การควบคุมโดยชีววิธี ฝ่ายบริหารก�ำหนดขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร ว่าการด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานส�ำหรับ บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ผู้รับผิดชอบกิจกรรมให้ประสบผลส�ำเร็จ ด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ ตามวัตถุประสงค์ และเป็นสิ่งที่จับต้องได้ การด�ำเนินงาน ซ่ึงรวมถึงการดูแลรักษา เช่น ผังโครงสร้างหน่วยรับตรวจ นโยบาย ทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด และคู่มือปฏิบัติงาน, การควบคุมแบบเป็น ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง ทางการ ก็ว่า. (อ. hard control). หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความ การควบคมุ โดยชวี วธิ ี น. วธิ กี ารปอ้ งกนั ก�ำจัด เช่ือถือได้ของรายงานทางการเงิน และด้าน ศัตรูพืชและสัตว์ โดยใช้สิ่งมีชีวิตด้วยกัน การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ปราบหรือท�ำลายกันเอง เช่น เลี้ยงปลาหาง และมติคณะรัฐมนตรี. ๒. กระบวนการ นกยูงให้คอยกินลูกน้�ำเพื่อก�ำจัดยุง เลี้ยงต่อ ท่ีผู้ก�ำกับดูแลฝ่ายบริหารและบุคลากร แตนบางชนิดใหท้ ำ� ลายตวั หนอนบางอย่าง. ทุกระดับของหน่วยรับตรวจก�ำหนดให้มีขึ้น การควบคุมแบบเป็นทางการ ดู การควบคุม เพื่อให้มีความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า เชิงรปู ธรรม. ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น จ ะ บ ร ร ลุ ผ ล ส� ำ เ ร็ จ ต า ม การควบคุมแบบไมเ่ ปน็ ทางการ ดู การควบคมุ วัตถุประสงค.์ เชิงนามธรรม. การควบคมุ มลพิษ น. การควบคมุ และปอ้ งกัน การควบคุมพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบของมลพิษจากแหล่งก�ำเนิดมิให้ (กฎ) น. การควบคุมท่ีสนับสนุนการบริหาร ปลดปล่อยหรือระบายทิ้งในระดับที่อาจเป็น จัดการและการก�ำกับดูแล โดยจัดให้มีระบบ อันตรายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การควบคุมในส่วนโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน ของมนษุ ย.์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ระบบงานข้อมูล การควบคุมโรค น. การลดอัตราการเกิดโรค ระบบเครือข่ายและบุคลากร ซ่ึงประกอบ ใหต้ ่ำ� ลงในระดบั ท่ีไมเ่ ป็นปัญหา หรือควบคมุ ด้วย การควบคุมแบบพื้นฐาน (general ไม่ใหเ้ กิดการแพร่กระจายของโรค ซง่ึ จะเป็น control) และแบบเฉพาะทาง (technical ผลท�ำให้เกิดปัญหาทางสุขภาพที่รุนแรง control). (อ. information technology ขึ้นในชุมชน. (อ. disease control). control). การคัดกรอง น. กระบวนการที่ใช้จ�ำแนก การควบคมุ ภายใน (กฎ) น. ๑. กระบวนการ เพ่ือระบุภาวะการเป็นโรคหรือปัจจัยเส่ียง ปฏิบัติงานท่ีผู้ก�ำกับดูแลฝ่ายบริหาร และ ในประชากรได้อย่างรวดเรว็ โดยไมไ่ ดม้ งุ่ หมาย บุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีข้ึน เพ่อื วนิ จิ ฉยั การปว่ ย. (อ. screening). เพ่ือสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล การคัดกรองนักเรียน น. การน�ำข้อมูลนกั เรยี น ที่ไดจ้ ากเครือ่ งมอื และวธิ ีการตา่ ง ๆ ในการรจู้ กั 26 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การค�ำนวณบนพื้นฐานของอบุ ตั ิการณ์ของโรค นกั เรียนเปน็ รายบุคคลมาพิจารณา วิเคราะห์ คนเราจะมีสุขภาพดีและสมหวัง หรือ และจัดกลุ่มตามระดับปัญหาของนักเรียน ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและความพิการ ตาม เช่น นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมีพฤติกรรมเสี่ยง บรรทัดฐานและความรับรู้ของสังคม ตลอด นกั เรียนกลุ่มมปี ัญหา. จนมาตรฐานของวิชาชพี ตา่ ง ๆ. (อ. health การคดั กรองโรค น. การตรวจสอบในกล่มุ คนท่ี expectancy). ยังไม่มีอาการโดยใช้วิธีการที่ง่ายและรวดเร็ว การค�ำนวณต้นทุนทางตรง น. การค�ำนวณ เพ่ือการคดั แยกบุคคลท่ีอาจจะเปน็ โรค. ต้นทุนรวมของแต่ละหน่วยต้นทุน ที่เป็นไป การคดั กรองศาสตร์การแพทยท์ างเลือก (พล.) ตามกรอบประเภทต้นทนุ และเวลา. (อ. direct น. การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวม cost). หลักฐานที่อ้างอิงได้ของการแพทย์ทางเลือก การค�ำนวณต้นทุนรวม น. การน�ำต้นทุน ท่ัวโลก น�ำมาพิจารณาคัดกรองการแพทย์ ทางอ้อมที่จัดสรรมาจากหน่วยต้นทุนช่ัวคราว ทางเลือกที่เหมาะสมเพื่อน�ำเสนอเข้าสู่ระบบ มารวมเข้ากับต้นทุนทางตรงรวมของหน่วยรับ สุขภาพ. ต้นทุน. การคัดแยก น. การคัดแยกผู้ป่วยตามระดับ การค�ำนวณบนพื้นฐานของความชุกของโรค ความฉุกเฉิน เพ่ือจัดล�ำดับก่อนหลังในการ น. การศึกษาต้นทุนของการเจ็บป่วยที่อิง ชว่ ยเหลอื . (อ. triaging). ความชุก เป็นการค�ำนวณต้นทุนท่ีเกิดข้ึนกับ ทุกคนที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค ในช่วง การคัดเลือกของมนุษย ์ น. กระบวนการท่ีมนษุ ย์ เวลาของการศึกษาท่ีก�ำหนด โดยทั่วไป ผสมพันธุ์และเล้ียงสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะ ก�ำหนดใหเ้ ปน็ ระยะเวลา ๑ ปี โดยรวมท้ังผทู้ ี่ ตามทต่ี อ้ งการ. (artificial selection). เริ่มป่วยก่อนหน้าและในช่วงเวลาที่ก�ำหนด ผลการวิเคราะห์เป็นต้นทุนของโรคต่อคน การคาดการณ์อนาคต น. ความพยายาม ท่ี มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ต า ม อย่างเป็นระบบท่ีจะคาดการณ์วิทยาศาสตร์ ระยะอาการของโรคต่อช่วงเวลาที่ก�ำหนด. เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม (อ. prevalence-based approach). ในระยะยาว เพ่อื บ่งช้ีเทคโนโลยีพ้ืนฐานใหม่ ๆ และขอบเขตของการวิจยั เชิงยุทธศาสตรท์ ี่จะ การคำ� นวณบนพ้ืนฐานของอุบัติการณ์ของโรค เอื้อประโยชน์สูงสุดแก่เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม น. ประเภทการศกึ ษาตน้ ทนุ ของการเจ็บป่วย และสงั คม. (อ. foresight). ท่ีอิงอุบัติการณ์หรือต้นทุนตลอดอายุขัย เป็นการค�ำนวณต้นทุนของกลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ การคาดหวังด้านสุขภาพ น. มาตรการที่ใช้ รายใหม่ที่เริ่มป่วยในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด ความรู้ด้านประชากรเป็นพื้นฐานในการก�ำหนด ในการศกึ ษา โดยมกั กำ� หนดใหเ้ ปน็ ระยะเวลา วัยสุขภาพดี หรือช่วงอายุที่คาดประมาณว่า ๑ ปี แล้วติดตามรวบรวมต้นทุนไปจนผู้ป่วย กระทรวงสาธารณสุข 27
การคนื สสู่ ภาพ หายป่วยหรือเสียชีวิต ผลการวิเคราะห์ coating). เป็นต้นทุนของโรคต่อรายตั้งแต่เริ่มจนส้ินสุด การเคลือบฟิล์ม น. การทําให้เกิดชั้นบางหรือ การเจบ็ ป่วย. (อ. incident-based approach). การคืนสู่สภาพ น. การท�ำให้บุคคลดีขึ้น หรือ ฟิล์มของพอลิเมอร์ที่มีความหนาสม่�ำเสมอ กลับเปน็ ปรกติหรอื คืนสสู่ ภาพ. (อ. restoring). บนผิวของเภสัชภัณฑ์รูปแบบของแข็งชนิด การคมุ กำ� เนดิ น. ๑. การควบคมุ อัตราการเกิด ตา่ ง ๆ เชน่ ยาเมด็ แคปซูล เพลเลต แกรนูล ของสิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย์หรือสัตว์บางชนิด. การเคลือบฟิล์มที่ใช้มากในระดับอุตสาหกรรม ๒. การปอ้ งกันการตัง้ ครรภ์ โดยการใช้ถุงยาง ได้แก่ การเคลือบอาศยั น้ำ� และ การเคลือบ อนามัย การใช้ยาเม็ดคุมก�ำเนิด การคุม อาศัยตัวทาํ ละลายอนิ ทรีย์. (อ. film coating). ก�ำเนิดกึ่งถาวร (การใส่ห่วงอนามัยและ การเคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั น. วิธีหนึ่งในการป้องกัน การฝงั ฮอรโ์ มน) และการทำ� หมนั . ไม่ให้เกิดฟันผุทางด้านบดเคี้ยวของฟันท่ีมี การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ น. การ ลักษณะเป็นหลุมและร่อง ร่องฟันเหล่าน้ี ปกป้องดูแลผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัย จะปรากฏได้ชัดในฟันท่ีข้ึนใหม่ๆ ในเด็ก เป็นธรรมและประหยัดจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งการแปรงฟันตามปรกติจะไม่สามารถ และบรกิ ารสขุ ภาพ. ซอกซอนเข้าไปถึงบริเวณร่องเหล่าน้ี โดยใช้ การเคลอื บ น. การทาํ ใหเ้ กิดชนั้ ของสารเคลอื บ วัสดุจ�ำพวกพอลิเมอร์ไปยึดติดอยู่กับหลุม ปกคลุมบนผิวเภสัชภัณฑ์ของแข็ง โดยการ และร่องบนด้านบดเคี้ยวของฟัน เพ่ือท�ำ พ่นละอองหรือเทราดสารเคลือบลงบนเภสัชภัณฑ์ หน้าท่ีป้องกันไม่ให้เกิดการกักเก็บของแผ่น พร้อมกับการทําให้แห้ง เพื่อให้สารเคลือบ คราบจุลินทรยี .์ ยึดติดและสะสมอยู่บนผิว การเคลือบมีจุด การเคาะ น. การตรวจส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ประสงค์หลายประการ เช่น ป้องกันตัว โดยใช้นิ้วมือหรือเคร่ืองมือกระทบเบา ๆ. ยาสําคัญจากความชื้นหรืออากาศ ทําให้ (อ. percussing). เภสัชภัณฑ์สวยงามเป็นเอกลักษณ์ ควบคุม การฆา่ เชื้อ น. การกำ� จดั จุลินทรยี ์ โดยม่งุ ก�ำจัด หรอื ดัดแปรการปลดปล่อยยา. (อ. coating). ชนิดที่ก่อให้เกิดโรคออกไป ซ่ึงอาจเกิดภาวะ การเคลอื บนำ้� ตาล น. การทําให้เกิดชัน้ บนเม็ด ที่ปราศจากเชอื้ หรอื ไม่กไ็ ด้ เช่น การทำ� ความ ยาด้วยน้�ำตาล ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย สะอาดด้วยสารเคมี วิธีการทางกายภาพ ท่ีต้องทําตามลําดับคือ การเคลือบกันซึม ฯลฯ โดยเชื้อท่ีหลงเหลืออยู่มักจะเป็นชนิด การเคลือบชั้นรองพ้ืน การทําให้เรียบ การ ที่ไม่ก่อให้เกิดโรค หรือถ้าเป็นชนิดท่ีก่อให้ เคลือบสี การขัดมัน โดยทั่วไปช้ันน�้ำตาล เกิดโรคแต่มีปริมาณน้อยมากจนไม่สามารถ มีความหนา ๐.๕-๒ มิลลิเมตร. (อ. sugar ท�ำให้เกิดโรคได.้ (อ. disinfection). การฆา่ เชอื้ แบบปาสเตอร์ น. การฆา่ เชื้อโรคใน 28 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การจัดการความเสี่ยง อาหารท่ีเป็นของเหลว โดยใข้ความร้อนท่ีไม่ และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย สูงนักแล้วท�ำให้เย็นลงอย่างเร็วเพื่อรักษา พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๓) มาจดทะเบียน คุณค่าของอาหารให้คงเดิม เช่น การฆ่าเชื้อ สิ ท ธิ ใ น ภู มิ ป ั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย โรคในน�้ำนมโดยให้ความร้อนประมาณ ๖๒ เพื่อขอรับการคุ้มครองและส่งเสริมตาม องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา ๓๐ นาที แล้วท�ำให้ ที่พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริม เยน็ ลงอย่างรวดเร็ว. (อ. pasteurization). ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ การฆ่าตวั ตายส�ำเร็จ น. การกระทำ� ของบุคคล ก�ำหนด โดยย่ืนคำ� ขอตอ่ นายทะเบยี น. ในการปลิดชีวิตตนเองโดยสมัครใจและ การจัดการความปวด น. การดูแลและการ เจตนาที่จะตายจริงเพ่ือให้หลุดพ้นจากการ ป้องกันความปวดและความไม่สุขสบาย บีบคั้น หรือความคับข้องใจที่เกิดข้ึนในชีวิต ประสิทธิผลการดูแลจะสัมพันธ์กับระดับ ซ่ึงอาจจะกระท�ำอย่างตรงไปตรงมาหรือ การท�ำหน้าที่ของร่างกายและความสามารถ กระทำ� โดยออ้ ม ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ จนกระทั่ง ในการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน รวมถึงการวัด กระท�ำไดส้ ำ� เร็จ. จ�ำนวนคร้ัง ความรนุ แรง และระยะเวลาของ การโฆษณาการประกอบโรคศลิ ปะ น. การเผยแพร่ ความเจ็บปวด. (อ. pain management). ข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับการประกอบ การจัดการความร ู้ น. กระบวนการระดมความ โรคศิลปะทางส่ือ รวมถึงการกระท�ำที่ทําให้ รู้ท่ีฝังลึกในตัวคน และความรู้ชัดแจ้งท่ีเป็น บุ ค ค ล โ ด ย ท่ั ว ไ ป เ ข ้ า ใ จ ค ว า ม ห ม า ย เ พื่ อ ลายลักษณ์อักษร ความรู้ที่พัฒนาจากทักษะ ประโยชนจ์ ากการประกอบโรคศลิ ปะของตน. ในการปฏบิ ัตงิ าน จดั เก็บองค์ความรู้เหล่าน้ัน การเงินการคลังสาธารณสุข น. กระบวนการ อย่างเป็นระบบ และมีการถ่ายทอดหรือ สนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการ แบ่งปันความรู้ น�ำไปใช้และขยายผลให้เกิด สาธารณสุข เพ่ือใช้ตามพันธกิจหลักและ ประโยชน์ทั้งผู้รับบริการ บุคลากรในองค์กร พันธกจิ รอง โดยมเี ป้าหมายคอื สถานะสขุ ภาพ และหนว่ ยงาน เชน่ การประชมุ ถอดบทเรียน ของประชาชนดีขึ้นในระดับสูงสุดอย่างถ้วน จากการระบาด การร่วมสอบสวนโรคกับ หนา้ กนั . (อ. health care financing). ทีมอื่น ชุมชนนักปฏิบัติ การศึกษาดูงาน การจดทะเบียน น. การจัดเก็บข้อมูลตาม เพื่อยกระดับความรู้ของบุคคลและองค์กร คุณลักษณะท่ีต้องการอย่างเป็นระบบและ ท�ำให้ได้ความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนจากการท�ำงาน ทำ� อย่างตอ่ เน่ือง. (อ. registration). และน�ำกลับมาใช้ในการท�ำงานต่อไป เป้า การจดทะเบียนสิทธิ (พบ.) น. การน�ำต�ำรับ หมายคือ การพัฒนาคน พัฒนางาน และ ยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือต�ำราการแพทย์ พัฒนาองค์กร โดยมีความรู้เป็นเคร่ืองมือ. แผนไทยส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง [อ. knowledge management (KM)]. การจัดการความเสี่ยง น. วิธีด�ำเนินการอย่าง เป็นระบบในทางปฏิบัติในการจัดการความ กระทรวงสาธารณสขุ 29
การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ไม่แน่นอนต่าง ๆ เพื่อลดผลกระทบของภัย ตลอดเวลา เพ่ือน�ำไปสู่การใช้งานจริงใน ทเี่ กิดขนึ้ . ระบบสขุ ภาพ. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย น. การจดั การดา้ นคุณภาพแบบเบ็ดเสรจ็ ดู การ กระบวนการท่ีเป็นระบบในการจัดการความ จัดการคณุ ภาพโดยรวม. ไม่แน่นอนเพื่อลดอันตรายและความสูญเสีย ท่ีอาจเกิดขึ้นจากสาธารณภัยให้ได้มากที่สุด การจัดการตนเอง น. กระบวนการทีก่ ่อให้เกิด ประกอบด้วยการประเมินและการวิเคราะห์ การพ่ึงตนเองมากกว่าการก�ำหนดหรือการ ความเส่ียง รวมไปถึงการด�ำเนินการตาม วางแผนจากภายนอก. (อ. self management). ยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการเฉพาะ เพ่ือ ควบคุม ลด และถ่ายโอนความเส่ียงที่เกิด การจัดการตนเองด้านสุขภาพ น. ความ จากสาธารณภัยอย่างครบวงจร. [อ. disaster สามารถในการก�ำหนดเป้าหมายและวางแผน risk management (DRM)]. ในการปฏิบัติตน ท�ำตามแผนที่ก�ำหนด สามารถทบทวนและปรับเปล่ียนวิธีการ การจดั การคณุ ภาพโดยรวม น. ระบบบรหิ าร ปฏิบัติตนให้มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกต้อง คุณภาพที่มุ่งเน้นการให้ความส�ำคัญสูงสุดต่อ เช่น ประชาชนมีการจัดการตนเองด้าน ลูกค้าภายใต้ความร่วมมือของพนักงานทั่ว สุขภาพในการลดความอ้วนด้วยการหมั่น ทั้งองค์กรท่ีจะปรับปรุงงานอย่างต่อเน่ือง สั ง เ ก ต ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ค ่ า อ า ห า ร ที่ กิ น เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้ ในแต่ละมื้อ พร้อมวางแผนออกก�ำลัง การจัดการคุณภาพโดยรวมจึงเป็นแนวทางที่ ของตนเองให้ได้ตามเปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้. หลายองค์กรน�ำมาใช้ปรับปรุงงาน ระบบนี้ มองภาพรวมท้ังองค์กร ลูกค้าป็นผู้ก�ำหนด การจัดการตอบสนองความเสยี่ ง น. การยอมรับ มาตรฐานหรือความต้องการ เป็นระบบที่ ความเส่ยี ง การลดผลกระทบ การลดโอกาสเกดิ ปรับปรุงการวางแผน การจัดองค์กร และ และหาวธิ ีการใหม่ ๆ. (อ. risk response). การท�ำความเข้าใจในกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับ แต่ละบุคคลในแต่ละระดับ เพ่ือปรับปรุง การจัดการในภาวะฉุกเฉิน น. การจัดระบบ ประสิทธิภาพ ให้มีความยืดหยุ่นเพื่อที่จะ และบริหารจัดการทรัพยากร และความ สามารถแข่งขันได้, การจัดการด้านคุณภาพ รับผิดชอบเพ่ือเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉินทุก แบบเบ็ดเสร็จ หรือ การบริหารคุณภาพ รปู แบบ. (อ. emergency management). ท้ังองค์การ ก็ว่า. [อ. Total Quality Management (TQM)]. การจัดการพาหะน�ำโรคแบบผสมผสาน น. กระบวนการตดั สนิ ใจอย่างมเี หตุผล เพอื่ ให้มี การจัดการงานวิจยั ในระดบั นโยบาย น. การ การใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมในการควบคุม หลอมรวมการจัดการงานวิจัยระดับแผนงาน พาหะน�ำโรค เพ่ือลดหรือหยุดยั้งการแพร่ และระดับสถาบันวิจัยให้เป็นเนื้อเดียวกับ เชื้อโรค โดยมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญคือ กระบวนการทางนโยบายที่มีการปรับเปลี่ยน มีความคุ้มค่าและยั่งยืน ด�ำเนินการภายใต้ 30 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การจัดบริการรักษาพยาบาลเบือ้ งต้น กฎระเบียบและวิธีการที่เหมาะสม มีการ โดยมีกระบวนการที่ต่อเน่ือง เป็นระบบ สนับสนุนจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้มี เปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์ มีการ ส่วนได้ส่วนเสีย และมีตัวชี้วัดท่ีชัดเจน. ด�ำเนินงานเป็นขั้นตอน และมีแผนปฏิบัติ [อ. integrated vector management (IVM)]. การประสานความร่วมมอื กบั หน่วยงานต่าง ๆ การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข น. ทุกระยะ เพอ่ื ป้องกันและหลกี เลย่ี งการสูญเสยี การจัดการเหตุการณ์การเกิดโรคและภัย ชวี ิตและทรพั ย์สิน รวมทัง้ เศรษฐกิจ เปน็ การ คุกคามสุขภาพอย่างรวดเร็วและเป็นระบบ ส่งเสริมและรักษาส่ิงแวดล้อมทางสังคม โดยมีกระบวนการและข้ันตอนต่าง ๆ อีกทั้งกระตุ้นเตือนให้ทุกคนในสังคมตระหนัก ครอบคลุมทุกระยะ ตั้งแต่การด�ำเนินการ ถึงความส�ำคัญในการเตรียมความพร้อมของ ป้องกัน-ลดความเสี่ยงและผลกระทบก่อน ตนเองและชุมชนเพ่ือรับมือกับสถานการณ์ เกิดภาวะฉุกเฉิน (prevention) การเตรียม ที่อาจเกิดขน้ึ . (อ. disaster management). ความพรอ้ มรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ (preparedness) การจัดการสขุ ภาพ น. การด�ำเนนิ การกบั ปัญหา การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (response) และ สุขภาพและการเจ็บป่วยของบุคคลทุกช่วงวัย การฟื้นฟูหลังเกิดภาวะฉุกเฉิน (recovery). เพื่อขจัดปัญหาสุขภาพของตนเองให้หมดไป [อ. public health emergency management ท้ังทดี่ ว้ ยวิธีใชย้ ารกั ษาและวธิ ีไม่ใช้ยา. (PHEM)]. การจัดการอุบัติภัย น. การตระเตรียม การ การจัดการรายกรณี น. กระบวนการท�ำงาน ด�ำเนินการ และกระบวนการในการจดั การตอ่ รว่ มกัน ต้งั แตก่ ารประเมินภาวะสุขภาพ การ อบุ ัติภยั ท่เี กิดข้นึ . (อ. accident management). วางแผน การอ�ำนวยความสะดวก การ การจัดการเอกสาร น. การรวบรวม จ�ำแนก และ ประสานการดูแล การประเมินผล และการ เผยแพร่ ขอ้ มูลและเอกสาร. (อ. documenting). พิทักษ์สิทธ์ิ ในการให้บริการท่ีตอบสนอง การจดั ทา่ น. การจัดให้บุคคลหรือสง่ิ ของอยูใ่ น ความต้องการด้านสุขภาพของบุคคลและ ทา่ ใดท่าหนึ่ง. (อ. positioning). ครอบครัว โดยผ่านกระบวนการติดต่อ การจดั บรกิ ารเข็มและอุปกรณ์ฉีดที่สะอาด น. สื่อสารและการใช้แหล่งประโยชน์ท่ีมีอยู่ การจัดให้มีเข็มและอุปกรณ์ฉีดท่ีสะอาด เพอ่ื ให้ไดผ้ ลลพั ธ์ท่มี คี ณุ ภาพ มีประสทิ ธิภาพ ส� ำ ห รั บ ก ลุ ่ ม ผู ้ ใ ช ้ ย า เ ส พ ติ ด ด ้ ว ย วิ ธี ฉี ด และคุม้ ค่าใช้จา่ ย. (อ. case management). เพ่ือป้องกันการใช้เข็มเก่าและการใช้เข็มร่วม การจดั การเรือ่ งร้องเรียน น. การก�ำกับดแู ลและ กับผู้อื่น เป็นการป้องกันการติดเช้ือเอชไอวี ด�ำเนินการในเร่ืองข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และโรคติดต่อทางเลือด. (อ. needle and ข้อคดิ เหน็ การชมเชย การสอบถาม เปน็ ตน้ . syringe program). การจัดการสาธารณภัย น. การเตรียมรับมือ การจดั บริการรักษาพยาบาลเบื้องต้น น. การ การเกิดสาธารณภัยอย่างมีประสิทธิภาพ กระทรวงสาธารณสุข 31
การจัดบรกิ ารเวชกรรมสงิ่ แวดล้อม บริการสุขภาพพ้ืนฐานท่ีโรงเรียนทุกแห่งจัด การจัดบริการอาชีวอนามัย น. กิจกรรมที่ ให้นักเรียน โดยการจัดหายาและเวชภัณฑ์ ด�ำเนินงานโดยบุคลากรที่มีความรู้ทางด้าน ที่จ�ำเป็นส�ำหรับห้องพยาบาลให้เพียงพอ อาชีวอนามัย เพ่ือให้ผู้ประกอบอาชีพ มีครูอนามัย ครูพยาบาลให้การดูแลรักษา กลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มแรงงานในระบบ เบ้ืองต้น และบันทึกหลักฐานการให้บริการ กลมุ่ แรงงานนอกระบบ กลมุ่ ผูใ้ ห้บริการสุขภาพ น�ำข้อมูลการเจ็บป่วยของนักเรียนมาวิเคราะห์ ได้รับการจัดบริการท่ีมีคุณภาพ มีสุขภาพ และจัดบริการรักษาพยาบาลได้ถูกต้อง อนามัยท่ีดี อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ปลอดภัย ตามสาเหตุที่แท้จริง มีการส่งต่อนักเรียน โดยกิจกรรมหลักประกอบด้วย การส่งเสริม ที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของ สุขภาพ การปอ้ งกันโรค การเฝ้าระวงั สขุ ภาพ ห้องพยาบาลไปรับบริการท่ีหน่วยงาน การรักษาพยาบาล และการประสานการ สาธารณสุขในพ้ืนท่.ี ฟื้นฟูสมรรถภาพ และมีกิจกรรมด�ำเนินการ การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม น. ตา่ ง ๆ เชน่ การประเมินความเสยี่ งในการทำ� งาน กิจกรรมที่ด�ำเนินงานโดยบุคลากรที่มีความรู้ การบริหารจัดการความเสี่ยง การตรวจสุขภาพ ทางด้านอาชีวอนามัยหรือด้านอนามัย การคดั กรองและวินจิ ฉยั โรค การรกั ษาพยาบาล ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงด�ำเนินการเพ่ือให้ประชาชน และการประเมินสภาวะสุขภาพก่อนกลับเข้า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมหรือ ท�ำงานเมื่อเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ การส่ือสาร อุบัติภัยฉุกเฉินได้รับการดูแลสุขภาพ โดยมี ความเสี่ยง การให้อาชีวสุขศึกษา การให้ การจัดบริการท้ังเชิงรุกและเชิงรับ ท่ีมุ่งเน้น ค�ำปรึกษาทั้งทางด้านสุขภาพ กฎหมาย ด้านการป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้ ท่ีเกี่ยวข้อง การประสานหน่วยงานอ่ืน ๆ ประชาชนมสี ขุ ภาพอนามยั ทด่ี ี อยใู่ นสง่ิ แวดล้อม ในพน้ื ท่เี พื่อการด�ำเนินงานอาชีวอนามยั . ทป่ี ลอดภยั . การจัดบริการสาธารณสุข น. การจัดบริการ การจดั บริการอาชวี อนามัยเชงิ รับ น. การจัด และการจัดกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการสร้าง บริการอาชีวอนามัยภายในสถานบริการ เสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ สาธารณสุขโดยมีกิจกรรมท่ีส�ำคัญดังนี้ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก การให้บริการวินิจฉัยโรคหรือการบาดเจ็บ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่ม จากการท�ำงาน การรักษาพยาบาล ในกรณี คนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพท่ีมีความเส่ียง ท่ีไม่สามารถให้การวินิจฉัยหรือรักษาได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมท้ังกลุ่มประชาชน จะต้องส่งต่อไปยังสถานบริการสาธารณสุข ท่ัวไปที่มีภาวะเสี่ยงทีอ่ ยูใ่ นพ้ืนที่ สามารถเข้า ท่ีมีศักยภาพสูงกว่า มีกิจกรรมการตรวจสุขภาพ ถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างท่ัวถึงและ ประเภทต่าง ๆ การให้ค�ำปรึกษา การประสาน มีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมกระบวนการ ข้อมูลกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังภายใน มีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม หนว่ ยงาน ระหวา่ งแผนกตา่ ง ๆ และภายนอก และความต้องการในพื้นท.่ี หน่วยงาน เชน่ ส�ำนกั งานประกนั สงั คม รวม ไปถึงการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลสถิติที่ เกี่ยวข้อง ในกรณีท่ีหน่วยงานมีความพร้อม สามารถให้บริการสม่�ำเสมอ สามารถจัดตั้ง 32 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การจา่ ยเงินแบบกำ� หนดเพดาน คลินิกเฉพาะได้ เรียกว่า คลินิกโรคจากการ การจดั ฟันแบบใส ดทู ่ี จัดฟันแบบใส. ทำ� งาน. การจัดระบบ น. การจดั โครงสร้างใหเ้ ป็นระเบียบ การจดั บริการอาชีวอนามัยเชิงรุก น. การจดั บรกิ าร อาชีวอนามัยนอกสถานบริการสาธารณสุข เพ่ือประสทิ ธิภาพในการท�ำงาน. (อ. organizing). หรือด�ำเนินการในสถานประกอบการ โดยมี การจัดลำ� ดบั ความส�ำคัญ น. การจดั ล�ำดับก่อน กิจกรรมหลักที่ส�ำคัญดังนี้ การส�ำรวจ สถานประกอบการ และประเมินความเสี่ยง หลังตามความส�ำคัญของปัญหาและ/หรือ ต่อสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการท�ำงาน การกระท�ำ. (อ. prioritizing). การตรวจประเมินด้านสิ่งแวดล้อมการท�ำงาน การจัดและการบริหารหลกั สูตร น. กระบวนการ การตรวจสุขภาพประเภทต่าง ๆ เช่น สนับสนุนและเอ้ืออ�ำนวยให้หลักสูตรบรรลุ การตรวจคัดกรองโรคจากการทำ� งาน การให้ เป้าหมาย เช่น การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ ความรู้ การให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง หลักสูตร การเตรยี มบุคลากร อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมการท�ำงาน การเฝ้าระวังโรค งบประมาณ การบรหิ ารจดั การ. (อ. curriculum การบาดเจ็บจากการท�ำงานตามบริบทของ management and adminitration). พื้นท่ี การประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน (กฎ) น. ในการบูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ ส�ำหรับ การก�ำหนดหรือออกแบบวิธีการควบคุมและ การจัดบริการอาชวี อนามัยเชิงรุก. น�ำมาใช้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการปฏิบัติ การจัดประชุมวิชาการทางการแพทย์ระดับ งานเป็นไปอยา่ งมีระเบยี บและมปี ระสิทธิภาพ. นานาชาติ น. การด�ำเนินการจัดประชุม การจัดสวัสดิการสังคม น. การจัดสวัสดิการ วิชาการทางด้านการแพทย์เพื่อน�ำเสนอผล ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการจัด งานวิจัยทางการแพทย์ เปิดโอกาสให้เผย สวสั ดิการสงั คม. แพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการด�ำเนินการวิจัย การจ้างเหมาเอกชน น. กลไกตลาดเสรีให้เอกชน แลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์กับ จัดบรกิ ารสาธารณะ. (อ. privatization). ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิจัยและนักวิชาการระดับ นานาชาติ. การจัดประเภทอาชีพตามมาตรฐานสากล น. การจ่ายเงินแบบก�ำหนดเพดาน น. ๑. การจา่ ย การจัดประเภทอาชีพตามมาตรฐานสากล เงินชดเชยแบบไมเ่ กนิ เทา่ ใดในบรกิ ารเรือ่ งนนั้ ๆ ของประเทศไทย จัดท�ำโดยส�ำนักงานสถิติ เชน่ ค่าอุปกรณ์และอวยั วะเทียมทางการแพทย์. แห่งชาติ ประกอบด้วยช่ือรหัสอาชีพ และ ๒. วิธีการค�ำนวณจ่ายโดยระบบคะแนนตาม รหัสอาชีพ. (อ. International Standard เพดานที่ก�ำหนดภายใต้วงเงินงบประมาณ. Classification of Occupations). (อ. point system with ceiling with global budget). กระทรวงสาธารณสุข 33
การจ่ายเงนิ แบบปรบั ตามสัดสว่ นอายุ การจ่ายเงินแบบปรับตามสัดส่วนอายุ น. fee-for-service). การจ่ายเงินงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ การจ่ายตามรายป่วยหรือประเภทความเจ็บ ที่ข้ึนทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ แบบเหมาจ่ายรายหัวในอัตรา ป่วย น. การจ่ายเงินล่วงหน้าตามชนิดของ ที่แตกต่างกันตามสัดส่วนอายุของประชากร. การรักษาหรือโรคที่ให้บริการในครั้งหน่ึง ๆ (อ. age-adjusted capitation). หรืออาจเป็นการจ่ายตลอดช่วงของการดูแล จนเสร็จสิ้น เช่น การคลอดบตุ ร เป็นการจัด การจ่ายเงินแบบรายวัน น. การจ่ายเงิน กล่มุ คา่ ใชจ้ า่ ยปลกี ย่อยของผปู้ ว่ ยให้เปน็ กล่มุ ให้หน่วยบริการโดยคิดค่าใช้จ่ายเป็นระยะ เดียวกนั และจ่ายในอตั รากลางเทา่ เทียมกนั . เวลาหรือช่วงเวลาที่ผู้ป่วยรักษาตัวอยู่หน่วย (อ. case-based payment). บริการแบบเหมารวมค่าใช้จ่ายทุกอย่างท่ี การจ่ายแบบงบประมาณยอดรวม น. การจ่าย เกิดขึ้นและเฉลี่ยเป็นอัตรามาตรฐานเท่ากัน เงินจากการด�ำเนินการท้ังหมดท่ีก�ำหนดไว้ ไม่วา่ จะมาด้วยความเจ็บปว่ ยใด. (อ. perdiem). ล่วงหน้า วิธีการคิดยอดงบประมาณมัก อ้างอิงจากผลงานในปีท่ีผ่านมา. (อ. global การจ่ายเงินแบบเหมาจ่ายรายหัวตามค่ากลาง budget). น. การจ่ายเงินท่ีปรับอัตราการเหมาจ่ายเงิน การจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว น. ๑. วิธีการ มากน้อยต่างกันตามปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่น จ่ายเงินรูปแบบหนึ่งให้แก่หน่วยบริการ เพื่อ อายุของประชากร การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง. การบริการสาธารณสุขที่หน่วยบริการน้ัน ๆ [อ. differential capitation (Diff. Cap.)]. จัดให้แก่ผู้ใช้บริการ ด้วยการจ่ายเงินล่วง หน้าในวงเงินท่ีแน่นอน โดยคิดอัตราเหมา การจ่ายเงินภายหลัง น. การจ่ายเงินหลังจาก จ่ายเฉล่ียต่อประชากร ๑ คน หน่วยบริการ เกิดการบริการจริงแล้ว ตามผลงานที่ส่ง จะได้รับเงินรวมตามจ�ำนวนประชากรท่ีลง ขอ้ มลู . (อ. postpaid). ทะเบียนเลือกหน่วยบริการนั้นเป็นหน่วย บริการประจ�ำ ในการค�ำนวณจะมีการปรับ การจ่ายเงินล่วงหน้า น. การจ่ายเงินล่วงหน้า ค่าอัตราเหมาจ่ายรายหัวตามความเสี่ยงของ ก่อนเกิดบริการจริง มีท้ังจ่ายตามงบเหมา ประชากรที่ลงทะเบียน แทนการใช้อัตรา จ่ายรายหัวท่ีค�ำนวณมาชัดเจนแล้ว และจ่าย เหมาจา่ ยรายหัวเพยี งอัตราเดยี ว เพอ่ื ชว่ ยให้ ให้ไปก่อนแล้วรอส่งข้อมูลมาเพื่อค�ำนวณเงิน เกิดความเท่าเทียมกันระหว่างหน่วยบริการ ท่ีจะได้รับ ซ่ึงต้องมีการหักลบภายหลังจาก ทีร่ ับภาระดแู ลประชากรแตกตา่ งกัน ส�ำหรบั เงินท่ีควรจะได้เทียบกับท่ีจ่ายให้ไปก่อน. (อ. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการใช้ prepaid). วิธีการจ่ายค่าใช้จ่ายส�ำหรับบริการสาธารณสุข แบบเหมาจา่ ยตามรายหวั เพอ่ื บรกิ าร ๒ ประเภท การจ่ายตามปริมาณบริการ น. การจ่ายเงิน คือ บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป และ บริการ ตามรายกิจกรรมท่ีให้บริการ โดยมีการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งใช้ ก�ำหนดอัตราท่ีชัดเจนในแต่ละรายการ. (อ. 34 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การเจรญิ เติบโตช้า อัตราเหมาจ่ายรายหัวปรับตามโครงสร้าง การเจรจาไกล่เกลย่ี น. กระบวนการซง่ึ ผเู้ จรจา อายุของประชากรผู้มีสิทธิหลักประกัน ทั้ง ๒ ฝ่าย หรือหลายฝ่าย พยายามบรรลุ สุขภาพแห่งชาติ. ๒. การจ่ายตามจ�ำนวน ข้อตกลงร่วมกันในเร่ืองท่ีมีความห่วงกังวล คนท่ีมาลงทะเบียนกับหน่วยบริการคูณกับ ร่วมกัน ในสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งหรือ ค่าใช้จ่ายท่ีค�ำนวณเป็นรายบุคคล เหมารวม มแี นวโนม้ ว่าจะขัดแย้ง. (อ. negotiation). เป็นรายปี. ๓. การจ่ายเงินตามอัตราที่ ก�ำหนดเอาไว้ต่อหัว โดยอัตราดังกล่าว การเจรจาไกล่เกลีย่ คนกลาง น. กระบวนการ เป็นอัตราที่เหมารวมค่าใช้จ่ายท่ีอยู่ใน ซ่ึงฝ่ายที่สามที่เป็นกลางช่วยคู่พิพาทแก้ไข ความครอบคลุมทัง้ หมด. (อ. capitation). ปญั หาขอ้ พิพาทหรอื การด�ำเนนิ การใดๆ แต่ไม่ได้ การจ�ำกัดการเคลื่อนไหว น. การท�ำให้บุคคล มีบทบาทที่จะก�ำหนดทางเลือกใดทางเลือกหน่ึง. หรือสิง่ ของไม่เคลอื่ นที่. (อ. immobilizing). (อ. mediation). การจำ� กดั พ้นื ที ่ น. การท�ำใหบ้ คุ คลหรือสง่ิ ของ อยู่ในขอบเขตจำ� กดั ทางภูมศิ าสตร์. (อ. area การเจรจาไกล่เกล่ียโดยมีหลักส�ำคัญ, การเจรจา restricting). โดยยึดประโยชนร์ ่วม น. การเจรจาไกลเ่ กลย่ี การจำ� แนก น. การก�ำหนดเกณฑ์ความแตกตา่ ง ในลักษณะท่ีผู้เจรจาไกล่เกล่ียพยายามท่ีจะ ของคนใดคนหนึ่งหรือส่ิงใดสิ่งหนึ่งอย่าง ๑) แยกคนออกจากปญั หา ๒) พุง่ ประเด็นไป เปน็ ระบบ. (อ. identifying). ท่ีผลประโยชน์ ไม่ใช่จุดยนื ๓) สรา้ งทางเลือก การจูงใจ น. การกระตุ้นความสนใจหรือสร้าง เพ่ือให้ได้ประโยชน์ร่วม ๔) ยืนยันที่จะใช้ แรงบันดาลใจของบุคคลให้กระท�ำกิจกรรม กฎเกณฑ์การวัดท่ีไม่มีอคติ เพื่อใช้ในการ ด้วยตนเอง. (อ. motivating). พิจารณาทางออกท่ยี ุติธรรม. (อ. principled การเจ็บป่วยฉกุ เฉิน น. การไดร้ ับอบุ ัติเหตุหรอื negotiation หรือ interest-based มีอาการเจบ็ ปว่ ยกะทันหัน ซ่งึ เปน็ ภยันตราย negotiation). ต่อการด�ำรงชีวิตหรือการท�ำงานของอวัยวะ ส�ำคัญ จ�ำเป็นต้องได้รับการประเมิน การ การเจรจาต่อรอง น. การหารือกับผู้อ่ืน จัดการและบ�ำบัดรักษาอย่างทันท่วงทีเพ่ือ เพื่อประนีประนอมหรือหาข้อตกลงกนั . ป้องกันการเสียชีวิตหรือเกิดความรุนแรงขึ้น ท้ังนี้หน่วยปฏิบัติการสถานพยาบาล และ การเจริญเติบโต น. การเปล่ียนแปลงท่ีค่อย ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินได้มีหลักเกณฑ์การ เป็นค่อยไปอย่างมีระเบียบในส่ิงมีชีวิต เป็น ประเมินเพ่ือคัดแยกระดับความรุนแรงของ ผลให้เน้ือเย่ือมีความซับซ้อนมากข้ึน หรือ การเจบ็ ป่วยฉุกเฉิน. สมบูรณ์ขึ้นทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าท่ี. (อ. development). การเจริญเติบโตช้า น. ความผิดปรกติในการ เปล่ียนแปลงของน้�ำหนักและส่วนสูงใน ลักษณะช้ากว่าเกณฑ์น้�ำหนักและส่วนสูงใน กระทรวงสาธารณสขุ 35
การเจาะ วัยเดยี วกนั . (อ. growth disorder). การช่วยชีวิตขั้นสูง น. การปฏิบัติหลังจากทํา การเจาะ น. การดันเข็มฉีดยาเข้าไปในเส้น ตามข้ันตอนการช่วยชีวิตเบ้ืองต้นแล้ว ให้ติด เคร่ืองตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและเปิดเส้นน้�ำ โลหิตหรือช่องต่าง ๆ เพื่อดูดหรือขจัดสาร เกลอื ทาํ การชว่ ยชีวิตขั้นสงู โดยการเปดิ ทาง ออกมา. (อ. puncturing). เดินหายใจข้ันสูง การช่วยหายใจข้ันสูง การฉายภาพประชากร น. การคาดประมาณ การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต การให้ยา จ�ำนวนประชากรนอกช่วงเวลาที่มีข้อมูลอยู่ การช็อกหัวใจด้วยไฟฟ้า การรักษาผู้ป่วย ปรกติเป็นการคาดประมาณประชากรในอนาคต ตามคล่นื ไฟฟ้าหัวใจ การหาสาเหตแุ ละแก้ไข ซงึ่ ยงั ไมม่ ขี อ้ มูล แต่อาจคาดประมาณประชากร รวมทั้งการดูแลผู้ป่วยภายหลังภาวะหัวใจ ย้อนหลังไปในอดีตก็ได้. (อ. (population หยุดเต้น, การช่วยเหลือเชิงรุก ก็ว่า. [อ. projection). advanced life support (ALS)]. การฉายรังสีอาหาร น. การถนอมอาหาร โดยไม่ใช้ความร้อนวิธีหนึ่ง ท�ำได้โดยการใช้ การช่วยฟื้นคืนชีพ น. การท�ำให้บุคคลกลับมี คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าบางชนิด (เช่น รังสี ชีวติ ข้นึ มาใหม่. (อ. resuscitating). อัลตราไวโอเลต รังสีแกมมา รังสีเอกซ์) ล�ำแสงอิเล็กตรอน เป็นต้น เพ่ือยับยั้ง การชว่ ยเหลอื เชงิ รกุ ดู การชว่ ยชีวติ ขัน้ สงู . การงอก ทำ� ลายพยาธิ ท�ำลายไข่แมลง และ การช่วยเหลือเบื้องต้น น. การช่วยฟื้นคืนชีพ ลดปริมาณจลุ นิ ทรยี .์ (อ. food irradiation). การฉีด น. การแทงเข็มฉีดยาเพ่ือน�ำสารบาง เบ้ืองต้นในคนหัวใจหยุดเต้น หรือคนท่ีหยุด อย่างเข้าไปในส่วนของร่างกาย เช่น ผิวหนัง หายใจกระทันหัน จากระบบไหลเวียนเลือด กล้ามเนื้อ เสน้ เลือด. (อ. injecting). และระบบหายใจล้มเหลว ประกอบด้วย การฉดี เข้าไป น. การใส่สารน�้ำเขา้ ไปอย่างช้า ๆ การเปิดทางเดินหายใจ การช่วยหายใจ เป็นหยด. (อ. instilling). การกดหน้าอก โดยไม่ใช้ยาและอุปกรณ์ นอกเหนือจากอุปกรณ์ป้องกันและการใช้ เคร่ืองกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอัตโนมัติ, การช่วยชีวติ ข้ันพ้ืนฐาน กว็ า่ . [อ. basic life support (BLS)]. การช่วยคลอดท่าก้น น. สูติศาสตร์หัตถการ การช่ังน้�ำหนัก น. การกระท�ำให้รู้ตัวเลขท่ี อย่างหน่ึง ที่จะช่วยเหลือให้ทารกที่อยู่ใน ถูกต้องเพ่ือแสดงถึงน�้ำหนักของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ท่าก้นสามารถผ่านการคลอดทางช่องคลอด หรือคนใดคนหนงึ่ . (อ. weighing). ไดโ้ ดยปลอดภยั . (อ. breech delivery). การช�ำระล้าง น. การท�ำความสะอาด หรือ การชว่ ยชวี ติ ข้ันพนื้ ฐาน ดู การช่วยชวี ติ เบ้ืองต้น. การล้างด้วยนำ�้ . (อ. flushing). 36 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน การช้นี �ำเพือ่ สขุ ภาพ น. การปฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ การแหกต่อไป การเช็ดเพ่ือการรักษา ท้ังท่ีปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวมคิดค้นขึ้น เป็นการรักษาการเจ็บป่วย ท่ีมีลักษณะ ม า เ พื่ อ ส ร ้ า ง พั น ธ สั ญ ญ า ท า ง ก า ร เ มื อ ง อาการของปิ๊ดหรืออาการปวดเมื่อยจาก การสนับสนุนทางนโยบาย การยอมรับของ การเดินของเลือดลมไม่สะดวก ลมเข้าเส้น สังคม และการสนับสนุนโดยระบบต่าง ๆ เอ็นขี่กัน การเช็ดจะรักษาได้เฉพาะกรณี ที่มีต่อเป้าหมายหรือโครงการด้านสุขภาพ ที่อาการเจ็บป่วยไม่มาก เป็นความเจ็บปวด อย่างใดอยา่ งหน่งึ โดยเฉพาะ. (อ. advocacy). ท่ีมีอาการปวดบวมไม่ลึก บางครั้งรักษา โดยการเชด็ อาการก็ทเุ ลาลงแลว้ . การชี้น�ำสุขภาพดี น. การแนะน�ำหรือชักจูง การเช็ดแหก (พบ.) น. วิธีการนวดพื้นบ้าน ให้เงื่อนไขการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม การ ในภาคเหนือตอนบน เป็นรูปแบบของการใช้ พัฒนาบุคคล กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ฯลฯ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ เป็นไปในทางสนับสนุน โดยการช้ีน�ำเร่ือง และสิ่งเหนือธรรมชาติเช่ือมโยงกับความคิด สขุ ภาพ. ความเชื่อและวิธีการดูแลรักษาทางกายภาพ ในการรักษาอาการเจ็บป่วยเก่ียวกับผิวหนัง การช้ีแนะ น. การชี้น�ำบุคคลในการตัดสินใจ กลา้ มเนือ้ ข้อ และกระดูก ทไ่ี ม่ทราบสาเหตุ ในเร่ืองสขุ ภาพ. (อ. guiding). ซ่ึงหากมนุษย์หรือบุคคลใดท�ำลายธรรมชาติ หรือวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถ่ิน การชีแ้ นะส่ิงที่คาดวา่ จะเกดิ น. การช้ีน�ำบุคคล ธรรมชาติหรือสิ่งเหนือธรรมชาติท่ีดูแลรักษา ในเร่ืองการดูแลสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต. ทอ้ งถน่ิ ก็จะท�ำใหบ้ คุ คลผูน้ ั้นเจบ็ ป่วย นับเปน็ (อ. anticipatory guiding). ภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ คุ้มครองให้มนุษย์ อยู่กับธรรมชาติและอยู่ร่วมกันในสังคมได้ การเช็ด (พบ.) น. วิธีการตรวจวินิจฉัยและ อย่างเป็นสุข การเช็ดแหก เป็นองค์ความรู้ท่ี รักษาเบ้ืองต้นด้วยน้�ำมนต์อันเป็นภูมิปัญญา สืบทอดมาจากบรรพบรุ ษุ เพือ่ รกั ษา ปิด๊ ยำ� ของหมอพื้นบ้านทางภาคเหนือ โดยใช้ หรือโป่งต่าง ๆ ท่ีท�ำให้ร่างกายเจ็บป่วย น�้ำมนต์และใบไม้ลูบไปตามอวัยวะบริเวณท่ี ซึ่งไม่มีตัวตน และเช่ือว่าอาจจะเกิดจาก มีการเจ็บปวดเพื่อหาสาเหตุแล้วดูจาก การโดนคุณผีหรอื คุณไสย. ลักษณะใบไมห้ ลงั การลบู หรอื การทใ่ี บไม้ตดิ การแช่สกัด น. การแช่สมุนไพรในน้�ำหรือน�้ำ ค้างคาอยู่กับบริเวณที่ลูบไม่หล่นตกไปหลัง ร้อนไมถ่ ึงเดือด รวมท้ังกระสายยาอ่ืน ๆ เพอ่ื จากท่ีหมอปล่อยมือจากใบไม้แล้ว หรือ ละลายตัวยาส�ำคัญ ใช้ในกรณีท่ีตัวยาส�ำคัญ ลกั ษณะใบไมท้ ่หี มอใชล้ ูบแลว้ โยนออกไป ซึง่ ละลายนำ้� ไดด้ .ี (อ. infusion). จะวินิจฉัยได้ว่าเกิดจากโดนคุณผี คุณไสย การใชช้ ุมชนเปน็ ฐาน น. กระบวนการทำ� งาน หรือปิ๊ดโป่ง ปิ๊ดย�ำ หากเกิดจากคุณผี หรือ กับกลุ่มคนท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน คุณไสย ก็จะรักษาแก้คุณผีคุณไสยด้วย น�้ำมนต์หรือวิธีการอื่น หากเกิดจากปิ๊ด โป่ง หรือย�ำ หมอจะรักษาด้วยการเช็ดหรือ กระทรวงสาธารณสุข 37
การใชป้ ระโยชน์จากอาหาร ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือ การใช้ยาป้องกันมาลาเรีย น. การจ่ายยา ผลกระทบจากการอยู่ร่วมอาณาบริเวณกับ ในขนาดป้องกนั การปว่ ยเปน็ มาลาเรยี . ผู้ป่วย ผ่านวิธีการท�ำความเข้าใจ เสริมสร้าง ทัศนคติ ประชุมแลกเปลี่ยน และก�ำหนด การใช้ยารักษาผู้ป่วยมาลาเรีย น. การให้ยา แนวทางแก้ไขปญั หารว่ มกัน. มาลาเรียแก่ผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อมาลาเรีย การใช้ประโยชนจ์ ากอาหาร น. การน�ำอาหาร หรือผู้สงสัยว่ามีเช้ือมาลาเรียเพื่อให้การ ที่มีอยู่ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม บ�ำบัดรักษา ลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย เช่น การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยับย้ังการแพร่เชื้อระยะติดต่อและป้องกัน ในการแปรรปู และเก็บรักษา การนำ� ไปบรโิ ภค การตดิ เชือ้ มาลาเรยี . โดยใช้องค์ความรู้ทางโภชนาการให้เหมาะสม ตามสภาวะร่างกายและสุขภาพ. (อ. food การใช้ยาอย่างสมเหตุผล น. การใช้ยาโดยมี utilization). ข้อบง่ ช้ี เปน็ ยาทม่ี ีคณุ ภาพ มปี ระสิทธผิ ลจรงิ การใช้ต�ำแหนง่ วา่ ง น. การขอใชอ้ ตั ราตำ� แหน่ง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เช่ือถือได้ ให้ ท่ีมีอัตราเงินเดือน และมีเลขท่ีต�ำแหน่ง ประโยชน์ทางคลินิกเหนือกว่าความเส่ียง ซึ่งปรากฏอยู่ใน จ.๑๘ สามารถใช้รับย้าย จากการใช้ยาอย่างชัดเจน มีราคาเหมาะสม รับโอน บรรจุกลับ บรรจุผู้ได้รับคัดเลือก คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข บรรจุผู้สอบแข่งขัน เล่ือนข้าราชการให้ด�ำรง ไม่เป็นการใช้ยาซ้�ำซ้อน ค�ำนึงถึงปัญหาเชื้อ ต�ำแหน่งที่ว่างได้ โดยผู้ย้ายจะท้ิงต�ำแหน่ง ดื้อยา เป็นการใช้ยาในกรอบบัญชียา ยังผล เลขท่ีและอัตราเงินเดือนของตนไว้ท่ีเดิม อย่างเป็นขั้นตอนตามแนวทางการพิจารณา เพ่อื ใช้รับย้ายขา้ ราชการรายอื่นต่อไป. การใช้ยา โดยใช้ยาในขนาดท่ีเหมาะสมกับ การใชพ้ นื้ ทีห่ ลังฝังกลบ น. การใช้ประโยชน์จาก ผู้ป่วยในแต่ละกรณี ด้วยวิธีการให้ยา พืน้ ที่เมอ่ื ฝังกลบขยะเต็มแลว้ . (อ. afteruse). และความถ่ีในการให้ยาท่ีถูกต้องตามหลัก การใช้ยาในทางท่ีผิด น. การใช้ยาผิด เภสัชวิทยาคลินิก ด้วยระยะเวลาการรักษา วัตถุประสงค์ เป็นการใช้ยาท่ีไม่ถูกต้องหรือ ที่เหมาะสม ผู้ป่วยให้การยอมรับ และ ไมม่ ีขอ้ บง่ ใชท้ างการแพทย์ ผลของการกระท�ำ สามารถใช้ยาดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและ ดังกล่าวจะก่อให้เกิดปัญหาทางร่างกาย ต่อเนื่อง กองทุนในระบบประกันสุขภาพ ทางครอบครัว ทางสังคม และทางกฎหมาย หรือระบบสวัสดิการสามารถให้เบิกจ่ายค่า ตัวอย่างเช่น ยาในกลุ่มมอร์ฟีนซึ่งเป็นยา ยาน้ันได้อย่างยั่งยืน เป็นการใช้ยาท่ีไม่เลือก บรรเทาปวดขั้นรุนแรง แต่ถูกน�ำไปใช้ ปฏิบัติ เพ่ือให้ผู้ป่วยทุกคนสามารถใช้ยาน้ัน เพื่อหวังผลให้เกิดภาวะเคลิ้มสุข ท�ำให้เกิด ได้อย่างเท่าเทียมกันและไม่ถูกปฏิเสธยา การเสพตดิ . (อ. drug abuse). ทสี่ มควรได้รบั . การใช้แรงงานเด็กในรูปแบบท่ีเลวร้าย (กฎ) น. ๑. รูปแบบหรือแนวปฏิบัติท่ีคล้ายกับ การใช้ทาส เช่น การคา้ การซ้ือ การขายเด็ก แรงงานขัดหนี้ แรงงานไพร่ติดท่ีดิน แรงงาน 38 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การด�ำเนินการทางวินยั บงั คับ หรอื เรียกเกณฑ์ ซง่ึ รวมถึงการบังคับ เจตนารมณ์ของหลักสูตรท่ีวางแผนไว้. (อ. หรือเรียกเกณฑ์เด็กเพ่ือใช้ในการสู้รบ. curriculum implement). ๒. การใช้ จัดหา หรือเสนอเด็กเพ่ือการค้า การซ้อมแผนสอบสวนโรค น. การฝึกซ้อม ประเวณี เพอื่ การผลติ สอ่ื ลามก หรือเพือ่ การ การออกสอบสวนโรคจริง โดยสมมุติเหตกุ ารณ์ แสดงลามก. ๓. การใช้ จัดหา หรือเสนอเดก็ ที่มีการระบาดของโรคหรือภัยในพ้ืนท่ี เพื่อ เพื่อกิจกรรมท่ีผิดกฎหมาย โดยเฉพาะเพ่อื การ ตรวจสอบความพร้อมด้านทีมงาน วัสดุ ผลิตและขนส่งยาเสพติดตามท่ีนิยามไว้ใน อุปกรณ์ ยานพาหนะ งบประมาณ และ สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง. เทคนคิ ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน ในที่น้ีเปน็ การ ๔. งานซ่ึงโดยลักษณะของงาน หรือโดย ฝึกซ้อมด้านเทคนิคเฉพาะทีมเฝ้าระวัง สภาพแวดล้อมในการท�ำงานมีแนวโน้มท่ีจะ สอบสวนเคลื่อนท่ีเร็ว [Surveillance and เปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพ ความปลอดภัย หรอื Rapid Response Team (SRRT)] ไมใ่ ชซ่ อ้ ม ศีลธรรมของเด็ก “งานอนั ตราย” ตอ้ งเป็นไป แผนรบั การระบาดของโรค ซง่ึ ต้องรว่ มกันทุก ตามข้อก�ำหนดทางกฎหมายของแต่ละประเทศ ภาคสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ ง. ที่จะระบุว่างานใดเป็นงานอันตราย ที่ห้าม การด�ำเนินการแก้ไขเพื่อความปลอดภัยในการ เด็กอายตุ ่�ำกว่า ๑๘ ปีทำ� ซงึ่ ประเทศไทยได้ ใชเ้ ครื่องมอื แพทย ์ น. การด�ำเนินการใด ๆ จัดท�ำประกาศคณะกรรมการระดับชาติ ทีก่ �ำหนดโดยเจา้ ของผลิตภณั ฑ์ เพื่อลดความ เพ่ือขจัดการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย เสี่ยงจากภาวะคุกคามทางสาธารณสุขอย่าง เรื่อง ประเภทงาน อันตรายส�ำหรับแรงงาน ร้ายแรง หรือความเส่ียงของผู้บริโภคจาก เด็กในรูปแบบที่เลวร้ายของประเทศไทย การเสียชีวิตหรือเกิดอันตรายร้ายแรงจาก โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานลงนาม การใช้เคร่ืองมือแพทย์. (อ. field safety เม่อื วนั ท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕. corrective action). การใช้สุราและโรคที่เกิดจากการใช้สุรา น. การด�ำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับ ภาวะที่ประกอบไปด้วยโรคท่ีเกิดจากการใช้ หน่วยงานสู่ระดับบุคคล น. การถ่ายทอด สุราในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ภาวะเป็นพิษ ตัวชี้วัดและเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ เฉียบพลันจากการใช้สุราหรือภาวะเมาสุรา ระดับบุคคล โดยมีวิธีการและกระบวนการ (acute alcohol intoxication) ภาวะการใช้ ถ่ายทอดอยา่ งเป็นระบบ และนำ� ผลการประเมิน สุราในระดับท่ีเป็นอันตราย (harmful รายบุคคลไปใช้ประกอบการพิจารณาขึ้น alcohol use) ภาวะติดสุรา (alcohol เงินเดือนหรอื คา่ จ้าง. dependence syndrome) และภาวะ ขาดสรุ า (alcohol withdrawal state). การใช้หลักสูตร น. การน�ำหลักสูตรไปสู่ การด�ำเนินการทางวินัย น. การด�ำเนินการ การปฏิบัติ กล่าวคือการน�ำหลักสูตรไปใช้ ท้ังหลายท่ีกระท�ำเป็นพิธีการตามกฎหมาย ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา เมื่อเจ้าหน้าท่ีมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระท�ำผิด หรือสภาพการณ์จริง เพื่อให้เป็นไปตาม กระทรวงสาธารณสขุ 39
การดำ� เนนิ งาน วินัย ได้แก่ การสืบสวนหรือสอบสวน ทางสังคมที่เช่ือว่าคนพิการควรได้รับสิทธิ การพิจารณาความผิดและก�ำหนดโทษ ความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่น การสงั่ ลงโทษหรอื งดโทษ การด�ำเนินการตา่ ง ๆ เดียวกับผู้ท่ีไม่พิการ น่ันหมายถึงเป็นการ ระหว่างการสอบสวนพิจารณาความผิด เช่น จัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มี ส่ังพักราชการหรอื สั่งใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น. ความเป็นอิสระมากท่ีสุด โดยให้คนพิการได้ การด�ำเนนิ งาน (กฎ) น. การบริหารจัดการ การ เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ใน ใช้ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ชุมชน. (อ. independent living). และประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษา การดื้อยา น. การลดลงของประสทิ ธภิ าพยา. ทรพั ย์สนิ การปอ้ งกัน หรือลดความผิดพลาด การดูดซับ น. การเกาะของโมเลกุลหรอื อะตอม ความเสยี หาย การรว่ั ไหล การสนิ้ เปลือง หรอื ของส่ิงถูกดูดซับ (adsorbate) ท่ีเป็นแก๊ส การทุจริตของหน่วยรับตรวจ. (อ. operation). หรือของเหลวบนผิวหรือในรูพรุนของสาร การด�ำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ น. ดูดซับ (adsorbent) ท่ีเป็นของแข็งหรือ การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของ ของเหลว ตัวอย่างเช่น ถ่านกัมมันต์ดูดซับ โรงเรียนและชุมชนทุกมิติในด้านสุขภาพและ ชวี พษิ ในทางเดินอาหาร. (อ. adsorption). ส่ิงแวดล้อม โดยการปลูกฝังทัศนคติ ฝึก การดูดซมึ ยา น. การผา่ นของยาจากตาํ แหนง่ ที่ ทักษะและพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม ให้ยาเข้าสู่กระแสเลือด เช่น ยากินต้องผ่าน เพ่ือน�ำความรู้ และทักษะด้านสุขภาพมา ผนังลําไส้ ยาทาผิวหนังต้องผ่านชั้นผิวหนัง ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันไปดูแลใส่ใจ จงึ จะเขา้ ส่กู ระแสเลือดได้ ยาทีเ่ ขา้ สู่กระแสเลอื ด สขุ ภาพของตนเองและผู้อน่ื รวมทั้งใชต้ ัดสนิ ใจ เท่าน้ันจึงจะออกฤทธ์ิในร่างกายได้ ส่วนยา ในการควบคุมสภาวการณ์ท่ีมีผลกระทบต่อ ท่ีไม่ถูกดูดซึมจะออกฤทธ์ิเฉพาะบริเวณท่ีให้ยา. สุขภาพได้ ซ่ึงจะส่งผลให้มีสุขภาพกายและ (อ. drug absorption). สุขภาพจิตท่ีดี อยู่ในส่ิงแวดล้อมท่ีสะอาด การดูดด้วยสุญญากาศ น. การน�ำของเหลว และปลอดภยั . หรือสิ่งคัดหลั่งออกจากท่อหรือโพรงโดยใช้ การด�ำเนินงานอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล สญุ ญากาศ. (อ. suctioning). น. การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใน การดูแล น. การเอาใจใส่ให้เป็นไปด้วยดี เช่น การท�ำงานให้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ใน ครูพูดคุยให้ค�ำปรึกษาเบ้ืองต้นกับนักเรียน โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล ซึ่งเป็น เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การช่วยเหลือ ผู้ประกอบอาชีพในสถานที่ปฏิบัติงานท่ี ทางสงั คมและอนื่ ๆ ภายหลงั ท่ีคดั กรองแล้ว เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ พบว่าเกินความสามารถ อาจส่งต่อเพื่อรับ การพยาบาล การสาธารณสุข. บรกิ ารดูแลตอ่ เนอื่ งหรือพบผู้เชย่ี วชาญ. การดำ� รงชีวิตอิสระ น. แนวคิดการเคล่อื นไหว 40 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การดแู ลผ้ปู ว่ ยทีบ่ า้ น การดูแลโดยมุ่งผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง น. การ และความปลอดภยั ของตนเอง การจะปฏบิ ัติ ให้การดูแลโดยยึดหลัก ๘ ประการ คือ กิจกรรมได้ บุคคลจะต้องมี ๑) สติปัญญา ๑) นับถือค่านิยม ความชอบ และความ ที่จะรับและแสวงหาความรู้ข้อมูลข่าวสาร ต้องการของผู้ป่วย ๒) การประสานและ และใชข้ ้อมูลข่าวสารอย่างชาญฉลาด ในการ การบูรณาการการดแู ล ๓) การให้ขอ้ มลู และ วิเคราะห์และตัดสินใจ เลือกกิจกรรมการ ความรู้เกีย่ วกับความเจบ็ ปว่ ยและการดำ� เนิน ดูแลตนเองให้สอดคล้องกับประสบการณ์ ของโรค กระบวนการดูแล และข้อมูลท่ีจะ ขนบธรรมเนยี ม และวฒั นธรรม และ ๒) ตอ้ ง ท�ำให้ผู้ป่วยสามารถดูแลและสร้างเสริม มีความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหว สุขภาพตนเอง ๔) การดูแลความสุขสบาย เพ่ือปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีต้ังใจไว้. (อ. self โดยการลดความปวด การช่วยเหลือใน care). กิจวัตรประจ�ำวัน และการดูแลส่ิงแวดล้อม การดูแลตอ่ เนือ่ ง น. กระบวนการการประเมิน ให้สะอาด ปลอดภัย ๕) การสนับสนุน การวางแผน การประสานงาน และการบูรณาการ ทางด้านอารมณ์ การลดความกลัวและ ร่วมมือกันดูแล เพื่อสนองความต้องการ ความวิตกกังวลเก่ียวกับโรค การรักษา และ การดูแลสุขภาพและปัญหาของผู้รับบริการ การพยากรณโ์ รค ผลกระทบจากความเจบ็ ป่วย อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเช่อื มโยงกัน ตั้งแตโ่ รงพยาบาล ต่อตนเองและครอบครัว ๖) การมีส่วนร่วม ถึงบ้าน เพ่ือให้ผู้รับบริการมีความพร้อมดูแล ของครอบครัวและเพ่ือนสนิทในการตัดสินใจ ตนเองตามสภาพปัญหาความเจ็บป่วย เพ่ือ สนับสนุนและค�ำนึงถึงความต้องการของ ให้กลับไปใชช้ ีวิตทบ่ี ้านโดยลดภาวะพ่ึงพงิ . บุคคลใกล้ชิดเหล่าน้ี ๗) การดูแลต่อเน่ือง การดูแลแบบประคับประคอง น. วิธีการดูแล ในระยะเปลี่ยนผ่าน โดยการให้ข้อมูลผู้ป่วย ที่เป็นการเพ่ิมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยระยะ ให้เข้าใจรายละเอียดเกี่ยวกับยา ข้อจ�ำกัด สุ ด ท ้ า ย ที่ ป ่ ว ย ด ้ ว ย โ ร ค คุ ก ค า ม ต ่ อ ชี วิ ต ทางด้านร่างกาย อาหาร การเข้าถึงบริการ เป็นการดูแลที่ไม่ได้มุ่งรักษาโรคแต่เน้นการ ทั้งทางด้านสุขภาพ สังคม และการเงิน ป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่าง ๆ การประสานการดูแลท่ีจะต้องกระท�ำอย่าง ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและครอบครัว ด้วยการ ต่อเนื่องหลงั จ�ำหนา่ ย ๘) การใหข้ ้อมูลแหล่ง เข้าไปดูแลปัญหาสุขภาพที่เกิดโรคต้ังแต่ บริการใกล้บ้านที่สามารถเข้าถึงได้เมื่อต้องการ ระยะแรก ๆ รวมทั้งการประเมินปัญหา ข้อมูลการเดินทางหรือรถบริการในชุมชน สุขภาพท้ังทางด้าน กาย ใจ ปัญญา และ การนัดที่สะดวกเมื่อต้องการเข้าถึงผู้เช่ียวชาญ สงั คมอยา่ งละเอยี ดครบถว้ น. (อ. palliative หรือบริการที่เฉพาะเมื่อต้องส่งต่อ ข้อมูล care). ที่ชัดเจนเก่ียวกับปัญหาสุขภาพท่ีจ�ำเป็นต้อง การดแู ลผู้ป่วยที่บา้ น น. การดูแลผปู้ ่วยเพอื่ ให้ ส่งต่อ และวธิ กี ารส่งต่อ. [อ. patients center ได้รับการดูแลต่อเนื่องจากโรงพยาบาล care (PCC)]. โดยใช้บ้านแต่ละหลังเสมือนเป็นเตียงผู้ป่วย ในโรงพยาบาล ผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นผู้ป่วยท่ีมี การดูแลตนเอง น. การปฏิบัติในกิจกรรม ที่บุคคลริเริ่มและกระท�ำด้วยความจงใจ โดยมีเป้าหมายเพ่ือรักษาไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 41
การดแู ลผปู้ ่วยระยะกลาง ปัญหาสุขภาพซับซ้อน ต้องการการดูแลจาก ให้ผู้ป่วยเผชิญความตายอย่างสงบ และ ผู้ประกอบวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง เช่น ผู้ป่วย การดูแลหลังความตาย รวมถึงการดูแล โรคเร้ือรัง โรคไต อัมพาต ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ครอบครวั . (อ. end of life care). ผู้ป่วยวาระสุดท้าย ฯลฯ การดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้สูงอายุระยะกลาง น. การดูแล ท่ีบ้านเป็นการพัฒนาศักยภาพการดูแล ผู้สูงอายุ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของการ สุขภาพตนเองของผู้ป่วยและครอบครัวให้ เจ็บป่วย ลดภาวะทพุ พลภาพ และภาวะพ่งึ พิง ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน การฟื้นหาย และการดูแลแบบประคับประคองระยะท้าย หรือทุเลาจากความเจ็บป่วย มีสุขภาวะที่ดี ในชีวิต ซ่ึงเป็นการดูแลแบบองค์รวม ท่ีสุดตามศักยภาพท่ีมีอยู่ และ/หรือสร้าง ครอบคลุมมิติท้ังกาย ใจ ปัญญา และสังคม ความอบอุ่นในครอบครัว ช่วยให้ครอบครัว ของผู้ปว่ ย. มีโอกาสดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เตรียม การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว น. การดูแลที่ ความพร้อมสมาชิกเมื่อต้องสูญเสียบุคคล ครอบคลุมทุกมิตทิ างสงั คม สขุ ภาพ เศรษฐกจิ ในครอบครัว. (อ. home ward). และสภาพแวดลอ้ ม ส�ำหรบั ผู้สงู อายทุ ปี่ ระสบ การดแู ลผ้ปู ่วยระยะกลาง น. การดแู ลผู้ปว่ ยท่ี ภาวะยากล�ำบากอันเน่ืองมาจากการเจ็บป่วย มีอาการทางคลินิกผ่านพ้นภาวะวิกฤติและมี เรื้อรังหรือมีความพิการทุพพลภาพ ช่วยเหลือ อาการคงที่ แต่ยังคงมีความผิดปรกติของ ตนเองไดบ้ างสว่ น หรือไมส่ ามารถช่วยตนเอง ร่างกายบางส่วนอยู่ และมีข้อจ�ำกัดในการ ได้ในชีวติ ประจ�ำวนั โดยผูด้ ูแลที่เป็นทางการ ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน จ�ำเป็นต้อง ได้แก่ บุคลากรด้านสุขภาพและสังคม และ ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ไม่เปน็ ทางการ ได้แก่ ครอบครัว เพอ่ื น เพอ่ื น โดยทีมสหวิชาชีพ (multidisciplinary บ้าน รวมถึงการบริการในครอบครัว ชุมชน approach) อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ใน หรือสถานบรกิ าร. โรงพยาบาลจนถึงชุมชน เพ่ือเพิ่มสมรรถนะ การดูแลระยะเปลย่ี นผ่าน น. การดูแลทจ่ี ดั ให้ ร่างกายและจิตใจในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน ส�ำหรับบุคคลและครอบครัวหรือผู้ป่วยที่มี และลดความพิการหรือภาวะทุพพลภาพ ปัญหา มีความต้องการด้านสุขภาพซับซ้อน ให้กลับสู่สังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ. (อ. ต้องการความต่อเน่ืองในการดูแล เมื่อต้อง intermediate care). ย้ายจากสถานพยาบาลหน่ึงไปสู่อีกที่หนึ่ง การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย น. กระบวนการ หรือจากโรงพยาบาลส่บู า้ น หรือสูส่ ถานดแู ล ดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องต้ังแต่เร่ิมวินิจฉัยว่า ระยะยาว โดยมีการติดต่อส่อื สาร แลกเปลย่ี น ผู้ป่วยเป็นโรคระยะสุดท้าย จนกระท่ังผู้ป่วย ข้อมูล มีแผนการดูแลและแผนการจ�ำหน่าย เสยี ชวี ติ เพ่อื ใหผ้ ู้ปว่ ยระยะสุดท้ายตายอยา่ ง ระหว่างทีมผู้ดูแล ผู้ป่วย และครอบครัว มีคุณภาพ ในสภาพท่ีตนเองต้องการและ โดยใหผ้ ปู้ ่วยมีบทบาทส�ำคัญ (role mastery) ได้รับการปฏิบัติด้วยความเคารพอย่างท่ีมนุษย์ เพื่อให้เกิดการดูแลต่อเนื่อง ปลอดภัย พึงได้รับ มี ๔ ระยะ คือ การรักษาเฉพาะโรค ลดการเขา้ รบั การรกั ษาซำ�้ . (อ. transitional การรักษาแบบประคับประคอง การดูแล 42 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การตกตะกอน care). การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม น. การด�ำเนิน การดแู ลระยะยาว น. การจัดบรกิ ารที่หลากหลาย การให้มนุษย์มีสุขภาวะท่ีดีทั้งร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม. เพ่ือตอบสนองความต้องการทางด้านสุขภาพ หรอื การดูแลส่วนบคุ คล ทง้ั ในระยะเวลาสั้น ๆ การดูแลสุขภาพระยะยาว น. การช่วยเหลือ หรือระยะยาว ซึง่ จะชว่ ยให้บคุ คลท่ไี มส่ ามารถ ครอบครัวอย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพ ท�ำกิจวัตรประจ�ำวันได้ด้วยตนเอง ด�ำรงชีวิต กลุ่มผู้มีภาวะพ่ึงพิงหรือผู้ป่วยที่มีปัญหา อยู่ได้อย่างเป็นอิสระและปลอดภัยเท่าที่เป็น สุขภาพเรื้อรังและมีข้อจ�ำกัดในการดูแล ไปได.้ ตนเอง เชน่ อัมพฤกษ์ อมั พาต ความจำ� เส่อื ม การดูแลสุขภาพเกษตรกรแบบครบวงจร น. อุบตั ิเหตุ รวมถึงผสู้ ูงอายุ คนพิการ ใหส้ ามารถ การดูแลสุขภาพเกษตรกรอย่างเป็นองค์รวม ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้มากทส่ี ุด ทัง้ กาย จติ ปัญญา ในทกุ มติ ิ เชอ่ื มโยงทัง้ ร่างกาย จติ ใจ ครอบครัว และสงั คม โดยใหช้ ุมชนและสังคมมีส่วนร่วม. สังคม สภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ควบคกู่ ับ (อ. long term care). การดูแลแบบผสมผสานในด้านการส่งเสริม สุขภาพ การปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภัยทีเ่ กดิ การดูแลอย่างเอื้ออาทร น. การแสดงความ จากการท�ำงาน การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพ สมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลตอ่ บคุ คล และระหว่าง การรกั ษาพยาบาลเบ้ืองต้น การฟ้ืนฟสู ขุ ภาพ บุคคลต่อสรรพส่ิง ด้วยความเมตตา อาทร การประสานสร้างความร่วมมือกับเครือข่าย ความสนใจและความเอาใจใส่ อนั เปน็ พ้ืนฐาน ท่ีเกีย่ วขอ้ ง เช่น องค์การบริหารส่วนตำ� บล (อบต.) การด�ำรงอยู่ของชีวติ และสรรพสิง่ เปน็ การดูแล เกษตรต�ำบลรวมถึงชุมชนและครอบครัว ที่ลงถึงมิตริ ะดับจติ วิญญาณ. เพือ่ ใหม้ สี ว่ นร่วมในการดูแลสขุ ภาพเกษตรกร. การดูแลสุขภาพท่ีบ้าน น. การดูแลสุขภาพ การได้รับการรักษา น. การเข้ารับบริการท่ี อนามัยต่อเนื่องที่บ้าน โดยบุคลากรทีม หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการเอกชน สขุ ภาพสหสาขาวิชาชีพ เป็นการบริการแบบ โดยใช้สิทธิประโยชน์ในระบบต่าง ๆ หรือ เบ็ดเสร็จและองค์รวม ท้ังกาย จิต สังคม จา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาลเอง. (อ. treat). และส่ิงแวดล้อม โดยค�ำนึงถึงความต้องการ ของผู้ป่วยและครอบครัว สนับสนุนให้ผู้ป่วย การตกไข่ น. กระบวนการท่ีไข่ซ่ึงเจริญเต็มท่ี และครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการวางแผน เคล่ือนออกมาจากรังไข่เพ่ือเตรียมรับการผสม การดูแลสุขภาพ จนสามารถดูแลตนเองได้ จากตวั อสจุ ิ. (อ. ovulation). ตามศักยภาพ กิจกรรมประกอบด้วยการ รกั ษาพยาบาลเบ้อื งต้น การสร้างเสริมสุขภาพ การตกตะกอน น. การแยกของแข็งทแ่ี ขวนลอย การป้องกันโรค การเฝ้าระวังติดตามภาวะ อยู่ในของเหลวโดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก แทรกซ้อน การฟื้นฟูสภาพ เป็นการดูแล เกิดข้ึนเมื่ออนุภาคของของแข็งมีความหนา ทั้งระยะเจบ็ ป่วยและระยะสุดท้าย. แน่นมากกว่าของเหลว. กระทรวงสาธารณสุข 43
การตรวจกำ� ลังกลา้ มเนือ้ ดว้ ยมอื การตรวจก�ำลังกล้ามเน้ือด้วยมือ น. วิธีการ การตรวจประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ ประเมนิ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื ทีน่ ิยมใช้ ทางการแพทย์ น. กระบวนการตรวจประเมนิ กันท่ัวไปทางคลินิก โดยอาศัยแรงโน้มถ่วง ตนเอง (self assessment) ของห้องปฏบิ ัติการ ของโลกและแรงต้านจากภายนอกเป็นเกณฑ์ ทางการแพทย์ โดยเครอื ข่ายในจงั หวดั หรอื เขต ในการแบ่งระดับความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ และประเมินผลการตรวจประเมิน โดยนิเทศงาน โดยวิธีนี้ผู้ตรวจต้องทราบแนวการวางตัว จากศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ได้รับ ของกลุ่มกล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะ มอบหมายในเขตบรกิ ารสขุ ภาพทรี่ บั ผดิ ชอบ. ปลาย ใช้มากในผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง. (อ. manual muscle testing). การตรวจปริมาณเช้อื จลุ นิ ทรยี ์ น. การทดสอบ หาปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดและการทดสอบ การตรวจตราการวิจยั น. การตรวจอยา่ งเปน็ หาปริมาณรวมของยีสต์และราท่ีเจริญ ทางการของหน่วยงานควบคุมระเบียบ ในสภาวะที่มีอากาศส�ำหรับเภสัชภัณฑ์ กฎหมาย โดยตรวจทั้งเอกสาร สถานท่ี ไมป่ ราศจากเช้อื . (อ. microbial enumeration บันทึก ข้อมูลและส่ิงอ่ืน ๆ ที่หน่วยงาน test). ควบคุมระเบียบกฎหมายพิจารณาเห็นว่า เกย่ี วข้องกับการวจิ ยั ซึ่งอาจจะอยู่ ณ สถาน การตรวจฟันทางนิติเวชศาสตร์ น. วิชาหนึ่ง ท่ีวิจัย หรือที่ท�ำการของผู้ให้ทุนวิจัยและ/ ของวิชาทันตแพทย์ในเรื่องของการตรวจฟัน หรือท่ีองค์กรที่รับท�ำวิจัยตามสัญญา หรือ เพื่อพิสูจน์ตัวบุคคลโดยเปรียบเทียบการบันทึก สถานที่อื่น ๆ ตามท่ีหน่วยงานควบคุม ของฟันขณะท่ีมีชีวิตอยู่กับลักษณะฟันของ ระเบียบกฎหมายเห็นสมควร. คนตาย โดยเฉพาะในรายท่เี นา่ มาก ๆ ศพที่พบ ในกองเพลิงหรือเครื่องบินตกแล้วมีเพลิง การตรวจทาน น. การยนื ยันความจรงิ ความถูก ลกุ ไหม้. (อ. forensic odontology). ต้อง ความแม่นย�ำ ความสมเหตุสมผล หรือ ความเชื่อถือได้ โดยการหาหลักฐานยืนยัน การตรวจร่างกาย น. ขั้นตอนหน่ึงท่ีแพทย์ กบั ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ีปรากฏอย่.ู ปฏิบัติเพ่ือใช้ในการวินิจฉัยโรค แพทย์จะ บันทึกผลท่ีได้ไว้ในเวชระเบียนเสมอ เพราะ การตรวจทานรายการผิดปรกติ น. การตรวจ เป็นข้อมูลส�ำคัญท่ีจะช่วยวินิจฉัยโรค ช่วย จากรายการท่ีผิดปรกติจากรายการอ่ืน ๆ ประเมินวิธีรักษา ช่วยติดตามผลการรักษา ซ่ึงอาจพบขอ้ ผดิ พลาดทส่ี �ำคัญ. เพ่ือให้ดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม. (อ. medical examination). การตรวจนับ น. การพิสูจน์จ�ำนวนและสภาพ ของสิ่งของท่ีตรวจนับว่ามีอยู่ครบถ้วนตามที่ การตรวจราชการ น. การตรวจ ติดตามผล บันทึกไว้หรือไม่ สภาพเป็นอย่างไร การเก็บ เร่งรัด แนะนำ� สบื สวน สอบสวน สอบข้อเทจ็ จริง รักษาเป็นอย่างไร. สดับรับฟังเหตุการณ์ เสนอแนะ ติดต่อ ประสานงาน ตรวจเย่ียม หรือด�ำเนนิ การอืน่ ใด 44 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การตรวจสอบการผ่านรายการ เพ่ือให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ การตรวจสอบการบรหิ าร (กฎ) น. การตรวจสอบ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐสัมฤทธ์ิผลตามนโยบาย การบริหารงานว่า มีระบบงาน การบริหาร ของรัฐบาล. จัดการเก่ียวกับการวางแผน การควบคุม การตรวจราชการและนิเทศงาน น. การตรวจเยยี่ ม การประเมินผล การปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ติดตาม แนะน�ำ รับฟงั ความคดิ เห็น ช่วยเหลอื การบริหารงบประมาณ การบริหารการเงิน สนบั สนุน การสืบสวน สอบสวนหาข้อเท็จจริง การบริหารพัสดุและทรัพย์สิน รวมทั้งการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตามความก้าวหน้า บรหิ ารงานด้านต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสมสอดคลอ้ ง ของแผนงานส�ำคัญ การวินิจฉัย สั่งการ กับภารกิจ รวมทั้งเป็นไปตามหลักการ เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากร การ บริหารงานและหลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี บรกิ ารตอ่ ประชาชนเกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ . หรอื หลกั ธรรมาภบิ าล (good governance) การตรวจวดั ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือด (กฎ) ในเรื่องความเชื่อถือ ความรับผิดชอบ น. การตรวจวัดแอลกอฮอล์ในเลือด โดยวิธี ความเป็นธรรม และความโปร่งใส. (อ. ตรวจวัดจากลมหายใจ เลือด หรือปัสสาวะ management auditing). ด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ หรือทดสอบ และอ่านค่าของแอลกอฮอล์ การตรวจสอบการปฏิบัติงาน (กฎ) น. ในเลอื ดเปน็ มลิ ลิกรัมเปอรเ์ ซ็นต.์ การตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงาน การตรวจสอบ น. การสืบสวนเรื่องใดเรอื่ งหนึ่ง ระบบงาน ตลอดจนวิธีการปฏิบัติงานของ และเฝ้าดูส่ิงใดสิ่งหนึ่งหรือคนใดคนหนึ่ง แต่ละกิจกรรมตามท่ีฝ่ายบริหารก�ำหนดไว้ อย่างใกล้ชิดและพินิจพิจารณา เพื่อให้ได้ เพื่อประเมินระบบการควบคุมภายในและ ข้อสรุปของเร่ืองนั้นอย่างถูกต้องชัดเจน. ประเมินคุณภาพของการด�ำเนินงานว่าแต่ละ (อ. examining). หน่วยงานมีระบบการควบคุมภายในท่ีดีและ การตรวจสอบการดําเนินงาน น. การตรวจสอบ การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ. ผลการดําเนินงานตามแผนงานและโครงการ (อ. operational auditing). ขององค์กร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย หรือหลักการที่กําหนด เน้นถึง การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ (กฎ) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า น. การตรวจสอบการปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ของ โดยต้องมีผลผลิตและผลลัพธ์เป็นไปตาม ส่วนราชการวา่ เปน็ ไปตามนโยบาย กฎหมาย วตั ถปุ ระสงค์หรอื เปา้ หมาย ซึ่งวัดจากตัวชว้ี ัด ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ ที่เหมาะสม ท้งั นี้ ตอ้ งคาํ นงึ ถงึ ความเพยี งพอ เกี่ยวข้อง ทั้งจากภายในและภายนอก และมปี ระสิทธภิ าพ. องคก์ ร. การตรวจสอบการผ่านรายการ น. การตรวจ สอบความถูกต้องและความครบถ้วนของ การผ่านรายการจากสมุดขั้นต้นไปบัญชีสมุด ข้ันปลาย. กระทรวงสาธารณสขุ 45
การตรวจสอบการวิจัยทางคลินิก การตรวจสอบการวจิ ยั ทางคลินิก น. การตรวจ ประสิทธผิ ล. (อ. performance auditing). สอบกิจกรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการวิจัย การตรวจสอบทางการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ตลอดจนเอกสาร ซึ่งกระท�ำอย่างเป็นระบบ และเป็นอิสระ ทั้งน้ี เพื่อดูว่ากิจกรรมการ (กฎ) น. การตรวจสอบการปฏิบตั งิ านต่าง ๆ วิจัยต่าง ๆ ที่ประเมินได้ด�ำเนินการและ ขององค์กรว่าเป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย ข้อมูลได้ถูกบันทึก วิเคราะห์ และรายงาน ระเบียบ ข้อบังคับ ค�ำส่ัง มติคณะรัฐมนตรี อยา่ งถูกต้องตามโครงร่างการวิจยั วิธดี �ำเนนิ ทเี่ กยี่ วข้องหรือท่ีก�ำหนด. (อ. compliance การมาตรฐานของผู้ให้ทุนวิจัย จีซีพี และ auditing). ข้อก�ำหนดของระเบียบกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง. การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ (กฎ) น. การตรวจสอบงานท่ีใช้ระบบสารสนเทศใน การตรวจสอบความถูกต้อง น. การตรวจสอบ การด�ำเนินงาน เพ่ือให้ทราบว่าระบบงานมี สภาวะของสิ่งใดส่ิงหนึ่งตามความเป็นจริง. ความถูกต้อง เชื่อถอื ได้ และตรวจสอบข้อมูล (อ. checking). ท่ีได้จากการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ รวมท้ังระบบการเข้าถึงข้อมูลเพื่อปรับปรุง การตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล น. แก้ไขและการเก็บรักษาความปลอดภัย การตรวจสอบรายการที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กัน ของข้อมูล. (อ. information technology ผู้ตรวจสอบจึงควรตรวจสอบรายการที่มี auditing). ความสัมพันธก์ นั ควบคู่กัน. การตรวจสอบทางการเงนิ (กฎ) น. การตรวจ การตรวจสอบบญั ชยี อ่ ยและทะเบยี น น. การ สอบความถูกต้อง เชื่อถือได้ของข้อมูล ตรวจสอบว่ายอดคงเหลือในบัญชีย่อยสัมพันธ์ รายงานทางการเงินและการด�ำเนินงาน โดย กับบัญชคี มุ . ครอบคลุมถึงการดูแลป้องกันทรัพย์สิน และ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม การตรวจสอบผลการด�ำเนินงานหรือผลการ ภายในของระบบตา่ ง ๆ วา่ มคี วามเพยี งพอที่ ปฏบิ ตั งิ าน (กฎ) น. การตรวจสอบทเ่ี น้นถงึ จะม่ันใจได้ว่า ข้อมูลที่บันทึกและปรากฏใน ผลงาน โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับ รายงาน ทะเบยี น และเอกสารตา่ ง ๆ ถกู ตอ้ ง ผลงานทเ่ี กดิ ขึน้ วา่ มปี รมิ าณเพยี งใด คณุ ภาพ และสามารถสอบทานได้ รวมทั้งสามารถ อย่างไร และผลงานท่ีได้ทันต่อการน�ำไปใช้ ป้องกนั การรั่วไหล การสูญหายของทรัพย์สนิ ให้เป็นประโยชน์หรือไม่ โดยมีผลผลิตและ ตา่ ง ๆ ได้. ผลลัพธ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย หรือมาตรฐานงานที่ก�ำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ การตรวจสอบทางการด�ำเนินงาน น. การ ซงึ่ วัดจากตัวชีว้ ัดทเ่ี หมาะสม. (อ. performance ตรวจสอบผลการด�ำเนินการทบทวนการ auditing). ปฏิบัติงานขององค์กร เพ่ือประเมินความ ประหยัด ความมีประสิทธิภาพ และความมี การตรวจสอบผา่ นรายการ น. การตรวจสอบ 46 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การตรวจสขุ ภาพ ความถูกต้องและครบถ้วนของการผ่านรายการ การให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. จากบัญชีสมุดบันทึกขั้นต้นไปยังบัญชีสมุด (อ. quality audit). บันทึกรายการขั้นปลาย. (อ. financial การตรวจสอบเวชระเบียนแบบใช้รหัส น. auditing). การตรวจสอบความสอดคล้องโดยใช้รหัสโรค การตรวจสอบพิเศษ น. การตรวจสอบในกรณี และรหัสหัตถการกับข้อมูลท่ีปรากฏอยู่ใน ได้รับมอบหมายจากฝ่ายบริหาร หรือกรณีท่ี เวชระเบียนผู้ป่วยในของหน่วยบริการ. มีการทุจริตหรือการกระท�ำที่ส่อไปในทางทุจริต (อ. coding audit). หรือประพฤติมิชอบเกิดข้ึน. (อ. special การตรวจสอบเวชระเบียนแบบบิลลิงออดิต auditing). น. การตรวจสอบการจ่ายชดเชยในรายการ การตรวจสอบภายใน (กฎ) น. กิจกรรมการ ทจี่ ่ายเพิ่มจากระบบกลุม่ วินิจฉัยโรครว่ ม เชน่ ให้ความเช่ือมั่นและการให้ค�ำปรึกษาอย่าง อุปกรณ์ข้อเข่าเทียม เครื่องช่วยฟัง รองเท้า เท่ียงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีข้ึน เบาหวาน การใส่ขดลวดหลอดเลือดหัวใจ เพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงาน โคโรนารโี ดยผ่านสายสวน ค่าใช้จ่ายผปู้ ่วยนอก ของส่วนราชการให้ดียิ่งขนึ้ การตรวจสอบภายใน ตามรายการในสิทธิพนักงานส่วนท้องถ่ิน จะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมาย (อปท.). (อ. billing audit). และวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ด้วยการประเมิน การตรวจสอบเอกสารใบสำ� คัญ น. การตรวจสอบ และปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการ เอกสารหลกั ฐานทีบ่ ันทึกไวใ้ นสมดุ บัญช.ี บริหาร ความเสี่ยง การควบคุม และ การตรวจสุขภาพ น. การตรวจสขุ ภาพของผ้ทู ่ี การก�ำกับดแู ลอย่างเปน็ ระบบ. ไมม่ อี าการ หรืออาการแสดงของการเจบ็ ป่วย การตรวจสอบระบบงานสารสนเทศ ดทู ่ี การ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการตรวจน้นั เพ่ือค้นหาปจั จัย ตรวจสอบเทคโนโลยสี ารสนเทศ. เส่ียง ภาวะผิดปรกติ หรือโรค ซ่ึงน�ำไปสู่ การตรวจสอบเวชระเบียนแบบควอลลิตีออดิต การป้องกัน เช่น การปรับพฤติกรรม น. การตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ การส่งเสริมสุขภาพของผู้ท่ีรับการตรวจ สาธารณสขุ ของหน่วยบรกิ าร ด้วยการตรวจสอบ การบ�ำบัดรักษาต้ังแต่ระยะแรก ไม่รวมถึง ความสอดคล้องของคุณภาพการให้บริการ การตรวจด้านสุขภาพของผู้ที่มาขอปรึกษาแพทย์ ของหน่วยบริการตามเงื่อนไขการจ่ายชดเชย ด้วยอาการเจ็บป่วยหรือภาวะความผิดปรกติ ในหลักเกณฑ์และประกาศส�ำนักงานหลัก อย่างใดอย่างหน่ึง และการตรวจสุขภาพ ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เปรียบ ของผูท้ มี่ โี รคหรอื ภาวะเร้ือรัง เช่น เบาหวาน เทียบกับแนวทางการปฏิบัติทางคลินิก ความดันโลหิตสูงเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อน [Clinical Practice Guideline (CPG)] ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั โรคที่เปน็ . (อ. health check). ที่ สปสช. ก�ำหนดรว่ มกับสมาคมวชิ าชีพ เชน่ กระทรวงสาธารณสุข 47
การตรวจสุขภาพตามความเสยี่ ง การตรวจสขุ ภาพตามความเสย่ี ง น. การตรวจ เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ กลุ่มเป้าหมาย สุขภาพตามลักษณะอันตรายท่ีลูกจ้างได้รับ อาจเข้ารับบริการท่ี ๑) หน่วยบริการภาครัฐ หรือเกยี่ วขอ้ งขณะปฏิบัติงาน. ๒) หน่วยบริการเอกชน ได้แก่ โรงพยาบาล หรือคลินิกเอกชน ๓) หน่วยบริการภาค การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสม น. ประชาสังคม ได้แก่ ศูนย์บริการชุมชน การตรวจสุขภาพอย่างสมเหตุสมผลตาม ๔) หน่วยบริการเคลื่อนที่ จัดโดยภาครัฐ หลักวิชาการโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการ เอกชน หรอื ภาคประชาสังคม. (อ. HIV test). แพทย์และสาธารณสุขท่ีได้รับมอบหมาย การตอกเสน้ (พบ.) น. การน�ำอุปกรณล์ กั ษณะ ท่ีมุ่งเน้นการสัมภาษณ์ประวัติท่ีเกี่ยวข้อง คล้ายสิ่วและค้อนท่ีท�ำด้วยไม้ (ไม้มะขาม กับสุขภาพและการตรวจร่างกาย ส่วนการ หรือไม้ที่ถูกฟ้าผ่า) มาตอกตามเส้นเอ็น ตรวจทางห้องปฏิบัติการจะท�ำเฉพาะรายที่มี หรืออวัยวะต่าง ๆ ท่ีมีอาการ ให้เกิดการ ข้อมูลหลักฐานที่บ่งช้ีแล้วว่ามีประโยชน์คุ้ม สั่นสะเทือนเพื่อกระตุ้นระบบการไหลเวียน ค่าแก่การตรวจ เพื่อค้นหาโรคและปัจจัย โลหิต กล้ามเน้ือ และเสน้ เอ็น นิยมใช้รว่ มกับ เสี่ยงต่อการเกิดโรคและน�ำไปสู่การป้องกัน น้�ำมนั สมนุ ไพร วธิ กี ารนเ้ี ป็นภูมปิ ญั ญาล้านนา การสร้างเสริมสุขภาพ และการบ�ำบัดรักษา ใช้ในการรักษาโรคกระดูก กล้ามเน้ือ และ อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม. โรคเกีย่ วกบั เสน้ เอน็ . การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน น. การด�ำเนินการ การตรวจสุขภาพนักเรียน น. การให้บริการ ทุกวิถีทางของทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินท่ีจะ โดยครูหรือบุคลากรสาธารณสุข ซึ่งเป็น ให้การช่วยเหลือ และบรรเทาความเสียหาย บริการข้ันพื้นฐานที่เด็กทุกคนควรได้รับตาม ต่อสุขภาพของคนในพ้ืนที่ประสบภัยเม่ือเกิด ชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพ ภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งด�ำเนินการป้องกัน ถ้วนหนา้ . ควบคุมโรคระบาดหรือผลแทรกซ้อนอื่นท่ี อาจเกิดตามหลังภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินด้วย. การตรวจเอกซเ์ รย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ น. (อ. emergency response). การตรวจทางกายวิภาคและสรีรวิทยา การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข น. ภายในร่างกาย โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและ การด�ำเนนิ การตา่ ง ๆ หลงั จากเกิดเหตกุ ารณ์ สร้างภาพเหมือนจริงด้วยคอมพิวเตอร์เป็น เกดิ ภาวะฉกุ เฉนิ หรอื สถานการณ์รนุ แรงจาก ภาพสามมิติที่มีรายละเอียดและความคมชัด โรคและภัยสุขภาพ เพ่ือหยุดย้ังและ/หรือลด สูง ภาพที่ได้จึงจะชัดเจนกว่าเอกซเรย์ ผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินให้เหตุการณ์ คอมพิวเตอร์ท�ำให้แพทย์สามารถตรวจวินิจฉัย กลับสู่ภาวะปรกติในระยะเวลาที่สั้นที่สุด. ความผิดปรกติในร่างกายได้อย่างแม่นย�ำ [อ. public health emergency response ไม่มีอันตรายจากรังสีตกค้าง. [อ. magnetic (PHER)]. resonance tomography (MRT)]. การตรวจเอชไอวี น. การตรวจหาเชื้อไวรัสท่ี 48 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การติดเชื้อของแผลไฟไหม-้ น�้ำร้อนลวก การตอบสนองทางภมู คิ ุ้มกัน น. กระบวนการ การตายของทารก น. การตายของทารก ที่สัตว์จะสร้างโปรตีนหรือภูมิคุ้มกันที่ไปท�ำ ท่มี อี ายตุ ำ�่ ว่า ๑ ป.ี (อ. infant mortality). ปฏิกิริยาจ�ำเพาะต่อเซลล์เพื่อไปตอบสนอง ตอ่ สารแปลกปลอม. การตายของทารกแรกเกดิ น. การตายของทารก ภายใน ๒๘ วันหลังคลอด. (อ. neonatal การตั้งครรภ์แทน (กฎ) น. การตั้งครรภ์ mortality). โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ทางการแพทย์ กระท�ำโดยผูป้ ระกอบวิชาชีพ การตายคลอด ดู การเกดิ ไร้ชพี . เวชกรรมท่ีให้บริการด้านเทคโนโลยีช่วย การตายโดยผิดธรรมชาต ิ น. การที่บุคคลถึงแก่ การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ โดยหญิงที่รับ ตั้งครรภ์แทนมีข้อตกลงเป็นหนังสือไว้กับ ความตายด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยเหตุ สามีและภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมายก่อน ต่อไปนี้ ฆ่าตัวตาย ถูกผู้อื่นทำ� ให้ตาย ถูกสัตว์ ต้ังครรภ์ว่าจะให้ทารกในครรภ์เป็นบุตรของสามี ท�ำร้ายตาย ตายด้วยอุบัติเหตุ ตายโดย และภรรยาท่ีชอบด้วยกฎหมายน้ัน โดยจะ ไม่ทราบสาเหต.ุ ต้องได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการให้มีการต้ังครรภ์ การตายปริก�ำเนิด ดู การเกิดไร้ชพี . แทนเป็นราย ๆ ไปจากคณะกรรมการคมุ้ ครอง การตายมารดา น. การตายของหญิงขณะตงั้ ครรภ์ เด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญ คลอด หรือภายใน ๔๒ วัน หลังสิ้นสุด พันธทุ์ างการแพทย.์ การต้ังครรภ์ไม่ว่าอายุครรภ์จะเป็นเท่าใด หรือการตั้งครรภ์ท่ีต�ำแหน่งใด จากสาเหตุ การตัง้ ครรภน์ อกมดลกู น. การทไี่ ขป่ ฏิสนธิกับ ท่ีเก่ียวข้องหรือก่อให้เกิดความรุนแรงจาก ตัวอสุจิที่ท่อน�ำไข่ ฝังตัวอยู่บริเวณอื่น ๆ ที่ การต้ังครรภ์ และ/หรือการดูแลรักษาขณะ ไม่ใชใ่ นโพรงมดลกู ทารกจงึ ไม่สามารถมีชีวติ ต้ังครรภ์และคลอด แต่ไม่ใช่จากอุบัติเหตุ รอดได้. (อ. ectopic pregnancy). หรือสาเหตุท่ีไม่เกี่ยวข้อง. (อ. maternal mortality). การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ น. การต้ังครรภ์ การติดเชื้อ น. การเจริญของส่ิงมีชีวิตอื่นบน ท่ีเกิดขึ้นเม่ือสตรียังไม่ต้องการให้มีการตั้งครรภ์ รา่ งกายของตวั ใหอ้ าศัยซง่ึ กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย เกิดข้ึน และสตรีตั้งครรภ์น้ันมีทัศนคติที่ไม่ดี หรือเกดิ โรคได้. ตอ่ การตั้งครรภ์ของตนทันทที ่ีทราบว่าตง้ั ครรภ.์ การตดั โอนต�ำแหน่ง ดู การเกลี่ยอตั ราก�ำลัง. การตายของเด็กอายตุ ำ�่ กว่า ๕ ป ี น. การตาย การติดเช้ือของแผลไฟไหม้-น้�ำร้อนลวก น. ของเดก็ ท่มี อี ายุ ๐-๔ ป.ี (อ. mortality of อาการบวม มีหนองรอบแผลไฟไหม้-น�้ำร้อน children under 5 years). ลวก การเพาะเช้ือโดยการป้ายหนองจาก แผลน้ัน อาจได้เช้ือก่อโรคหรือเชื้อไม่ก่อโรค กระทรวงสาธารณสุข 49
การตดิ เชอื้ จากอาหาร กไ็ ด้ ในรายทีม่ ีไข้ หากอาการรนุ แรงอาจช็อกได้. การติดเช้ือหลังคลอด น. การติดเชื้อในระบบ การติดเชื้อจากอาหาร น. การเจ็บป่วยซึ่งเกิด สืบพนั ธุ์สตรีในระยะ ๖ สัปดาหแ์ รกหลังคลอด. จากการกินอาหารท่ีมีแบคทีเรียจ�ำนวนมาก การติดตาม น. การตรวจสอบ กำ� กับ ควบคมุ เข้าสู่ทางเดินอาหาร จากน้ันแบคทีเรียจึง ทบทวนว่าเป็นไปตามท่ีก�ำหนดไว้หรือไม่ แบง่ ตัวเพ่ิมข้ึนและสรา้ งสารพิษขึ้นมาก ทำ� ให้ อย่างไร มีปัญหาอุปสรรคใด เพื่อหาทาง เกิดอาการแสดง หรือตัวแบคทีเรียมีคุณสมบัติ ปรับปรุงแก้ไขได้ทัน อันจะท�ำให้โครงการ ในการบุกรุกเข้าสู่ภายในเซลล์ หรือเข้าสู่ สำ� เรจ็ ได.้ กระแสโลหิต การเกิดโรคในลักษณะนี้ระยะ ฟักตัวของโรคจะมีระยะเวลานาน. (อ. food การติดตามประเมนิ ผล (กฎ) น. ๑. กระบวนการ infection). ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและประเมิน การติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะที่ไม่มีอาการ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่ก�ำหนดไว้ น. การตดิ เช้อื ของทางเดินปัสสาวะโดยผูป้ ่วย อยา่ งตอ่ เน่ืองและสมำ�่ เสมอ โดยการตดิ ตามผล ไม่มีอาการใด ๆ แต่ผลการเพาะเช้ือจาก ในระหว่างการปฏิบัติงาน (ongoing ปัสสาวะพบเช้ือแบคทีเรียมากกว่า ๑๐๕ monitoring) และการประเมนิ ผลเป็นรายครง้ั โคโลน/ี มิลลิลติ ร. (separate evaluation) ซ่ึงแยกเป็นการ การติดเช้ือระบบทางเดินปัสสาวะในโรงพยาบาล ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (control น. การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ self assessment) เช่น การประเมินการ หลังจากท่ีอยู่ในโรงพยาบาลแล้วไม่ต่�ำกว่า ควบคุมโดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนงาน ๔๘-๗๒ ช่ัวโมง โดยอาจมีอาการหรือไม่มี น้ัน ๆ และการประเมินการควบคุมอย่าง กไ็ ด้. เป็นอิสระ (independent assessment) การติดเช้ือระบบทางเดินหายใจส่วนล่างท่ี เช่น การประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน สัมพันธ์กับการใช้เคร่ืองช่วยหายใจ น. การประเมินผลการควบคุมภายในโดย การที่ผู้ป่วยติดเช้ือท่ีปอดหลังจากการใช้ ผู้ตรวจสอบภายนอก. ๒. กระบวนการ เคร่ืองช่วยหายใจ ๔๘ ช่ัวโมง และหลังหยุด ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและประเมิน ใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจไมเ่ กิน ๗๒ ช่ัวโมง. ประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่ก�ำหนด การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างใน ไว้อย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ เพื่อให้เกิด โรงพยาบาล น. การท่ีผู้ป่วยติดเช้ือท่ีปอด ความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายใน หลังเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลนานกว่า ที่ก�ำหนดไว้มีความเพียงพอและเหมาะสม ๔๘ ชั่วโมง. มีการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในจริง ข้อบกพร่องท่ีพบได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม และทันเวลา. การตดิ ตามประเมินผล าSนI3Mแ น. การควบคมุ ก�ำกับการด�ำเนินง ละป ระเมินตาม 50 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การแตกหักของกระดกู สันหลัง แผนงาน/โครงการ ครอบคลมุ ๔ โรค ไดแ้ ก่ หากมีการเตรียมความพร้อมได้ดีจะท�ำให้ เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง หลอดเลอื ดหวั ใจ สามารถด�ำเนนิ การตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม และหลอดเลอื ดสมอง. ทั้งในช่วงก่อนเกิด ระหว่างเกิด และหลัง การติดตามผลการตรวจสอบ น. ขั้นตอน การเกิดสาธารณภัย และเพ่ิมโอกาสในการ สุดท้ายของการตรวจสอบท่ีวัดประสิทธิผล รักษาชีวิตให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์สาธารณภัย ของงานตรวจสอบ. ได้มากขนึ้ . (อ. preparedness). การติดตามผลการรักษาผู้ป่วยมาลาเรีย น. การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การเจาะเลือดผู้ป่วยเพ่ือตรวจซ้�ำในระยะ ทางสาธารณสุข น. การด�ำเนินการต่าง ๆ ๑–๓ เดือน เพือ่ ตดิ ตามผลการรกั ษาหลงั จาก เพ่ือหยุดย้ังภาวะฉุกเฉินหรือสถานการณ์ ผู้ป่วยได้รับยารักษาขั้นหายขาดแล้ว เพ่ือให้ รุนแรงจากโรคและภัยสุขภาพให้กลับสู่ มั่นใจว่าผู้ป่วยรายน้ันหายขาดจากโรค สภาวะปรกติในระยะที่สั้นท่ีสุด โดยใช้ มาลาเรยี . มาตรการที่เตรียมพร้อมรับมือกับโรคและภัย การตตี รา น. กระบวนการทางสังคมทีเ่ กย่ี วกับ สุขภาพ ท้ังการป้องกันควบคุม ยับยั้งไม่ให้ ทัศนคติความคดิ ความเชือ่ ทมี่ ีตอ่ การกระทำ� โรคและภัยสุขภาพแพร่กระจายออกไปใน หรือพฤติกรรมของบุคคลบางกลุ่มในสังคม วงกว้างได.้ [อ. public health emergency ซึ่งเป็นการเหมารวม สรุป ตัดสิน ต�ำหนิ preparedness (PHEP)]. บุคคลทีถ่ ูกตีตรา มองคนท่ถี ูกตตี ราวา่ เป็นคน การเติบโต น. การเพ่ิมขนาดของสิ่งมีชีวิตโดย “ไม่ปรกติ ไม่ดี” แตกต่างจากคนอ่ืน ๆ ใน การแบง่ เซลลห์ รือขยายเซลล์. (อ. growth). สังคม และนำ� ไปสกู่ ารแยก “เขา” ออกจาก การเตือนภยั ลว่ งหน้า น. การใหข้ ้อมลู ข่าวสาร “เรา”. (อ. stigmatization). ท่ีเป็นประโยชน์และทันเหตุการณ์ผ่านทาง การตีตราในโรคเรอ้ื น น. การแสดงออกในเชิง หน่วยงาน องค์กรตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้บคุ คลที่กำ� ลงั ทัศนคตหิ รอื เชิงพฤติกรรม เช่น ความรงั เกยี จ เผชิญความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัย การต�ำหนิติเตียน การปฏิเสธ และการลด สามารถกระท�ำการอย่างใดอย่างหนึ่ง คุณค่าท่ีมีต่อโรคเร้ือน หรือผู้ประสบปัญหา เพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดความเส่ียงและพร้อมที่ จากโรคเร้อื นและครอบครัว. จะรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ. (อ. early warning). การเตรียมความพร้อม น. ความพยายามใน การแตกหกั ของกระดกู สันหลัง น. ความเสียหาย การเตรียมการรับมือกับสาธารณภัย มุ่งเน้น ท่ีเกิดกับโครงสร้างภายในของกระดูกสันหลัง กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีท�ำให้ผู้คนมีความสามารถ และเน้ือเยื่อโดยรอบ ซ่ึงส่งผลต่อการ ในการคาดการณ์ เผชิญเหตุ และจัดการกับ เคล่ือนไหว อาจท�ำให้เป็นอัมพาตท้ังแขน ผลกระทบจากสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ และขา (quadriplegia) รวมท้ังอาจเกิด กระทรวงสาธารณสุข 51
การแตง่ ตง้ั ความล้มเหลวของระบบหายใจ เนื่องจาก การถ่ายโอนความร้อน น. การส่งผ่านความ ความเสียหายของไขสันหลังส่วนคอและ ร้อนจากท่ีหน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึงโดยการน�ำ เส้นประสาทไขสันหลังส่วนคอคู่ท่ี ๓ ถึง ๕ การพา หรอื การแผ่รงั สีความรอ้ น. (อ. heat ซึ่งมีแขนงประสาทท่ีไปควบคุมกะบังลม transfer). (phrenic nerve) รวมท้ังการหายใจก็จะ ตดิ ขัดไดง้ ่าย สว่ นการบาดเจ็บของกระดกู สนั การถือจ่ายเงินเดือนประจ�ำปี น. ฐานในการ หลังส่วนบั้นเอวนั้นพบได้ไม่มากนัก แต่หาก ควบคุมการเบิกจ่ายเงินเดือนของข้าราชการ เกิดการกระแทกอย่างรุนแรงในกรณีของ แตล่ ะแหง่ ตลอดปีงบประมาณ. อุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บระหว่างการเล่น กีฬา อาจต้องตรวจอวัยวะภายในช่องท้อง การทดลองทางคลนิ กิ ดู การวจิ ัยทางคลินิก. และกระดูกอื่น ๆ เพือ่ ตรวจหาความเสียหาย การทดสอบ น. ความพยายามในการพิสูจน์ ท่ี อ า จ เ กิ ด ข้ึ น กั บ อ วั ย ว ะ โ ด ย ร อ บ ด ้ ว ย . (อ. vertebral fracture). คนใดคนหนง่ึ หรอื สิ่งใดสง่ิ หนงึ่ . (อ. testing). การแต่งตั้ง น. การส่ังให้บุคลากรคนหน่ึง การทดสอบการทำ� ลายเมด็ เลือด น. การทดสอบ มีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบใน เพ่ือดูระดับการแตกของเม็ดเลือดแดงและ ต�ำแหน่งใดตำ� แหน่งหน่ึง ในขณะเดียวกันจะ เกิดการปลดปล่อยฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นผลมา มีผลท�ำให้บุคลากรผู้นั้นมีสิทธิท่ีจะได้รับเงิน จากสารทดสอบ. (อ. hemolysis test). เดอื นตามตำ� แหน่งนน้ั และสิทธพิ ื้นฐานตา่ ง ๆ ตามท่ีกฎหมายก�ำหนด. การทดสอบความเข้ากันได้ทางชีวภาพ น. การประเมินคุณภาพและความปลอดภัยของ การถนอมอาหาร น. การเก็บรักษาอาหาร เครื่องมือแพทย์หรือวัสดุที่ใช้ท�ำเคร่ืองมือแพทย์ โดยยังคงรักษาสมบัติของอาหารน้ันไว้ให้ได้ ที่สัมผัสกับร่างกายโดยตรง และโดยอ้อม มากท่ีสุด เช่น การแช่แข็ง การตากแห้ง เพื่อหาความเป็นพิษของสารท่ีอาจหลุดลอก การบรรจุกระป๋อง การอาบรังสี. (อ. food ออกมา ซ่ึงเม่ือเข้าสู่ร่างกายแล้วอาจก่อ preservation). ความเป็นพิษและไม่ปลอดภัยต่อส่ิงมีชีวิต. (อ. biocompatibility test). การถอนอาสาสมัคร น. อาสาสมัครขอถอน ความยินยอมระหว่างการด�ำเนินการวิจัย การทดสอบความช�ำนาญ น. การประเมนิ คณุ ภาพ หรือผู้วิจัยถอนอาสาสมัครออกจากการวิจัย การดำ� เนนิ งานของห้องปฏิบัติการ โดยจัดสง่ ระหว่างด�ำเนินการวิจัย ด้วยเห็นว่าหากอยู่ วัตถุทดสอบที่มีคุณลักษณะคล้ายคลึงกับ ในโครงการต่อไปจะไม่ก่อประโยชน์ต่อ วัตถุตัวอย่างที่ตรวจวิเคราะห์ในงานประจ�ำ อาสาสมัคร หรอื อาจก่ออนั ตรายต่ออาสาสมัคร. และมีการเตรียมอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน (อ. withdrawal หรอื termination). ได้รับการเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ วัตถุทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการหรือ 52 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การทบทวนจรยิ ธรรมการวจิ ัยแบบเร่งด่วน เปรยี บเทยี บกับคา่ มาตรฐาน. (อ. proficiency หรอื ๑ ใน ๔ ของพืน้ ผวิ ถา้ เกลือไมเ่ กาะติด testing). ที่ใดแสดงว่าบริเวณน้ันไม่สะอาด. (อ. salt การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์เนื้อเย่ือ test). เพาะเลีย้ ง น. การทดสอบความเปน็ พิษของ การทดสอบความสะอาดของภาชนะอุปกรณ์ สารทดสอบในระดับเซลล์ที่มีผลต่อการตาย ดว้ ยน้ำ� น. วิธกี ารทดสอบความสะอาดของ การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ การ ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้�ำ โดยการใช้น�้ำสะอาด เปล่ียนแปลงรปู ร่างหรือการเปลย่ี นแปลงอื่น ๆ. เทลงบนภาชนะที่จะทดสอบด้านที่จะสัมผัส (อ. cytotoxicity test). กับอาหารทั่วไป หรือน�ำภาชนะมาจุ่มลงใน การทดสอบความเป็นพิษต่อเน้ือเยื่อกล้ามเน้ือ น�้ำสะอาด เม่ือเทน้�ำทิ้งหรือยกจานท่ีจุ่มข้ึน สตั วท์ ดลอง น. การทดสอบเพอื่ ดปู ฏิกิรยิ า ให้สังเกตดูที่ผิวภาชนะถ้ามีแผ่นฟิล์มของน้�ำ เฉพาะท่ีของเคร่ืองมือแพทย์ หรือวัสดุที่ใช้ จับอยโู่ ดยตลอด แสดงวา่ แกว้ น�้ำหรือภาชนะน้ัน ท�ำเคร่ืองมือแพทย์ที่สัมผัสโดยตรงกับเนื้อเยื่อ สะอาดแต่ถ้าแผ่นฟิล์มของน้�ำไม่ติดต่อกัน ท่ีมีชีวิต (living tissue) โดยใช้สัตว์ทดลอง. ขาดส่วนใดส่วนหน่ึงแสดงว่าบริเวณน้ัน (อ. implantation test หรือ acute มคี วามสกปรก คอื มคี ราบไขมันติดอย.ู่ intramuscular tissue toxicity test). การทดสอบความสะอาดโดยใช้น้�ำโซดา น. การทดสอบความเปรยี บเทียบกันได้ น. การน�ำ วิธีการทดสอบความสะอาดของภาชนะหรือ ยาชีววัตถุคล้ายคลึงมาเปรียบเทียบโดยตรง อุปกรณ์ท่ีท�ำด้วยวัสดุโปร่งใส เช่น แก้วน้�ำ (head to head) กับผลิตภัณฑ์ชีววัตถุ หรือถ้วยท่ีท�ำด้วยแก้ว โดยรินน�้ำโซดาท่ีเปิด อ้างอิงท่ีได้รับอนุญาตแล้วเพ่ือพิสูจน์ความ จากขวดใหม่ ๆ ซึ่งยังมีแก๊สคาร์บอนได- คล้ายคลึงกันในด้านคุณภาพความปลอดภัย อ อ ก ไ ซ ด ์ อ ยู ่ ล ง ไ ป ใ น แ ก ้ ว ห รื อ ถ ้ ว ย นั้ น และประสิทธิภาพโดยเป็นการเปรียบเทียบ หากฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ติดอยู่ ในการศึกษาเดียวกันด้วยวิธีการศึกษา ข้างแก้วหรือถ้วยน้ันแสดงว่าไม่สะอาด. ท่ีเหมือนกนั . (อ. comparability exercise). (อ. soda water test). การทดสอบความสะอาดของภาชนะอุปกรณ์ การทดสอบปฏิกิริยาต่อชั้นผิวหนังของสัตว์ ด้วยเกลือ น. วิธีการทดสอบความสะอาด ทดลอง น. การทดสอบการตอบสนองทาง ของภาชนะอุปกรณ์โดยมากใช้ทดสอบ ผิวหนังของสัตว์ทดลองต่อสารทดสอบ โดย ภาชนะอุปกรณ์ที่เพ่ิงล้างเสร็จใหม่ ๆ ยัง การฉีดเข้าชน้ั ผิวหนงั (intradermal) ที่หลัง เปียกน�้ำอยู่ ถ้าภาชนะอุปกรณ์นั้นแห้งต้อง ของสัตว์ทดลอง แล้วสังเกตอาการท่ีเกิดข้ึน จุ่มลงในภาชนะให้เปียกก่อน แล้วทดสอบ ภายในเวลาท่ีก�ำหนด. (อ. intracutaneous โดยใช้เกลือป่นโรยบนผิวภาชนะให้ทั่ว ถ้า test หรือ intradermal test). ภาชนะใหญ่มากอาจโรยเกลือเพียงคร่ึงหนึ่ง การทบทวนจรยิ ธรรมการวิจยั แบบเรง่ ด่วน น. การทบทวนพิจารณาจริยธรรมของโครงการ กระทรวงสาธารณสุข 53
การทบทวนหลังทำ� งาน ศึกษาวิจัยโดยประธานกรรมการหรือกรรมการ การทับหมอ้ เกลอื น. การใช้หม้อดนิ ใสเ่ กลอื ตั้ง หรือกลุ่มกรรมการผู้มีสิทธิลงมติท่ีได้รับ ไฟให้ร้อนวางบนใบพลับพลึงหรือใบละหุ่ง มอบหมาย แทนการทบทวนพิจารณาโดย ซ่ึงวางบนผ้าดิบ แล้วห่อรวบชายผ้าท�ำเป็น กรรมการทงั้ คณะ. (อ. expedited review). กระจกุ ส�ำหรบั ถอื นาบบนหนา้ ท้อง หวั หน่าว การทบทวนหลังท�ำงาน, การทบทวน เอว สะโพก ขาหนีบ และตามตัวของหญิง หลังกิจกรรม น. กระบวนการที่ช่วยให้ หลังคลอด เพอื่ เรง่ ให้มดลูกเขา้ อู่ ขบั น�ำ้ คาวปลา ทีมงานเรียนรู้อย่างรวดเร็วจากความส�ำเร็จ และลดความตึงตัวของกลา้ มเนอ้ื เปน็ ข้ันตอน และความลม้ เหลว และแลกเปล่ยี นการเรียน หน่ึงในการฟน้ื ฟสู ภาพหญิงหลงั คลอด. รู้นี้กับทีมอื่น เช่น การสนทนาหลังจากงาน หรือโครงการได้เสร็จส้ินแล้ว เพ่ือทบทวนว่า การท�ำคลอดโดยใช้คีม น. วิธีการช่วยคลอด เป้าหมายของการเข้าร่วมกิจกรรมคร้ังนี้คือ โดยผู้ท�ำคลอดใช้คีม (forceps) ดึงศีรษะ อะไร สิ่งที่บรรลุเป้าหมายคืออะไร เพราะ ทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอด แล้ว อะไร ส่ิงท่ีเกินความคาดหวังคืออะไร สิ่งที่ ท�ำคลอดไหล่ ล�ำตัว แขนขาตามวิธีการ ไม่บรรลุเป้าหมายคืออะไร เพราะอะไร ทำ� คลอดปรกติ. (อ. forceps extraction). หลงั จากนจ้ี ะกลบั ไปท�ำอะไรตอ่ . การท่องเทย่ี วเชิงส่งเสริมสุขภาพ น. การเดนิ ทาง การท�ำคลอดโดยใช้เครื่องสุญญากาศ น. วิธี ท่องเท่ียวเพ่ือเข้ารับบริการส่งเสริมสุขภาพ การช่วยคลอด โดยผู้ท�ำคลอดใช้เครื่อง ทางร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ ด้านสังคม สุญญากาศดูดและดึงศีรษะทารกให้คลอด ด้านอารมณ์ ด้านส่ิงแวดล้อม เช่น ฟิตเนส ผ่านทางช่องคลอดในระยะท่ีมดลูกผู้คลอด สปา โยคะ สมาธิบ�ำบัด เครือข่ายสังคม หดรัดตัว และท�ำคลอดไหล่ ล�ำตัว แขนขา ออกกำ� ลังกาย กำ� จัดความเครยี ด บ�ำบัดด้วย ตามวิธีการคลอดปรกติ. (อ. vacuum ธรรมชาติ ปรับปรุงสุขภาพเชิงป้องกันแบบ extraction). องคร์ วม ฯลฯ. การทะลักของยา น. การปลดปล่อยตัวยาอย่าง การทำ� ความเย็น น. การท�ำให้สารทำ� ความเย็น รวดเร็วจากเภสัชภัณฑ์ชนิดปลดปล่อยแบบ เปล่ียนสถานะเป็นไอ และดูดความร้อนจาก ดัดแปร ท�ำให้ระดับยาในเลือดเพิ่มสูงข้ึนจน บริเวณใกล้เคียง ท�ำให้อุณหภูมิบริเวณนั้น อาจเกิดผลข้างเคียงหรือเกิดพิษ มักเกิดจาก เย็นลง ใช้ในการถนอมอาหาร การปรับอากาศ การฉีกขาดหรือการแตกของชั้นฟิล์มเคลือบ เป็นต้น. (อ. refrigeration). ซ่ึงท�ำหน้าท่ีควบคุมการปลดปล่อยยา. (อ. dose dumping). การท�ำความสะอาดในท่ี น. การท�ำความ สะอาด เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิต ท่ีเป็น สายการผลิตหรือแยกแต่ละตัวโดยไม่ต้องถอด ช้ินส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์ออกจากกัน. (อ. cleaning in place). 54 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การนวดของหมอเชลยศักด์ิ การทำ� ความสะอาดแบบถอดชิน้ ส่วน น. การทำ� การท�ำใหป้ ราศจากเช้อื ดู การท�ำไร้เช้อื . ความสะอาด เคร่ืองจักร อุปกรณ์การผลิต การท�ำให้สุขสบาย น. การกระท�ำหรือการ ที่เป็นสายการผลิตหรือแยกแต่ละตัวโดยถอด ช้ินส่วนหรือแยกช้ินส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์ ปลอบโยนเพื่อบรรเทาอาการทุกข์ทรมาน. ออกจากกนั . (อ. cleaning out place). (อ. comforting). การท�ำงานเป็นทีม น. การที่บุคคลหลายคน การทำ� แห้งเยือกแขง็ ดู ไลโอฟไิ ลเซชนั . กระท�ำกิจกรรมร่วมกันเพ่ือให้บรรลุผลส�ำเร็จ การทจุ ริต (กฎ) น. การกระท�ำทก่ี ฎหมายระบุ มีการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน มีความสัมพนั ธ์เปน็ กลมุ่ เดยี วกนั หรือมีความ ว่า เป็นการฉ้อฉล หลอกลวง ปกปิด หรือ คาดหวังและวัตถุประสงค์เป้าหมายร่วมกัน. ละเมิดอ�ำนาจหน้าที่ตามความรับผิดชอบ และเป็นการกระท�ำที่เกิดขึ้นโดยปราศจาก การท�ำแผลแบบเปียก น. การท�ำแผลท่ีมี การข่มขู่ บังคับ หรือมีเหตุบีบคั้นจากผู้อื่น ลักษณะเป็นแผลเปดิ แผลอกั เสบติดเชอ้ื แผล การทุจริต คือ การกระท�ำของบุคคลหรือ ท่ีมีส่ิงขับหลั่งมาก โดยใช้วัสดุที่มีความช้ืน องค์กร เพ่ือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน เงินทอง เช่น ก๊อซชุบน�้ำเกลือ ปิดไว้แล้วปิดด้วยก๊อซ หรือบริการพิเศษ โดยไม่ต้องจ่ายเงินหรือ แห้งอกี ครัง้ . (อ. wet dressing). ค่าตอบแทนใด ๆ หรือเป็นการกระท�ำเพ่ือ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัวหรือผลประโยชน์ การท�ำแผลแบบแห้ง น. การท�ำแผลสะอาด ทางธรุ กิจอื่น. (อ. fraud). แผลปดิ แผลท่ไี ม่มีการอกั เสบ เป็นแผลเล็ก ๆ การทตู เพอ่ื สาธารณสขุ น. นโยบายตา่ งประเทศ ทไี่ ม่มีส่งิ ขับหลงั่ มาก. (อ. dry dressing). ที่น�ำประเด็นด้านสาธารณสุขไปใช้ในการ ด�ำเนินนโยบาย โดยอาศัยความร่วมมือ การท�ำไร้เช้ือ น. การฆ่าเช้ือโรคด้วยการใช้ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในประเทศ. ความร้อนภายใต้ความดันสูงในระยะเวลา (อ. health diplomacy). พอเหมาะเพื่อท�ำลายจุลินทรีย์และสปอร์ การนวด น. การกดและการถูร่างกายหรือ ท้ังหมด. (อ. sterilization). สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย. (อ. massaging). การนวดของหมอเชลยศักด์ิ น. การนวดของ การท�ำลายเช้ือ น. การฆ่าเช้ือก่อโรคที่อยู่ หมอนวดไทยในอดีตที่ไม่ได้รับราชการ ภายนอกร่างกายคน โดยใช้สารเคมี วิธีทาง ในกรมหมอนวด มีการสบื ทอดตามส�ำนักต่าง ๆ กายภาพ รงั สหี รือความร้อน เป็นต้น. แบบแผนการนวดมีความหลากหลายตาม สำ� นกั และท้องถ่นิ สามารถใช้สว่ นตา่ ง ๆ ของ การท�ำให้ตีบแคบ น. การจับ การเช่ือมต่อ รา่ งกายในการนวดได้. เข้าด้วยกนั หรือการกดบางส่ิงบางอยา่ ง เชน่ เนอ้ื เยอ่ื หลอดเลือด. (อ. clamping). กระทรวงสาธารณสุข 55
การนวดของหมอหลวง การนวดของหมอหลวง น. การนวดของ ตามศาสตร์และศิลป์ของแพทย์แผนไทยท่ี หมอนวดไทยในอดีตที่รับราชการในกรม เคยปฏบิ ตั กิ ันมาในราชสำ� นกั ซง่ึ ผู้นวดบ�ำบัด หมอนวดเพื่อถวายพระมหากษัตริย์และ จะใช้เฉพาะมือและน้ิวมือ ส่วนผู้รับการ เจ้านายช้ันสูงในราชส�ำนัก โดยใช้นิ้วมือและ บ�ำบัดจะอยู่ในท่านั่ง นอนหงาย หรือนอน ฝ่ามือในการนวดเท่าน้ัน และมีธรรมเนียม ตะแคงเทา่ นนั้ โดยไมใ่ ช้ทา่ นอนคว�ำ่ . ปฏิบตั ิในการนวดถวายแบบหมอหลวง. การนวดไทยเพ่อื การบ�ำบัดรกั ษา น. การนวด ตามจุดและเส้นบนร่างกายเพ่ือบ�ำบัดรักษา การนวดจีน ดู ทุยหนา. อาการต่าง ๆ กระท�ำโดยผู้ประกอบวิชาชีพ การนวดไทย (พท.) น. ๑. การตรวจ การวนิ ิจฉัย การแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์แผนไทย ประยุกต์ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายในสถาน การบ�ำบัด การรักษาการป้องกันโรค การ พยาบาล. ส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ โดยใช้องค์ การนวดไทยเพ่ือสุขภาพ (พท.) น. การนวด ความรู้เกี่ยวกับศิลปะการนวดไทย ท้ังนี้ ไทยเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและความเมื่อย ด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย. (พระราช- ล้าตามศิลปะการนวดเพ่ือสุขภาพ โดยผู้ให้ บัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. บริการท่ีได้รับการข้ึนทะเบียนท�ำหน้าที่ ๒๕๕๖). ๒. การตรวจประเมิน การวินิจฉัย บริการในสถานประกอบการเพอ่ื สขุ ภาพ. การบ�ำบัด การป้องกันโรค การส่งเสริม การนวดในเด็กปรกติ น. การนวดในเด็กที่มี สุขภาพและการฟื้นฟูสภาพด้วยวิธีการกด ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ดี มีสติปัญญาท่ีเป็น การคลงึ การประคบ การอบ หรอื วิธีการอนื่ ปรกติ และมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย ตามศิลปะการนวดไทย หรือการใช้ยาตาม สมอง และจติ ใจเป็นไปตามวัย. กฎหมายว่าด้วยยา ทั้งนี้ ด้วยกรรมวิธีการ การนวดเพ่ือสุขภาพ (พท.) น. การนวดเพ่ือ แพทย์แผนไทย. (ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ผ่อนคลายกล้ามเน้ือความเมื่อยล้าและ พ.ศ. ๒๕๔๔ เรอ่ื ง การเพิ่มประเภทการนวด ความเครียด. ไทยในสาขาการแพทยแ์ ผนไทย). การน�ำความร้อน น. การถ่ายโอนความร้อน การนวดไทยแบบทั่วไป (พท.) น. การนวดไทย ผ่านตัวกลางโดยท่ีตัวกลางไม่เคลื่อนที่. ท่ีเกิดมาจาการส่ังสมภูมิปัญญาแต่ละท้องถิ่น (อ. heat conduction). และสืบทอดต่อกันมา มีการปรับประยุกต์วิธี การน�ำแผนไปปฏิบัติ น. การตัดสินใจเลือก การนวดแต่ละส่วนท่ีใช้นวดให้เหมาะสมตาม แผนงานและโครงการไปปฏิบัติให้เกิดผลส�ำเร็จ ประสบการณ์ของแต่ละคน มีการใช้อวัยวะ ตามจุดหมายที่ก�ำหนดไว้ ขั้นตอนน้ีต้อง หลายอย่างของร่างกายในการนวด เช่น มือ ศอก เข่า เทา้ . การนวดไทยแบบราชสำ� นกั (พท.) น. การใช้ น้ิวมือและมือกดนวดที่บริเวณร่างกายมนุษย์ 56 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การบริการทางสขุ ภาพ อาศัยกลยุทธ์หลายอย่าง ท้ังกลยุทธ์ภายใน การบริการการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ องค์การและกลยุทธ์ภายนอกองค์การ. ผู้ป่วยนอกแบบคู่ขนาน น. การบริการ (อ. implementation). ตรวจรักษาผู้ป่วยนอกด้วยการแพทย์แผน การนิเทศ น. การช้แี นะ ใหท้ ิศทางการปฏบิ ัติ ไทยคู่ขนานกับการแพทย์แผนปัจจุบันของ งานหรือการกระทำ� . (อ. supervising). โรงพยาบาล โดยมีแพทย์แผนไทยท�ำหน้าท่ี การนเิ ทศงาน น. กระบวนการพัฒนา ช่วยเหลอื ตรวจวินิจฉัยโรคทั่วไปและโรคเรื้อรัง และ สนบั สนุนด้านองคค์ วามรู้ ในเชิงวิชาการ เชน่ สั่งการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยท่ี การสอน การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำให้ข้อมูล ห้องตรวจแผนกผ้ปู ว่ ยนอกทมี่ ีระบบคดั กรอง ข่าวสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกิดทักษะ ผู้ป่วยของโรงพยาบาลอย่างน้อย ๒ วันต่อ ความช�ำนาญของบุคลากร เกิดความพึงพอใจ สัปดาห์ และมีรายการยาสมุนไพรส�ำหรับ ในการท�ำงานเพ่ือน�ำไปสู่ผลของการท�ำงาน ให้บริการไม่น้อยกว่า ๓๐ รายการ, โอพีดี ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ บรรลุนโยบาย แพทย์แผนไทยคขู่ นาน กว็ ่า. และวัตถปุ ระสงคข์ องหน่วยงาน. การแนะนำ� น. การช้ีแนวทางใหท้ ำ� ตามขัน้ ตอน การบริการด้านการแพทย์ทางเลือก น. การ หรือปฏบิ ัตติ ามท่กี ำ� หนด. (อ. advising). บริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ และ การบรรจุ น. การรับบุคคลหน่ึงเข้ามาท�ำงาน ฟื้นฟูสภาพ ด้านการฝึกสมาธิบ�ำบัด ฝังเข็ม ซ่ึงต้องผ่านข้ันตอนของการสรรหาและ เปน็ ต้น. การคัดเลือกตามกระบวนการข้ันตอนท่ี ก�ำหนดไว้ และมีตำ� แหนง่ ว่างท่ีจะบรรจไุ ด.้ การบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข การบรรเทา น. การกระท�ำเพื่อลดปัญหาหรือ สำ� หรบั ผู้สูงอายทุ ่ีมีภาวะพึง่ พงิ น. การดูแล ความทกุ ข์ทรมานของบคุ คล. (อ. alleviating). ผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงตามชุดสิทธิประโยชน์ การบริการ น. การสร้างเสริมสุขภาพ ณ ครัวเรอื น ศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู งู อายุ การป้องกันควบคุมโรค การวินิจฉัยโรคและ ในชุมชน หรือสถานที่ให้บริการดูแลระยะ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ ยาวโดยบุคลากรสาธารณสุข. ที่สถานบริการสาธารณสุขหน่ึง ๆ หรือ โครงการหนึง่ ๆ จัดให้ประชาชนอย่างต่อเนือ่ ง การบริการทางกิจกรรมบ�ำบัด น. การปฏิบัติ และเชื่อมโยงกันระหว่างสาขา เพ่ือให้มี งานต่อผู้รับบริการตามประเภทของปัญหา สุขภาวะสมบูรณ์ท้งั ทางกาย จติ ปญั ญา และ ปัจจัยเส่ียง ความบกพร่องทางด้านร่างกาย สังคม. จิตใจ การเรียนรู้และพัฒนาเกี่ยวกับเด็ก อารมณ์และสังคม ท่ีครอบคลุมทั้งทางด้าน การตรวจประเมิน ส่งเสริม ป้องกัน บ�ำบัด และฟน้ื ฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบ�ำบัด. การบริการทางสุขภาพ น. การให้บริการทาง สุขภาพ ครอบคลุมท้ังการส่งเสริม ป้องกัน กระทรวงสาธารณสุข 57
การบรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ ร รักษา และฟนื้ ฟูสภาพ ท้ังนี้ ต้องมกี ารตรวจ คัดกรองภาวะสุขภาพ การช่วยเหลือแพทย์ สุขภาพเสียกอ่ น. หรือจิตแพทย์ในการตรวจรักษา การดูแล การบริการที่เป็นมิตร น. การประยุกต์ใช้ รักษาพยาบาล การสรา้ งเสริมสุขภาพ บริการ แนวคิดการจัดบริการทุกกลุ่ม ทุกประเภท ปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต ให้ความรู้เก่ียวกับ และทุกจดุ บรกิ ารอย่างเป็นมติ ร โดยคำ� นงึ ถงึ การปฏิบัติตน การปรับพฤติกรรมดูแล ความต้องการของผู้รับบริการที่เฉพาะและ สุขภาพจิตตนเองและครอบครัว การฟื้นฟู แตกต่างกัน ไม่มกี ารจำ� กดั หรอื กีดกนั ไม่ให้ได้ สมรรถภาพ เพอื่ ให้ผู้ใช้บริการเขา้ ใจเก่ยี วกบั รับบริการด้วยเหตผุ ลทางเพศ ความทุพพลภาพ ภาวะทางจิตเวชและสุขภาพจิต สามารถน�ำ เชอ้ื ชาติ ศาสนา หรอื อายุ เปน็ การให้บรกิ าร ไปปฏิบัติต่อตนเองและครอบครัวได้อย่างถูก ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตอ้ งและมีประสทิ ธิภาพ. ของผู้รับบริการซึ่งแต่ละคนมีลักษณะเฉพาะ การบริการพยาบาลด้านการให้ค�ำปรึกษา น. แตกต่างกันไป. (อ. friendly service). บริการพยาบาลท่ีให้แก่ผู้ใช้บริการและ การบริการแบบองค์รวม น. การตอบสนอง ครอบครัวท่ีมาใช้บริการปรึกษาสุขภาพ ความต้องการของคนครอบคลุมองค์ประกอบ เพื่อให้ผู้ใช้บริการปรึกษาและครอบครัวเกิด หลกั ท่ีสำ� คญั คือ กาย จิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้เข้าใจตนเองและเข้าใจปัญหา รอบตัวท่ีเก่ียวข้อง ให้อยใู่ นภาวะสมดลุ เน้น มีทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หา สามารถตัดสนิ ใจ การมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบดูแลภาวะ เลือกทางเลือกที่เหมาะสมในการปฏิบัติตน สุขภาพของตนเองตามศักยภาพ ทั้งนี้เพ่ือให้ และดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสมกับภาวะ ผู้ใช้บริการมีสุขภาวะและสามารถด�ำเนินชีวิต สุขภาพ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในสงั คมได้อย่างผาสุก. (อ. holistic care). ทไ่ี มพ่ ึงประสงค์ รวมท้งั การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ. การบรกิ ารผู้ปว่ ยนอก น. การบรกิ ารแก่ผู้ป่วย การบริการพยาบาลป้องกันและควบคุมการ ที่มาหน่วยบริการและไม่ต้องพักรักษาตัว ติดเชื้อในโรงพยาบาล น. การควบคุม ค้างคืน. [อ. out-patient service (OP)]. คุณภาพการพยาบาลในด้านความปลอดภัย การบริการผู้ปว่ ยใน น. การบรกิ ารแก่ผูป้ ่วยที่ จากการติดเชื้อของผู้ใช้บริการและบุคลากร จ�ำเป็นต้องพักรักษาตัวค้างคืนที่หน่วยบริการ. ทางการพยาบาล มีการบริหารความเส่ียง [อ. in-patient service (IP)]. ทางการพยาบาล และการสนับสนุนทาง การบริการพยาบาลจติ เวชผู้ป่วยนอก น. การ วิชาการด้านการป้องกันและควบคุมการติด ด�ำเนินการของพยาบาลจิตเวชต่อผู้ใช้บริการ เช้ือในโรงพยาบาล เพ่ือลดอัตราการติดเช้ือ ท้ังผู้มีสุขภาพจิตดี กลุ่มเสี่ยง ผู้มีปัญหา โดยต้องใช้กระบวนการติดตาม เฝ้าระวัง สขุ ภาพจติ และผู้ปว่ ยจิตเวช เชน่ การตรวจ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง ท่จี ะน�ำไปส่กู ารป้องกันและควบคมุ ตดิ เชือ้ ใน โรงพยาบาล รวมท้ังประสานกับหน่วยงาน ต่าง ๆ โดยมีพยาบาลควบคุมการติดเชื้อใน 58 พจนานุกรมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การบรกิ ารพยาบาลฝากครรภ์ โรงพยาบาล [infection control nurse ผู้ป่วยท่ีมารับการรักษาด้วยกระบวนการที่ (ICN)] เป็นผู้รบั ผดิ ชอบหลกั ซ่งึ ต้องมคี วามรู้ ล่วงลำ�้ เขา้ ส่รู า่ งกาย (invasive procedure) และทักษะทางระบาดวทิ ยา เพอื่ ให้การพยาบาล ตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งกระท�ำในหอ้ งผา่ ตดั ใหก้ ารดูแล ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือเป็นไป ตงั้ แตร่ ะยะก่อนผา่ ตดั ระยะผา่ ตัด และระยะ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ. หลังผ่าตัด โดยครอบคลุมถึงการประสาน การบรกิ ารพยาบาลผ้คู ลอด น. การใหบ้ รกิ าร งานกับทีมพยาบาลวิสัญญีในการให้ยาระงับ พยาบาลดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะปรกติ ความรู้สึกเพื่อให้การผ่าตัดด�ำเนินไปด้วยดี และภาวะแทรกซ้อนที่มีภาวะการเจ็บครรภ์ รวมท้ังประสานกบั ทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วย จนถึงคลอดบุตร โดยการดูแลแบ่งเป็น หรอื หน่วยบริการดูแลผู้ป่วยหลงั ผา่ ตดั อีกด้วย. ๓ ระยะ คือ การดูแลก่อนคลอด การดูแล การบริการพยาบาลผูป้ ว่ ยหนกั น. การบรกิ าร ระหวา่ งคลอด และการดูแลหลังคลอด. พยาบาลที่บุคลากรพยาบาลให้การดูแล การบริการพยาบาลผปู้ ่วยนอก น. การบรกิ าร ผู้ป่วยที่มีอาการหนักทุกประเภทท่ีรับไว้นอน ท่ีบุคลากรทางการพยาบาลให้บริการแก่ผู้ใช้ ในโรงพยาบาลในหออภิบาลซึ่งอาจจะเป็น บริการด้านสุขภาพ ครอบคลุมการตรวจ หออภิบาล อายุรกรรม ศัลยกรรม หรือ รักษาพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ หออภิบาลผู้ป่วยหนักเฉพาะทาง เช่น การปอ้ งกันโรค และการฟื้นฟสู ภาพ สำ� หรับ หออภิบาลผู้ป่วยหัวใจ ขึ้นอยู่กับการบริหาร ผู้มีสุขภาพดีและผู้มีปัญหาสุขภาพ โดยการ จดั การในแต่ละโรงพยาบาล. คัดกรองภาวะสุขภาพ แยกประเภทความ การบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน เจ็บป่วยและความรุนแรงของโรค ช่วยเหลือ น. การให้บริการพยาบาลแก่บุคคลที่ได้รับ แพทย์ในการตรวจรักษาโรคและสุขภาพ บาดเจ็บและ/หรือมีภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้การพยาบาลก่อนตรวจรักษา ขณะตรวจ แ ล ะ วิ ก ฤ ติ ทั้ ง ร ะ บ บ ร ่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต ใ จ รกั ษา และหลงั การตรวจรกั ษา. โดยการประเมินสภาวะความรุนแรงของ การบริการพยาบาลผปู้ ว่ ยใน น. การใหบ้ รกิ าร การเจ็บป่วย ตัดสินใจให้การปฐมพยาบาล พยาบาลผู้ป่วยทุกประเภทท่ีรับไว้รักษา การใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเวชภัณฑ์ที่จะ โดยพักค้างในโรงพยาบาลแยกเป็นหอผู้ป่วย ช่วยชวี ติ ผู้ป่วย ตลอดจนการเฝ้าระวงั อาการ ต่าง ๆ ตามการบริหารจัดการของแต่ละ เปล่ียนแปลงของผู้ป่วยเพ่ือแก้ไขสถานการณ์ โรงพยาบาล เช่น หอผู้ป่วยอายุรกรรม ฉุกเฉินท่ีอาจคุกคามชีวิตของผู้ป่วยได้อย่าง ศัลยกรรม กุมารเวชกรรม นรีเวชกรรม ทันทว่ งที โดยให้การพยาบาล ณ จุดเกดิ เหตุ สูติกรรมหลงั คลอด หอผูป้ ่วยพิเศษ. และที่โรงพยาบาลแบบผู้ป่วยนอก ตลอดจน การบริการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัด น. การให้ รับไว้สังเกตอาการเฉพาะหน้า ณ หอ้ งฉกุ เฉิน บริการดูแลผู้ป่วยท่ีมารับการผ่าตัดและ หรือห้องสงั เกตอาการ. การบริการพยาบาลฝากครรภ์ น. การให้ กระทรวงสาธารณสุข 59
การบริการพยาบาลวสิ ญั ญี บริการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะปรกติ มีครูอนามัย ครูพยาบาล ให้การดูแลรักษา และภาวะแทรกซ้อน ครอบคลุมทุกไตรมาส เบ้ืองต้น บันทึกหลักฐานการให้บริการ ของการตัง้ ครรภ์. แ ล ้ ว น� ำ ข ้ อ มู ล ก า ร เ จ็ บ ป ่ ว ย ข อ ง นั ก เ รี ย น การบริการพยาบาลวสิ ญั ญ ี น. การให้บรกิ าร มาวิเคราะห์และจัดบริการรักษาพยาบาล พยาบาลผู้ป่วยวิสัญญี โดยให้การดูแล ให้ถูกต้องตามสาเหตุท่ีแท้จริง มีการส่งต่อ ต้ังแต่ระยะก่อนให้บริการ ระยะให้บริการ นักเรียนท่ีเจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการ และระยะหลังให้บริการ ครอบคลุมถึง ของห้องพยาบาลไปรับบริการท่ีหน่วยงาน การประสานงานกับทีมพยาบาลผ่าตัดและ สาธารณสุขในพ้นื ท.่ี ทีมแพทยผ์ า่ ตดั . การบริการเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม น. การจัด การบริการแพทย์แผนไทย น. การบริการ บริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับเพ่ือป้องกันโรค ส�ำหรับผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ จากสิ่งแวดล้อมโดยบุคลากรที่มีความรู้ทาง แห่งชาติ เพ่ือให้ประชาชนเช่ือม่ัน เข้าถึง ด้านอาชีวอนามัยและอนามัยส่ิงแวดล้อม และใช้บริการการแพทย์แผนไทย และ เพ่ือให้ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจากสิ่ง สมุนไพรไทยเพิ่มข้ึน โดยจัดให้มีบริการ แวดล้อมหรืออุบัติภัยฉุกเฉินได้รับการดูแล เวชกรรมไทย นวด ประคบ อบสมุนไพร สุขภาพ มีสุขภาพอนามัยท่ีดี และอยู่ในส่ิง เพื่อการรักษาและฟื้นฟูแก่ผู้ป่วย (ทั้งใน แวดล้อมที่ปลอดภัย โดยหน่วยงาน หน่วยบริการ และในชุมชน) บริการฟื้นฟู ส า ธ า ร ณ สุ ข ใ น พ้ื น ที่ ท่ี ไ ด ้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ สุขภาพมารดาหลังคลอดตามแนวเวชปฏิบัติ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการเฝ้าระวัง ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย และการใช้ยาสมนุ ไพร และดูแลสุขภาพประชาชนทีป่ ระสบปญั หา. ตามบัญชียาหลักแหง่ ชาติ. การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การบรกิ ารฟืน้ ฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ น. น. กิจกรรมบริการเพื่อการป้องกันโรค และ การบริการด้านการแพทย์ส�ำหรับผู้มีสิทธิ การสร้างเสริมสุขภาพทั้งรายบุคคลและ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยครอบคลุม ครอบครัว ครอบคลมุ บรกิ ารแก่ประชากรคน บริการฟื้นฟูสมรรถภาพส�ำหรับผู้ป่วย ไทย ทุกคน ทุกสิทธิ โดยมีวัตถุประสงค์เชิง คนพิการ ผู้สูงอายุที่จ�ำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู ผลลัพธ์เพ่ือลดปัจจัยเส่ียงทางสุขภาพ เช่น และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง (ยกเว้นผู้สูงอายุ บริการวางแผนครอบครัว การดูแลสุขภาพ ทม่ี ีภาวะพ่ึงพิง). หญิงมคี รรภ์. [อ. promotion and preven- tion (P&P)]. การบริการรักษาพยาบาลเบ้ืองต้น น. การ การบริการสาธารณสุข น. ๑. การให้บริการ บริการสุขภาพพ้ืนฐานท่ีโรงเรียนทุกแห่งจัด ด้านการแพทย์และสาธารณสุขซ่ึงให้โดยตรง ให้นักเรียน โดยการจัดหายาและเวชภัณฑ์ แก่บุคคล เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การ ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับห้องพยาบาลให้เพียงพอ ป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษา 60 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การบรหิ ารจดั การพยาบาลดูแล พยาบาล และการฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ท่ีจ�ำเป็น ให้เหมาะสมกับความสามารถของร่างกาย ต่อสุขภาพและการด�ำรงชวี ิต ทัง้ นี้ ให้รวมถึง และจิตใจ เป็นการเฝ้าระวังเพื่อป้องกัน การบริการการแพทย์แผนไทยและการ และควบคุมโรครวมทั้งภัยสุขภาพท่ีเกิดจาก แพทย์ทางเลือกตามกฎหมายว่าด้วยการ การทำ� งานของผู้ประกอบอาชีพในชุมชน. ประกอบโรคศิลปะ. ๒. บริการด้านการ การบริบาล น. การดูแล เลีย้ งดู. แพทย์และสาธารณสขุ เพ่อื การสร้างเสรมิ สขุ การบริบาลผู้ป่วยไปกลับ น. การบริการด้าน ภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค สุขภาพโดยผู้ป่วยไม่ต้องพักรักษาตัวใน การปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข สถานพยาบาล เช่น การให้บริการท่ีแผนก การรักษาพยาบาล และการฟนื้ ฟสู มรรถภาพ. ผู้ป่วยนอก คลินิกแพทย์ สถานีอนามัย การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ร้านยา การบริการสุขภาพท่ีบ้าน. (อ. น. การให้บริการท่ีเป็นมิตร มีความรัก ambulatory care). ความเมตตา ใส่ใจในปัญหาและความทุกข์ การบริหารความเส่ียง (กฎ) น. กระบวนการ ของผู้รับบริการและผู้เก่ียวข้อง ให้บริการ ระบุ ประเมิน จัดการ และควบคุมเหตุการณ์ ตามปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการ หรือสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดข้ึน ที่เป็นจริง โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้รับ เพ่ือให้ความเชื่อม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่า บรกิ ารเป็นหลกั . หน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมาย. (อ. risk การบริการอนามัยโรงเรียน น. การจัดบริการ management). สุขภาพขน้ั พน้ื ฐานท่จี ำ� เป็นสำ� หรบั นักเรยี นทกุ คน การบริหารคุณภาพท้งั องคก์ าร ดู การจดั การ เพ่ือเฝ้าระวังและค้นหาอาการผิดปรกติหรือ คณุ ภาพโดยรวม. ความบกพร่องด้านสุขภาพเบ้ืองต้น ท�ำให้ การบริหารงานสืบทอดต�ำแหน่ง น. ทราบภาวะสุขภาพท่ีเปลี่ยนแปลงไป และ กระบวนการในการส่งเสริมให้บุคลากรท่ีมี เป็นการป้องกันมิให้เกิดความรุนแรงของโรค ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ มี ศั ก ย ภ า พ หรอื เกดิ ความพกิ ารในภายหลัง. (talent) มีความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน การบริการอาชีวอนามัยพื้นฐานในหน่วยบริการ และพร้อมท่ีจะดํารงตําแหน่งที่ว่างลงหรือ ปฐมภมู ิ น. การจดั บริการสุขภาพใหแ้ รงงาน ตาํ แหนง่ ใหมท่ ี่เกิดขนึ้ , แผนทดแทนตาํ แหนง่ ในชุมชน เน้นการป้องกัน การควบคุมโรค หรือ แผนสืบทอดตําแหน่ง ก็เรียก. (อ. และการเฝ้าระวังสุขภาพ โดยมีการประเมิน succession planning). ความเส่ียงในการท�ำงานอย่างง่ายจาก การบริหารจัดการพยาบาลดแู ล น. การส่งเสริม แบบสอบถาม การคัดกรองสุขภาพ การพยาบาลดูแลชุมชนที่มีการวิเคราะห์ การวินิจฉัยโรคและภัยสุขภาพจากการ ประกอบอาชีพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ช่วยแนะน�ำ ปรับปรุงแก้ไขสภาพการท�ำงาน กระทรวงสาธารณสุข 61
การบรหิ ารเชิงกลยุทธท์ างการพยาบาล อุปสรรคที่กีดขวางการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ระเบียบ หรืออ�ำนาจหน้าท่ีท่ีได้รับมอบ. ของบคุ คลผู้เป็นเป้าหมายการชว่ ยเหลอื และ (อ. command). แนะน�ำให้ใช้ทรัพยากรทางสังคมท่ีมีอยู่ให้ การบัญชาการเหตุการณ์ น. การส่ังการเพื่อ เป็นประโยชน์ในการคล่ีคลายปัญหาเพ่ือ จัดการกับเหตุการณ์ฉกุ เฉินทีเ่ กิดข้ึนในภาพรวม ขจัดอปุ สรรคเหล่าน้นั ใหห้ มดไป. ผู้รับผิดชอบประกอบด้วยผู้บัญชาการเหตุการณ์ การบริหารเชิงกลยุทธ์ทางการพยาบาล น. และเจ้าหน้าท่ีสนับสนุนที่ได้รับการมอบหมาย. การตัดสินใจด�ำเนินการบริหารงานของ (อ. incident command). องค์กรพยาบาล หรือกลุ่มการพยาบาล การบำ� บดั ความคิดและพฤตกิ รรม น. รปู แบบ ทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาว อย่างมีประสทิ ธภิ าพ การบำ� บดั พฤตกิ รรมรูปแบบหนงึ่ เพื่อปรับเปลี่ยน และประสิทธิผล โดยการก�ำหนดหรือ ความคิด ความเช่ือ การรับรู้ของผู้ป่วยท่ีมี ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ วตั ถปุ ระสงค์และ กระบวนการคิดที่ผิดปรกติ บิดเบือน หรือ เป้าหมายขององค์กรพยาบาลหรือกลุ่มการ คิดในแง่ลบ ให้ตรงตามความเป็นจริงและ พยาบาล หลังจากนั้นจึงก�ำหนดโครงการ เป็นประโยชน์มากขึ้น รวมทั้งการปรบั เปลี่ยน หรือกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับ พฤตกิ รรมทไี่ ม่เหมาะสม โดยใชเ้ ทคนคิ ตา่ ง ๆ วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย เพื่อเป็นแนวทาง จัดการกับความคิดและพฤติกรรมที่มีปัญหา ในการด�ำเนินงาน ควบคุม ก�ำกับและ เพือ่ นำ� ไปสู่พฤติกรรมทเ่ี หมาะสม. ประเมินผลอย่างมีทิศทาง ให้บรรลุวิสัยทัศน์ การบ�ำบดั เจาะจง (กฎ) น. การบำ� บดั รกั ษาอนั ที่กำ� หนดไว้. เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของวิชาชีพเวชกรรม การบรหิ ารยา น. การจดั หาหรือให้ยา รวมทั้ง ว่าเป็นวิธีการเจาะจงท่ีท�ำให้ผู้ป่วยฉุกเฉิน การเฝ้าระวัง ดูแลความปลอดภัยและดูแล หายหรือพ้นจากภาวะใดภาวะหนึ่งหรือโรค อาการที่เกิดจากผลการได้ยา. (อ. drug ใดโรคหนึ่งโดยเฉพาะ ตามหลักวิชาการของ administration). วชิ าชพี เวชกรรม. (อ. specific therapy). การบวมน้�ำ น. ภาวะที่มีน้ําระหว่างเซลล์หรือ การบ�ำบัดโดยการปรับเปล่ียนความคิดและ ภายในเซลล์มากเกินปรกติอย่างใดอย่างหนึ่ง พฤติกรรม น. รูปแบบหน่ึงของจิตบ�ำบัด หรือท้ัง ๒ อย่าง โดยทั่วไปหมายถึงภาวะ (psychotherapy) ท่ีมีเป้าหมายเพ่ือจัดการ ที่มีน้ําอยู่ใต้ผิวหนังมากเกินปรกติ และ กับอารมณ์ในทางลบของมนุษย์ ด้วยการ อาจพบได้ในอวัยวะอื่น เช่น สมอง ปอด. ปรับเปล่ียนความคิด (cognitive) และ (อ. edema; oedema). พฤติกรรม (behavioral) การบ�ำบัด การบัญชาการ น. การท�ำหน้าที่อ�ำนวยการ มลี ักษณะเนน้ ทปี่ จั จบุ ัน เจาะจงปญั หาที่ชัดเจน สั่งการหรือการควบคุม โดยอาศัยอ�ำนาจ มีการก�ำหนดเป้าหมายในการบ�ำบัดอย่าง ท่ีก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนในกฎหมาย กฎ เป็นรูปธรรม เน้นความร่วมมือของผู้รับ 62 พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การบำ� บดั โรคสัตว์ การบ�ำบัดเพ่ือน�ำไปสู่การฝึกฝนทักษะในการ การบ�ำบัดรักษา น. การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย จัดการกับปัญหาของตนเองให้ได้ดีย่ิงข้ึน. ทางการแพทย์และสงั คม. [อ. cognitive behavioral therapy (CBT)]. การบำ� บดั ทางการพยาบาล น. การกระทำ� ของ การบ�ำบัดรักษาด้วยยาในระบบการแพทย์ พยาบาลเพ่ือแก้ปัญหาสุขภาพของบุคคล ทางเลือก (พล.) น. การรักษาด้วยยาจาก ทุกช่วงวัย ครอบครัว ชุมชน ทั้งร่างกาย สมุนไพร ยาโฮมีโอพาที และผลิตภัณฑเ์ สริม จติ ใจ อารมณ์ และสังคม การบรรเทาอาการ อาหาร ซ่ึงเป็นการบ�ำบัดรักษาด้วยยาใน และการลุกลามของโรค การรักษาโรคเบือ้ งต้น ระบบการแพทย์แผนเดิม การแพทย์เสริม ตลอดจนการช่วยเหลือแพทย์ท�ำการรักษา และการแพทย์ทางเลอื ก. โรคตามกฎหมายวิชาชีพ. (อ. nursing therapeutic). การบำ� บัดรกั ษาด้านสุขภาพจิตและจติ เวช น. การบ�ำบัดแบบเกอร์สัน (พล.) น. วธิ กี ารบ�ำบัด การด�ำเนินงานที่เน้นการให้ผู้เช่ียวชาญทาง แนวธรรมชาติของนายแพทย์แมกซ์ เกอรส์ ัน วิชาชีพเข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลือ (Dr. Max Gerson) นายแพทยช์ าวเยอรมนั แก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชด้วยหลัก ผู้เป็นต้นแบบของการแพทย์ทางเลือก วิชาการและแนวทางท่ีเหมาะสมตามวิชาชีพ ที่มุ่งเน้นการเยียวยาร่างกายมนุษย์แบบ เพอื่ ให้ผมู้ ปี ัญหาสุขภาพจติ หรือผู้ป่วยจติ เวช องค์รวมแทนการรักษาตามอาการของโรค มีอาการทุเลาหรือหายจากปัญหาสุขภาพจิต เท่าน้ัน การบ�ำบัดด้วยวิธีการนี้จะช�ำระล้าง หรอื โรคทางจติ เวช. ระบบตา่ ง ๆ ภายในรา่ งกายทัง้ หมด โดยเนน้ การฟื้นฟูหน้าที่และการท�ำงานของตับและ การบ�ำบัดรักษาผู้ติดอนุพันธ์ของฝิ่นด้วย อวัยวะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการปรับสมดุล เมทาโดนระยะยาว น. การบำ� บัดรกั ษาผตู้ ดิ ของระบบเผาผลาญหรือเมแทบอลิซึม อนุพันธ์ของฝิ่นด้วยสารทดแทนเมทาโดน การท�ำลายเซลล์มะเร็งด้วยการย่อยและ ซึ่งเป็นการบ�ำบัดรักษาที่มีประสิทธิผล การกำ� จดั ผา่ นระบบภูมคิ มุ้ กนั . มากท่ีสุดส�ำหรับผู้เสพติดสารกลุ่มโอพิออยด์ การบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพเข้มข้นทางสายใหม่ โดยสามารถลดความเส่ียงต่อการแพร่เช้ือ น. กระบวนการบ�ำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด เอชไอวีและเป็นหนึ่งในเครื่องมือต่าง ๆ ท่ีมี โดยมีกระบวนการบ�ำบัด ๔ องค์ประกอบ ประสิทธิผลสูงสุดส�ำหรับการป้องกันการ คือ กิจกรรมการมีส่วนร่วมของครอบครัว แพรเ่ ช้ือไวรัสทางเลอื ด ในกลมุ่ ผู้ฉีดยาเสพติด. กิจกรรมทางเลือก กระบวนการเรียนรู้เพ่ือ [อ. methadone maintenance therapy ช่วยเหลือตนเอง และกระบวนการชุมชน (MMT)]. บ�ำบดั . (อ. FAST model). การบ�ำบัดโรคสัตว์ (กฎ) น. การกระท�ำใด ๆ อันกระท�ำโดยตรงต่อร่างกายของสัตว์เพ่ือ ตรวจ รกั ษา ป้องกัน หรือกำ� จัดโรค. กระทรวงสาธารณสุข 63
การบูร การบรู (พท.) น. ๑. พืชทีม่ ชี ือ่ วิทยาศาสตร์ว่า การสบาูรรณสนาเกทาศรแลSะI3กMระบวนน. กกาารรทเุกชอื่องมคโ์ปยงรขะ้กออมบูล Cinnamomum camphora (L.) J. Presl เพ่ือด�ำเนินงานโรค ๔ โรค ได้แก่ เบาหวาน ในวงศ์ Lauraceae เป็นไม้ต้น ทุกส่วน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ และ มีกลน่ิ หอม โดยเฉพาะอย่างย่งิ ทร่ี ากและโคนตน้ หลอดเลือดสมอง ประกอบด้วยนโยบาย แผน มีกลิน่ หอมมากกวา่ สว่ นอน่ื ๆ ใบเป็นใบเด่ียว และทรัพยากร (เงิน บุคลากร เทคโนโลยี เรียงสลับ รูปไข่กว้างหรือรูปรี ช่อดอกแบบ ฯลฯ). ช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบ ดอกเล็ก สีเหลอื งออ่ น โคนเชื่อมตดิ กันเปน็ หลอดสน้ั ๆ การบรู ณาการการดแู ลสุขภาพ น. การจัดระบบ ผลแบบผลผนังชั้นในแข็ง ค่อนขา้ งกลม สเี ขยี วเข้ม และจัดการบริการสุขภาพให้ผู้ป่วยได้รับบริการ ผลสุกสีด�ำ มีเมล็ด ๑ เมล็ด เนื่องในโอกาส ตามท่ีต้องการ ถูกต้อง ทันเวลา มีความ ท่ีเขา้ สวู่ าระ ๑๐๐ ปขี องการสาธารณสุขไทย เปน็ มิตร ไดผ้ ลตามทมี่ ่งุ หวงั และคมุ้ ค่าใชจ้ า่ ย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม มีระบบเครือข่ายให้เกิดการประสานการดูแล ราชกุมารี ได้พระราชทาน “ต้นการบูร” ใหเ้ ป็น อย่างต่อเนื่องส�ำหรับกลุ่มผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ ไม้ประจ�ำกระทรวงสาธารณสุข. ๒. เครื่องยา มีการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารระหว่างทีมสุขภาพ ที่มีลักษณะเป็นผลึกเล็ก ๆ ใส โปร่งแสง ลดความซ�้ำซ้อนให้เหลือน้อยที่สุด และ หรือสีขาว ที่ได้จากการกล่ันเน้ือไม้ของ ให้การรักษาพยาบาลตามแนวปฏิบัติเพ่ือให้ ต้นการบูร แต่ในปัจจุบันมักได้จากการ ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ีด.ี สังเคราะห์ทางเคมี โดยเร่ิมต้นจากสาร แอลฟา-ไพนีน (α-pinene) ในน�้ำมันสน การปกป้อง น. การรักษาบุคคลให้ปลอดภัย (turpentine oil) ไดเ้ ปน็ การบรู (dl-camphor) หรือได้รับการระมัดระวัง. (อ. protecting). ซึ่งเป็นสารผสมแรซีมกิ (racemic mixture). (อ. camphor tree หรือ Japanese การปกปดิ การรักษา น. วธิ ีด�ำเนนิ การซึ่งท�ำให้ camphor tree). ฝ่ายหนึ่งหรือหลายฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัย ไม่ทราบชนิดการรักษาที่อาสาสมัครได้รับ การบูรณาการ น. การประสานกลมกลืนกัน โดยการปกปดิ การรักษาฝ่ายเดยี ว มักหมายถึง ของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจดั สรร กรณีอาสาสมัครเพียงฝ่ายเดียวไม่ทราบว่า ทรพั ยากร การปฏิบตั ิการ ผลลัพธ์ และการ ตนเองได้รับการรักษาอะไร และการปกปิด วิเคราะห์ เพอื่ สนับสนุนเปา้ ประสงคท์ ่สี ำ� คัญ การรักษา ๒ ฝ่าย มักหมายถึง กรณีทั้ง ขององค์กร การบูรณาการท่ีมีประสิทธิผล อาสาสมัคร ผวู้ ิจัย ผู้กำ� กับดแู ลการวิจัย และ เป็นมากกว่าความสอดคล้องไปในแนวทาง ในบางกรณี ผู้วิเคราะห์ข้อมูลก็ไม่ทราบชนิด เดียวกัน (alignment) และจะส�ำเร็จได้ก็ต่อ การรักษาทอี่ าสาสมคั รไดร้ บั . เมื่อการด�ำเนินการของแต่ละองค์ประกอบ ภายในระบบและการจัดการผลการดำ� เนินการ การปฏิบัติการพยาบาล น. การใช้กระบวนการ มีความเชื่อมโยงกันเป็นหน่ึงเดียวอย่าง พยาบาล ในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน สมบรู ณ.์ (อ. integration). 64 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การปฏริ ูประบบสุขภาพแหง่ ชาติ โรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ การปฏิบัติการแพทย์ข้ันสูง ดูที่ ปฏิบัติการ ตลอดจนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต. แพทยข์ นั้ สูง. (อ. nursing practice). การปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูง น. การกระท�ำ การปฏบิ ตั กิ ารวิจัยทางคลนิ ิกที่ด ี น. มาตรฐาน การพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ใช้บริการกลุ่ม สําหรับการวางรูปแบบ การดําเนินการ เป้าหมาย หรือกลุ่มเฉพาะโรคท่ีมีปัญหา การปฏิบัติ การกํากับดูแล การตรวจสอบ ซับซ้อน ซ่ึงต้องอาศัยความช�ำนาญและ การบันทึก การวิเคราะห์และการรายงาน ทักษะการพยาบาลขั้นสูงในการจัดการ การวิจัยทางคลินิก ซ่ึงให้การรับประกันว่า รายกรณีหรือใช้วิธีการอ่ืน ๆ การจัดระบบ ท้ังข้อมูลและผลที่รายงานน้ันน่าเชื่อถือและ การดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะโรค ถูกต้อง และรับประกันว่าสิทธิ บูรณภาพ การให้เหตุผลและตัดสินใจเชิงจริยธรรม (integrity) รวมทั้งความลับของอาสาสมัคร โดยบูรณาการหลักฐานเชิงประจักษ์ผลการวิจัย ในการวิจัยได้รับการคุ้มครอง. [อ. Good ความรู้ ทฤษฎกี ารพยาบาลและทฤษฎอี ่ืน ๆ Clinical Practice (GCP)]. ที่เป็นปัจจุบัน มุ่งเน้นผลลัพธ์ทั้งระยะสั้น และระยะยาว พัฒนานวัตกรรมและกระบวนการ การปฏิบัติงานตรวจสอบ น. การตรวจสอบ ดูแลในกลุ่มผู้ใช้บริการกลุ่มเป้าหมาย หรือ สอบทาน และรวบรวมหลกั ฐาน เพ่อื วเิ คราะห์ กลุ่มเฉพาะโรคอย่างต่อเน่ืองและเป็นท่ีปรึกษา และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ให้กับผู้ร่วมงานในการพัฒนาความรู้และ ต่าง ๆ ว่า เป็นไปตามนโยบายแผนงาน ทักษะงานเชิงวิชาชีพ ตลอดจนติดตาม ระเบยี บปฏบิ ัติขององค์กร. ประเมินคุณภาพ และจัดการผลลัพธ์โดยใช้ กระบวนการวิจัยเชิงประเมินผล ในการดูแล การปฏิบัติงานทางกิจกรรมบ�ำบัด น. การ ผ้ใู ช้บริการกลุ่มเป้าหมาย หรอื กลมุ่ เฉพาะโรค ตรวจประเมนิ สง่ เสรมิ ปอ้ งกัน บำ� บดั และ ท่ีมีปัญหาซับซ้อน. (อ. advanced practice ฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยการใช้กิจกรรมท่ีมีจุด nursing). มงุ่ หมาย วิธกี าร และอปุ กรณท์ ีเ่ หมาะสม. การปฏิบัติการพยาบาลชุมชน น. การปฏิบัติ การดแู ลสขุ ภาพในชุมชน โดยใชก้ ระบวนการ การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ พยาบาลประเมินภาวะสุขภาพที่บ้านหรือชุมชน ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (กฎ) น. การปฏิบัตติ ามกฎหมาย เน้นการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคน ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี สงิ่ แวดล้อม ผลกระทบตา่ ง ๆ ทมี่ ผี ลต่อสุขภาพ ท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนินงานของหน่วย และการฟื้นหายของคนในชุมชน เพ่ือให้ รับตรวจ รวมทั้งการปฏิบัติตามนโยบาย ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพด.ี และวิธีการปฏิบัติงานที่องค์กรได้ก�ำหนดข้ึน. การปฏิบัติการแพทย์ข้ันพ้ืนฐาน ดูที่ ปฏิบัติการ (อ. compliance). แพทย์ขัน้ พ้ืนฐาน. การปฏิรปู ระบบสุขภาพแห่งชาติ น. กระบวนการ อันน�ำไปสู่การปรับเปล่ียนการจัดการระบบ กระทรวงสาธารณสขุ 65
การปฏิสนธิ สขุ ภาพแห่งชาติ ใหเ้ ปน็ ระบบที่มงุ่ ใหป้ ระชาชน look (มองเห็น) listen (รับฟัง) และ link ท้ังมวลมีสุขภาพชีวิตท่ีดีทั้งทางกาย ทางใจ (ช่วยเหลือ ส่งต่อ). และทางสังคม ตลอดจนมุ่งให้ประชาชน การปนเปือ้ นขา้ มตวั อยา่ ง (กฎ) น. การปนเปือ้ น สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพตามความจ�ำเป็น จากตัวอย่างหน่ึงไปยังอีกตัวอย่างหนึ่ง. อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม มีคุณภาพ (อ. cross contamination). และได้มาตรฐาน. การปฏิสนธิ น. กระบวนการท่ีเซลล์สืบพันธุ์ การปนเปอื้ นในอาหาร น. การทม่ี สี ิง่ แปลกปลอม เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียผสมกันเกิด หรือสิ่งอันตรายที่ไม่ใช่ส่วนประกอบของอาหาร เปน็ ไซโกต. (อ. fertilization). เชน่ เช้อื โรค สารเคมี หรอื วัตถสุ ิ่งของต่าง ๆ ปะปนลงในอาหาร ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ กิดความเสย่ี ง การปฏิสัมพันธท์ ม่ี ีประสิทธภิ าพ น. การสรา้ ง ตอ่ การเจบ็ ปว่ ยหรอื บาดเจบ็ ของบุคคลท่ีบรโิ ภค และรักษาสัมพันธภาพท่ีท�ำให้ผู้ป่วยและ อาหารที่ปนเป้อื นเขา้ ไปในรา่ งกาย. ผู้ดูแลไว้เนื้อเช่ือใจ เพื่อร่วมกันหาวิธีการ ท่ีจะบรรลุเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ. การประกอบโรคศิลปะ (กฎ) น. การประกอบ (อ. productive interaction). วิชาชีพที่กระท�ำหรือมุ่งหมายจะกระท�ำต่อ มนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ น. การให้ความ การบ�ำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริม ช่วยเหลือแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ และการฟื้นฟสู ขุ ภาพ การผดงุ ครรภ์ แตไ่ มร่ วมถึง รุนแรง เช่น ผู้สูญเสีย ผู้ได้รับบาดเจ็บ และ การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และ ผู้ท่ีรอดชีวิต ทุกเพศ ทุกวัย ไม่เลือกชนชั้น สาธารณสุขอนื่ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการนั้น ๆ. และศาสนา โดยการเข้าไปให้ความชว่ ยเหลอื อย่างเร็วทส่ี ุดเท่าทจี่ ะท�ำได้ เพ่ือลดและบรรเทา การประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ (กฎ) น. อาการเจ็บปวดทางจิตใจ. (อ. psychological การประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยความรู้ first aid). จากต�ำราหรือการเรียนสืบต่อกันมาอันมิใช่ การศึกษาตามหลกั วิทยาศาสตร.์ การปฐมพยาบาลทางใจ น. การให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤติ เช่น ภัยธรรมชาติ การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน (กฎ) น. อุบัติเหตุ ฯลฯ อย่างทันที ด้วยการประเมิน การประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยความรู้ ความตอ้ งการทจี่ �ำเป็นเรง่ ดว่ น เอาใจใส่ ห่วงใย อนั ไดศ้ กึ ษาตามหลักวิทยาศาสตร์. ให้ความสะดวกสบาย ใหข้ ้อมลู ที่เป็นประโยชน์ และส่งต่อให้ได้รับความช่วยเหลือที่จ�ำเป็น การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ ์ น. การปฏบิ ตั ิ และเป็นการปอ้ งกนั อันตรายทีเ่ กิดขึ้น เพอ่ื ลด หนาท่ีการผดุงครรภตอหญิงมีครรภ หญิง ผลกระทบด้านจิตใจจากเหตุการณ์และช่วย หลังคลอด ทารกแรกเกิด และครอบครัว ให้ปรับตัวสู่สภาพเดิม โดยใช้หลัก 3L คือ โดยทําการสอน การแนะนํา การใหคําปรึกษา 66 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การประกนั สุขภาพ และการแกปญหาเก่ียวกับสุขภาพอนามัย รัฐมนตรีประกาศก�ำหนด โดยค�ำแนะน�ำของ การกระทําตอรางกายและจิตใจของหญิงมีครรภ คณะกรรมการ ทงั้ นี้ ด้วยกรรมวธิ ีการแพทย์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพอื่ ปองกนั แผนไทยซ่ึงถ่ายทอดหรือพัฒนาสืบต่อกันมา ความผิดปรกติในระยะตั้งครรภ ระยะคลอด ตามต�ำราการแพทย์แผนไทยหรือจาก และระยะหลงั คลอด การตรวจครรภ์ การทาํ สถานศึกษาท่ีสภาการแพทย์แผนไทยรับรอง คลอด การวางแผนครอบครัว และชว ยเหลือ (พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย แพทยกระทําการรักษาโรค. (อ. midwifery พ.ศ. ๒๕๕๖). professional practice). การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล น. การปฏบิ ตั ิ (พท.) น. การประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย หนาที่การพยาบาลตอบุคคล ครอบครัว โดยอาศัยองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ และชุมชน โดยสอน แนะนํา ใหคําปรึกษา วิทยาศาสตร์การแพทย์ซ่ึงศึกษาจากสถานศึกษา แ ล ะ แ ก ป ญ ห า เ กี่ ย ว กั บ สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรอง รวมท้ัง การกระทําต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การประยุกต์ใช้เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ทาง รวมท้ังการจัดสภาพแวดลอม เพื่อการแก้ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ทั้งน้ี ตามระเบียบ ปญหาความเจ็บปวย การบรรเทาอาการของโรค และข้อบังคับของสภาการแพทย์แผนไทย การลุกลามของโรค และการฟนฟูสภาพ (พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย รวมท้ังการกระทําตามวิธีท่ีกําหนดไวในการ พ.ศ. ๒๕๕๖). รักษาโรคเบื้องตน และการใหภูมิคุมกันโรค การประกอบวิชาชีพเวชกรรม (กฎ) น. ชวยเหลือแพทยกระทําการรักษาโรค โดยใช้ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย หลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล ว่าดว้ ยวิชาชีพเวชกรรม. ในการประเมินสภาพ การวินิจฉัยปญหา การประกันคุณภาพ น. กระบวนการจัดการ การวางแผน การปฏิบัติการพยาบาล และ ในเร่ืองการออกแบบการด�ำเนินการให้สามารถ การประเมินผล. (อ. nursing professional ผลิตสินค้าและบริการที่ถูกต้องเหมาะสม practice). และตรงตามความคาดหวังของลูกค้าในเรื่อง การประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย (พท.) คณุ ภาพ ด้วยโอกาสของค่าเบ่ยี งเบนท่เี ปน็ ศนู ย์ น. การประกอบวิชาชีพทกี่ ระท�ำหรือมุ่งหมาย รวมทง้ั การอบรม การฝึกหดั และการใหอ้ �ำนาจ จะกระท�ำต่อมนุษย์ เก่ียวกับการแนะน�ำ แก่พนักงานในสายงานเพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จ การตรวจโรค การวนิ จิ ฉัยโรค การบ�ำบดั โรค ในการควบคุมคณุ ภาพ. (อ. quality assurance). การรักษาโรคการป้องกันโรค การส่งเสริม การประกนั สุขภาพ น. การประกันภัยทบ่ี ริษัท และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยองค์ความรู้ ประกันภัยตกลงจะชดเชยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การ จากการรักษาพยาบาลให้แก่ผู้เอาประกันภัย ผดุงครรภ์ไทย การนวดไทย การแพทย์ พื้นบ้านไทย และองค์ความรู้ ด้านอื่นตามที่ กระทรวงสาธารณสุข 67
การประคบ ไม่ว่าค่ารักษาพยาบาลนั้นจะเกิดขึ้นจากการ โครงการโรคเอดส์แห่งสหประชาชาติที่วาง เจ็บป่วยจากโรคภัย หรือการบาดเจ็บจาก นโยบายการท�ำงาน อนุมัติแผนปฏิบัติการ อุบัตเิ หตุ. และงบประมาณ มกี ารจดั ประชมุ ปีละ ๒ ครัง้ การประคบ น. การนาบหรือกดคลึงด้วยวัสดุ ชว่ งเดือนมิถนุ ายนและธันวาคม ณ นครเจนวี า รอ้ นหรอื เยน็ . (อ. compressing). สมาพนั ธรัฐสวิส. [อ. UNAIDS Programme Coordinating Board (UNAIDS PCB)]. การประคบด้วยสมุนไพร (พท.) น. การใช้ลูก การประชุมคณะกรรมการองค์การอนามัยโลก ประคบสมุนไพรท่ีน่ึงให้ร้อน แล้วน�ำไปนาบ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ น. การ หรือคลึงตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อ ประชุมประจําปีของคณะกรรมการระดับ ช่วยคลายกลา้ มเนือ้ และเสน้ เอน็ . ปลัดกระทรวงสาธารณสุขของประเทศ สมาชิกองค์การอนามัยโลกภูมิภาคเอเชีย การประคับประคอง น. การชว่ ยเหลือทางดา้ น ตะวันออกเฉยี งใต้ หมนุ เวยี นกันเปน็ เจา้ ภาพ สังคมหรือจิตใจแก่บุคคล เพื่อให้ประสบ ตามลําดับอักษรชื่อประเทศ เพ่ือกําหนด ความส�ำเร็จหรือปกป้องไม่ให้เกิดอันตราย. นโยบายความรว่ มมอื ในภูมภิ าค บรหิ ารจัดการ (อ. supporting). ด้านงบประมาณ แผนงาน และรับรองมติ สมัชชาสุขภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันออก การประชุมคณะกรรมการบริหารองค์การ เฉียงใต้ โดยเชิญรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อนามัยโลก น. การประชุมคณะกรรมการ สาธารณสุขของประเทศสมาชิกเข้าร่วม บริหารองค์การอนามัยโลกจํานวน ๓๔ คน การประชมุ โตะ๊ กลมดว้ ย. (อ. WHO Regional จากประเทศสมาชิกในภูมิภาคต่าง ๆ รวม Committee for South East Asia). ๖ ภูมิภาค ท่ีหมุนเวียนกันตามข้อตกลง ของแต่ละภูมิภาค ดํารงตําแหน่งคราวละ การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ๓ ปี ท�ำหน้าท่ีร่วมกําหนดนโยบายที่นําเข้า น. การประชุมวิชาการนานาชาติท่ีจัดขึ้น ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาอนามัยโลก เป็นประจ�ำทุกปี ตามพระด�ำริของสมเด็จ ผลักดันและสนับสนุนให้ข้อเสนอแนะข้อมติ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่าง ๆ ทผ่ี า่ นการรบั รองจากสมัชชาอนามยั โลก องค์ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ดําเนินการสําเร็จ จัดประชุมปีละ ๒ คร้ัง ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพ่ือเผยแพร่ช่ือเสียง ช่วงเดือนมกราคมและพฤษภาคม ณ นครเจนีวา และเกียรติคุณของรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สมาพันธรัฐสวิส. [อ. WHO Executive เพื่อให้ประเทศไทยได้รับการยอมรับเป็น Board (WHO EB)]. ศูนย์กลางความเป็นเลิศทางวิชาการด้าน การแพทย์และสาธารณสุขแห่งหนึ่งของโลก ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น และเพ่ือให้ผลการประชุมเกิดผลกระทบ โครงการโรคเอดส์แห่งสหประชาชาติ น. ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพระดับโลก. การประชุมคณะกรรมการบริหารสูงสุดของ (อ. Prince Mahidol Award Conference). 68 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การประเมิน การประชุมระดับเจ้าหน้าท่ีอาวุโสด้านการพัฒนา คิดค้นข้ึนโดยง่าย เช่น กลไกของเครื่องยนต์ สาธารณสุข น. การประชุมประจ�ำปีของ ยารักษาโรค. (อ. invention). เจ้าหน้าที่อาวุโสระดับปลัดกระทรวงสาธารณสุข การประนอมข้อพิพาท น. กระบวนการของ ของประเทศสมาชิกอาเซียน และหมนุ เวียนกนั การเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทซ่ึงคู่กรณีในข้อ เป็นเจ้าภาพตามล�ำดับตัวอักษรช่ือประเทศ. พิพาทอาจจะไม่อยู่ในห้องเดียวกัน โดยมี [อ. Senior Officials’ Meeting on Health คนกลางที่ท�ำหน้าที่ปรองดอง (conciliator) Development (SOMHD)]. สื่อสารกัน แต่ละฝ่ายแยกกัน เป็นวิธีการ ท่ีเรียกว่า shuttle diplomacy หรือ “การ การประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน น. เจรจาการทูตทีละฝ่าย” ส่วนค�ำว่า “media- การประชุมระดับรัฐมนตรีสาธารณสุขของ tion” หรือ “การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง” ประเทศอาเซียนท่จี ดั ขนึ้ ทุก ๆ ๒ ปี เพอ่ื หารอื ต่างออกไปในความหมายท่ีใช้ในประเทศ และผลักดันนโยบายความร่วมมือระหว่าง แคนาดา คือ ใช้ในกรณีที่มีฝ่ายที่ ๓ ที่เป็น ประเทศสมาชกิ โดยหมุนเวียนกันเปน็ เจา้ ภาพ กลางเข้ามาท�ำหน้าที่เจรจา ไกล่เกลี่ยโดยมี ตามล�ำดับตัวอักษรช่ือประเทศ. [อ. ASEAN คู่กรณีที่เผชิญหน้ากันอยู่ทั้งหมด ค�ำว่า Health Ministers Meeting (AHMM)]. “mediation” และ “conciliation” บางครง้ั ก็ใช้เช่นนั้นไม่ได้ เพราะว่าใน “กระบวนการ การประชุมสมัชชาอนามัยโลก น. การประชมุ เจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางหรือ mediation” ป ร ะ จ� ำ ป ี ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก อ ง ค ์ ก า ร ก็ มี ก า ร แ ย ก เ จ ร จ า แ ต ่ ล ะ ฝ ่ า ย ใ น ข ณ ะ ที่ อนามัยโลก ช่วงเดือนพฤษภาคม ณ “การเจรจาปรองดอง หรือ conciliation” สาํ นกั งานองคก์ ารสหประชาชาติ นครเจนวี า บางครั้งก็ใช้วิธีการเจรจาโดยอยู่ด้วยกัน สมาพนั ธรฐั สวิส เปน็ เวทีสูงสุดระดับนโยบาย พรอ้ มหน้า. (อ. conciliation). ด้านสาธารณสุขระดับโลก ในการกําหนด การประมาณประชากร น. การคาดประมาณ นโยบายและอนุมัติงบประมาณรอบ ๒ ปี จ�ำนวนประชากรด้วยการใช้สูตรต่าง ๆ ขององค์กร มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แบ่งเป็นการประมาณภายในช่วง และ สาธารณสุขของประเทศสมาชิกเป็นหัวหน้า การประมาณนอกช่วง. (อ. population คณะผแู้ ทนร่วมประชุม. [อ. World Health estimation). Assembly (WHA)]. การประเมิน น. การเก็บข้อมูล การวินิจฉัย ภาวะสุขภาพและปัญหาของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง การประดิษฐ์ น. ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เป็นข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการพยาบาล ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไก ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวินิจฉัยภาวะ ของผลิตภัณฑ์ รวมท้ังกรรมวิธีในการผลิต สขุ ภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของบุคคลใด การรักษา หรือปรับปรุงภาพของผลิตภัณฑ์ บุคคลหน่ึง. (อ. assessing). ใหด้ ีขึ้น หรือท�ำให้เกิดผลิตภัณฑใ์ หมท่ ่แี ตกตา่ ง ไปจากเดิม และเน้นการประดษิ ฐท์ ี่มลี กั ษณะ ของการแก้ปัญหาทางเทคนิคท่ีไม่สามารถ กระทรวงสาธารณสขุ 69
การประเมินความคุม้ ค่าทางสาธารณสุข การประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุข น. (management of food risk) ๔) การตดั สินใจ การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ แกไ้ ขปัญหา (decision making process). ด้านสุขภาพท่ีเกิดจากการใช้เทคโนโลยี การประเมนิ ความเส่ียง ดู การวิเคราะห์ความเสย่ี ง. ด้านสุขภาพน้ัน ๆ เรียกได้ว่าเป็นเคร่ืองมือ การประเมินความเส่ยี งต่อสุขภาพ น. การศกึ ษา ทางเศรษฐศาสตร์ท่ีผู้บริหารและผู้ก�ำหนด โอกาส หรือความน่าจะเป็นของผลกระทบ นโยบายด้านสุขภาพใช้ประกอบการตัดสินใจ จากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพของมนุษย์ จัดเป็น เลือกลงทุนเทคโนโลยีด้านสุขภาพของประเทศ. กระบวนการย่อยหนึ่งของการวิเคราะห์ (อ. health economic evaluation). ความเสี่ยง ซ่ึงประกอบไปด้วยกระบวนการ ย่อย ๓ กระบวนการ ได้แก่ การประเมิน การประเมนิ ความเจ็บปวด น. การรวบรวมขอ้ มลู ความเสี่ยง การจัดการความเส่ียง และ เกี่ยวกับความปวด เช่น ความรู้สึกทางกาย การสอื่ สารความเสี่ยง. ความรุนแรง ผลกระทบท่ีมีต่อร่างกาย จิตใจ การประเมินความเสียหายและความต้องการ และอารมณ์ รวมทั้งผลของการรักษาด้วยวิธี น. การประเมินผลกระทบจากสาธารณภัย ต่าง ๆ ท่ีเคยได้รับ เพ่ือน�ำมาวินิจฉัยสาเหตุ เพื่อวิเคราะห์ความสามารถของผู้ประสบภัย และกลไกของความปวด อันจะน�ำไปสู่การ ในการเผชิญสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยตนเอง รักษาท่ีถูกต้องและเหมาะสม. (อ. pain รวมทั้งความต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม assessment). จากหนว่ ยงานภายนอก เช่น ความช่วยเหลือ ด้านอาหาร น�้ำดื่ม การรักษาพยาบาล การประเมินความปลอดภัยของอาหาร น. สุขอนามยั และการกำ� จดั สิ่งปฏกิ ูล ดา้ นสขุ ภาวะ กระบวนการท่ีใช้ในการวัดค่าหรือประมาณ ท่ีพักพิง อุปกรณ์ยังชีพ. [อ. damage and ค่าความปลอดภัยของสารเคมีท่ีเติมลงใน needs assessment (DANA)]. อาหาร ซึ่งต้องอาศัยพ้ืนฐานทางพิษวิทยาใน การประเมินความเสียหายและความสูญเสีย การทดสอบประเมินว่า สารเคมีที่เติมลงใน น. การวิเคราะห์ผลกระทบจากสาธารณภัย อาหารหรือปนเปื้อนในอาหารน้ันมีความเสี่ยง เป็นการประมาณการเชิงปริมาณว่า เกิดผล มากนอ้ ยเพียงใด เพอ่ื ประเมินพิษภยั ความเส่ียง กระทบอะไรขึ้นจากเหตุการณ์สาธารณภัย ในอาหาร (risk assessment) และจะมีวิธี โดยอาศัยการเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากพ้ืนที่ บรหิ ารจัดการ (risk management) อย่างไร ประสบภัย ข้อมูลจากการประเมินจะน�ำไป ต่อไป เพื่อให้เกิดความเส่ียงน้อยที่สุด หรือ ใช้ในการประมาณ การซ่อมสร้างสิ่งก่อสร้าง ให้มีความปลอดภัยมากท่ีสุดต่อผู้บริโภค ท่ีเสียหายไป และเพ่ือใช้ในการวางแผน โดยหลักการใหญ่ ๆ ของการประเมินความ การฟื้นฟูจากความสูญเสีย. [อ. damage ปลอดภัยของอาหารประกอบด้วย ๑) การ and loss assessment (DALA)]. ประเมินพษิ ภัยความเสย่ี งในอาหาร (assess risks in the food supply) ๒) การประเมินความ เสี่ยงต่�ำสุดท่ีทุกคนยอมรับได้ (determine socially acceptable lavel of risk) ๓) การบริหารจัดการความเส่ียงในอาหาร 70 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การประเมนิ เทคโนโลยดี า้ นสขุ ภาพ การประเมินคัดกรองความสามารถในการประกอบ ความรู้ความสามารถด้านการปฏิบัติงาน กิจวัตรประจ�ำวัน น. การจ�ำแนกกลุ่ม ตรวจสอบภายในและด้านการประเมินผล. ผู้สูงอายุเพื่อให้เหมาะสมกับการด�ำเนินงาน (อ. external review). ดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว การประเมินคุณภาพโดยหน่วยงานภายนอก ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มศักยภาพ ส่วนราชการ น. การประเมินจากผ้ทู ี่มีความ ซ่งึ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ เหมาะสมและมีความเป็นอิสระ ไม่มีส่วนได้ ภาคีเครือข่ายและผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ประยุกต์ สว่ นเสยี กบั ส่วนราชการ. จากเกณฑ์การประเมินความสามารถในการ การประเมินคุณภาพบริการพยาบาลภายนอก ประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน ดัชนีบาร์เทล โรงพยาบาล น. การตรวจสอบและประเมนิ เอดีแอล (Barthel ADL index) ซง่ึ มีคะแนน ผลกิจกรรมตามระบบการควบคุมคุณภาพ เต็ม ๒๐ คะแนน จ�ำแนกกลุ่มผู้สูงอายุเป็น ภายในท้ังหมดโดยหน่วยงานภายนอก ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน เพ่ือเป็นการประกันว่า องค์กรพยาบาลได้ และผู้สูงอายุกล่มุ ตดิ เตยี ง. ด�ำเนินการบริหารจัดการต่าง ๆ ให้สามารถ ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการอย่างมีคุณภาพ. การประเมินคุณภาพงานของต�ำแหนง่ น. การจัด (อ. external quality assurrance). ล�ำดับชั้นงานเพื่อให้ได้ค่างานอย่างสมเหตุ การประเมินคุณภาพบริการพยาบาลภายใน สมผลและเป็นธรรม โดยการวิเคราะห์ โรงพยาบาล น. กิจกรรมการควบคุม ลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพภายในงานบริการพยาบาล โดยการ คุณภาพและความยุ่งยากของงานตาม ก�ำหนดของงานบริการพยาบาล กองการ องค์ประกอบการประเมินที่มีระดับการวัด พยาบาล หรือสภาการพยาบาล เพ่ือให้ผู้ใช้ ทีก่ �ำหนดไว้เป็นมาตรฐาน. บรกิ ารเกดิ ความมัน่ ใจวา่ การบริการพยาบาล ได้ด�ำเนินการตามหลักวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ การประเมินคุณภาพจากภายในแบบครั้งคราว ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ ขั้นตอน ดังนี้ น. การประเมินโดยทมี ประเมนิ ทเี่ ป็นบุคลากร ๑) การควบคุมคุณภาพ (quality control) ภายในของหน่วยงานท่ีได้รับการแต่งตั้ง ๒) การตรวจสอบคุณภาพ (quality audit) อย่างเปน็ ทางการ. และ ๓) การประเมินคุณภาพ (quality assessment). (อ. internal quality การประเมินคุณภาพจากภายในอย่างต่อเนื่อง assurrance). น. การประเมินคุณภาพภายในหน่วยงาน ตรวจสอบภายในซ่ึงแฝงอยู่ในกระบวนการ ตรวจสอบ. การประเมินคุณภาพโดยทีมงานภายนอก น. การประเมินเทคโนโลยีด้านสขุ ภาพ น. การวเิ คราะห์ การประเมินการประกันคุณภาพโดยทีมงาน อย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลหรือ จากภายนอกที่เป็นบุคคลหรือคณะบุคคลที่มี ผลวิจัย ท่ีจะน�ำไปสนับสนุนการตัดสินใจ กระทรวงสาธารณสุข 71
การประเมินผล เชิงนโยบาย โดยค�ำนึงถึงหลายปัจจัย เช่น และสุขภาพอนามัยของประชาชนและ ความปลอดภยั ประสทิ ธิผล ต้นทนุ ความคุ้มค่า การกระจายของผลกระทบในกลุ่มประชากร ผลกระทบต่อองค์กร สังคม และจริยธรรม ที่อาจเกิดขึ้นจากแผนงานหรือโครงการ ท่ีอาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ เพื่อน�ำไปก�ำหนดกิจกรรมท่ีเหมาะสมในการ นัน้ ๆ เพอื่ ในทา้ ยท่สี ุดแล้วใหเ้ กดิ การเลือกใช้ จัดการผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ . [อ. environment เทคโนโลยีทางสุขภาพได้อย่างเหมาะสม and health impact assessment (EHIA)]. ของสังคม. [อ. health technology การประเมินผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม น. การใช้ assessment (HTA)]. หลักวิทยาวิชาการท�ำนายหรือคาดการณ์ การประเมินผล น. การตัดสินคุณค่าของแผน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ท้ังทางบวกและทาง งานหรือโครงการด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล ลบของการด�ำเนินโครงการพัฒนา ที่จะมีผล แล้วน�ำมาวิเคราะห์เพื่อน�ำผลมาเปรียบ ต่อส่ิงแวดล้อมทุกด้าน ทั้งทางทรัพยากร เทียบกับเกณฑ์ว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ธรรมชาติ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อหาทาง หรือไม่อยา่ งไร. (อ. evaluation). ป้องกันผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดข้ึนให้ การประเมินผลกระทบ น. การปรับปรุง เกิดน้อยท่ีสุด ในขณะเดียวกันก็มีการใช้ กระบวนการตัดสินใจและสร้างความมั่นใจ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถ ว่าแผนงานและโครงการทางเลือกทั้งหลาย ฟื้นคืนกลับมาได้อย่างมีประโยชน์มีประสิทธิภาพ ที่ก�ำลังพิจารณากันอยู่ จะเป็นทางเลือกที่มี สูงสุดและคุ้มค่าท่ีสุด. [อ. environmental ความเหมาะสมทางสิ่งแวดล้อมและสังคม impact assessment (EIA)]. และมคี วามยั่งยนื . [อ. impact assessment การประเมนิ ผลการควบคุม น. การพจิ ารณาถงึ (IA)]. ผลสัมฤทธ์ิของระบบการควบคุมภายใน การประเมินผลกระทบต่อสขุ ภาพ น .กระบวนการ ทมี่ ีอยูใ่ นหนว่ ยงาน. วิธีการ และเคร่ืองมือท่ีหลากหลาย ท่ีใช้ การประเมินผลการควบคุมการระบาดไข้ เพ่ือคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดข้ึน มาลาเรีย น. การพิจารณาความเหมาะสม จากนโยบาย แผน แผนงาน หรือโครงการท่มี ี ของมาตรการท่ีได้ท�ำไปแล้วและความสิ้น ต่อสขุ ภาพอนามัยของประชาชน การกระจาย เปลืองทรัพยากรต่าง ๆ ที่ใช้ควบคุมการ ของผลกระทบในกล่มุ ประชากร การประเมนิ ระบาดของไข้มาลาเรีย เปรียบเทียบ ผลกระทบต่อสุขภาพ โดยก�ำหนดกิจกรรม สถานการณ์กอ่ นและหลังการดำ� เนินการ. ที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านั้น. การประเมนิ ผลการเรียนร ู้ น. การตัดสนิ คณุ คา่ [อ. health impact assessment (HIA)]. ของส่ิงใดสิ่งหนึ่งโดยพิจารณาจากข้อมูลท่ีได้ การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ มาว่าส่ิงของนั้นมีคุณภาพหรือคุณค่าอย่างไร น. การคาดการณ์ถงึ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม เม่ือเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ดังน้ัน การ 72 พจนานกุ รมการสาธารณสขุ ไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การประเมนิ ผลรายครั้ง ประเมินผลการเรียนรู้จึงเป็นการก�ำหนด ให้บรรลุเป้าหมายท่ีดีขึ้น ผู้มีส่วนร่วมใน แนวทางในการพิจารณาตัดสินผลการเรียนรู้ กระบวนการต้องเรียนรู้และประเมินตนเอง ของผู้เรียนว่าบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร อย่างตรงไปตรงมาโดยมีนักประเมินผลเป็น หรือไม่ และข้อมูลที่ได้จากการประเมินผล ผู้ช่วยสอน หัวใจของการประเมินผลอยู่ท่ี จะเป็นข้อมูลที่ส�ำคัญในการใช้ประกอบการ การมีส่วนร่วมในการคิดและแลกเปลี่ยน พิจารณาเพ่ือปรับปรุงทุกองค์ประกอบของ เรียนรู้ร่วมกันตลอดกระบวนการ เพ่ือให้ หลักสูตรใหเ้ หมาะสมย่งิ ๆ ข้นึ ไป. เกิดผลลัพธ์คือ ปัญญา น�ำไปสู่การพัฒนา การประเมนิ ผลการส่งเสริมสุขภาพ น. การประเมนิ โครงการและหน่วยงาน. (อ. empowerment ขอบเขตกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพท่ีบรรลุ evaluation). ผลสำ� เร็จ มคี ณุ ค่า. (อ. health promotion การประเมินผลแผน น. การตรวจสอบการ evaluation). ควบคุมและการวัดผลการปฏิบัติตามแผน การประเมินผลแบบตอ่ เนื่อง (กฎ) น. การติดตาม เพ่ือให้ทราบถึงความก้าวหน้า ข้อบกพร่อง การปฏิบัติตามวิธีการควบคุมในระหว่าง หรือข้อจ�ำกัดของแผนน้ัน ๆ เพื่อปรับปรุง การปฏบิ ัตงิ าน. แผนให้สามารถน�ำไปปฏิบัติได้ตามเป้าหมาย และวัตถปุ ระสงค์ที่กำ� หนดไว้. การประเมนิ ผลแบบมีส่วนร่วม น. การประเมินผล การประเมินผลภายนอก น. การตรวจสอบ โดยน�ำผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับผิดชอบ คุณภาพการด�ำเนินงานของหน่วยงานโดย โครงการมาร่วมกนั ประเมนิ และให้ความสำ� คญั กลุ่มบุคคลที่เป็นนักประเมินอาชีพ เพื่อให้ได้ กับความต้องการหรือความเห็นของทุกฝ่าย ข้อมูลเก่ียวกับ คุณค่าของหน่วยงาน ซ่ึงเป็น ที่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งเพราะเช่ือว่าผู้ที่มปี ระสบการณ์ ประโยชน์ต่อการปรับปรุงการท�ำงาน และน�ำ โดยตรงจะเป็นผู้ตัดสินหรือประเมินผลได้ดี ไปสู่การรับรองคุณภาพการด�ำเนินงานของ ท่ีสุด จึงมีจุดเน้นที่การสร้างความร่วมมือ หนว่ ยงานตามมาตรฐานทก่ี ำ� หนด. (อ. external จากหลายฝา่ ย ทั้งกลมุ่ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน ผ้บู ริหาร evaluation). ท่ีปรึกษา ภาคี พันธมิตร นักวิชาการ นักประเมินผล และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ การประเมินผลภายใน น. การประเมินผล ระดับของการมีส่วนร่วมจะมีตั้งแต่ร่วมคิด การด�ำเนินงานของหน่วยงานโดยบุคลากร ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมด�ำเนินการ ในหน่วยงานหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องอย่างต่อเน่ือง และร่วมรายงานผล. (อ. participatory เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ช่วยในการปรับปรุงพัฒนา evaluation). ด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีก�ำหนด ถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการท�ำงานของ การประเมนิ ผลแบบเสริมพลัง น. การประเมนิ ผล ตนเอง. (อ. internal evaluation). ตามแนวคิดการประเมินผลภายในโดยใช้ หลักการประเมินผลเพ่ือพัฒนาความสามารถ การประเมินผลรายครั้ง (กฎ) น. การประเมนิ กระทรวงสาธารณสุข 73
การประเมินผลหลักสตู ร ท่ีมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นไปที่ประสิทธิผล การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ น. ของการควบคุม ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง การใช้กรอบแนวคิดและกระบวนการในการ ท่ีก�ำหนด โดยขอบเขตและความถ่ีในการ วิเคราะห์ประเมินศักยภาพ และข้อจ�ำกัดของ ประเมินรายคร้ังข้ึนอยู่กับการประเมิน ส่ิงแวดล้อม ต้ังแต่การพัฒนานโยบาย แผน ความเสี่ยงและประสิทธิผลของวิธีการติดตาม แผนงาน และโครงการขนาดใหญ่ในรายสาขา ผลอย่างต่อเนื่องเป็นหลัก. (อ. separate หรือในเชิงพ้ืนที่ที่ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา evaluation). ที่ย่ังยืน โดยบูรณาการมิติด้านสิ่งแวดล้อม การประเมินผลหลักสูตร น. การรวบรวม เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เปรยี บเทียบ และวิเคราะห์ข้อมูลแล้วตัดสินว่าหลักสูตร ทางเลือกในการตดั สนิ ใจ เพอื่ ใหก้ ารตัดสนิ ใจน้ัน มคี ุณภาพดีเพยี งใด มีขอ้ ดี ข้อบกพร่องอยา่ งไร มีคุณภาพ รอบคอบ โปรง่ ใส และมสี ่วนรว่ ม เพ่ือเป็นข้อมูลในการตัดสินใจว่าควรใช้ต่อไปอีก จากทกุ ภาคส่วน. [อ. strategic environment โดยการปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพดียิ่งข้ึน assessment (SEA)]. ยกเลิกการใช้หลักสูตรบางส่วน หรือยกเลิก ท้งั หมด. (อ. curriculum evaluation). การประสานการดูแลต่อเน่ือง น. การส่งต่อ การประเมินสถานการณ์ น. การประเมิน ข้อมูลการรักษาปัญหาสุขภาพของสถาน องค์ประกอบท้ังหมดในภาพรวมของเหตุการณ์ บริการ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาต่อเน่ือง นั้น ทั้งทางด้านชีวิต ทรัพย์สิน และ เป็นการเตรียมผู้ป่วยและญาติให้พร้อมดูแล สิ่งแวดล้อม เพ่ือใช้ประกอบการพิจารณา ตนเองที่บ้านได้ ภายใต้บริบทและทรัพยากร คาดการณ์ และเฝ้าระวังการเกิดผลกระทบ ท่เี ปน็ ไปได.้ ที่อาจเกิดความรุนแรง รวมท้ังพิจารณา ใ ห ้ ค ว า ม ช ่ ว ย เ ห ลื อ ห รื อ ต อ บ ส น อ ง ต ่ อ การประสานงาน น. การติดต่อสื่อสารให้เกิด สถานการณน์ นั้ ๆ. ความคิด ความเขา้ ใจตรงกันในการปฏิบตั ิงาน. การประเมินส่ิงแวดล้อมการท�ำงาน น. การ ด�ำเนินงานเพื่อให้ทราบถึงปริมาณและ. การประสานวัฒนธรรม น. การสร้างความ ระดับความเครียดของสิ่งแวดล้อมการท�ำงาน เชื่อมโยง ความเช่ือ เก่ียวกับระบบการดูแล เพื่อน�ำมาเปรียบเทียบกับระดับมาตรฐาน สุขภาพของผู้ป่วย และครอบครัวท่ีมีความ และประเมินว่าสภาพการท�ำงานนั้นเป็น หลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรม. (อ. cultural อันตรายต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานหรือไม่ brokerage). นอกจากน้ี ยงั เปน็ การหาคา่ ของความเครยี ด ทางเคมแี ละกายภาพ ซง่ึ เกดิ จากกระบวนการ การปรับตัว น. กระบวนการปรับให้เข้ากับ ทำ� งาน เพ่ือศกึ ษาถึงประสทิ ธิภาพของอุปกรณ์ สภาพภูมิอากาศ ส่ิงแวดลอ้ ม หรอื ผลกระทบ ควบคุมมลพิษท่ีได้ติดตั้งไว้ เพ่ือลดระดับ ทคี่ าดว่าจะเกิดขึน้ โดยแบง่ เป็น ๑) การปรบั มลพษิ ทางส่งิ แวดลอ้ มการท�ำงานดว้ ย. ตัวเพ่ือให้ระบบด�ำรงอยู่ได้ (incremental adaptation) คือ การปรบั เพอ่ื ใหร้ ะบบและ กระบวนการที่ท�ำงานอยู่ยังคงสภาพได้ 74 พจนานกุ รมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
การป้องกัน ๒) การปรับองค์ประกอบเพ่ือให้ระบบด�ำรง น. การปรับลดต�ำแหน่งนอกควบให้ต่�ำลง อยู่ได้ (transformational adaptation) ๑ ระดับเป็นการชั่วคราว และให้ปรับปรุง คือ การเปลี่ยนองค์ประกอบของระบบท่ี การก�ำหนดต�ำแหนง่ เปน็ ระดับเดิมได้ เม่ือจะ สนองตอบต่อผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง. แต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะ (อ. adaptation). สำ� หรบั ต�ำแหนง่ ตามมาตรฐานกำ� หนดตำ� แหน่ง. การปรบั ปรงุ คุณภาพ น. กระบวนการจัดการ การปรึกษาทางเลือก น. การปรึกษาท่ีเสริม ระดับสูงในการวางแผน การจัดการ การ พลังหญิงวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์ให้สามารถตัดสิน กำ� หนดทศิ ทาง การควบคมุ ระบบการจัดการ ทางเลือก ที่สอดคล้องกับปัญหาและเงื่อนไข และเทคโนโลยี เป็นต้น เพื่อคงสภาพและ ชวี ิตของตนเอง. ปรบั ปรงุ คุณภาพของผลติ ภัณฑ.์ (อ. quality improvement). การปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�ำเนิดเม็ดเลือด น. การน�ำเซลล์ต้นก�ำเนิดเม็ดเลือดซึ่งเก็บจาก การปรับปรุงหลักสูตร น. การแก้ไขหลักสูตร ไขกระดกู เลอื ดจากสายสะดือ หรอื แหล่งอน่ื หรือการทบทวนหลักสูตรให้ดีขึ้นหรือเหมาะสม จากผู้ให้ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมตรงกับ ย่ิงขึ้น หลังจากประเมินผลหลักสูตรแล้วพบ ผู้ป่วยเพ่ือรักษาโรคท่ีเกิดจากความผิดปรกติ ข้อบกพร่อง เป็นการแก้ไขเฉพาะประเด็นท่ี ทางเม็ดเลือด รวมไปถึงโรคทางพันธุกรรม พบข้อบกพร่องโดยไม่ได้กระทบกับโครงสร้าง และโรคมะเร็ง. (อ. hematopoietic stem ของหลักสูตรท่ีมีอยู่ก่อน. (อ. curriculum cell transplantation). improvement). การปลกู ถ่ายอวัยวะ น. การยา้ ยอวัยวะจากร่าง การปรับเปล่ียนบริการสาธารณสุข น. การ หน่ึงไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือจากที่หน่ึงไปยังอีก บรรลุผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชากรด้วย ที่หน่งึ ในผูป้ ว่ ยคนเดยี วกนั เพอ่ื แทนทีอ่ วัยวะ การสนับสนุนอุปกรณ์และจัดสรรงบประมาณ ท่ีเสียหายหรือขาดไป อวัยวะท่ีสามารถปลูก เพื่อให้น�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงทัศนคติและ ถา่ ยได้ เช่น หวั ใจ ไต ตา เน้ือเยอื่ ท่ปี ลูกถ่ายได้ การจัดรูปองค์กรบริการสาธารณสขุ โดยมงุ่ ไปที่ เชน่ กระจกตา ผวิ หนงั ล้ินหัวใจ ส่วนอวยั วะ ความต้องการของปัจเจกบุคคล และจัดให้ บางอย่าง เช่น สมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้. สมดุลกับความต้องการของกลุ่มประชากร. (อ. organ transplantation). (อ. re-orienting health service). การปว่ ยไข้ น. ภาวะท่ีไม่สามารถปฏบิ ัติกจิ วัตร การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ น. การ ทางสังคมท่ีควรท�ำได้ เช่น ไม่สามารถไป เปลี่ยนแปลงแนวทางการด�ำรงชีวิตท่ีส่งผล ท�ำงานเมือ่ เจ็บป่วย. ใหม้ ีสุขภาพดขี น้ึ . การป้องกัน น. การหยุดหรือการขัดขวางการ การปรับลดระดับต�ำแหน่งให้ต�่ำลง ๑ ระดับ เกดิ บางส่ิงบางอย่าง. (อ. prevention). กระทรวงสาธารณสขุ 75
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 602
Pages: