Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญจวรรค ๗๗ โสดาปต ติมรรคเปนตน ชอ่ื วา นิปปปญจธรรม โดยเกี่ยวกบั เปน อุบายบรรลพุ ระนิพพาน และมีพระนิพพานนนั้ เปน อารมณ, แม สามัญผล ๔ มีโสดาปต ตผิ ลเปน ตน กช็ ื่อวา นปิ ปปญ จธรรม โดย เกี่ยวกับเปนความสาํ เร็จคือการไดบรรลุพระนิพพานตามอุบาย น้ัน และมีพระนิพพานน้ันเปนอารมณ, แตวาในที่น้ี พระเถระ กลา วถึงเพยี งบางสว น คอื สามัญญผล ๔ เทานน้ั . ในสามญั ญผล ๔ อยา งนนั้ ผลคือความเปนพระโสดาบัน ชอื่ วา โสดาปต ตผิ ล, ผลคือความเปนพระสกทาคามีชื่อวา สกทาคามิผล, ผลคือ ความเปนพระอนาคามี ชื่อวา อนาคามิผล, ผลคือความเปน พระอรหันต ชื่อวา อรหัตตผล. ใจความของปญหามีอยูเพียงแคน้ีเทานั้นวา เม่ือ พระพุทธเจาทรงแนะนาํ ใหยินดีเฉพาะในนิปปปญจธรรม และ นิปปปญจธรรมก็ไดแก สามัญญผล ๔ อยางเทานั้น อยางนี้ ไซร เม่ือเปนเชนน้ีก็เปนอันวา กิจอื่น ๆ ทั้งหลาย มีการเรียน การสอบถาม เปนตน อันนอกไปจากการปฏิบัติเพื่อบรรลุ นิปปปญจธรรม ลวนจัดวาเปนกิจที่ไมควรทํา เพราะเหตุไร ภิกษุท้ังหลายจึงยังคงขวนขวายทาํ กิจที่ไมสมควรทําเหลาน้ันกัน อยูเลา. ในคําวา สตุ ตะ เปนตน, วภิ ังค ๒ ฝา ย คือมหาภวิ ังคแ ละ ภิกขุนีวิภังค, ขันธกะ และปริวาระในพระวินัยปฎก, พระสูตร ทั้งหลายในปกรณส ตุ ตนิบาต รวมทง้ั พระพุทธพจนอ นื่ ๆ ทมี่ ชี อ่ื วา “สูตร” สูตรนั้นสูตรน้ี ช่ือวา สุตตะ. สวนพระสูตรที่มีคาถา (คําท่ี

๗๘ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ผูกดวยฉันทลักษณ) เขามาประกอบท้ังหมด รวมท้ังสวนที่ เรียกวา สคาถวรรค ในสังยุตตนิกาย ชื่อวา เคยยะ. อภิธรรม ปฎกทั้งส้ิน พระสูตรท่ีไมมีคาถา, รวมท้ังพระพุทธพจนที่มิได สงเคราะหดวยองค ๘ ที่เหลือ ช่ือวา ไวยากรณะ, พระพุทธพจน ที่มีเน้ือความเปนคาถาลวน ซ่ึงปรากฏอยูในปกรณเหลานี้ คือ ธรรมบท, เถรคาถา, เถรคี าถา รวมท้ังทเี่ ปน คาถาลวน ซงึ่ ไมม ชี อ่ื วาสตู รน้ันสตู รน้ีในสตุ ตนิบาต ชื่อวา คาถา. พระสตู ร ๘๒ สตู รท่ี ประกอบดว ยพระคาถาท่พี ระพทุ ธเจา ทรงเกดิ พระปต ิโสมนสั แลว ทรงเปลง พระอทุ านออกมา ช่อื วา อุทาน, พระสตู ร ๑๑๐ สูตร ท่เี ร่มิ ตนอยา งน้ีวา “วุตฺตเฺ หตํ ภควตา - เปน ความจริงวา พระผูมี พระภาคไดตรัสความขอนี้ไว” ดังน้ีน่ันเอง ช่ือวา อิติวุตตกะ. ชาดก ๕๕๐ เรอื่ ง มีอปณณกชาดกเปน ตน ชื่อวา ชาดก. พระสูตร ท่ีประกอบดวยอัจฉริยอัพภูตธรรม (ธรรมที่มีจริงท่ีนาอัศจรรย) เชนวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย น่ีแนะ อานนท อัพภูตธรรมมีอยู ๔ ประการเหลาน้ี” ดังน้ีเปนตน ชื่อวา อัพภูตธรรม. พระสูตร ที่ผูมีความเช่ียวชาญ ไดความพอใจแลวใชความเช่ียวชาญ ตั้งปญหาถามตอบกัน เชน มหาเวทัลลสูตร, จูฬเวทัลลสูตร, สัมมาทิฏฐิสูตร เปนตน ชื่อวา เวทัลละ ฉะน้ีแล. คําวา ยังยุงเกี่ยวกับงานกอสราง คือยังยุงเก่ียวกับงาน กอสรางกุฏิเปนตน โดยลงมือสรางเองบาง แนะวิธีการใหผูอื่น สรางบาง โดยอนุโลมตามสิกขาบทบัญญัติ ที่ทรงบัญญัติไว

วรรคที่ ๒, นิปปปญจวรรค ๗๙ เก่ียวกบั เร่ืองนี.้ คําวา ยงั ยงุ เกี่ยวกบั ทานและการบูชา คือยังขวนขวาย ในทาน โดยเกี่ยวกับการคอยแบงปนปจจัยท่ีแสวงหามาได แก เพื่อนผูประพฤติพรหมจรรยเปนตน บาง โดยเก่ียวกับแนะนาํ ใหผูอ่ืนขวนขวายในทาน บาง, และยังขวนขวายในการบูชา มีการบูชาเจดียเปนตน ท้ังแนะนาํ ผูอ่ืนใหขวนขวายในการบูชา น้ี. คาํ วา ลวนชื่อวา กระทาํ เพ่ือบรรลุนิปปปญจธรรม ท้ังสิ้น ความวา การเลา เรยี นเปน ตน เม่อื เปน ไปเพอ่ื ความสะดวก แกก ารบรรลุนิปปปญจธรรม ก็ช่อื วา กระทําเพอ่ื บรรลุนิปปปญ จ- ธรรมทง้ั สิน้ , จดั วาเปนปจ จยั ท่คี วรประกอบในสว นเบอื้ งตน . คําวา เปนผูบริสุทธ์ิตามสภาวะอยูแลว คือเปนผูมี กิเลสเปนดุจธุลี ท่ีสรางมลทินคือความไมบริสุทธ์ิแกดวงตาคือ ปญญานอย ราวกะวาไมมีเอาเลยเทียว ตามสภาวะคือตามปกติ อยูแลว เหตุเพราะไดส่ังสมปญญาไวเต็มเปยมมาแลว แตภพ- อดีต. คําวา มีวาสนาอันไดอบรมแลว คือมกี ารอบรมจิตหรือ การบมอนิ ทรียอันไดอบรมคือฝก มาดีแลว แตภ พกอ น. คาํ วา โดยขณะจิตเดียว คือ สําเร็จไดโดยพลันทันทีที่ ธรรมเทศนาจบลง หรอื สาํ เร็จไดโดยเพียงแตป รารภภาวนา ทาํ ให เปน ไปชั่วเวลาเพยี งนดิ หนอย ดจุ ขณะจติ เดยี ว.

๘๐ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา อธิบายวา สาํ หรับผทู ี่บรสิ ุทธติ์ ามสภาวะอยแู ลว ประโยชน อะไรดวยกิจท้ังหลาย มีการเลาเรียนเปนตนเลา ยอมปรารภ ปฏิปทาท่ีสงเคราะหดวยศีล สมาธิ ปญญา เพ่ือบรรลุนิปปปญจ- ธรรมไดโ ดยตรงทีเดียว. ผมู ธี ลุ ใี นดวงตามากเทานน้ั ยอ มมีภาระใน การขวนขวายในกิจเหลา น้ี. คําวา เปนผมู ีอภชิ าติบรสิ ทุ ธิ์ คือเปน ผมู สี ภาวะแหง จิต บริสทุ ธ.์ิ คําวา กิจท่คี วรทําดวยการสดับตรับฟง เปนตน ไดแก กจิ มีการเลาเรยี นพระบาลีเปน ตน และวัตรทคี่ วรทาํ ทัง้ หลายมี เจตยิ งั คณวัตร (วัตรทค่ี วรทาํ ณ ลานเจดยี  มกี ารปด กวาดลาน เปนตน ) เปน ตน. การประกอบในสมถะและวปิ ส สนาและกจิ ท่คี วร ทาํ ในอริยสัจ ๔ มีการกําหนดทุกข เปนตน. ก็แล บุคคลถึงแมวาจะเปนผูที่บริสุทธ์ิตามสภาวะ ถึง กระน้ัน หากวาปราศจากการอาศัยการสดับตรับฟงคาํ สอนของ พระศาสดาแลว ก็ไมอาจบรรลุนิปปปญจธรรมได จะปวยกลาว ไปใยถึงบุคคลอ่ืนเลาแมแตทานพระสารีบุตรเถระผูเปนเลิศทาง มีปญญามาก ก็ยังตองอาศัย. จบคําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาท่ี ๒, ขีณาสวภาวปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พวกทานกลาว กันวา ‘คฤหัสถผูใด บรรลุความเปนพระอรหันต, คฤหัสถผูนั้น

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญจวรรค ๘๑ ยอมมีคติเปน ๒ เทาน้ัน ไมเปนอ่ืน คือตองบวช หรือไมก็ ตองปรินิพพานในวันน้ันนั่นแหละ ไมลวงเลยวันน้ันไปได’ ดังน้ี. พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา ในวันน้ันไมอาจไดอาจารยหรือ อุปช ฌายหรอื บาตรและจวี ร, ทา นผเู ปน พระอรหันตน ้นั จะบวชเอง หรือลวงเลยวันน้ันไป พระอรหันตผูมีฤทธ์ิรูปใดรูปหนึ่งพึงมาบวช ให จะไดหรือไม, หรือลวงเลยวันน้ันไปแลวจึงปรินิพพาน จะได หรอื ไม? ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร พระอรหันต น้ันไมอาจบวชเองได, เม่ือบวชเองก็ยอมถึงความเปนไถยสังวาส (ปลอมบวช), ท้ังไมอาจลวงเลยวันไปได, จะมีพระอรหันตรูป อื่นมาก็ตาม ไมมีก็ตาม, ทานก็จะตองปรินิพพานในวันนั้นนั่น แหละ.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาอยางนั้นความ เปนพระอรหันตแหงพระอรหันตยอมเปนเหตุคราชีวิต, คือเปน เหตุใหบุคคลผูบรรลุตองเปนผูสิ้นชีวิต.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพศคฤหสั ถไ มสงบเพราะ ความท่ีเม่อื เปนเพศไมส งบ กเ็ ปนเพศท่ีทรามกําลงั คฤหัสถผ บู รรลุ ความเปนพระอรหันตจึงตองบวชในวันนั้นน่ันเทียว หรือไมก็ตอง ปรินิพพาน. ขอถวายพระพร ขอนี้ หาใชโทษของความเปนพระ อรหนั ตไ ม, ความเปนเพศทรามกําลังน้ี เปน โทษของเพศคฤหสั ถ น่นั เทยี ว.

๘๒ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา โภชนาหารซ่ึงเปนของ หลอเล้ียงอายุ รักษาชีวิตของสัตวท้ังหลายท้ังปวง ก็ยังคราเอา ชีวิตได เพราะการที่ไฟธาตุยอยอาหารอันเปนโกฏฐาสที่ไมสงบ (มีขอเสีย) ออนกําลังไป จึงไมอาจยอยได, ขอถวายพระพร น้ี ไมใชโทษของโภชนาหาร ความที่ไฟออนกําลังไปน้ีเปนโทษของ โกฏฐาสเทานนั้ ฉนั ใด, ขอถวายพระพร เพราะความทเี่ มอื่ เปนเพศ ไมสงบ ก็เปนเพศท่ีทรามกําลัง คฤหัสถผูบรรลุความเปนพระ อรหันตจึงตอ งบวชในวนั น้นั นนั่ เทียว หรอื ไมกต็ องปรนิ ิพพาน. ขอ ถวายพระพร ขอน้ีหาใชโทษของความเปนพระอรหันตไม, ความ เปนเพศทรามกําลังน้ี เปนโทษของเพศคฤหัสถน่ันเทียว ฉันนั้น เหมอื นกัน. ขอถวายพระพร อกี อยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา เสอื่ หญา ผืนเลก็ ๆ เมอ่ื เขาเอากอ นหินหนัก ๆ วางไวเ บือ้ งบน ก็ยอ มฉกี ขาด ไป เพราะความที่เปนของไมแข็งแรง ฉันใด, ขอถวายพระพร คฤหสั ถผ ูบรรลุความเปนพระอรหนั ต เมื่อไมอ าจรองรับความเปน พระอรหันตโ ดยเพศนัน้ ได ก็ตอ งบวชเสยี ในวันนน้ั ทเี ดียว หรอื ไมก็ ตอ งปรินพิ พาน ฉนั นั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษผู ออนแอ ทรามกาํ ลัง มีชาตกิ ําเนดิ ตํ่าทราม มีบุญนอย ไดรบั ราช- สมบตั ิทแ่ี สนยงิ่ ใหญแลว กย็ อมตกไป พลาดไป ถอยกลบั ไป, มิ อาจจะรองรับอิสสริยฐานะได ฉันใด, ขอถวายพระพร คฤหัสถ ผูบรรลุความเปนพระอรหันต ก็ยอมไมอาจรองรับความเปน

วรรคที่ ๒, นิปปปญจวรรค ๘๓ พระอรหันตโดยเพศน้ัน เพราะเหตุน้ัน จึงตองบวชในวันนั้น ทีเดียว หรือไมก็ตองปรินิพพาน ฉันน้ันเหมือนกัน แล.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมานี้.” จบขีณาสวภาวปญหาท่ี ๒ คําอธิบายปญหาท่ี ๒ ปญหาเก่ียวกับความเปนพระขีณาสพ ชื่อวา ขีณาสว- ภาวปญหา. คาํ วา ตองบวช หรือไมก็ตองปรินิพพานในวันนั้น น่ันแหละ ไมลวงวันน้ันไปได คือ ผูเปนคฤหัสถบรรลุความ เปนพระอรหันตในวันไหน ก็ตองบวชในวันนั้น หากไมมีโอกาส ไดบวช ก็จักตองดับขันธปรินิพพานในวันเดียวกันน้ันนั่นแหละ ไมอาจมีอายุเกินเลยวันน้ันไปได. เรื่องของพระเจาสุทโธทนะ หรือสันตติมหาอํามาตย ยอมเปนนิทัสสนะแสดงถึงความขอนี้ ไดเปนอยางดี. เนื้อความนอกน้ีงายอยูแลว. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๒ ปญหาที่ ๓, ขีณาสวสติสัมโมสปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระอรหันตยังมี ความหลงลืมสติอยูหรือไม?”

๘๔ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระอรหันต ท้ังหลายเปนผูปราศจากความหลงลืมสติ แล, พระอรหันต ทั้งหลายไมม ีความหลงลมื สตหิ รอก.” พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจา ก็แตว า พระอรหันตทงั้ หลาย ก็ยงั อาจตอ งอาบตั ิได มใิ ชห รือ?” พระนาคเสน : “ใช มหาบพิตร พระอรหนั ตท ง้ั หลาย อาจ ตอ งอาบตั ไิ ด. ” พระเจามิลนิ ท : “ตอ งอาบัติในวตั ถุ (ในเรอ่ื ง) อะไรบา ง?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระอรหันตทัง้ หลายยัง อาจตองอาบัติในเร่ืองสรางกุฏิ, ในเร่ืองส่ือขาว, ในเร่ืองสําคัญ เวลาวกิ าล วา เปน กาล, ในเร่อื งสาํ คัญภกิ ษุผูปวารณาแลว วายัง มิไดปวารณา, ในเรื่องสาํ คัญภัตท่ีมิไดเปนเดนภิกษุไข วาเปนเดน ภกิ ษไุ ข.” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน พวกทา นกลา วกนั วา ภิกษุพวกทีต่ อ งอาบัติ ยองตองอาบตั เิ พราะเหตุ ๒ ประการ คอื เพราะหาความเอ้ือเฟอ (ในพระวินัยบัญญัติ) มิไดประการหนึ่ง, เพราะความไมรูป ระการหนง่ึ , พระคณุ เจา พระอรหันตยังมีความ ไมเอือ้ เฟอท่เี ปนเหตุใหตอ งอาบตั อิ ยูหรอื ?” พระนาคเสน : “ไมมหี รอก ขอถวายพระพร.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา พระ อรหันตก็ยังตองอาบัติได, และพระอรหันตก็มีความเอื้อเฟอไซร, ถาอยางนั้น พระอรหันตก็ยังมีความหลงลืมสติ.”

วรรคท่ี ๒, นปิ ปปญจวรรค ๘๕ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระอรหนั ตไ ม มคี วามหลงลืมสติหรอก แตพระอรหนั ตก ย็ ังตองอาบัต.ิ ” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา ถาอยางน้นั กจ็ งทาํ ขาพเจา ใหเขาใจดว ยเหตุผลเถิด, ในขอท่ีวา พระอรหนั ตไ มม คี วามหลงลมื สติ แตพ ระอรหันตก ็ยังตอ งอาบตั ิไดนัน้ มีเหตุผลอะไร?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร การกระทําที่ เศราหมองมี ๒ อยาง คือ ทีเ่ ปนโลกวชั ชะ (เปน โทษในโลก) ๑ และที่เปนปณณัตติวัชชะ (เปนโทษในพระวินัยบัญญัติ) ๑. ขอ ถวายพระพร ช่ือวา ท่ีเปนโลกวัชชะ เปนไฉน? ตอบวา ไดแก อกศุ ลกรรมบถ ๑๐. อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ น้ี เรยี กวา โลกวัชชะ. ช่ือวา ท่ีเปน ปณณัตติวชั ชะ เปน ไฉน? การกระทําท่ไี มส มควรแกผ ู เปนสมณะทง้ั หลาย ไมอนโุ ลมแกความเปน สมณะใด ยอมมอี ยูใน โลก, อันเปนการกระทําที่ไมเปนโทษสาํ หรับคฤหัสถทั้งหลาย. พระผูมีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบทแกสาวกทั้งหลายในการ กระทําน้ันวา พวกเธอไมค วรลว งละเมดิ ตลอดชีวิต. ขอถวายพระ พร การฉันในเวลาวิกาลซง่ึ ไมเปนโทษ สาํ หรับชาวโลกน้ัน จดั วา เปนโทษในพระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจา, การพรากภตู คาม (ตนไม) ซึ่งไมเปนโทษสําหรับชาวโลกน้ัน จัดวาเปนโทษในพระ ศาสนาของพระชินเจา การเลน นา้ํ ซึ่งไมเปนโทษสําหรับชาวโลก นั้น จัดวาเปนโทษในพระศาสนาของพระชินเจา. ขอถวาย พระพรมหาบพติ ร การกระทําเหน็ เชน น้ี อนั มีประการดงั กลา วมา กระน้ี นี้ชื่อวา เปนโทษในพระศาสนาของพระชินเจา, นี้

๘๖ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา เรียกวา ปณณัตติวชั ชะ, พระขณี าสพเปน ผไู มส ามารถประพฤติ ละเมิดการกระทาํ ทเ่ี ปนโลกวัชชะนั้นได, เม่ือทานไมรูอยู ทาน ก็อาจตองอาบัติเศราหมองที่เปนปณณัตติวัชชะ, ขอถวาย พระพร อันการจะรูทุกสิ่งทุกอยางไดหมด ไมใชวิสัยของพระ อรหันตรูปไหน ๆ, เพราะวาทานไมมีกําลังท่ีจะรูทุกสิ่งทุกอยาง ไดหมด. ขอถวายพระพร พระอรหนั ตทา นกย็ งั มกี ารไมร ูจักแมช ่ือ แมโคตรของหญิงชายท้ังหลายได, พระอรหันตน้ันก็ยังมีการไม รูจักเสนทางบนแผนดินได, ขอถวายพระพร วิมุตติน่ันเทียว พระอรหันตรูปไหน ๆ ก็รูจัก, พระอรหันตผูไดอภิญญา ๖ ยอม รูสิ่งที่เปนวิสัยของทาน, ขอถวายพระพร พระตถาคตเจาผูเปน พระสัพพัญูเทานั้น ทรงรูทุกส่ิงทกุ อยา งได. ” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมาน้ี.” จบขีณาสวสติสัมโมสปญหาที่ ๓ คาํ อธิบายปญหาที่ ๓ ปญหาเก่ียวกับวา พระขีณาสพมีความหลงลืมสติได หรอื ไม ช่ือวา ขณี าสวสตสิ มั โมสปญ หา. คาํ วา ในเรื่องสรางกุฏิ คือในกุฏีการสิกขาบท โดย เก่ียวกับวาใหเขาสรางกุฏิในที่ท่ีสงฆมิไดอนุมัติเห็นชอบ ดวย สาํ คัญวา สงฆอนุมตั เิ หน็ ชอบ เปน ตน .

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญ จวรรค ๘๗ คาํ วา ในเรื่องส่ือขาว คือในสัญจริตตสิกขาบท ที่มี บัญญัติหามพระภิกษุถึงความเปนผูส่ือขาว ใหหญิงไดรูจักชาย ใหชายไดรูจักหญิง เพื่อประโยชนแกการจับคูของคนทั้ง ๒. คําวา ในเรื่องสาํ คัญเวลาวิกาล วาเปนกาล คือใน วิกาลโภชนสกิ ขาบท ท่ที รงบญั ญตั ิหามพระภกิ ษฉุ ันในเวลาวิกาล คือลว งเลยเทย่ี งวนั ไปแลว พระอรหันตอาจตอ งอาบตั ิในสกิ ขาบท ขอนี้ได เพราะสาํ คัญเวลาที่เปนวิกาล วาเปนกาลคือเปนเวลาที่ ทรงอนญุ าตใหฉนั ได. คาํ วา ในเรื่องสําคัญภิกษุผูปวารณาแลว วายังมิได ปวารณา คือในทุติยปวารณาสิกขาบท ที่ทรงบัญญัติหามภิกษุ เชื้อเชิญภิกษุอื่นผูฉันแลว ปวารณาแลว (ปฏิเสธการฉันอีก) ให ยนิ ดพี อใจดว ยของเคีย้ วของกินท่ไี มใ ชเ ดน (คือเปน ของใหม) อกี . พระอรหันตตองอาบัติขอน้ีได เพราะสําคัญวาเปนภิกษุผูยังไมได ฉัน ยังไมไ ดป วารณา. คาํ วา ในเรือ่ งสําคญั ภัตทม่ี ไิ ดเปนเดนภิกษไุ ข วา เปน เดนภิกษุไข คือในปฐมปวารณาสิกขาบท ท่ีทรงบัญญัติหาม ภิกษุผูฉันแลว ปวารณาแลว ฉันภัต (อาหาร) ท่ีไมเปนเดนของ ภิกษุไข คือทภ่ี กิ ษุไขย งั ไมไ ดฉัน ยงั ไมไดป วารณา พระอรหนั ตตอ ง อาบัติขอนี้ได เพราะสําคัญวาเปนภัตท่ีภิกษุไขฉันแลว ได ปวารณาแลว.

๘๘ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา อกุศลกรรมบถ ๑๐ อยาง มีการฆาสัตวเปนตน ช่ือวา โลกวัชชะ - เปนโทษในโลก เพราะเก่ียวกับยังสัตวผูประกอบ กรรมเหลานี้ ใหเสวยผลคือความทุกขในโลกท้ัง ๓ นี้เพราะเปน กรรมชั่ว ไมวาพระพุทธเจาจะทรงบัญญัติหามไวก็ตาม ไมทรง บัญญัติหามไวก็ตาม สวนการฉันในเวลาวิกาลเปนตน ช่ือวา ปณณัตติวัชชะ เพราะเปนโทษเก่ียวกับวาทรงบัญญัติหามไว เทานั้น มิไดเปนอกุศลกรรมบถ ๑๐, เปนโทษสําหรับผูบวชถือ เพศภิกษุน้ีเทาน้ัน มิไดเปนโทษสาํ หรับผูเปนฆราวาสและช่ือวา เปนโทษก็เพราะเปนขอที่ทรงบัญญัติหามไว เหตุเพราะการ กระทาํ อยางนั้น ๆ ไมเปนท่ีต้ังแหงศรัทธาปสาทะของคนทั้งหลาย ไมเหมาะแกสมณเพศ ภิกษุผูลวงละเมิดก็ยอมตองอาบัติ เมื่อ ตองอาบัติก็ยอมเปนผูมีศีลไมบริสุทธ์ิ เพราะฉะนั้น ก็ตองมีการ ปลงอาบัติ นับวาเปนโทษก็อยางที่กลาวมาน้ีเทานั้น ไมใชเพราะ เปนกรรมชั่วท่ีใหผลเปนทุกขในโลกท้ัง ๓. พึงทราบวาพระ อรหันตมีการตองอาบัติสวนท่ีเปนปณณัตติวัชชะเทาน้ัน, และ ตองอาบัติขอนั้น ๆ เพราะสําคัญผิดบาง เพราะไมไดสังเกต หรือสาํ เหนียกบาง ไมใชดวยอํานาจกิเลสเพราะทานละกิเลส ทั้งหลายทั้งปวงไดส้ินแลว, ไมใชดวยอาํ นาจความหลงลืมสติ เพราะความหลงลืมสติมีสภาวะเปนอกุศล ยอมไมมีแกทานผู เปนพระอรหันต. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๓

วรรคท่ี ๒, นปิ ปปญจวรรค ๘๙ ปญหาที่ ๔, โลเก นัตถิภาวปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ในโลกนพ้ี ระพทุ ธ- เจาก็ปรากฏ, พระปจเจกพุทธเจาก็ปรากฏ, พระสาวกของพระ ตถาคตก็ปรากฏ, พระเจาจักรพรรดิก็ปรากฏ, พระราชาประจาํ ประเทศก็ปรากฏ, เทวดาและมนุษยทั้งหลายก็ปรากฏ, คนมี ทรัพยก็ปรากฏ, คนไรทรัพยก็ปรากฏ, คนม่ังคั่งก็ปรากฏ, คน เข็ญใจก็ปรากฏ, ชายที่ปรากฏเพศเปนหญิงก็ปรากฏ, หญิงท่ี ปรากฏเพศเปนชายก็ปรากฏ, กรรมดีกรรมช่ัวก็ปรากฏ, สัตว ผูเสวยวิบากของกรรมดีกรรมชั่วก็ปรากฏ, ในโลก สัตวผูเปน อัณฑชะ (เกิดในใข) เปนชลาพชุ ะ (เกดิ ในมดลูก) เปน สงั เสทชะ (เกดิ ในทแ่ี ฉะช้ืน) เปน โอปปาติกะ (ผดุ เกดิ ทนั ที) กม็ อี ย,ู สตั วผ ไู ม มเี ทา สตั วผูม ี ๒ เทา สัตวผ ูม ี ๔ เทา สัตวผมู ีเทา มากมาย ก็มอี ย,ู ในโลก ยักษ รากษส กุมภัณฑ อสูร ทานพ คนธรรพ พวกเปรต พวกปศาจ กม็ อี ย,ู กินนร มโหรคะ นาค สุบัณณ พวกสิทธวชิ ชาธร ก็มีอยู, ชาง มา โค กระบือ อูฐ ลา แพะ แกะ กวาง สุกร สีหะ เสือโครง เสือเหลือง หมี หมาปา เสือดาว สุนัข สุนัขจิ้งจอก ก็มีอยู, นกชนิดตาง ๆ ก็มีอยู, ทอง เงิน แกวมุกดา แกวมณี สังข สิลา แกวประพาฬ ทับทิม เพชรตาแมว ไพฑูรย เพชร แกวผลึก เหล็ก ทองแดง แรเงิน แรสัมฤทธ์ิ ก็มีอยู, ผาเปลือกไม ผาไหม ผาฝาย ผาเปลือกปาน ผาดายทอ ผาขนสัตว ก็มีอยู, ขาวสาลี ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวฟาง หญากับแก ลูกเดือย ขาวละมาน ถั่ว ถั่วเขียว งา ถั่วพู ก็มีอยู, ไมท่ีมีรากหอม ไมที่มี

๙๐ กัณฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา แกนหอม ไมที่มีสะเก็ดหอม ไมที่มีเปลือกหอม ไมที่มีใบหอม ไมที่มีดอกหอม ไมที่มีผลหอม ไมที่มีทุกสวนหอม ก็มีอยู, หญา เครือเถา กอไม ตนไม ดวงดาว ปาไม แมนา้ํ ภูเขา ทะเล ปลา เตา ทุกอยาง มีอยูในโลก พระคุณเจา ขอจงบอกขาพเจาถึงส่ิง ท่ีไมมีในโลก.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร ในโลกนี้ไมม ี สง่ิ ๓ อยา งเหลาน.้ี ๓ อยา งอะไรบาง? สิง่ ท่ีมเี จตนากต็ าม ไมม ี เจตนาก็ตาม ซึ่งไมแกไมตาย ไมมีในโลก ๑. ความท่ีสังขาร ทัง้ หลายเปน ของเทีย่ ง ไมม ี ๑, วา โดยปรมัตถ ส่ิงทบี่ คุ คลอาจเขา ไปถอื เอาวาเปนสตั วไ ด ไมมี ๑.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมาน้ี.” จบโลเก นัตถิภาวปญหาที่ ๔ คําอธิบายปญหาท่ี ๔ ปญ หาถามถึงความไมม ีอยูใ นโลก ชื่อวา โลเก นัตถภิ าว- ปญหา. คําวา ส่งิ ทบี่ คุ คลอาจเขา ไปถอื เอาวา เปนสตั วไ ดไมม ี ความวา ช่อื วา ไมมี ก็เพราะเปน เพียงขนั ธ อายตนะ ธาตุ ที่เปน ไป ตามปจจัยอันไมใชสตั ว ไมใ ชชีวะ ไมใชอตั ตา ไมใ ชห ญิง ไมใช ชาย. จบคําอธิบายปญ หาที่ ๔

วรรคท่ี ๒, นิปปปญ จวรรค ๙๑ ปญ หาท่ี ๕, อกัมมชาทิปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ในโลกน้ี ส่ิงท่ี บังเกิดจากกรรมก็ปรากฏอยู, ส่ิงท่ีบังเกิดจากเหตุก็ปรากฏอยู, ส่ิงที่บังเกิดจากอุตุก็ปรากฏอยู, ขอทานจงบอกขาพเจาถึงสิ่งที่ มิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิดจากเหตุ มิไดเกิดจากอุตุ ในโลก.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ในโลกนี้ สิ่งที่มิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิดจากเหตุ มิไดเกิดจากอุตุ มี ๒ อยางเหลาน้ี, ๒ อยางอะไรบาง? ขอถวายพระพร อากาศเปน ส่ิงที่มิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิดจากเหตุ มิไดเกิดจากอุตุ, พระนิพพาน ก็เปนส่ิงท่ีมิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิดจากเหตุ มิได เกิดจากอุตุ ขอถวายพระพร สิ่งที่มิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิด จากเหตุ มิไดเกิดจากอุตุ มี ๒ อยางเหลานี้ แล.” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ขอจงอยาลบหลูคํา ของพระชินเจาเลย, ทา นไมรูกข็ อจงอยา ตอบปญ หาเลย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อาตมภาพกลาวอะไร (ไม ถูกตอ ง) หรือ, ซึ่งเปน เหตใุ หพ ระองคร ับส่งั กะอาตมภาพอยางนว้ี า พระคุณเจา นาคเสน ขอจงอยาลบหลูค าํ ของพระชนิ เจาเลย, ทา น ไมร กู ข็ อจงอยาตอบปญ หาเลย.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน กอนอ่ืน การที่ ทานจะกลาววา อากาศ เปนสิ่งที่มิไดเกิดจากกรรม มิไดเกิด จากเหตุ มไิ ดเ กดิ จากอตุ ุ ดงั นี้ น้ี กถ็ ูกตอ งแลว ละ, พระคณุ เจา นาคเสน ก็แตวาพระผูมีพระภาคเจาตรัสบอกสาวกทั้งหลาย

๙๒ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ถึงเหตุหลายรอยอยางที่เปนหนทางทาํ พระนิพพานใหแจง แต ทานก็กลับมากลาวเสียอยางนี้วา พระนิพพาน เปนส่ิงท่ีมิได เกิดจากเหต.ุ ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร เปนความจรงิ วา พระผูมีพระภาคตรัสบอกสาวกทั้งหลาย ถึงเหตุหลายรอย อยางที่เปนหนทางทําพระนิพพานใหแจง, ก็แตวาจะเปนอันตรัส บอกถึงเหตทุ าํ พระนพิ พานใหเกิดขึ้น กห็ าไม.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ในขอท่ีทานกลาว วา เหตุทําพระนพิ พานใหแจง มีอยู แตเหตทุ ําใหพระนพิ พานธรรม น้ันเกิดข้ึน หามีไม น้ี ทําใหขาพเจาเขาสูที่มืดยิ่งกวามืด เขาปา เสียยิ่งกวาปา เขาสูท่ีรกเสียย่ิงกวาท่ีรก. พระคุณเจานาคเสน ถา หากวา เหตทุ ําพระนพิ พานใหแ จง มีอยแู ลว ไซร, ถาอยา งน้ัน แม เหตุทําพระนพิ พานใหเกดิ ขึน้ กพ็ งึ ปรารถนาได. พระคุณเจานาคเสน เปรียบเหมือนวา สําหรับผูเปนบิดา ของบุตรยอมมีอยู, เพราะเหตุนั้น ผูเปนบิดาแมของบิดาก็พึง ปรารถนาไดเ หมอื นกัน ฉนั ใด. สําหรบั ผูเปน อาจารยของศษิ ยยอ ม มีอยู, เพราะเหตุนั้น ผูเปนอาจารยแมของอาจารยก็พึงปรารถนา ไดเ หมอื นกัน ฉนั ใด, พืชของหนอไมยอมมีอย,ู เพราะเหตนุ น้ั พชื แมข องพชื กพ็ ึงปรารถนาไดเ หมอื นกัน ฉันใด พระคุณเจา นาคเสน ถา หากวา เหตทุ าํ พระนพิ พานใหแ จง มอี ยู, เพราะเหตนุ น้ั แมเ หตุ ทําพระนพิ พานใหเกดิ ข้ึน กพ็ งึ ปรารถนาไดเ หมอื นกนั ฉนั นน้ั .

วรรคที่ ๒, นิปปปญ จวรรค ๙๓ อกี อยางหนึง่ เปรียบเหมือนวา ตนไมก็ดี เครือเถาก็ดี เม่ือ มียอดได เพราะเหตุนัน้ แมกลาง แมโ คน กย็ อ มมีไดเ หมือนกัน ฉันใด, พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา เหตุทําพระนิพพานให แจงมีอยูไซร, เพราะเหตุนั้น แมเหตุทาํ พระนิพพานใหเกิดขึ้น ก็พึงปรารถนาไดเหมือนกัน ฉนั น้นั .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระนิพพาน เปนส่ิงที่ไมอาจทําใหเกิดข้ึนได, เพราะฉะน้ัน จึงมิไดตรัสเหตุทํา พระนิพพานใหเกดิ ขึน้ ไว. ” พระเจามิลนิ ท : เอาเถอะ พระคุณเจา นาคเสน ขอทา นจง แสดงใหขาพเจาเขาใจดวยเหตุผลเถิด, ขาพเจาจะพึงรูไดโดย ประการใดเลา วา เหตทุ าํ พระนิพพานใหแจง มีอยู, แตเ หตทุ าํ พระ นพิ พานใหเ กดิ ข้ึนไมม .ี ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ถาอยางนั้น ก็ขอพระองคจงทรงเงี่ยพระโสตสดับอยางเคารพเถิด ขอจงทรง สดับดวยดีเถิด, อาตมภาพจักขอกลาวถึงเหตุผลในความขอน้ัน, ขอถวายพระพร บุรุษอาจใชกาํ ลังตามปกติ ละจากที่นี้เขาไปสู ภูเขาหิมพานตได มิใชหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ได พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร บุรษุ ผนู นั้ อาจใชก ําลังที่มี ตามปกติ ลากเอาภเู ขาหมิ พานตม า ณ ท่ีนี้ ไดหรอื ไม? ” พระเจามลิ นิ ท : “มไิ ดห รอก พระคุณเจา.”

๙๔ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร อปุ มาฉนั ใด อุปมัยก็ฉนั นนั้ เหมือนกัน บคุ คลอาจกลาวถึงมรรค เพอ่ื อนั ทาํ พระ นิพพานใหแจงได, แตไมอาจแสดงเหตุทาํ พระนิพพานใหเกิดข้ึน ได. ขอถวายพระพร มหาบพติ ร บุรุษอาจใชกาํ ลงั ท่ีมีตามปกติ ขนึ้ เรือไปสูมหาสมทุ รได มิใชหรอื ?” พระเจามิลนิ ท : “ได พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ก็แตวาบุรุษผู นั้นอาจใชกําลังท่ีมีตามปกติดึงเอาฝงไกลของมหาสมุทรมายังท่ีน้ี ไดหรือไม?” พระเจา มลิ นิ ท : “มไิ ดห รอก พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร อุปมาฉันใด อปุ มยั กฉ็ ันนนั้ บคุ คลอาจกลาวถึงมรรค เพอ่ื อนั ทาํ พระนิพพานให แจง ได, แตไ มอ าจแสดงเหตทุ ําพระนพิ พานใหเกดิ ขึ้นได, ถามวา เพราะเหตไุ ร ตอบวา เพราะพระนิพพานเปนอสงั ขตธรรม.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระนิพพานเปน อสงั ขตธรรมหรอื ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถูกตอ ง พระนิพพานเปน อสังขตธรรม อันปจจัยอะไร ๆ ก็มิไดสรางขึ้น, ขอถวายพระพร ใคร ๆ ก็ไมควรกลาวถึงพระนิพพานวา เกิดขึ้นแลว ยังไมเกิดขึ้น อาจทาํ ใหเ กดิ ข้นึ , วาเปน อดีต วาเปน อนาคต วา เปนปจ จบุ นั , วา อันจักขุวิญญาณพึงรูได วาอันโสตวิญญาณพึงรูได วาอันฆาน-

วรรคที่ ๒, นิปปปญ จวรรค ๙๕ วิญญาณพึงรูได วาอันชิวหาวิญญาณพึงรูได หรือวาอันกาย วิญญาณพึงรูได.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวาพระ นิพพานไมใชสิ่งท่ีเกิดขึ้นแลว ไมใชส่ิงที่ยังไมเกิดขึ้น ไมใชส่ิงท่ี เปนอดีต ไมใชส่ิงท่ีเปนอนาคต ไมใชสิ่งที่เปนปจจุบัน ไมใชสิ่งที่ จักขุวิญญาณพึงรูได ไมใชสิ่งที่โสตวิญญาณพึงรูได ไมใชส่ิงท่ี ฆานวิญญาณพึงรูได ไมใชสิ่งท่ีชิวหาวิญญาณพึงรูได ไมใชสิ่งท่ี กายวิญญาณพึงรูได ไซร, ถาอยางนั้นนะ พระคุณเจานาคเสน ก็เปนอันวาพวกทานระบุถึงพระนิพพานอันไมมีอยูเปนธรรมดา วาพระนิพพานมีอยูจริง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระนิพพานมีอยูจริง, พระนิพพานเปนส่ิงที่มโนวิญญาณจะพึงรูได, พระอริยสาวกผู ปฏิบัติชอบยอมมองเห็นพระนิพพานไดดวยจิตที่บริสุทธ์ิ ท่ี ประณีต ท่ีตรง ท่ีหาธรรมเคร่ืองขวางกั้นมิได ที่ปราศจากอามิส แล.” พระเจามิลนิ ท : “พระคุณเจา ก็พระนิพพานนเี้ ปน เชนกบั อะไร, พระนิพพานเปนสิ่งท่ีอาจแจมแจงวาเปนของมีอยูจริงเปน ธรรมดา ดวยอุปมาท้ังหลาย โดยประการใด, ขอทานจงทาํ ให ขาพเจาเขาใจพระนิพพานที่อาจแจมแจงไดดวยอุปมาท้ังหลาย นั้น ดว ยเหตผุ ลทัง้ หลายเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมดาวา ลม มีอยูจริงหรือ?”

๙๖ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “ใช มอี ยูจริง พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เอาละ ขอพระองคจง แสดงลม โดยสีบาง โดยสัณฐานบาง โดยความเปนของ ละเอียดบาง โดยความเปนของหยาบบาง โดยความยาวบาง โดยความสั้นบาง เถิด.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ใคร ๆ ไมอาจท่ี จะระบุลม (โดยสีเปนตน) ไดหรอก, ลมนั้น มิไดเขาถึงการจับ ถือดวยมือ หรือเขาถึงการบีบคลําได, แตวาลมน้ันก็มีอยูจริง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ถาหากวา ใคร ๆ ไมอาจระบุลม (โดยสีเปนตน) ไดไซร, ถาอยางน้ันลมก็ หามีอยูจริงไม.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขาพเจาก็รูอยู, เปนของท่ีซึมซาบอยูในใจของขาพเจาแลววา ลมมีอยูจริง, แต ขาพเจา ก็ไมอ าจท่ีจะระบถุ ึงลม (โดยสีเปน ตน ) ได.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร อปุ มาฉันใด อปุ มยั ก็ฉนั นน้ั พระนิพพานกม็ ีอยูจรงิ , แตใ คร ๆ ก็ไมอาจท่ีจะระบุ ถงึ พระนพิ พานโดยสี หรอื วาสณั ฐานเปนตน ได.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน, ทานชี้แจง อุปมาไดดีแลว, ทานแสดงไขเหตุผลไดดีแลว, ขาพเจาขอรับคาํ ตามท่ีทานกลาวมาน้ี อยางนี้วา พระนิพพานมีอยูจริง.” จบอกมั มชาทิปญหาท่ี ๕

วรรคที่ ๒, นิปปปญ จวรรค ๙๗ คําอธิบายปญหาท่ี ๕ ปญหาเก่ียวกับสิ่งที่มิไดเกิดจากกรรมเปนตน ช่ือวา อกมั มชาทปิ ญหา. คาํ วา ส่ิงท่ีบังเกิดจากกรรม คือสิ่งที่เปนผลของกรรมดี และกรรมชว่ั ที่สัตวไ ดก อไว. คาํ วา ส่งิ ทบี่ งั เกิดจากเหตุ คอื สง่ิ ทบี่ ังเกดิ จากเหตุทที่ าํ ให เกดิ อื่น ๆ นอกเหนือจากกรรมและอุตุ. คําวา สิ่งทบ่ี งั เกดิ จากอุตุ คือสง่ิ ท่ีบังเกดิ จากความเยน็ หรือความรอน, หรือสิ่งที่บังเกิดเพราะความเปล่ียนแปลงแหง ฤดูกาล. คําวา อากาศ พระเถระกลาวหมายเอาอัชฎากาศ คือที่ โลงเวิ้งวางอันเปนที่โคจรไปมาแหงหมูนก แหงพระจันทร พระ อาทิตย เปน ทต่ี ้ังแหง โลกธาตุ แหงจักรวาล. คาํ วา เหตุหลายรอยอยาง เปนตน ไดแก เหตุมีบารมี ๑๐ ประการ ฌาน ๕ ทีเ่ ปนบาทแหง การเจรญิ วิปส สนา, ปฏิปทา ๔, โพธิปก ขยิ ธรรม ๓๗ ประการ เปนตน ซึง่ แตล ะอยา งสามารถ แตกไดเปน รอ ยนยั พันนยั ไปตามความตางกนั แหงอธบิ ดี ๔ เปน ตน อันลวนสงเคราะหไดวาเปน “มรรค” เพราะเปนดุจหนทาง ดาํ เนินไปสูพระนิพพาน. ก็เหตุเหลาน้ีเปนเพียงเหตุในเบ้ืองตน บาง ในท่ีสุดบาง เพ่ืออันทาํ พระนิพพานใหแจง คือกระทาํ ใหเปน อารมณแ กจ ิต โดยประจกั ษด ุจบุรุษเล็งดผู ลมะขามปอมบนฝามอื ฉะน้ัน. ความวา เปน สัมปาปกเหตุ - เหตุบรรลุ จะเปนเหตุทที่ าํ ผล

๙๘ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา คอื พระนิพพานใหบ งั เกิด เหมือนอยา งทีก่ รรมดกี รรมชวั่ ทําผล คอื ความสุข ความทกุ ขใ หบ ังเกดิ แกส ตั ว ก็หาไม. คาํ วา ถา หากวา เหตุทําพระนิพพานใหแจงมอี ยู ฯลฯ กพ็ งึ ปรารถนาได ความวา คาํ ยนื ยันทว่ี า เหตทุ าํ พระนิพพานให แจงมีอยู นน่ั เอง ยอ มเปนคําท่ีสอ แสดงวา พระนิพพานก็มีเหตุทาํ ใหเกดิ ขน้ึ ดว ยทีเดียว เพราะถาหากวา พระนพิ พานไมมีเหตทุ าํ ให เกิดขึ้นเสียกอนไซร บุคคลจะกระทําพระนิพพานที่ไหนใหแจงได เลา เพราะยงั ไมม ี เพราะฉะนัน้ แมเ หตทุ ีท่ ําพระนพิ พานใหเ กดิ ข้ึน กพ็ ึงปรารถนาได. คาํ วา เพราะพระนิพพานเปนอสังขตธรรม ความวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดข้ึนเพราะปจจัยท้ังหลายพรอมเพรียงกัน ทาํ ให เกิดข้ึน สิ่งน้ันท้ังหมด ช่ือวา สังขตธรรม (ธรรมที่ปจจัยพรอม เพรียงกันทาํ ขึ้น) ไดแก ขันธ ๕, พระนิพพานไมใชสังขตธรรม เหลานน้ั เพราะเหตนุ นั้ จงึ ช่อื วา อสงั ขตธรรม. อธบิ ายวา มีอยูโดย ประการทไ่ี มม ีปจจยั ทาํ ใหเกดิ ข้ึน. ถามวา ทราบไดอยา งไรวา พระนิพพานเปน อสงั ขตธรรม? ตอบวา ทราบไดโดยสูตร. จริงอยางนั้น ตรัสไวใน อชาตสูตร๑ อยางนีว้ า :- “อตฺถิ ภิกฺขเว อชาตํ อภูตํ อกตํ อสงฺขตํ ฯเปฯ นสิ สฺ รณํ ปฺ าเยถ - ดกู ร ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ส่ิงท่ีไมเกิด ไมปรากฏ                                                ๑. ขุ. อติ ิ. ๒๕/๒๙๒.

วรรคท่ี ๒, นิปปปญจวรรค ๙๙ ไมมีปจจัยทาํ ข้ึนมา เปนอสังขตะ มีอยู. ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ถา หากวา สง่ิ ทไ่ี มเ กิด ฯลฯ เปนอสงั ขตะ มไิ ดม อี ยไู ซร, การสลดั ทง้ิ สง่ิ ที่เกิด ที่ปรากฏ ทม่ี ีปจ จยั ทําขน้ึ มา ทเี่ ปนสงั ขตะ กจ็ ะไมพ ึงปรากฏ ในโลกน”้ี ดงั นเ้ี ปน ตน . คาํ วา ใคร ๆ ไมควรกลาวถึงพระนพิ พานวา เกดิ ขึ้น แลว ฯลฯ หรือวา อันกายวิญญาณพึงรไู ด คอื เพราะเหตุที่ พระนิพพานเปนอสังขตะนั่นเอง จึงเปนธรรมทม่ี ิไดมคี วามเกดิ ขนึ้ และดบั ไปตามปจจัย เพราะเหตุนัน้ ใคร ๆ จึงไมค วรกลาวถงึ พระ นิพพานวา เกดิ ขนึ้ แลว ฯลฯ วาเปนปจจบุ ัน วาพงึ เหน็ ไดด ว ยตา วา พึงสดบั ไดด ว ยหู วา พงึ ดมไดดว ยจมูก วาพงึ ลิ้มไดดว ยลนิ้ วา พงึ สัมผสั แตะตองไดดวยกาย. คาํ วา พระนิพพานเปน ส่งิ ที่มโนวญิ ญาณจะพงึ รูได คือ พระนิพพานเปนส่ิงท่ีใจพึงรูได. ความวา เปนส่ิงท่ีมรรคจิตอัน เปนไปทางมโนทวารจะพึงรูได โดยการกระทาํ ใหเปนอารมณโดย ประจักษ ท่ีเรียกวา เปน การกระทาํ ใหแจง. คาํ วา ดวยจิตท่ีบริสุทธ์ิ ฯลฯ ท่ีปราศจากอามิส คือ ดวยมรรคจิตนั้นน่ันแหละ เปนคาํ ท่ีระบุประเภทมโนวิญญาณ ผูรูพระนิพพาน ก็มโนวิญญาณคือมรรคจิตน้ี ช่ือวาบริสุทธ์ิ เพราะปราศจากมลทินมีราคะเปนตน ช่ือวาประณีต ก็เพราะ ความเปนโลกุตตระ ช่ือวาตรง เพราะปราศจากธรรมเคร่ือง สรางความคดงอมีทิฏฐิเปนตน ชื่อวาหาธรรมเครื่องขวางกั้น มิได เพราะปราศจากนีวรณธรรมทั้งหลายมีกามฉันทะเปนตน

๑๐๐ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ช่ือวาปราศจากอามิส เพราะไมใชกามคุณอันเปนอามิสคือ เหยื่อของตัณหา ฉะน้ีแล. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๕ ปญหาท่ี ๖, กัมมชาทิปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ในบรรดาส่ิง ท้ังหลายเหลานี้, อะไรเปนสิ่งท่ีเกิดจากกรรม, อะไรเปนส่ิงท่ี เกิดจากเหตุ, อะไรเปนส่ิงท่ีเกิดจากอุตุ, อะไรเปนส่ิงที่ไมเกิด จากกรรม ไมเกิดจากเหตุ ไมเกิดจากอุตุ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร สตั วผมู เี จตนา ท้ังหลายท้ังปวง ลวนเปนส่ิงท่ีเกิดจากกรรม, ไฟและพืชท่ีเกิดมา ท้ังหมด ลว นเปน สง่ิ ทเ่ี กดิ จากเหต,ุ แผนดิน ภเู ขา นํ้า ลม ทงั้ หมด ลว นเปน ส่งิ ทเ่ี กดิ จากอุต,ุ สิ่ง ๒ อยางเหลานี้คอื อากาศและพระ นิพพาน เปน สิ่งทีไ่ มเ กดิ จากกรรม ไมเกิดจากเหตุ ไมเกดิ จากอุต,ุ ขอถวายพระพร ก็แล พระนิพพาน ใคร ๆ ไมควรกลาววาเกิดจาก กรรม วาเกิดจากเหตุ วาเกิดจากอุตุ วาเกิดข้ึนแลว วายังไมได เกิดขึ้น วาอาจทาํ ใหเกิดขึ้น วาเปนอดีต วาเปนอนาคต วาเปน ปจจุบัน วาอันจักขุวิญญาณพึงรูได วาอันโสตวิญญาณพึงรูได วาอันฆานวิญญาณพึงรูได วาอันชิวหาวิญญาณพึงรูได หรือวา อันกายวิญญาณพึงรูได. ขอถวายพระพร ก็แตวา พระนิพพาน อันมโนวิญญาณจะพึงรูได, คือเปนสิ่งท่ีพระอริยสาวกผูปฏิบัติ ชอบนั้น เห็นดวยญาณที่หมดจด.”

วรรคท่ี ๒, นิปปปญ จวรรค ๑๐๑ พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ปญหาท่ีนา รื่นรมยใจ ทานก็ไดวินิจฉัยดี จนหมดสงสัย ถึงความแนนอน ใจได, ความคลางแคลงใจก็ถูกทานตัดเสียได, ทานนับวาเปน ผูประเสริฐยอดเย่ียม องอาจในหมูคณะ แล.” จบกัมมชาทิปญหาที่ ๖ คาํ อธิบายปญหาที่ ๖ ปญหาเก่ียวกับส่ิงท่ีเกิดจากกรรมเปนตน ช่ือวา กัมมชา- ทิปญหา พืช แมวาเกิดจากอุตุ แตเพราะเหตุที่มีความแปลกไป จากสิง่ ทเ่ี กิดจากอุตอุ น่ื ๆ มแี ผน ดนิ เปน ตน โดยเกย่ี วกับมคี วาม เปล่ียนแปลงไปตามลําดับแหงความเจริญงอกงาม กลาวคือ มี การแตกหนอแลวเปนลาํ ตน ก่ิง กาน ใบ ในกาลตอมาซึ่งความ เปนอยา งนเี้ นอ่ื งกบั เหตอุ ่ืน ๆ อกี หลายอยา งท่ชี วยอุปถมั ภ เชน วา ดิน โอชะในดิน นํา้ ความตกตองตามฤดูกาลแหงฝนเปนตน ไมใชสักแตอุตุเทาน้ัน เพราะเหตุน้ัน ทานจึงกลาวเสียวา พืช เปนส่ิงที่เกิดจากเหตุ. พึงทราบวา คําวา ไฟและพืช เปนเพียง นิทัสสนะ ความจริงส่ิงที่เกิดจากเหตุมีมากมาย ไมอาจระบุช่ือ และนับจํานวนได. แมคําวา แผนดิน ภูเขา เปนตน ก็อยางน้ี เหมือนกัน. จบคาํ อธบิ ายปญ หาที่ ๖

๑๐๒ กัณฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา ปญ หาท่ี ๗, ยักขปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ธรรมดาวา ยกั ษม ี อยใู นโลกหรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ใชแลว ธรรมดาวา ยักษ ยอ มมีอยูในโลก.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา ก็พวกยักษน ัน้ ยอ มจุติจาก กาํ เนิดนั้นหรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ใช พวกยักษเหลา น้ันยอม จตุ ิจากกําเนดิ นัน้ .” พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน เพราะเหตุไร ซาก ของยกั ษที่ตายแลว เหลานัน้ จงึ ไมป รากฏ แมก ลนิ่ ศพก็ไมฟ ุงไป?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ซากของยกั ษท ต่ี ายแลวก็ ปรากฏอย,ู แมกลน่ิ ศพของยกั ษเหลาน้นั กฟ็ ุง ไป, ขอถวายพระพร ซากของพวกยกั ษท ต่ี ายแลว ยอ มปรากฏเปน ซากแมลงบา ง, ยอม ปรากฏเปนซากหนอนบาง, ยอมปรากฏเปนซากมดบาง, ยอม ปรากฏเปนซากต๊ักแตนบาง, ยอมปรากฏเปนซากงูบาง, ยอม ปรากฏเปน ซากแมลงปอ งบาง, ยอมปรากฏเปน ซากตะขาบบาง, ยอ มปรากฏเปน ซากเนือ้ บาง.” พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ยกเวน ผมู ีปญญา เชนอยางทานแลว ใครอื่นเลา ถูกถามแลวจะอาจเฉลยปญหาน้ี ได. ” จบยกั ขปญหาท่ี ๗

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญ จวรรค ๑๐๓ คาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาเกี่ยวกับยักษ ชื่อวา ยักขปญหา. พระเจามิลินทรตรัสคาํ วา “ยักษ” ทรงหมายเอาพวก ภุมเทวดา ซ่ึงนับเนื่องในเทวดาช้ันจาตุมหาราชิกา, เปนบริวาร ของทาวจตุโลกบาล. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๗ ปญหาที่ ๘, อนวเสสสิกขาปทปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน บรรดาอาจารย ของพวกแพทยท้ังหลายแตปางกอนมีอยู เชนวา ทานนารทะ ทานธัมมันตรี ทานอังคีรสะ ทานกปละ ทานกัณฑรัคคิ ทาน สามะ ทานอตุละ ทานปพุ พกจั จายนะ, อาจารยเ หลานีแ้ มทกุ ทา น รจู ักความเกิดขน้ึ แหง โรค เหตแุ หงโรค สภาวะแหง โรค สมุฏฐาน ของโรค วิธีบาํ บัด กิจที่ควรทาํ และโรคท่ีรักษาสําเร็จหรือไม สําเร็จไดทุกอยางในคราวเดียวกัน เชนวา โรคเทาน้ี จักเกิดข้ึน ในรางกายน้ี เปนตน เหมือนอยางผูกเสนดายทาํ ใหจับกันเปน พวง ๆ ในคราวเดียวกัน ฉะนั้น, อาจารยเหลาน้ีทุกทานหา เปนสัพพัญูไม, แตเพราะเหตุไร พระตถาคตผูทรงเปนพระ สัพพัญู รูกิจท่ีควรทาํ ในอนาคต กําหนดไดวา ‘จักมีสิกขาบท ท่ีเราตองบัญญัติเทานั้น ในวัตถุเทาน้ี’ ดังน้ีแลว ก็ยังไมทรง บัญญัติสิกขาบทใหหมดส้ินเสียเลยเลา ตอเม่ือวัตถุ (เร่ืองราว) เกิดข้ึนแลว ความผิดแพรไปมากมายแลว คนท้ังหลายติเตียน

๑๐๔ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา แลว จึงไดทรงบัญญัติสิกขาบทแกสาวกทั้งหลายในกาลครั้ง นัน้ ๆ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระตถาคต ทรงทราบความขอ นวี้ า ในสมยั นจ้ี ักมสี กิ ขาบทท่ีเราตองบญั ญัติ ในคนทง้ั หลายเหลา นี้ อยู ๑๕๐ กวาขอ ดังน้ี แตท วา พระตถาคต ทรงมพี ระดํารอิ ยา งน้ีวา ถา หากเราจะบญั ญตั สิ กิ ขาบททงั้ ๑๕๐ กวาขอ คราวเดียวกันไซร มหาชนก็จะถึงความพรั่นพรึงใจวา ‘สกิ ขาบทที่ตอ งรักษาในพระศาสนานี้ มมี ากมาย, เจา ประคณุ เอย อันการท่ีจะบวชในพระศาสนาของพระสมณโคตมะ เปนกิจท่ีทาํ ไดยากเสียจริงหนอ’ ดังน้ีแลว แมอยากบวชก็ไมกลาบวช ทั้งจัก ไมเช่ือคําของเราดวย, เมื่อไมเช่ือถือ พวกคนเหลานั้นก็จักเปนผู ไปอบาย. (เพราะฉะนั้น) เม่ือมีวัตถุเกิดข้ึนแลว เราจักทาํ คน เหลาน้ันใหเขาใจดวยธรรมเทศนาแลวจักบัญญัติสิกขาบทใน เม่ือมีโทษปรากฏแลวเทาน้ัน ดังน้ี.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระสัพพัญุต- ญาณของพระตถาคตยิ่งใหญเพียงใด ขอน้ีจัดวาเปนสิ่งนา อัศจรรยแหง พระพุทธเจาทัง้ หลาย, จดั วา เปนสง่ิ ทน่ี า แปลกใจแหง พระพุทธเจาท้ังหลาย, พระคุณเจา นาคเสน ขอ นี้ เปน อยางที่ทา น กลาวมานี้ ก็เปนอันวาพระตถาคตทรงไขความขอน้ีไวดีแลววา เม่ือสตั วท งั้ หลายไดส ดบั วา สิกขาบทท่ีพงึ ศกึ ษาในพระศาสนาน้ี มมี ากมาย ดังนี้แลว ก็จะพึงถึงความพรั่นพรึง, แมสักคนหน่ึง

วรรคที่ ๒, นิปปปญ จวรรค ๑๐๕ ก็ไมกลาบวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, ขาพเจาขอ ยอมรับคาํ ตามท่ีทานกลาวมานี้.” จบอนวเสสสิกขาปทปญหาที่ ๘ คาํ อธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาเก่ียวกับสิกขาบทท่ีไมมีสวนเหลือ ชื่อวา อนวเสส- สิกขาปทปญหา. คาํ วา รจู กั ความเกดิ ข้ึนแหง โรค เปน ตน ความวา รจู กั ความเกิดขึ้นแหงโรค วาเวลานม้ี โี รคชอ่ื นเี้ กิดขน้ึ แลว , รจู ักเหตุ แหงโรค วา โรคน้เี กิดเพราะอากาศทเ่ี ย็น เพราะอากาศท่รี อ น เพราะอาหาร เพราะการทําตนเอง เพราะถกู ผอู นื่ ทําเปน ตน , รจู ัก สภาวะแหงโรค คอื รจู ักอาการของโรค, รูจกั สมฏุ ฐานของโรค วาโรคน้ีมีดีเปนสมุฏฐาน โรคน้ีมีเสมหะเปนสมุฏฐาน เปนตน, รูจักวิธีบําบัด วา โรคนี้ตองบาํ บัดรักษาดวยยาช่ือนี้ เปนตน, รูจักกิจที่ควรทํา คือรูจักกิจท่ีหมอควรทําตอคนไข หรือที่คนไข ควรทําเอง เพ่ือใหโรคหายเร็ว มีการทําความสะอาดแผล การ ไมเสพของแสลง เปนตน. คาํ วา โรคทร่ี ักษาสําเร็จหรอื ไมสําเรจ็ คอื โรคทสี่ ามารถ รักษาใหห ายได โรคทไี่ มส ามารถรกั ษาใหหายได. คาํ วา ทุกอยางในคราวเดียวกัน คือ ยอมรูจักความ เกิดข้นึ แหง โรคเปนตน ไดทุกอยา งในคราวทวี่ ินิจฉยั คนไขใ นคราว เดียวกัน.

๑๐๖ กัณฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา คาํ วา ในวัตถุเทาน้ี คือ ในเรื่องราวหรือเหตุการณครั้ง นนั้ ๆ ท่ีทรงปรารภเปนเหตบุ ญั ญตั ิสิกขาบทขอ นน้ั ๆ ทกุ เรือ่ ง รวม จาํ นวนเทาน.ี้ คาํ วา คนท้งั หลายตเิ ตียนแลว คือคนท้ังหลายตเิ ตยี นวา “ไฉนพระสมณศากยบุตรผูนี้จึงไดทําอยางน้ี, ผูเปนสมณะไมนา ทาํ อยา งน”ี้ ดังน้ีเปนตน. คาํ วา เมื่อไมเชื่อ พวกคนเหลา นั้นก็จกั เปนผไู ปอบาย คือเม่ือไมเชื่อก็ไมประพฤติตามท่ีทรงบัญญัติไว เม่ือไมประพฤติ ตามก็เปนผูมีศีลไมบริสุทธิ์ เพราะเหตุท่ีมีศีลไมบริสุทธิ์ก็ยอมไป อบายภมู ิ ๔ หลังจากตายได. จบคาํ อธิบายปญ หาท่ี ๘ ปญ หาท่ี ๙, สรู ยิ ตปนปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระอาทิตยน้ีสง แสงแรงกลาอยูตลอดกาลท้ังปวงหรือ, หรือวา บางคร้ังก็สงแสง ออ นบา ง?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร พระอาทิตยน้ี สงแสงแรงกลาตลอดกาลท้งั ปวง ในกาลไหน ๆ กไ็ มส ง แสงออ น.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา พระ อาทิตยสงแสงแรงกลาอยูตลอดกาลทั้งปวงไซร เพราะเหตุไรใน กาลบางคราวก็สงแสงแรงกลา ในกาลบางคราวก็สงแสงออน (อยูอยางน้ี) เลา?”

วรรคท่ี ๒, นปิ ปปญ จวรรค ๑๐๗ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระอาทิตย มีโรคอยู ๔ อยา งเหลานี้ พระอาทิตยถ ูกโรคอยางใดอยางหนงึ่ แหง บรรดาโรค เหลา น้ี บีบค้นั แลว กย็ อ มสง แสงออ นไป, โรค ๔ อยางอะไรบาง? ขอถวายพระพร กอนเมฆหนา ๆ กเ็ ปน โรค ของพระอาทิตยอยาง หนึ่ง, พระอาทติ ยถ กู โรคคอื กอ นเมฆหนา ๆ นนั้ บบี คน้ั (คอื ปดปง ) แลว ก็ยอมสงแสงออนไป, ขอถวายพระพร หมอกก็เปนโรคของ พระอาทิตยอยา งหนึ่ง, พระอาทติ ยถ ูกโรคคอื หมอกนั้นบบี คนั้ แลว ก็ยอมสงแสงออนไป, ขอถวายพระพร เมฆฝนก็เปนโรคของพระ อาทติ ยอ ยางหน่ึง, พระอาทิตยถูกโรคคอื เมฆฝนนั้นบีบคัน้ แลว ก็ ยอมสงแสงออนไป, ขอถวายพระพร เทพราหูก็เปนโรคของพระ อาทิตยอยางหน่ึง, พระอาทิตยถูกโรคคือเทพราหูน้ันบีบคั้นแลวก็ ยอมสง แสงออนไป. ขอถวายพระพร มหาบพติ ร พระอาทิตยมีโรค อยู ๔ อยางเหลาน้ี แล ซ่ึงพระอาทิตยถูกโรคอยางใดอยางหน่ึง แหง บรรดาโรคเหลานี้ บบี ค้นั แลวกส็ ง แสงออนไป.” พระเจามิลนิ ท : “นาอัศจรรยจ รงิ พระคุณเจา นาคเสน นาแปลกใจจริง พระคุณเจานาคเสน ขอท่ี พระอาทิตยแมวา ถงึ พรอ มดวยเดช ก็จักยังมีโรคเกิดข้ึนได, จะปวยกลาวไปไยถึง สัตวอื่นท้ังหลายเลา, พระคุณเจา ยกเวนบุคคลผูมีความรูเชน ทานเสียแลว บคุ คลอน่ื หามีอันจําแนกปญ หาน้ไี ดไม.” จบสูริยตปนปญหาที่ ๙

๑๐๘ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา คําอธบิ ายปญหาท่ี ๙ ปญ หาเกี่ยวกบั แสงรอนแหงพระอาทติ ย (แสงแดด) ชอ่ื วา สรู ยิ ตปนปญหา. คําวา พระอาทิตยน ้มี โี รคอยู ๔ อยาง คือ พระอาทิตยมี สง่ิ เบยี ดเบียนบบี คั้นอยู ๔ อยาง ซ่ึงเปนเหตุทาํ ใหสงแสงออนไป. ความวา ความจริงพระอาทิตยสงแสงแรงกลาตลอดกาลทั้งปวง จะไดสงแสงออนไปในกาลบางคราวบาง ก็หาไม แตเพราะมีโรค ๔ อยาง อยางใดอยางหนึ่งบีบคั้นโดยการปดบังเปนตนแลว ก็ ปรากฏราวกะวา สงแสงออ นไป. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๙ ปญหาท่ี ๑๐, กฐินตปนปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน เพราะเหตไุ ร ในฤดู หนาวพระอาทิตยจึงสงแสงแรงกลา แตในฤดูรอนมิไดสงแสงแรง กลาอยางนน้ั .” พระนาคเสน : ขอถวายพระพร มหาบพิตร ในฤดูรอนธุลี ขี้ฝุนมิไดถ กู ลมขจดั (จนหมดสิ้นไป), ละอองถูกลมตใี หฟ งุ ขึน้ ไปอยู บนทองฟา , ทั้งในอากาศกม็ ีแตก อนเมฆหนา ๆ, ลมแรงพัดไปแรง, ส่ิงที่มีอยางตาง ๆ เหลาน้ันท้ังหมด รวมกันเขาก็ปดบังรัศมีพระ อาทิตยไว, เพราะเหตุน้นั ในฤดูรอ น พระอาทติ ยจ ึงสง แสงออน. ขอถวายพระพร สวนวา ในฤดูหนาว แผนดินเบื้องลาง เย็น, เบือ้ งบนกม็ ีเมฆใหญต ง้ั ข้ึน, ธลุ ีขฝี้ นุ นง่ิ สงบอย,ู ทงั้ ละอองก็

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญ จวรรค ๑๐๙ เคลื่อนไปชา ๆ บนทอ งฟา , ท้งั อากาศกป็ ราศจากเมฆฝน, ทัง้ ลมก็ พัดไปออน ๆ รัศมีพระอาทิตยยอมเปนธรรมชาติที่หมดจดเพราะ ส่งิ เหลา นมี้ ีความสงบระงบั , เมื่อพระอาทิตยน ัน้ พน จากสิ่งขัดของ ทัง้ หลาย แสงแดดยอมแผดกลา ยง่ิ นกั . ขอถวายพระพร ทกี่ ลาว มานี้เปนเหตุผลในเร่ืองนี้, ท่ีทาํ ใหพระอาทิตยสงแสงแรงกลาใน ฤดูหนาว, ในฤดูรอ นมิไดส ง แสงแรงกลา อยา งนน้ั .” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา พระอาทติ ยพนจากเสนียด จัญไรทั้งปวงได ก็ยอ มสง แสงแรงกลา ประจวบกันเขากับเมฆฝน เปนตน ก็ไมส ง แสงแรงกลา .” จบกฐนิ ตปนปญ หาท่ี ๑๐ คําอธิบายปญหาที่ ๑๐ ปญหาเก่ียวกับแสงแดดแผดกลา ช่ือวา กฐินตปน- ปญหา. คาํ พูดท่ีเหลือชัดอยูแลว. จบคําอธิบายปญหาที่ ๑๐ จบนิปปปญจวรรคท่ี ๒ ในวรรคน้ี มี ๑๐ ปญหา

๑๑๐ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ปญ หาท่ี ๑, เวสสนั ตรปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระโพธิสัตวทุก พระองคลวนแตใหบุตรและภรรยาหรือ, หรือวา เฉพาะพระราชา เวสสันดรเทาน้ัน ใหบุตรและภรรยา?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระโพธิสัตว แมทุกพระองค ลวนใหบุตรและภรรยา, ไมใชเฉพาะพระราชา เวสสันดรเทาน้ัน ใหบุตรและภรรยา.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ก็แตวา พระโพธิ- สัตวยอมใหตามความยินยอมของบุคคลเหลาน้ัน หรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระชายาทรงยินยอมแต วาโอรสธิดาซ่ึงยังเปนเด็กรองไห เพราะความที่ยังไรเดียงสา, ถา หากวา พวกเด็ก ๆ เหลา น้นั รูเดยี งสา พวกเด็ก ๆ แมเ หลาน้ันก็จะ พงึ ยินยอม เด็ก ๆ เหลา นนั้ จะไมรองไห.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอที่พระโพธิสัตว นน้ั ทรงมอบบตุ รทีร่ กั อันเปนโอรสธดิ าของพระองคเ องใหเ ปน ทาส แกพ ราหมณน น้ั จดั วา เปน ขอทที่ าํ ไดย ากขอ ท่ี ๑. แมข อ ทีพ่ ระโพธสิ ัตวนัน้ เห็นพราหมณผนู ั้น ใชเถาวลั ยม ัด บุตรทีร่ ักอันเปน โอรสธิดา ผูยงั ไรเ ดียงสา ออนเยาวข องพระองค เอง ใชเ ถาวลั ยก ระชากลากถไู ป แลว ก็ยงั วางเฉยอยูได จดั เปน ขอ ท่ที าํ ไดย ากเสยี ยิง่ กวา ยาก ขอ ที่ ๒.

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๑๑ แมขอท่ีพวกเด็ก ๆ ใชกาํ ลังของตนแกมัดว่ิงกลับมา ถึง ความหวาดกลัวอยู พระองคก ็ทรงใชเถาวัลยมดั มอบใหไปอกี ก็จดั วา เปน ขอ ที่ทาํ ไดย ากเสยี ย่งิ กวายาก ขอ ท่ี ๓. แมข อ ท่ีเมือ่ พวกเด็ก ๆ รําพนั อยวู า ‘เสดจ็ พอ ผนู ีเ้ ปนยกั ษ มันจะพาลูกไปกิน’ พระองคจะทรงปลอบโยนวา ‘จงอยากลวั เลย’ ดงั นี้บาง ก็หาไม, จดั วา เปน ขอ ที่ทาํ ไดยากเสยี ยง่ิ กวายาก ขอ ที่ ๔. แมขอที่เมื่อชาลีกุมารรองไห กราบลงท่ีพระบาท วิงวอน อยูวา ‘เอาละ เสดจ็ พอ ลกู ขอรอ ง ขอจงทรงโปรดใหกณั หาชินาได กลับไป ลูกคนเดียวจะไปกับยักษ, ขอใหยักษไดกินลูก (คนเดียว เทา นน้ั ) เถดิ ’ ดังนี้ พระองคก ็ไมทรงยอมรบั ตามคําวิงวอนน้ี กจ็ ดั วาเปนขอท่ีทาํ ไดย ากเสยี ย่ิงกวายาก ขอที่ ๕. แมขอท่ีเมื่อชาลีกุมารรองไหรําพันวา ‘เสด็จพอมีพระทัย แข็งกระดางดังแผนศิลาเสียนี่กระไร ที่เมื่อพวกหมอมฉันทั้ง ๒ เปนทุกขอยู ก็ยังทรงเพิกเฉย กําลังจะถูกยักษพาไปในปาทึบ ปราศจากผคู น กไ็ มท รงปองกัน’ ดังนี้. กไ็ มทรงพระกรุณา กจ็ ดั วา เปน ขอทท่ี ําไดยากเสยี ยง่ิ กวา ยาก ขอ ที่ ๖. แมขอที่เมื่อพวกเด็ก ๆ ถูกพราหมณที่แสนราย แสนนา สะพรึงกลวั นั้น นาํ ไปจนพน สายพระเนตร พระทัยกห็ าไดแ ตกเปน ๑๐๐ เสีย่ งหรอื ๑,๐๐๐ เส่ยี งไม ก็จัดวาเปนขอ ที่ทาํ ไดยากเสียยิ่ง กวายาก ขอที่ ๗. เพราะเหตุไร พระโพธิสตั วซ งึ่ เปนคนท่ีใครบ ญุ จงึ เปน ผูท่ไี มข จัดทุกขของผูอ น่ื เลา , ธรรมดาวา นาจะใหท านของ ตนมใิ ชหรือ?”

๑๑๒ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระกิตตศิ ัพทข องพระ โพธิสัตวฟุงขจรไปในหมื่นโลกธาตุก็เพราะไดทรงทาํ ส่ิงท่ีทําได ยาก, พวกเทวดาก็พากันสรรเสริญอยูในที่อยูของพวกเทวดา, พวกอสรู กพ็ ากันสรรเสรญิ อยูในทอ่ี ยูของพวกอสรู , พวกครฑุ ก็พา กันสรรเสริญอยใู นท่อี ยูของพวกครุฑ, พวกนาคกพ็ ากนั สรรเสรญิ อยูในท่ีอยูของพวกนาค, พวกยักษก็พากันสรรเสริญอยูในท่ีอยู ของพวกยักษ, พระกิตตศิ ัพทของพวกพระโพธิสตั วนั้นฟงุ ขจรสบื ตอกันมาตามลําดับ จนกระทั่งถึงสมัยของพวกเรา ณ ที่น้ี ใน ปจจุบันน.้ี พวกเราผสู รรเสรญิ ทานน้ันอยู กก็ ลบั มานั่งคลางแคลง ใจเสียได วาเปนทานดี หรือวาทานไมดี. ขอถวายพระพร พระ กิตติศัพทขอน้ีน้ัน ยอมช้ีใหเห็นพระคุณ ๑๐ ประการของพระ โพธสิ ตั วท ง้ั หลาย ผูทรงเปนวญิ ูชนละเอียดออ น รอบรู มปี ญญา เห็นแจม แจง. พระคณุ ๑๐ ประการ อะไรบา ง? ๑. อเคธตา - ความไมตดิ ขอ ง ๒. นิราลยตา - ความเปนผูหาอาลัย (กามคุณอันเปนท่ี ตัณหามาซบอยู) มิได ๓. จาโค - ความสละได ๔. ปหานํ - ความเลิกละเสยี ได ๕. อปนุ ราวตฺตติ า - ความไมหวนกลบั มาอกี (ตกลงใจแนว แนไ มเปลยี่ นใจกลบั กลอก)

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๑๑๓ ๖. สขุ ุมตา - ความสขุ มุ ๗. มหนฺตตา - ความเปนผูนาบูชา (หรือความเปนบุรุษผู ยิ่งใหญ) ๘. ทุรานุโพธตา - ความเปนผูที่ใคร ๆ ตามรู (จิตใจ) ได ยาก ๙. ทลุ ลฺ ภตา - ความเปนบคุ คลทหี่ าไดยาก ๑๐. อสทสิ ตา - ความท่ีพระพุทธเจาทรงเปน บุคคลผหู าใคร เสมอเหมือนมิได. ขอถวายพระพร พระกิตติศัพทน้ี ยอมชี้ใหเห็นพระคุณ ของพระโพธิสัตวท้ังหลาย ผูทรงเปนวิญูชนละเอียดออน รอบรู มีปญญาเห็นแจมแจง ๑๐ ประการเหลานี้ แล.” พระเจามิลนิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ผูใ ดใหทานทําผูอ ืน่ ใหเปนทุกข, ทานนั้นมีวิบากเปนสุข เปนไปพรอมเพื่อสวรรคได ดว ยหรอื ?” พระนาคเสน : “ได มหาบพิตร ไฉนใครจะกลาวถงึ ได. ” พระเจามิลินท : “เอาละ พระคุณเจานาคเสน ขอทาน โปรดช้ีแจงเหตุผลเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา สมณะหรือพราหมณบางคนในโลกน้ีเปนผูมีศีล มีกัลยาณธรรม, สมณะหรือพราหมณผ นู น้ั เกดิ ปว ย ชาไปแถบหน่ึงจนงอยเปลี้ยไป ก็ดี ถึงความปวยไขอยางใดอยางหน่ึง (จนเดินไมได) ก็ดี บุรุษ

๑๑๔ กัณฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ผูใครบุญคนใดคนหนึ่ง ยกสมณะหรือพราหมณผูน้ันข้ึนยาน- พาหนะ พาไปสงถึงสถานท่ีท่ีตองการ, ขอถวายพระพร ความสุข อะไร ๆ พึงบงั เกดิ แกบ รุ ษุ ผนู ้นั เพราะเหตทุ ่ไี ดท ํากรรมน้ันบา งหรอื หนอ, กรรมน้นั เปน ไปพรอ มเพื่อสวรรคห รอื ไม?” พระเจามิลินท : “ใช, พระคุณเจา ไฉนใครถึงกลาวถึงได บุรุษผูน้ันจะพึงไดรับยานชางบาง ยานมาบาง ยานรถบาง, อยูบนบกก็จะพึงไดรับยานบก, อยูในนาํ้ ก็จะพึงไดรับยานน้ํา, อยูในหมูเทวดาก็จะพึงไดรับยานเทวดา, อยูในหมูมนุษยก็จะ พึงไดรับยานมนุษย, ยานพาหนะที่เหมาะแกกรรมน้ัน ท่ีอนุโลม ตามกรรมน้ัน จะพึงบังเกิดในทุกสถานท่ีอยู, ทั้งความสุขทั้งหลาย ท่ีเหมาะสมแกกรรมน้ัน ท่ีอนุโลมตามกรรมนั้น ก็จะพึงบังเกิด แกเขา, เขาจะพึงละจากสุคติไปสูสุคติ, จะพึงยางข้ึนอิทธิยาน ไปสูนิพพานนครท่ีปรารถนาได ก็ดวยการจัดแจงแหงกรรมนั้น นั่นแหละ.” พระนาคเสน : “ถาอยางนั้น ก็เปนอันวา ทานท่ีบุรุษผู น้ันให โดยมีการทําใหผูอ่ืนเปนทุกข ยอมมีวิบากเปนสุข เปนไป พรอมเพ่ือสวรรค, เปนเหตุใหบุรุษผูทําโคพลิพัททั้งหลาย (ที่ใช ลากยานไป) ใหเปนทุกขน้ัน ไดรับความสุขเห็นปานฉะน้ีได. ขอถวายพระพร ขอจงทรงสดับเหตุผลท่ียิ่งข้ึนไปแมขออื่น อีกเถิด วา เพราะเหตุใด ทานท่ีพระโพธิสัตวมอบใหโดยมีการทํา ใหผูอื่นเปนทุกข จึงมีวิบากเปนสุข เปนไปพรอมเพ่ือสวรรค ขอ ถวายพระพร พระราชาพระองคใ ดพระองคห น่ึงในโลกนี้ รับสงั่ ให

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๑๑๕ มีการประกาศพระราชโองการเก็บภาษีโดยชอบธรรมนาํ มาถวาย ทาน, ขอถวายพระพร พระราชาพระองคน้ันจะทรงไดรับความสุข อะไร ๆ เพราะเหตทุ ที่ รงไดถ วายทานนน้ั หรอื หนอ ทานน้นั เปน ไป พรอ มเพื่อสวรรคห รอื ?” พระเจามิลินท : “ใชแลว พระคุณเจา, ไฉนใครจะกลาว ถึงได, เพราะเหตุที่ทรงไดถวายทานนั้น พระราชาพระองคนั้นจะ ทรงไดรับผลหลายแสนเทา ย่ิง ๆ ขึ้นไป. จะทรงเปนพระราชา ท่ีย่ิงกวาพระราชาท้ังหลาย, จะทรงเปนเทวดาท่ียิ่งกวาเทวดา ทั้งหลาย, จะทรงเปนพรหมที่ย่ิงกวาพรหมทั้งหลาย, จะทรงเปน สมณะท่ีย่ิงกวาสมณะทั้งหลาย, จะทรงเปนพราหมณท่ียิ่งกวา พราหมณทั้งหลาย, จะทรงเปนพระอรหันตที่ย่ิงกวาพระอรหันต ท้งั หลาย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาอยางน้ัน ทานท่ี พระราชาพระองคน้ันถวายโดยมีการทําใหผูอื่นเปนทุกข ยอมมี วิบากเปนสุข เปนไปพรอมเพ่ือสวรรค, เปนเหตุใหพระราชาผู ทรงบีบบังคับผูคนดวยภาษีท่ีทรงใชถวายเปนทานพระองคนั้น ทรงไดรับยศและความสุขยิ่ง ๆ ข้ึนไป เห็นปานฉะนี้.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานท่ีพระราชา เวสสนั ดรทรงมอบใหไปนนั้ จดั วา เปน อติทาน (ทานท่ียิง่ ) คอื ขอท่ี ทรงมอบพระชายาของพระองคใหเปนภริยาของผูอ่ืน, ทรงมอบ บุตรที่เปนโอรสธิดาของพระองคเองใหเปนทาสของพราหมณ, พระคุณเจานาคเสน ขึ้นช่ือวา อติทานเปนทานท่ีผูรูทั้งหลายใน

๑๑๖ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา โลกตาํ หนิติเตียน, พระคุณเจานาคเสน เปรยี บเหมอื นวา เพราะ บรรทุกของหนักเกินไป เพลาเกวียนก็ยอมหักได, เพราะบรรทุก ของหนักเกนิ ไป เรอื กย็ อ มจมได, เพราะบรโิ ภคมากเกนิ ไป ของกิน กย็ อ มกลายเปนของแสลงไปได, เพราะมีฝนตกมากเกินไป ธญั ญ- ชาติก็ยอมเสียหายได, เพราะใหมากเกินไป ก็ยอมถึงความส้ิน ทรัพย, เพราะมีแดดรอนเกินไป แผนดินก็ยอมรอนได, เพราะ กาํ หนัดเกินไป ก็ยอมกลายเปนคนบาไปได, เพราะโกรธเกินไป ก็ยอมถูกเขาฆา (หรือฆาเขา) ได, เพราะหลงเกินไป ก็ยอมพบ ความทกุ ขย าก, เพราะอยากไดมากเกินไป กย็ อมเขาถงึ การถูกจับ ตัวดวยเปนโจร, เพราะกลัวเกินไป ก็ยอมผิดพลาดได, แมนํ้า เพราะเต็มเกินไป ก็ยอมลนฝงได, เพราะลมแรงเกินไป สายฟา ก็ฟาดตกลงมาได, เพราะไฟรอนเกินไป ขาวสุกก็ลนหมอได, เพราะสัญจรมากเกินไป ก็ยอมมีชีวิตอยูไดไมนาน ฉันใด, พระคุณเจานาคเสน ขึ้นชื่อวาอติทาน ผูรูทั้งหลายในโลกตาํ หนิ ติเตียน, พระคุณเจานาคเสน อติทานท่ีพระราชาเวสสันดรทรง บําเพ็ญ, ผลอะไร ๆ ในอติทานน้ัน เปนผลที่ไมนาปรารถนา เลย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อติทาน เปนทานที่ผูรู ท้ังหลายในโลกยกยอง ชมเชย สรรเสริญ, บุคคลผูใหอติทาน ใหทานที่เปนเชนน้ันอยางใดอยางหนึ่ง ยอมไดรับเกียรติ (ฐานะ ท่ีนายกยองสรรเสริญ) ในโลก. ขอถวายพระพร รากไมปาที่เปน ทิพย แมเพียงแตถือไว ก็ทําใหคนผูอ่ืนท่ีอยูในชวงหัตถบาส

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๑๗ ไมอาจมองเห็นได เพราะความเปนของประเสริฐย่ิง, ยาถอน ความเจ็บปวยได กระทําโรคท้ังหลายใหสิ้นสุดไปได ก็เพราะ ความเปนยาชนิดท่ีย่ิง, ไฟ ไหมส่ิงท้ังปวงได ก็เพราะมีความรอน ย่ิง, นํ้า ทําใหไฟดับไปได ก็เพราะมีความเย็นย่ิง, บัวหลวง ไม เปรอะเปอนโคลนตม กเ็ พราะความเปน สงิ่ ท่หี มดจดเกลยี้ งเกลา, แกวมณี มอบแตสิ่งท่ีตองการ ก็เพราะเปนสิ่งที่มีคุณานุภาพย่ิง, เพชร เจาะแกว มณี แกว มุกดา แกวผลึกได ก็เพราะเปนธรรมชาติ ที่แขง็ แกรง ยงิ่ , แผนดนิ รองรบั คน งู เนื้อ นก น้าํ กอ นหนิ ภเู ขา ตน ไมได กเ็ พราะความเปน ส่ิงใหญย ่ิง, มหาสมุทร ไมล น ฝง ก็เพราะความเปนสิ่งใหญยิ่ง, ภูเขาสิเนรุ ไมหวั่นไหว ก็เพราะ หนักยง่ิ , อากาศ หาทสี่ ดุ มิไดก็เพราะกวางขวางย่งิ , พระอาทติ ย กาํ จัดความมืดได ก็เพราะมีแสงสวางแรงกลายิ่ง, ราชสีหปราศ จากความกลัว ก็เพราะมีชาติกําเนิดท่ีสูงสงยิ่ง, นักมวยปล้ํา ยกนักมวยฝายตรงขามทุมกระเด็นไปได ก็เพราะมีกาํ ลังยิ่ง, พระราชา ทรงเปนผใู หญย ่งิ กเ็ พราะทรงมีบุญยง่ิ , ภิกษุ เปน ผูค วร นมัสการ ก็เพราะเปนผูมีศลี ยง่ิ , พระพทุ ธเจา ทรงเปนผูท ่ีหาบคุ คล อน่ื เปรยี บเทยี บมไิ ด เพราะทรงเปนบุคคลผยู อดยงิ่ ฉนั ใด, ขอ ถวายพระพร มหาบพติ ร ขึน้ ชื่อวา อติทาน เปน ทานทผ่ี รู ทู ง้ั หลาย ในโลกยกยอง ชมเชย สรรเสริญ, บุคคลผใู หอตทิ าน ใหท านทเี่ ปน เชน น้ันอยา งใดอยา งหนึ่ง ยอ มไดรับเกียรติในโลก ฉันใด พระราชา เวสสันดรทรงเปนผูท่ีผูรูทั้งหลายยกยอง ชมเชย สรรเสริญ บูชา แซซ อ งในหม่นื โลกธาตุ กเ็ พราะอตทิ าน ฉนั นั้นเหมอื นกัน เพราะ

๑๑๘ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา อติทานนั่นเอง พระราชาเวสสันดรจึงทรงไดเกิดมาสาํ เร็จเปน พระพุทธเจา เปน บคุ คลผูยอดเยีย่ มในโลกท่มี ีพรอ มพรง่ั ท้ังเทวดา ในกาลปจจบุ ันน้ี. ขอถวายพระพร ทานที่ควรยกเวน อนั จดั เปน ทานท่ไี มควร ใหในทักขิเณยยบคุ คลผมู าถงึ มีอยูใ นโลกบา งหรอื ไม? ” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน การให ๑๐ อยาง เหลา นแี้ ล เปน การใหที่บณั ฑิตทั้งหลายไมน บั วา เปนทาน, ผูใดให ส่ิง ๑๐ อยางเหลานั้นเปนทาน ผูน้ันมีอันตองไปอบาย การให ๑๐ อยาง อะไรบาง? ๑. พระคุณเจานาคเสน : มชฺชทานํ - การใหน ํา้ เมาบณั ฑติ ทง้ั หลายไมน ับวา เปน ทานในโลก, ผใู ดใหท านนา้ํ เมานนั้ ผนู ั้นมีอัน ตองไปอบาย ๒. สมชชฺ ทานํ - การใหมหรสพฟอ นราํ ขบั รอง ฯลฯ ๓. อติ ถฺ ที านํ - การใหหญิงแกชาย ฯลฯ ๔. อุสภทานํ - การใหโ คตวั ผแู กโ คตวั เมยี เพ่อื ประโยชนแก การต้ังครรภ ฯลฯ ๕. จติ ฺตกมมฺ ทานํ - การใหภ าพจติ รกรรม ฯลฯ ๖. สตฺถทานํ - การใหศัสตราวธุ ฯลฯ ๗. วสิ ทานํ - การใหยาพิษ ฯลฯ ๘. สงฺขลกิ ทานํ - การใหโ ซตรวน ฯลฯ ๙. กุกกฺ ฏุ สกู รทานํ - การใหไ ก สุกร เปนตน ฯลฯ

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๑๙ ๑๐. ตุลากูฏมานกฏู ทานํ - การใหเ ครื่องช่งั โกง เครอื่ งตวง วัดโกง บัณฑิตท้ังหลายไมนับวาเปนทานในโลก, ผูใดใหทาน เครอ่ื งชง่ั โกง เครื่องตวงวดั โกงนน้ั ผนู น้ั มอี นั ตอ งไปอบาย. พระคุณเจานาคเสน การให ๑๐ อยางเหลาน้ีแลเปนการ ใหท่ีบัณฑิตทั้งหลายไมนับวาเปนทาน, ผูใดใหส่ิง ๑๐ อยาง เหลานน้ั เปน ทาน ผนู ้นั มอี นั ตองไปอบุ าย” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อาตมภาพมิไดถามถึง การใหท่ีบัณฑิตทั้งหลายไมนับวาเปนทานน้ัน, ขอถวายพระพร อาตมภาพถามถึงการใหท่ีนับวาเปนทานนั้นน่ันแหละวา ขอ ถวายพระพร ทานที่ควรยกเวน อันจัดเปนทานที่ไมควรใหใน ทักขิเณยยบุคคลผูมาถึง มีอยูในโลกบางหรือไม?” พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ทานท่ีควรยกเวน อันจัดเปนทานที่ไมควรใหในทักขิเณยยบุคคลผูมาถึง หามีอยูใน โลกไม, บางคน เมอื่ เกดิ จิตเล่อื มใสขน้ึ มา ยอ มใหโภชนาหารแก ทกั ขิเณยยบคุ คลทั้งหลาย, บางคนกใ็ หเครอ่ื งนุง หม, บางคนใหท่ี นอน, บางคนใหท่ีอยูอาศัย, บางคนก็ใหเคร่ืองปูลาดและผาหม, บางคนใหท าสหญิงทาสชาย, บางคนก็ใหทุง นาทอ งนา, บางคนก็ ใหสัตว ๒ เทา ๔ เทา, บางคนก็ใหทรัพยหน่ึงรอย หน่ึงพัน หนึ่ง แสน, บางคนก็ใหร าชสมบตั ิ, บางคนก็ใหแ มช วี ิต.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ก็ถาหากวา บางคนแมแตชีวิตก็ยังใหได, เพราะเหตุไร ผูคนทั้งหลายจึงพากัน

๑๒๐ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา โจมตีพระเวสสันดรอยางรุนแรงยิ่ง เมื่อพระองคทรงใหโอรสธิดา และชายาเปน ทานดแี ลว เลา . ขอถวายพระพร อน่ึง เร่ืองที่บิดาผูกูหน้ีเขาก็ตาม หาเล้ียง ชีพอยูเปนปกติก็ตาม ยอมไดบุตรไปใชขัดหน้ีบาง เอาบุตรขาย ไปบาง ก็เปนเรื่องปกติของชาวโลก ชาวโลกคุนเคยกันอยูมิใช หรือ?” พระเจามิลนิ ท : “ใช พระคุณเจา เรอ่ื งท่ีบดิ าผเู ปน หนเ้ี ขา ก็ตาม หาเลี้ยงชีพอยูเปนปกติก็ตาม ยอมไดบุตรไปใชขัดหน้ีบาง เอาบุตรขายไปบาง เปนเรื่องปกติของชาวโลก ชาวโลกคุนเคย กันอยู” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถา หากวา บดิ าผกู หู นเ้ี ขา ก็ตาม หาเล้ียงชีพอยูเปนปกติก็ตาม ยอมไดบุตรไปใชขัดหนี้ก็ได เอาบุตรขายไปก็ได ไซร, แมพระราชาเวสสันดรเม่ือไมทรงได พระสัพพัญุตญาณ ทรงลําบากเปนทุกขอยู ก็ยอมทรงใหโอรส ธิดาและชายาเปนมัดจําและขายไป เพื่อประโยชนแกการไดมา ซ่ึงทรัพยคือพระธรรมนั้น ไดเหมือนกัน. ขอถวายพระพร เพราะ เหตุน้ัน ก็เปนอันวา พระราชาเวสสันดรทรงใหส่ิงท่ีคนอ่ืน ๆ ให กันน่ันแหละ, ทรงกระทําส่ิงท่ีคนอ่ืน ๆ กระทํานั่นแหละ. ขอ ถวายพระพร เพราะเหตุไร พระองคจึงทรงติเตียนพระราชา เวสสันดร ผูทรงเปนทานบดีดวยทานน้ันอยางรุนแรงย่ิงเลา.”

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๒๑ พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ขาพเจามไิ ดต ําหนิ ทานของพระเวสสันดรผูเปนทานบดี. เพียงแตวา เม่ือมีผูมาขอ โอรสธิดาและชายา ก็นาจะมอบตนเองใหแทน.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ขอท่ีวา เมื่อมีผูมาขอ โอรสธิดาและชายา ก็นาจะมอบตนเองใหแทนน้ี จัดวาเปนการ กระทาํ ท่ีไมดีงาม, เมื่อมีผูมาขอสิ่งใด ๆ ก็นาจะใหสิ่งนั้น ๆ นั่น แหละ, นี้จึงจะจัดวาเปนการกระทาํ ของผูเปนสัตบุรุษ, ขอถวาย พระพร เปรียบเหมือนวา บรุ ษุ บางคน (ตอ งการดม่ื น้ํา) ขอใหนํา นํา้ มาดมื่ ให, บุรษุ ผูใดใหข า วเขากิน บรุ ษุ ผูน ัน้ ชื่อวาเปนผทู าํ กจิ ที่ ควรทาํ หรอื ?” พระเจามิลินท : “ไมช่ือวาเปนผูทํากิจท่ีควรกระทําหรอก พระคณุ เจา , เขาขอสิ่งใด เม่ือใหส ง่ิ นนั้ น่ันแหละแกเขา จงึ จะชอื่ วา เปน ผทู าํ กิจที่ควรทํา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน เม่ือพราหมณมาทูลขอโอรสธิดาและชายา พระราชาเวสสันดรก็ทรงมอบโอรสธิดาและชายาใหไป, ขอถวาย พระพร ถาหากวา พราหมณจะพึงทูลขอพระสรีระของพระ เวสสันดรไซร, พระองคก็จะไมทรงรักษาพระองคเองไว ไมทรง หวัน่ ไหว ไมท รงหว งใยพระองคเ อง, พระองคจะทรงมอี ันมอบพระ สรีระใหไป บริจาคไปแนเ ทียว. ขอถวายพระพร ถาหากวาจะมี บางคนเขาไปหาพระเวสสันดรผูเปนทานบดี แลวทูลขอวา ‘ขอ จงเปนทาสของเราเสยี เถดิ ’ ดังน,้ี พระองคก ็จะทรงมีอันมอบพระ-

๑๒๒ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา สรีระใหไป บริจาคไปแนเทียว. พอไดใหเขาไปแลว พระองค จะไมทรงเดือดรอน ขอถวายพระพร พระกายของพระเวสสันดร จัดวาเปนของสาธารณะแกสัตวทั้งหลายมากมาย. ขอถวายพระพร ช้ืนเนื้อสุก ยอมเปนของสาธารณะแกคน ทั้งหลายมากมาย ฉันใด, พระกายของพระเวสสันดร ก็จัดวาเปน ของสาธารณะแกสัตวท งั้ หลายมากมาย ฉันนน้ั . ขอถวายพระพร หรืออีกอยางหนง่ึ ตนไมทผ่ี ลิดอกออกผล แลว ยอ มเปน ของสาธารณะแกหมูน กนานาชนิด ฉันใด, พระกาย ของพระราชาเวสสนั ดร กจ็ ัดวาเปน ของสาธารณะแกส ตั วท ้งั หลาย มากมาย ฉันน้ัน. เพราะเหตุไรหรือ เพราะทรงดําริวา เมื่อเรา ปฏิบัติไดอยางน้ี เราก็จักบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณได ดังนี้. ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา บุรุษผไู รทรัพยค นหน่งึ มคี วามตอ งการทรัพย เที่ยวแสวงหาทรัพยไป ยอ มเดนิ ไปตามทาง แพะเดิน ตามทางทม่ี ขี วากหนาม ตามทางทม่ี ปี า หวาย, กระทาํ การคาขายทั้งในนา้ํ ท้ังบนบก ยนิ ดีทรัพย พยายามเพ่ือการไดม า ซง่ึ ทรัพย ดว ยกาย ดว ยวาจา ดว ยใจ ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระเวสสันดรผูเปนทานบดีไรทรัพยดวยทรัพยของพระพุทธเจา ทรงบริจาคทรัพย ธัญญาหาร ทาสหญิง ทาสชาย ยานพาหนะ สมบัตทิ ัง้ ปวง บตุ รและภรรยาของพระองคเ อง และตัวพระองคเ อง แกคนท้ังหลายที่มาขอ เพ่ือการไดมาซ่ึงพระสัพพัญุตญาณ แสวงหาอยูแตพระสัมมาสัมโพธิญาณ ฉันน้ันเหมือนกัน.

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๑๒๓ ขอถวายพระพร อกี เรอ่ื งหน่งึ เปรียบเหมือนวาอํามาตยผ ู ตองการฐานะที่เปนใหญคือตาํ แหนงอัครมหาเสนาบดีอยู, ยอม พยายามเพือ่ การไดมาซึ่งตําแหนงอคั รมหาเสนาบดี แมว าตอ งใช ทรัพย ธัญญาหาร เงินและทองอยางใดอยางหน่ึงในเรือนไป ทงั้ หมดกต็ าม ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระเวสสันดรผทู รงเปน ทานบดี กท็ รงแสวงหาแตพ ระสมั มาสัมโพธญิ าณเทา นนั้ ทรงให ทรัพยทั้งภายนอกท้ังภายในน้ันไปท้ังหมด แมชีวิตก็ทรงใหได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง พระเวสสันดรผูทรงเปน ทานบดี ทรงเกิดพระดาํ ริขอน้ีข้ึนมาวา พราหมณผูน้ันขอส่ิงใด, เราเม่ือใหสิ่งนั้นแกเขา ก็ช่ือวาเปนผูทาํ กิจที่ควรทํา ดังน้ี, พระ เวสสันดรน้ัน ทรงดําริอยางน้ีแลว ก็ทรงมอบโอรสธิดาและชายา แกพราหมณผ นู ้ันไป, ขอถวายพระพร พระเวสสนั ดรผเู ปนทานบดี ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแกพราหมณไป ไมใชเพราะทรงมี ความรังเกียจ, ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแกพราหมณไป ไมใช เพราะไมทรงตองการจะพบเห็น, ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแก พราหมณไป เพราะทรงดาํ ริวา ‘บุตร และภรรยาของเรามีมาก เกินไป เราไมอาจจะเลยี้ งดูคนเหลานนั้ ได’ ดงั นี้ กห็ าไม, ทรงมอบ โอรสธิดาและชายาใหไป เพราะทรงเอือมระอา คิดวา ‘เปนคนที่ เราเกลียด’ ดังนี้ แลวตองการจะขจัดไปเสีย ก็หาไม. แตทวา พระราชาเวสสันดรทรงมอบโอรสธิดาและชายาผูมีคุณอันช่ังมิได ผูเพียบพรอม ยอดเยี่ยม ผูเปนที่รักที่ชอบใจ เสมอดวยชีวิต เห็น

๑๒๔ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ปานฉะน้ี แกพราหมณไป เพราะเหตุแหงพระสัพพัุตญาณ เพราะทรงมีแกวประเสริฐ คือพระสัพพัญุตญาณนั่นแหละ เปน ทรี่ กั . ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลา เทพ ทรงภาสติ ความขอนีไ้ วใ นปกรณจ ริยาปฎ ก วา: น เม เทสฺสา อุโภ ปุตฺตา, มทฺที เทวี น เทสฺสิยา สพฺพฺุตํ ปยํ มยฺหํ, ตสฺมา ปเย อทาสหํ๑ แปลวา ไมใชเราเกลียดชังลูกทั้ง ๒, ไมใชมัทรีเทวีเปนผู ที่เราเกลียดชัง พระสัพพัญุตญาณเปนที่รัก ของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงไดมอบบุตรภรรยา ผูเปนที่รักให (แกพราหมณ) ไป. ดงั น.้ี ขอถวายพระพร เพราะฉะน้ัน พระราชาเวสสันดร คร้ัน ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแลว ก็เสด็จเขาไปไสยาสนใน บรรณศาลา. ความเศราโศกมีกาํ ลังเกิดขึ้นแกพระเวสสันดรผู เปนทุกขเพราะความอาลัยรักย่ิงนักนั้น พระทัยก็เรารอน. เม่ือ พระนาสิกไมพอหายใจอยู ก็ทรงปลอยลมหายใจรอน ๆ ทาง พระโอษฐ, พระอัสสุชลกลายเปนหยาดพระโลหิตไหลออกทาง พระเนตร, ขอถวายพระพร พระราชาเวสสันดรทรงมอบโอรส                                                ๑. ข.ุ จ. ๓๓/๖๒๔

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๒๕ ธิดาและชายาใหแกพราหมณไปดวยความทุกขอยางน้ี แล ทรง ดําริวา ทานบถ (หนทางทาน) ของเรา ขอจงอยาไดเสียหายไป เลย ดังน้ี. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง พระราชาเวสสันดร ทรงเล็งถึงอาํ นาจประโยชน ๒ ประการ จึงทรงมอบโอรสธิดา ท้ัง ๒ แกพราหมณไ ป, อํานาจประโยชน ๒ ประการ อะไรบา ง? ทรงเล็งถึงอํานาจประโยชน ๒ ประการ อยางน้ีวา ‘ทานบถ (หนทางทาน) ของเราจักไมเ ปนอันเสยี หายไป’ ดงั นี้ ประการหนงึ่ , “พระอัยกา (ปู) จักทรงเปล้ืองบุตรท้ัง ๒ ของเราผูเปนทุกข เพราะเหตุท่ีตองอยูปา นอนตามโคนไมกินแตผลไมน้ี ใหพนเสีย ได’ ดังน้ี ประการหน่ึง, ขอถวายพระพร พระราชาเวสสันดร ทรงทราบวา ใคร ๆ ไมอาจใชล ูกทัง้ ๒ ของเราเปน ทาสได, และ พระอยั กาจกั ทรงไถตัวลกู ทงั้ ๒ ของเรา, เมื่อเปน อยา งน้ี แมพวก เราก็จักมีอันไดพบกัน ดังนี้. ขอถวายพระพร พระราชาเวสสันดร ทรงเล็งถึงประโยชน ๒ ประการเหลานี้ แล จึงทรงมอบโอรสธิดา ท้ัง ๒ แกพราหมณไป. ขอถวายพระพร ยังมอี กี อยา งหนึ่ง พระราชาเวสสนั ดรทรง ทราบวา พราหมณผนู ี้เปน คนชราแกเ ฒา ทรามกาํ ลัง ใกลแ ตกดับ ตองใชไมเทาพยุงตัวไป สิ้นอายุแลว ใกลหมดบุญเต็มที, พราหมณผ ูน้ไี มอาจใชลกู ทง้ั ๒ ของเราเปน ทาสได ดงั น.้ี ขอถวาย พระพร บุรุษพึงอาจใชกําลังตามปกติควาเอาพระจันทรพระ

๑๒๖ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา อาทิตยที่มีฤทธิ์มากอยางนี้ ที่มีอานุภาพมากอยางน้ี ใสไวในหีบ หรือในตลับ ทําใหหมดรัศมี เพ่ือใชเปนจานชามไดหรือ?” พระเจามิลนิ ท : “มิไดห รอก พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน พระโอรสธิดาของพระราชาเวสสันดรผูทรงมี สวนเปรียบดวยพระจันทรและพระอาทิตย ใคร ๆ ในโลกน้ีไมอาจ ท่ีจะใชเ พ่ือเปนทาสได. ขอถวายพระพร ขอพระองคจงทรงสดับเหตุผลท่ียิ่งขึ้น ไปแมอกี ขอ หน่งึ เถิด วา เพราะเหตุใด พระโอรสธดิ าของพระราชา เวสสันดร ใคร ๆ จึงไมอาจใชเพ่ือเปนทาสได, ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา แกวมณีของพระเจา จักรพรรดอิ ันสวยงาม มีชาติ สงู สง มคี า สงู สง ตกแตง ไวดีกวาง ๔ ฝา มอื ชกั วงรอบไดเทากับลอ เกวยี น ใคร ๆ กไ็ มอ าจใชผ าขร้ี วิ้ หอเกบ็ ไวใ นหบี เพ่อื ใชเปน หนิ ลับ มีดได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโอรสธิดาของพระราชา เวสสนั ดร ผมู สี วนเปรยี บไดกบั แกว มณีของพระเจา จกั รพรรดิ ใคร ๆ กไ็ มอาจใชเ พ่ือเปน ทาสได ฉนั นน้ั เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร ขอพระองคทรงสดับเหตุท่ียิ่งข้ึนไปแมอีก ขอหน่ึงเถดิ วา เพราะเหตใุ ด พระโอรสธดิ าของพระราชาเวสสนั ดร ใคร ๆ จงึ ไมอ าจใชเปนทาสได ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา พญาชางอโุ บสถซงึ่ ขาวปลอดทั้งตวั มีอวัยวะ ๗ จดถงึ พืน้ สงู ๘ ศอก ความยาวรอบตวั ๙ ศอก นา เลอื่ มใส นา ชม กําลงั ตกมันอยู ถึง ๓ ทาง ใคร ๆ ไมอ าจใชกระดงหรือชามปด บงั ได หรือไมอ าจจะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook