advice (BA)]. ใช้เวลา ๒๐-๓๐ นาท.ี (อ. brief interview). กระทรวงสาธารณสุข 485

อคติ อ อคติ น. ความคลาดเคลอ่ื นในขนั้ ตอนการออกแบบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ น. วิธีวิจัย หรือวิธีที่ท�ำการศึกษา. (อ. bias หรือ กรงุ เทพมหานคร องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด systematic error). และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบอ่ืน ท่ีมีกฎหมายจัดต้ังและมีเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ องค์กรการศึกษาหรือฝึกอบรม น. หน่วยงาน ทัง้ จังหวดั . หรือองค์กรท่ีได้รับการรับรองให้เป็นองค์กร การศึกษาหรือฝึกอบรมผู้ปฏิบัติการตามข้อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ น. บงั คบั . องค์การบริหารส่วนต�ำบล เทศบาล เมือง และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืนท่ีมี องค์กรของคนพิการ น. องค์กรที่มีคนพิการ กฎหมายจัดต้ัง แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหาร หรือผู้ดูแลคนพิการเป็นสมาชิกและเป็น ส่วนจงั หวัดและกรงุ เทพมหานคร. กรรมการบริหารไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของ กรรมการท้งั หมด ตลอดจนมีอำ� นาจตดั สนิ ใจ องค์กรพยาบาล น. ภาพรวมของหน่วยบรกิ าร ในการด�ำเนินงานเพ่ือคุ้มครองสิทธิของคน พยาบาลท้ังหมดภายในโรงพยาบาล และ พกิ ารดว้ ย. สถานบริการสาธารณสุข มีภาระหน้าที่ พันธกิจตามขอบเขตของวิชาชีพการพยาบาล องค์กรท่ีรับท�ำวิจัยตามสัญญา น. บุคคล และการผดุงครรภ์ บุคลากรประกอบด้วย หรือองค์กรดา้ นธรุ กิจ ดา้ นวิชาการ หรอื อื่น ๆ พยาบาลวิชาชีพท้ังระดับบริหารและระดับ ซ่งึ ทำ� สญั ญากับผูใ้ หท้ ุนวจิ ัย เพ่ือปฏบิ ตั ิหน้าที่ ปฏิบัติการ รวมท้งั บคุ ลากรทางการพยาบาล และความรับผิดชอบของผู้ให้ทุนวิจัยอย่างใด และบุคลากรอ่ืน ๆ ภายใต้การก�ำกับดูแล อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างที่เก่ียวข้องกับการวิจัย. ของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูง [อ. contract research organization (CRO)]. ชื่อขององค์กรอาจเรียกตามโครงสร้าง ของแต่ละโรงพยาบาลและสถานบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (กฎ) น. องค์กร สาธารณสุขที่แตกต่างกันไป เช่น กลุ่ม ของราชการบริหารส่วนท้องถิ่นท่ีจัดตั้งขึ้น การพยาบาล กลุม่ งานการพยาบาล ฝ่ายการ ในรูปแบบต่าง ๆ.  พยาบาล งานบริการพยาบาล กลุ่มภารกิจ บริการวิชาการ. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขนาดเล็ก น. เมืองพัทยา เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบล องค์กรพัฒนาเอกชน ดู องค์กรเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นท่ีมีกฎหมาย สาธารณประโยชน์. จัดตั้งนอกจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดใหญ่. องค์กรเพอื่ คนพกิ าร น. องค์กรทมี่ วี ัตถุประสงค์ 486 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

องค์การอนามัยโลก หรือกิจการหลักเก่ียวกับการส่งเสริมและ เอชไอวีหรือผูปว ยเรื้อรังอื่น ด้านผูใชแ รงงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและมิใช่หน่วยงาน ดานชุมชนแออัด ดานเกษตรกร ดา นชนกลมุ นอ ย ภาครฐั . ในเขตพื้นท่ีนั้น ๆ. [อ. non government องค์กรภาคีความร่วมมือ, องค์กรภาคีเครือข่าย, organization (NGO)]. องค์กรภาคีพันธมติ ร ดู พันธมติ ร. องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ น. องค์กร องค์กรวิชาชีพ น. องค์กรที่จัดต้ังขึ้นตาม ท่ีเกิดจากการรวมกลุ่มบุคคลท่ีมีอุดมการณ์ ท่ีบัญญัติไว้ตามกฎหมายวิชาชีพในระบบ แนวคิดและความต้องการทำ� ประโยชน์ให้สังคม สาธารณสขุ และหมายรวมถงึ องค์กรทจ่ี ดั ตั้ง ร่วมกันด�ำเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ อย่างหนึ่งอย่างใดด้วยความมุ่งมั่นในการแก้ ต่าง ๆ นอกเหนือจากทีบ่ ัญญตั ไิ ว้ตามกฎหมาย ปัญหาสังคม, องค์กรพัฒนาเอกชน ก็เรียก. เพื่อท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ก�ำกับดูแลมาตรฐาน [อ. non profit non government การท�ำงานและจริยธรรมของผู้ประกอบ organization (NGO)]. วิชาชีพประเภทต่าง ๆ ในระบบบริการ องค์การ น. รูปแบบของการท�ำงานเป็นกลุ่ม ด้านการแพทย์และสาธารณสุขซ่ึงให้โดยตรง ทม่ี ีการประสานงานกันตลอดเวลา ตลอดจน แก่บุคคล เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ต้องมีการก�ำหนดทิศทาง มีการจัดระเบียบ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค วิธีท�ำงานและติดตามวัดผลส�ำเร็จของงาน การรกั ษาพยาบาล และการฟื้นฟสู มรรถภาพ ทที่ �ำอยู่เสมอ. ทจี่ �ำเป็นตอ่ สุขภาพและการดำ� รงชีวิต. องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ น. องค์กรอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หน่วยงานภายใต้องค์การสหประชาชาติ น. การรวมกลุ่มของอาสาสมัครสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ความช่วยเหลือแก่เด็ก ประจ�ำหมู่บ้านในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ชมรม ท่ัวโลก. [อ. United Nations Children’s สมาคม มูลนิธิ ทั้งนี้ การรวมกลุ่มดังกล่าว Fund (UNICEF)]. ให้เป็นไปตามประกาศท่ีคณะกรรมการกลาง องค์การอนามัยโลก น. องค์การช�ำนัญพิเศษ ก�ำหนด. ของสหประชาชาติด้านการแพทย์และ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาก�ำไร น. องคกร สาธารณสุข ท�ำหน้าท่ีช่วยเหลือ ส่งเสริม ท้ังท่ีเปนและไมเปนนิติบุคคล ไดแก ชมรม รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ สนับสนุน กลุม สมาคม มูลนิธิ หรือท่ีเรยี กชื่ออยา งอน่ื ความร่วมมือและวิชาการในการพัฒนา ซึ่งมีวัตถุประสงคท่ีมิใชเปนการแสวงหาผลกําไร และการปรับปรุงบริการและมาตรฐาน และดําเนินกิจกรรมอยางเปนรูปธรรมชัดเจน ทางการแพทย์และการสาธารณสุข ภายใต้ ในดานเด็กหรือเยาวชน ดานสตรี ดา นผูส งู อายุ น โ ย บ า ย แ ล ะ ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง ส มั ช ช า ดานคนพิการหรือผูปวยจิตเวช ดานผูติดเช้ือ อนามัยโลก มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กระทรวงสาธารณสุข 487

องค์ความรหู้ ลักของสปา นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส และส�ำนักงาน องค์รวม น. การมองกระบวนการชีวิตและสุขภาพ ประจ�ำในอีก ๖ ภมู ภิ าคทั่วโลก. [อ. World เช่ือมโยงสิ่งดีงามเข้าหากัน แล้วน�ำมาเป็น Health Organization (WHO)]. เคร่ืองมือในการดูแลสุขภาพ เป็นการมอง องค์ความรู้หลักของสปา น. องค์ความรู้ เรื่องสุขภาพอย่างเป็นระบบ ไม่เน้นเฉพาะ การแพทย์แผนธรรมชาติเกี่ยวกับการใช้น้�ำ เรือ่ งการป่วยไขแ้ ละการบำ� บัดรกั ษาเท่าน้ัน. ได้แก่ วารบี �ำบัด เปน็ องคค์ วามร้หู ลกั อาจมี การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ อณูชีววิทยา น. ศาสตร์ท่ีศึกษาเก่ียวกับ หรือการแพทยแ์ ผนตะวนั ตก. โครงสรา้ งและการท�ำงานของหน่วยพนั ธุกรรม ในระดบั โมเลกุล. (อ. molecular biology). องค์ประกอบของบุคลากรเทคโนโลยีช่วย อดเพื่อสุขภาพ ก. ไม่กินอาหารระยะหนึ่ง การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ (กฎ) น. เป็นวิธีรักษาโรคท่ีเก่าแก่ท่ีสุดท่ีเคยพบก่อนยุค องค์ประกอบของบุคลากรเทคโนโลยีช่วย ซ่ึงมีมาทุกชนชาติ ทกุ ศาสนา ต้ังแตป่ รชั ญาเมธี การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ประกอบด้วย ศาสดาของศาสนาต่าง ๆ และพระสงฆ.์ ผู้รับผิดชอบในการให้บริการด้านเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ท่ีมีคุณสมบัติ อโธคมาวาตา (พท.) น. ลมพัดตั้งแต่ศีรษะถึง ตามประกาศแพทยสภา ผู้ประกอบวิชาชีพ ปลายเท้า บางตำ� ราวา่ พัดตง้ั แต่ล�ำไสน้ อ้ ยถงึ เวชกรรมซึ่งเป็นผู้ให้บริการเก่ียวกับเทคโนโลยี ทวารหนัก เช่น ลมที่เกิดจากการผายลม ช่วยการเจริญพันธุ์ นักวิทยาศาสตร์ อโธคมาวาตาเป็นองค์ประกอบ ๑ ใน ๖ ชนดิ นักวิทยาศาสตร์หัวหน้าทีม พยาบาล และ ของธาตลุ ม. บคุ ลากรอนื่ . อนามัย ๑. น. ความไม่มีโรค, สุขภาพ. องค์ประกอบของเลือด น. ๑. ส่วนประกอบเลือด ๒. ว. เกี่ยวกับสุขภาพ, ถูกสุขลักษณะ, เช่น เม็ดเลอื ดแดง เมด็ เลอื ดขาว เกลด็ เลือด ๓. (ปาก) ว. สะอาดปราศจากสารพิษเจือปน พลาสมา. ๒. ส่วนประกอบเลือดมนุษย์ เชน่ ผกั อนามยั . ที่สามารถน�ำออกมาใช้โดยตรงหรือผ่าน ขั้นตอนกระขบวนการเพื่อน�ำมาใช้รักษาโรค อนามัยการเจริญพนั ธ์ุ น. ภาวะความสมบรู ณ์ เชน่ เม็ดเลือดแดง เมด็ เลอื ดขาว เกลด็ เลือด แขง็ แรงของรา่ งกายและจติ ใจท่เี ป็นผลสมั ฤทธิ์ พลาสมา . อันเกิดจากกระบวนการและหน้าที่ของ การเจริญพันธุ์ที่สมบูรณ์ ท้ังชายและหญิง องค์ประกอบหลักสูตร น. หลักสูตรมี ทุกช่วงอายุของชีวิตท่ีจะท�ำให้มีชีวิตอยู่ในสังคม องค์ประกอบส�ำคัญ ๔ องค์ประกอบ อย่างมีความสุข ซ่ึงงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ไดแ้ ก่ ๑) หลักการและจดุ ม่งุ หมาย ๒) เนือ้ หา มีองค์ประกอบดังน้ี ๑) การวางแผนครอบครวั วิชาและเวลา ๓) การน�ำหลักสูตรไปใช้ ๒) การอนามัยแม่และเด็ก ๓) เอดส์ ๔) การประเมนิ ผล. ๔) มะเร็งระบบสืบพันธุ์ ๕) โรคติดเชื้อทาง 488 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อบเปียก ระบบสืบพันธุ์ ๖) การแท้งและภาวะ อนุมูลเสร,ี อนุมลู อสิ ระ (พล.) น. สารทมี่ ีอะตอม แทรกซ้อน ๗) ภาวะการมบี ุตรยาก ๘) เพศ หรือหมู่อะตอมหรือโมเลกุลท่ีมีอิเล็กตรอนเด่ียว ศึกษา ๙) อนามัยวัยรุ่น ๑๐) ภาวะหลังวัย เป็นสว่ นประกอบอยู่ด้วย จำ� นวนอเิ ล็กตรอน เจริญพนั ธแุ์ ละผสู้ ูงอายุ. ไรค้ ู่น้อี าจมี ๑ ตัว หรอื หลายตัวตอ่ ๑ อนุมูล อนามัยแมแ่ ละเดก็ น. การดแู ลสุขภาพอนามยั ก็ได้อนุมูลอิสระมีความว่องไวมาก ท�ำให้เกิด ของผู้หญิงระหว่างการต้ังครรภ์ และหลัง ป ฏิ กิ ริ ย า อ อ ก ซิ เ ด ชั น ใ น ก า ร ร ว ม ตั ว กั บ การต้ังครรภ์เพื่อให้มีการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย สารประกอบทางชวี ภาพของเซลล์ เชน่ โปรตนี และมีสุขภาพที่ดี พร้อมทั้งการดูแลทารก ไขมัน กรดนิวคลิอิก มีการเส่ือมสภาพและ ต้ังแต่อยู่ในครรภ์และหลังคลอดออกมาได้ การท�ำลายเซลล์และเนื้อเย่ือ เกิดความเป็น อย่างมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และได้รับ พิษเร้ือรังและพยาธิสภาพได้ภายหลัง เช่น การเลีย้ งดอู ยา่ งมคี ุณภาพ. ผนงั เส้นเลือดแขง็ ตัว โรคต้อกระจก โรคหวั ใจ ขาดเลอื ด. (อ. free radical). อนามัยส่ิงแวดล้อม น. การจัดการกับปัจจัย อนุสิทธิบัตร น. หนังสือส�ำคัญท่ีรัฐออกให้ ทางกายภาพ เคมี และชวี ภาพ ท่ีอยภู่ ายนอก เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐ์ มีลักษณะ ตัวคนและปัจจัยเก่ียวข้องที่มีผลกระทบต่อ คล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิด พฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย สร้างสรรค์ท่ีมีระดับการพัฒนาเทคโนโลยี การประเมินและการควบคุมปัจจัยส่ิงแวดล้อม ไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้น ท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยมีเป้าหมาย เพียงเล็กน้อยแต่มีประโยชน์ใช้สอยมากข้ึน เพ่ือการป้องกันโรคและการสร้างสภาพแวดล้อม รวมถึงกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือ ท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ ท้ังส�ำหรับคนรุ่นปัจจุบัน ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้นหรือ และรุน่ ลกู หลานในอนาคต. ท�ำให้เกิดผลิตภัณฑ์ข้ึนใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเคร่ืองยนต์ ยารักษาโรค. (อ. อนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง น. การประสาน petty patent). ความร่วมมือใน ๘ สาขา ได้แก่ คมนาคม ขนสง่ พลงั งาน สอ่ื สารโทรคมนาคม พฒั นา อบตัวด้วยความร้อน ก. ใช้ความร้อนรมให้ ทรัพยากรมนุษย์ท่องเที่ยว ส่ิงแวดล้อมและ การไหลเวียนของโลหิตและน�้ำเหลืองบริเวณ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้าและ ผิวหนังดีขึ้น สมุนไพรที่ใช้น้ันขึ้นอยู่กับ การลงทุน ซึ่งงานด้านสาธารณสุขเป็นส่วนหน่ึง ความสะดวกในแต่ละท้องถิ่น โดยไม่จ�ำกัด ของความร่วมมือสาขาพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ชนิด สรรพคุณของไอน�้ำจึงข้ึนกับสมบัติของ รวมถึงประเด็นด้านโรคเอดส์ ประกอบด้วย สมุนไพรทผี่ สมในหม้อน้ำ� . ไทย เมยี นมา ลาว กัมพชู า เวียดนาม และจนี (มณฑลยูนนาน). [อ. Great Mekong อบเปียก ก. รมตัวด้วยไอน้�ำที่ได้จากการ Subregion (GMS)]. ต้มสมุนไพร เป็นการบ�ำบัดรักษาวิธีหนึ่ง ลักษณะการอบเปียกคล้ายการน่ังกระโจม กระทรวงสาธารณสขุ 489

อบรมขดั เกลาทางสังคม ของหญิงหลังคลอด หรือน่ังในสุ่มไก่ที่ปิด น่ังในสุ่มไก่ท่ีปิดมิดชิด มีหม้อต้มสมุนไพร คลุมไวม้ ิดชิด ซึง่ มหี ม้อตม้ สมนุ ไพรเดอื ดเปน็ เดือดอย่ขู ้างกาย ทำ� ใหส้ ดู ดมไอนำ้� สมุนไพรได้ ไอน�ำ้ ใหค้ วามรอ้ นและสดู ดมไอน้ำ� ได้. มีท่ีมาจากการน่ังกระโจมในหญิงหลังคลอด. อบรมขัดเกลาทางสังคม ก. พัฒนาตนเองให้ (อ. herbal steam). เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมเพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพ อพทั ธะปติ ตะ ดูใน สมฏุ ฐานปิตตะ. ของตนเอง โดยกระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ อภิบาล ก. บํารุงรกั ษา, ปกครอง. ในสังคม ทั้งนี้การเรียนรู้มีทั้งทางตรงจาก อย่ไู ฟ ก. นอนบนกระดานไฟหลงั คลอด ๗-๓๐ การสอนหรือบอก และการเรียนรู้ทางอ้อม วนั เพอ่ื ชว่ ยให้รา่ งกายอบอุน่ ขบั น้�ำคาวปลา จากการเลียนแบบบุคคลอ่นื ๆ ในสังคม. ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว แผลท่ีฝีเย็บแห้งเร็ว อบสมนุ ไพร ก. รมด้วยไอรอ้ นสลับการระบาย และช่วยฆ่าเช้ือด้วยความร้อน โดยมีข้ันตอน ความร้อนอย่างค่อยเป็นค่อยไป และใช้ คอื การทอดเตาไฟ ซงึ่ มอี ุปกรณ์ที่ส�ำคัญ คอื ประโยชนจ์ ากตวั ยาสมุนไพรทีใ่ ช้อบ. เตาไฟ ก้อนเส้า (ก้อนหิน) ๓ ก้อน และ อบแหง้ ก. รมดว้ ยความร้อนจากถ่านหนิ บนเตาร้อน กระดานไฟหรือแคร่อยู่ไฟ ระยะการอยู่ไฟ ให้มีอุณหภูมิและความช้ืนท่ีเหมาะสม คือ ไม่มีก�ำหนดแน่นอน ส่วนใหญ่อยู่กันตั้งแต่ อุ ณ ห ภู มิ ๗ ๗ - ๘ ๒ อ ง ศ า เซ ล เซี ย ส ๑ สปั ดาห์ขึ้นไป นยิ มเป็นจ�ำนวนวันค.ี่ ความชน้ื สมั พทั ธร์ ้อยละ ๕, เซาน่า ก็ว่า. อวัจนภาษา น. การสื่อสารโดยไม่ใช้การฟัง อบอุ่นร่างกาย ก. ออกก�ำลังกายระดับเบาถึง การพดู การอ่านตามตวั หนังสอื และการเขียน ปานกลางก่อนการฝึก เพ่ือลดความเส่ียง เป็นตัวหนังสือ หรือหมายถึงการส่ือสาร จากการบาดเจ็บ ปวด และเพม่ิ ความสามารถ โดยไม่ใช้ระบบค�ำและประโยค ตัวอย่างเช่น ในการเคล่อื นไหวร่างกาย. ปา้ ยจราจร ภาษามอื . อบไอน้�ำ ก. รมด้วยไอน�้ำเพื่อสุขภาพ พบได้ อวยั วะเพศ น. อวัยวะสร้างเซลล์สืบพนั ธุ ์ ไดแ้ ก่ ในสังคมตะวันตกและตะวันออก ไอน�้ำ อณั ฑะในเพศชายและรงั ไขใ่ นเพศหญงิ . สามารถเก็บและถ่ายเทความร้อนให้ร่างกาย ได้ดีเท่า ๆ กับการอาบแช่ในน�้ำ และใช้ อวัยวะรับความรู้สกึ น. โครงสร้างทม่ี หี นว่ ยรบั อุณหภูมิประมาณ ๕๐ องศาเซลเซียส ความรู้สึกจากสิ่งเร้าภายนอกหรือภายใน ผลของความร้อนจะมีต่อร่างกายเช่นเดียว  ไดแ้ ก่ จมกู ตา หู ลิน้ และผวิ หนงั . กับการอาบแช่ในน�้ำร้อน, การบ�ำบัดด้วย ความรอ้ นเปยี ก กว็ า่ . (อ. steam bath). อศป. (กฎ) น. อนุกรรมการรับรององคก์ รและ หลักสูตรการศึกษา ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติการ อบไอน้ำ� สมุนไพร ก. ใชผ้ า้ ทำ� เป็นกระโจมหรือ และให้ประกาศนียบัตรเครื่องหมายวิทยฐานะ 490 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

ออสโมซสิ แกผ่ ู้ผา่ นการศึกษาหรอื ฝึกอบรม. (อ. oxyhaemoglobin). อสจุ ิ น. น้ำ� อสจุ ิ น�้ำกาม สเปริ ์ม น�้ำเชอ้ื . ออโตโซม น. โครโมโซมท่ีไม่ใช่โครโมโซมเพศ. อหิวาตกโรค น. โรคติดต่อทางอาหารและน้�ำ (อ. autosome). ที่เกิดจากการติดเช้ือแบคทีเรียในล�ำไส้อย่าง ออทิซึม น. ภาวะผิดปรกติจากการเจริญ เฉยี บพลนั . (อ. cholera). ของระบบประสาท โดยมีลักษณะเด่นคือ ออกก�ำลังกาย ก. เคลื่อนไหวร่างกายอย่างมี ความบกพร่องด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม แผนกระทำ� ซำ้� ๆ และมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ยก และการส่ือสาร และมีพฤติกรรมท�ำกิจกรรม ระดับหรอื คงไว้ซ่งึ สมรรถภาพทางกาย. บางอย่างซ�ำ้ ๆ ผู้ปว่ ยทเ่ี ปน็ โรคนม้ี กั เรียกกนั ว่า ออกซิเจน น. ธาตุในหมู่ VI ของตารางธาตุ ผู ้ ป ่ ว ย อ อ ทิ ส ติ ก   อ า ก า ร แ ส ด ง ดั ง ก ล ่ า ว เลขอะตอม ๘ สญั ลกั ษณ์ O เปน็ แกส๊ ไม่มสี ี มกั ปรากฏในวัยเด็กก่อนอายุ ๓ ปี นอกจากนี้ ไม่มกี ลิ่น ชว่ ยในการเผาไหม้ จดุ หลอมเหลว ยังมีความบกพร่องด้านสังคมและการส่ือสาร -๒๑๘.๙ องศาเซลเซียส จุดเดือด -๑๘๓ ท่ีจัดอยู่ในกลุ่มใกล้เคียงกัน เรียกว่า autism องศาเซลเซียส มีในอากาศประมาณร้อยละ spectrum disorder (ASD) อาทิ กล่มุ อาการ ๒๑ โดยปรมิ าตร. (oxygen). แอสเพอร์เกอร์ ท่ีมีอาการและอาการแสดง ออกซิไดซ์ ก. ปฏิกิริยาท่ีมีการเติมออกซิเจน. น้อยกว่า. (อ. autism). (อ. oxidize). ออกซิโทซิน น. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ออปติกโลบ น. ส่วนหนึ่งของสมองส่วนกลาง ส่วนท้าย ท�ำหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการหดตัว ท�ำหน้าท่ีเป็นศูนย์ของการมองเห็น  มีเส้น ของกล้ามเนื้อเรียบ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อเรียบ ประสาทรับความรู้สึกจากนัยน์ตามายัง ของมดลูก ช่วยให้มดลูกบีบตัวในขณะท่ีมี สมองส่วนน.ี้ (อ. optic lobe). การคลอด กระต้นุ ตอ่ มน�ำ้ นม ส่วนในเพศชาย ช่วยในการหลัง่ นำ้� กาม. (อ. oxytocin). ออร์แกเนลล์ น. โครงสร้างภายในเซลล์ ซงึ่ ทำ� หนา้ ท่ีเฉพาะอยา่ ง เช่น ไมโทคอนเดรยี ไรโบโซม ซีเลยี . (อ. organelle). ออร์โทพีดกิ ส์ ดู ศัลยศาสตรอ์ อรโ์ ทพดี ิกส์. ออกซิน น. ฮอร์โมนในพืชที่มีอิทธิพลเกี่ยวกับ ออวุล น. โครงสร้างภายในรังไข่ของพืชดอก การเจริญเตบิ โตของพชื . (อ. oxin) เป็นท่ีก�ำเนิดของเซลล์ไข่ เม่ือเซลล์ไข่ได้รับ การผสมแล้วออวุลจะเจริญเติบโตไปเป็น ออกซีฮีโมโกลบิน น. ฮีโมโกลบินที่ได้รับ เมล็ดพชื . (อ. ovule). ออกซิเจน มีสีแดงสด และเมื่อให้ออกซิเจน แก่เนื้อเยื่อแล้วจะกลับเป็นฮีโมโกลบินดังเดิม. ออสโมซิส น. การแพร่ของโมเลกุลของตัว กระทรวงสาธารณสุข 491

อะโครเมกาลี ท�ำละลายท่ีเป็นของเหลวจากบริเวณท่ีมี ซง่ึ ค�ำนวณได้จากสตู ร จ�ำนวนป่วยดว้ ยโรคใด ความเขม้ ขน้ ของสารละลายต่ำ� ผา่ นเยอ่ื บาง ๆ โรคหนึ่ง (รายใหม่) ในช่วงเวลาที่ก�ำหนด ไปสู่บริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายสูง. คูณ ๑๐๐,๐๐๐ หารด้วยจ�ำนวนประชากร (อ. osmosis). กลางปีในปีเดียวกนั . (อ. incidence rate). อะโครเมกาลี น. โรคทเี่ กิดจากการท่ีมีโกรทฮอรโ์ มน อตั ราการเกิดไรช้ ีพ น. จ�ำนวนเด็กเกิดไร้ชพี ตอ่ หรือฮอร์โมนโซมาโทโทรฟินสูงมากเมื่อโตเต็มวัย จ�ำนวนการคลอด ๑,๐๐๐ คน ในช่วงเวลา ท�ำให้กระดูกบางส่วนของร่างกายเติบโต ที่กำ� หนด ซงึ่ ค�ำนวณได้จากสตู ร จำ� นวนเด็ก ผิดปรกติ เช่น กระดูกบริเวณใบหน้ายาว เกิดไร้ชีพในช่วงเวลาที่ก�ำหนด คูณ ๑,๐๐๐ ท�ำใหม้ ีใบหนา้ ยาวผดิ ปรกติ. (อ. acromegaly). หารด้วยจ�ำนวนการคลอดในช่วงเวลาเดียวกัน. (อ. fetal death rate หรอื stillbirth rate). อะดรีนาลิน น. ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนัล เมดัลลาของต่อมหมวกไต ฮอร์โมนน้ีจะถูก อัตราการครองเตยี ง น. รอ้ ยละของการใชเ้ ตียง กระต้นให้หลั่งออกมาเม่ือร่างกายเกิดอารมณ์ ทั้งหมดในสถานพยาบาลของผู้ป่วยในช่วง เครียด เชน่ โกรธ ดใี จ ตืน่ เตน้ . (อ. adrenalin). เวลาที่ก�ำหนด ซ่ึงค�ำนวณได้จากสูตร วันอยู่ โรงพยาบาลในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด คูณ ๑๐๐ อะดรีโนคอร์ทิโคโทรฟนิ น. ฮอร์โมนท่ีสรา้ งจาก หารดว้ ย (จ�ำนวนเตียง คูณ จำ� นวนวนั ในชว่ ง ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ท�ำหน้าที่กระตุ้น เวลาเดยี วกนั ). (อ. bed occupancy rate). อะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไตให้สร้าง ฮอรโ์ มนตามปรกต.ิ (อ. adrenocorticotro- อัตราการคุมก�ำเนิด น. จ�ำนวนผู้ท่ีก�ำลังใช้วิธี phin). คุมก�ำเนิดโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ต่อหญิงวัยเจริญพันธุ์ ๑๐๐ รายที่แต่งงานแล้วและก�ำลังอยู่กินกับ อะโรมาเทอราปี ดู สุคนธบ�ำบัด. สามใี นช่วงเวลาใดเวลาหนง่ึ ในพนื้ ทีท่ ่ีกำ� หนด อคั นีบำ� บัด น. การนำ� ความร้อนเข้าไปบรรเทา ค�ำนวณไดจ้ ากสูตร อตั ราการคุมก�ำเนิด เทา่ กับ จ�ำนวนผู้ท่ีก�ำลังใช้วิธีคุมก�ำเนิด หารด้วย อาการปวดกล้ามเนื้อจากสาเหตุต่าง ๆ ด้วย จ�ำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานแล้วและ หินร้อน ซ่ึงข้างใน โพรงอากาศสามารถ ก�ำลังอยู่กินกับสามี. (อ. CPR-contraceptive เก็บความร้อนไว้ได้ดี มีสมบัติในการขจัด prevalence rate). ความปวดเมือ่ ย. (อ. spa ovation). อัตราการเกิด น. จ�ำนวนประชากรท่ีเกิดต่อ อัตราการเจาะโลหิตตรวจในรอบปี น. อัตรา ประชากรท้งั หมดตอ่ หนว่ ยเวลา. การเจาะโลหิตตรวจในรอบปีต่อประชากร อัตราการเกิดโรค น. อัตราป่วยด้วยโรคใดโรคหน่ึง ๑๐๐ คน. [อ. annual blood examination (รายใหม)่ ต่อจำ� นวนประชากรกลางปีแสนคน rate (ABER)]. อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด น. ค่าสูงสุด 492 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อตั ราเจรญิ พนั ธรุ์ วมยอด ของอัตราการเต้นของหัวใจขณะออกก�ำลัง อัตราการเพิ่มประชากร น. จ�ำนวนประชากร จนถึงจดุ ทเ่ี หน่อื ยมากที่สดุ . ที่เพ่ิมข้ึนต่อหน่วยเวลา มักคิดเป็นต่อ ๑๐๐ อัตราการเต้นส�ำรองของหัวใจสูงสุด น. หรอื ๑,๐๐๐ ของจ�ำนวนประชากรเดมิ . ค่าความแตกต่างระหว่างอัตราการเต้นหัวใจ สูงสุดกบั อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะทพ่ี กั . อัตราเกิด, อัตราเกิดอย่างหยาบ น. จ�ำนวน อตั ราการเตน้ หัวใจ น. ความเร็วของการบบี ตัว การเกดิ ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน ในชว่ งปีหน่งึ ของหัวใจในชว่ งระยะเวลาหนึ่ง ๆ โดยทว่ั ไป ซึง่ ค�ำนวณไดจ้ ากสตู ร จ�ำนวนการเกิดในช่วง นิยมใช้หน่วย “ครั้งต่อนาที” อัตราการเต้น ปีหนึ่ง คูณด้วย ๑,๐๐๐ หารด้วย จ�ำนวน เปลย่ี นแปลงได้ ขึน้ กบั ร่างกายแต่ละคน เช่น ประชากรกลางปี ในปีเดียวกัน. (อ. crude ความตอ้ งการออกซเิ จน การขบั คารบ์ อนได- birth rate). ออกไซด์ กิจกรรมของร่างกาย การนอนหลับ ความเจ็บป่วย การย่อยอาหาร ยาบางชนิด อัตราความชุก น. อัตราส่วนระหว่างจ�ำนวน ถ้าหัวใจเต้นไม่สม�่ำเสมอเรียกว่า ภาวะหัวใจ ผู้ป่วยโรคใดโรคหน่ึงทั้งรายเก่าและรายใหม่ เสียจังหวะ ความผิดปรกติของการเต้นหัวใจ ในระยะเวลาที่ก�ำหนดต่อจ�ำนวนประชากร ในบางคร้ังอาจแสดงถึงการเป็นโรค แต่ก็ไม่ คิดเป็นต่อ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ หรือ เสมอไป. (อ. heart rate). ๑๐๐,๐๐๐ ก็ได.้ (อ. prevalence rate). อัตราการเตน้ หัวใจขณะพกั น. จ�ำนวนครั้งของ การเต้นของหัวใจใน ๑ นาทีขณะพักเต็มที่ อัตราเจรญิ พนั ธุ์ตามรายอาย ุ น. จำ� นวนเด็กเกิด โดยการท่ีมีชีพจรต�่ำลงนั้นบ่งบอกได้ถึง มีชีพ ซึ่งเกิดจากสตรีอายุหน่ึงหรือในกลุ่ม สมรรถภาพทางกายที่แข็งแรงมากข้ึน. อายุนั้นต่อจ�ำนวนสตรีอายุน้ันหรือในกลุ่ม (อ. HR at rest). อายุน้ันทั้งหมด อัตราน้ีอาจแสดงตัวเลข อัตราการแท้ง น. จ�ำนวนการแทง้ บตุ รต่อหญิง เฉลี่ยต่อสตรี ๑ คน หรือ ๑๐๐ คน หรือ วัยเจริญพันธุ์ที่ตั้งครรภ์ ๑,๐๐๐ คน ในช่วง ๑,๐๐๐ คนก็ได้ (ค่า k เทา่ กบั ๑ หรอื ๑๐๐ เวลาท่ีก�ำหนด ซ่ึงค�ำนวณได้จากสูตร หรือ ๑,๐๐๐ ตามล�ำดับ) ตามปรกติจะ อัตราการแท้ง เท่ากับ จ�ำนวนการแท้งบุตร ค�ำนวณอัตราการเจริญพันธุ์ตามรายกลุ่ม ในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด คูณด้วย ๑,๐๐๐ อายุ ๕ ปี โดยเร่ิมต้ังแต่สตรีอายุ ๑๕ ปีถึง หารด้วย จ�ำนวนหญิงวัยเจรญิ พันธุ์ทีต่ ง้ั ครรภ์ ๔๔ ปี โดยค�ำนวณจากสตู ร อตั ราเจรญิ พันธุ์ ในช่วงเวลาเดยี วกัน. (อ. abortion rate). ของกลุ่มอายทุ ีศ่ กึ ษา เทา่ กบั จำ� นวนเด็กเกิด อัตราการปว่ ยตาย ดู อัตรามฤตภาพเฉพาะโรค. มีชพี ทเี่ กิดจากสตรีในกลุ่มอายทุ ศ่ี กึ ษา คณู k หารด้วย จ�ำนวนสตรีท้ังหมดในกลุ่มอายุที่ ศึกษา. (อ. age-specific fertility rate). อัตราเจริญพันธุ์รวมยอด น. จ�ำนวนบุตร โดยเฉล่ยี ท่ีคาดวา่ สตรีคนหนง่ึ (หรอื ๑๐๐ คน หรือ ๑,๐๐๐ คน) จะให้กำ� เนิดตลอดชั่วชวี ิต กระทรวงสาธารณสุข 493

อัตราตาย ของสตรีน้ันหรืออีกนัยหนึ่งคือ สตรีคนหนึ่ง ไดจ้ ากสูตร จำ� นวนการตายของทารกทม่ี ีอายุ ต้ังแต่เริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์จนหมดวัยเจริญพันธุ์ น้อยกว่า ๒๘ วัน ในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด หรือจนตายไป จะมีบุตรเฉลี่ยกี่คน โดยมี คูณด้วย ๑,๐๐๐ หารด้วย จ�ำนวนการเกิดมีชีพ ขอ้ สมมตุ ิฐานว่าการมบี ุตรตลอดชว่ งวัยการมี ในช่วงเวลาเดียวกนั . (อ. neonatal mortality บุตรของสตรีน้ัน เป็นไปตามอัตราเจริญพันธุ์ rate). ตามรายอายุท่ีเป็นอยู่ในปีหนึ่ง ค�ำนวณได้ อัตราตายของมารดา น. การตายของหญิงมีครรภ์ จากสูตร อัตราเจริญพันธุ์รวมยอด เท่ากับ หรือภายใน ๔๒ วัน หลังส้นิ สุดการต้งั ครรภ์ n คณู ผลรวมของอัตราเจรญิ พนั ธุ์ตอ่ กล่มุ อายุ ที่มีสาเหตุการตาย เนื่องจากการต้ังครรภ์ โดย n หมายถึง จ�ำนวนปขี องกล่มุ อายุ เชน่ หรือการคลอดต่อจ�ำนวนการคลอด ๑,๐๐๐ การค�ำนวณอัตราเจริญพันธุ์ตามรายกลุ่ม ภายในช่วงเวลาที่ก�ำหนด อัตราตายของมารดา อายุ ๕ ปี ในการค�ำนวณอัตราเจริญพันธุ์ เท่ากับจ�ำนวนการตายของมารดาในช่วงเวลา รวมยอด n เท่ากับ ๕. [อ. total fertility ทีก่ �ำหนดคูณดว้ ย ๑,๐๐๐ หารดว้ ย จำ� นวน rate (TFR)]. การเกิดมีชพี ในช่วงเวลาเดียวกนั . (อ. maternal อัตราตาย น. จ�ำนวนตายในปหี นึ่งต่อประชากร mortality rate). ๑,๐๐๐ คน ในปนี ัน้ . [อ. crude death rate อัตราตายทุกสาเหตุ น. จ�ำนวนตายรวมทกุ สาเหตุ (CDR)]. ในปหี นงึ่ ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คนในปนี ้นั . อตั ราตายของเดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ ๕ ปี น. จ�ำนวนตาย (อ. overall death rate). ของเดก็ ท่ีมีอายุ ๐-๔ ปี ในปหี นง่ึ ต่อการเกิด อัตราตายปริก�ำเนิด น. จ�ำนวนการตายของ มีชีพ ๑,๐๐๐ รายในปนี ัน้ . (อ. under five ทารกในครรภ์และทารกแรกคลอดต่อจ�ำนวน mortality rate). การเกิดมีชีพ ๑,๐๐๐ ราย ซึ่งความหมาย อตั ราตายของทารก น. จำ� นวนการตายของทารก ของทารกในครรภ์และทารกแรกคลอด อายุต่ำ� กวา่ ๑ ปี ต่อการเกดิ มชี พี ๑,๐๐๐ ราย ก�ำหนดอายุครรภ์ต้ังแต่ ๒๘ สัปดาห์ขึ้นไป ในช่วงเวลาที่ก�ำหนด ซ่ึงค�ำนวณได้จากสูตร หรือถ้าไม่ทราบอายุครรภ์ให้ใช้น�้ำหนักของ จ�ำนวนการตายของทารกอายุต�่ำกว่า ๑ ปี ทารกแรกคลอดต้ังแต่ ๑,๐๐๐ กรัมข้ึนไป ในช่วงเวลาทก่ี ำ� หนดคูณด้วย ๑,๐๐๐ หารดว้ ย และอายุแรกคลอดใช้ ๗ วันหลังคลอด จ�ำนวนการเกิดมีชีพในช่วงเวลาเดียวกัน. ค�ำนวณได้จากสูตร อัตราตายปริก�ำเนิด (อ. infant mortality rate). เท่ากับ (จ�ำนวนการตายของทารกในครรภ์ อัตราตายของทารกแรกเกิด น. จ�ำนวน บวกจ�ำนวนการตายของทารกแรกคลอด) การตายของทารกที่อายุน้อยกว่า ๒๘ วัน คูณ ๑,๐๐๐ หารด้วย จ�ำนวนคลอดในช่วง ใ น ช ่ ว ง เ ว ล า ท่ี ก� ำ ห น ด ต ่ อ ก า ร เ กิ ด มี ชี พ เวลาเดียวกนั . [อ. perinatal mortality rate ๑,๐๐๐ ราย ในช่วงเวลาเดยี วกัน ซึ่งค�ำนวณ (PMR)]. 494 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อตั ราอุบตั กิ ารณ์ตดิ เช้ือ อตั ราป่วย น. สดั ส่วนของประชากรท่ีมกี ารปว่ ย อตั ราสว่ นความเสีย่ ง น. การวดั อตั ราความเสยี่ ง ในประชากรกลุ่มเส่ียง ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง. ของการเกิดโรค เน่ืองจากปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ (อ. attack rate). โดยคิดเป็นจ�ำนวนเท่าของความเส่ียง เม่ือ เทียบกับกลมุ่ ทีไ่ ม่มปี ัจจยั เส่ียง. (อ. odd ratio). อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย น. อัตราป่วย ดว้ ยโรคไขม้ าลาเรยี ตอ่ ประชากร ๑,๐๐๐ คน. อัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่ม น. [อ. annual parasite incidence (API)]. การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุข โดยพิจารณาว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึน อตั ราป่วยโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ น. อตั รา มากเท่าใด เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงผลลพั ธท์ างสขุ ภาพ ป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๕ โรค ที่เพิ่มขึ้น ๑ หน่วยเมื่อมีการตัดสินใจ ประกอบดว้ ย ๑) โรคซิฟิลิส ๒) โรคหนองใน น�ำเทคโนโลยีใหม่มาใช้แทนเทคโนโลยีเดิม ๓) โรคหนองในเทียม ๔) โรคกามโรค ใช้การค�ำนวณโดยการน�ำส่วนต่างของต้นทุน ของต่อมและท่อน�้ำเหลือง/ฝีมะม่วง และ ระหว่างเทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีเดิม ๕) โรคแผลริมออ่ น. หารด้วยส่วนต่างของประสิทธิผลระหว่าง เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีเดิม. [อ. อตั ราพบเชือ้ มาลาเรีย น. อัตราพบเชอื้ มาลาเรีย incremental cost effectiveness ratio ต่อจ�ำนวนตรวจโลหิต ๑๐๐ ฟิล์ม. [อ. malaria (ICER)]. positive rate (MPR)]. อัตราส่วนตายมารดา น. การตายของมารดา อัตรามฤตภาพเฉพาะโรค น. สัดส่วนของคน ต้ังแต่ขณะตั้งครรภ์คลอดและหลังคลอด ท่ีตายด้วยโรคหนึ่งต่อคนท่ีป่วยด้วยโรคน้ัน ภายใน ๔๒ วนั ไม่ว่าอายุครรภ์จะเปน็ เท่าใด ทั้งหมดในช่วงเวลาหน่ึง, อัตราการป่วยตาย หรือการต้ังครรภ์ท่ีต�ำแหน่งใด จากสาเหตุ กว็ ่า. (อ. case fatality rate). ท่ีเก่ียวข้องหรือก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้น จากการต้ังครรภ์และหรือการดูแลรักษา อัตราส่วน น. ค่าของตัวเลขที่เป็นการเปรียบ ขณะต้งั ครรภ์ และคลอดแต่ไม่ใช่จากอุบัติเหตุ เทียบจ�ำนวน ๒ จ�ำนวน ที่เป็นหรือไม่เป็น ตอ่ การเกิดมชี พี ๑๐๐,๐๐๐ คน. [อ. maternal สว่ นหนงึ่ ของกนั และกนั กไ็ ด้. (อ. ratio). mortality ratio (MMR)]. อัตราส่วนการเกิดไรช้ พี น. จำ� นวนเดก็ เกิดไร้ชีพ อัตราสูญเสียวัคซีน น. ร้อยละของวัคซีน ในช่วงเวลาทกี่ �ำหนด หารด้วย จำ� นวนการเกดิ ที่สูญเสียไปเม่ือมีการให้บริการวัคซีนแต่ละชนิด มีชีพในช่วงเวลาเดียวกนั . แก่กลุม่ เป้าหมาย. (อ. wastage rate). อัตราส่วนของการพึง่ พงิ ทางอายุ น. อตั ราสว่ น อัตราอุบัติการณ์ติดเช้ือ น. จ�ำนวนครั้งของ ของประชากรวยั เดก็ และวัยสงู อายุ ต่อประชากร การติดเช้ือที่เกิดขึ้นใหม่ต่อจ�ำนวนผู้ป่วย วยั ทำ� งานทงั้ หมด. (อ. age dependency ratio). ที่จำ� หน่ายภายในระยะเวลาท่กี �ำหนด. กระทรวงสาธารณสขุ 495

อัตราอบุ ตั กิ ารณ์ติดเช้ือในผู้ป่วยทใ่ี สอ่ ุปกรณ์ อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์ตดิ เชื้อในผปู้ ่วยท่ใี ส่อุปกรณ์ น. เจ็บป่วยได้. จ�ำนวนคร้ังของการติดเชื้อท่ีเกิดข้ึนใหม่ ต่อ อันตรายทางชีวภาพที่พบในอาหาร น. ส่ิงมี จ�ำนวนวันของการใส่อุปกรณ.์ ชีวิตขนาดเล็กจ�ำพวกจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย อัตลกั ษณ์ น. ลักษณะเฉพาะของบคุ คลซึ่งรวม ไวรัส เชื้อรา ยีสต์ รวมถึงปรสิต เช่น พยาธิ สตปิ ัญญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความประพฤติ ท่ีปนเปื้อนในอาหาร ท�ำให้อาหารเน่าเสีย ท่ีแสดงออกเป็นลักษณะนิสัยของบุคคลน้ัน. หรืออาจก่อใหเ้ กดิ อาการเจ็บป่วยได.้ (อ. character). อัมพฤกษ์ น. ๑. โรคท่ีมีอาการคล้ายอัมพาต แต่มีความแตกต่างที่อาการเป็นน้อยกว่า อัตลักษณ์ทางเพศ น. ความรู้สึกล้�ำลึกภายใน และข้อต่อหัวไหล่ ข้อต่อสะโพก ไม่หลุด ของบคุ คลเกี่ยวกับเพศภาวะ ซึง่ อาจจะสอดคลอ้ ง สาเหตุคล้ายอัมพาตแต่รุนแรงน้อยกว่า หรอื ตรงข้ามกบั เพศโดยก�ำเนดิ ของตน รวมทง้ั ทางการนวดแบบราชส�ำนักอธบิ ายว่า ในกรณี ความรู้สึกทางสรีระ และเพศภาวะ เช่น ข้อต่อหลุดหลวม เรียกว่า โรคอัมพาต. การแต่งกาย การพูดจา และกิริยาอ่ืน ๆ. ๒. อาการที่แขนหรือขาอ่อนแรงกว่าเดิม (อ. gender identity). แต่ยังสามารถพอใช้งานได้ แตไ่ มเ่ หมอื นปรกติ เช่น อาจจะมีอาการชา หยิบจบั ของหนักไม่ได้ อันตรายจากอาหาร น. ส่ิงที่มีอยู่หรือสิ่งที่ปน ยกแขนไมไ่ ด้ ก�ำมอื ไม่ได้ แม้แต่กระทง่ั จะจับ เปื้อนในอาหารที่อาจเป็นเหตุให้เจ็บป่วย ปากกาเพ่ือเขียนหนังสือตามปรกติก็ยัง หรือถึงแก่ความตาย แบ่งเป็น อันตรายทาง ไมส่ ามารถทำ� ได้ ผ้ปู ว่ ยยังพอสามารถชว่ ยเหลอื ชีวภาพ อันตรายทางเคมี และอันตรายทาง ตนเองได้บ้างในบางกิจกรรม โอกาสท่ีจะ กายภาพ. (อ. food hazard). กลบั มาหายเปน็ ปรกติมีอย่มู าก. อัมพฤกษค์ รึง่ ซีก น. ภาวะท่ีมีการออ่ นแรงของ อันตรายทางกายภาพที่พบในอาหาร น. ร่างกายซีกใดซีกหน่ึง เป็นภาวะที่คล้ายคลึง วัตถุแปลกปลอมท่ีพบปนเปื้อนในอาหาร กับอัมพาตคร่ึงซีก แต่ไม่รุนแรงเท่า ผู้ป่วย อาจเป็นสิ่งที่มีคมหรือไม่มีคม อาจเป็น อัมพฤกษ์คร่ึงซีกจะพอขยับแขนขาข้าง ของแขง็ หรือออ่ นนุ่ม อาจเปน็ ซากหรือชิ้นส่วน ที่อ่อนแรงได้บ้าง เพียงแต่จะไม่มีก�ำลังมาก ของสัตว์หรือแมลง ซึ่งเม่ือกินเข้าไปอาจ เท่าปรกติ. (อ. hemiparesis). ท�ำให้เกดิ อาการเจบ็ ป่วยหรือบาดเจ็บได้. อัมพาต น. อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขน ขาอันเกิดจากความผิดปรกติของระบบประสาท อันตรายทางเคมีท่ีพบในอาหาร น. สารเคมี ท่คี วบคุมการท�ำงานของแขนขาสว่ นนน้ั . หรือสารพิษที่พบในอาหารซ่ึงอาจพบอยู่ใน อัมพาตครึ่งซีก น. ๑. แขน ขา เพียงซีกใด วัตถุดิบอาหารตามธรรมชาติ หรืออาจเติม ลงสู่อาหารโดยเจตนา หรือปนเปื้อนโดยไม่เจตนา ระหว่างกระบวนการผลิตหรือปรุงประกอบ อาหาร เม่ือกินเข้าไปอาจท�ำให้เกิดอาการ 496 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากยา ซีกหนึ่งอ่อนแรงหรือขยับเขย้ือนไม่ได้ อสั สาสปสั สาสวาตา น. ธาตุในรา่ งกายบคุ คล มักเกิดจากโรคหลอดเลือดสมองตีบ อุดตัน ตามต�ำราแพทย์แผนโบราณ คือวาโยธาตุ หรอื หลอดเลือดสมองแตก. (อ. hemiplegia หรือธาตุลม เป็นลมหายใจเข้าออกอยู่ตรง หรือ hemiparalysis). ๒. (พท.) อาการ ช่องจมูกท้ังสองข้าง มีหน้าที่หายใจเข้าออก ที่เกิดจากลมเบื้องสูงและลมเบื้องต�่ำพัด ตามช่องจมูกทง้ั สองขา้ ง ลมประเภทนเี้ น่อื งมา ไม่สมดุลกัน หรือเรียกว่า ลมอโธคมาวาตา แตป่ อดท้งั สองข้าง ผายเขา้ ผายออก ลมกองนี้ และลมอุทธังคมาวาตาพัด นอกจากน้ี ขาดเมื่อใด ส้ินชีพเมือ่ น้ัน. เสน้ ประธานสบิ ท่มี ผี ลกระท�ำโทษ คอื เส้นอทิ า และปิงคลาเบยี ดกระทบเสน้ สมุ นา. อาการข้างเคียงจากยา น. ผลทเี่ กิดข้ึนโดยมิได้ อัมพาตคร่ึงล่าง น. ขาท้ัง ๒ ข้างมีอาการ ตั้งใจเม่ือใช้ยาในขนาดปรกติที่เก่ียวข้องกับ อ่อนแรงหรือขยับไม่ได้เลย มักมีสาเหตุ สมบตั ิของยา. (อ. side effect). มาจากการบาดเจ็บที่ไขสันหลังหรือโรคท่ีเกิด บรเิ วณไขสันหลงั . (อ. paraplegia). อาการเตือนทางจิตและปัจจัยกระตุ้นท่ีเส่ียง อัมพาตทั้งตัว น. แขนขาขยับเขยื้อนไม่ได้ ตอ่ การเกิดพฤตกิ รรมรนุ แรง น. การแสดง มีสาเหตุมาจากโรคของไขสนั หลัง การบาดเจ็บ อาการของโรคอีกครั้งหลังจากได้รับการ ทีไ่ ขสันหลงั . (อ. quadriplegia). รักษาจนอาการดีขึ้นแล้ว การเกิดอาการ อัลดริน น. ยาฆ่าแมลงที่เป็นศัตรูพืช เป็นสาร ก�ำเริบซ�้ำของผู้ป่วยจะมีอาการเตือนก่อนเสมอ พวกไฮโดรคาร์บอนซ่ึงมีคลอรีนเป็นตัวประกอบ โดยมีปัจจัยกระตุ้นท�ำให้ผู้ป่วยควบคุมตัวเอง ท่ีส�ำคัญ ใช้ปราบต๊ักแตนได้ดี แต่ไม่ควรใช้ ไมไ่ ด้ ซ่งึ อาจเกิดอันตรายต่อตนเองและผอู้ ่นื . ฆ่าแมลงในบ้าน. (อ. aldrin). อัลบูมิน น. สารประกอบประเภทโปรตีน ช่วย อาการฟุ้งพล่าน ดู ภาวะเมเนีย. รักษาความเป็นกรด-เบสและรักษาสมดุล อาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของของเหลวในร่างกายรวมทั้งการสร้าง แอนติบอดดี ว้ ย. (อ. albumin). น. ความผิดปรกติทางการแพทย์ที่เกิดข้ึน อลั มอนดม์ ลี น. กากทเ่ี หลือจากการบีบน�้ำมนั ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค อัลมอนด์ ใช้เป็นส่วนผสมในเคร่ืองส�ำอาง และไม่จ�ำเป็นต้องมีสาเหตุจากการได้รับวัคซีน ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดผิว เป็นต้น. (อ. ความผิดปรกติท่ีเกิดขึ้นอาจเป็นความรู้สึก almond meal). ไม่สบาย หรือมีการตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการพบความผิดปรกติหรืออาการ แสดงของโรค. [อ. adverse events following immunization (AEFI)]. อาการไมพึงประสงค์ ดู เหตกุ ารณ์ไมพ่ ึงประสงค.์ อาการไม่พึงประสงค์จากยา ดู ปฏิกิริยาไม่พึง กระทรวงสาธารณสุข 497

อาการหลงผดิ ประสงค์จากยา. ประมาณไม่เกิน ๒-๔ สัปดาห์ ซึ่งจัดเป็น อาการหลงผดิ น. ความผิดปรกติของความคิด อาการเหน่ือยล้าเฉยี บพลัน. (อ. physiologic  fatigue). ที่บุคคลที่มีความเช่ือและคิดในเรื่องต่าง ๆ อาการเหนื่อยล้าเร้ือรัง น. อาการเหน่ือยล้า ซึ่งไม่เป็นความจริง มักเกิดจากความเช่ือ ท่ีเกิดข้ึนต่อเน่ืองนานเกิน ๖ เดือนข้ึนไป ท่ีฝังแน่นในใจหรือความคิดของบุคคลนั้น ๆ ซึ่งมักเกิดจากการควบคุมโรคท่ีเป็นสาเหตุไม่ได้ ยากที่จะใหเ้ หตุผลได้อย่างชัดเจน. เช่น ควบคุมโรคมะเร็งไม่ได้ ซ่ึงเมื่ออาการ อาการเหน่ือยลา้ เฉียบพลัน น. อาการเหนอ่ื ย เกิดขึน้ เรอ้ื รังนานเกิน ๖ เดือน และเป็นอาการ ลา้ ทีเ่ กดิ ขึน้ ภายในระยะเวลาไม่เกิน ๖ เดือน ท่ีแพทย์ตรวจไม่พบสาเหตุที่ชัดเจน เรียกว่า ซึ่งคืออาการเหน่ือยล้าตามปรกติที่เกิดจาก กลุ่มอาการเหน่ือยล้าเรื้อรัง. (อ. chronic  การใช้ชีวิตประจ�ำวันและอาการเหน่ือยล้า fatigue หรอื chronic fatigue syndrome). ทุตยิ ภูม.ิ (อ. acute fatigue). อาการออฟฟิศซินโดรม น. อาการของผู้ป่วย อาการเหนือ่ ยล้าทตุ ยิ ภมู ิ น. อาการเหน่อื ยล้า ที่มีความผดิ ปรกตไิ ดใ้ นหลายรปู แบบ ทั้งระบบ ที่เกิดจากมีสาเหตุผิดปรกติของร่างกาย กระดูกและกล้ามเน้ือ มีอาการเจ็บปวดตาม อาจมาจากการมีโรคเร้อื รงั เช่น โรคเบาหวาน กล้ามเน้ือส่วนตา่ ง ๆ ซง่ึ จะพบไดจ้ ำ� นวนมาก โรคตับแข็ง โรคไตเร้ือรัง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง หรือเกิดความผิดปรกติในระบบการย่อยอาหาร โรคภูมิต้านตนเอง ภาวะซีด ภาวะโลหิตจาง ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ระบบการมองเหน็ จากขาดธาตุเหล็ก หรือจากผลข้างเคียงของ ซง่ึ อาการป่วยจากการทำ� งานดงั กลา่ ว ขณะน้ี ยาบางชนดิ เช่น ยาลดนำ้� ตาลในเลือด ยาเคมี พบในประชาชนวัยท�ำงานมากย่ิงข้ึน และ บ�ำบัดในการรักษาโรคมะเร็ง ซึ่งอาการเหนื่อยล้า บางสว่ นก็เกดิ การเจ็บปว่ ยโดยไม่รู้ตวั ไม่ทราบ ทุติยภูมิจะหายได้ภายหลังการรักษาควบคุม สาเหตุ ท�ำให้ทวีความรุนแรงและส่งผลให้ สาเหตุได้แล้ว ท้ังนี้อาการเหน่ือยล้าทุติยภูมิ เกิดโรคเรอื้ รงั ต่าง ๆ ตามมา. เป็นได้ทั้งอาการเหน่ือยล้าเฉียบพลันและ อากาศเสีย (กฎ) น. ของเสียท่ีอยู่ในสภาพ อาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง. (อ. secondary  เป็นไอเสีย กล่ินควัน แก๊ส เขม่า ฝุ่นละออง fatigue). เถา้ ถ่าน หรือสารมลพิษอนื่ ที่มีสภาพละเอียด อาการเหนื่อยล้าปรกติจากการใช้ชีวิตประจ�ำวัน บางเบาจนสามารถรวมตัวอยู่ในบรรยากาศได.้ น. อาการเหนื่อยล้าท่ีเกิดข้ึนเป็นปรกติกับ อาคาร (กฎ) น. อาคารตามกฎหมายว่าด้วย ทุกคน มีอาการในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ จาก การควบคุมอาคาร. พักผ่อนไม่เพียงพอ อดนอน ท�ำงานหนัก อาคารสาธารณะ น. อาคารท่ใี ช้เพ่ือประโยชน์ มีปัญหาทางอารมณ์และจิตใจ โดยอาการจะ ในการชุมนุมคนได้โดยท่ัวไป เพื่อกิจกรรม หายไปเองหลังการพักผ่อนหรือผ่านระยะ ความเครียดกังวลนั้นไปแล้ว มักมีอาการอยู่ 498 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อายคุ าดเฉล่ยี ของสุขภาพดี ทางราชการ การเมือง การศึกษา ศาสนา ยังมีคุณภาพตามข้อก�ำหนดเมื่อเก็บรักษา สังคม นันทนาการ หรือพาณิชยกรรม ตามสภาวะทีร่ ะบุไว.้ (อ. shelf life). เช่น โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา อายุขัย น. จ�ำนวนปีสูงสุดท่ีมนุษย์สามารถ ห้างสรรพสินค้า ศนู ยก์ ารค้า ตลาด สถานบริการ มีชีวิตอยู่ได้ภายใต้เงื่อนไขสภาพแวดล้อม ศาสนสถาน. อย่างหนึ่ง อาจวัดในเชิงปริมาณได้โดยใช้ อาชีวปฏิญญาณ ดู วิชาชพี . เกณฑ์ว่าอายุท่ีเม่ือเกินกว่าน้ันไป คนท่ีเกิด อาชีวเวชศาสตร์ น. วชิ าการแพทย์แขนงหนง่ึ มาพร้อม ๆ กันจะมชี วี ติ เหลอื อยไู่ ม่ถงึ ร้อยละ ว่าด้วยเร่ืองการดูแลสุขภาพของคนท�ำงาน ๐.๐๑ อายุขัยของมนุษย์น่าจะอยู่ในราว วิชาอาชีวเวชศาสตร์น้ีครอบคลุมต้ังแต่ ๑๐๐ ปี และไม่ได้เปลี่ยนไปมากนักตลอด การป้องกนั โรค การรกั ษาโรค และการฟนื้ ฟู ชว่ั เวลาประวัติศาสตรข์ องมนษุ ยชาติ. (อ. life สุขภาพของคนท�ำงาน แต่เน่ืองจากปัญหา span). โรคจากการท�ำงานส่วนใหญ่จะเป็นปัญหา อายุคาดเฉลย่ี น. จ�ำนวนปีโดยเฉลยี่ ทปี่ ระมาณ ท่ีป้องกนั ได้ องค์ความรขู้ องวิชาน้ีในปัจจบุ ัน ว่าบุคคลหนึ่งจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกถ้าอัตรา จึงเน้นหนักไปทางการป้องกันโรคเป็นหลัก ตายอย่างทเี่ ปน็ อยใู่ นขณะนน้ั ด�ำเนินไปเร่ือย ๆ และวิชาอาชีวเวชศาสตร์ได้จัดว่าเป็น คำ� น้มี ักใช้ในอายุขัยเฉลีย่ เมอ่ื แรกเกดิ ใช้เป็น แขนงหนึ่งของวิชาเวชศาสตร์ป้องกันด้วย ดัชนีที่ช้ีวัดสภาวะสุขภาพอนามัยในระยะ แ พ ท ย ์ เ ฉ พ า ะ ท า ง ท่ี มี ค ว า ม เ ช่ี ย ว ช า ญ เวลาหน่งึ . (อ. life expectancy). ในวิชาอาชีวเวชศาสตร์นั้นเรียกว่า แพทย์ อายุคาดเฉลี่ยของภาวะสุขภาพดี น. ตัวชี้วัด อาชีวเวชศาสตร.์ (อ. occupational medicine). สถานะสุขภาพเชิงบวกในระดับประชากร อาชีวอนามัย น. งานท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การควบคุม เพ่ือเปรียบเทียบระหว่างประเทศ และอาจ ดูแลสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ ใช้เป็นตัวชี้วัดความไม่เท่าเทียมทางสุขภาพ การงาน ให้มีสภาวะสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย ระหว่างกลุ่มรายได้หรือช้ันทางสังคมของ จิตใจ สามารถด�ำรงชีพในสังคมได้ด้วยดี ประชากรในประเทศเดียวกัน ตัวชี้วัดนี้ รวมทั้งมีความปลอดภัยจากภัยคุกคามอันตราย ในบางประเทศอาจปรับด้วยตัวแปรท่ีต่างกัน และความเส่ียงตา่ ง ๆ. ไปบ้าง เช่น ปรับด้วยภาวะทุพพลภาพ อาโปธาตุ ดู ธาตุนำ้� . ความด้อยเปรียบ การประเมินภาวะสุขภาพ อาพาธ ก. เจ็บปว่ ย ใช้แก่พระภิกษุสามเณร. ด้วยตนเอง หรอื ภาวะพ่งึ ตนเองได.้ (อ. health life expectancy (HLE) หรือ health adjusted expectancy (HAE)]. อายุการใช้ น. ช่วงเวลาต้ังแต่วันที่ผลิตภัณฑ์ อายคุ าดเฉลีย่ ของสขุ ภาพดี น. อายคุ าดเฉล่ีย จนถึงวันสิ้นอายุ โดยที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ท่ีปรับด้วยระดับสุขภาพดีที่ใช้ประเมินภาวะ กระทรวงสาธารณสขุ 499

อายคุ าดเฉลีย่ ท่ปี รับดว้ ยทพุ พลภาพ สขุ ภาพด้วยตนเอง. (อ. perceived health อภิปรัชญา เป็นแม่บทแห่งศิลปะการรักษา expectancy). ทั้งหมด. ๒. ศาสตร์ที่สร้างความสมดุล อายุคาดเฉล่ยี ท่ีปรบั ดว้ ยทพุ พลภาพ น. ดัชนี ในร่างกายเพื่อให้ร่างกายไม่เจ็บป่วย ท�ำให้ ที่ปรับอายุคาดเฉล่ียด้วยภาวะทุพพลภาพ อายุยืนยาว เช่น โยคะ ลมปราณ. (อ. ใช้ในการรายงานองค์การอนามัยโลก. [อ. ayuravedic). disability adjusted life expectancy อายุรศาสตร์ น. สาขาหนึ่งของการแพทย์ (DALE)]. เฉพาะทางซ่ึงเก่ียวกับการป้องกัน การวินิจฉัย อายคุ าดเฉลย่ี ทป่ี ราศจากทพุ พลภาพ น. ดัชนี การรักษาโรคและความผิดปรกติในร่างกาย ที่คัดสัดส่วนผู้มีภาวะทุพพลภาพออกจาก ผู้ใหญ่ เรียกแพทย์ท่ีศึกษาเฉพาะทาง การค�ำนวณ. [อ. disability-free life อายุรศาสตร์ว่า อายุรแพทย์ (internists) expectancy (DFLE)]. ซึ่งต้องส�ำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต อายุคาดเฉลยี่ เมอ่ื แรกเกิด น. จำ� นวนปีทคี่ าดวา่ และส�ำเร็จการศึกษาเป็นแพทย์ประจ�ำบ้าน คนจะมีชีวิตอยู่ต่อไปนับตั้งแต่เกิดจนกระท่ังตาย ด้านอายุรศาสตร์ ผ่านการสอบเพื่อ เป็นคา่ ทค่ี ำ� นวณไดจ้ ากตารางชีพ ปรกติจะอยู่ ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาอายุรศาสตร์ ในบรรทัดแรกสดมภ์สุดท้ายของตารางชีพ. และได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเป็นผู้มี (อ. life expectancy at birth). ความรู้ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพ อายุเต็ม น. การนับอายุจ�ำนวนปีเต็มถึง เวชกรรม สาขาอายรุ ศาสตร์ หรือสาขาต่าง ๆ วันคล้ายวันเกิดคร้ังท้ายสุด ใช้ในการหา ทางอายุรศาสตร์  ซึ่งในประเทศไทยออกให้ อายุจริงส�ำหรับค�ำนวณตารางชีพเพ่ือระบุ โดยแพทยสภา. (อ. internal medicine เวลาที่คนแต่ละคนจะมีอายุครบกี่ปีในวันเกิด หรือ medicine). ของตน. (อ. age at last birthday). อาร์เคีย น. ส่ิงมีชีวิตลักษณะคล้ายแบคทีเรีย แต่เช่ือว่ามีวิวัฒนาการแยกมาเพราะมีเยื่อ หมุ้ เซลล์ท่ีแปลกออกไป. (อ. arehaea). อายุรกรรม น. การรักษาดว้ ยยา. (อ. medicine). อาร์จินีน น. กรดแอมิโนชนิดหนึ่งท่ีจ�ำเป็น อายุรเวท น. วิชาแพทย์หรือวิชาที่เก่ียวกับ สำ� หรบั คน มใี นพืชและสตั ว.์ (อ. arginine). สุขภาพและการรักษา (ถือกันว่าเป็นวิชา อารมณซ์ มึ เศรา้ ดู ความซมึ เศรา้ . ศกั ดสิ์ ิทธ์ิและเป็นส่วนหน่ึงของอาถรรพเวท). อารมณ์สองขั้ว ดูที่ โรคอารมณ์แปรปรวนชนิด อายุรเวทศาสตร์ ๑. น. ศาสตร์ของชีวิต ท่ีเกี่ยวข้องกับการรักษาทางการแพทย์และ สองขั้ว, โรคอารมณ์สองขว้ั . 500 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อาหารทใี่ ช้วิเคราะห์ อารเ์ อน็ เอ ดู กรดไรโบนิวคลิอกิ . โดยผ่านความร้อน เป็นต้น ก่อนหรือหลัง อาร์เอ็นเอถ่ายโอน น. อาร์เอ็นเอชนิดหนึ่ง บรรจุในภาชนะปดิ สนทิ . (อ. canned food). อาหารควบคุมเฉพาะ น. อาหารที่รัฐมนตรี มีหน้าท่ีน�ำกรดแอมิโนมาสังเคราะห์เป็นโปรตีน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเปนอาหาร ท่ีไรโบโซม. ทอ่ี ยูในความควบคุมคณุ ภาพหรือมาตรฐาน. อารเ์ อ็นเอนำ� รหัส น. อาร์เอ็นเอท่สี รา้ งข้ึนจาก อาหารฉายรังสี น. อาหารท่ีผ่านการใช้ ดีเอ็นเอเพ่ือน�ำเอารหัสในการสร้างโปรตีน คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าบางชนิด เชน่ รงั สีแกมมา ออกมาสรา้ งโปรตนี ท่ีไซโทพลาซมึ . เพอ่ื ทำ� ลายพยาธิ ลดปริมาณจลุ ินทรีย์ เป็นต้น อาร์เอ็นเอไรโบโซม น. อาร์เอ็นเอชนิดหนึ่ง  ท�ำให้เก็บรักษาได้นานขึ้น. (อ. irradiated เปน็ องค์ประกอบทส่ี ำ� คัญของไรโบโซม. food). อาวธุ ชวี ภาพ น. ส่ิงมีชีวติ หรอื สารอนื่ ใดท่ีสิ่งมชี ีวติ อาหารทางการแพทย์ น. ๑. อาหารท่ีใช้ภายใต้ ผลิตขึ้นมา น�ำไปใช้เพ่ือวัตถุประสงค์ให้เกิด การควบคุมของแพทย์เพื่อช่วยผู้ป่วยให้ได้รับ การก่อโรคหรือเป็นพิษต่อร่างกายท่ีรุนแรง สารอาหารท่ีถูกต้องและเหมาะสมต่อโรค ถึงขั้นเสยี ชีวิต. (อ. biological weapon). เช่น อาหารส�ำเร็จรูปท่ีให้ทางสายอาหาร อาหารที่กินเสริมเพื่อให้เพียงพอต่อความ อาสนั ฑฆาต ดูท่ี ลมสนั ฑฆาต. ต้องการของร่างกายและสภาวะของโรค อาหาร น. ๑. ของกิน เครื่องคาํ้ จนุ ชีวติ เครอ่ื ง การใช้อาหารทางการแพทย์จ�ำเป็นต้องอยู่ ภายใตก้ ารดแู ลของแพทย์เท่าน้นั . ๒. อาหาร หล่อเลี้ยงชีวิต เช่น อาหารเช้า อาหารปลา ท่ีมีสูตรพิเศษส�ำหรับความเจ็บป่วยเฉพาะ อาหารนก ๒. โดยปริยายหมายถึงส่ิงที่มี เพอื่ ชว่ ยผู้ปว่ ยทมี่ อี าการแพ้ อาการเบาหวาน ลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น อาหารตา มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร หรือ อาหารใจ. ๓. (กฎ) ของกินหรอื เครือ่ งค้ำ� จุน ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง อาหารทางการแพทย์ ชวี ติ ไดแ้ ก่ ๑) วัตถทุ กุ ชนดิ ทีค่ นกิน ดื่ม อม ไม่ได้มีจุดประสงค์ในการรักษาโรค แต่ช่วย หรือนำ� เขา้ สู่รา่ งกายไมว่ า่ ดว้ ยวิธีใด ๆ หรือใน ป้องกันปญั หาที่เกดิ จากโรคหรอื ชว่ ยให้จดั การ รูปลักษณะใด ๆ แตไ่ มร่ วมถงึ ยา วัตถอุ อกฤทธ์ิ เกย่ี วกับโรคไดง้ ่ายข้นึ . (อ. medical food). ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี อาหารท่ีใชว้ ิเคราะห์ น. อาหารทม่ี อี งค์ประกอบ ๒) วัตถุท่ีมุ่งหมายส�ำหรับใช้หรือใช้เป็น พิเศษเพื่อใช้วิเคราะห์หาปริมาณของวิตามิน สว่ นผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจอื ปน กรดแอมิโน และสารปฏิชีวนะ นอกจากนี้ อาหาร สี และเครื่องปรงุ แตง่ กลน่ิ รส. ยังใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพของสารเคมีท่ีใช้ อาหารกระป๋อง น. อาหารที่ท�ำให้ปลอดเชื้อ ยบั ยงั้ หรอื ทำ� ลายจลุ ินทรยี ์. (อ. assay media). กระทรวงสาธารณสุข 501

อาหารที่มีชีวติ อาหารทมี่ ชี วี ติ น. อาหารทีไ่ ม่ผ่านการปรุงด้วย อาหารสดประเภทเนื้อสัตว์หรือเน้ือสัตว์ ความร้อนเกิน ๔๒ องศาเซลเซียส ยกเว้น ท่ีมกี ารชำ� แหละ ณ แผงจ�ำหน่ายสินคา้ . การตากแดด เน้นพืช ผักสด ผลไม้สด ธัญพชื อาหารประเภทปรุงสำ� เรจ็ (กฎ) น. อาหารทไ่ี ด้ เมล็ดพืชต่าง ๆ และเมล็ดในของผลไม้ ผ่านการทำ� ประกอบ ปรงุ สำ� เร็จ พร้อมกนิ ได้ มักเน้นว่าอาหารสดเพ่ือสุขภาพต้องมาจาก รวมทงั้ ของหวานและเครื่องด่มื ชนดิ ต่าง ๆ. เกษตรอินทรยี ์ คอื ระบบเกษตรทีใ่ ช้วธิ ธี รรมชาติ อาหารปลอม (กฎ) น. อาหารท่ีมีลักษณะ ไม่ใช้สารเคมีฆ่าแมลงหรอื ศัตรูพชื ไมใ่ ช้ป๋ยุ เคมี ดังตอ่ ไปนี้ ๑) อาหารท่ีไดส้ บั เปล่ยี นใช้วัตถอุ ื่น และไม่ตดั ตอ่ ทางพันธุกรรม (GMO), อาหารสด แทนบางส่วน หรือคัดแยกวัตถุท่ีมีคุณค่า กว็ ่า. (อ. living and raw food). ออกเสียทั้งหมดหรือบางส่วน และจ�ำหน่าย เปน็ อาหารแท้อยา่ งนน้ั หรอื ใช้ช่อื อาหารแทน้ ัน้ อาหารท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะทางด้านโภชนาการ ๒) วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหาร น. อาหารทีผ่ ลติ ขน้ึ โดยมีกรรมวธิ ีหรือสูตรหรอื อย่างหน่ึงอย่างใด และจ�ำหน่ายเป็นอาหาร สว่ นประกอบเฉพาะ เพ่ือใชต้ ามความต้องการ แท้อย่างน้ัน ๓) อาหารท่ีได้ผสมหรือปรุงแตง่ พิเศษอันเนื่องมาจากสภาวะทางกายภาพ ด้วยวิธีใด ๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้น หรือสรีรวิทยา หรือความเจ็บป่วย หรือ ความช�ำรุดบกพร่องหรือความด้อยคุณภาพ ความผิดปรกติของร่างกาย โดยส่วนประกอบ ของอาหารน้ัน ๔) อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง ของผลิตภัณฑ์แตกต่างไปจากอาหารชนิด หรือพยายามลวงผู้ซ้ือให้เข้าใจผิดในเร่ือง เดียวกันท่ีใชโ้ ดยปรกติ สำ� หรับกล่มุ บคุ คลทมี่ ี คุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ หรือลักษณะ สภาวะหรือความต้องการในการบริโภคอาหาร พิเศษอย่างอื่น หรือในเร่ืองสถานท่ีและ เป็นพิเศษ เชน่ อาหารสำ� หรบั ทารกและเดก็ เลก็ ประเทศท่ผี ลติ ๕) อาหารทผ่ี ลติ ขน้ึ ไมถ่ กู ตอ้ ง อาหารทางการแพทย์ อาหารส�ำหรับผู้ที่ หรือไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐาน. ต้องการควบคมุ นำ้� หนัก อาหารมวี ตั ถุประสงค์ อาหารเป็นพิษ น. อาการเจ็บป่วยที่มีสาเหตุ เฉพาะทางด้านโภชนาการ รวมท้ังผลิตภณั ฑ์ จากการกินอาหารหรือน้�ำที่มีสิ่งปนเปื้อน เสรมิ อาหาร. เช่น สารเคมีต่าง ๆ จ�ำพวกโลหะหนัก หรือ อ่นื ๆ แบคทเี รยี ชนดิ ทีส่ ามารถสรา้ งทอกซนิ อาหารไทยแท้ น. อาหารไทยทท่ี ำ� มาแตโ่ บราณ ไวรัส สารหรือวัตถุมีพิษในพืชและสัตว์. มีวิธีการปรุงง่าย ๆ เช่น ข้าวแช่ ต้มโคล้ง (อ. food poisoning). แกงป่า น้�ำพรกิ เครื่องหลน. อาหารแปรรปู น. ๑. อาหารท่ผี ่านกระบวนการ ท่ีท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของ อาหารไทยประยุกต์ น. อาหารที่ปรับเปลยี่ นมา อาหารไปแลว้ หรืออาหารทีผ่ สมกบั ส่วนผสม จากตา่ งประเทศ ตา่ งทอ้ งถ่ิน หรือจากอาหาร อ่ืน ๆ. ๒. อาหารสดท่ีแปรรปู ท�ำให้แหง้ หรือ ไทยพื้นบ้าน อาจเปล่ียนวิธีการปรุงหรือ รสชาติ เช่น แกงกระหรี่ แกงมสั ม่นั แกงจดื . อาหารประเภทเน้ือสัตว์ช�ำแหละ (กฎ) น. 502 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อาหารเลีย้ งเช้ือเฉพาะ หมักดอง หรือในรูปอ่ืน ๆ รวมทั้งที่ใช้สาร อาหารไม่บริสทุ ธ์ิ (กฎ) น. อาหารทีม่ ลี กั ษณะ ปรุงแตง่ อาหาร. (อ. food processing). ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) อาหารมสี ง่ิ ท่ีนา่ จะเปน็ อนั ตราย อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจ�ำหน่าย แก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย ๒) อาหารมีสาร น. อาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เช่น หรือวัตถุเคมีเจือปนอยู่ในอัตราท่ีอาจเป็น ตัดแต่งในลักษณะท่ีน�ำไปปรุงหรือบริโภค เหตุให้คุณภาพของอาหารน้ันลดลง เว้นแต่ คั่ว ท�ำให้แห้ง หมักดอง ท�ำให้เกิดการ การเจือปนจ�ำเป็นต่อกรรมวิธีการผลิต และ เปล่ียนแปลงคุณลักษณะของอาหาร หรือ ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว อาหารที่ผ่านกระบวนการผลิตเรียบร้อยแล้ว ๓) อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรือเก็บรักษาไว้ และบรรจุในภาชนะพร้อมจ�ำหน่ายต่อผู้บริโภค โดยไม่ถูกสุขลักษณะ ๔) อาหารท่ีผลิตจาก แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงอาหารควบคุมเฉพาะ และ สตั ว์เป็นโรคอนั อาจตดิ ตอ่ ถงึ คนได้ ๕) อาหาร อาหารที่ต้องมีฉลากท่ีมีประกาศกระทรวง ท่ีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุท่ีน่าจะเป็น สาธารณสุขทกี่ ำ� หนดใหป้ ฏิบตั ติ ามวิธีการผลติ . อนั ตรายแกส่ ขุ ภาพ. อาหารพร้อมปรุง น. อาหารท่ีได้จัดเตรียม ส่วนประกอบต่าง ๆ บรรจุไว้ในภาชนะ อาหารเลี้ยงเช้ือ น. อาหารท่ีใช้ส�ำหรับเพาะ ทีพ่ ร้อมจำ� หน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค เพื่อนำ� ไป เลี้ยงจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการเพ่ือตรวจนับ ปรุงเป็นอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ ปริมาณจุลินทรีย์ มีท้ังอาหารชนิดเหลว อาหารพร้อมปรุง ท่ีตอ้ งมฉี ลากตามประกาศ และแบบแขง็ (ใสว่ นุ้ ) เพอื่ ช่วยการเจรญิ เติบโต กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๑๒๔ ของจุลินทรีย์หรือเซลล์ ใช้เล้ียงจุลินทรีย์หรือ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ซึ่งแตกต่างไปจากอาหาร เซลล์ต่างชนิดกัน อาหารเลี้ยงเชื้อควร ส�ำเร็จรูปที่พรอ้ มบรโิ ภคทันที ซง่ึ หมายความถึง มลี กั ษณะดงั น้ี มธี าตุอาหารและความเข้มข้น อาหารปรุงส�ำเร็จท่ีผลิตเรียบร้อยพร้อมบริโภค ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ท่บี รรจุในภาชนะพร้อมจ�ำหน่ายทนั ท.ี มีค่าความเป็นกรดด่าง (พีเอช) ท่ีเหมาะสม อาหารเพ่อื สุขภาวะ น. อาหารที่มีคณุ ลกั ษณะ กับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ปราศจาก ทางกายภาพและส่วนประกอบท่ีมีคุณค่า สารพิษที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ทางโภชนาการ มีความปลอดภัย ไม่ส่ง และต้องไมม่ สี ง่ิ มชี ีวิตใด ๆ อยใู่ นอาหารเลีย้ งเช้ือ. ผลกระทบต่อสุขภาพ และเป็นอาหารที่ผ่าน (อ. culture media). กระบวนการผลิตท่ีใส่ใจต่อวัฏจักรการหมุนเวียน ของทรพั ยากรใหเ้ กดิ ความสมดลุ ทางธรรมชาติ อาหารเลี้ยงเช้ือเฉพาะ น. อาหารเลยี้ งเชื้อทไ่ี ด้ และรักษาความหลากหลายทางชีววิทยา เติมสารอาหารพิเศษนอกเหนือไปจากธาตุอาหาร มีปริมาณท่ีได้รับเพียงพอและมีเสถียรภาพ. ที่จุลินทรีย์ทั่วไปใช้ ทั้งนี้เพื่อให้จุลินทรีย์ที่ (อ. healthy food and nutrition). ต้องการเล้ียงเจรญิ ไดด้ ยี ง่ิ ขึ้น หรอื ใชเ้ พ่ือเกบ็ เกย่ี ว จุลินทรีย์หลายชนิดในตัวอย่าง โดยการเติม ซีรัมเลือด (blood serum) วิตามิน หรือ เติมสารสกัดท่ีได้จากเน้ือเยื่อพืชหรือเน้ือเยื่อสัตว์ ลงไปในอาหารเลี้ยงเชื้อ (nutrient broth กระทรวงสาธารณสขุ 503

อาหารสด หรือ nutrient agar). (อ. enriched media). อาหารแหง้ (กฎ) น. อาหารท่ผี ่านกระบวนการ อาหารสด (กฎ) น. อาหารท่ีมีสภาพเปน็ ของสด ท�ำใหแ้ ห้ง โดยการอบ รมควัน ตากแหง้ หรือ วิธีการอื่นใด เพ่ือลดปริมาณความช้ืนท่ีมีอยู่ เชน่ เน้อื สตั ว์ ผัก ผลไม.้ ในอาหารลงและเก็บรกั ษาไวไ้ ด้นานข้นึ . อาหารสดเพ่ือสขุ ภาพ (พล.) น. อาหารท่ไี ม่ผา่ น อ�ำนวยการ (กฎ) น. การอ�ำนวยการทางการ การปรงุ ด้วยความร้อนท่ีเกนิ ๔๒ องศาเซลเซยี ส แพทย์ฉุกเฉินโดยแพทย์อ�ำนวยการปฏิบัติ (๑๐๕.๘ องศาฟาเรนไฮต์) และเป็นอาหาร การฉกุ เฉนิ ซง่ึ รวมถึงการจัดการและควบคุม ที่ไม่ทำ� ให้สกุ อาหารสดท่กี ลา่ วถึงน้ีจะหมายถึง ของผู้ช่วยเวชกรรมทั้งการอ�ำนวยการท่ัวไป อาหารที่เป็นพืช ผัก ผลไม้สด เช่น ธัญพืช และการอำ� นวยการตรง เพ่ือใหผ้ ้ชู ่วยเวชกรรม เมล็ดพืชต่าง ๆ ไม่รวมถึงอาหารดิบท่ีได้มา รายงานภาวะของผู้ป่วยฉุกเฉินและปฏิบัติ จากสัตว์ เชน่ นมสด เนอื้ สด ปลาดบิ ไขด่ ิบ. การฉุกเฉินตามคำ� สัง่ การแพทย.์ อาหารสมดุล น. อาหารที่มคี ณุ ค่าทางโภชนาการ อ�ำนวยการตรง (กฎ) น. การอำ� นวยการเช่ือมตรง ตามสดั สว่ นทร่ี ่างกายตอ้ งการ. (อ. balanced ระหว่างบุคคลต่อบุคคลขณะก�ำลังปฏิบัติการ diet). ฉุกเฉิน ณ สถานที่ที่มผี ู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ หรอื ทีเ่ กดิ เหตุการณ์ หรอื ผา่ นการสอ่ื สารทางไกลด้วยวาจา อาหารเสี่ยง น. อาหารทไี่ ดต้ ามธรรมชาตหิ รอื เป็นลายลักษณ์อักษร ทางอิเล็กทรอนิกส์ อาหารท่ีได้จากการสังเคราะห์ และอยู่ใน โทรคมนาคม หรือวธิ ีการสอ่ื สารอื่น. ลักษณะทีเ่ อื้ออำ� นวยตอ่ ๑) การเพ่ิมจ�ำนวน และการเจริญของเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ อ�ำนวยการท่วั ไป (กฎ) น. การอ�ำนวยการซ่งึ ได้ ที่มีพิษให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมากข้ึน จัดท�ำและประกาศไว้เป็นเอกสารด้วยวิธีการ ๒) การผลิตสารพิษของ Clostridium ที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นค�ำส่ังประจ�ำ botulinum ๓) การเจริญของ Salmonella ขั้นตอนวิธีหรือเกณฑ์วิธีปฏิบัติการฉุกเฉิน enteritidis ในเปลือกไข่และรวมถึงอาหาร ให้ผู้ช่วยเวชกรรมด�ำเนินการหรือปฏิบัติตาม ที่ท�ำมาจากเนื้อสัตว์ท่ียังดิบอยู่หรือผ่าน รวมทั้งการตรวจสอบและพิจารณากระบวนการ ความร้อนแลว้ อาหารประเภทพชื ผัก ทผี่ ่าน และผลการปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ย้อนหลงั ดว้ ย. ความร้อนหรืออาหารที่ประกอบด้วยกะหล่�ำ ปลีทย่ี ังดิบ ผลไม้จ�ำพวกแตงท่ีหัน่ ไวแ้ ล้วและ อ�ำนาจ น. ๑. ความสามารถในการท�ำนาย ของผสมระหว่างกระเทียมและน้�ำมันท่ีไม่ได้ ควบคุม และมีส่วนร่วมกับสังคมแวดล้อม ผ่านการท�ำให้มีสภาพเป็นกรด หรือมีการ แล้วท�ำให้เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น เป็นการ เปลีย่ นแปลงสภาพ ณ สถานทผ่ี ลติ อาหารใน สร้างเสริมพลัง ทั้งนี้ไม่ได้เป็นปรากฏการณ์ ลักษณะที่มีผลให้ของผสมน้ันไม่เอื้ออ�ำนวย ระดับบุคคลเท่านั้น แต่เก่ียวพันกับบริบท ต่อการเจริญของจุลินทรีย์ดังกล่าวไว้ข้างต้น. ทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรม. (อ. potentially hazardous food). ๒. ความสามารถในการก�ำกับบางคนหรือ 504 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

อิมัลชัน บางส่ิงบางอย่างให้เป็นไปตามท่ีตนต้องการ โน้มน้าวจูงใจให้คนยอมรับ การสร้างกระแส เพ่อื บรรลเุ ป้าหมายที่ตง้ั ไว้ ซึ่งรวมถึงการสร้าง ให้นิยมชมชอบ เป็นต้น ซึ่งศิลปะของการใช้ อิทธพิ ล แทรกแซง ครอบง�ำ โนม้ นา้ ว จูงใจ อ�ำนาจออ่ นคือ ต้องมีองคป์ ระกอบของความรู้ การหันเหความคดิ เห็นของบุคคล กลุ่มบคุ คล และปัญญาในการจดั การ. (อ. soft power). ให้เบ่ียงเบนไปในทิศทางที่เป็นประโยชน์แก่ อินซูลิน น. ฮอร์โมนประเภทโปรตีนชนิดหน่ึง ตนเอง แม้ว่าอีกฝ่ายจะไมป่ รารถนาทีจ่ ะกระทำ� ซึ่งหย่อมเซลล์แลงเกอร์ฮานส์ในตับอ่อน ตามก็ตาม, พลังอ�ำนาจ กว็ า่ . (อ. power). ผลติ ข้ึน มีสมบตั คิ วบคมุ การเผาผลาญนำ้� ตาล อ�ำนาจของพลเมอื ง น. อ�ำนาจทเ่ี กดิ จากสทิ ธิ ในร่างกายใช้เป็นสารลดระดับน้�ำตาลในเลือด ของความเป็นพลเมืองตามที่กฎหมายรับรอง ของผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน. (อ. insulin). และอ�ำนาจเหนือของสังคมซึ่งเป็นอ�ำนาจท่ี อินเทิร์น ๑. น. แพทย์ฝึกหัด, ครูฝึกหดั . ๒. ว. พลเมืองสรา้ งข้ึนเอง แสวงหาเอง เป็นอ�ำนาจ ท�ำหนา้ ทเ่ี ป็นแพทยฝ์ กึ หัด. (อ. intern). ท่ีมีรากฐานมาจากมิติทางวัฒนธรรมและ อินเนอร์เซลล์แมส น. เซลล์ช้ันในที่จะเจริญ อดุ มการณ์ของสังคม. (อ. power of citizen). เปน็ ตัวออ่ น. อ�ำนาจแข็ง น. อ�ำนาจทางการมอบหมายตาม อินโฟกราฟิกข่าวสุขภาพ น. ข้อมูลข่าวสาร ต�ำแหน่งหรือสิทธิตามกฎหมาย รวมถึง เก่ียวกับสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมทั้ง การใช้อ�ำนาจเหนือกว่าบังคับ เช่น ก�ำลัง นโยบายและยุทธศาสตร์ ผลการด�ำเนินงาน ทางกาย ก�ำลังทางการเงิน หรือความได้ ฯลฯ ที่ผลิตและเผยแพร่ในรูปแบบเน้ือหา เปรียบทางใดทางหน่ึง. (อ. hard power). และภาพทเี่ ชอ่ื มโยงกัน. (อ. infographic). อ�ำนาจหน้าที่ น. อ�ำนาจตามกฎหมาย อิมมูโนกลอบลุ นิ น. โปรตนี ขนาดใหญ่ในระบบ ที่เกิดจากการมีหน้าท่ี เช่น อ�ำนาจบังคับใช้ ภูมิคุ้มกันท่ีร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ช้ันสูงอื่น ๆ กฎหมายของสว่ นราชการ อำ� นาจเกบ็ ภาษีอากร สร้างขึ้นเพ่ือตรวจจับและท�ำลายฤทธ์ิของ อำ� นาจก�ำหนดนโยบายของรฐั บาล เป็นอ�ำนาจ ส่ิงแปลกปลอมท่ีเข้ามาในร่างกาย เช่น โดยชอบธรรมที่คาดหวังให้ผู้อ่ืนเต็มใจเชื่อฟัง แบคทีเรีย ไวรัส. (อ. immunoglobulin). คำ� สง่ั ของตน หรืออำ� นาจทีไ่ ดร้ ับตามตำ� แหน่ง อมิ มโู นเจน ดทู ี่ ระบบภูมคิ มุ้ กัน. หน้าท่ีโดยมีกฎหมายหรือกฎระเบียบรองรับ. อิมัลชัน น. คอลลอยด์ชนิดหนึ่งซึ่งอนุภาค (อ. authority). ที่กระจายและตัวกลางของการกระจายเป็น อ�ำนาจอ่อน น. พลังอ�ำนาจท่ีบุคคล กลุ่มคน ของเหลว  เชน่ นำ้� นม. (อ. emulsion). หรือองค์กรสร้างเอง เป็นอ�ำนาจแบบไม่เป็น ทางการหรือก่ึงทางการที่มีรากฐานมาจากมิติ ทางสังคมและวัฒนธรรม แตกต่างจากอ�ำนาจ ที่เป็นทางการของรัฐ โดยมีลักษณะเป็นพลัง กระทรวงสาธารณสุข 505

อมิ ลั ซิไฟเออร์ อมิ ัลซิไฟเออร์ น. คอลลอยดช์ นิดหนึง่ ซ่ึงอนภุ าค ความชอกช�้ำอันเป็นผลมาจากการประสบ ท่ีกระจายและตัวกลางของการกระจายเป็น เหตุการณท์ ่นี ่าคับแคน้ ใจ. (อ. eye movement ของเหลว เชน่ น�ำ้ นม. (อ. emulsifier). desensitization and reprocessing). อเิ ลก็ โทรไลต์ น. สารประกอบที่จำ� เปน็ ต่อสขุ ภาพ อีไอเอ ดูที่ การประเมินผลกระทบสงิ่ แวดล้อม. และการทำ� หน้าทีข่ องรา่ งกาย. (อ. electrolyte). อจุ จาระ น. กากอาหารรวมทง้ั ของเสยี ทีถ่ ูกขับ อีคิว น. ความสามารถทางอารมณ์ที่จะช่วย ออกมาจากระบบทางเดินอาหาร. (อ. fece). ให้การด�ำเนินชีวิตเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ อตุ ุปริณามชาอาพาธา ดู ไขเ้ ปลยี่ นฤด.ู และมีความสุข ความฉลาดทางอารมณ์ อุทธังคมาวาตา น. ธาตุในร่างกายบุคคล กเ็ รยี ก. [อ. emotional quotient (EQ)]. ตามต�ำราแพทย์แผนโบราณ คือวาโยธาตุ อีเคจี น. การตรวจคลืน่ ไฟฟา้ หวั ใจ เพ่อื ประเมนิ หรือธาตุลม เป็นลมเดินยังเบื้องบนพัดลง อาการของผปู้ ่วย ย่อมาจาก elektrokardio- เบื้องต่�ำ คือ ตั้งต้นพัดตั้งแต่ศีรษะจนถึง gram มีความหมายเหมือนกับอีซีจี ซึ่งย่อ ปลายเท้า ลมประเภทนีม้ ีอยู่ในเอน็ ใหญน่ ้อย มาจาก etertrocardiogram. ท่ัวรา่ งกาย เอน็ ใหญห่ น้าขา เอน็ ตามกระดูก สันหลัง มีหน้าท่ีน�ำความอบอุ่นไปรักษา อซี ีจี ดู อีเคจี. ในเอ็นใหน้ ่มุ และชุม่ เปน็ ปรกติอยูเ่ สมอ. อีดำ� อีแดง น. ชอ่ื โรคติดตอ่ ชนดิ หนึง่ ข้นึ เป็นผื่น อุทยานการเรียนรู้สุขภาพ น. แหล่งเรียนรู้ สุขภาพที่จัดข้ึนเพื่อให้ประชาชนทุกเพศทุกวัย สดี ำ� สแี ดงตามตวั . เข้าไปพักผ่อนและศึกษาหาความรู้จากการอบรม อสี โทรเจน น. ฮอร์โมนเพศหญงิ สว่ นใหญส่ รา้ ง เรียนร้ดู ว้ ยตนเองและเขา้ รว่ มกจิ กรรม จากสอ่ื ทหี่ ลากหลาย ตามความสนใจ จนไดร้ ับความรู้ จากฟอลลิเคิลหรือถุงไข่ในรังไข่ ฮอร์โมนนี้ และประสบการณ์ โดยจัดสภาพแวดล้อมให้ มีหน้าที่ส�ำคัญในการควบคุมลักษณะเพศหญิง, ร่มรื่น สะอาด เป็นระเบยี บสวยงาม มขี อบเขต เอสโทรเจน ก็ว่า. (อ. estrogen). ชดั เจน. อีสุกอีใส น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสมี อุทริยะ น. แหล่งก�ำเนิดโรคในทางการแพทย์ อาการไข้สูงและปวดศีรษะ มีเม็ดพองใส ๆ แผนไทย เปน็ ๑ ในตัวคมุ ธาตดุ ิน เปน็ อาหาร ขน้ึ ตามตัว. ใหม่ คอื อาหารท่กี นิ เขา้ ไปตอ้ งกินให้ถกู ตอ้ ง อีเอน็ ที ดู โสตศอนาสิกวทิ ยา. และพอเพยี ง. อีเอ็มดีอาร์ น. การบ�ำบัดจิตรูปแบบหนึ่ง อบุ ตั ิการณ์ น. จำ� นวนผ้ปู ว่ ยรายใหมใ่ นประชากร เพื่อแก้ไขปัญหาความผิดปรกติที่เกี่ยวกับ 506 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

เอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ กลุ่มเส่ียง ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง. บริการด้านเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (อ. incidence). ทางการแพทย์ โดยหญิงท่ีรับตั้งครรภ์แทน อุบัติการณ์การติดเช้ือ น. จ�ำนวนครั้งของ มีข้อตกลงเป็นหนังสือไว้กับสามีและภริยา การติดเชื้อท่ีเกิดข้ึนใหม่ ต่อจ�ำนวนวันนอน ท่ีชอบด้วยกฎหมายก่อนต้ังครรภ์ว่าจะให้ โรงพยาบาล หรอื ต่อจำ� นวนวนั ที่มีปจั จัยเสย่ี ง ทารกในครรภ์เป็นบุตรของสามีและภริยา หรือจ�ำนวนผู้ป่วยท่ีติดเช้ือที่เกิดข้ึนใหม่ ท่ีชอบด้วยกฎหมายน้ัน ท้ังน้ี จะต้องได้รับ ต่อจ�ำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่เสี่ยงภายในระยะ อนุญาตให้ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทน เวลาทก่ี ำ� หนด. เป็นราย ๆ ไปจากคณะกรรมการคุ้มครอง อุบัติการณก์ ารติดเชอื้ แผลผา่ ตดั น. จำ� นวนครัง้ เด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญ ของการติดเชื้อแผลผ่าตัด ต่อจ�ำนวนครั้ง พันธท์ุ างการแพทย.์ ของการผา่ ตัด. อรุ ะเสมหะ น. แหล่งก�ำเนดิ โรคในทางการแพทย์ อุบัติการณ์ความหนาแน่นการติดเชื้อ น. แผนไทย เปน็ ๑ ในตัวคมุ ธาตุนำ�้ คอื นำ้� ช่วง จ�ำนวนครั้งของการติดเช้ือท่ีเกิดขึ้นใหม่ กลางตวั เชน่ น�้ำเมอื กทอ่ี ยู่ในหลอดลม ในถุงลม ตอ่ จำ� นวนวนั นอนโรงพยาบาล. น้�ำเลือดในหัวใจ น้�ำย่อยในกระเพาะ น้�ำดี อปุ กรณบ์ ันทกึ ปริมาณรังสีประจ�ำตัวบุคคล น. น้�ำยอ่ ยในตับออ่ น น้�ำเหลืองบริเวณกลางตัว. อุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีท่ีใช้สวมใส่หรือติดไว้ เอกซ์ทราเนยี สเอเจนต์ น. เช้ือไวรัส แบคทีเรีย ตามส่วนตา่ ง ๆ ของตัวลกู จ้าง เพื่อการบันทึก เช้อื รา หรอื เชือ้ อน่ื ๆ ท่คี าดว่าจะการปนเปอื้ น ปริมาณรังสีสะสมท่ีลูกจ้างได้รับตามช่วงเวลา ในกระบวนการผลติ วัคซีน. (อ. extraneous ของการปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี ซึ่งสามารถ agent). อ่านค่าได้ทันทีหรือน�ำไปวิเคราะห์ผลใน เอกซเรย์ ๑. น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ซ่ึงมีย่าน ภายหลงั . ของการแผ่รังสที ม่ี ีช่วงคลืน่ อยรู่ ะหวา่ งประมาณ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล น. ส่ิงท่ี ๕ x ๑๐-๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐-๑๒ เมตร ออกแบบมาให้เหมาะสมกับส่วนใดส่วนหน่ึง ใช้ประโยชนใ์ นทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เปน็ ตน้ , ของร่างกาย เพื่อป้องกันอันตรายหรือลด รังสีเรินต์เกน หรือ รังสีเอกซ์ ก็เรียก. ความรุนแรงของอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นกับ ๒. ก. เรยี กการถา่ ยภาพอวยั วะโดยใชเ้ อกซเรย์ ร่างกายสว่ นน้นั ในขณะปฏิบัตงิ าน. วา่ การเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง. (x-ray). อุ้มบุญ (กฎ) น. การต้ังครรภ์แทนโดยอาศัย เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ น. การตรวจหาความ เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ผิดปรกติอวัยวะในร่างกายด้วยล�ำแสงเอกซ์ กระท�ำโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ให้ โดยฉายล�ำแสงเอกซ์ผ่านอวัยวะท่ีต้องการ ตรวจในแนวตัดขวาง และให้คอมพิวเตอร์ สร้างภาพ ๓ มิติ และยังสามารถแบ่งออก กระทรวงสาธารณสขุ 507

เอกเซนทริก เป็นแผ่นตดั ขวางไดห้ ลายแผน่ มคี วามสำ� คัญ ท่ีใช้ในการวจิ ยั ในอาสาสมัคร. [อ. investigator’s ในการวินิจฉัยโรค. (อ. computerized brochure (IB)]. tomography). เอกสารประกอบการสอน น. เอกสารหรือ เอกเซนทริก น. การท�ำงานของกล้ามเน้ือ อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหน่ึง ลักษณะหนึ่ง โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ ในสาขาท่ีขอประเมินผลงานแสดงให้เห็นถึง ชนิดที่มีการเกร็งกล้ามเนื้อและความยาว ความชัดเจนและความสามารถในการถ่ายทอด ของกล้ามเนื้อเพิ่มข้ึน เช่น ยกน้�ำหนักออก รวมท้ังการเป็นผู้มีประสบการณ์ในวิชาชีพ ห่างจากล�ำตัว ท่าวิดพื้นในขณะยกล�ำตัวข้ึน. สาขาน้ัน ๆ เป็นอย่างดี และจะต้องมีแผน (อ. eccentric). การสอนอย่างละเอียดในวิชาที่ด�ำเนินการสอน เอกโซทอกซิน น. สารพิษที่จุลินทรีย์สร้างข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์ ขั้นตอนการสอน เน้ือหา และปล่อยออกสู่ภายนอกเซลล์ระหว่าง กิจกรรมประกอบการสอน และการประเมินผล. การเจรญิ เติบโต. (อ. exotoxin). เอกสารอ้างอิง น. รายการของทรัพยากร เอกสันฑฆาต ดูท่ี ลมสนั ฑฆาต. สารนิเทศท่ีใช้ค้นคว้าประกอบการเขียนรายงาน เอกสารก�ำกบั เคร่อื งมอื แพทย์ น. กระดาษหรือ และนํามาอ้างอิงไว้ท้ายเล่ม ระบุช่ือเอกสาร วัตถุอื่นใดที่ท�ำให้ปรากฏความหมายด้วย ท่ีใช้ประกอบในการเขียนผลงานเพ่ือให้ผู้อ่าน ข้อความใด ๆ อันเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์ ทราบแหลง่ ที่มา ตอ้ งใหส้ อดคล้องกบั เน้ือหา ซ่ึงสอดแทรกหรือรวมไว้กับภาชนะหรือ ในเอกสารบรรณานุกรม จะรวบรวมบัญชี หีบห่อที่บรรจุเคร่ืองมือแพทย์น้ัน และให้ รายช่ือหนังสือทั้งหมดที่ได้อ้างอิงและไม่ได้ หมายความรวมถึงคู่มือการใช้เคร่ืองมือแพทย์ อ้างอิงในเรื่องซ่ึงได้ศึกษาค้นคว้าประกอบ นัน้ ดว้ ย. การเขยี นผลงาน, บรรณานุกรม กว็ า่ . เอกสารกำ� กบั ยา (กฎ) น. กระดาษหรอื วตั ถุอนื่ ใด เอกสิทธ์ิแห่งวิชาชีพการพยาบาล น. การท่ี ทท่ี ำ� ให้ปรากฏความหมายดว้ ยรปู รอยประดิษฐ์ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลสามารถตัดสินใจ เคร่ืองหมายหรือข้อความใด ๆ เก่ียวกับยา ในการปฏิบัติ ก�ำหนดทิศทางในการปฏิบัติ ที่สอดแทรกหรือรวมไว้กับภาชนะหรือหีบห่อ และลงมือปฏิบัติโดยอิสระ สามารถควบคุม บรรจุยา. การปฏิบัตินั้นด้วยตนเองปราศจากการควบคุม เอกสารคูม่ ือผวู้ ิจัย น. เอกสารทีร่ วบรวมขอ้ มลู ภายนอก ทั้งน้ี ภายใต้กรอบของจรรยาบรรณ จากการศึกษาทั้งท่ีท�ำในมนุษย์และท่ีไม่ได้ วิชาชีพและขอบเขตการปฏิบัติตามกฎหมาย. ท�ำในมนุษย์ของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการวิจัย (อ. nursing professional autonomy). ซึ่งเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลิตภัณฑ์ เอชดีแอล น. ไขมันที่มีความหนาแน่นสูง เป็นไขมันที่ดีส�ำหรับหลอดเลือดแดง เพราะ จะป้องกนั ไม่ใหค้ อเลสเตอรอล ไทรกลเี ซอไรด์ 508 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

เอนโดสปอร์ และไขมันไม่ดีไปพอกสะสมในหลอดเลือดแดง เอนไซม์ น. สารอินทรีย์จ�ำพวกโปรตีนท่ีท�ำ จึงป้องกันโรคเก่ียวกับหัวใจและหลอดเลือดได้. หน้าท่ีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในปฏิกิริยาชีวเคมี [อ. high density lipoprotein (HDL)]. เฉพาะอย่าง ให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางเคมี เอชเอ็นเอ น. วิธีการหรอื กระบวนการทีเ่ ปน็ ระบบ อันจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของเซลล์ เช่น ในการทบทวนประเด็นปัญหาสุขภาพหรือ ในปฏิกิริยาย่อยแป้งไปเป็นน้�ำตาลมอลโทส ประชาชนกลมุ่ ใดกล่มุ หน่งึ เผชญิ อยู่ ด�ำเนินการ จะต้องมีเอนไซม์ช่ือ แอมเิ ลส. (อ. enzyme). โดยทีมซ่ึงประกอบด้วยตัวแทนของชุมชน ผู้ให้บริการ สุขภาพ และองค์กรปกครอง เอนไซม์โพรทีเอส น. เอนไซม์ย่อยโปรตีน. ส่วนท้องถ่ิน กระบวนการนี้น�ำไปสู่ข้อตกลง (อ. protease). ร่วมกันเก่ียวกับการจัดล�ำดับของประเด็นปัญหา และการจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาหรือ เอนไซม์ย่อยอาหาร น. เอนไซมท์ ใี่ ช้ในการยอ่ ย แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนเพื่อลด อาหาร มหี ลายชนิด ซึง่ จะยอ่ ยอาหารเฉพาะ ความเหลื่อมล�้ำและความไม่เป็นธรรมด้าน อย่าง เช่น ลิเพสย่อยอาหารพวกไขมัน สุขภาพ. [อ. health needs assessment โพรทีเอสย่อยอาหารพวกโปรตีน มอลเทส (HNA)]. ย่อยอาหารพวกแป้ง. (อ. digestive en- zyme). เอชไอวี น. เชอ้ื ไวรสั กอ่ โรคเอดส์ (AIDS) หรอื เอนโดทอกซิน น. สารพิษที่จุลินทรีย์สร้างขึ้น กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม (acquired และปล่อยออกมาเมื่อเซลล์ถูกท�ำลาย. immunodeficiency syndrome). [อ. human (อ. endotoxin). immunodeficiency virus (HIV)]. เอนโดมีเทรียม น. เย่ือบุผนังชั้นในของมดลูก เอชไอเอ ดูท่ี การประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพ. เปน็ ท่ีฝงั ตวั ของไขท่ ไี่ ด้รบั การผสม ถา้ ไขไ่ ม่ได้ เอดส์ ดูท่ี โรคเอดส์. รับการผสมเยื่อน้ีจะหลุดออกและถูกขับออกมา เอทานอล น. แอลกอฮอลช์ นดิ หน่งึ มสี ตู รเคมี ทางช่องคลอดพร้อมกับเลอื ด ซึง่ เรียกวา่ ระดู หรอื ประจำ� เดอื น. (อ. endometrium). C-๑2H๔5๔OHอ ง เศปา็นเซขลอเงซเหียลสวจไมุด่มเดสี อืี มดจี ดุ๗ห๘ล.๔อมอเหงศลวา เซลเซียส ละลายได้ในน�้ำและตัวท�ำละลาย เอนโดสปอร์ น. โครงสร้างท่ีพบในแบคทีเรีย บางชนิด ใช้เป็นเชื้อเพลิง ตัวท�ำละลาย. บางชนิดซงึ่ จะถูกสรา้ งขึ้นภายในเซลล์ ท�ำให้ (อ. ethanol หรือ ethyl alcohol). แบคทีเรียทนทานต่อสภาพแวดล้อมท่ีไม่ เอทิลีน น. แก๊สชนิดหน่ึงไม่มีสี ติดไฟง่าย เหมาะสมได้ เช่น ความร้อน ความเย็น มสี ตู รเคมี C2H4. (อ. ethylene). ความแห้ง รังสี หรือแม้แต่สารเคมีท่ีเป็นพิษ และสรา้ งไดเ้ พยี ง ๑ สปอร์ ตอ่ ๑ เซลล์ ดงั นน้ั การสร้างสปอร์จึงไม่ใช่เพื่อการสืบพันธุ์ รูปร่างและต�ำแหน่งของสปอร์จะแตกต่างกัน กระทรวงสาธารณสขุ 509

เอนโดสเปริ ม์ ไปตามสปีชสี ์ มีท้งั รปู กลม รปู ไข่ อาจจะอยู่ท่ี แอกซอน น. ใยประสาทชนิดหนึ่ง ท�ำหน้าที่ ปลายเซลล์ เกอื บปลายเซลล์ หรอื อยตู่ รงกลาง น�ำกระแสประสาทค�ำสั่งออกจากตัวเซลล์ เซลล์ก็ได้ ส�ำหรบั ขนาดของเอนโดสปอร์อาจ ประสาท, ใยประสาทน�ำออก ก็เรียก. จะมีขนาดเล็กกว่าเซลล์หรือใหญ่กว่าเซลล์ (อ. axon). ท�ำให้มองเห็นเซล์บวมหรือโป่งออกได้. (อ. endospore). แอ็กโนทนิ น. ยาในกลุม่ กรดวิตามนิ เอ ชนิดกนิ เอนโดสเปริ ์ม น. สว่ นหน่ึงของโครงสรา้ งภายใน มีประสิทธิภาพในการรักษาสิวแต่ผลข้าง เมล็ดพืช ประกอบด้วยสารจ�ำพวกแป้ง เคียงมากและรนุ แรง จัดเปน็ ยาควบคุมพเิ ศษ เป็นอาหารที่สะสมไว้ส�ำหรับเล้ียงต้นอ่อน ต้องมีใบส่ังแพทย์ก่อนจึงจะซ้ือยาจากร้าน ของพชื . (อ. endosperm). ยา. (อ. acnotin). เอม็ บรโิ อ น. ตัวอ่อนหรอื ตน้ อ่อนของสิง่ มชี ีวติ ในระยะนับต่อจากไซโกตไปจนคลอด หรือ แอซีทลิ โคลนี น. สารซ่ึงหล่งั ออกมาจากปลาย ออกจากไข่ หรือระยะงอกออกจากเมล็ดพชื . ของใยประสาทบริเวณไซแนปส์ ช่วยให้ (อ. embryo). กระแสประสาทผ่านจากเซลล์ประสาทหน่ึง ไปสู่อีกเซลล์หน่ึงได้ บางครั้งเรียกว่า สารส่ือ ประสาท. (อ. acetylcholine). เอมลิ แอกอฮอล์ ดู เพนทิลแอลกอฮอล์. แอดจแู วนต์ ดทู ี่ สารเสริมฤทธิ์. เอสโทรเจน ดู อีสโทรเจน. แอนโดรเจน น. ฮอร์โมนเพศชายท่สี รา้ งในอณั ฑะ เอสอีเอ ดูท่ี การประเมินส่ิงแวดล้อมระดับ ท�ำหนา้ ทค่ี วบคมุ ลักษณะเพศ. (อ. androgen). ยุทธศาสตร์. แอนติเจน น. สารท่ีสรา้ งพลังในการตอ่ ต้านโรค. เอออร์ตา น. หลอดเลือดใหญท่ มี่ าจากห้องลา่ ง (อ. antigen). ของหัวใจด้านซ้าย มีแขนงแยกออกไป แอนติซีรัม น. ผลิตภัณฑ์ยาชีววัตถุที่ใช้ในการ เพ่ือน�ำเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย. รักษาโรค ผลิตจากพลาสมาของสัตว์. (อ. (อ. aorta). antiserum). เอเอชเอ น. กรดจากธรรมชาติ เชน่ กรดซทิ รกิ แอนติทอกซิน น. สารต้านพิษเฉพาะอย่าง. จากมะนาว กรดแล็กติกจากนมเปรี้ยว (อ. antitoxin). ใช้ในวงการแพทย์ผิวหนังเพื่อรักษาสิว ฝ้า รอยด่างด�ำ รอยเหี่ยวย่น และติ่งเน้ือเล็ก ๆ แอนติบอดี น. สารจ�ำพวกโปรตีนที่ร่างกาย มีสมบัติในการขจัดเซลล์ผิว. (อ. alpha สร้างข้ึนในกระแสเลือด มีสมบัติต่อต้าน hydroxy acid). ทำ� ลายเช้อื โรคหรอื แอนตเิ จนที่เข้ามาในร่างกาย 510 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

แอลฟาฟลิ โลควโิ นน แอนติบอดีแต่ละชนิดท่ีร่างกายผลิตข้ึนมานั้น แอมเิ ลส น. เอนไซม์ชว่ ยในการย่อยแป้งให้เปน็ จะมีผลท�ำลายเชื้อโรคหรือแอนติเจนเฉพาะ นำ้� ตาล มีอยูใ่ นน้ำ� ลายล�ำไส้เล็กและตับอ่อน. อย่าง. (อ. antibody). (อ. amylase). แอนแทรกซ์ ดทู ่ี โรคแอนแทรกซ์. แอโรบิก น. การออกก�ำลังกายเพ่ือเสริมสร้าง แอนแอโรบิก น. ๑. การออกก�ำลังกาย ประสิทธิภาพของระบบการผลิตพลังงาน ชนิดท่ีต้องใช้ออกซิเจน หรือมีการหายใจ ท่ีไม่ต้องการออกซิเจนในการเผาผลาญ ในขณะออกก�ำลังกาย สร้างความอดทน สารอาหารให้เกิดพลังงานในการสร้างพลังงาน ข อ ง ร ะ บ บ ห า ย ใ จ แ ล ะ ไ ห ล เ วี ย น โ ล หิ ต ของกล้ามเน้ือ เซลล์ไม่สามารถใช้สารอาหาร เป็นการบริหารให้ร่างกายเพ่ิมความสูงสุด สร้างพลังงานในทันที. ๒. การฝึกเสริมสร้าง ในการรบั ออกซเิ จน. (อ. aerobic exercise). ประสิทธิภาพของระบบการผลิตพลังงาน ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของ แอลกอฮอล์ น. สารประกอบอินทรีย์จำ� พวกหนง่ึ กล้ามเนื้อและความทนทานต่อภาวะกรด-ด่าง ในโมเลกุลประกอบด้วยหมู่ไฮดรอกซิล ที่เสียสมดุลไประหว่างการออกก�ำลัง. (อ. (-OH) เชน่ เอทานอล. (อ. alcohol). anaerobic exercise). แอนะล็อก น. สิ่งที่คล้ายกับสารอื่น สารที่มี แอลกอฮอล์กับเวชศาสตรก์ ารจราจร น. การตรวจ โครงสร้างหลักและสมบัติทางเคมีคล้ายกัน หาความเมาโดยการวิเคราะห์หาปริมาณ ต่างกันที่รายละเอียดปลีกย่อยเพียงเล็กน้อย. แอกอฮอล์ในเลอื ดในคนขบั ยวดยานชนิดต่าง ๆ (อ. analog). รวมทั้งโรคที่อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุการจราจร แอฟลาทอกซิน น. กลุ่มของสารพิษที่ผลิตข้ึน ได้ เช่น โรคลมชัก โรคหลอดเลือดไปเลี้ยง โดย เช้ือรา Aspergillus flavus ซงึ่ เจริญใน หัวใจตีบและอุดตนั . (อ. alcohol and traffic เมล็ดพืช มีความเป็นพิษสูง สามารถท�ำลาย medicine). ระบบภูมิคุ้มกันเป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็ง ท่ีตับ. (อ. aflatoxin). แอลดีแอล น. ไขมนั ทค่ี วามหนาแนน่ ตำ่� เปน็ ไขมัน แอมโมเนีย น. แก๊สไม่มสี ี กล่นิ ฉนุ เมอ่ื ละลาย ทที่ ำ� ให้เกดิ ภาวะหลอดเลอื ดแดงแข็ง ส่งผลต่อ น�้ำเป็นเบสอ่อน แอมโมเนียใช้ท�ำปุ๋ย การเป็นโรคความดันสูง โรคหัวใจขาดเลือด แอมโมเนยี มไนเทรต ยูเรยี และแอมโมเนยี ม เป็นต้น. [อ. low density lipoprotein (LDL)]. ซลั เฟต. (อ. ammonia). แอมโิ นเพปทเิ ดส น. เอนไซม์ทีล่ ำ� ไสเ้ ล็กผลิตข้ึน แอลโดสเทอโรน น. ฮอร์โมนในกลุ่มมิเนราโล มาใช้ส�ำหรับย่อยเพปไทดใ์ หเ้ ป็นกรดแอมิโน. คอร์ทิคอยด์ ซึ่งสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ ของต่อมหมวกไต ท�ำหน้าที่ควบคุมสมดุล ของโซเดียมในเลือด. (อ. aldosterone). แอลฟาฟลิ โลควิโนน น. วิตามินเค เปน็ วิตามิน กระทรวงสาธารณสขุ 511

แอลลลี ที่จ�ำเป็นส�ำหรับร่างกาย ถ้าร่างกายขาด โอกาสท่ีจะเกดิ น. ความถ่ีหรือโอกาสที่จะเกดิ วิตามินชนิดน้ีจะท�ำให้เลือดแข็งตัวช้าเมื่อมี ความเส่ยี ง. (อ. likelihood). บาดแผลเกิดขึน้ . (อ. alpha phylloquinone; α-phylloquinone). โอโซน น. ออกซิเจนรูปหน่ึง ในแต่ละโมเลกุล แอลลีล น. ยีนที่อยู่บนต�ำแหน่งเดียวกันของ จะมี ๓ อะตอม เปน็ แก๊สไมม่ ีสี มีความวอ่ งไว โครโมโซมมาจับคกู่ ัน แลว้ มผี ลแสดงลักษณะ ต่อการท�ำปฏิกิริยา จุดเดือด -๑๑๒.๔ ทจ่ี �ำเพาะของพนั ธกุ รรมนนั้ . (อ. allele). องศาเซลเซียส จุดหลอมเหลว -๒๔๙.๗ แอลแลนทอยส์ น. ถุงที่เจริญออกมาจาก องศาเซลเซียส มกี ลิน่ เฉพาะตัว ใช้เปน็ ตวั เติม ตัวเอ็มบริโอของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังช้ันสูง ออกซิเจนในปฏิกิริยาเคม.ี (อ. ozone). ทถ่ี งุ นม้ี หี ลอดเลอื ดมาเลีย้ งมากมาย ท�ำหน้าที่ แลกเปล่ียนแก๊สและเก็บสะสมของเสียจาก โอพีดีแพทย์แผนไทยคู่ขนาน ดู การบริการ เอ็มบริโอ. (อ. allantois). การแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการผู้ป่วยนอก แอสซิสต์ น. วิธกี ารซ่ึงสามารถบรรเทาความไม่สบาย แบบคขู่ นาน. หรือความอึดอัดท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันและช่วย ให้บุคคลฟื้นตัวจากอุบัติเหตุ ความเจ็บป่วย โอสถ น. ยาแกโ้ รค ยารักษาโรค เครอื่ งยา. หรือความเศร้าโศกเสียใจได้เร็วข้ึน แอสซิสต์ โอสถศาลา น. สถานที่ตรวจโรคและจ่ายยา มีหลากหลายวิธีการ มีท้ังทเ่ี ป็นวธิ ีการพืน้ ฐาน และวิธีการขั้นสูง ท้ังหมดคิดค้นและพัฒนา เบอื้ งตน้ สถานท่บี าํ บดั โรคให้แกช่ มุ ชนต้ังแต่ โดย แอล รอน ฮบั บาร์ด (L. Ron Hubbard, พ.ศ. ๒๔๕๖ ในสมัยรัชกาลที่ ๖. ค.ศ. ๑๙๑๑-๑๙๘๖). (อ. Assist). โออาร์เอส น. ผลติ ภณั ฑท์ างการแพทยท์ ี่ใชร้ ักษา แอสพาร์แทม น. สารให้รสหวานซ่ึงเป็นเมทิล อาการโรคท้องเสีย มีสัดส่วนของเกลือแร่ท่ี เอสเตอร์ของสารประกอบกรดแอมิโนแอส- จ�ำเป็นต่อร่างกายท่ีเป็นมาตรฐานประกอบ พาร์ติกกับเฟนิลแอละนีน ใช้แทนน้�ำตาล กับน�้ำตาลกลูโคสเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย. ธรรมชาติ มคี วามหวาน ๑๕๐-๒๐๐ เท่าของ [อ. oral rehydration salt (ORS)]. น้�ำตาลซูโครส. (อ. aspartame). โอโอโกเนียม น. เซลล์ภายในรังไข่ของสัตว์ แอสเพอจิลลัสฟลาวัส น. เช้ือราซึ่งผลิตสารพิษ เป็นเซลล์ที่จะเปล่ียนแปลงไปเป็นโอโอไซต์. แอฟลาทอกซิน เช้ือราชนิดน้ีมักเจริญตาม (อ. oogonium). เมล็ดพืช เช่น ถั่วลิสง ข้าวโพด ข้าวเจ้า ไอ น. สารที่อยู่ในลักษณะของแก๊สซึ่งถ้ามี ถวั่ เหลือง เมลด็ พชื ท่ีมีน้ำ� มัน. (อ. Aspergillus อุณหภูมิต่�ำกว่าอุณหภูมิวิกฤติเม่ือเพ่ิมความดัน flavus). ก็สามารถเปล่ียนสถานะเป็นของเหลวได้. (อ. vapour). ไอควิ ดู ระดับเชาวน์ปญั ญา. 512 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

ไอโอดีน ไอซดี เี ทน็ น. บญั ชจี ำ� แนกโรคระหวา่ งประเทศ ไอโซเมตรกิ น. รูปแบบของการออกก�ำลงั กาย ฉบับท่ี ๑๐ ขององค์การอนามัยโลก. อย่างหนึ่ง เป็นการออกก�ำลังกายแบบ [อ. International Statistical Classifica- มีการหดตัวของกล้ามเนื้อชนิดท่ีความยาว tion of Disease 10th Revision (ICD10)]. ของกล้ามเน้ือคงท่ี แต่มีการเกร็งหรือตึงตัว ของกล้ามเน้ือเพ่ือต้านกับแรงต้านทาน ไอซีดีไนน์ซีเอ็ม น. บัญชีจ�ำแนกโรคระหว่าง ดังนั้น เม่ือมีการออกก�ำลังกายชนิดน้ีอวัยวะ ประเทศ ฉบับที่ ๙ ขององค์การอนามัยโลก ต่าง ๆ จึงไม่มีการเคล่ือนไหว แต่มีการเกร็ง ปรับปรุงเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดูแล ของกล้ามเนื้อในลักษณะออกแรงเต็มที่ ผู้ป่วยทางคลินิก. [อ. International ในระยะสั้น ๆ เช่น ออกแรงดันผนังก�ำแพง Classification of Disease 9th Revision ออกแรงบีบวัตถุหรือก�ำหมัดไว้แน่น หรือใน Clinical Modification: (ICD 9 CM)]. ขณะนั่งท�ำงานเอวฝ่ามือกดลงบนโต๊ะเต็มท่ี. (อ. isometric exercise หรือ static ไอโซไคเนตกิ น. รูปแบบของการออกก�ำลังกาย exercise). อย่างหน่ึง เป็นการออกก�ำลังกายชนิดท่ี การท�ำงานของกล้ามเน้ือเป็นไปอย่างสม�่ำ ไอโซเมอร์ น. สารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน เสมอตลอดช่วงเวลาของการเคลื่อนไหว เช่น แต่มีโครงสร้างและสมบัติแตกต่างกัน เช่น การข่ีจักรยานวัดงาน การก้าวข้ึนลงตาม เอทิลแอลกอฮอล์ i(sCoHm3CeHr)2.H) และเมทิลอีเทอร์ แบบทดสอบของฮาร์วาร์ด (Harvard step (CH3OCH3). (อ. test) หรือการใช้เครื่องมืออื่น ๆ เข้าช่วย. (อ. isokinetic exercise). ไอทีออดิต ดูที่ การตรวจสอบเทคโนโลยี สารสนเทศ. ไอโซโทนิก น. ๑. รูปแบบของการออกก�ำลังกาย อย่างหน่งึ เปน็ การออกก�ำลงั กายแบบมีการหดตวั ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ น. กลุ่มเซลล์ ของกล้ามเน้ือ ชนิดที่ความยาวของกล้ามเนื้อ กลุ่มเล็ก ๆ จำ� นวนหลายแสนกลุ่มทีก่ ระจาย มีการเปลี่ยนแปลง และอวัยวะมีการเคล่ือนไหว แทรกอยภู่ ายในเน้ือเยื่อของตับออ่ น ทำ� หน้าท่ี เป็นการบริหารกล้ามเนื้อตามส่วนต่าง ๆ สร้างฮอร์โมนส�ำคัญ ๒ ชนิด คือ อินซูลิน ของร่างกายโดยตรง. ๒. การออกก�ำลัง และกลูคากอน. (อ. Islet of Langerhans). ของกล้ามเนื้อ โดยที่ใยกล้ามเน้ือมีการ เปล่ียนแปลงความยาว ท�ำให้มีความเคล่ือนไหว ไอโอดีน น. ธาตุในหมู่ VII ของตารางธาตุ ของข้อในขณะท่ีออกก�ำลัง แต่ความเร็ว มีเลขอะตอม ๕๓ สญั ลกั ษณ์ I เปน็ ของแข็ง อาจไม่คงที่ เช่น การฝึกยกน้�ำหนักและ สีม่วงด�ำ ระเหิดได้ มีจุดหลอมเหลว ๑๑๔ กายบริหาร. (อ. isotonic exercise หรือ องศาเซลเซยี ส จดุ เดือด ๑๘๔ องศาเซลเซียส. dynamic exercise). (อ. iodine). กระทรวงสาธารณสุข 513

ฮอมโี อสเตซสิ ฮ ฮอมโี อสเตซิส น. การท่ีรา่ งกายสามารถรักษา ตามมา. [อ. follicle-stimulating hormone ภาวะในร่างกายใหค้ งท่ี เช่น อณุ หภมู ิ ความ (FSH)]. เป็นกรดเป็นด่าง, ความดันเลือด ความสมดุล ฮอรโ์ มนกระตนุ้ เมลาโนไซต์ น. ฮอร์โมนท่สี รา้ ง ของน้�ำและเกลือแร่ โดยไม่เปล่ียนแปลงไป จากต่อมใต้สมองส่วนกลางในสัตว์เลือดเย็น ตามสภาวะแวดล้อม, ภาวะธ�ำรงดุล ก็เรียก. ฮอร์โมนนี้จะท�ำให้รงควัตถุภายในเซลล์กระจาย (อ. homeostasis). ท่ัวเซลล์ ทำ� ให้สีตัวเขม้ ขน้ึ . [อ. melanocyte stimulating hormone (MSH)]. ฮอโมซิสเทอนี น. สารทร่ี า่ งกายใช้ในการสร้าง ฮอร์โมนกลูโคคอร์ทิคอยด์ น. กลุ่มฮอร์โมน เนือ้ เย่ือต่าง ๆ. (อ. homocysteine). ท่ีสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าท่ีส�ำคัญในการควบคุมเมแทบอลิซึม ฮอโมไซกัสยีน น. ยีนคู่ใดคู่หนึ่งที่มียีนที่แสดง ของคาร์โบไฮเดรต. (อ. glucocorticoid). ลักษณะเด่นอยู่ด้วยกัน หรือยีนที่แสดง ฮอร์โมนเกรลิน น. ฮอร์โมนกระตุ้นความหิว. ลักษณะด้อยอยู่ด้วยกัน. (อ. homozygous (อ. ghrelin). gene). ฮอรโ์ มนคอร์ทิซอล น. ฮอรโ์ มนที่รา่ งกายหลัง่ ออกมาเวลาท่ีมีภาวะกดดันหรือเกิดความเครียด. ฮอโมโลกัสโครโมโซม น. โครโมโซมท่ีมีรูปรา่ ง (อ. cortisol). ลักษณะเหมือนกนั เป็นคู่ ๆ. (อ. homologous ฮอรโ์ มนจากต่อมใตส้ มองส่วนหน้า น. ฮอรโ์ มน chromosome). ต่าง ๆ ท่ีต่อมใตส้ มองส่วนหน้าผลติ สว่ นหนงึ่ ถู ก ค ว บ คุ ม จ า ก ฮ อ ร ์ โ ม น ป ร ะ ส า ท จ า ก ฮอร์โมน น. สารเคมีที่สร้างข้ึนจากกลุ่มเซลล์ ไฮโพทาลามสั . แล้วอาศัยกระแสเลือดน�ำไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะ ฮอร์โมนโซมาโทโทรฟิน น. ฮอร์โมนที่สร้าง เป้าหมาย มีหน้าท่ีหลัก ๓ ประการ คือ จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีหน้าท่ีส�ำคัญ การควบคมุ เมแทบอลซิ มึ ต่าง ๆ ภายในรา่ งกาย ในการควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโต เร่งการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลง ของร่างกายโดยทวั่ ไป. [อ. somatotrophic รูปร่าง และควบคุมการท�ำงานของระบบ hormone (STH)]. ประสาทอตั โนวตั .ิ (อ. hormone). ฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญของไข่ น. ฮอร์โมน ท่ีผลิตมาจากต่อมพิทูอิทารี เป็นฮอร์โมน ที่มีความส�ำคัญส�ำหรับการตั้งครรภ์เพราะ ท�ำหน้าที่กระตุ้นให้ไข่มีการเจริญพัฒนาเป็น เพ่ือเป็นไข่ท่ีสมบูรณ์ และท�ำให้มีการตกไข่ 514 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

แฮบิชูเอชนั ฮอร์โมนมเิ นราโลคอร์ทคิ อยด์ น. กลมุ่ ฮอรโ์ มน หายใจของนักประดาน้�ำ เปน็ ต้น. (อ. helium). ท่ีสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ฮูพรีควอลิฟิเคชัน น. มาตรฐานขององค์การ ประกอบด้วยฮอร์โมนส�ำคัญ ๒ ชนิด คือ อลั โดสเตอโรน และดีออกซีคอร์ทิโคสเตอโรน อนามัยโลกส�ำหรับตรวจประเมินและรับรอง มีหน้าท่ีควบคุมสมดุลของน้�ำและเกลือแร่ ห้องปฏิบัติการควบคุมคุณภาพด้านเภสัชภัณฑ์ ในร่างกาย. (อ. mineralocorticoid). ว่าเป็นไปตามข้อก�ำหนดและสามารถท�ำ หน้าที่ตรวจสอบเภสัชภัณฑ์ให้กับองค์การ ฮอรโ์ มนเลปทิน น. ฮอรโ์ มนในร่างกายที่สร้าง อนามัยโลกได้. (อ. WHO prequalification). จากเซลล์ไขมัน ระดับของฮอร์โมนน้ีมีผลต่อ เฮเทอโรไซกสั ยีน น. ยนี คทู่ ม่ี ยี ีนเด่นกบั ยีนดอ้ ย อัตราการเผาผลาญและความรู้สึกอยาก อยู่ดว้ ยกัน. (อ. heterozygous gene). อาหาร จึงมีการน�ำมาใช้ในการลดน�้ำหนัก. เฮพาริน น. สารเคมีที่เม็ดเลือดขาวพวกหน่ึง (อ. leptin). สร้างขึ้นเพ่ือป้องกันมิให้เลือดแข็งตัวขณะที่ หมนุ เวียนอย่ใู นร่างกาย. (อ. heparin). ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก น. ฮอร์โมนจาก เฮโมโกลบิน น. สารสีแดงในเม็ดเลือด เป็น ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ท�ำหน้าที่กระตุ้น โปรตีนทีม่ ธี าตเุ หลก็ เป็นองคป์ ระกอบ ท�ำหน้าท่ี หลอดเลือดให้บีบตัวและช่วยให้หลอดไตดูดน�้ำ ล�ำเลยี งออกซเิ จนไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย, กลับเข้าสู่เส้นเลือด. [อ. antidiuretic ฮีโมโกลบิน ก็เรียก. [อ. haemoglobin; hormone (ADH)]. hemoglobin (Hb)]. เฮลท์เอาต์คัม น. การประเมินระบบสุขภาพ ฮีโมโกลบนิ ดู เฮโมโกลบนิ . ที่ครอบคลุมมิติด้านผลลัพธ์ ประสิทธิภาพ ฮีโมฟิเลีย น. โรคทางพันธุกรรมที่ท�ำให้ และความเป็นธรรม ท้ังน้ี หมวดของการ ประเมินทส่ี มควรทำ� ประกอบดว้ ย สถานะสุขภาพ ขาดโปรตีนซ่ึงเป็นปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ผลลัพธ์ทางสุขภาพ การดูแลทางสุขภาพ ท�ำให้เลือดออกผิดปรกติ เป็นโรคท่ีก่อ การคลงั สขุ ภาพ การวจิ ยั การผลิต การพฒั นา ปัญหาส�ำคัญทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ สังคม บุคลากร และข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพ. ต่อผู้ป่วย และเป็นปัญหางบประมาณของ (อ. health outcome). ประเทศ เพราะการป้องกันและการรักษา แฮบิชูเอชัน น. พฤติกรรมท่ีไม่แสดงอาการ ใช้งบประมาณมหาศาล, เลือดออกไม่หยุด ตอบสนองต่อส่ิงเร้าท่ีกระตุ้นซ้�ำแล้วซ้�ำอีก. กเ็ รียก. (อ. hemophilia). (อ. habituation). ฮีเลียม น. ธาตุในหมู่ VIII ของตารางธาตุ มเี ลขอะตอม ๒ สญั ลกั ษณ์ He เปน็ แกส๊ เฉื่อย ไม่มีสแี ละกลนิ่ ไม่ติดไฟ มคี วามหนาแนน่ น้อย จุดเดอื ด -๒๖๘.๙๔ องศาเซลเซยี ส ใชบ้ รรจุ ในบอลลูนและผสมกับออกซิเจนในเครื่องช่วย กระทรวงสาธารณสุข 515

โฮมีโอพาที โฮมีโอพาที ดู การแพทยโ์ ฮมีโอพาท.ี ไฮโพทาลามสั น. ส่วนลา่ งของสมองสว่ นหนา้ ท่ี ไฮโดรเจนไอออน น. ภาวะทมี่ ีกรดเกนิ ในร่างกาย. ยื่นออกมาติดกับตอ่ มใต้สมอง เซลล์ประสาท ของสมองบริเวณนี้ส่วนมากท�ำหน้าที่สร้าง (อ. hydrogen ion). ฮอร์โมนประสาทหลายชนิด ซึ่งควบคุม ไฮเพอรไ์ กลซีเมยี ดูท่ี ภาวะน้ำ� ตาลในเลอื ดสงู . การสังเคราะห์ฮอร์โมนภายในต่อมใต้สมอง. (อ. hypothalamus). ไฮเพอรไ์ ทรอยด์ ดู ไทรอยดเ์ ป็นพษิ . ไฮโพเดอร์มิส น. ช้ันผิวหนังด้านในสุด อยูถ่ ัดจาก ชั้นอีพิเดอร์มิสและช้ันเดอร์มิส ลงมาตาม ล�ำดับ มีไขมันและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมาก เป็นศูนย์รวมของหลอดเลือดและเส้นประสาท และยังมีหน้าท่ีควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย. (อ. hypodermis). 516 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

ภาคผนวก

ดัชนี* A adaptation ๗๕ ABER ๔๙๒ adapted physical education ๒๗๒ abort ๒๕๐ add value ๑๑๐ abortion rate ๔๙๓ Addison’s disease ๔๐๗ absolute bioavailability ๒๑๒ adenopathy ๒๓๓ absorbing cost center ๔๗๒ ADH ๕๑๕ Acanthaceae ๒๔๒ ADHD ๔๐๕ accelerated stability testing ๑๐๗ adherence ๑๒๐ acceptance criteria ๑๒๗ adj. RW ๑๗๕ accident management ๓๑ adjusted related weight ๑๗๕ accountability ๑๖๙ adjuvant ๔๕๕ accuracy ๑๖๗ admission number ๔๑๕ acetate concentrate ๒๙๙ adolescent pregnancy ๔๓๖ acetic acid ๓ adominal cavity ๒๑๐ acetylcholine ๕๑๐ ADR ๒๘๓ acid ๑ adrenal gland ๒๓๓ acid concentrate ๒๙๙ adrenalin ๔๙๒ acid rain ๓๑๙ adrenocorticotrophin ๔๙๒ ACMECS ๓๗๓ adsorption ๔๐ acnotin ๕๑๐ advanced life support ๓๖ A-concentrate ๒๙๙ advanced life support unit ๒๑๔ acquired immune deficiency syndrome ๔๐๗ advanced maternal aged ๔๓๖ acrobystitis ๑๒๒ advanced medical practice ๒๘๔ acromegaly ๔๙๒ advanced practice nursing ๖๕ active foci ๑๔ adverse drug reaction ๒๘๓ active pharmaceutical ingredient ๔๑๙ adverse event ๔๓๘ activity of daily living ๑๒๖ adverse event on medical device ๒๙๘ acupressure ๑ adverse events following immunization ๔๙๗ acupuncture ๓๑๙ adversity intelligence quotient ๑๗๑ acute confusion ๓๔๙ advising ๕๗ acute dacryoadenitis ๒๓๓ advocacy ๓๗ acute intramuscular tissue toxicity test ๕๓ advocating ๗๗ acute fatigue ๔๙๘ AEFI ๔๙๗ aerobic exercise ๕๑๑ *ไดจ้ ดั ทำ�เฉพาะคน้ คำ�ศพั ท์ภาษาอังกฤษเท่าน้ัน พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ 518

aflatoxin ๕๑๑ ALS ๓๖ afteruse ๓๘ ALS unit ๒๑๔ age at last birthday ๕๐๐ alternative medicine ๙๑ age dependency ratio ๔๙๕ ambulance ๓๗๖ age distribution ๑๙ ambulatory care ๖๑ age-adjusted capitation ๓๔ amino acid ๓ Agenda 21 ๓๑๗ ammonia ๕๑๑ agent orange ๓๑๙ amniotic fluid ๒๖๔ age-specific fertility rate ๔๙๓ amputation ๓๔๔ agility ๑๕๘ amylase ๔๙๒ agricultural pollution ๓๕๓ amyotrophic lateral sclerosis ๓๙๗ AHMM ๖๙ anaemia ๔๑๖ AIDS ๔๐๗, ๕๐๙ anaerobic ๕๑๑ air pollution ๓๕๓ anaerobic bacteria ๒๘๑ albumin ๔๙๗ anaerobic pond ๒๗๕ alcohol ๕๑๑ anaesthetist ๔๒๗ alcohol and traffic medicine ๕๑๑ analog ๕๑๑ alcohol dependence syndrome ๓๔๖ analysis ๑๐๔ alcohol withdrawal state ๓๔๔ analytical epidemiological study ๑๐๘ aldosterone ๕๑๑ analytical sensitivity ๑๗๑ aldrin ๔๙๗ anaphase ๓๘๘ algorithm ๑๓๖ anaphylaxis ๙๔ alien health population ๒๘๖ anatomical pathology ๓๒๓ alimentary canal ๓๘๐ anatomy ๔๒๒ alkalosis ๓๔๖ Anaxagorea luzonensis A. Gray ๑๒๓ allantois ๕๑๒ androgen ๕๑๐ allele ๕๑๒ andrographis herb ๓๔๐ alleviating ๕๗ android shape ๓๙๔ allied drug ๑๘๗ anemia ๓๔๘, ๔๑๖ almond meal ๔๙๗ anesthesiologist ๔๒๗ almond oil ๒๖๖ anhydrous milk fat ๑๔๒ alpha hydroxy acid ๕๑๐ annual blood examination rate ๔๙๒ alpha phylloquinone; α-phylloquinone annual parasite incidence ๔๙๕ anoxic ๙ ๕๑๒ ANS ๓๘๓ alpha ray; α-ray ๓๘๙ antacid ๓๗๐ alpha-lipoic ๓ antepartum hemorrhage ๒๒๙ Alpinia galanga (L.) Willd. ๑๓๗ 519 กระทรวงสาธารณสุข

anterior dislocation ๑๓๕ arginine ๕๐๐ anthrax ๔๐๗ arm sling ๓๐๑ anthropometry ๑๐๓ aromatherapy ๔๖๕ antibiotic ๓๖๗ ARS ๔๕๔ antibody ๕๑๑ arsenic ๔๕๕ anticipatory guiding ๓๗ ART ๓๖๖ antidiuretic hormone ๕๑๕ art of strategy ๓๗๓ antigen ๕๑๐ art therapy ๔๓๑ antimicrobial agent ๓๖๖ arthritis ๑๓๖ antimicrobial drug ๓๖๕ artificial saliva ๒๖๖ antinutritive factor ๒๙๑ artificial selection ๒๗ antioxidant ๔๕๓ artificial sweetener ๔๕๕ antiretroviral therapy ๓๖๖ artificial tear ๒๖๔ antiserum ๕๑๐ artificial vinegar ๒๖๗ antitoxin ๕๑๐ ascariasis ๔๐๓ antiviral ๓๖๖ ASCC ๒๘๖ antivitamin ๔๕๒ ascorbic acid ๓ anxiety ๑๗๐ ASD ๔๐๖ AO process ๙ ASEAN ๔๔๕ aorta ๕๑๐ ASEAN Health Ministers Meeting ๖๙ APEC ๑๖๘ ASEAN reference substances ๔๕๔ apheresis set ๒๔๐ ASEAN Socio-cultural Community ๒๘๖ apheresis system ๒๔๐ aseptic technique ๒๔๙ aphthae ๔๐๓ Asia-Pacific Economic Cooperation ๑๖๘ aphthosis ๔๐๓ asiatic pennywort ๒๗๗ aphthous stomatitis ๔๐๓ aspartame ๕๑๒ aphthous ulcer ๔๐๓ Aspergillus flavus ๕๑๒ API ๔๙๕ asphyxia ๓๔๔ Apiaceae ๒๗๗, ๒๘๒ assay media ๕๐๑ apitherapy ๓๐๒ assessing ๖๙ apnea ๓๔๙ assist ๕๑๒ appendicular skeleton ๑๙๑ association neuron ๒๑๘ applied Thai traditional medicine ๙๓ Association of South East Asian Nations ๔๔๕ aptitude ๑๖๒ assurance service ๑๙๖ aquatic ecosystem ๓๘๑ asthma ๔๘๒ area method ๗๘ athlete’s foot ๒๖๓ area restricting ๓๕ atrial septal defect ๔๐๖ 520 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

at-risk behavior ๓๒๗ bargaining limit ๑๓๓ attack rate ๔๙๕ bargaining range ๒๐๙ attactment ๓๐๒ barmi ๒๗๗ attending ๘๐ basic life support ๓๖ attention deficit hyperactivity disorder ๔๐๕ basic life support unit ๒๑๔ attribute standards ๓๕๗ basic medical practice ๒๘๔ audit evidence ๔๗๗ basic reproductive number ๑๗๕ audit finding ๔๕๙ basic vaccine ๔๑๘ audit plan ๑๐๓ batch reactor ๑๘๔ audit program ๒๗๐ BATNA ๒๔๖ audit technique ๒๔๙ Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral auscultating ๙๔ authority ๕๐๕ Technical and Economic Cooperation autistic ๒๒๘, ๔๐๗ ๑๗๐ autonomic nervous syste ๓๘๓ B-concentrate ๒๙๙ autosome ๔๙๑ BD ๕๐๐ average length of stay ๔๒๐ bed ๒๓๘ aviations & chemical warfare toxicology bed occupancy rate ๔๙๒ bed per physician ๒๓๙ ๓๓๔ bee pollen ๑๒๙ avitaminosis ๓๔๔ bee propolis ๓๒๔ avoiding ๑๑๘ believe ๑๖๐ axial skeleton ๑๙๐ benchmarking ๓๗๘ axon ๕๑๐ bengal ginger ๓๓๘ Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic benzoic acid ๒ benzoin ๑๒๓ Cooperation Strategy ๓๗๓ best alternative to a negotiated ayuravedic ๕๐๐ agreement ๒๔๖ ayurvedic massage ๒๕๙ best practice ๔๒๗ beta hydroxy acid ๒๗๙ B beta ray; β-ray ๓๘๘ beta-cell; β-cell ๒๗๙ baby colic ๑๙๓ bias ๔๘๖ bacillus ๒๗๗ bicarbonate concentrate ๒๙๙ bacteria ๒๘๑ bilateral cooperation ๑๖๘ balanced diet ๒๑, ๕๐๔ bile salt ๑๒๘ balsam ๒๗๘ billing audit ๔๗ balsamic vinegar ๒๖๗ BIMSTEC ๑๗๐ banada ๓๓๘ bandage ๓๐๑ กระทรวงสาธารณสขุ 521

Bindi shirodhara ๒๗๙ blood corpuscle ๓๖๑ bioassay guided separation ๙๗ blood pressure ๑๖๑, ๑๗๔ bioavailability ๒๑๒, ๔๔๓ blood product ๓๐๐ biochemical oxygen demand ๑๖๑ blood smear ๒๗๔ biochemistry ๔๒๔ blood thinner ๒๗๔ biocompatibility ๑๕๘ blood transfusion ๑๒๐ biocompatibility test ๕๒ BLS ๓๖ biocontainment level ๓๗๗ BLS unit ๒๑๔ bioequivalence ๒๑๓ BOD ๑๖๑ bioethics ๒๑๒ BOD ๓๔๔ bioinformatics ๒๑๓ body mass index ๒๒๒ biological clock ๒๖๓ Bolivian hemorrhagic fever ๑๔๒ biological energy ๓๒๙ bone marrow ๑๔๑ biological surveillance ๘๑ botany ๔๒๔ biological trace evidence ๔๑๙ brachytherapy ๗๙ biological weapon ๕๐๑ brain ๔๔๔ biologically-based therapy ๒๑๒ brain storming ๒๘๘ biomaterial ๒๑๓ brain tumor ๒๖๙ biomedical research ๑๐๖ brain-based learning ๑๐๑ biomolecular therapy ๒๗๘ Brassica ๒๖๕ biopharmaceutical product ๒๑๒ Brassicaceae ๒๖๕ biosafety ๑๖๓ breast cancer ๓๕๔ biosafety cabinet ๒๓๘ breast feeding ๑๐๒ biosafety level laboratory ๓๗๗ breastfeeding jaundice ๓๔๖ biosecurity ๑๖๖ breathing ๑๑๘ biosimilars ๓๖๖ breech delivery ๓๖ biotech drug ๓๖๗ brief advice ๔๘๕ biotin ๒๘๒ brief interview ๔๘๕ bipolar disorder ๔๐๗ Brunei Darussalam-Indonesia-Malaysia- bipolar neuron ๒๑๙ birth before admit ๑๕๕ Singapore-Thailand (BIMST) public birth control pill ๓๖๕ health conference ๑๖๘ bisexual ๑๓, ๒๘๒ BSC ๒๓๘ bitter orange ๔๔๔ budget procedure ๗ bladder stone ๒๖๘ budget process ๗ blood brain barrier ๔๕๘ buffer ๒๗๖ blood circulation ๑๑๘ burden of disease ๓๔๔ blood clotting ๒๓ burn-out syndrome ๒๘๑ 522 Butea superba Roxb. ๑๕ พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

butter ๒๖๙ CBT ๖๓ butter blend ๒๖๙ CCM ๑๔๔ butter oil ๒๖๕ CD4 cell ๒๑๙ CDR ๔๙๔ C CEA ๑๐๔ cell ๒๑๘ caesarean section ๗๘ cell culture ๙๐ caffeine ๑๘ cellulite ๒๑๙ calcium ๑๙๐ Centella asiatica (L.) Urb. ๒๗๗, ๒๘๒ calibration ๑๑๒ CEO ๒๘๘ calorie ๑๙๐ cerebral palsy ๑๔, ๒๒๗ Camellia sinensis (L.) Kuntze ๒๑๐ cerebral vascular disease ๔๐๕ camphor tree ๖๔ cervical mucus ๓๖๐ cancer ๓๕๔ cervicitis ๒๙๓ canker sore ๔๐๓ character ๔๙๖ Cannabis sativa L. ๑๘ charter ๑ canned food ๕๐๑ checking ๔๖ canola oil ๒๖๕ chelation ๑๗๘ capitation ๓๕ chemical pregnancy ๒๔๓ carbamate ๑๗๖ chemical process research ๑๐๖ carcinogen ๔๕๑ chemical reaction ๒๘๓ cardiac arrest ๓๔๙ chemical surveillance ๘๑ cardiology ๔๖๘ chemotherapy ๑๘๐ cardiorespiratory endurance ๑๗๓ Chenopodium quinoa Willd. ๑๗๗ care giver ๓๒๒ chewable tablet ๓๖๘ carrier ๓๓๒ chia seed ๓๖๒ case fatality rate ๔๙๕ chief executive officer ๒๘๘ case management ๓๑ chikungunya ๓๙๗ case manager ๓๐๓ child psychology ๒๐๓ case mix index ๒๒๒ child sexual abuse ๒๔๖ case-based payment ๓๔ children with multiple handicaps ๒๒๕ cassumunar ginger ๓๓๘ children with special health care need ๒๒๕ cast of the eye ๒๓๖ chinese restaurant syndrome ๓๔๗ catalyst ๒๓๕ chiropractic ๒๐๐ cataract ๒๓๒ chiropractice ๑๙๓ catechin ๑๙๐ chitosan ๑๙๓ catheterizing ๑๑๑ chlorinated hydrocarbon pesticide ๔๕๒ cause of death ๔๕๕ 523 กระทรวงสาธารณสขุ

chlorine ๑๕๕ coaching ๗๙ chlorophyll ๑๕๖ coating ๒๘ chocolate cyst ๒๑๐ coating pan ๔๗๓ cholesterol ๑๗๔ cocaine ๑๙๐ chondroitin ๑๗๓ cochlear implant ๒๘๙ chromatography ๑๙๒ cockroach milk ๒๕๖ chromosome ๑๙๓ code of nurse ๒๐๐ chronic constipation ๔๐๑ codex alimentarius ๓๕๘ chronic dacryoadenitis ๒๓๓ coding audit ๔๗ chronic obstructive pulmonary disease ๔๐๒ co-enzyme Q10 ๑๙๓ chronic fatigue ๔๙๘ cognitive behavioral therapy ๖๓ chronic fatigue syndrome ๔๙๘ cognitive psychology ๒๐๓ cider vinegar ๒๖๗ cold chain break down ๔๓๘ Cinnamomum camphora (L.) J. Presl ๖๔ cold chain system ๓๘๔ circumcision ๒๒ colic ๑๙๓ Citrus aurantium ๔๔๔ coliform bacteria ๑๙๓ clamping ๕๕ collaboration ๑๖๗ clean eating ๑๒๖ collaborative learning ๑๐๑ cleaning in place ๕๔ collagen ๑๗๔ cleaning out place ๕๕ collective financing ๓๗๘ cleared foci but not receptive ๑๔ colloid ๑๗๔ cleared foci but receptive ๑๔ Colombo Plan ๓๑๕ climate variability ๗๗ colon cancer ๓๕๕ clinic ๑๕๖ colostrum ๑๗๔, ๒๖๕, ๔๘๑ clinical forensic medicine ๒๖๘ coma ๓๔๙ clinical jurisprudence ๒๖๘ comforting ๕๕ clinical nursing practice guideline ๒๗๑ command ๖๒ clinical nutritional deficiency ๒๒ committed suicide ๑๙๔ clinical psychology ๒๐๓ committee meeting ๒๘๗ clinical skill ๒๔๔ common andrographis herb ๓๔๐ clinical stage ๓๘๗ common source ๔๘๔ clinical toxicology ๓๓๔ common turmeric ๑๓๑ club foot ๒๕๐ communicable disease ๔๐๐ CM ๓๖๐ communicable period ๓๘๗ CMA ๑๐๔ communication skill ๒๔๔ CMI ๒๒๒ community action for health ๑๒๕ CNPG ๒๗๑ community health plan ๓๑๘ 524 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑

community immunity ๓๕๐ contacts of TB case ๓๑๓ community mental health ๔๖๒ contaminant ๔๕๓ community network ๑๘๑ contextual vulnerability ๑๖๓ community psychology ๒๐๓ continuing nursing education ๑๐๘ comparability exercise ๕๓ contraceptive pill ๓๖๕ compartment syndrome ๓๔๕ contract research organization ๔๘๖ competency ๔๔๔ contracted unit for primary care ๔๗๑ complementary medicine ๙๓ contraindication ๑๓๕ complete ๑๕๓ control ๒๕ completed suicide ๑๙๔ control activity ๑๒๔ compliance ๖๕ control environment ๔๔๓ compliance auditing ๔๖ control risk ๑๗๑ compliance policy ๒๗๑ controlled release tablet ๓๖๙ comprehensive care ๔๒๘ conversion ๓๒๙ compressed tablet ๓๖๘ cool down ๑๘๐ compressing ๖๘ COPD ๔๐๒ computerized tomography ๕๐๘ copper coil ๔๗๙ concentrate for haemodialysis ๒๙๙ co-Q10 ๑๙๓ concentric ๑๗๓ core package ๒๑๔ concept ๒๗๐ coronary artery ๔๗๖ conciliation ๖๙ corpus luteum ๑๗๔ condensed filled milk ๒๕๕ cortisol ๕๑๔ condensed milk ๒๕๕ cosmetics ๑๘๘ condom ๒๔๐ cost benefit analysis ๑๐๔ condom museum ๓๓๓ cost center ๔๖๙ Condyloma acuminata ๔๘๒ cost effectiveness analysis ๑๐๔ confidentiality ๙๘ cost-effectiveness plane ๓๗๘ conflict ๑๕๗ cost of illness ๒๒๙ conflict of interest ๒๒ cost utility analysis ๑๐๕ confounder ๒๙๒ cotton ๔๕๘ congenital bowing of tibia ๖ counseling ๑๑๙ congenital heart disease ๔๐๖ Country Coordinating Mechanism ๑๔๔ congenital scoliosis ๖ cowpox ๑๔๑ constituency ๑๓ CP ๒๒๗ consulting service ๑๙๖ CPR-contraceptive prevalence rate ๔๙๒ consumer toxicology ๓๓๔ craniosacral massage ๒๕๘ contact lens ๔๑๕ cream ๓๖๔ กระทรวงสาธารณสุข 525