Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

๒๘๐ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา นายขมังธนูผูฉลาดใน คราวเปนศิษย ก็ไดศึกษาในประเภทแหงคันธนู วิธียกคันธนู วิธี จับสายธนู วิธีใชกํามือจับคันธนู วิธีเลื่อนน้ิวมือ วิธีวางเทา วิธี จับลูกศร วิธีดึงลูกศรออกจากซอง วิธีตั้งลูกศร วิธีเล็งเปา วิธียิง ในการฝกยิงเปาหุนฟางรูปคน มูลสัตว ลอมฟาง กองดิน แผน- กระดาน ไวกอนแลวเทียว ที่โรงฝกยิงธนู พอไดไปที่พระราช- นิเวศน ยิงถวายใหพระราชาทรงชื่นชมการยิงที่แมนยาํ แลว ก็ ยอมไดรับพระราชทานรางวัลประเสริฐ คือ รถ ชาง มา ทรัพย เงิน ทอง ทาสหญิง ทาสชาย ภริยา และบาน อันเปนของควร แกพระราชา ฉันใด, ขอถวายพระพร พวกคฤหัสถครองเรือน บริโภคกามเหลาใด กระทาํ พระนิพพานอันเปนบทที่สงบ อันเปน ประโยชนอยางยิ่งใหแจงได พวกคฤหัสถเหลาน้ัน ลวนแตวาเคย ทาํ การฝกฝน เคยทําการสรางภูมิธุดงค ๑๓ ไวในหลายชาติ กอนหนาน้ี, บุคคลเหลาน้ัน เพราะไดชําระความประพฤติและ ขอปฏิบัติใหบริสุทธ์ิไวในชาติกอนน้ันแลวมา ในชาติปจจุบันน้ี เปนคฤหัสถอยูน่ันแหละ ก็กระทาํ พระนิพพานอันเปนบทที่สงบ อันเปนประโยชนอยางยิ่งใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร เวนการสองเสพในธุตคุณท้ังหลายกอนแลว ก็หามีการ กระทําพระอรหัตตผลใหแจงไดในชาติเดียวเทาน้ันไม. (ตรงนี้ ฉบับของไทย หนา ๔๕๖ ยังมีวา : คฤหัสถ ผูเวนการสองเสพ ธุตคุณ ใชความเพียรอยางสูงสุด ใชขอปฏิบัติอยางสูงสุด ใช อาจาระเห็นปานน้ัน จึงจะมีการทาํ โสดา-ปตติผลใหแจงได).

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๘๑ ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา หมอ ผาตัด ไดใชทรัพยจางอาจารย หรืออาศัยขอวัตรปฏิบัติ ทาํ อาจารยใหยินดีสอนวิธีจับมีดผาตัด วิธีผาตัด วิธีกรีด วิธีเซาะ วิธีคัดเอาส่ิงท่ีท่ิมแทงอยูออกมา วิธีลางแผล วิธีทายา วิธีทาํ ให อาเจียน วิธีทาํ ใหขับถาย วิธีทาํ การพักฟน ทาํ การศึกษาไวใน วิชาทั้งหลาย สรางความชาํ นาญไว เปนหมอมีฝมือแลวก็ยอม เขาไปบําบัดใหคนไขหายปวยได ฉันใด, ขอถวายพระพร พวก คฤหัสถครองเรือน บริโภคกามเหลาใด กระทาํ พระนิพพานอัน เปนบทท่ีสงบ อันเปนประโยชนอยางยิ่งใหแจงได, พวกคฤหัสถ เหลานั้น ลวนแตวาเคยทาํ การฝกฝน เคยทาํ การสรางภูมิธุดงค ๑๓ ไวในหลายชาติ กอนหนานี้. บุคคลเหลาน้ัน เพราะไดชาํ ระ ความประพฤติและขอปฏิบัติใหบริสุทธิ์ไวในชาติกอนน้ันแลว มาในชาติปจจุบันนี้ เปนคฤหัสถอยูนั่นแหละ ก็กระทําพระ นิพพานอันเปนบทที่สงบ อันเปนประโยชนอยางย่ิงใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา เพราะไมรดนํา้ พืช ทั้งหลายก็หาความงอกงามมิได ฉันใด, บุคคลผูไมหมดจดดวย ธุตคุณทั้งหลาย ก็หาการตรัสรูธรรมมิได ฉันน้ัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา สัตว ท้ังหลายที่มิไดทํากุศลไว มิไดกระทาํ กัลยาณธรรมไว ยอมหา การไปสูสุคติมิได ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลผูไมหมดจด ดวยธุตคุณท้ังหลาย ก็ยอมหาการตรัสรูธรรมมิได ฉันนั้น.

๒๘๒ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับแผนดิน ดวยสภาวะที่เปนที่ตั้งแหงบุคคลทั้งหลายผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับน้ําดวย สภาวะท่ีเปนเครื่องชาํ ระลางมลทินคือกิเลสท้ังปวง แหงบุคคล ท้ังหลายผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับไฟดวย สภาวะท่ีเผาผลาญปารกคือกิเลสท้ังปวง แหงบุคคลท้ังหลายผู ตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับลม ดวยสภาวะที่พัดเอาขี้ฝุนอันเปนมลทินคือกิเลสทั้งปวงไปเสีย แหงบุคคลทั้งหลายผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับยาดวย สภาวะท่ีสงบความปวยไขคือกิเลสทั้งปวง แหงบุคคลทั้งหลายผู ตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับยาอมตะ ดวยสภาวะท่ีทาํ กิเลสท้ังปวงใหพินาศไป แหงบุคคลทั้งหลายผู ตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคณุ เปน คุณท่เี ทยี บเสมอกบั ไรน า ดวย สภาวะที่เปนสถานที่เพาะปลูกคุณแหงความเปนสมณะท้ังปวง แหงบุคคลทั้งหลายผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับแกว สารพัดนึก ดวยสภาวะท่ีมอบแตสมบัติประเสริฐ ที่นาปรารถนา

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๘๓ ท่ีนาตองการ แหงบุคคลท้งั หลายผตู อ งการวสิ ุทธ.ิ ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับเรือดวย สภาวะท่ีแลนไปสูฝงแหงทะเลคือสังสารวัฏ แหงบุคคลท้ังหลายผู ตอ งการวสิ ุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับที่พ่ึง สาํ หรับคนท่ีขลาดกลัว ดวยสภาวะท่ีสรางความสบายใจแก บุคคลท้ังหลายผูตองการวิสุทธิ ซึ่งเปนผูกลัวแตชราและมรณะ ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับมารดา ดวยสภาวะท่ีอนุเคราะหบุคคลผูตองการวิสุทธิ ซ่ึงเปนผูถูกกิเลส และทุกขบีบคั้น. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับบิดา ดวยสภาวะที่ยังคุณแหงความเปนสมณะทั้งปวงใหเกิดแก บุคคลผูตองการวิสุทธิ ซ่ึงเปนผูใครความเจริญแหงกุศล. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับมิตร ดวยสภาวะที่ไมทาํ ใหคลาดเคลื่อนในการแสวงหาคุณแหง ความเปนสมณะท้ังปวง แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปนคุณที่เทียบเสมอกบั ดอกปทุม ดวยสภาวะที่มลทินคือกิเลสท้ังปวงฉาบไมติด แหงบุคคลผู ตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคณุ เปนคณุ ท่เี ทยี บเสมอกบั คนั ธชาติ (ของหอม) ประเสริฐ ๔ ชนิด ดวยสภาวะท่ีบรรเทากล่ินเหม็นคือ กิเลส แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ.

๒๘๔ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับขุนเขา ประเสริฐ ดวยสภาวะท่ีลมคือโลกธรรม ๘ อยาง ไมอาจทําให หวั่นไหวได แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับอากาศ ดว ยสภาวะทป่ี ราศจากการยึดตดิ ในที่ท้งั ปวง เวง้ิ วาง กวา งขวาง ใหญโต แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับแมนํ้า ดวยสภาวะท่ีลอยมลทินคือกิเลสไป แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับผูบอก ทางไดแมนยาํ ดวยสภาวะท่ีถอนออกไปจากท่ีกันดารคือชาติจาก ปาทึบคือกิเลสแหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน คุณทีเ่ ทยี บเสมอกับแวนที่เช็ด สะอาด ปราศจากมลทิน ดวยสภาวะท่ีสองใหเห็นสภาวะของ สงั ขารทั้งหลาย แหง บุคคลผูตอ งการวสิ ทุ ธ.ิ ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณที่เทียบเสมอกับโล ดวย สภาวะท่ีเปนเคร่ืองปองกันไมคอน ลูกศร หอกหลาว คือกิเลส แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเทียบเสมอกับรมดวย สภาวะท่ีเปนเครื่องปองกันฝนคือกิเลส แดดรอนคือไฟ ๓ อยาง แหงบุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณ เปนคุณท่ีเปรียบเสมอกับดวง จันทร ดวยเปนสภาวะที่ผูตองการวิสุทธิ ช่ืนใจ ปรารถนา.

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๘๕ ขอถวายพระพร ธุตคุณเปนคุณที่เปรียบเสมอกับดวง อาทิตย ดวยสภาวะท่ีทาํ ความมืดคือโมหะใหพินาศไป แหง บุคคลผูตองการวิสุทธิ. ขอถวายพระพร ธุตคุณเปนคุณท่ีเปรียบเสมอกับทะเล ดวยสภาวะท่ีเปนท่ีต้ังแหงแกวประเสริฐ คือคุณแหงความเปน สมณะอเนกประการ, และดวยสภาวะท่ีเปนคุณอันวัดไมได ใคร ๆ ไมอาจนับได ไมอาจประมาณได. ขอถวายพระพร ธุตคณุ ที่มอี ปุ การะมากมาย แหงบุคคล ผตู องการวิสุทธิ ตามประการดังกลาวมาแลวนี้ เปนเหตุบรรเทา ความทุรนทุรายเรารอนท้ังปวง เปนเหตุบรรเทาอรติ เปนเหตุ บรรเทาภัย เปน เหตบุ รรเทาภพ เปน เหตุบรรเทากเิ ลสเปน ดจุ เสา เปน เหตบุ รรเทามลทิน เปนเหตบุ รรเทาโศก เปน เหตุบรรเทาทุกข เปน เหตบุ รรเทาราคะ เปน เหตบุ รรเทาโทสะ เปน เหตุบรรเทาโมหะ เปนเหตุบรรเทามานะ เปนเหตุบรรเทาทิฏฐิ เปนเหตุบรรเทา อกุศลธรรมทั้งปวง เปนเหตุนาํ มาซึ่งยศ เปนเหตุนาํ มาซ่ึง ประโยชน เปนเหตุนํามาซึ่งสุข เปนเหตุนาํ มาซึ่งความผาสุก เปนเหตุสรางปติ เปนเหตุสรางความเกษมจากโยคะ ไมมีโทษ มีวิบากเปนสุขนาปรารถนา เปนท่ีรวมแหงคุณ เปนกองแหงคุณ มีคุณอันใคร ๆ ไมอาจวัดได ไมอาจนับได ไมอาจประมาณได ประเสริฐ ยอดเยี่ยม เปนเลิศ. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา พวกคนทั้งหลายเสพ โภชนะ ก็โดยเกี่ยวกับวาเปนเหตุอุปถัมภกาย, เสพยา ก็โดย

๒๘๖ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา เก่ียวกับวาเปนเหตุชวยบําบัด, เสพมิตร ก็โดยเก่ียวกับวาเปน ผูมีอุปการะ, เสพ (ใชสอย) เรือ ก็โดยเก่ียวกับวาเปนเครื่องขาม, เสพพวงดอกไมของหอม ก็โดยเกี่ยวกับวาเปนส่ิงมีกลิ่นหอม, เสพ (อาศัย) สถานที่ปองกันส่ิงนากลัว ก็โดยเกี่ยวกับวาจะ เปนที่ปลอดภัย, เสพ (ใชสอย) แผนดิน ก็โดยเก่ียวกับวา เปนท่ีต้ัง, เสพ (คบหา) อาจารย ก็โดยเกี่ยวกับวาจะไดรู วิชาศิลปะ, เสพ (คบหา) พระราชา ก็โดยเกี่ยวกับวาจะไดยศ, เสพ (ใชสอย) แกวมณี ก็โดยเก่ียวกับวาเปนสิ่งมอบแตของที่ ตองการ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระอริยเจาท้ังหลาย เสพ ธุตคุณ ก็โดยเก่ียวกับวาเปนคุณแหงความเปนสมณะทั้งปวง ฉันนั้นเหมอื นกัน. ขอถวายพระพร น้ํา มีไวเพ่ือใชปลูกพืช, ไฟ มีไวเพ่ือ ใชเผาไหม, อาหาร มีไวเพ่ือใชเปนเหตุนํามาซ่ึงกาํ ลัง, เถาวัลย มีไวเพื่อใชเปนเคร่ืองผูกมัด, มีด มีไวเพื่อเปนเครื่องตัดเฉือน, นาํ้ ดื่ม มีไวเพ่ือใชเปนเครื่องกาํ จัดความกระหาย, กองทุน มีไวเพื่อสรางความโลงใจ, เรือ มีไวเพ่ือใชเปนเคร่ืองไปถึงฝง, ยา มีไวเพ่ือใชสงบความปวยไข, ยานพาหนะ มีไวเพ่ือการไป ไดสะดวก, ท่ีปองกันภัย มีไวเพื่อใชบรรเทาภัย, พระราชา มีไวเพ่ือประโยชนแกการรักษา, โล มีไวเพื่อปองกันไมคอน กอนดิน กอนเหล็ก ลูกศร, อาจารย มีไวเพื่อการอนุศาสน, มารดา มีไวเพื่อการเลี้ยงดูบุตร, กระจกเงามีไวเพื่อใชสองดู, เคร่ืองประดับ มีไวเพื่อความงาม, ผา มีไวเพื่อใชปดบังกาย,

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๘๗ พะอง มีไวเพื่อใชปนปาย, เคร่ืองชั่ง มีไวเพื่อใชหลีกเลี่ยง ความไมสมยอมกัน, มนต มีไวเพื่อใชเสกเปา, อาวุธ มีไวเพื่อใชปองกันการคุกคาม, ประทีป มีไวเพ่ือใชกําจัดความ มืด, ลม มีไวเพ่ือใชดับความรอน, ศิลปะ มีไวเพ่ือใชเล้ียงชีพ, ยา มีไวเพื่อใชรักษาชีวิต, บอ มีเพ่ือทํารัตนะใหบังเกิด, รัตนะ มีไวเพื่อใชเปนเคร่ืองประดับ, คําส่ังมีไวเพ่ือไมใหลวงละเมิด, อิสสริยยศ มีไวเพื่อการทาํ อํานาจใหเปนไป ฉันใด, ขอถวาย พระพร ธุตคุณ มีไวเพื่อใชปลูกพืชคือความเปนสมณะ, เพ่ือ ใชเผาไหมมลทิน คือกิเลส, เพ่ือใชเปนเหตุนํามาซ่ึงกาํ ลัง คือ อิทธิ, เพ่ือใชเปนเคร่ืองผูกมัดคือสติสังวร, เพ่ือใชเปนเคร่ือง ตัดเฉือนความคลางแคลงสงสัย, เพ่ือใชเปนเคร่ืองกาํ จัดความ กระหาย คือตัณหา, เพื่อสรางความโลงใจ คือการตรัสรู, เพื่อ ใชเปนเครื่องขามโอฆะ ๔, เพ่ือใชสงบความปวยไข คือกิเลส, เพื่อการไดมาซ่ึงสุข คือพระนิพพาน, เพื่อใชบรรเทาภัย คือชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสสะ อุปายาสะ, เพื่อใชแวดลอมรักษาคุณแหงความเปนสมณะ, เพ่ือ ใชขัดขวางอรติและความตรึกชั่ว, เพื่อการอนุศาสนประโยชน แหงความเปนสมณะทั้งส้ิน, เพื่อการหลอเลี้ยงคุณแหงความเปน สมณะทั้งปวง, เพ่ือการไดพบเห็นสมถะ วิปสสนา มรรค ผล นิพพาน, เพ่ือสรางความงดงามมากมายใหญหลวง ท่ีชาวโลก ท้ังส้ินชมเชยสรรเสริญ, เพ่ือใชปดกั้นอบายท้ังปวง, เพ่ือใชปนขึ้น ไปสูยอดภูเขาหิน คือ สามัญญผล, เพื่อใชหลีกเล่ียงจิตที่ไม

๒๘๘ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา สมยอมเพราะความคดโกง, เพ่ือกระทาํ การสาธยายใหสาํ เร็จ ประโยชนในธรรมที่ควรเสพและไมควรเสพ, เพ่ือคุกคามศัตรูฝาย ตรงขาม คือกิเลสทั้งปวง, เพ่ือใชกําจัดความมืด คืออวิชชา, เพื่อใชดับความรอนคือไฟ ๓ กอง, เพ่ือใหบังเกิดสมาบัติที่ ละเอียดออนเปนสุขและสงบ, เพื่อใชรักษาคุณแหงความเปน สมณะทั้งสิ้น, เพื่อทาํ รัตนะ คือโพชฌงค ใหบังเกิด, เพื่อใชเปน เครือ่ งประดับแหงชน คอื พระโยคี, เพ่ือความไมกาวลว งความสุข อนั ไมม ีโทษ ละเอียด สขุ มุ สงบ, เพ่ือการทาํ อํานาจ คืออรยิ ธรรม แหงความเปน สมณะ ใหเปนไป ฉันนน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ธุตคุณยอมมีเพื่อบรรลุคุณทั้งหลาย แตละอยาง ดังกลาวมา เหลานี้, ขอถวายพระพร ธุตคุณเปนคุณท่ีไมอาจช่ังได ไมอาจ ประมาณได หาคณุ ที่เสมอกนั มิได หาคณุ อยา งอน่ื เทยี บเสมอกนั มไิ ด หาสว นเปรียบกนั มิได หาคุณอยา งอืน่ ที่ดีกวา มิได ยอดเยยี่ ม ประเสริฐ วิเศษ ยิ่งยวด แผขยายกวางไปไกล นาเคารพ นา ตระหนัก เปนของย่ิงใหญ ขอถวายพระพร บุคคลใด เปนคนปรารถนาลามก มัก มาก หลอกลวง ขี้โลภ เห็นแกปากทอง หวังลาภ หวังยศ หวัง ชื่อเสียง เปนคนใชไมได เปนคนท่ีใคร ๆ ไมควรของแวะ เปนคน ไมเหมาะ ไมควร ไมสมควร สมาทานธุดงค, บุคคลน้ันจะไดรับ โทษทัณฑถึง ๒ เทา, จะถึงความหายนะแหงคุณท้ังปวง, คือจะ ไดรับการดูหมิ่น การรังเกียจ การติเตียน การเยาะเยย การ ขวางปา การท่ีใคร ๆ ไมคบหา การเสือกไส การทอดทิ้ง การ

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๘๙ ขับไล อันมีไดในอัตภาพนี้ (ในชาติน้ี), แมในภพตอไป ก็ จะหมกไหมอยูในอเวจีมหานรก หมุนควางไปในเบ้ืองบนเบ้ือง ขวาง เดือดเปนฟองอยูเบ้ืองบน ในกลุมเปลวไฟที่รอนที่แผดเผา รุนแรง ซ่ึงสูงถึง ๑๐๐ โยชน ตลอดเวลาหลายแสนโกฏิป, พน จากอเวจีมหานรกนั้นแลว ก็มาเกิดเปนสมณมหาเปรต อันเปน ประเภทนิชฌามตัณหิกเปรต ผูมีอวัยวะนอยผายผอม กรานดํา มีศีรษะเบงบวมโหวกลวง เอาแตหิว เอาแตกระหาย มีผิวพรรณ แหงรูปกายตะปุมตะปา นากลัว หูขาด จมูกแหวง มีนัยนตา เบิกโพลง มีแผลทั่วตัว ทรุดโทรมไปท่ัวท้ังราง รางกายทุกสวน อาเกียรณดวยหนอน ภายในกายมีไฟลุกโพลง เหมือนกองไฟท่ี อยูหนาลม ไมมีท่ีเรน ไมมีท่ีพึ่ง สงเสียงคร่ําครวญนากรุณา สงสาร เที่ยวสงเสียงรองโอดโอยไปบนแผนดิน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุคคลบางคน ซ่ึง เปนคนท่ีใชไมได เปนที่คนใคร ๆ ไมควรของแวะ เปนคน ไมเหมาะ ไมควร ไมสมควร เปนคนเลว มีชาติตระกูลตาํ่ ทราม ไดอภิเษกโดยขัตติยาภิเษก, บุคคลผูนั้น ยอมไดรับการตัดมือ การตัดเทา การตัดท้ังมือท้ังเทา การตัดหู การตัดจมูก การ ตัดทั้งหูท้ังจมูก การทาํ พิลังคถาลิกะ (?) การถลกหนังหัว แลวขัดใหขาวเหมือนสังข การทาํ ปากราหู การทาํ มาลัยเปลว ไฟสองสวาง การทํามือสองแสง การนุงผาแกะ การนุงผา เปลือกปอ การทาํ ใหเปนเน้ือทราย การตกเบ็ด การตัดเน้ือ เปนชิ้น ๆ ขนาดเทาเหรียญ การรดนา้ํ แสบ การตอกล่ิม การ

๒๙๐ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา อบฟาง การใชน้ํามันเดือด ๆ ราดรด การใชสุนัขใหขบกัด การถูกเสียบอยูบนปลายหลาว การใชดาบตัดศีรษะ ยอมไดรับ การลงทัณฑมากมายหลายประการ, ถามวา เพราะเหตุไร? ตอบวา คนท่ีใชไมได ใคร ๆ ไมควรของแวะ เปนคนไมเหมาะ ไมควร ไมสมควร เปนคนเลว มีชาติตระกูลตํ่าทราม ตั้งตน ไวอิสสริยะย่ิงใหญแลว ก็หวังไดวาจะถูกกําจัดไปตลอดเวลา ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดบุคคลหน่ึงเปนคนปรารถนา ลามก ฯลฯ เที่ยงสงเสียงรองโอดโอยไปบนแผนดิน ฉันน้ัน เหมือนกนั ขอถวายพระพร สวนวา บุคคลใด เปนคนใชได เปนคนที่ ใคร ๆ ควรขอ งแวะ เปน คนเหมาะควร สมควร มักนอย สนั โดษ สงัด ไมคลุกคลี ปรารภความเพียร มีตนสงไป ไมเสแสรง ไม หลอกลวง ไมเห็นแกปากทอง ไมหวังลาภ ไมหวังยศ ไมหวัง ช่อื เสยี ง มีศรัทธา บวชดว ยศรทั ธา เปน ผูใครจะพนจากชรามรณะ คิดวา “เราจักประคับประคองพระศาสนา” ดังน้ี แลวสมาทาน ธุดงค, บคุ คลผนู น้ั ยอมควรซึ่งการบูชาเปน ๒ เทา และยอ มเปน ท่ี รัก ท่ีนา ชอบใจ นาประทบั ใจ ดุจดอกมะลิและดอกมัลลกิ า เปน ท่ี นาปรารถนาแหงคนที่อาบนํา้ ลูบไลกายแลว ฉะน้ัน, ดุจโภชนะ ประณตี เปน ท่ีนา ปรารถนาแหงคนที่กําลงั หิว ฉะนนั้ , ดุจนาํ้ ดมื่ ที่ เย็นสะอาด มีรสดี เปนที่นาปรารถนาแหงคนผูกําลังกระหาย ฉะน้ัน, ดุจโอสถประเสรฐิ เปนท่ีนา ปรารถนาแหงคนผตู องยาพษิ ฉะนั้น, ดุจรถเทียมมาอาชาไนยท่ีประเสริฐ ยอดเยี่ยม เปนท่ีนา

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๙๑ ปรารถนาแหง บุคคลผูตองการจะไปโดยเรว็ ฉะนน้ั , ดุจแกวมณีที่ นาจบั ใจ เปน ที่นา ปรารถนาแหง คนผูห วงั จะไดการอภเิ ษก ฉะนั้น, ดุจการบรรลุพระอรหัตตผลอันยอดเย่ียม เปนท่ีนาปรารถนาแหง คนผูใครธรรม ฉะน้ัน. สําหรับบุคคลผูนั้น สติปฏฐาน ๔ ยอมถึง ซึ่งความบริบรู ณแ หง ภาวนา, สัมมปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔ อนิ ทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ พระอรยิ มรรคมอี งค ๘ ยอ มถงึ ซงึ่ ความ บริบูรณแหงภาวนา, สมถะ และวปิ ส สนา ก็ยอมจะบรรลุได, การ ปฏบิ ตั เิ พอื่ บรรลุ ก็ยอ มเต็มพรอม, สามญั ญผล ๔ ปฏิสัมภิทา ๔ วิชชา ๓ อภญิ ญา ๖ และสมณธรรมทั้งส้ิน ทกุ อยา งยอมเปนสิง่ ที่ บคุ คลผนู นั้ อาจทําใหส าํ เร็จได, ไดการอภเิ ษกใตเ ศวตฉตั ร สะอาด ผดุ ผอ ง คือวมิ ุตติ. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บริษัทแหงพระราชา ๓๘ บริษัท ผูเปนชาวแวนแควนชาวนิคม ชาวชนบท ลูกจาง ไพลพ ลของพระองค พวกนกั ฟอนนักเตน หมสู มณะพราหมณและ เจาลัทธิทั้งปวง ผูมีปากกลาวแตคํามงคล กลาวแตคําอวยพร บาํ รุงบาํ เรอตอขัตติยราชา ผูสืบสันตติวงศในสกุลวงศอภิชาติ ผู ไดอภิเษกเปนกษัตริยอยู ก็ยอมไดครอบครองสวนตัด สวนแบง แหงเมืองทา บอแกว นคร โรงภาษี ผูคน อยางใดอยางหนึ่งใน แผนดิน แตละคนยอมเปนเจาของในสมบัติทั้งปวง ฉันใด, ขอ ถวายพระพร บุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนคนใชได เปนคนท่ีใคร ๆ ควรของแวะ ฯปฯ ไดการอภิเษกใตเศวตฉัตร สะอาดผุดผอง คือ วิมุตติ ฉันน้ันเหมือนกัน.





๒๙๔ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา สถานทใี่ ดทห่ี นึ่ง อันเปนทเ่ี รอื สญั จรไปได ฉนั ใด, ขอถวายพระพร บุคคลผมู ีธดุ งค ๑๓ อยา งเหลา นีเ้ สพคุน แลว เสพอยเู ปน ประจาํ แลว ส่งั สมแลว คนุ เคยแลว ประพฤตแิ ลว ประพฤตมิ น่ั คงแลว ทาํ ใหบ ริบูรณแลวในภพกอน ยอมไดรับสามัญญผลทั้งส้ิน. สมาบัติ ท่ีสงบเปนสุขท้ังส้ิน ยอมตกเปนของฝากกาํ นัลแกเขา ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ชาวนาขจัดสง่ิ ทีเ่ ปน โทษ แกทน่ี า คอื ตน หญา ใบไมแ หง กอ นหนิ ออกไปกอ นแลว จงึ ไถ หวา น สง นํ้าใหโดยชอบ รักษาไว คมุ ครองไว พอถงึ เวลาเก่ยี ว เวลานวด ก็ยอมเปนชาวนาผูมีขาวมากมาย, คนไรทรัพยกาํ พรา ยากจน เข็ญใจ พวกใดพวกหนึ่ง ก็จะเปนผูฝากตัวไวกับเขา ฉันใด, ขอ ถวายพระพร บคุ คลผมู ีธดุ งค ๑๓ อยา งเหลา นเี้ สพคุนแลว เสพอยู เปนประจําแลว ส่ังสมแลว คุนเคยแลว ประพฤติแลว ประพฤติ ม่ันคงแลว ทาํ ใหบริบูรณแลวในภพกอน ยอมไดรับสามัญญผล ทั้งสิ้น สมาบัติท่ีสงบเปนสุขท้ังสิ้น ยอมตกเปนของฝากกํานัลแก เขา ฉนั น้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวากษัตริยผู ไดมุททาภิเศกเปนผูสืบสันตติวงศอภิชาติ ยอมเปนใหญในการ ครอบครองสว นตัด สวนแบง และฝงู ชน เปน ผใู ชอาํ นาจ เปน นาย เปนผูกระทาํ ไดตามตองการ, และแผนดินใหญท้ังส้ิน ก็ยอมตก เปนของฝากกาํ นัลแกพระองค ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลผูมี ธุดงค ๑๓ อยางเหลานี้เสพคุนแลว เสพอยเู ปนประจําแลว ส่ังสม

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๙๕ แลว คุนเคยแลว ประพฤติแลว ประพฤติม่ันคงแลว ทาํ ใหบริบูรณ แลวในภพกอน ก็ยอมเปนใหญในพระศาสนาประเสริฐของพระ ชินวรพุทธเจา เปนผูใชอาํ นาจ เปนนาย เปนผูกระทาํ ไดตาม ตองการ และสมณะคุณทั้งส้ิน ก็ยอมตกเปนของฝากกํานัลแก เขา ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร พระอปุ เสนวงั คันตบตุ รเถระ๑ ประสงค จะทําสัลเลขธรรม คือธุตคุณทั้งหลายใหบริบูรณ จึงไมเอื้อเฟอ กติกาของพระสงฆเมืองสาวัตถี พาบริษัทเขาไปเฝาพระผูมี พระภาค ผเู ปนนายสารถีฝก นรชน ซง่ึ เสดจ็ ประทบั หลีกเรน อยู ได กราบท่ีพระบาทดวยเศียรเกลาแลวน่ังลง ณ ที่สมควรสวนหนึ่ง, พระผูมีพระภาคทรงทอดพระเนตรดูบริษัทท่ีฝกดีแลวนั้น ทรงร่ืน เริงยินดีบันเทิง ตรัสสนทนาปราศรัยกับชาวบริษัท รับส่ังความ ขอนี้ดวยพระสุรเสียงดุจเสียงพรหมวา “น่ีแนะ อุปเสน บริษัท ของเธอน่ีนาเลื่อมใส, น่ีแนะ อุปเสน เธอแนะนาํ บริษัทของเธอ อยางไร?” ฝายพระเถระน้ัน ครั้นถูกพระผูมีพระภาคผูทรงเปน พระสัพพัญู ทรงพระทศพลญาณ ผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ตรัสถามแลว จึงกราบทูลความขอน้ีกะพระผูมีพระภาค ดวย อาํ นาจแหงคุณที่มีอยูตามความเปนจริงวา “ขาแตพระองคผูเจริญ ผูใดผูหนึ่ง เขาไปหาขาพระองค แลว ขอบวชก็ดี ขอนสิ ยั กด็ ,ี ขาพระองคจ ะกลา วกะเขานนั้ อยางน้ี                                                ๑. ว.ิ มหาวิ. ๒/๕๗.

๒๙๖ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา วา ‘นี่แนะ ทา นผมู ีอายุ เราเปนผถู ือการอยปู าเปน วัตร ถอื การเท่ยี ว บิณฑบาตไปเปนวัตร ถอื การทรงผา บงั สุกุลเปน วตั ร ถือการครอง จวี ร ๓ ผนื เปนวตั ร ถา หากวา แมตัวทานกจ็ ักเปน ผูถือการอยปู า เปน วตั ร ถอื การเท่ยี วบิณฑบาตไปเปน วตั ร ถือการทรงผาบังสกุ ลุ เปนวตั ร ถือการครองจีวร ๓ ผนื เปนวตั ร ดวยไซร, เรากจ็ กั ใหท า น บวชเทยี ว จกั ใหนิสัย’, ขา แตพ ระองคผ ูเ จรญิ ถา หากเขารับฟงขา พระองคแลว ยินดีพอใจ ขาพระองคก็จักใหเขาบวช, จักใหนิสัย, ถาหากเขาไมยินดี ไมพอใจ, ขาพระองคก็จักไมใหเขาบวช, ไมให นิสัย, ขาแตพระองคผเู จริญ ขาพระองคแนะนาํ ชาวบริษัทอยางน้ี พระเจาขา” ดังนี้ ขอถวายพระพร ภกิ ษผุ สู มาทานธตุ คณุ ประเสริฐ ยอมเปน ใหญในพระศาสนาประเสรฐิ ของพระชินวรพทุ ธเจา เปน ผูใชอาํ นาจ เปนนาย เปน ผูกระทําไดต ามตอ งการ, และสมาบตั ทิ ่ี สงบเปน สุขท้ังสิ้น ก็ยอ มตกเปน ของฝากแกเ ขา อยา งนี้แล. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ดอกบัวหลวง ซึ่งเกิด เปนพีชชาติเจริญ บริสุทธ์ิ สูงสงยอมมีคุณ ๑๐ ประการ คือ เปน ของออนนมุ สนิท ๑, เปน สิ่งทใ่ี คร ๆ กอ็ ยากได ๑, มีกลิน่ หอม ๑, นา รัก ๑, ใคร ๆ ก็ปรารถนา ๑, ใคร ๆ ก็สรรเสรญิ ๑, อันน้าํ หรอื เปอกตมจะฉาบติดมไิ ด ๑, ประดบั ดว ยใบเล็ก ๆ เกสรและกลบี ๑, มหี มูแมลงภูค อยแตจะบนิ มาสอ งเสพ ๑, ขยายพันธอุ ยแู ตใ นน้ํา เย็นสะอาด ๑ ฉันใด, ขอถวายพร พระอริยะสาวกผมู ีธดุ งค ๑๓ อยางเหลานเ้ี สพคุนแลว เสพอยูเ ปน ประจําแลว สงั่ สมแลว คุน เคย แลว ประพฤติแลว ประพฤตมิ นั่ คงแลว ทําใหบ รบิ ูรณแลวในภพ







๓๐๐ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ๒๗. สมจุ ฉฺ นิ นฺ านสุ โย - ตัดขาดอนสุ ัยได ๒๘. สพพฺ าสวกขฺ ยํ ปตฺโต - ไดถ ึงธรรมอันเปน ทส่ี ิ้นอาสวะทัง้ ปวง ๒๙. สนฺตสขุ สมาปตฺติวิหารพหโุ ล - เปน ผมู ากดว ยสมาบตั ิวิหารอนั สงบและเปน สขุ ๓๐. สพพฺ สมณคณุ สมุเปโต - เปน ผปู ระกอบพรอมดว ยสมณคณุ ทัง้ ปวง, ยอมเปนผปู ระกอบพรอมดว ยคณุ ๓๐ ประการ เหลา นแ้ี ล. ขอถวายพระพร ยกเวนพระทศพลผูทรงเปนอาจารยของ ชาวโลกแลว บุรุษผูเปนเลิศแหงหม่ืนโลกธาตุ ก็คือทานพระสารี- บุตรเถระ มิใชหรือ, แมพ ระเถระน้ัน กเ็ ปนผูไดส ัง่ สมกศุ ลมลู ไวโ ดย ชอบแลว ตลอดหลายอสงไขยกปั หาประมาณมิได ทานเปน ผูสบื สกลุ วงศในสกลุ พราหมณ แตกก็ ลบั ละทิง้ อารมณทีช่ อบใจ ความ ยินดีในกาม และทรัพยประเสริฐนับไดหลายรอย บวชในพระ ศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจา ฝกกาย วาจา และใจดวยธตุ คุณ ๑๓ อยางเหลาน้ี มาในบัดน้ีทานจึงไดเปนผูประกอบพรอมดวย คุณวิเศษ หาท่ีสุดมิได เกิดเปนผูท่ีคอยประกาศสืบตอซึ่งพระ ธรรมจักร ในพระศาสนาประเสริฐของพระผูมีพระภาคโคตมะ ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรง ภาสิตความขอน้ีไวในอังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต วา :-

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๓๐๑ ‘นาหํ ภิกฺขเว อฺ เอกปุคฺคลมฺป สมนุ- ปสฺสามิ, โย เอวํ ตถาคเตน อนุตฺตรํ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺติตํ สมฺมเทว อนุปฺปวตฺเตติ ยถยิทํ ภิกฺขเว สาริปุตฺโต ฯเปฯ อนุปฺปวตฺเตติ’๑ ‘ดูกร ภิกษุท้ังหลาย เราไมเล็งเห็นบุคคลอ่ืนแม สักคนหน่ึง ซ่ึงประกาศสืบตอธรรมจักรอันยอด เย่ียม ท่ีเราตถาคตไดประกาศไวแลว ไดดวยดี อยางน้ี เหมือนอยางพระสารีบุตรนี้นะภิกษุ ท้ังหลาย, ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พระสารีบุตรได ประกาศสืบตอธรรมจักรอันยอดเยี่ยม ท่ีเรา ตถาคตไดประกาศไว ไดดวยดีเทียว’ ดงั นี.้ พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน, พระพุทธ- วจนะอันมีองค ๙ อยางใดอยางหน่ึง ก็ดี, การกระทําที่ยอด เย่ียมในโลก ก็ดี, การบรรลุธรรมและสมบัติไพบูลยประเสริฐ ท้ังหลายในโลกน้ี ก็ดี, ทุกอยางนั้น ถึงความรวมลงในธุต- คุณ ๑๓” จบธุตังคปญหาท่ี ๒                                                ๑. องฺ. เอกก. ๒๐/๓๐.

๓๐๒ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา คําอธิบายปญ หาที่ ๒ ปญหาเก่ยี วกับธุดงค ชื่อวา ธตุ ังคปญหา. เง่ือนปญหามีอยูวา ถาหากวาพวกคฤหัสถ บริโภคกาม ทั้งหลาย ซึ่งไมไดถือธุดงคเลย เพราะขัดแยงกับความเปนอยู อยางคฤหัสถ ปฏิบัติไปตามความสะดวก ไมลาํ บาก ไมเปนทุกข ก็อาจตรัสรูธรรมได ไซร เมื่อเปนเชนนี้ ขอวัตรปฏิบัติท่ีเครงครัด ลําบาก เปนทุกข คือธุดงค ซ่ึงก็เปนไปเพื่อการตรัสรูธรรมน้ัน เหมือนกัน ที่สามารถสมาทานไดดีเมื่อไดบวช จะมีประโยชน อะไร. องคค อื ขอวัตรท่สี มาทานขอนั้น ๆ มกี ารทรงผาบงั สกุ ุลเปน ปกติเปนตน แหงบุคคลผูชื่อวา ธุตะ เพราะอรรถวากําจัดกิเลส ดว ยการสมาทานขอวตั รนั้น ๆ น่ันแหละ ช่อื วา ธดุ งค. คณุ คือรส หรืออานุภาพแหง ธดุ งค ชื่อวา ธุตคุณ. ในบรรดาธุดงค ๑๓ ขอเหลานั้น วาในขอแรกกอน คําวา ผาบังสุกุล ไดแกผาคลกุ ฝนุ หมายถงึ ผา ทีไ่ มน ับวาเปน คฤหบดี จีวร (ผา ทพ่ี วกคฤหบดี พวกคฤหัสถน าํ มาถวาย) มีผา ท่เี ขาใชห อ ศพทิ้งไวในปาชา ผาท่ีเขาทิ้งไวตามกองขยะเปนตน. ภิกษุรูปใด สมาทาน (ถือเอาโดยชอบ) ซ่ึงธุดงคขอน้ีอยางน้ี วา “ขาพเจา ขอปฏิเสธจีวรอันเปนทานที่คฤหบดีถวาย, ขอสมาทานองคแหง ภกิ ษผุ ูทรงผา บงั สุกลุ เปน ปกติ” ดงั นี้ ภกิ ษุรปู น้นั ชอื่ วา สมาทาน ธุดงคขอที่ ๑, น้ี. หมายความวา ต้ังใจจะไมรับจีวรที่พวกคฤหัสถ ถวายใหโดยตรง แตจะเก็บผาท่ีเขาท้ิงไวตามที่ตาง ๆ มีปาชา

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๓๐๓ เปนตน มาทาํ เปนจีวรนุงและหม. แมในการสมาทานธุดงคขอที่ เหลือ กม็ นี ัยนี้. ในขอท่ี ๒ คําวา ผา ๓ ผืน ไดแก สังฆาฏิ-ผาทาบ, อุตตราสงค-ผาหม, และอันตรวาสก-ผานุง. ภิกษุผูสมาทาน ธุดงคขอน้ี ยอมปฏิเสธคือไมรับผาผืนที่ ๔ ขอใชเพียง ๓ ผืน ดังกลาวน้ีเทานั้น. ในขอ ท่ี ๓ คาํ วา ผเู ทยี่ วบณิ ฑบาตไป คอื ผูเ ทีย่ วจาริกไป เพอื่ บณิ ฑบาต (กอนขา วคอื อาหารที่เขาปลอยใหต กไปในบาตร). ภิกษุผูสมาทานธุดงคขอนี้ ยอมปฏิเสธการนิมนตใหฉันยังเรือน ขอเที่ยวแสวงหาบิณฑบาตดวยลาํ แขงของตนเอง. ในขอที่ ๔ คาํ วา ผูเท่ียวไปตามลําดับเรือน คือผูเที่ยว ไปตามลําดับสกุลเรือนของทายกผูคอยถวายภัตตาหารให ไมมี การขามลาํ ดับ โดยการละเลยสกุลที่ถึงกอน แลวรับภัตตาหาร จากสกุลที่ไปถึงทีหลัง. ภิกษุผูสมาทานธุดงคขอนี้ ยอมปฏิเสธ การเที่ยวบิณฑบาตไปอยางเลือกสกุล ยอมเที่ยวแสวงหาบิณฑ- บาตไปตามลําดับเรือน ไมขามลาํ ดับเลยทีเดียว. ในขอที่ ๕ คาํ วา ผูฉัน ณ อาสนะเดียว มีความหมาย วา น่ังลงฉัน ณ ที่ใดที่หน่ึงก็ตาม ฉันเสร็จแลวก็ตาม ยังไมเสร็จ ก็ตาม เมื่อลุกข้ึนจากอาสนะน้ันแลว ก็จะไมน่ังลงฉันเปนครั้ง ท่ี ๒ อีก ในวันน้ัน. ภิกษุผูถือธุดงคขอน้ี ยอมปฏิเสธการน่ังลง ฉันหลายคร้ัง ยอมฉัน ณ อาสนะเดียว คือคร้ังเดียวเทานั้น ใน แตละวัน.

๓๐๔ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ในขอ ท่ี ๖ คาํ วา ผูฉ นั แตในบาตร คอื ผฉู ันแตอ าหารทอี่ ยู ในบาตรเทานน้ั . ภิกษผุ ถู อื ธุดงคขอ นี้ ยอ มปฏิเสธการใชภาชนะที่ ๒ ที่ ๓ อนั นอกเหนือไปจากบาตร ยอมฉันอาหารในบาตรเดยี วนั้น เทานั้น. ในขอท่ี ๗ คาํ วา ผูไมฉันภัตท่ีมาภายหลัง คือผูฉัน เฉพาะภัตคือบิณฑบาตแรกเทานั้น ไมฉันบิณฑบาตท่ี ๒ ท่ีเขา นอมเขาถวายเพ่ิมภายหลัง. ในขอที่ ๘ คําวา ผูถือการอยูปา คือผูถือการอยูใน สถานทที่ หี่ างไกลจากละแวกบานประมาณ ๕๐๐ ช่ัวคันธน.ู ภกิ ษุ ผูถ อื ธุดงคขอ นี้ ยอมปฏเิ สธการอาศยั อยใู นเสนาสนะตามละแวก บาน ยอมอยแู ตใ นเสนาสนะปาเทานนั้ . ในขอท่ี ๙ คําวา ผูถือการอยูโคนไม คือผูถือการอยู อาศัยเสนาสนะโคนไมคือใตตนไม. ภิกษุผูถือธุดงคขอนี้ ยอม ปฏเิ สธการอยอู าศัยในสถานท่มี งุ บงั อยางอ่นื มวี หิ าร กฏุ ิ เปน ตน ยอมอาศยั อยใู ตต น ไมเทา นั้น. ในขอ ท่ี ๑๐ คําวา ผถู อื การอยูในที่แจงเปน ปกติ คอื ผู ปฏิเสธการอาศัยอยูในท่ีมุงบังท้ังหลาย รวมท้ังโคนไม อยูแตในท่ี โลงแจง โดยการใชผา ทาํ เปนกระโจมขึ้น. ในขอท่ี ๑๑ คาํ วา ผูถือการอยูปาชา คือผูปฏิเสธการ อยูอาศัยในสถานท่ีท่ีไมใชปาชา ถือการอยูอาศัยเฉพาะในปาชา อันเปนท่ีท้ิงหรือเผาซากศพเทาน้ัน.

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๓๐๕ ในขอท่ี ๑๒ คําวา ผูถือเอาเสนาสนะตามที่เขาจัดแจง ให คือผูถือการอยูอาศัยในเสนาสนะตามท่ีภิกษุผูเปนเสนาสน- คาหาปกะ (ผูชี้ใหถือเอาเสนาสนะ) จัดแจงให คือระบุ. ภิกษุผู สมาทานธุดงคขอนี้ ยอมไมมักมากเลือกเสนาสนะอยูอาศัยตาม ความชอบใจ ยอมอยูอาศัยในเสนาสนะตามแตเขาจะจัดให. ในขอที่ ๑๓ คาํ วา ผูถือการน่ัง คือผูมีอิริยาบถนั่งเปน ทส่ี ดุ หมายความวา ทรงกายอยูในอริ ิยาบถ ๓ อยางเทา น้ัน ไมอยู ในทานอน. ภิกษุผูถือธุดงคในขอน้ี ยอมปฏิเสธการนอนเพ่ือ ประโยชนแ กก ารต่นื อยตู ลอดเวลา อริ ิยาบถทีพ่ ักผอ นอยา งมากก็ ทานั่งเทาน้ัน. นี้เปนความสังเขปย่ิงเก่ียวกับธุดงคทั้ง ๑๓ ขอ บัณฑิตพึงทราบความพิสดารเกี่ยวกับธุดงคท้ังหมด ตามท่ีทาน กลาวไวในปกรณวิสุทธิมรรคเถิด. เรื่องของ พระอุปเสนวังคันตบุตร ตอนท่ีกลาวถึงนี้ ปรากฏอยูในพระวินัยปฏก มีเน้ือความยอ ๆ อยางน้ี วา : ในสมัยหน่ึง ท่ีพระผูมีพระภาคประทับอยูที่สวนเชตวัน ของทานอนาถคฤหบดี ใกลกรุงสาวัตถีนั้น พระองคไดรับสั่งกะ ภิกษุทั้งหลายวา พระองคตองการจะอยูหลีกเรนตามลาํ พังแต เพียงผูเดียวตลอด ๓ เดือน ภิกษุรูปไหน ๆ ก็อยาไดเขาไปเฝา พระองค ยกเวนเฉพาะภิกษุผูที่จะนาํ อาหารเขาไปถวายเพียงรูป เดียวเทาน้ัน ภิกษุเหลานั้นไดสดับแลว ก็มาตั้งกติกากันวา ภิกษุ ทุกรูปตองทําตามรับส่ังอยางเครงครัด รูปใดฝาฝนรับส่ังเขาไป เขาเฝาพระศาสดา ใหถือวาภิกษุรูปนั้นตองอาบัติปาจิตตีย.

๓๐๖ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา พระอุปเสนวังคันตบุตรพรอมทั้งบริษัทของทานมาจากท่ี ไกลเพือ่ เฝาพระศาสดา ทานแมว า ทราบกตกิ าของภกิ ษชุ าวเมอื ง สาวัตถีนั้นแลวก็ไมเยื่อใยเลย ตรงเขาไปเฝาพระศาสดาเลย ทีเดียว พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นอิริยาบถท่ีนาเล่ือมใสของ ภิกษผุ ทู รงผา บังสกุ ลุ รูปหนง่ึ ซึ่งเปน ศษิ ยข องทา นอปุ เสนวงั คันต- บุตรแลว ก็รับส่ังถามทานอุปเสนวังคันตบุตรถึงวิธีแนะนําส่ังสอน ศิษยของทาน ดังความท่ีปรากฏอยูในเน้ือหาของปญหานั้น ก็ ความเปนภิกษุผูทรงธุดงคของทานอุปเสนและท้ังบริษัทของทาน เปนเหตุใหภิกษุชาวเมืองสาวัตถีท้ังหลายผูอยากไดสิทธิพิเศษใน อันเขาเฝาพระศาสดาไดทุกเวลาตามท่ีตองการอยางพระอุปเสน และบริษทั คดิ เอาอยา งบาง จึงตระเตรียมการตาง ๆ เพ่ือความ เปนผถู ือธดุ งค โดยเรม่ิ ดว ยการทาํ เคร่ืองปลู าด (สนั ถัต) สําหรับ การน่ังในปาเปนตน ขึ้นมาใหม ท้ิงของเกาไป เปนเหตุใหพระ ศาสดาทรงบัญญัติสิกขาบทเกี่ยวกับสันถัตขึ้นอีกขอหนึ่ง. คําวา ขอนิสัย ความวา ในคราวขอบวชนั่นแหละ ก็ ขอนิสัย คือขอการอยูอาศัยรวมกับพระอุปชฌายหรืออาจารย. อธิบายวา ขอเปนศิษย. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๒ จบอนุมานวรรคท่ี ๔ ในวรรคน้ี มี ๒ ปญหา จบอนมุ านปญ หากัณฑท ี่ ๕

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๐๗ กณั ฑที่ ๖, - โอปมมกถาปญ หา มาติกา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ภิกษุผูประกอบ พรอ มดว ยองคเทาไร ยอมกระทําพระอรหตั (ความเปน พระอรหนั ต) ใหแจงได?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ภิกษุผู ตอ งการกระทาํ พระอรหตั ใหแ จง ในพระศาสนานี้ คัทรภวรรคท่ี ๑ : พงึ ถือเอาองค ๑ แหงลา พงึ ถือเอาองค ๕ แหงไก พึงถอื เอาองค ๑ แหงกระแต พึงถอื เอาองค ๑ แหงแมเ สือเหลอื ง พึงถือเอาองค ๒ แหง พอเสือเหลอื ง พงึ ถอื เอาองค ๕ แหง เตา พึงถอื เอาองค ๑ แหงไมไผ พงึ ถอื เอาองค ๑ แหงธนู พึงถอื เอาองค ๒ แหงกา พึงถอื เอาองค ๒ แหง วานร สมุททวรรคท่ี ๒ : พึงถอื เอาองค ๑ แหงเถาน้ําเตา พงึ ถือเอาองค ๓ แหง บัวหลวง พึงถอื เอาองค ๒ แหง พชื

๓๐๘ มาตกิ า พึงถอื เอาองค ๑ แหงไมข านาง พึงถอื เอาองค ๓ แหงเรอื พึงถือเอาองค ๒ แหง เชือกโยงเรือ พึงถือเอาองค ๑ แหงเสากระโดงเรอื พึงถอื เอาองค ๓ แหงนายทา ยเรอื พึงถือเอาองค ๑ แหงกรรมกร พงึ ถือเอาองค ๕ แหง มหาสมทุ ร ปถวีวรรคที่ ๓ : พึงถือเอาองค ๕ แหงดิน พึงถือเอาองค ๕ แหง นํา้ พงึ ถอื เอาองค ๕ แหง ไฟ พงึ ถือเอาองค ๕ แหง ลม พงึ ถอื เอาองค ๕ แหง ภเู ขา พึงถือเอาองค ๕ แหงอากาศ พงึ ถอื เอาองค ๕ แหง พระจนั ทร พึงถือเอาองค ๗ แหงพระอาทิตย พงึ ถือเอาองค ๓ แหงทาวสกั กะ พงึ ถอื เอาองค ๔ แหง พระเจา จักรพรรดิ อปุ จิกาวรรคที่ ๔ : พึงถือเอาองค ๑ แหงปลวก พึงถอื เอาองค ๒ แหง แมว พึงถอื เอาองค ๑ แหง หนู พึงถือเอาองค ๑ แหง แมงปอง

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๐๙ พึงถือเอาองค ๑ แหงพงั พอน พึงถอื เอาองค ๒ แหง สนุ ขั จ้งิ จอก พงึ ถอื เอาองค ๓ แหงเนื้อ พงึ ถอื เอาองค ๔ แหง โค พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง สกุ ร พงึ ถือเอาองค ๕ แหง ชา ง สหี วรรคท่ี ๕ : พงึ ถอื เอาองค ๗ แหงราชสหี  พึงถอื เอาองค ๓ แหงนกจากพราก พงึ ถือเอาองค ๒ แหง นกเงอื ก พึงถือเอาองค ๑ แหง นกกระจอก พงึ ถอื เอาองค ๒ แหงนกเคา พงึ ถอื เอาองค ๑ แหงนกตระไน พึงถือเอาองค ๒ แหงคางคาว พงึ ถอื เอาองค ๑ แหง ปลงิ พงึ ถือเอาองค ๓ แหง งสู ามญั พงึ ถือเอาองค ๑ แหง งเู หลือม มกั กฏวรรคท่ี ๖ : พึงถอื เอาองค ๑ แหงแมงมมุ ตามหนทาง พงึ ถือเอาองค ๑ แหงทารกที่ยังติดนม มารดา พึงถือเอาองค ๑ แหงเตาเหลอื ง พึงถือเอาองค ๕ แหง ปา

๓๑๐ มาติกา กมุ ภวรรคที่ ๗ : พึงถอื เอาองค ๓ แหง ตน ไม (นอกวรรค) พงึ ถอื เอาองค ๕ แหง เมฆ พงึ ถอื เอาองค ๓ แหงแกว มณี พึงถือเอาองค ๔ แหง พรานเน้ือ พงึ ถือเอาองค ๒ แหงพรานเบด็ พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง ชางถาก พงึ ถอื เอาองค ๑ แหงหมอ พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง กาลักนํา้ พงึ ถอื เอาองค ๓ แหงรม พงึ ถือเอาองค ๓ แหง นา พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง ยา พงึ ถือเอาองค ๓ แหง โภชนะ พึงถือเอาองค ๔ แหงนายขมังธนู พงึ ถอื เอาองค ๔ แหง พระราชา พงึ ถือเอาองค ๒ แหง นายประตู พงึ ถือเอาองค ๑ แหง หนิ ลับมีด พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง ประทปี พึงถือเอาองค ๒ แหงนกยูง พึงถอื เอาองค ๒ แหงพอมา พงึ ถือเอาองค ๒ แหงคนขายเหลา พงึ ถือเอาองค ๒ แหงเสาเขอื่ น

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๑๑ พงึ ถือเอาองค ๑ แหง เครอ่ื งช่ัง พงึ ถือเอาองค ๒ แหง พระขรรค พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง ปลา พงึ ถอื เอาองค ๑ แหง ลกู หน้ี พึงถอื เอาองค ๒ แหงคนเจ็บปวย พงึ ถอื เอาองค ๒ แหงคนตาย พงึ ถอื เอาองค ๒ แหง แมน ํา้ พงึ ถอื เอาองค ๑ แหงโคผู พึงถอื เอาองค ๒ แหงหนทาง พึงถือเอาองค ๑ แหงพนกั งานเกบ็ ภาษี พงึ ถอื เอาองค ๓ แหง โจร พึงถอื เอาองค ๑ แหงเหยย่ี ว พึงถือเอาองค ๑ แหงสุนขั พึงถือเอาองค ๓ แหงหมอยา พึงถอื เอาองค ๒ แหง หญิงมีครรภ พึงถือเอาองค ๑ แหง จามรี พงึ ถอื เอาองค ๒ แหงนกกะตอยตีวดิ พึงถอื เอาองค ๓ แหงแมน กเขา พึงถอื เอาองค ๒ แหงคนมตี าขางเดยี ว พงึ ถือเอาองค ๓ แหง ชาวนา พึงถือเอาองค ๑ แหงแมห มาไน

๓๑๒ มาตกิ า พึงถือเอาองค ๒ แหงผากรองนา้ํ พึงถือเอาองค ๑ แหงทัพพี พึงถือเอาองค ๓ แหงเจาหน้ี พึงถือเอาองค ๑ แหงพนักงานตรวจสอบ พึงถือเอาองค ๒ แหงนายสารถี พึงถือเอาองค ๒ แหงคนกินขาว พึงถือเอาองค ๒ แหงชางปะชุน พึงถือเอาองค ๑ แหงนายเรือ พึงถือเอาองค ๒ แหงแมลงภู

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๑๓ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค ปญ หาท่ี ๑, คัทรภังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงลา’, องค ๑ ที่พึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ข้ึนช่ือวาลา จะไปนอนหมอบอยู ณ ท่ีใดท่ีหน่ึง ไมวาท่ีกองหยากเย่ือ ไมวา ท่ีทางส่ีแพรง ไมวาที่ทางเขาบาน ไมวาท่ีกองแกลบ, ยอมไมเปน ผูมากดวยการนอน ฉันใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูมีความเพียร เปนพระโยคาวจร ไปปูแผนหนังนอน ณ ท่ีใดที่หน่ึง ไมวาบน ลาดหญา ไมว า บนลาดใบไม ไมว า บนเตียงไม ไมวาใตเ งาไม ยอม ไมเปนผูมากดวยการนอน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้ คอื องค ๑ แหงลาทีพ่ งึ ถอื เอา. ขอถวายพระพร พระผมู พี ระภาค ผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไววา : ‘กลิงฺค- รปู ธานา ภิกฺขเว เอตรหิ มม สาวกา วิหรนตฺ ิ อปฺปมตตฺ า อาตาปโน ปธานสมฺ ึ๑ - ดูกร ภกิ ษทุ ัง้ หลาย บดั น้ี สาวกทง้ั หลาย ของเรา ผูมีทอนไมเปนหมอน เปนผูไมประมาท มีความเพียร ประกอบในความเพียรอยู’ ดังน้ี, ขอถวายพระพร แมทานพระ สารีบุตรเถระก็ไดภาสิตความขอน้ีไววา :                                                ๑. สํ. นิ. ๑๖/๓๑๗.

๓๑๔ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค ‘ปลลฺ งเกน นิสนิ นฺ สฺส, ชณฺณเุ กนาภวิ สสฺ ติ อลํ ผาสวุ ิหาราย, ปหติ ตฺตสฺส ภกิ ขฺ ุโน๑ เสนาสนะ แควาฝนไมตกโดนเขา แหงภิกษุผู นั่งคูบัลลังกอยู ก็เพียงพอเพ่ืออยูอยางผาสุก สําหรับภิกษุผูมีตนอันสงไปแลว.’ ดังนี้.” จบคทั รภงั คปญ หาที่ ๑ คําอธิบายปญ หาท่ี ๑ ปญ หาเกย่ี วกบั องคแหง ลา ช่ือวา คทั รภังคปญหา. คาํ วา พึงถือเอาองค ๑ แหงลา คือพึงถือเอา ไดแกพึง สาํ เหนียกถึงความประพฤติเปนไปองค ๑ คือสวนหน่ึงแหงลา ใชเปนอุทาหรณสองใหเห็นเปนอุบาย เพ่ืออันเจริญคุณธรรม สวนท่ีเปรียบกันไดกับองค ๑ แหงลาน้ัน, แมในปญหาขอท่ี เหลือตอจากนี้ ก็มีนัยนี้. คาํ วา กลิงฺครูปธานา แปลวา มีทอนไมเปนหมอน. อีก อยางหนึ่ง คาํ วา “กลิงฺคร” หมายถึงกองแกลบก็ได. เพราะฉะน้ัน คาํ วา กลิงฺครูปธานา แปลวา มีกองแกลบเปนหมอนก็ได. คําวา ผมู ีตนอันสง ไปแลว คอื ผูมจี ิตอันสงไป ไดแ กนอ ม ไปสูพระนิพพานแลว ดวยอาํ นาจแหงการเห็นโทษของสังสารวัฏ แลวเล็งเห็นคุณของพระนิพพานน้ัน.                                                ๑. ขุ. เถร. ๒๖/๔๔๗.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๑๕ ปญหานี้ แสดงถึงความเปนผูมากดวยการใชเวลาใหลวง ไปดวยความเพียร ไมม กั มากในการนอนการหลบั โดยเทยี บกับลา ซง่ึ เปนสตั วทไ่ี มม กั มากในการนอนหลบั . จบคําอธบิ ายปญหาท่ี ๑ ปญ หาท่ี ๒, กกุ กุฏงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงไก’ องค ๕ ท่ีพึงถือเอานั้น เปนไฉน? “ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวาไก ยอมหลีกเรนตามกาลอันควร ตามสมัยอันควร ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ปดกวาด ลานเจดีย ตั้งนํา้ ฉันน้ําใช ชาํ ระรางกาย อาบนํา้ ไหวเจดีย เขา ไปพบภิกษุผูใหญทั้งหลาย ตามกาลอันควร ตามสมัยอันควร แลว ก็เขาไปสูสุญญาคาร ฉันนั้น. ขอถวายพระพร นี้คือองค ที่หนึ่งแหงไก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคหนงึ่ ไกย อ มออก (จากทหี่ ลีก เรน) ตามกาลอันควร ตามสมัยอันควร ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็ออก (จากท่ีหลีกเรน) ตามกาล อันควร ตามสมัยอันควร มาปดกวาดลานเจดีย ต้ังน้ําฉัน นํ้าใช ชาํ ระสรีระ ไหวเจดีย เขาไปสูสุญญาคารอีกคร้ังหนึ่ง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหงไก ท่ีพึง ถือเอา.

๓๑๖ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ไกคุยเขี่ยพ้ืนดิน จิกกิน อาหารท่ีควรจะจิกกินได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร พิจารณาทุกครั้ง แลวจึงกลืนกินอาหารที่ควรกลืน กินอยางนี้วา ‘เราบริโภคอาหาร ไมใชเพื่อเลน, ไมใชเพ่ือมัวเมา, ไมใชเพื่อประดับ, ไมใชเพ่ือตกแตง, ทวาเพียงเพื่อความตั้งอยูได แหงกายนี้เทาน้ัน เพ่ือความเปนไปได เพ่ือระงับความเบียดเบียน เพื่ออนุเคราะหพรหมจรรย. โดยประการอยางน้ี เราจักกาํ จัด เวทนาเกา และจักไมยังเวทนาใหมใหเกิดขึ้น ความดําเนินไปได, ความไมมีโทษ และความอยูผาสุกจักมีแกเรา’ ดังน้ี ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๓ แหงไก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรง ภาสิตความขอนี้ไววา : ‘กนฺตาเร ปุตฺตมํสํว, อกฺขสฺสพฺภฺชนํ ยถา เอวํ อาหริ อาหารํ, ยาปนตฺถมมุจฺฉิโต๑ ภิกษุพึงเปนผูไมสยบกลืนกินอาหารแตพอยัง รางกายใหเปนไปได เหมือน (สามีภรรยา) กลืน กินเนื้อบุตรในที่กันดาร เหมือน (พอคาเกวียน) ใชน้ํามันหยอดเพลา (เกวียน) ฉันนั้น.’ ดังนี้. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ไกแมวามีตาดีอยู ก็ยอมเปนไกตาบอดในตอนกลางคืน ฉันใด, ขอถวายพระพร                                                ๑. วิสุทฺธิมคคฺ . ๑/๖๘.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๑๗ พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ไมใชคนตาบอดเลย ก็พึงเปนราวกะ คนตาบอด. คือแมอยูในปา แมเท่ียวบิณฑบาตไปในโคจรคาม ก็พึงเปนราวกะคนตาบอด คนหูหนวก คนเปนใบ ในรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมท้ังหลายที่นายินดี, ไมพึงถือเอา นิมิต ไมพึงถอื เอาอนุพยัญชนะ ฉันนน้ั เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๔ แหงไก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระ- มหากัจจายนะ ไดภาสิตความขอน้ีไววา : ‘จกฺขุมาสฺส ยถา อนฺโธ, โสตวา พธิโร ยถา ปฺาวาสฺส ยถา มูโค, พลวา ทุพฺพโลริว อตฺตอตฺเถ สมุปฺปนฺเน, สเยถ มตสายิกํ๑ ภิกษุแมเปนผูมีตา ก็พึงเปนเหมืนอยางคนตาบอด, มีหู ก็พึงเปนเหมือนอยางคนหูหนวก, มีปญญา ก็พึงเปนเหมือนอยางคนเปนใบ, มีกําลัง ก็พึงเปน เหมือนอยางคนออนแอ, เมื่อกิจท่ีตนควรทําเกิดข้ึน พรอมแลว, (แมนอนแลว) เหมือนอยางคนนอน ตาย ก็พึงพิจารณากิจนั้น.’ ดังน้ี. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวาไก แมวาถกู ขวา งปาดว ยกอนดิน ไมค อ น ทอ นไม กย็ อมไมละเรอื นรงั ของตน ฉันใด, พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร แมตองทาํ การงาน เก่ียวกับจีวร แมตองทาํ งานเกี่ยวกับการกอสราง, แมตองทํา                                                ๑. ข.ุ เถร. ๒๖/๓๘๕.

๓๑๘ วรรคท่ี ๑, คัทรภวรรค วัตรปฏิบัติ แมตองสอนพระบาลี ก็ไมละท้ิงโยนิโสมนสิการ ฉันน้ัน. ขอถวายพระพร เรอื นรงั ของตนแหง พระโยคนี ี้ คือโยนิโส- มนสิการ. ขอถวายพระพร นี้คือองคท ี่ ๕ แหง ไก ทพี่ ึงถอื เอา. ขอถวายพระพร พระผูม ีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรง ภาสิตความขอน้ีไว วา : ‘โก จ ภกิ ฺขเว ภิกขฺ ุโน โคจโร สโก เปตตฺ ิโก วิสโย, ยทิทํ จตตฺ าโร สตปิ ฏ านา๑ - ดูกร ภกิ ษุ ท้ังหลาย ก็อะไรเลาช่ือวาเปนโคจร เปนวิสัยบิดาตนแหงภิกษุ ตอบวา ไดแกสติปฏฐาน ๔’ ดังน้ี ขอถวายพระพร ทานพระ ธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ก็ไดภาสิตความขอนี้ไววา : ‘ยถา สุทนฺโต มาตงฺโค, สกํ โสณฺฑํ น มทฺทติ ภกฺขาภกฺขํ วิชานาติ, อตฺตโน วุตฺติกปฺปนํ ตเถว พุทฺธปุตฺเตน, อปฺปมตฺเตน วา ปน ชินวจนํ น มทฺทิตพฺพํ, มนสิการวรุตฺตมํ เหมือนอยางชางมาตังคะที่ฝกดีแลว, ยอมไม เหยียบยํา่ งวงของตน จึงรูถึงสิ่งท่ีเปนอาหารและ มิใชอาหารเล้ียงชีวิตของตน ฉันใด, ภิกษุผูเปน พุทธบุตรผูไมประมาท ก็ไมพึงเหยียบยํ่าคําตรัส ของพระชินวรพุทธเจา อันประเสริฐสูงสงดวย โยนิโสมนสิการ ฉันน้ัน.’ ดังน้ี. จบกุกกุฏังคปญหาที่ ๒                                                ๑. ส.ํ มหา. ๑๙/๑๙๐.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๑๙ คําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญหาเกย่ี วกบั องคแ หง ไก ช่อื วา กกุ กฏุ ังคปญ หา. คาํ วา ปดกวาดลานเจดีย ตั้งนาํ้ ฉันนํา้ ใช เปนคําพูด แสดงถึงความเปนผูไมบกพรองในวัตรท่ีควรทํา ณ ลานเจดีย (เจตยิ ังคณวัตร) วัตรท่คี วรทาํ ตอ ทา นผเู ปน อุปช ฌายแ ละอาจารย (อุปชฌายวัตร, อาจริยวัตร) แหงภิกษุ. ภิกษุ เขาไปพบภิกษุผูใหญท้ังหลาย ก็เพื่อจะถามถึง โรคภัยไขเ จบ็ ความไมส ะดวกสบายอะไร ๆ ตลอดทัง้ ถามปญ หา ในธรรมที่ตนยังไมรู หรือยังสงสัย. คาํ วา เขาไปสูสุญญาคาร คือเขาไปสูเรือนราง เรือนวาง เปลา เพ่ือประโยชนแกการปรารภความเพียร เจริญอธิกุศล. ก็คาํ วา “สุญญาคาร” น้ี เปนเพียงทานกลาวถึงเสนาสนะท่ีเหมาะสม แกการปรารภความเพียรเทาน้ัน. คาํ วา ไมใชเพ่ือเลน คือไมใชเพ่ือเลนเหมือนอยางการ บริโภคอาหารของเด็ก ๆ ท่ีมุงแตจะเลน. คําวา ไมใชเพื่อมัวเมา คือไมใชเพ่ือมัวเมาในกําลัง เหมือนอยางการบริโภคของคนท่ีใชกาํ ลังท้ังหลาย มีพวกนักมวย เปนตน และไมใชเพื่อมัวเมาในความเปนชาย. คําวา ไมใชเพื่อประดับ คือไมใชเพื่อประดับ เหมือน อยางการบริโภคของชนท้งั หลาย มนี ักฟอนนกั ระบําเปนตน ความ วาไมใ ชเ พ่อื ความมผี ิวพรรณเปลง ปลง่ั .

๓๒๐ วรรคที่ ๑, คัทรภวรรค คาํ วา ไมใชเพื่อตกแตง คือไมใชเพ่ือตกแตงอวัยวะ ทาํ อวัยวะนอยใหญใหอิ่มเอิบ. คาํ วา เพื่อความต้ังอยูไดแหงกายนี้ ฯลฯ เพ่ือ อนุเคราะหพรหมจรรย คือเพ่ือความตั้งอยูไดแหงชีวิต เพ่ือ ความเปนไปไมขาดสายแหงชีวิต เพื่อระงับความเบียดเบียนคือ ความหิว เพ่ืออนุเคราะหพรหมจรรยคือพระศาสนาทั้งสิ้น และ พระอริยมรรค. คําวา โดยประการอยางนี้ เราจักกําจัดเวทนาเกา ฯลฯ และความอยูผ าสุกจกั มีแกเ รา คอื โดยการบรโิ ภคอาหารนี้ เราจักกําจัดเวทนาเกาคือความหิว และจักไมยังเวทนาใหมคือ ทุกขเพราะการบริโภคมากเกินไปใหเกิดขึ้น ความดําเนินไปไดคือ ความเปนไปไดตลอดกาลนาน ความไมมีโทษคือความเวนจาก โทษอันเกิดจากบริโภคอยางไมพิจารณา และความอยูผาสุก คือ ความสบายกาย ความเบา ความคลองแคลวแหงกาย เพราะการ บริโภคอยางพอดี ไมเ กนิ ประมาณ จักมแี กเรา. ควรดูความพิสดาร ทง้ั หมดในวิสุทธมิ รรค. ในอุปมาเกี่ยวกับการกินเน้ือบุตร : มีเรื่องวา สามีภรรยา เดินทางไกลไปพรอมกับบุตรนอย ตอมาเสบียงหมดลงในทาง กันดาร บุตรนอยอดขาวอดนา้ํ อยูนานเขาก็ตายไปกอน สองสามี ภรรยาผูเศราโศกเพราะคิดถึงบุตร ปรึกษากันวา ทาํ ไฉนหนอ เราจึงจะไมอดตายอยูทามกลางแดนทุรกันดารเชนนี้ ท้ังสอง จําตองยอมรับวา เราจาํ เปนตองอาศัยเน้ือบุตรผูเปนท่ีรักของเรา

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๒๑ น่ีแหละจึงจะพนภัยเชนนี้ได เห็นพองกันแลวก็บริโภคเนื้อบุตร ดวยจิตใจหมนหมอง หอเหี่ยว ไมมีความยินดี ไมมีความ บันเทิงในการบริโภคน้ันเลย ไมเล็งเห็นประโยชนอะไร ๆ ในเน้ือ บุตรอยางอ่ืน นอกไปจากความเปนปจจัยชวยใหพนจากความ อดตายและเกิดกาํ ลังเดินไปจนพนทางกันดารเทานั้น ขอนี้ ฉันใด, พระโยคาวจรก็ยอมบริโภคอาหารโดยกําหนดประโยชน เอาไววา เราจําตองบริโภคก็เพียงเพื่อกาํ จัดเวทนาเกาเปนตน เทานั้นเทียว ดังนี้แลวก็ไมมีความยินดี ไมมีความบันเทิงใน การบริโภคน้ันเลย ไมเล็งเหน็ ประโยชนอะไร ๆ ในอาหารอยา งอ่ืน อันนอกไปจากความเปนปจจัยชวยใหเกิดกําลังเดินไป คือ ปฏิบัติไปจนพนหนทางกันดารคือภพท้ังหลาย ฉันน้ันเหมือนกัน แมเกี่ยวกับอุปมาเร่ืองพอคาเกวียนคอยหยอดเพลาเกวียน เพื่อ เกวียนจะไดเดินทางไปจนบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง ก็มีนัยนี้ แหละ. คาํ วา แมเปนผูมีตา ก็พึงเปนเหมือนอยางคนตาบอด คือแมเปนผูมีตา ก็เหมือนไมมี เพราะเหตุที่ใชประโยชนเพียงนิด หนอยเทาท่ีจาํ เปนเทาน้ัน กลาวคือ ไมเหลียวดูขางนั้นขางนี้ วนุ วาย ทวา สาํ รวมดวยอํานาจการกําหนดประโยชนเ สียกอนแลว จงึ ดู คอื ถาเห็นวา มปี ระโยชนกด็ ู ถา เห็นวาไมม ปี ระโยชนก ็ไมด ู แม เก่ียวกับคําวา มีหู ก็เปนเหมือนอยางคนหูหนวก ก็มีนัยน้ี แหละ.

๓๒๒ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค คาํ วา มีปญ ญา ก็พึงเปนเหมือนอยา งคนใบ คือเปน คนมีปญญาก็ไมแสดงตัว กลาวโออวดความรูของตนแกคนอ่ืน ปดปากเฉย ราวกะวาไมมคี วามรู. คําวา มีกําลัง ก็พึงเปนเหมือนอยางคนออนแอ คือ ท้ัง ๆ ที่มีกาํ ลัง ก็ไมใชกาํ ลังนั้นขมเหงเบียดเบียนผูอ่ืน เหมือน อยางคนออนแอท่ีกลวั คนมีกําลงั มากกวา จะขมเหงเอา ฉะนนั้ . คําวา เม่ือกิจท่ีตนควรทําเกิดขึ้นพรอมแลว ฯลฯ ก็ พงึ พจิ ารณากจิ นน้ั ความวา เม่ือกจิ เกยี่ วกับวัตรปฏบิ ตั ทิ ค่ี วรทาํ ก็ดี กิจเก่ียวกับมนสิการกรรมฐานท่ีตนควรทาํ ก็ดี เกิดขึ้นพรอม แลว คือไดเวลาไดโอกาสท่ีเหมาะสมจะทาํ แลว แมถึงเวลานอน ลมตัวลงนอนแลวเหมือนอยา งคนตาย เพราะมกี ายสงบ มอี วัยวะ ใหญนอยสงบ ไมพลิกกายไปขางน้ันขางน้ีวุนวาย ดวยอาํ นาจ ความสาํ รวม ก็พงึ พจิ ารณากจิ น้นั คอื พึงใสใ จสาํ เหนียกในอนั ทาํ กจิ นัน้ ทเ่ี หมาะสม และสามารถจะทําไดใ นคราวน้นั ๆ. สติท่ีเขาไปตั้งท่ีอารมณ มีกายเปนตน ชื่อวาสติปฏฐาน มี ๔ อยางคือ ๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน อันไดแกสติที่เปนไป กับปญญาตามพิจารณาเห็นกาย คือรูปกาย ๒. เวทนานุปสสนา สติปฏฐาน อันไดแกสติท่ีเปนไปกับปญญาตามพิจารณาเห็น เวทนา. ๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน อันไดแกสติท่ีเปนไปกับ ปญญาตามพิจารณาเห็นจิต. ๔. ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน อันไดแกสติที่เปนไปกับปญญาตามพิจารณาเห็นธรรม. เพราะ เหตุน้ัน จึงเรียกวา สติปฏฐาน ๔.

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๒๓ คาํ วา เปนโคจร เปนวิสัยบิดาตน คือ เปนอารมณเปน เขตแดนที่เที่ยวไปเปนประจําแหงจิตของพระสัมมาสัมพุทธเจาผู เปนบิดาของตน. คาํ วา ชางมาตังคะ ไดแกชางพลาย. คําวา ยอมไมเหยียบยํ่างวงของตน คือเห็นคุณแหง งวงของตนแลวก็ไมเหยียบยํ่า คือไมดูถูกดูหมิ่น. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๒ ปญ หาที่ ๓, กลันทกังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๑ แหงกระแต’ องค ๑ ที่พึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน? “ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา กระแต เมอื่ ศตั รปู รากฏก็เคาะหาง ทาํ ใหพองใหญขึ้น ใชหางเปนไมตะบองสูศัตรู ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร เมื่อศัตรูคือกิเลสปรากฏ ก็ยอมเคาะไมตะบองคือสติปฏฐาน ทํา ใหพองใหญข้ึน ใชไ มต ะบองคือสตปิ ฏ ฐานสกู เิ ลสทั้งปวง ฉนั นนั้ เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองค ๑ แหง กระแตท่พี งึ ถอื เอา. ขอถวายพระพร ทานพระจูฬปนถกเถระไดภาสิตความขอน้ีไว วา :- ‘ยทา กเิ ลสา โอปตนตฺ ิ, สามฺ คณุ ธํสนา สตปิ ฏ านลคุเฬน, หนตฺ พพฺ า เต ปนุ ปปฺ ุนํ

๓๒๔ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค เม่ือใด กิเลสท้ังหลายอันเปนเครื่องกําจัดคุณแหง ความเปนสมณะ ปรากฏ เมื่อนั้น พระโยคาวจร พึงใชไมตะบองคือสติปฏฐาน กาํ จัดกิเลสเหลาน้ัน บอย ๆ เถิด.’ จบกลันทกปญหาท่ี ๓ คาํ อธิบายปญหาที่ ๓ ปญหาเกย่ี วกับองคแหงกระแต ชอื่ วา กลนั ทกงั คปญหา. กิเลสท้ังหลาย ชื่อวา เปนเครื่องกําจัดคุณแหงความ เปนสมณะ เพราะเปน ปฏิปก ษต อคุณแหงความเปน สมณะ มีศีล เปน ตน โดยประการทีก่ าํ เริบขึน้ แลว กท็ ําคณุ แหง ความเปน สมณะ น้ันใหพินาศไป. จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๓ ปญหาที่ ๔, ทปี นิยงั คปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ทา นกลา ววา ‘พงึ ถือเอาองค ๑ แหงแมเสือเหลอื ง’ องค ๑ ท่พี งึ ถือเอานนั้ เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา แมเสือเหลือง พอถือเอาครรภไ ดค รงั้ เดียวเทา นัน้ กไ็ ม เขาใกลตัวผูอีก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญ เพียร คร้นั เห็นปฏสิ นธใิ นอนาคต ความอบุ ัติ ความเปน สตั วอ ยใู น ครรภ จุติ ความแตกทําลาย ความส้ินไป ความพินาศไป ภัยใน

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๒๕ สังสารวัฏ ทุคติ วาไมสงบ วาบีบค้ันแลว ก็พึงกระทาํ โยนิโส- มนสกิ ารวา ‘เราจักไมปฏสิ นธิในภพใหมอ กี ’ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั ขอ ถวายพระพร นีค้ ือองค ๑ แหงแมเ สือเหลืองท่ีพงึ ถอื เอา. ขอถวาย พระพร พระผูมีพระภาค ผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิต ความขอน้ีไวใน ธนิยโคปาลกสูตร ในสุตตนิบาต วา :- ‘อุสโภริว เฉตฺว พนฺธนานิ นาโค ปูติลตํว ทาลยิตฺวา นาหํ ปุนุเปสฺสํ คพฺภเสยฺยํ อถ เจ ปตฺถยสี ปวสฺส เทว.๑ ดูกร ทานวัสสุเทพ เราตัดกิเลสท้ังหลายได ดุจ โคอุสภะตัดเชือกท่ีผูกอยูได ดุจชางทําลาย เถาหัวดวนได ฉะนั้น เราจึงไมเขาถึงครรภเปน ท่ีอยูอีก เพราะฉะน้ัน ถาหากวา ทานตองการ (จะตก) ก็จงตกลงมาเถิด.’ ดงั น”้ี . จบทีปน ยิ งั คปญ หาที่ ๔ คาํ อธิบายปญ หาท่ี ๔ ปญหาที่วาดวยองคแหงแมเสือเหลือง ชื่อวา ทีปนิยังค- ปญหา.                                                ๑. ข.ุ ส.ุ ๒๕/๓๗๔.

๓๒๖ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค คําวา เห็นปฏิสนธิในอนาคต คือเห็นปฏิสนธิในภพ ตอไป เพราะกรรมที่ไดทาํ ไวในภพน้ีเปนปจจัย. คาํ วา ความอุบัติ คือปฏิสนธิในภพน้ี เพราะกรรมที่ไดทํา ไวในภพกอน เปนปจจัย. คําวา ความเปนสัตวอยูในครรภ คือความเปนสัตวอยู ในครรภ ในภพนี้ และในภพอนาคต. คาํ วา จุติ คือจุติ (ความเคล่ือนจากภพ, ตาย) ในภพอดีต และในภพน้ี. คําวา ความแตกทาํ ลาย คือสภาวะทแี่ ตกหกั ไป เพราะ ความเปนของไมเที่ยงแหงขันธทั้งหลาย. แมคําวา ความส้ินไป, ความพินาศไป ก็มีนัยนี้. เปนอันทานกลาวถึงการเห็นดวย วิปสสนาญาณท่ีมีกําลัง. คําวา ก็พึงกระทําโยนิโสมนสิการวา “เราจักไม ปฏิสนธิในภพใหมอีก” คือปรารภความเพียร เจริญกรรมฐาน ดวยมีมนสิการวา “เราจะอาศัยปฏิปทาน้ี เพื่อการไมปฏิสนธิ ไมเกิดในภพตอ ๆ ไป อีก”. คําวา ดูกร ทานวัสสุเทพ เปนตน เปนพระดํารัสของ พระผูมีพระภาค ที่ตรัสกะนายธนิยะเจาของโค ผูซ่ึงจัดการงาน ของตนไดเสร็จสมบูรณ โดยประการท่ีฝนตกลงมาก็ไมอาจทาํ ให เดือดรอน เสียหายไดแลว ก็เกิดปติโสมนัส เปลงวาจาทาใหฝน ตกลงมา.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook