Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๒๗ ตพิ พฺ ํ ฉนฺทฺจ เปมจฺ , ตสฺมึ ทิสฺวา อุปฏ เป. เปยยฺ าจริยฏาเน, สกฺกจจฺ นํ ปนุ ปปฺ ุนํ. ถึงผูบวชในวันน้ัน แมเปนผูมีอายุเพียง ๗ ขวบ นับ ตั้งแตเกิด จะพึงอนุศาสนเราก็ตาม เราจะ ขอรับคาํ สอนของทานไวท่ีกระหมอม เราไดพบ ทานแลว ก็จะพึงตั้งความพอใจ และความรัก อยางแรงกลาไวในทาน จะพึงเคารพทานเนือง ๆ ต้ังไวในฐานะแหงอาจารย.’ ดังน้ี.” จบโครูปงคปญหาท่ี ๘ คาํ อธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาเกี่ยงกับองคแหงโค ช่ือวา โครูปงคปญหา ช่ือวา โครูป ไดแกโคพลิพัทธ (โคงาน). คาํ วา ไมพึงละทิ้งกายของตน คือไมพึงละเลยกายของ ตน ดวยอํานาจแหงการกระทําเขาไวในใจ ไมทาํ ใจใหแสไปสู อารมณอ่ืน ซ่ึงมีมากมายในภายนอก. ถามวา กระทํากายของ ตนนี้เขาไวในใจ อยางไร? ตอบวา กระทําเขาไวในใจวา “กายน้ี มีความเปนของไมเที่ยงเปนธรรมดา” เปนตน. คําวา พึงเปนผูเทียมแอกคือพรหมจรรย ประพฤติ พรหมจรรยอันมีลมหายใจเปนที่สุด คือพึงเปนผูเทียม ไดแก ประกอบชอบซ่ึงมรรคพรหมจรรย อันมีสติปฏฐาน ๔ และ

๔๒๘ วรรคที่ ๔, อุปจิกาวรรค วิปสสนาเปนเบ้ืองตน ประพฤติปฏิบัติพรหมจรรยน้ันใหมีลม หายใจเปนที่สุด คือ ปฏิบัติไปตราบจนกระทั่งถึงคราวส้ินสุด แหงชีวิต. คําวา โดยสะดวกบาง ลําบากบาง ความวา ช่ือวา สะดวก ก็เกย่ี วกับวา ในคราวนั้นถึงพรอมดวยสัปปายธรรม (เหตุ สรางความสะดวก) ท้ังหลายมีที่อยูอาศัย ภิกษาหารเปนตน ที่ เปน สปั ปายะ, ชือ่ วาไมสะดวก กเ็ ก่ยี วกับวาในคราวนัน้ บกพรอง ดวยสัปปายธรรมเหลาน้ัน กลาวคือ ไดท่ีอยูที่อาศัยที่เปน อสัปปายะเปนตน. คําวา คําอนุศาสน คือคําพรา่ํ สอนที่เปนแบบแผนอัน รักษาสืบตอกันมา. คาํ วา สูดดม คือสูดดมกลิ่นศีลของทาน ที่ตนทราบตาม ทํานองแหงคําอนุศาสน, และวัตรปฏิบัติของทาน. คําวา ท้ังของอุบาสกฆราวาส คือท้ังของอุบาสก ฆราวาสผูเปนบัณฑิต ผูประกอบพรอมดวยคุณสมบัติของ กัลยาณมิตร. จบคาํ อธิบายปญ หาที่ ๘ ปญ หาที่ ๙, วราหงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๒ แหงสุกร’, องค ๒ ที่พึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?”

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๔๒๙ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา สุกร เมื่อฤดูรอนซึ่งมีแดดรอนแรงมาถึง ก็ยอมเขาไป สูแหลงนา้ํ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญ เพียร เมื่อจิตวุนวาย พล้ังพลาด สับสน เรารอน เพราะโทสะ ก็พึงเขาไปสเู มตตาภาวนาอนั เยือกเยน็ เปน อมตะ ประณตี ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ืคือองคที่ ๑ แหงสุกร ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคหน่ึง, สุกร พอพบทีเ่ ปน โคลน ตมแลว ก็ใชจมูกขุดพ้ืนดิน ทําใหเปนแอง แลวนอนอยูในแอง ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงวางกายไวในจิต นอน รูอยูภายในอารมณ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองค ท่ี ๒ แหงสุกร ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระปณโฑลภาร- ทวาชเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไว วา - ‘กาเย สภาวํ ทสิ ฺวาน, วิจนิ ิตวฺ า วิปสฺสโก. เอกากโิ ย อทุตโิ ย, เสติ อารมฺมณนตฺ เร พระโยคาวจรผูเจริญวิปสสนา ตรวจสอบพบเห็น สภาพในกายแลว ก็เปนผูโดดเด่ียวไมมีเพ่ือน นอนอยูภายในอารมณ.’ ดังนี้.” จบวราหังคปญหาที่ ๙

๔๓๐ วรรคที่ ๔, อุปจกิ าวรรค คําอธิบายปญ หาท่ี ๙ ปญหาเก่ียวกับองคแหงสุกร ช่ือวา วราหังคปญหา. เมตตาภาวนา ช่ือวา เยือกเย็น เพราะภาวะที่สงบไฟ รอนคือโทสะ. ชื่อวาอมตะ เพราะเปน เหมอื นโอสถอมตะท่ีใชถอน พิษคือโทสะ, หรือเพราะเปนเหตุประกอบแหงการถึงพระนิพพาน อันเปนอมตะ. และชื่อวา ประณตี กเ็ พราะเปน ปฏิปก ษต อ โทสะ อนั หาความประณีตมิได. คาํ วา พึงวางกายไวในจติ คือพึงวางปถวกี าย อาโปกาย เตโชกาย และวาโยกาย อนั ไดแกโ กฏฐาส หรอื อาการ ๔๒ มีผม ขน เลบ็ เปน ตน ไวใ นจติ คอื จิตทพี่ จิ ารณา โดยเกยี่ วกับกระทาํ ให เปน อารมณแ หง จิต. คาํ วา นอนรูอยูภายในอารมณ คือนอน ไดแกติดตาม รอู ยภู ายในอารมณ คอื กายนน้ั นน่ั แหละ เนือง ๆ. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๙ ปญ หาท่ี ๑๐, หัตถิงคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๕ แหงชาง’, องค ๕ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมดาวา ชา ง คอยแตจ ะเดินยํ่า ทาํ ใหแผน ดินแตก ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูคอยแตจะพิจารณากาย

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๓๑ ทํากิเลสท้ังปวงใหแตกไป ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ี คือองคที่ ๑ แหงชาง ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ชาง ต้ังลําตัวทุกสวน มองตรงไปเบ้ืองหนาเทานั้น, เพงมองไปตรง ๆ, ไมเหลียวดูไป ทางทิศใหญทิศยอยทั้งหลาย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ- โยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูตั้งกายทุกสวน มองไปทาง เบ้ืองหนา, ไมพึงเหลียวดูไปทางทิศใหญทิศยอยทั้งหลาย, ไมพึง แหงนดูเบ้ืองบน, ไมพึงกมดูเบื้องตา่ํ , มองไปแคชั่วแอกเทานั้น ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหงชาง ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ชาง ไมมีที่นอนประจํา ไปในถิ่นท่ีหากินแลว ก็ไมยึดเอาสถานท่ีนั้นน่ันเทียวเปนที่อาศัย, ไมมีที่อยูอันตั้งมั่นถาวร ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร กพ็ งึ เปน ผไู มม ีทน่ี อนประจาํ , พงึ เปน ผูไมม ีอาลยั ไป เพ่ือบิณฑบาต, ถาหากวา เธอผูเ จริญวปิ สสนา ไดพ บเห็นซุม ไมก ็ดี โคนไมก็ดี ถ้ําก็ดี ซอกเขาก็ดี ที่เหมาะสมนาพอใจ อันมีอยูใน สถานทีท่ นี่ า รืน่ รมย ก็พงึ เขา ไปอาศัยอยู ณ ทนี่ ้นั น่ันแหละ, แตก ็ ไมพึงทําใหเ ปนที่อยูอ ันตง้ั ม่ันถาวร ฉนั นน้ั เหมอื นกัน นค้ี ือองคท ี่ ๓ แหงชา ง ทพ่ี งึ ถอื เอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ชาง หยั่งลงสูแองนาํ้ , หยั่งลงสูสระบัวใหญ ๆ ที่เปยมดวยนํา้ เย็นสะอาด ปราศจาก มลทิน ปกคลุมดวยบัวขาว บัวเขียว และบัวหลวงแลว ก็เลนนํา้

๔๓๒ วรรคท่ี ๔, อุปจิกาวรรค เพลิน อยางที่เปนการเลนของชาง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร หย่ังลงสูสระโบกขรณีคือมหาสติปฏ- ฐาน ที่เต็มเปยมดวยนาํ้ คือธรรมประเสริฐ ซึ่งสะอาด ปราศจาก มลทินใส ไมขุนมัว ท่ีปกคลุมดวยดอกไมคือวิมุตติ แลวก็พึงใช ญาณชําแหละสังขาร สลัดท้ิงไป, พึงเลนเพลิดเพลินอยางที่เปน การเลนของพระโยคาวจรผูประเสริฐ ฉันน้ันเหมือนกัน, นี้คือ องคท่ี ๔ แหงชาง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง, ชาง จะยกเทาข้ึนก็มี สติ, จะวางเทาลงก็มีสติ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน ผมู ีสติ มีสัมปชัญญะ ยกเทาขึน้ , เปนผูมีสติ มสี มั ปชัญญะ วางเทา ลง, พงึ เปนผมู ีสติ มสี มั ปชญั ญะ ในเวลา กา วไป ในเวลากาวกลบั ในเวลาคู ในเวลาเหยียด ในกริ ิยาทงั้ ปวง ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๕ แหงชางท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลา เทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไวในสังยุตตนิกายอันประเสริฐ วา :- ‘กาเยน สํวโร สาธุ, สาธุ วาจาย สํวโร มนสา สํวโร สาธุ, สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร สพฺพตฺถ สํวุโต ลชฺชี, รกฺขิโตติ ปวุจฺจติ๑ ความสาํ รวมทางกาย เปนเหตุทําประโยชนให สาํ เร็จ ความสํารวมทางวาจา ก็เปนเหตุทํา                                                ๑. สํ. ส. ๑๕/๑๐๐.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๓๓ ประโยชนใหสําเร็จ ความสํารวมทางใจ ก็เปน เหตุทําประโยชนใหสําเร็จ ความสํารวมทาง ทวารทั้งปวง ก็เปนเหตุทาํ ประโยชนใหสาํ เร็จ ปราชญยอมกลาวถึงภิกษุผูมีความละอาย ผู สาํ รวมไดทุกทวาร วาเปนผูรักษาตน.’ ดังน้ี.” จบหัตถิงคปญหาท่ี ๑๐ คําอธิบายปญหาที่ ๑๐ ปญหาเกี่ยวกบั องคแหง ชา ง ชื่อวา หตั ถิงคปญหา. คําวา พึงเปนผูคอยแตจะพิจารณากาย คือพึงเปนผู ตามพิจารณากายเนือง ๆ เห็นกายนั้นตามความเปนจริงวา ไม เท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา เพราะเหตุน้ันนั่นแหละ จึงทํากิเลส ทั้งปวงใหแตกไปได คือละกิเลสได. คาํ วา พงึ เปน ผูต้งั กายทกุ สวน ฯลฯ มองไปแคชว่ั แอก เทาน้ัน นี้ ทานกลาวไวแสดงถึงความเปนปกติสํารวมในคราว เทีย่ วสลู ะแวกบา น เพอ่ื บณิ ฑบาต. คาํ วา พึงเปนผูไมมีอาลัย ไปเพ่ือบิณฑบาต คือใน คราวเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ยอมเปนผูเท่ียวไปตามลาํ ดับเรือน ไมมีอาลัย คือไมมีจิตติดของในตระกูลแมไหน ๆ. คาํ วา ก็ไมพึงทาํ ใหเปนที่อยูอันต้ังมั่นถาวร คือแม เปนสถานท่ีท่ีเหมาะสมแกการบําเพ็ญเพียร ก็ไมมีความคิดวา

๔๓๔ วรรคท่ี ๔, อุปจิกาวรรค “สถานท่ีนี้ เปนท่ีอยูประจาํ ของเรา”, ทวา พรอมท่ีจะละจากไป ในเม่ือเกิความไมสะดวกบางอยางแกการบําเพ็ญอธิกุศลข้ึน. คาํ วา ท่ีเต็มเปยมดวยน้ําคือธรรมประเสริฐ คือท่ีเต็ม เปยมดวยนาํ้ อันไดแกธรรมประเสริฐ คือศีล สมาธิ ปญญา ท่ีใชชาํ ระลางเหง่ือไคลคือกิเลส ซึ่งช่ือวาเปน น้าํ สะอาด ปราศ จากมลทิน ใส ไมขุนมัว ก็เพราะเหตุที่ไมปะปนดวยกิเลส น่ันแหละ. คาํ วา ท่ีปกคลุมดวยดอกไมคือวิมุตติ คือท่ีกลนเกล่ือน ดวยดอกไมบานคือวิมุตติท้ังหลาย คือ ตทังควิมุตติ (ความหลุด พนช่ัวครั้งคราว) ดวยสามารถวิปสสนา, วิกขัมภนวิมุตติ (ความ หลุดพนโดยการขมไวไดซ่ึงนีวรณธรรมทั้งหลาย) ดวยสามารถ อุปจารฌานและอัปปนาฌาน, และสมุจเฉทวิมุตติ (ความหลุด พนโดยการตัดขาดดวยดีซึ่งกิเลสน้ัน ๆ ดุจตัดตนไมพรอมท้ังราก) ดวยสามารถพระอริยมรรค. คาํ นี้เปนเพียงทานช้ีใหเห็นวา สติ- ปฏฐาน เปนสระโบกขรณี อันเปนโอกาสท่ีเกิดข้ึนแหงดอกไมคือ วิมุตติทั้งหลายเทาน้ัน มิไดหมายความวามีวิมุตติประจําอยูแลว ต้ังแตตน. คาํ วา พึงใชญาณชําแหละสังขาร คือพึงใชวิปสสนา ญาณตรวจสอบสังขาร ทบทวนบอย ๆ เห็นทะลุปรุโปรงตาม ความเปนจริงวา ไมเท่ียงแนนอน เปนทุกขแนนอน เปนอนัตตา แนนอน.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๓๕ คาํ วา สลัดท้ิงไป คือเพราะเหตุท่ีเห็นตามความเปนจริง อยางนั้นนั่นแหละ จึงสลัดท้ิงสังขารเหลานั้นได ดวยอํานาจแหง ความไมยึดมนั่ วาเปนสาระ. คําวา พึงเปนผูมีสติ มีสัมปชัญญะ ยกเทาขึ้น เปนตน คือพึงเปนผูมีสติ มีสัมปชัญญะ กลาวคือระลึกได และรูสึกตัวใน อาการท่ียกข้ึนแหงเทาเปนตน. ช่ือวา “กาย” ในคาํ วา ความสาํ รวมทางกาย นี้ ไดทั้งกาย ประสาท ไดทั้งโจปนกาย (กายเคล่ือนไหว) กลาวคืออิริยาบถ ใหญนอย. เพราะฉะน้ัน ความเปนผูมีสติ สาํ รวมระวังในคราว ทกี่ ายไดกระทบโผฏฐพั พารมณ (อารมณที่กายเขา ไปกระทบ คอื ความเย็น ความรอน, ความออน ความแข็ง, ความตึง ความ หยอ น) ไมม กี ารถือเอานิมติ และอนพุ ยญั ชนะในสิง่ ทกี่ ายกระทบ นั้น วาหญิง วาชาย เปนตน อันเปนเหตุเกิดข้ึนแหงความยินดี ยินราย ก็ชื่อวา “ความสาํ รวมทางกาย”, แมความเปนผูมีสติ สาํ รวมในอิริยาบถใหญน อ ย เดนิ ยนื นั่ง นอน เหยียด คู เปน ตน โดยการกาํ หนดประโยชนเสียกอนจะเดินเปนตน และในเวลาเดิน ก็เหลือบดูชั่วแอก เพียงเพื่อจะเดินไปไดตรงทาง และหลีกเล่ียง อันตราย มีตอหนามเปน ตนในระหวา งทางเทา นนั้ ไมเ ทยี่ วเหลยี ว มองขางน้ัน ขางน้ี ไมประพฤติกายทุจริตท้ังหลาย ก็ช่ือวา “ความ สาํ รวมทางกาย” ในปญหาน้ี หมายเอาความสํารวมโจปนกายนี้ เปนสําคัญ.

๔๓๖ วรรคที่ ๔, อุปจกิ าวรรค คําวา เปนเหตุทําประโยชนใหสาํ เร็จ คือเปนเหตุทาํ ประโยชนทั้ง ๓ มีประโยชนในอัตภาพปจจุบันนี้เปนตน โดย เฉพาะประโยชนอยางย่ิงคือพระนิพพานใหสําเร็จ. คาํ วา ความสํารวมทางวาจา ไดแก ความเปนผูมีสติ ระมัดระวังการเปลงวาจา โดยการกําหนดประโยชนเสียกอนจะ เปลงคําพูด ไมพูดวจีทุจริตทั้งหลาย. คําวา ความสาํ รวมทางใจ ไดแ ก ความเปน ผมู สี ตริ ะลกึ คือเขาไปตั้งไวทอ่ี ารมณท้ังหลายอนั เปนวสิ ยั ของจติ ทางมโนทวาร ไมถ อื เอานิมติ อนุพยญั ชนะ วา หญงิ วา ชาย เปนตน อนั เปนเหตุ เกิดข้ึนแหงความยินดียินรายในอารมณเหลานั้นโดยการกําหนด ถึงความเปนขันธ ธาตุหรืออายตนะในอารมณเหลานั้น. คาํ วา ปราชญยอมกลาว ฯลฯ วาเปนผูรักษาตน ความ วา ปราชญ กลาวคือพระสัมมาสัมพุทธเจาและพระอริยสาวก ทั้งหลาย ยอมกลาวถึงภิกษุผูละอายบาป ละอายทุจริตแลว สํารวมไดทุกทวาร คือทั้ง ๓ ทวาร วาเปนผูรักษาตน เพราะเหตุ ท่ีมีสติสาํ รวมทวารท้ัง ๓ แลวเปนเหตุใหรักษาจิต ซึ่งชื่อวาตน เพราะเนื่องในตนไวจากกิเลสท้ังหลายได. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๑๐ จบอุปจิกาวรรคที่ ๔

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๓๗ วรรค ๕, สีหวรรค ปญหาท่ี ๑, สหี งั คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๗ แหงราชสีห’, องค ๗ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมดาวา ราชสีห เปนสัตวผูมีกายขาวสะอาด ปราศจากมลทิน บริสุทธิ์ ผองใส ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูมีจิตขาวสะอาด ปราศจากมลทิน บริสุทธ์ิ ผองใส ปราศจากความกังวล ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือ องคที่ ๑ แหงราชสีห ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ราชสีห เปนสัตวมี ๔ เทา มีปกติเยื้องกรายไปดวยทาทีองอาจ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรก็พึงเปนผูมีเทาคืออิทธิบาท ๔ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๒ แหงราชสีห ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ราชสีห เปนสัตวมีขน สรอยคอสวยงาม นาชอบใจ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูมีขนสรอยคอคือศีลท่ีสวยงาม นาชอบใจ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้คี ือองคท่ี ๓ แหง ราชสีห ท่ีพึงถือเอา.

๔๓๘ วรรคที่ ๕, สีหวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ราชสีห แมเมื่อจะมี อันส้ินสุดชีวิต ก็ไมยอมนอบนอมตอใคร ๆ ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร แมเม่ือจะมีอันตองส้ินจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และบริขารคือยาอันเปนปจจัยสาํ หรับ คนไขไป ก็ไมยอมนอบนอมตอใคร ๆ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร น้ีคอื องคท ี่ ๔ แหง ราชสีห ท่พี งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ราชสีห เปนสัตวท่ีเท่ียว หาอาหารไปตามลําดับ, ลมสัตวไดในโอกาสใด, ก็จะกัดกิน ตราบเทาท่ีตองการในโอกาสน้ันน่ันแหละ, ไมเลือกกินแตเน้ือดี ๆ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียรก็พึงเปน ผูแสวงหาอาหารไปตามลําดับเรือน, ไมพึงเลือกสกุล, ไมพึงละ เรือนหลังแรก เขาไปสูสกุลท้ังหลาย, ไมพึงเลือกโภชนะ, ถือเอา คาํ ขาวไดในโอกาสใด ก็พึงบริโภคเพียงเพื่อเยียวยาสรีระ ใน โอกาสน้ันนั่นแหละ, ไมพึงเลือกฉันแตโภชนะดี ๆ ฉันน้ัน เหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๕ แหงราชสีห ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ราชสีห เปนสัตวท่ี ไมเ กบ็ ของกนิ ไว, ไดก ินหนหน่งึ แลว กไ็ มเขาไปยังอาหารทก่ี ินแลว น้นั อกี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพยี ร ก็พึง เปนผูไมทําการเก็บของกิน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ี คอื องคที่ ๖ แหง ราชสหี  ทีพ่ งึ ถอื เอา.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๓๙ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ราชสีห ไมไดของกิน ก็ ไมเดือดรอน, แมวาไดก็บริโภคของกินไปอยางไมติดใจ ไมสยบ ไมซบ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ไมได โภชนะ ก็ไมพึงเดือดรอน, แมวาได ก็พึงเปนผูไมติดใจ ไมสยบ ไมซบ มีปกติเล็งเห็นโทษ มีปญญาเปนเครื่องสลัดออกจากทุกข บริโภคโภชนะ ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๗ แหงราชสีห ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรง เปนเทพย่ิงเหลาเทพ เม่ือจะทรงยกยองพระมหากัสสปเถระ ได ทรงภาสิตความขอนี้ไวในสังยุตตนิกายอันประเสริฐวา :- ‘สนฺตุฏโยํ ภิกฺขเว กสฺสโป อิตรีตเรน ปณฺฑปาเตน, อิตรีตรปณฺฑปาตสนฺตุฏิยา จ วณฺณวาที, น จ ปณฺฑปาตเหตุ อเนสนํ อปฺปฏิรูป อาปชฺชติ, อลทฺธา จ ปณฺฑปาตํ น ปริตสฺสติ, ลทฺธา จ ปณฺฑปาตํ อคธิโต อมุจฺฉิโต อนชฺฌาปนฺโน อาทีนวทสฺสาวี นิสฺสรณปฺโ ปริภุฺชติ๑ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พระมหากัสสปะน้ี เปนผู สันโดษดวยบิณฑบาตตามที่มีตามท่ีได ทั้งเปนผู มีปกติกลาวสรรเสริญความสันโดษดวยบิณฑบาต ตามที่มีตามท่ีได, ท้ังไมถึงการแสวงหาที่ไมสมควร                                                ๑. สํ. น.ิ ๑๖/๒๓๓.

๔๔๐ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค ความประพฤติท่ีไมเหมาะสม เพราะเหตุแหง บิณฑบาต, ทั้งไมไดบิณฑบาตแลว ก็ไมเดือดรอน, ทั้งไดบิณฑบาตแลว ก็เปนผูไมติดใจ ไมสยบ ไมซบ มีปกติเล็งเห็นโทษ มีปญญาเปนเครื่อง สลัดออก บริโภคบิณฑบาต.’ ดังนี้.” จบสีหังคปญหาที่ ๑ คาํ อธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงราชสีห ช่ือวา สีหังคปญหา. ช่ือวา สีหะ (ราชสีห) มี ๔ จาํ พวก คือ ติณสีหะ ๑, กาฬสีหะ ๑, ปณฑุสีหะ ๑, เกสรสีหะ ๑. ใน ๔ จาํ พวกน้ัน ติณสีหะ เปนราชสีหท่ีมีรูปรางเหมือนโคผู มีสีเหมือนนกพิราบ (สีน้ําเงินแกมเทา) และเปนสัตวกินหญา. กาฬสีหะ เปนราชสีห ที่มีรูปรางเหมือนโคดาํ เปนสัตวกินหญาเหมือนกัน. ปณฑุสีหะ เปนราชสีหที่มีรูปรางเหมือนโคผู มีสีเหมือนใบไมแหง เปนสัตว กินเน้ือ. เกสรสีหะ (ไกรสรราชสีห) เปนราชสีหที่ประกอบพรอม ดวยปากท่ีแดงราวกะทานํา้ ครั่ง หางท่ีมีพุมขนตอนปลาย เทาท่ี กลมทั้ง ๔ มีแผงขนสีแดงเหมือนยอมคร่ังหรือชาด งอกขึ้นเปน ๓ แนว จับตั้งแตบนกระหมอมไลไปจนถึงกลางหลัง แลววกไป ทางขวา สอดเขาไปในระหวางขา สวนท่ีคอเพียบดวยขนสรอย คอ งดงามราวกะคลองผากําพลแดงที่มีคาสักแสนไว บริเวณ

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๔๑ สวนที่เหลือเกลี้ยงเกลา มีสีเหลืองออนเหมือนแปงขาวสาลีหรือ ผงสังข เปนสัตวกินเน้ือ. ใน ๔ จาํ พวกน้ัน ในปญหาน้ีหมายเอา เกสรสีหะ. ดวยคําวา พึงเปนผูมีจิตขาวสะอาด ฯลฯ ปราศจาก ความกังวล นี้ ทานแสดงความเปนผูละนิวรณท้ังหลายได ดวย อาํ นาจแหงปฐมฌาน. ธรรม ๔ อยาง คือ ฉันทะ - ความพอใจใครจะทําการงาน น้ัน ๆ ใหสาํ เร็จ ๑, วิริยะ - ความเพียร ๑, จิต - ความใฝใจ ๑, วิมังสา - ปญญาไตรตรอง ๑ ช่ือวา อิทธิบาท เพราะเปนบาท (เทา) คือเปนเหตุต้ังข้ึน คือเกิดขึ้นแหงอิทธิคือความสาํ เร็จหรือ ธรรมท่ีควรสาํ เร็จ. ราชสีห นับวาเปนสัตวท่ีงดงามก็เพราะมีขนสรอยคอเปน เครื่องประดับ ฉันใด, บุคคลท้ังหลาย บัณฑิตนับวางามก็เพราะ มีศีลเปนเครื่องประดับ ฉันนั้น. จริงอยางน้ัน บุคคลชื่อวาเปนผูมี กายงาม ก็เพราะมีศีล, ช่ือวามีวาจางาม ก็เพราะมีศีล, ช่ือวามี จิตงาม ก็เพราะมีศีล. คําวา ไมยอมนอบนอมตอใคร ๆ เปนคาํ ท่ีแสดงถึง ความเปนผูไมติดในตระกูลทายก ไมยอมประจบตระกูลเพราะ เห็นแกลาภ มีจีวรเปนตน แมวาการกระทาํ อยางนี้จะเปนเหตุให สิ้นใหเสื่อมจากลาภเหลาน้ัน ก็ตาม. ดวยคําวา พงึ เปน ผไู มท ําการเก็บของกิน นี้ ทา นแสดง ถึงความเปนผูไมสะสมปจจัยทั้ง ๔ น่ันเทียว โดยยกของกินขึ้น

๔๔๒ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค เปนสาํ คญั . คาํ วา มีปกตเิ ล็งเห็นโทษ คือมปี กตเิ ลง็ เหน็ โทษในความ ตดิ ใจในโภชนะ หรือมีปกตเิ ลง็ เหน็ โทษในการบรโิ ภคโภชนะอยา ง ไมมีการพิจารณา. คาํ วา มีปญญาเปนเคร่ืองสลัดออกจากทุกข คือมี ปญญาพิจารณาประโยชนของโภชนะตามความเปนจริง ซึ่งนับ วาเปนปญญาเครื่องสลัดออกจากทุกข โดยเกี่ยวกับวา เปน ปญญาอยางหน่ึงที่อุปการะแกการสลัดออกจากทุกข ความวา เปนเหตุใหถึงนิพพานธรรมท่ีสลัดออกจากทุกข. ความที่เหลือ งายอยูแลว. จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาท่ี ๒, จักกวากังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๓ แหงนกจากพราก’ องค ๓ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นกจากพราก ยอมไมยอมละทิ้งคูของตน จนกวาชีวิต ส้ินสุด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็ไม พึงละทิ้งโยนิโสมนสิการ จนกวาชีวิตจะส้ินสุด ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๑ แหงนกจากพราก ที่พึงถือเอา.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๔๓ ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห น่ึง ธรรมดาวา นกจากพราก ยอ มเปน สตั วผมู แี ตส าหรา ยเปนอาหาร, และถึงความสันโดษดวย สาหรายนั้น, และเพราะความสันโดษน้ัน จึงไมเส่ือมจากกําลัง และจากวรรณะ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ก็พึงกระทาํ ความสันโดษดวยปจจัยตามท่ีได, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผบู าํ เพญ็ เพยี ร ผูสนั โดษดวยปจ จยั ตามท่ีได ยอมไมเ สือ่ มจากศลี , ยอ มไมเ สื่อมจากสมาธิ, ยอ มไมเสือ่ มจาก ปญ ญา, ยอ มไมเสือ่ มจากวมิ ุตต,ิ ยอ มไมเ สอื่ มจากวิมุตตญิ าณ- ทัสสนะ, ยอมไมเส่ือมจากกุศลธรรมทั้งปวง ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหงนกจากพราก ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ธรรมดาวา นก จากพราก ยอมไมเบียดเบียนสัตวทั้งหลาย ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูวางทอนไม, วางศาสตรา เปนผูละอายบาป มีจิตเอื้อเอ็นดู อนุเคราะห ประโยชนแกสัตวท้ังปวง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๓ แหงนกจากพราก ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ไดทรงภาสิตความ ขอน้ีไว ใน จกฺกวากชาดก วา - ‘โย น หนฺติ น ฆาเตติ, น ชินาติ น ชาปเย เมตฺตํโส สพฺพภูเตสุ, เวรํ ตสฺส น เกนจิ๑                                                ๑. ขุ. ชา. ๒๗/๒๙๔.

๔๔๔ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค บุคคลใดไมฆา ไมยังผูอ่ืนใหฆา, ไมทาํ ลาย (ไม สรางความเสื่อม) ไมยังใหผูอ่ืนทาํ ลาย มีจิตเมตตา ในสัตวทั้งหลายทั้งปวง, บุคคลนั้นยอมไมมีเวรกับ ใคร ๆ.” ดังน้ี.” จบจักกวากังคปญหาที่ ๒ คําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญ หาเกย่ี วกับองคแ หง นกจากพราก ชอ่ื วา จกั กวากงั ค- ปญ หา. คําวา ไมพงึ ละทง้ิ โยนโิ สมนสกิ าร คอื ไมพ งึ ละทิง้ โยนโิ ส- มนสิการในการประกอบชอบซึง่ ภาวนา. เพราะมีความสันโดษดวยสาหรายที่ได ไมแสวงหา อาหารอยางอ่ืนอีก นกจากพรากจึงไมเส่ือมจากกําลังและ วรรณะ ฉันใด, เพราะมีความสันโดษดวยปจจัยตามที่ได ไมมีความคิดจะแสวงหาอ่ืนอีก พระโยคาวจรจึงเปนผูไม เสื่อมจากคุณธรรมทั้งหลาย มีศีลเปนตน ฉันน้ัน. คาํ วา ยอมไมเสื่อมจากกุศลธรรมท้ังปวง คือยอมไม เสื่อมจากโลกิยธรรมและโลกุตตรธรรมท้ังหลายทั้งปวง. คําวา เปนผูละอายบาป คือเปนผูละอายตอการตอง อาบัติ, ตอการไมเล็งเห็นอาบัติ, ตอการไมปลงอาบัติ, ตอการ ไมสลัดทิ้งซ่ึงทิฏฐิท่ีชั่วชา.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๔๕ คาํ วา มีจิตเออื้ เอน็ ดู คือมีจติ ประกอบพรอมดวยกรณุ า. พระคาถาท่ีวา โย น หนฺติ เปนตน เปนคําตรัสของพระผู มีพระภาค สมัยท่ีเสวยพระชาติเปนนกจากพราก. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๒ ปญหาท่ี ๓, เปณาหิกังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงนางนกเงอื ก’, องค ๒ ทพ่ี ึงถอื เอานั้นเปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นางนกเงือก ยอมไมเล้ียงลูกเพราะความหึงหวงในผัว ของตน (ฉบับของไทย - ยอมใหผัวของตนเลี้ยงลูกอยูแตในโพรง เพราะความหึงหวง) ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร เม่ือกิเลสเกิดข้ึนในจิตของตน ก็พึงหึงหวง (จิตของ ตน), พึงใชสติปฏฐานใสไวในโพรง คือความสาํ รวมโดยชอบ แลว เจรญิ กายคตาสติทางมโนทวาร ฉันน้ันเหมอื นกนั . ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงนางนกเงือก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ธรรมดาวา นางนกเงือก เท่ียวหากินไปในปาตลอดท้ังวันแลว ตกเย็นก็เขาไปสูฝูงนก เพ่ือ ปองกันตนเอง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ก็พึงสองเสพสถานท่ีวิเวกอยูแตผูเดียวเพื่อความหลุดพน จากสังโยชน, เม่ือไมไดความยินดีในที่น้ัน ก็ควรไปอยูรวมกับ หมูสงฆ เพ่ือปองกันภัย คือคาํ กลาวราย เปนผูที่หมูสงฆรักษา

๔๔๖ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงนางนก- เงือก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานทาวสหัมบดีพรหม ไดทรงภาสิตความขอนี้ไว ในท่ีใกลพระผูมีพระภาควา - ‘เสเวถ ปนฺตานิ เสนาสนานิ, จเรยฺย สํโยชนวิปฺปโมกฺขา. สเจ รตึ นาธิคจฺเฉยฺย ตตฺถ สํเฆ วเส รกฺขิตตฺโต สติมา๑ ขอทานจงสองเสพแตเสนาสนะทั้งหลายที่สงัดเถิด พึงประพฤติเพ่ือความหลุดพนจากสังโยชนเถิด ถาหากไมประสบความยินดีในที่นั้น ก็พึงอยูใน ทามกลางสงฆ เปนผูมีสติรักษาตัวอยูเถิด.’ ดังน้ี.” จบเปณาหิกังคปญหาที่ ๓ คาํ อธิบายปญหาท่ี ๓ ปญหาเก่ียวกับองคแหงนางนกเงือก ชื่อวา เปณาหิกังค- ปญหา. คําวา พึงหึงหวง คือพึงรักษา (จิตของตน). คาํ วา พึงใชสติปฏฐานใสไวในโพรง คือความสาํ รวม โดยชอบ คือพงึ เจริญสติปฏ ฐาน ใสค ือรกั ษาจติ น้ัน ไวใ นโพรงคือ                                                ๑. สํ. ส. ๑๕/๒๑๓.

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๔๗ แวดลอมไวดวยความสาํ รวมอินทรียท้ังหลาย. คาํ วา เจริญกายคตาสติทางมโนทวาร ความวา เมื่อ อินทรียอันเปนทวาร ๕ พระโยคาวจรสํารวมไดแลว, ทางมโน- ทวารน้ัน พระโยคาวจรก็พึงเจริญสติปฏฐานอันเปนกายคตาสติ นั่นแหละเนือง ๆ. คาํ วา เมื่อไมไดความยินดีในท่ีนั้น คือเมื่อไมไดความ ยินดีภาวนาในสถานที่วิเวกน้ัน เพราะเกิดเยื่อใยในกายและชีวิต ข้ึน หรือเกิดความยินดีในการคลุกคลีดวยผูคนที่เขาไปหาข้ึน. คําวา ก็ควรเขาไปอยูรวมกับหมูสงฆ เพ่ือปองกันภัย คือคาํ กลาวราย ความวา ก็ไมควรจะอยูคนเดียวอีกตอไป ทวา ควรจะเขาไปอยูทามกลางสงฆ เพ่ือปองกันคือเพื่อปดโอกาสแหง ภัย คือคาํ กลาวราย อันไดแกคาํ ติเตียนตนเองเพราะเหตุท่ีเกิด ประพฤติสิ่งท่ีสรางความเศราหมองแกพรหมจรรย และคําติเตียน ของผูอ่ืนผูพบเห็นการกระทาํ ท่ีไมสมควรของตนหมายความวา เม่ือไดเขามาอยูในทามกลางสงฆแลวก็ยอมไมมีโอกาสจะทํา กรรมท่ีนาติเตียนท้ังหลาย. จบคาํ อธิบายปญ หาท่ี ๓ ปญหาที่ ๔, ฆรกโปตังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๑ แหงนกกระจอก’, องค ๑ ท่ีพึงถอื เอาน้นั เปนไฉน?”

๔๔๘ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นกกระจอก อาศัยอยูในเรือนผูอ่ืน ก็ยอมไมถือเอา นิมิต (อาการท่ีงาม ไมงามเปนตน) แหงขาวของของคนเหลาน้ัน อาศัยอยูอยางวางเฉย มากดวยสัญญา ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร เขาไปสูสกุลผูอ่ืนแลว ก็ไมพึง ถือเอานิมิตแหงหญิงหรือชาย หรือนิมิตในเตียง หรือในตั่ง หรือ ในผา หรือในเคร่ืองประดับ หรือในเครื่องอุปโภค หรือในเครื่อง บริโภค หรือในโภชนะแปลก ๆ ในสกุลนั้น, พึงเปนผูวางเฉย พึงยังความสาํ คัญวาเปนสมณะ ใหปรากฏเฉพาะหนา ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองค ๑ แหงนกกระจอก ท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลา เทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไว ในจูฬนารทชาดกวา :- ‘ปวิสิตฺวา ปรกุลํ, ปานตฺถํ โภชนาย วา. มิตํ ขาเท มิตํ ภุฺเช, น จ รูเป มนํ กเร๑ เธอเขาไปสูสกุลของผูอ่ืน เพื่อของดื่มก็ดี เพ่ือของ กินก็ดี พึงเค้ียวพอประมาณ พึงกินพอประมาณ และไมพึงทําจิตไวในรูป (ของหญิง).’ ดงั น.้ี ” จบฆรกโปตังคปญหาท่ี ๔                                                ๑. ข.ุ ชา. ๒๗/๓๔๘.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๔๙ คาํ อธิบายปญ หาที่ ๔ ปญหาเก่ียวกับองคแหงนกกระจอก ชื่อวา ฆรกโปตังค- ปญหา. คาํ วา มากดวยสัญญา คือมากดวยความสาํ คัญวาเปน สถานที่ของผูอ่ืน ที่เราเพียงแตเขามาอาศัยอยูเทาน้ัน. คําวา ก็ไมพึงถือเอานิมิตแหงหญิงหรือชาย เปนตน คือไมพึงถือเอานิมิตคืออาการวางาม วาไมงาม, วาดี วาไมดี, วา มีคามาก วามีคานอย เปนตน แหงหญิงหรือชายเปนตน. คาํ วา พึงยังความสําคัญวาเปนสมณะ ใหปรากฏ เฉพาะหนา คือพึงยังความสําคัญวา “เราเปนสมณะ” ให ปรากฏในใจ ราวกะวาเห็นประจักษอยูเฉพาะหนา ฉะน้ัน. อธิบายวา ตระหนักในความเปนสมณะของตนทุกคร้ังท่ีเขาไป สูสกุลเพื่อบิณฑบาต เปนตน เพ่ือปองกันความสนิทสนมดวย อาํ นาจความเสนหากับหญิงและชายท้ังหลายในสกุลน้ัน แลวถึง ความเปนผูมีคติเสมอกันกับคนเหลานั้น ราวกะวาเปนคนหนึ่ง ในสกุลนั้น เขาสุข ก็สุขดวย เขาทุกข ก็ทุกขดวย. ก็ความเปน อยางนี้ ยอมสาํ เร็จไดโดยเก่ียวกับการที่พระโยคาวจรตระหนัก ในความเปนสมณะของตนแลวก็คอยสํารวมอินทรียท้ังหลาย มี ตา หู เปนตน อันเปนทวารทั้ง ๖ เห็นรูปดวยตา ไดยินเสียงดวย หู เปนตนแลว ก็เปนผูมีสติสํารวมที่ตา หูเปนตนนั้น ไมถือเอา นิมิต คือไมถือเอาอาการที่แตกตางกันแหงผิวพรรณ ทรวดทรง ทาทางเยื้องกราย เปนตน อันสรางความสําคัญวา “น้ี หญิง, น้ี

๔๕๐ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค ชาย” เปนตน แลวถือเอาเปนสาระ ในรูปท่ีเห็นอยูน้ัน ไมถือเอา อาการท่ีแตกตางกันแหงเสียง มีทุม แหลม สูง ตา่ํ เปนตน อันสรางความสําคัญวา “เสียงหญิง เสียงชาย” เปนตน แลว ถือเอาเปนสาระ ในเสียงที่ไดยินอยูน้ัน แมความสาํ รวมอินทรีย ท่ีเหลือ มีจมูกเปนตน ในคราวท่ีมีกลิ่นเปนตน มากระทบ ก็มีนัย น้ีแหละ. พระคาถาท่ีวา ปวิสิตฺวา ปรกุลํ เปนตน พระผูมีพระ ภาคไดตรัสไวในสมัยท่เี สวยพระชาติเปนจุลลนารทกัสสปดาบส. เปนคาํ ตรัสสอนดาบสผูเปนบุตร ผูถูกหญิงผูหนึ่งซ่ึงหนีพวกโจร มาประเลาประโลมเพ่ือใหไปดวยกันแลวก็มีจิตคิดยินดีในการ ครองเรือน จึงบอกลาขอสละเพศดาบสตอพระโพธิสัตว. พระ โพธิสัตวบอกกลาวถึงสิ่งที่ชาวชนบทท้ังหลายนิยมประพฤติกัน และขอควรปฏิบัติดวยคาถาทั้งหลาย รวมท้ังคาถาน้ี แลวดาบส ผูบุตรก็เปล่ียนใจ เลิกลมความคิดจะเปนผูครองเรือนแตในขณะ นั้นน่ันเทียว. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๘ ปญหาท่ี ๕, อุลูกังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๒ แหงนกเคา’, องค ๒ ที่พึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?”

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๕๑ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นกเคา พอไดทะเลาะกับฝูงกาแลว, ในตอนกลางคืน ไปสูฝูงกา ฆากาเสียไดแมหลายตัว ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงทาํ การทะเลาะกับความไมรู, ไปนั่งอยูในที่ลับคนเดียว แลวย่ํายีความไมรู, พึงตัดเสียต้ังแต ราก ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๑ แหงนก เคา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง นกเคา เปนสัตวที่แอบ แฝงตัวไดดี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูมีความหลีกเรนเปนท่ียินดี ยินดีอยูแตในความหลีก เรน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงนกเคา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่ง เหลาเทพ ทรงภาสติ ความขอนี้ไวในสังยุตตนกิ ายอันประเสริฐวา :- ‘อธิ ภกิ ฺขเว ภกิ ฺข ปฏิสลลฺ านาราโม ปฏสิ ลฺลานรโต อทิ ํ ทุกขฺ นตฺ ิ ยถาภตู ํ ปชานาติ ฯเปฯ อยํ ทกุ ฺขนิโรธคามินี ปฏิปทาติ ยถาภูตํ ปชานาติ๑ ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุผูมีความหลีกเรนเปนที่ยินดี ยินดีอยูแตในความหลีกเรน ในพระศาสนาน้ี ยอมรูชัดไดตาม ความเปนจริงวา น้ี ทุกข, ยอมรูไดชัดตามความเปนจริงวา นี้ ทุกขสมุทัย, ยอมรูชัดไดตามความเปนจริงวา น้ี ทุกขนิโรธ,                                                ๑. ส.ํ มหา. ๑๙/๕๑๒.

๔๕๒ วรรคที่ ๕, สีหวรรค ยอมรูชัดไดตามความเปนจริงวา น้ี ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.’ ดังนี้.” จบอุลูกังคปญหาท่ี ๕ คาํ อธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงนกเคา ชื่อวา อุลูกังคปญหา. คาํ วา พงึ ทาํ การทะเลาะ คือพงึ เจรญิ ธรรมที่เปน ปฏิปก ษ กนั . คําวา ความไมรู ไดแก ความไมรูในทุกข, ความไมรูใน เหตุเกิดขึ้นแหงทุกข, ความไมรูในธรรมที่ดับทุกข, ความไมรูใน ขอปฏิบัติท่ีทําใหถึงธรรมท่ีดับทุกข. คําวา ย่ํายคี วามไมร ู คอื ละเปน ตทงั คปหาน ดว ยสามารถ วิปสสนาญาณ. คาํ วา พึงตัดเสียตั้งแตราก คือพึงละกิเลสท้ังหลายที่ เปนปจจัยรวมกัน ที่นอนตามไปในขันธสันดานท่ียังมิไดกาํ หนดรู อันนับวาเปนมูลแหงวัฏฏะ โดยการละเปนสมุจเฉทปหานดวย สามารถมัคคญาณ. คําวา ภิกษุผูมีความหลีกเรนเปนท่ียินดี คือภิกษุผูมี ภาวนาเปนท่ียินดี ยินดีในภาวนา. ความวา มีความยินดีในการ หลีกจิตออกจากอารมณตาง ๆ มากมายในภายนอก แลวเรนจิต น้นั ไวในกรรมฐานน่นั เอง. จบคาํ อธบิ ายปญ หาท่ี ๕

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๔๕๓ ปญ หาที่ ๖, สตปตตงั คปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ทา นกลา ววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงนกตระไน’, องค ๑ ที่พึงถือเอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นกตระไน เท่ียวบินรองบอกภัยและปลอดภัย แกสัตว เหลาอ่ืน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร เมื่อจะแสดงธรรมแกคนเหลาอ่ืน ก็พึงแสดงใหเห็นวาความตกไป ในสังสารทุกขเปนภัย, พึงแสดงใหเห็นวาพระนิพพานเปนธรรม ท่ีเกษม ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองค ๑ แหง นกตระไน ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระปณโฑลภาร- ทวาชเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา :- ‘นิรเย ภยสนฺตาสํ, นิพฺพาเน วิปุลํ สุขํ อุภยาเนตานตฺถานิ ทสฺเสตพฺพานิ โยคินา’ ‘พระโยคี พึงแสดงเนื้อความเปน ๒ ประการ คือ ความนากลัวตอภัยในนรก (และ) สุขอันไพบูลย ในพระนิพพาน.’ ดังน้ี.” จบสตปตตังคปญหาท่ี ๖

๔๕๔ วรรคที่ ๕, สีหวรรค คําอธบิ ายปญหาท่ี ๖ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงนกตระไน ชื่อวา สตปตตังค- ปญหา.๑ คาํ วา ความตกไปในสังสารทุกข คือความเกิดข้ึนแหง สังขารท้ังหลายในสังสารวัฏอันกลนเกล่ือนดวยทุกข ซ่ึงช่ือ วา เปนภัย ก็เพราะเปนของนากลัว. คําวา พระนิพพานเปนธรรมท่ีเกษม คือพระนิพพาน เปนธรรมท่ีปลอดภัย เพราะหาทุกขติดอยูมิได. ในภาสิตของพระเถระ : คาํ วา พึงแสดงเนื้อความเปน ๒ ประการ ความวา เม่ือจะแสดงธรรม ก็พึงแสดงเนื้อความ แหงธรรมน้ันเปน ๒ ประการ คือภัย และปลอดภัย. จบคําอธิบายปญหาที่ ๖                                                ๑. คาํ วา สตปตตะ (ทแ่ี ปลวา \"นกตระไน\") น้ี อรรถกถาไดทําวจนตั ถศพั ทนไ้ี ววา \"สํวิชฺชติ ตาโป อตฺตา ยสฺสาติ สตปตฺโต, กายจิตฺตปริฬาหชโน\" แปลวา \"บคุ คลช่ือวา สตปตตะ เพราะอรรถวา มตี นเดือดรอ น, ความวา ไดแกชนผูมคี วาม เรารอนแหงกายและจิต\" ดังนี้. ทานวาไวอยางนี้ก็จริง แตศัพทนี้ก็ยังแปลวา นก ตระไน ไดอ กี . ทราบกันวา นกชนดิ น้รี ะแวงภยั ต่ืนกลัวงา ย เมื่อเห็นสิ่งนา กลัวอยาง ใดอยา งหน่ึง มีเสอื โครงเปนตน หรือส่งิ ผิดแปลกอยางใดอยา งหน่งึ กจ็ ะรอ งเสยี งดัง ซาํ้ ๆ ซาก ๆ สัตวอ่ืนไดยนิ เสียงแลว ระแวงวา อาจมภี ัย ก็พากนั หลบหลีก หนีหายไป. นาจะแปลวา นกตระไน จงึ จะเขากับประเดน็ ของเร่ืองในปญ หา และในท่ีน้ีก็ไดแปล ตามท่คี ิดวา นาจะเปน .

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๕๕ ปญหาที่ ๗, วัคคลุ ิกงั คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๒ แหงคางคาว’, องค ๒ ท่ีถึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา คางคาว เขาไปยังเรือน เที่ยวไปขางน้ันขางนี้ แลวออกมา, ไมพัวพัน อยูในสถานที่น้ัน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร เขาไปสูบานเพ่ือบิณฑบาต เท่ียวไปตามลําดับเรือน แลวก็พึงออกมาใหเร็วทีเดียว, ไมพึงเปนผูพัวพันอยู ณ ท่ีน้ัน ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงคางคาว ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห นึ่ง คางคาว เมื่ออยูในเรอื น ของผูอ่ืน ก็ไมสรางความเสียหายแกคนเหลาน้ัน ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร เขาไปสูตระกูลทั้งหลาย แลว ก็ไมพึงสรางความเดือดรอนอะไร ๆ แกคนเหลาน้ัน ดวยการ ขอเขามากเกินไปบาง ดวยความเปนผูมากดวยวิญญัติ (บอก ใหรูถึงสิ่งที่ตนตองการ) บาง ดวยความเปนผูมากดวยโทษทาง กายบาง ดวยความเปนคนชางพูดบาง ดวยการรวมสุขรวมทุกข กับเขาบา ง, ทัง้ ไมพงึ ทํามลู การงานของคนเหลานนั้ ใหเ สยี หายไป, พึงปรารถนาแตความเจริญโดยประการท้ังปวงแตอยางเดียว ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงคางคาว ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่ง

๔๕๖ วรรคที่ ๕, สีหวรรค เหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไวในลักขณสูตรในทีฆนิกายอัน ประเสริฐ วา ‘สทฺธาย สีเลน สุเตน พุทฺธิยา ฯเปฯ อตฺถสมิทฺธิฺจ ปนาภิกงฺขติ’๑ ‘พระมหาบุรุษ ยอมปรารถนาอยางนี้วา ทาํ ไฉนหนอ คนเหลาอื่นจึงจะไมเส่ือมจากศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ พุทธิ (ความรู, ปญญา) ธรรม จากคุณอันเปนเหตุ สาํ เร็จประโยชนอยางอื่นมากมาย จากทรัพย ขาว- เปลือก นาและสวน จากบุตร ภรรยา สัตวสี่เทาและ สัตวสองเทา จากญาติ มิตร พวกพอง จากพละ วรรณะ และจากสุขทั้ง ๒ ดังนี้ ท้ังหวังความม่ันคง และความสําเร็จ.’ ดังน้ี.” จบวัคคุลิกังคปญหาท่ี ๗ คาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงคางคาว ชื่อวา วัคคุลิกังค- ปญหา. คาํ วา ดวยความเปนผูมากดวยโทษทางกาย คือดวย ความเปนผูมากดวยการกระทําที่นับวาเปนโทษทางกาย มีลูบ-                                                ๑. ที. ปา ๑๑/๑๘๓.

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๕๗ คลาํ ศีรษะทารกในสกุลบาง อุมบาง เขาไปในหองหับของหญิง ในสกุลนั้นบาง. คาํ วา ทั้งไมพึงทํามูลการงานของคนเหลาน้ันใหเสีย หายไป คือทั้งไมพึงทาํ การงานที่เปนมูล คือท่ีเขาตองทําประจํา ของคนเหลา น้ันใหเ สยี หายไป โดยการท่เี ขาจําตอ งละวางการงาน เหลานั้น ทําเวลาใหลวงไปดวยการคอยอุปฏฐากบํารุงภิกษุผูอยู ยืดเย้อื . พระผูมีพระภาคตรัสคําวา สทฺธาย สีเลน เปนตน เพื่อ แสดงปฏปิ ทาของพระมหาโพธิสตั วผมู งุ แตจ ะอนุเคราะหป ระโยชน ทง้ั ๓ แกส ตั วโลก. จบคาํ อธบิ ายปญหาท่ี ๗ ปญ หาที่ ๘, ชลูกงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงปลิง’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอานั้น เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ปลิง เกาะติดที่สัตวผูใด, ยอมเกาะติดสัตวผูนั้นน่ัน แหละไดม่นั คงแลวดูดเลอื ด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผบู าํ เพญ็ เพยี ร ทาํ จิตของตนใหเ กาะติดที่อารมณใด, กต็ ัง้ อารมณ นั้นใหมั่นคง โดยสี โดยสณั ฐาน โดยทิศ โดยโอกาส โดยตดั ตอน โดยเพศ และโดยนมิ ิต แลวพึงดดู ดม่ื วมิ ุตตริ สอันไมต อ งปรงุ โดย อารมณนั้นนั่นแหละ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือ

๔๕๘ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค องค ๑ แหงปลิงท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระอนุรุทธเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา :- ‘ปรสิ ุทเฺ ธน จิตเฺ ตน, อารมฺมเณ ปตฏิ าย เตน จติ ฺเตน ปาตพพฺ ํ, วมิ ตุ ตฺ ริ สมเสจนํ, ‘พระโยคาวจรพึงเปนผูมีจิตบริสุทธิ์ตั้งอยูในอารมณ แลวดูดดื่มวิมุตติรสอันไมตองปรุง ดวยจิตน้ัน.’ ดังน้ี.” จบชลูกังคปญหาท่ี ๘ คาํ อธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาเก่ียวกับองคแหงปลิง ชื่อวา ชลูกังคปญหา. คําวา ทําจิตของตนใหเกาะติดท่ีอารมณใด คือทาํ ภาวนาจิตของตนใหจรดถึงอารมณ อันเปนกรรมฐาน กลาวคือ โกฏฐาสท้ังหลาย มีผม ขน เล็บ ฟน หนังกาํ พรา เปนตน ใด. คําวา โดยสี คอื ทาํ อารมณน ้ันใหต ั้งมัน่ คง โดยการใสใจสี ของโกฏฐาสน้ัน ๆ มสี ีดําแหง เสนผม เปนตน . คาํ วา โดยสัณฐาน คือโดยรูปรางสัณฐานของโกฏฐาส น้ัน ๆ . คําวา โดยทิศ คือโดยทิศที่โกฏฐาสนั้น ๆ ต้ังอยู, ทางทิศ เบื้องบน ตั้งแตเหนือสะดือข้ึนไปบาง, ทางทิศเบื้องลาง ตา่ํ แต สะดือลงมาบาง. คาํ วา โดยโอกาส คือบริเวณท่ีโกฏฐาสน้ัน ๆ ต้ังอยู เชน ผมตั้งอยูบนหนังหุมกะโหลกศีรษะเปนตน.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๕๙ คําวา โดยตัดตอน คือโดยขอบเขต โดยรอบแหงโกฏฐาส นั้น ๆ อันแวดลอมดวยโกฏฐาสอ่ืนบาง ดวยโกฏฐาสเดียวกันบาง ดวยอากาศบาง เชนวา ผม เบื้องลางตัดตอน ดวยหนังหุม กะโหลกศีรษะ เบ้ืองบนตัดตอนดวยอากาศ เบ้ืองขวางรอบ ๆ ตัว ตัดตอนดวยเสนผมดวยกัน เปนตน. คาํ วา โดยเพศ ความวา สาํ หรับการพจิ ารณาโกฏฐาสไมมี การมนสิการโดยเพศ เปนวิธีการสาํ หรับอสุภกรรมฐานเทานั้น คือเพศเด็ก เพศหนุมสาว เพศแกชรา ในที่น้ีเปนเพียงคาํ พูดทํา เทศนาใหเต็มเทาน้ัน. คําวา โดยนิมิต คือโดยนิมิต มีอุคคหนิมิตเปนตน ท่ี พึงถือเอาไดดวยอํานาจการใสใจโกฏฐาสแลวบริกรรมไปนาน ๆ ซํา้ ๆ ซาก ๆ. คําวา วิมุตติรส ไดแก รสคือกิจแหงมรรค ท่ีเปนเหตุให หลุดพนจากกิเลสทั้งหลาย, หรือวา ไดแกรสอมตะแหงพระ นิพพาน ซ่ึงหลุดพนจากขันธท้ังหลาย. จบคาํ อธิบายปญ หาท่ี ๘ ปญหาท่ี ๙, สัปปงคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๓ แหงงูสามัญ’, องค ๓ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน ไฉน?”

๔๖๐ วรรคที่ ๕, สีหวรรค พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา งู ไปดวยอก (เลื้อย) ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเที่ยวไปดวยปญญา ฉันนั้น เหมือนกัน, จิตของพระโยคีผูเที่ยวไปดวยปญญา ยอมเท่ียวไป ในญายธรรม, ยอมงดเวนสิ่งท่ีเปนวิลักขณะ (มีลักษณะวิปริต), ยอมทําสิ่งท่ีเปนสลักขณะ (มีลักษณะเปนสภาวะ, และมีลักษณะ เปนสามัญญะ) ใหเกิด ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือ องคท่ี ๑ แหงงูสามัญ ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง งูสามัญ เม่ือจะเท่ียว ไป ยอมหลีกเล่ียงส่ิงเปนยาถอนพิษ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูหลีกเลี่ยงทุจริต เที่ยวไป ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๒ แหงงูสามัญ ที่ พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง งูสามัญ พอเห็นคน ทัง้ หลายเขา กย็ อ มกลวั หอ เหยี่ วใจ คิดมาก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ตรึกเปนวิตกช่ัวแลวทาํ อรติ (ความ ไมยินดีในอธิกุศล) ใหเกิดข้ึนแลว ก็พึงกลัวหอเหี่ยวใจ คิดมาก วา ‘เราไดทาํ ตลอดท้ังวัน ใหลวงไปดวยความประมาท, ก็วันท่ี ลวงไปดวยความประมาทนั้น เราไมอาจได (กลับคืน) อีก’ ดังน้ี ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหงงูสามัญ ท่ีพึงถือเอา.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๖๑ ขอถวายพระพร คําพูดของกนิ นร ๒ ตนนี้ พระผูม พี ระภาค ไดตรสั เลาไวใ นกัลลาฏิยชาดก วา - ‘มเยกรตฺตํ วิปฺปวสิมฺห ลุทฺท อกามกา อฺมฺ สรนฺตา ตเมกรตฺตํ อนุตปฺปมานา โสจาม สา รตฺติ ปุน น เหสฺสติ’๑ ‘ดูกร ทานนายพราน พวกเราไดแยกกันอยู ตลอดราตรีหน่ึง ใด ไมตองการอยู ก็ไดแตระลึก ถึงกันและกัน ถึงราตรีนั้นจักไมมีอีก พวกเราก็ ยงั คอยแตจะคิดถึงราตรีเดยี วกนั ยงั เศรา โศกอย.ู ’ ดังน้ี.” จบสัปปงคปญหาท่ี ๙ คาํ อธิบายปญหาที่ ๙ ปญ หาเกยี่ วกับองคแหง งสู ามญั ชอ่ื วา สัปปง คปญหา. คาํ วา พึงเที่ยวไปดวยปญญา คือพึงเปนผูมีปกติใช ปญญาพิจารณาคุณโทษในธรรมนั้น ๆ หรือวาพึงเปนผูมี ปกติเจริญปญญา. คําวา ยอมเท่ียวไปในญายธรรม ความวา พระนิพพาน ชื่อวาญายธรรม (ธรรมท่ีควรรู) โดยนิปริยาย, แมพระอริยมรรค                                                ๑. ขุ. ชา. ๒๗/๔๓๙.

๔๖๒ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค อันเปนปฏิปทาไปสูพระนิพพานน้ัน ก็ไดชื่อวาญายธรรมโดย ปริยาย. ไดแกยอมเท่ียวไป คือไปถึง ไดแกบรรลุพระนิพพาน และพระอริยมรรคน้ัน. คาถาท่ีวา มเยกรตฺตํ วิปฺปวสิมฺห ลุทฺท เปนตน เปนคาํ กราบทูลของนางกินนรีตอพระผูมีพระภาค ซ่ึงในสมัย นั้นเสวยพระชาติเปนภัลลาติยราชา. มีเรื่องยอ ๆ วา สมัยหนึ่ง พระเจาภัลลาฏิยะเสด็จ ประพาสปา ลาสัตว อยางพรานผูหน่ึงเสด็จเท่ียวไปเรื่อย ๆ จนถึงแมนา้ํ แหงหน่ึง ทอดพระเนตรเห็นกินนร ๒ ตนผัวเมียพร่ํา กอดจูบกันไป พรอมท้ังรองไหสะอึกสะอ้ืนไป อยูที่ฝงแมนา้ํ ก็ ทรงแปลกพระทัย เสด็จเขาไปรับสั่งถาม นางกินนรีไดกราบทูล ใหทรงทราบวา คืนหนึ่งตนเกิดทะเลาะผิดใจกันกับกินนรจึงได แยกกันอยูคนละฟากแมนา้ํ ตลอดเพียงคืนเดียวที่แยกกันอยูน้ัน ตางฝายตางก็เศราโศกเปนทุกขแสนสาหัส เพราะความท่ีเอาแต ระลึกถึงกันและอยากจะพบกัน วันตอมา เมื่อคืนดีกันแลว เวลา ท่ีกอดจูบกันด่ืมด่าํ ในความสุข ก็อดระลึกถึงคืนท่ีแสนทรมานนั้น มิได เปนเหตุใหเกิดจิตหมนหมองเพราะเสียดายคืนที่ทาํ ใหเสีย ไปนั้น แมวาคืนเชนน้ีจะไมมีอีกก็ตาม จนถึงกับรองไหสะอึก- สะอื้นอยางท่ีทอดพระเนตรเห็นอยูน้ี. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๙

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๔๖๓ ปญหาท่ี ๑๐, อชครังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๑ แหงงูเหลือม’, องค ๑ ที่พึงถือเอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา งูเหลือม มีรางกายใหญโต แมวาทองพรอง ขาดแคลน อาหารยิ่ง ไมไ ดอาหารเตม็ ทองมาตลอดหลายวนั กําลังขาดแคลน น่ันเทียว ก็ยังเปนไปดวยอาหาร สักวาทําสรีระใหดําเนินไปได เทานั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ผูขวนขวายในการเที่ยวไปเพื่อภิกษา ผูอาศัยกอนขาวของผูอ่ืน ผูหวังอยูซ่ึงกอนขาวที่ผูอื่นถวาย ผูงดเวนการถือเอาดวยตนเอง ไมพึงกลืนกินอาหารท่ีหาไดยากเสียจนเต็มทอง, แตทวา พึงเปน กุลบุตรผูมีอาํ นาจในตน งดบริโภค ๔-๕ คํา แลวพึงใชนา้ํ ทาํ (ทอง) ใหเต็มแทนสวนท่ีเหลือ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา :- ‘อลฺลํ สุกฺขํ วา ภุฺชนฺโต, น พาฬฺหํ สุหิโต สิยา อูนูทโร มิตาหาโร, สโต ภิกฺขุ ปริพฺพเช. จตฺตาโร ปฺจ อาโลเป อภุตฺวา อุทกํ ปเว อลํ ผาสุ วิหาราย, ปหิตตฺตสฺส ภิกฺขุโน๑’                                                ๑. ขุ. เถร. ๒๖/๔๔๘.

๔๖๔ วรรคท่ี ๕, สีหวรรค ‘ภิกษุ เม่ือจะบริโภคอาหารเปยกก็ตาม อาหาร แหงก็ตาม ก็ไมพึงใหอิ่มจนเกินไป พึงเปนผูมี ทองพรอง มีสติรูจักประมาณอาหาร อยูเถิด. พึงงดบริโภคเสีย ๔-๕ คาํ แลวด่ืมนาํ้ (แทน) เทาน้ีก็เพียงพอเพื่อการอยูผาสุก แหงภิกษุผูมี ตนอันสงไปแลว.’ ดังน้ี.” จบอชครังคปญหาที่ ๑๐ คาํ อธิบายปญหาที่ ๑๐ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงงูเหลือม ช่ือวา อชครังคปญหา. เปรียบเหมือนวา งูเหลือม แมวาขาดแคลนอาหาร อด อาหารมาหลายวนั ไดอาหารแลว กไ็ มล ะโมบกลนื กินเสยี มากมาย ทวา รูจักประมาณ บริโภคเพยี งเพื่อยงั อัตภาพใหเปน ไปไดเ ทา นน้ั ฉันใด, พระโยคาวจรภิกษุก็ไมละโมบบริโภคอาหารแมวาหาได ยาก เสียจนเต็มทอง ทวา รูจักประมาณ ฉันนั้น. ในคําเหลานั้น คาํ วา ผูงดเวนการถือเอาดวยตนเอง เปนคําท่ีแสดงถึงความเปนผูมีปกติรับบิณฑบาตจากมือทายก ไมหยิบฉวยดวยมือตนเอง แมวาเขาจะอนุญาต อันจะเปนเหตุให ตอ งอาบัติเกีย่ วกับการทไ่ี มม ีทายกผูถ วายปจจยั .

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๖๕ คําวา ผูมีอํานาจในตน คือผูสามารถเอาชนะความ ตองการจะบริโภคอยางไมรูจักประมาณของตน. คาํ วา แหงภิกษุผูมีตนอันสงไปแลว คือแหงภิกษุผูมี ตนคือมีจิต สงไปคือนอมไปสูพระนิพพาน. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๑๐ จบสีหวรรคที่ ๕

๔๖๖ วรรคท่ี ๖, มักกฏกวรรค วรรคที่ ๖, มักกฏกวรรค ปญหาที่ ๑, ปน ถมักกฎกงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงแมงมุมตามหนทาง’, องค ๑ ที่พึงถือเอานั้น เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา แมงมุมตามหนทาง ชักใยเปนตาขายก้ันไวตาม หนทางแลว ถาหากวามีหนอนก็ดี แมลงวันก็ดี ต๊ักแตนก็ดี มา ติดที่ตาขายนั้น, ก็ยอมจะจับเอามากินเสีย ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ชักใยคือสติปฏฐาน เปน ตาขายก้ันไวตามทวาร ๖ แลว ถาหากวามีแมลงวันคือกิเลส มาติดท่ีตาขายคือสติปฏฐานน้ัน, ก็พึงกาํ จัดเสีย ณ ท่ีตาขาย คือสติปฏฐานน้ัน น่ันแหละ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหงแมงมุมตามหนทาง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย พระพร พระอนุรุทธเถระไดภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘จิตฺตํ นิยเม ฉสุ ทฺวาเรสุ, สติปฏานวรุตฺตเม. กิเลสา ตตฺถ ลคฺคา เจ, หนฺตพฺพา เต วิปสฺสินา’ ‘พึงควบคุมจิตไวในสติปฏฐาน อันเปนตาขาย ประเสริฐยอดเยี่ยม ทางทวาร ๖ ถาหากวามี กิเลสมาติดอยูท่ีตาขายคือสติปฏฐานนั้น ภิกษุผู เจริญวิปสสนาก็พึงกําจัดกิเลสเหลานั้นเสีย.’

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๖๗ ดงั น้.ี ” จบปนถมกั กฏกังคปญหาท่ี ๑ คําอธบิ ายปญหาที่ ๑ ปญหาเก่ียวกับองคแหงแมงมุมตามหนทาง ช่ือวา ปนถ- มกั กฏังคปญ หา. คําวา ชักใยคือสติปฏฐาน เปนตาขายกั้นไวตาม ทวาร ๖ เปนคาํ พูดแสดงถึงความเปนปจจัยกันไปตามลําดับ อยางนี้คือ เจริญสติปฏฐาน สติปฏฐานที่เจริญแลว ที่ทาํ ใหมาก แลวยอมยังสติอันเปนอินทริยสังวรใหเต็ม ใหบริบูรณ สติอัน เปนอินทริยสังวรเต็มบริบูรณแลว ก็ยอมเปนตาขายดัก กลาวคือ ปดก้ันแมลงวันคือกิเลสทั้งหลายได. คําวา ถาหากมีแมลงวันคือกิเลส ฯลฯ ณ ที่ตาขาย คือสติปฏฐานนั้น ความวา ถาหากวามีปจจัย มีอารมณเปนตน อันจะใหแมลงวันคือกิเลสน้ัน ๆ เกิดข้ึน กิเลสน้ัน ๆ ก็จะติดเสียที่ ตาขาย คือเกิดขึ้นไมไดเพราะถูกตาขายคือสติท่ีเปนอินทริยสังวร นั้น ปองกันไว และเพราะเหตุท่ีมีสติอยางนี้เกิดข้ึนมาปองกันได น่ันเอง พระโยคาวจรก็ยอมไดโอกาสในอันเจริญวิปสสนา ทํา ปญญา คือวิปสสนาปญญาและมัคคปญญาใหเกิดข้ึนมากาํ จัด แมลงวันคือกิเลสเหลานั้น ใหส้ินไปได ฉะนี้แล. จบคําอธบิ ายปญหาท่ี ๑

๔๖๘ วรรคท่ี ๖, มักกฏกวรรค ปญ หาท่ี ๒, ถนสั สิตทารกังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงทารกท่ียังติดนมมารดา’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอา น้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมอื นวา ทารกทยี่ งั ตดิ นมมารดายอมตดิ ของอยูใ นประโยชนต น, พอตองการนมก็รองไห ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงติดของในประโยชนตน, พึงเปนผูมีญาณรู ในธรรมทั้งปวง คือในอุเทส (พระบาลี), ในปริปุจฉา (อรรถกถา), ในความพยายามชอบ (การบําเพ็ญสมถะ, วิปสสนา), ในปวิเวก, ในการอยูรว มกับทานผเู ปน ครู, ในการคบหากัลยาณมติ ร ฉนั นน้ั เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหงทารกท่ียังติดนม มารดา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปน เทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไวในมหาปรินิพพานสูตร ในทีฆนิกายอันประเสริฐ วา : - ‘อิงฺฆ ตุมฺห อานนฺท สารตฺเถ ฆฏถ, สารตฺเถ อนุยุฺชถ, สารตฺเถ อปฺปมตฺตา อาตาปโน ปหิตตฺตา วิหรถ๑’ ‘เอาเถอะ อานนท ขอพวกเธอจงขวนขวายใน สารประโยชนเถิด, ขอจงประกอบเนือง ๆ ในสาร                                                ๑. ท.ี มหา. ๑๐/๑๖๕.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๖๙ ประโยชนเถิด, ขอจงเปนผูไมประมาท มีความ เพียร มีตนอันสงไปในสารประโยชนอยูเถิด.’ ดังน้ี.” จบถนัสสิตทารกังคปญหาท่ี ๒ คําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงทารกที่ยังติดนมมารดา ช่ือวา ถนัสสิตทารกังคปญหา. คาํ วา พึงติดของในประโยชนตน ความวา พระ โยคาวจรพึงทาํ จติ ใหต ดิ ของ คือนอ มไปในประโยชนตน คอื ในพระ นิพพานอันเปนประโยชนเฉพาะตน ก็การจะบรรลุพระนิพพานได น้ี ยอมสาํ เร็จไดดวยอาํ นาจแหงการสั่งสมปจจัย เพราะเหตุน้ัน นน่ั แหละ จึง พึงเปน ผมู ญี าณรใู นธรรมท้ังปวง. คาํ วา ในปวเิ วก คอื ในความเปนผสู งดั กาย วาจา และใจ และในสถานท่ีท่ีสงัด ปรารภความเพียรอยูแตผูเดียว ไมคลุกคลี ดวยผูอื่น. คาํ วา ในสารประโยชน คือในพระนิพพานอันเปน ประโยชนท่ีเปนสาระ คือเปนแกนของพระศาสนา. อธิบายวา ขอพวกเธอจงขวนขวายในปฏิปทาอันเปนไปเพ่ือบรรลุพระ นิพพานเถิด. จบคําอธิบายปญหาที่ ๒

๔๗๐ วรรคท่ี ๖, มักกฏกวรรค ปญหาที่ ๓, จิตตกธรกุมมังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงเตาเหลือง’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เตาเหลือง ยอมเท่ียวหลีกเลี่ยงนํ้าไป เพราะมีความ กลัวนํ้า, และเพราะมีการหลีกเลี่ยงน้ําน้ัน จึงไมเสื่อมจากอายุ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึง เปนผูเล็งเห็นภัยในความประมาท, เล็งเห็นคุณวิเศษในความ ไมประมาท. และเพราะมีความเปนผูเล็งเห็นภัย (ในความ ประมาท) น้ัน จึงไมเส่ือมจากสามัญญผล, เขาไปในท่ีใกลพระ นิพพาน ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหง เตาเหลือง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรง เปนยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไวในธรรมบทวา :- ‘อปฺปมาทรโต ภิกฺขุ, ปมาเท ภยทสฺสิ วา อภพฺโพ ปริหานาย, นิพฺพานสฺเสว สนฺติเก๑ ‘ภิกษุผูยินดีในความไมประมาท หรือวาเล็งเห็นภัย ในความประมาท ไมเหมาะที่จะเส่ือมรอบ ชื่อวา อยูแตในที่ใกลพระนิพพาน นั่นเทียว.’ ดังนี้.” จบจิตตกธรกุมมังคปญหาที่ ๓                                                ๑. ข.ุ ธ. ๒๕/๒๑.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๗๑ คาํ อธิบายปญหาที่ ๓ ปญหาเก่ียวกับองคแหงเตาเหลือง ช่ือวา จิตตกธร- กุมมังคปญหา. คาํ วา และเพราะมีความเปนผูเล็งเห็นภัย คือและ เพราะมีความเปนผูเล็งเห็นภัยในความประมาท หรือทุกข ท้ังหลายมีการเกิดในนรกเปนตน ท่ีมีความประมาทน้ันเปนมูล. คําวา จึงไมเสื่อมจากสามัญญผล คือจึงไมเส่ือมจาก ผลแหงความเปนสมณะในพระศาสนาน้ี ๔ อยาง มีโสดาปตติผล เปนตน. คําวา เขาไปในที่ใกลพระนิพพาน คือต้ังจิตไวในท่ีใกล พระนิพพาน ในพระคาถา : คําวา ไมเหมาะท่ีจะเสื่อมรอบ คือไม เหมาะ ไมสมควรท่ีจะเส่ือมรอบจากสมถะและวิปสสนา หรือจาก มรรคและสามญั ญผลทั้งหลาย. คาํ วา ชือ่ วา อยแู ตในท่ีใกลพ ระนิพพาน คือชือ่ วาตงั้ จิตไวในที่ใกลพระนิพพานท้ัง ๒ อยาง คือ กิเลสนิพพานและ ขันธนิพพาน (ธรรมที่ดับกิเลส, ธรรมท่ีดับขันธ). จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๓ ปญหาที่ ๔, ปวนังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงปา’, องค ๕ ท่ีพึงถือเอา เปนไฉน?”

๔๗๒ วรรคที่ ๖, มักกฏกวรรค พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมดา วา ปา ยอมกาํ บังชนผู (มีความประพฤติ) ไมสะอาดไว ฉันใด, ขอ ถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงปดบังความผิด ความพลั้งพลาดของคนอ่ืน ไมพึงเปดเผย ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอ ถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๑ แหงปา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคหนึ่ง ปา เปน สถานทว่ี างจาก ชนหมูมาก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ าํ เพญ็ เพยี ร ก็ พึงเปนผูวางจากขาย คือราคะ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ และจากกิเลส ท้ังหลายทั้งปวง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ที่ ๒ แหงปา ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ปา เปนสถานที่สงัด ปราศจากความแออัดดวยผคู น ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคา- วจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูสงัดจากบาปท้ังหลาย จากอกุศล ธรรมท้ังหลาย จากธรรมทั้งหลายท่ีไมใชของพระอริยเจา ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๓ แหงปา ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ปา เปนสถานท่ีสงบ บริสุทธิ์ ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ าํ เพ็ญเพยี รกพ็ งึ เปน ผสู งบ บริสุทธ์,ิ พงึ เปน ผูดบั รอบ ละมานะได ละมกั ขะ (ความ ลบหลูคุณ) ได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๔ แหงปา ทพี่ งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ปา เปนสถานท่ีที่ทาน ผูเปนอริยชนสองเสพ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๗๓ ผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูที่ทานผูเปนอริยชนสองเสพ (คบหา) ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๕ แหงปา ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลา เทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไว ในสังยุตตนิกายอันประเสริฐวา :- ‘ปวิวิตฺเตหิ อริเยหิ, ปหิตตฺเตหิ ฌายิภิ นิจฺจํ อารทฺธวีริเยหิ, ปณฺฑิเตหิ สหาวเส๑ ‘ขอพวกเธอพึงอยูรวมกับพระอริยเจาทั้งหลาย ผูสงัด ผูมีตนอันสงไป ผูมีฌาน ผูเปนบัณฑิตปรารภความ เพียรเปนประจาํ เถิด.’ ดังนี้.” จบปวนังคปญหาท่ี ๔ คําอธิบายปญหาที่ ๔ ปญ หาเกี่ยวกบั องคแหง ปา ชอื่ วา ปวนงั คปญหา. คาํ วา ชนผไู มส ะอาด คอื ชนผูที่พระราชา (หรือทางการ) ตองการจะจบั ตัว. คาํ วา ก็พึงปดบังความผิด ความพล้ังพลาดของคน อ่ืน ไมพึงเปดเผย น้ี พระเถระกลาวอนุโลมตามพระพุทธโอวาท ท่ีวา “อิธ ภิกฺขเว สปฺปุริโส, โย โหติ ปรสฺส อวณฺโณ,                                                ๑. สํ. นิ. ๑๖/๑๙๒.

๔๗๔ วรรคท่ี ๖, มักกฏกวรรค ตํ ปุฏโป น ปาตุกโรติ, โก ปน วาโท อปุฏสฺส?๑ - ดูกร ภิกษุท้ังหลาย ผูเปนสัตบุรุษในโลกน้ี, แมวาถูกเขาถาม ก็ยอม ไมเปดเผยขอท่ีนาติเตียนของอ่ืน. จะปวยกลาวไปใย เมื่อคราว ท่ียังไมถูกเขาถามเลา?” ดังน้ี. คาํ วา พึงเปนผูวางจากกิเลสท้ังหลายท้ังปวง คือพึง เปนผูวางจากกิเลสทั้งหลายท้ังปวงท่ีพึงเกิดขึ้นเพราะไดปจจัยก็ กเิ ลสท่จี ะพงึ เกดิ ขน้ึ นน้ั มี ๒ อยาง คอื ท่ีจะพงึ เกิดขึน้ ในไมช า น้ี ในอัตภาพน้ี ๑, ท่ีจะพึงเกิดขึ้นในอนาคตภายภาคหนา ๑ พึง เปนผูวางจากกิเลสท่ีจะพึงเกิดข้ึนในไมชานี้ โดยการละเสียได ดวยวิปสสนาญาณ, พึงเปนผูวางจากกิเลสที่จะพึงเกิดข้ึนใน อนาคตภายภาคหนา โดยการละเสียไดดวยมัคคญาณ. คําวา จากธรรมท้ังหลายท่ีไมใชของพระอริยเจา คือ จากธรรมท้ังหลายท่ีเปนของปุถุชน. คาํ วา พึงเปน ผสู งบ เปน ตน คอื พงึ เปนผสู งบ โดยการท่ีมี กาย วาจา และใจสงบ พึงเปนบริสุทธ์ิ โดยการที่มีศีลบริสุทธ์ิ, พึงเปนผูดับรอบ โดยการดับกิเลสทั้งหลายไดโดยชอบ ดวยการ ถึงพระนิพพาน หรือวาโดยการดับไฟรอนคือโทสะไดโดยรอบ ดวยเมตตา, พึงเปนผูละมานะโดยการพิจารณาถึงความที่ตน อาศัยผูอื่นเล้ียงชีพโดยวิธีการที่ตํ่าทราม กลาวคือการเท่ียว แสวงหาบิณฑบาตดวยปลีนอง, พึงเปนผูละมักขะ ความลบหลู                                                ๑. องฺ. จตุกกฺ .๒๑/๑๐๗.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๗๕ คุณของอาจารยเปนตน โดยการพิจารณาถึงคุณของทาน และ อุปการะท่ีตนไดจากทาน เปนตน. คําวา พึงเปนผูท่ีทานผูเปนอริยชนสองเสพ คือพึง เปนผูท่ีทานผูเปนพระอริยบุคคลท้ังหลายคบหา เพราะเหตุท่ี ตนมีทิฏฐิ (ความเห็น) และศีล เสมอกันกับทานเหลาน้ัน. จบคําอธิบายปญหาที่ ๔ ปญหาท่ี ๕, รุกขังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๓ แหงตนไม’, องค ๓ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมดาวา ตนไม ทรงดอกและผลไว ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็ พึงเปนผูทรงดอก คือวิมุตติและสามัญญผลไว ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๑ แหงตนไม ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ตนไม ยอมใหรมเงาแก ชนท้งั หลายผเู ขา ไปใกล ฉนั ใด, พระโยคาวจรผบู ําเพญ็ เพยี รก็พึง ปฏิสันถารตอ บคุ คลท้ังหลายผูเขาไปหา ดวยอามสิ ปฏิสันถารบา ง ดวยธรรมปฏิสันถารบาง ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ี คือองคท่ี ๒ แหงตนไม ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ตนไม ยอมไมกระทาํ ความแตกตางกันแหงรมเงา ฉันใด, พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร

๔๗๖ วรรคที่ ๖, มักกฏกวรรค ก็ไมพงึ กระทาํ ความแตกตา งกันในสตั วท ั้งหลายท้ังปวง พงึ กระทาํ เมตตาภาวนาท้งั ในโจร เพชฌฆาต ขา ศึก ทั้งในตนเอง เทา เทยี ม กนั วา ‘ไฉนหนอ สตั วเ หลานจี้ ะพึงเปนผูไมมเี วร ไมม ีพยาบาท ไมมีทุกข มีแตสุขบริหารตนอยูได’ ดังนี้ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๓ แหงตนไม ที่พึงถือเอา. ขอถวาย พระพร ทานพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอ นี้ไวว า :- ‘วธเก เทวทตฺตมฺหิ, โจเร องฺคลิมาลเก ธนปาเล ราหุเล จ, สพฺพตฺถ สมโก มุนี’ ‘พระมหามุนีเจา ทรงเปนผูมีพระทัยเสมอกัน ในบุคคลท้ังปวง คือในพระเทวทัตผูจะปลงพระ ชนม, ในโจรองคุลีมาล ในชางธนบาล และใน พระราหุล.’ ดังนี้.” จบรุกขังคปญหาที่ ๕ คําอธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาเก่ียวกับองคแหงตนไม ช่ือวา รุกขังคปญหา. คําวา ดอกคือวิมุตติ ไดแก ดอกคือพระอริยมรรคอัน เปนสมุจเฉทวิมุตติ (ความหลุดพนเด็ดขาด). คาํ วา สามัญญผล ไดแก สามัญญผล ๔ อยาง มีโสดา- ปตติผลเปนตน.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook