Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๗๗ ดับไปเพราะหมดเช้อื , บคุ คลยอ มกลาวถึงไฟกองนั้นวา ‘ช่ือวา เปน ไฟท่ีไมม ภี ัยแลว ไมม อี นั ตรายแลว ดับไปแลวในสมัยทคี่ วรดบั ’ ดงั น้ี ฉนั ใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดบุคคลหน่งึ เปน อยูไ ดห ลาย พนั วัน แกห งอ มเพราะชรา เปน ผูไมมีภยั ไมมีอันตราย ตายไป เพราะส้ินอายุ, ใคร ๆ กย็ อ มกลาวถึงบุคคลนนั้ วา ‘เขาเปน ผูเขา ถึง ความตายในสมัยทส่ี มควร’ ดงั นี้ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา กองไฟ กองใหญ ๆ ติดหญา ไมแหง กิ่ง กาน ใบ เมื่อยังมิไดทันไดทําให หญา ไมแ หง กง่ิ กาน ใบ ใหมอดไปเลย ฝนหาใหญ ๆ ก็กระหนา่ํ ลงมา ทําใหดับไป, ขอถวายพระพร กองไฟกองใหญ ๆ ช่ือวาดับ ไปแลวในสมยั ทค่ี วรดับหรอื ไร?” พระเจา มิลนิ ท : “หามิได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร กองไฟกอง หลังจงึ ไมม ีคตเิ สมอเหมอื นไฟกองแรกเลา?” พระเจา มิลนิ ท : “เพราะไฟกองหลังนน้ั ถกู เมฆฝนที่จรมา กําราบเสยี จึงดับไปในสมัยทไี่ มควรดบั พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหน่ึง ยอมตายไปในเวลาที่ไม สมควร, คือวา บุคคลนั้นถูกโรคที่จรมาบีบคั้น คือถูกโรคท่ีมี ลมเปนสมุฏฐานบาง โรคท่ีมีดีเปนสมุฏฐานบาง โรคท่ีมีเสมหะ เปน สมุฏฐานบา ง โรคสนั นบิ าตบาง, ความแปรปรวนแหงอุตุบา ง, การบริหารที่ไมดีบาง ความพยายามบาง, ความหิวบาง, ความ

๑๗๘ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา กระหายบาง, งูที่กัดบาง, ยาพิษท่ีด่ืมบาง, ไฟบาง, น้าํ บาง อํานาจอาวุธมีหอกหลาวเปนตนบาง บีบค้ันแลวก็ยอมตายไปใน เวลาทีไ่ มสมควร, ขอถวายพระพร ขอที่วามาน้ี เปน เหตุผลในเร่ือง ความตายในเวลาท่ีไมส มควรน,้ี ที่นบั เปน เหตใุ หก ลา วไดว า ความ ตายในเวลาที่ไมสมควร ก็มอี ยู. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา เมฆฝน กลมุ ใหญ ๆ ต้งั ครึม้ ขน้ึ ในทองฟาแลว กต็ กกระหน่ํา ทําทีล่ มุ และท่ี ดอนใหเตม็ , บุคคลยอ มกลา วถึงเมฆฝนกลมุ น้ันวา ‘ช่ือวา เปนเมฆ ฝนทไ่ี มมีภยั ไมมีอนั ตรายตกลงมา’ ดังน้ี ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดบคุ คลหน่งึ เปนอยไู ดยนื นาน แกหงอมเพราะชรา เปนผู ไมม ีภยั ไมมีอนั ตราย ตายไปเพราะสนิ้ อาย,ุ ใคร ๆ กย็ อ มกลา วถงึ บุคคลน้ันวา ‘เขาเปนผูท่ีเขาถึงความตายในเวลาท่ีสมควร’ ดังนี้ ฉนั นัน้ เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา เมฆฝน กลุม ใหญ ๆ ต้ังคร้มึ ข้นึ ในทองฟา แลว กถ็ ูกลมแรงพัดใหล วงเลย ไปเสียในระหวาง, ขอถวายพระพร เมฆฝนกลุมใหญน้ัน ช่ือวา ปราศไปในสมยั ทสี่ มควรปราศไปหรอื อยา งไร?” พระเจามิลนิ ท : “หามิได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร เมฆฝนกลมุ หลังจึงไมม คี ตเิ สมอเหมอื นเมฆฝนกลมุ แรกเลา ?” พระเจามิลินท : “เพราะเมฆฝนกลุมหลังถูกลมที่จรมา กําราบเสีย จึงปราศไป ยังไมถึงสมัยท่ีสมควร พระคุณเจา.”

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๗๙ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้นั เหมอื นกนั บคุ คลใดบุคคลหนง่ึ ยอ มตายในเวลาทไ่ี มสมควร, คือวา บุคคลน้ันถูกโรคที่จรมาบีบค้ันแลว คือถูกโรคที่มีลมเปน สมุฏฐานบาง, ฯลฯ ถูกอาวุธมีหอกหลาวเปนตนบางบีบคั้น แลว ก็ยอมตายไปในเวลาท่ีไมสมควร, ขอถวายพระพร ขอท่ีวามานี้ เปนเหตุผลในเร่ืองความตายในเวลาท่ีไมสมควร นี้, ท่ีนับเปน เหตุใหกลาวไดวา ความตายในเวลาที่ไมสมควร ก็มีอยู. ขอถวายพระพร อกี อยา งหนึ่ง เปรียบเหมือนวา อสรพษิ ที่ มพี ิษรา ยแรง ขุนเคืองขนึ้ มา กก็ ัดเอาบุรษุ คนหนง่ึ เขา , พษิ ของงู น้ันพึงทําใหตายไดอยางหาส่ิงปองกันมิได หาสิ่งขวางกั้นมิได, คนทั้งหลายยอมกลาวถึงพิษงูน้ันวา ‘เปนพิษที่หาส่ิงปองกันมิได หาสงิ่ ขวางกน้ั มิได จัดวา เปนพษิ ที่ถึงยอด’ ดังนี้ ฉันใด, ขอถวาย พระพร บุคคลใดบุคคลหนงึ่ เปนอยูไ ดย นื นาน แกหงอ มเพราะชรา เปน ผูไมมีภัย ไมมีอันตราย ตายไปเพราะสิ้นอายุ, ใคร ๆ ก็ ยอมกลาวถึงบุคคลผูน้ันวา ‘เขาเปนผูไมมีภัย ไมมีอันตราย จัดวาถึงยอดแหงชีวิต เขาถึงความตายในสมัยท่ีสมควร’ ดังนี้ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อกี อยา งหนึ่ง เปรียบเหมอื นวา เมอื่ บุคคล ผนู นั้ ถกู อสรพษิ ทีม่ ีพษิ รายแรงกัดเอาแลว หมองกู จ็ ัดยาทําใหห มด พษิ เสียไดในระหวา งเทยี ว, ขอถวายพระพร พษิ งนู ้ัน ชอ่ื วาเปน พษิ ทหี่ มดไปในสมยั ทส่ี มควรหมดไปหรอื ไร?” พระเจามลิ นิ ท : “หามไิ ด พระคุณเจา.”

๑๘๐ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไรพษิ ครัง้ หลัง จึงไมม คี ติเสมอเหมือนพษิ ครง้ั กอนเลา ?” พระเจามิลินท : “พิษคร้ังหลังถูกหมองูท่ีจรมากาํ ราบเสีย ยังไมทันถึงที่สุดเลย ก็ปราศไปพระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหน่ึง ยอมตายเสียในเวลาท่ี ไมสมควร, คือวา บุคคลนั้นถูกโรคท่ีจรมาบีบคั้น, คือถูกโรคท่ีมี ลมเปนสมุฏฐานบาง ฯลฯ ถูกอาวุธมีหอกหลาวเปนตนบางบีบ ค้ันแลวก็ยอ มตายไปในเวลาที่ไมส มควร, ขอ ท่วี า มาน้ี เปนเหตผุ ล ในเรื่องความตายในเวลาท่ีไมสมควร น้ี, ท่ีนับเปนเหตุใหกลาว ไดวา ความตายในเวลาที่ไมสมควร ก็มีอยู. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา นาย ขมังธนู พึงยิงลูกศรไป, ถาหากวาลูกศรน้ันแลนไปตามเสนทาง ท่ีควรจะไปจนถึงปลายทางได, คนทั้งหลายยอมกลาวถึงลูกศร นั้นวา ‘ชื่อวาเปนลูกศรที่หาอะไรขัดขวางมิได หาอะไรทํา อันตรายมิได จึงแลนไปตามเสนทางที่ควรจะไปจนถึงปลายทาง ได’ ดังนี้ ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดบุคคลหน่ึง เปนอยูได ยืนนาน เปนผูไมมีภัย ไมมีอันตราย แกหงอมเพราะชราตายไป เพราะส้ินอายุ, ใคร ๆ กลาวถึงบุคคลนั้นวา ‘เขาเปนผูไมมีภัย ไมมีอันตราย เขาถึงความตายในสมัยท่ีสมควร’ ดังนี้ ฉันนั้น เหมือนกัน.

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๘๑ ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา นายขมัง ธนูยิงลูกศรไป, บุรุษคนหน่ึงจับลูกศรของเขาไวไดในขณะนั้น นั่นเอง, ขอถวายพระพร ลูกศรน้ันช่ือวาเปนลูกศรท่ีแลนไปตาม เสนทางท่ีควรจะไปจนถึงปลายทางหรือไร?” พระเจามิลนิ ท : “หามิได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ รลกู ศรอันหลงั จงึ ไมม ีคติเสมอเหมือนลกู ศรอนั แรกเลา?” พระเจา มลิ นิ ท : “เพราะลูกศรท่แี ลน ไปนนั้ ถูกบรุ ษุ ผูจบั ไว ไดน ้ันตดั (การแลน ไป) เสยี ไดพระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหน่ึง ยอมตายไปในเวลาที่ไม สมควร, คือวา บุคคลนั้นถูกโรคที่จรมาบีบคั้น คือถูกโรคท่ีมีลม เปนสมุฏฐานบาง ฯลฯ ถูกอาํ นาจอาวุธมีหอกหลาวเปนตนบาง บีบค้ันแลว ก็ยอมตายไปในเวลาที่ไมสมควร, ขอที่วามานี้ เปน เหตุผลในเรื่องความตายในเวลาท่ีไมสมควรน้ี, ท่ีนับเปนเหตุให กลาวไดวา ความตายในเวลาท่ีไมสมควร ก็มีอยู. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุคคลใด บุคคลหน่ึง เคาะภาชนะที่ทาํ ดวยโลหะ, เสียงบังเกิดเพราะการ เคาะภาชนะนนั้ แลว ก็ดงั ไปตามเสนทางท่ีควรจะดังไปจนถึงทสี่ ดุ คนท้ังหลายยอมกลาวถึงเสียงน้ันวา ‘ช่ือวาเปนเสียงท่ีหาอะไร ขัดขวางมิได หาอะไรทาํ อันตรายมิได ยอมดังไปตามเสนทางท่ี ควรดงั ไปจนถึงทส่ี ดุ ’ ดังน้ี ฉนั ใด, ขอถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คล

๑๘๒ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา หนึ่ง เปน อยไู ดหลายพนั วัน แกห งอ มเพราะชรา เปนผไู มมภี ัย ไมมี อันตราย ตายไปเพราะสิ้นอายุ, คนท้ังหลายยอมกลาวถึงบุคคล น้ันวา ‘เขาเปนผูไมมีภัย ไมมีอันตราย เขาถึงความตายในสมัยท่ี สมควร’ ดังน้ี ฉันนน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุคคลใด บคุ คลหนึง่ เคาะภาชนะทท่ี ําดวยโลหะ เสียงพงึ บังเกดิ เพราะการ เคาะภาชนะนัน้ เม่อื เสยี งที่บังเกิดแลว ยังไปไดไมไกล กม็ ีบรุ ุษคน หนึ่งดักจับเสียงนั้นไวได, เสียงพึงดับไปพรอมกับการดักจับ, ขอ ถวายพระพร เสียงน้ันชื่อวาเปนเสียงที่ดังไปตามเสนทางท่ีควรจะ ดงั ไปจนถึงทส่ี ุดหรอื ไร?” พระเจามิลนิ ท : “หามิได พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร เสยี งครงั้ หลงั จงึ ไมมคี ตเิ สมอเหมอื นเสียงครั้งแรกเลา ?” พระเจามลิ นิ ท : “เพราะมกี ารจรเขา มาดักจบั ไว เสยี งครั้ง หลงั นน้ั จงึ ดบั ไป พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ยอมตายไปในเวลาที่ไม สมควร, คือวา บุคคลน้ันถูกโรคที่จรเขามาบีบค้ันบาง ฯลฯ ถูก อาวุธมีหอกหลาวเปนตน บีบค้ันบาง ก็ยอมตายไปในเวลาที่ไม สมควร, ขอที่วามาน้ี เปนเหตุผลในเรื่องความตายในเวลาที่ไม สมควร น,้ี ซงึ่ เปน เหตใุ หก ลาวไดวา ความตายในเวลาท่ไี มส มควร ก็มีอยู.

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๘๓ ขอถวายพระพร มหาบพิตร อีกอยางหน่ึง เปรียบ เหมือนวา ธัญญพืชท่ีงอกดีแลวในนายอมเปนธรรมชาติท่ีมีผล มากมาย เกลือ่ นกลน แผค ลมุ ไปทว่ั ดาํ เนินไปจนถงึ สมัยท่ีมฐี านะ เปนขา วกลา ได เพราะมีฝนตกด,ี คนทง้ั หลายยอมกลาวถึงธญั ญ- ชาติน้ันไดวา ‘เปนขาวที่ชื่อวาหาภัยมิได หาอันตรายมิได เปนไป จนถึงสมัยอันควร’ ดังนี้ ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดบุคคล หน่งึ เปนอยตู ลอดหลายพนั วนั แกห งอ มเพราะความชรา เปนผไู ม มภี ัย ไมม ีอนั ตราย ตายไปเพราะสน้ิ อาย,ุ ยอมกลาวถึงบุคคลนัน้ ไดวา ‘เปนผูหาภัยมิได หาอันตรายมิได เขาถึงความตายในสมัย ท่ีสมควร’ ดังน้ี ฉันน้ันเหมอื นกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา ธัญพืชท่ี งอกดีแลวในนา พึงเสียหายตายไปเสียเพราะขาดนํา้ , ขอถวาย พระพร ธัญญชาติน้ันชื่อวาเปนธัญญชาติท่ีถึงสมัยอันควรหรือ ไร?” พระเจา มิลนิ ท : “หามไิ ด พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร ธัญญชาติ คร้งั หลังจงึ ไมมีคติเสมอเหมอื นธัญญชาตคิ รั้งแรกเลา ?” พระเจามิลินท : “เพราะมีความรอนจรเขามา ธัญญชาติ นน้ั จงึ ตายไปเสยี พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหน่ึง ยอมตายไปในเวลาท่ีไม สมควร, คือวา บุคคลนั้นถูกโรคท่ีจรเขามาบีบค้ันบาง ฯลฯ ถูก

๑๘๔ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา อาวุธมีหอกหลาวเปนตน บีบคั้นบาง ก็ยอมตายไปในเวลาท่ีไม สมควร, ขอถวายพระพร ขอท่ีวามานี้ เปนเหตุผลในเรื่องความ ตายในเวลาท่ีไมสมควรนี้, ซึ่งเปนเหตุใหกลาวไดวาความตายใน เวลาทไี่ มสมควร มอี ยู, ขอถวายพระพร พระองคเคยทรงสดับหรือไมวา ขาวกลา ออนสมบูรณ มีหนอนเกิดข้ึนมาแลวก็ทาํ ใหเสียหายไปพรอมท้ัง ราก?” พระเจามิลินท : “ขาพเจาเคยไดยิน พระคุณเจา เคยเห็น ดว ย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ขาวกลานั้นชื่อวา เสีย หายไปในเวลาท่ีสมควร, หรือวาเสียหายไปในเวลาที่ไมสมควร เลา ?” พระเจามิลินท : “ในเวลาท่ีไมสมควร พระคุณเจา, พระคุณเจา, ถาหากวาขาวกลาน้ันไมถูกพวกหนอนกัดกินไซร มันก็จะเปนไปจนถึงสมัยเกี่ยวขาว.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ขาวกลายอมพินาศไป เพราะหนอนผูจรเขามาทําลาย, ขาวกลาที่ปราศจากหนอนผู ทาํ ลาย ยอมเปนไปจนถึงสมัยเก่ียวขาว ใชหรือไม?” พระเจามิลินท : “ใช พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ยอมตายไปในเวลาท่ี ไมสมควร, คือวา บุคคลนั้นถูกโรคท่ีจรเขมาบีบค้ันเอาบาง ฯลฯ

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๘๕ ถูกอาวุธมีหอกหลาวเปน ตน บีบค้ันเอาบา ง ก็ยอ มตายไป, ขอ ถวายพระพร ขอความท่ีวามาน้ี เปนเหตุผลในเรื่องความตาย ในเวลาที่ไมสมควร น้ี, ซึ่งเปนเหตุใหกลาวไดวา ความตายใน เวลาท่ีไมสมควร ก็มีอยู. ขอถวายพระพร พระองคเคยทรงสดับหรือไมวา เมื่อขาว กลาสมบูรณ มีลาํ ตนและใบโคงงอไปเพราะความหนักแหงรวง ขาว ฝนช่ือวากรภวัสสะก็ตกลงมา สรางความเสียหาย ทาํ ให กลายเปนขาวกลาท่ไี รร วงไป.” พระเจามิลินท : “เรื่องนั้น ขาพเจาเคยไดยิน พระคุณเจา เคยเห็นดวย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ขา วกลานนั้ ชือ่ วา เสียหาย ไปในเวลาท่ีสมควร, หรือวาช่ือวา เสียหายไปในเวลาท่ีไมสมควร เลา?” พระเจามิลินท : “ช่ือวา เสียหายไปในเวลาท่ีไมสมควร พระคุณเจา, พระคุณเจา, ถาหากวาฝนช่ือกรภวัสสะน้ัน ไมตกลง มาไซร ขา วกลานน้ั กจ็ ะพงึ ดําเนนิ ไปจนถึงสมัยเกย่ี วขาว.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ขาวกลายอมพินาศไป เพราะฝนทีจ่ รเขา มาทาํ ลาย, ขาวกลา ทปี่ ราศจากฝนผทู ําลายยอม ดําเนินไปจนถงึ สมยั เกย่ี วขา ว ใชหรอื ไม? ” พระเจา มลิ นิ ท : “ใช พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ยอมตายไปในเวลาที่

๑๘๖ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ไมสมควร, คือวา บุคคลน้ันถูกโรคท่ีจรเขามาบีบคั้น คือถูก โรคที่มีลมเปนสมุฏฐานบาง โรคที่มีดีเปนสมุฏฐานบาง โรคท่ีมี เสมหะเปนสมุฏฐานบาง, ความแปรปรวนแหงอุตุบาง, การ บริหารที่ไมดีบาง, ไฟบาง, น้ําบาง, อาํ นาจอาวุธมีหอกหลาว เปนตนบาง บีบค้ันเอาแลว ก็ยอมตายไปในเวลาท่ีไมสมควร ก็ถาหากวา ไมถูกโรคที่เปนอาคันตุกะบีบคั้นแลว ก็จะพึงตาย ในสมัยที่สมควรน่ันเทียว. ขอถวายพระพร ขอท่ีวามานี้ เปน เหตุผลในเรื่องความตายในเวลาท่ีไมสมควร น้ี, ซึ่งเปนเหตุให กลาวไดวา ความตายในเวลาท่ีไมสมควร ก็มีอยู.” พระเจามิลนิ ท : “นา อศั จรรยจรงิ พระคณุ เจา นาคเสน นา แปลกจริง พระคุณเจา นาคเสน, ขอ ทใี่ นการแสดงถึงความตายใน เวลาท่ีไมสมควร ทานแสดงเหตุผลไดดี แสดงอุปมาไดดี, เปนอันวา ทานทาํ ใหเขาใจงายแลว ทําใหปรากฏแลว ทาํ ใหเห็น ชัดเจนแลว วา ‘ความตายในเวลาทไี่ มส มควรกม็ อี ยู’ พระคุณเจา นาคเสน คนผูแ มเพียงไมม จี ติ ฟงุ ซา น กถ็ งึ ความยอมรบั วา ‘ความ ตายในเวลาที่ไมสมควร กม็ ีอย’ู เพราะอปุ มาแตละอุปมานนั่ เทยี ว จะปวยกลา วไปไยถงึ คนผูจงใจจะรเู ลา , พระคุณเจา ดว ยอปุ มา แรกเทา น้ัน ขา พเจาก็เขา ใจแลว วา ‘ความตายในเวลาทไี่ มส มควร ก็มีอยู’, แตวาขาพเจาตองการจะฟงคําแกอยางอื่น ๆ อีก จึงยัง ไมยอมรับ.” จบอกาลมรณปญ หาท่ี ๖

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๘๗ คาํ อธบิ ายปญหาท่ี ๖ ปญหาเก่ียวกับความตายในเวลาที่ไมสมควร ช่ือวา อกาลมรณปญ หา. คําวา ถูกกรรมขัดขวาง คอื ถูกอกุศลกรรมทีไ่ ดทาํ ไวกอ น หนาขัดขวาง คือเขามาตัดรอนชีวิตเสียในระหวาง โดยการทาํ ให ถกู ไฟไหมบา ง ใหถกู งพู ษิ กัดบาง ใหต กเขาบา ง เปน ตน. คําวา ถูกคติขัดขวาง ความวา ผูส่ังสมอกุศลกรรมไว มากมายในอดีต แมมีโอกาสไดบังเกิดในสุคติ เปนมนุษยหรือ เทวดา ดวยกุศลท่ีไดทาํ ไวเพียงนิดหนอย ยอมเปนผูมีอายุสั้น เพราะคติที่ไดน้ัน ไมใชคติท่ีเหมาะสมสําหรับคนเชนเขา, แมคน ที่สั่งสมกุศลกรรมไวมากมาย แตกลับพลาดพลั้งบังเกิดในทุคติ เปนสัตวเดรัจฉานเปนตน ดวยอกุศลกรรมท่ีทาํ ไวแมเพียงนิด หนอย ก็มีนัยนี้เหมือนกัน เม่ือตาย ยอมชื่อวาตายเพราะถูกคติ ขดั ขวาง. คําวา ถูกกิริยาขัดขวาง คือถูกการกระทําของตนเอง มี การฆาตน การเขารีตเดียรถียที่มีการทรมานตนเปนตน, หรือ การกระทําของผอู ืน่ มกี ารกระทาํ ของโจรเปน ตน ขดั ขวาง. คาํ วา สัตวท งั้ หลายมีการทาํ กาละเพราะเหตุ ๘ อยา ง พระเถระกลา วสาธกเหตแุ หงความตายในเวลาทไี่ มส มควร. คําวา เพราะโรคสันนิบาต คือเพราะโรคหลายอยาง มี โรคทม่ี ลี มเปน สมฏุ ฐานเปนตน ประชมุ กนั ปะปนกัน.

๑๘๘ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา คําวา เพราะการบรหิ ารที่ไมดี คอื เพราะการบริหารสรีระ มีการยืน การเดิน เปนตน ไมสมํ่าเสมอ มีเดินมากเกินไป วิ่งเร็ว เกินไป นอนนอยเกนิ ไป เหนด็ เหน่อื ยเกินไป เปน ตน . คาํ วา เพราะความพยายามแหงตนและผูอื่น คือ เพราะความพยายามจะใหตายแหง ตน มีการฆา ตนเปน ตน เพราะ ความพยายามจะใหต ายแหง ผอู ่นื คอื ถูกผอู น่ื ฆา . คําวา เพราะวิบากของกรรม คือเพราะอกุศลกรรมท่ีทํา ไวในอดีต ไดโอกาสใหวิบากใหผล โดยการเขาไปตัดรอนความ เปน ไปของชวี ติ ในระหวา ง. คาํ วา จัดวาเปนการทํากาละที่มีสมัย คือจัดวาเปน การทาํ กาละท่ีมีสมัย คือมีระยะเวลาท่ีจะตองตายคร้ังแลวครั้ง เลา เพราะเหตุอยางเดียวกันนี้ ติดตอกันไปตลอดเวลาเทาน้ันป เทานี้ป ในสมัยท่ีมีโอกาส ดวยวา กรรมยอมมีอานุภาพกาํ หนด ระยะเวลาแหงการใหผลในสมัยท่ีมีโอกาสไดแนนอนทีเดียว. ชอ่ื วา จัดวา เปน การทํากาละท่หี าสมัยมไิ ด ก็เพราะการ ทาํ กาละเพราะเหตุที่เหลือเปนการทาํ กาละที่หาการกาํ หนด ระยะเวลาในสมัยท่ีจะไดโอกาสครั้งน้ัน ๆ มิได. รวมความวา ความตายในเวลาที่ไมสมควร มี ๒ อยาง คือ อยางมีสมัย และอยางไมมีสมัย. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๖

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๘๙ ปญ หาที่ ๗, เจตยิ ปาฏิหารยิ ปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระอรหันตผู ปรนิ ิพพานแลว ทกุ ทา น ยอมมปี าฏหิ าริยท ีเ่ จดียห รือ, หรือวาบาง ทานเทา นน้ั มี?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร บางทานมี, บางทา นไมม ี” พระเจามิลินท : “พระคุณเจา ทานพวกไหนมี, ทานพวก ไหนไมม ?ี ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ยอมมีปาฏิหาริยที่ เจดียของพระอรหันตผูปรินิพพานแลวเพราะมีการอธิษฐาน ของบุคคล ๓ พวก พวกใดพวกหน่ึง, ๓ พวก ใครบาง? ขอถวายพระพร พระอรหันตในโลกนี้ ขณะท่ียังดํารงชีวิตอยู ประสงคอนุเคราะหเทวดาและมนุษยท้ังหลาย จึงไดอธิษฐาน ไววา ‘ปาฏิหาริยอยางนี้ ขอจงมีท่ีเจดียเถิด’ ดังนี้, เพราะเหตุ น้ัน จึงมีปาฏิหาริยท่ีเจดียดวยอํานาจแหงการอธิษฐานของทาน เทาน้ัน. ขอถวายพระพร ยังมีการอธิษฐานอีกอยางหนึ่ง เทวดา ประสงคอนเุ คราะหม นุษยท้งั หลาย จงึ แสดงปาฏิหารยิ ทเ่ี จดยี ข อง พระอรหนั ตผูป รนิ พิ พานแลว ดว ยมอี ธิษฐานวา ‘เพราะปาฏหิ ารยิ  ครั้งน้ี พระสัทธรรมจักมีผูประคับประคองไวเปนประจํา และพวก มนุษยท้ังหลายก็จักเปนผูเล่ือมใส เจริญยิ่งดวยกุศลธรรม’ ดังนี้,

๑๙๐ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา เพราะเหตุนั้น จึงมีปาฏิหาริยที่เจดียของพระอรหันตผูปรินิพพาน แลว ดว ยอํานาจแหง การอธิษฐานของเทวดา อยางนี้. ขอถวายพระพร ยังมีการอธิษฐานอีกอยางหนึ่ง หญิง ก็ตาม ชายก็ตาม ซ่ึงเปนผูมีศรัทธาเล่ือมใส เปนบัณฑิต เฉลียว ฉลาด มีปญญา ถึงพรอมดวยความรู คิดโดยแยบคายแลว ก็จัดแจงวางของหอมบาง พวกดอกไมบาง ผาบาง ของอยางใด อยางหนึ่งบาง บนเจดีย อธิษฐานวา ‘ขอจงมีปาฏิหาริยอยางนี้ เถิด’ ดังนี้, เพราะเหตุนั้น จึงมีปาฏิหาริยที่เจดียของพระอรหันต ผูปรินิพพานแลว ดวยอํานาจแหงการอธิษฐานแมของเขา, ยอม มีปาฏิหาริยที่เจดียของพระอรหันตผูปรินิพพานแลว ดวยอํานาจ แหงการอธิษฐานของพวกมนุษย อยางน้ี, ขอถวายพระพร ยอมมีปาฏิหาริยท่ีเจดียของพระอรหันตผูปรินิพพานแลว ดวย อํานาจการอธิษฐานของบุคคล ๓ พวก พวกใดพวกหนึ่งเหลานี้ แล. ขอถวายพระพร ถาหากวาบุคคล ๓ จําพวกน้ัน ไมมี การอธิษฐาน, ก็ไมมีปาฏิหาริยที่เจดียของพระอรหันตผูปริ- นิพพานแลว แมวาทานจะเปนพระขีณาสพผูไดอภิญญา ๖ ถึงความชาํ นาญจิต, ขอถวายพระพร แมวาจะไมมีปาฏิหาริย แตบัณฑิตรูเห็นขอประพฤติที่บริสุทธ์ิดีของทานแลวก็พึงปลงใจ ถึงความตัดสินใจเชื่อวา ‘ทานพุทธบุตรผูน้ีปรินิพพานดีแลว’ ดงั น้.ี ”

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๙๑ พระเจามิลนิ ท : “ดจี รงิ พระคณุ เจา นาคเสน ขา พเจา ขอ ยอมรับคําตามที่ทา นกลา วมาน้.ี ” จบเจติยปาฏิหาริยปญหาที่ ๗ คาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญ หาเก่ยี วกบั การมีปาฏหิ ารยิ ที่เจดยี  ชือ่ วา เจติยปาฏิ- หาริยปญ หา. กใ็ นคําวา เจดยี  น้ี ชอ่ื วาเจดยี  มี ๓ อยา ง คอื สรีรธาตุ เจดีย (อฏั ฐธิ าตเุ จดยี ) ของทานผเู ปน พระอรหนั ต มีพระพทุ ธเจา เปนตน, บริโภคเจดีย คือเคร่ืองใชสอยมีบาตรจีวรเปนตน และ อุทสิ สเจดยี  คือสถปู หรอื อาคารสถานทที่ ี่เขาสรางบชู า อทุ ิศทาน ผเู ปน พระอรหนั ตน ้นั นนั่ แหละ. สาํ หรบั อฏั ฐิธาตแุ ละเครอ่ื งใชส อย นิยมบรรจุไวในสถูป. เปนความจริงวา พระอรหันตผูมีฤทธ์ิ ในสมัยใกล ปรินิพพาน เม่ือทานปรารถนา ทานก็ยอมอธิษฐานใหเปนไป ตามท่ีปรารถนาได เชนวา “อัฏฐิธาตุของเรานี้ ขอจงมีสัณฐาน กลมเถิด” ดังนี้ อัฏฐิธาตุของทานก็จะมีสัณฐานกลมตามที่ อธิษฐาน, เม่ืออธิษฐานวา “ขอจงมีสีเขียว... ขอจงมีสีเหลือง ... ขอจงมีสีแดง... ขอจงมีสีขาว... ขอจงมีสีอยางแกวมุกดา” ดังนี้ อัฏฐิธาตุก็จะเปนไปตามท่ีอธิษฐานทุกอยาง. แมอธิษฐาน วา “ในกาลโนน ในสมยั โนน ขอปาฏหิ าริยอ ยางน้ี ขอเหตกุ ารณ อยางนี้จงเกิดขึ้น ณ สถูปท่ีบรรจุอัฏฐิธาตุของเราเถิด” ดังน้ี

๑๙๒ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ปาฏิหาริยอยางน้ัน เหตุการณอยางนั้น ก็จักเกิดขึ้นในสมัย ในกาลน้ันตามที่อธิษฐานน่ันเทียว. แมการอธิษฐานของเทวดา และมนุษยที่เหลือ ก็พึงทราบความตามทํานองเดียวกันน้ี ตาม สมควร. คําวา แมไ มม ีปาฏหิ ารยิ  ฯลฯ ก็พึงปลงใจถงึ ความ ตัดสินใจเชื่อวาทานพุทธบุตรผูนี้ปรินิพพานดีแลว คือ แม ไมมีปาฏิหาริยเกิดข้ึนท่ีบริเวณสถูปที่บรรจุอัฏฐิธาตุ บัณฑิตผูรู เห็นขอประพฤติท่ีบริสุทธิ์ดีทางทวารท้ัง ๓ ของทานมากอน เปนตน ก็ยอมปลงใจเชื่อไดวา “ทานผูน้ีเปนพระอรหันต ปรินิพพานแลว ”. จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญ หาท่ี ๘, ธมั มาภสิ มยปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน บุคคลผูปฏิบัติ ชอบ ยอมมีการตรัสรูธรรมไดทุกคนเลยหรือ, หรือวาบางคนก็ ไมม ?ี ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร บางคนมี, บางคนไมม ี.” พระเจามิลนิ ท : “คนไหนมี, คนไหนไมมี พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร บุคคล ๑๖ จาํ พวก เหลานี้ แมวาปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรูธรรม คือ สัตวเดรัจฉาน แมวาปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรูธรรม, พวกเขาถึงเปรตวิสัย,

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๑๙๓ พวกมิจฉาทิฏฐิ, คนหลอกลวง, คนฆามารดา, คนฆาบิดา, คนฆาพระอรหันต, คนยุยงสงฆใหแตกแยกกนั , คนทําพระโลหติ พระพุทธเจาใหหอ, คนผูเปนไถยสังวาส (ปลอมบวช), คนผูเขา รีตเดียรถีย, คนที่ประทุษรายภิกษุณี, ภิกษุผูตองครุกาบัติ ๑๓ อยาง อยางใดอยางหน่ึง ยังไมออกจากอาบัติ, บัณเฑาะก, คน ๒ เพศ แมวาปฏิบตั ิดี กไ็ มมีการตรสั รธู รรม, รวมท้งั เด็กออน อายุต่ํากวา ๗ ขวบ แมวาปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรูธรรม. ขอ ถวายพระพร บุคคล ๑๖ จําพวกเหลานี้แล แมวาปฏิบัติดีก็ไมมี การตรัสรูธรรม.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน บคุ คล ๑๕ จาํ พวก เปนคนผิด จะมีการตรัสรูธรรมไดหรือไม ก็ชางเถอะ, แตวา เพราะเหตุไร เด็กออนอายุต่ํากวา ๗ ขวบ แมว า ปฏิบัติดี กย็ งั หา การบรรลุธรรมมไิ ดเลา ? กอ นอ่ืน ในเรื่องนี้มีปญ หาอยวู า ธรรมดา วาเด็กไมมีราคะ, ไมมีโทสะ, ไมมีโมหะ, ไมมีมานะ, ไมมีมิจฉา- ทิฏฐิ, ไมมียินราย, ไมมีกามวิตก, ไมคลุกคลีดวยกิเลสท้ังหลาย, จึงเปนธรรมดาวา เด็กน้ันควรแทงตลอดสัจจะ ๔ โดยการแทง ตลอดคราวเดียวเทา นัน้ ไดม ิใชห รือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เหตุผลในเร่ืองนี้ ที่ทํา ใหอาตมภาพกลาววา ‘เด็กออนอายุตํา่ กวา ๗ ขวบ แมปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรูธรรม’ ดังนี้ มีอยู. ขอถวายพระพร ถาหากวา เด็กออนอายุตา่ํ กวา ๗ ขวบ พึงกําหนัดอารมณท่ีนากาํ หนัด, พึงประทุษรายอารมณที่นาประทุษราย, พึงลุมหลงอารมณท่ีนา

๑๙๔ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา ลุมหลง, พึงมัวเมาอารมณที่นามัวเมา, พึงรูจักทิฏฐิ, พึงรูจัก ยินดีและยินราย, พึงดาํ ริทาํ กุศลหรืออกุศลได เขาก็จะพึงมีการ ตรัสรูธรรมได, ขอถวายพระพร ก็แตวา จิตของเด็กท่ีมีอายุตํ่า กวา ๗ ขวบ ยอมเปนจิตที่ไมมีกาํ ลัง มีกําลังทราม เปนจิต ที่มีอานุภาพนอย ถอยตํา่ ออนแอ ไมปรากฏชัด, อสังขต- นพิ พานธาตเุ ปนของหนกั แปร ไพบลู ย ยงิ่ ใหญ, ขอถวายพระพร เด็กอายุตํ่ากวา ๗ ขวบ เพราะมีจิตท่ีไมมีกาํ ลัง มีกาํ ลังทราม มีอานุภาพนอย ถอยตํ่า ออนแอ ไมปรากฏชัดน้ัน จึงไมอาจ แทงตลอดอสังขตนิพพานธาตุอันเปนของหนักแปร ไพบูลย ย่ิงใหญไ ด. ขอถวายพระพร พญาภูเขาสิเนรุเปนของหนักแปร กวางขวาง ใหญโต, ขอถวายพระพร บุรุษผูหนึ่งอาจใชเรี่ยวแรง กําลังและความเพียรที่มีตามปกติของตน ยกพญาภูเขาสิเนรุน้ัน ขึ้นไดหรือไมหนอ?” พระเจามิลินท : “มิไดหรอก พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “เพราะเหตุไรหรือ ขอถวายพระพร?” พระเจามิลินท : “เพราะบุรุษมีกําลังทราม, เพราะพญา ภูเขาสิเนรุเปนของใหญโต พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน จิตของเด็กผูมีอายุตํา่ กวา ๗ ขวบ เปนจิตท่ีไม มีกาํ ลัง ทรามกําลัง มีอานุภาพนอย ถอยต่าํ ออนแอ ไมปรากฏ ชัด, อสังขตนิพพานธาตุเปนของหนักแปร ไพบูลย ย่ิงใหญ.

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๑๙๕ เด็กผูมีอายุตาํ่ กวา ๗ ขวบ เพราะมีจิตท่ีไมมีกําลัง ทรามกาํ ลัง มีอานุภาพนอย ถอยต่าํ ออนแอ ไมปรากฏชัดนั้น จึงไมอาจแทง ตลอดอสังขตนิพพานธาตุอันเปนของหนักแปร ไพบูลย ยิ่งใหญ นั้นได. เพราะเหตุน้ัน เด็กอายุตํา่ กวา ๗ ขวบ แมปฏิบัติดี ก็ไมมี การตรัสรูธรรม. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา แผนดิน- ใหญนี้ ยาวไกล กวางหนา แพรหลายขยายไปไกล ไพบูลย ใหญโต, ขอถวายพระพร บุคคลอาจใชหยาดนา้ํ หยาดเล็ก ๆ ทํา แผนดินใหญนั้น ใหเปยกชุมเปนน้ําโคลนไปไดหรือไม?” พระเจามลิ นิ ท : “มิไดหรอก พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “เพราะเหตไุ รหรือ ขอถวายพระพร?” พระเจามลิ นิ ท : “เพราะหยาดน้ําเปน ของเล็กนอ ย, เพราะ แผน ดนิ ใหญเ ปน ของใหญโ ต.” พระนาคเสน : “อุปมาฉันใด อุปมยั กฉ็ นั นัน้ เหมอื นกนั จติ ของเดก็ อายตุ าํ่ กวา ๗ ขวบ เปน จิตทไ่ี มมกี าํ ลัง ฯลฯ ไมปรากฏชดั , อสงั ขตนิพพานธาตเุ ปนของหนกั ฯลฯ ยงิ่ ใหญ. เดก็ อายุตํา่ กวา ๗ ขวบ เพราะมีจติ ทไ่ี มม ีกําลัง ฯลฯ ไมป รากฏชดั น้นั จงึ ไมอาจแทง ตลอดอสังขตนิพพานธาตุอันเปนของหนัก ฯลฯ ยิ่งใหญน้ันได. เพราะเหตุนั้น เด็กผูมีอายุตาํ่ กวา ๗ ขวบ แมปฏิบัติดี ก็ไมมีการ ตรัสรธู รรม. ขอถวายพระพร อีกอยา งหนึ่ง เปรยี บเหมือนวา ไฟเปนไฟ ท่ีไมมีกําลัง มีกาํ ลังทราม มีอานุภาพนอย ถอยต่ํา, ขอถวาย

๑๙๖ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา พระพร ใคร ๆ อาจใชไฟออน ๆ เพียงเทาน้ัน ขจัดความมืด ทาํ แสงสวางใหปรากฏในโลกพรอมท้ังเทวดา ไดหรือไม?” พระเจามิลนิ ท : “มิไดหรอก พระคุณเจา ” พระนาคเสน : “เพราะเหตุไรหรือ ขอถวายพระพร?” พระเจามิลินท : “เพราะไฟเปนไฟท่ีออน, เพราะโลกเปน ของใหญโต พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ันเหมือนกัน จิตของเด็กผูมีอายุตํ่ากวา ๗ ขวบ เปน จิตท่ีไมมีกําลัง ฯลฯ ไมปรากฏชัด, อสังขตนิพพานธาตุเปน ของหนัก ฯลฯ ยิ่งใหญ. เด็กอายุต่ํากวา ๗ ขวบ เพราะมี จิตที่ไมมีกําลัง ฯลฯ ไมปรากฏชัดน้ัน จึงไมอาจแทงตลอด อสังขตนิพพานธาตุ อันเปนของหนัก ฯลฯ ยิ่งใหญนั้นได. เพราะ เหตุนั้น เด็กผูมีอายุต่ํากวา ๗ ขวบแมปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรู ธรรม. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา หนอน ผอมออนแอ ทม่ี ขี นาดลาํ ตัวเลก็ ๆ เห็นชา งพลายแตกมันเปน ๓ ทาง ทีม่ ีกายยาว ๙ ศอก รอบตวั ยาว ๒๐ ศอก ๓ คบื สงู ๗ ศอก ที่มาถึงที่อยูของตนแลวก็เสือกคลานไป เพื่อจะกลืนกินเสีย, ขอ ถวายพระพร หนอนตัวนั้นอาจกลืนกินชางพลายเชือกน้ันได หรอื ไม? ” พระเจามิลินท : “มิไดหรอก พระคุณเจา” พระนาคเสน : “เพราะเหตุไรหรือ ขอถวายพระพร?”

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๑๙๗ พระเจามิลินท : “เพราะหนอนตัวเล็กนัก, เพราะชางตัว ใหญโต พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน จิตของเด็กผูมีอายุต่าํ กวา ๗ ขวบ เปนจิตที่ไม มีกาํ ลัง ฯลฯ ไมปรากฏชัด, อสังขตนิพพานธาตุเปนของหนัก ฯลฯ ยิ่งใหญ, เด็กอายุตํ่ากวา ๗ ขวบ เพราะมีจิตท่ีไมมีกาํ ลัง ฯลฯ ไมปรากฏชัดนั้น จึงไมอาจแทงตลอดอสังขตนิพพานธาตุ อันเปนของหนัก ฯลฯ ย่ิงใหญนั้นได. เพราะเหตุน้ัน เด็กผูมีอายุ ต่ํากวา ๗ ขวบแมปฏิบัติดี ก็ไมมีการตรัสรูธรรม.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจาขอ ยอมรับคําตามท่ีทานกลาวมานี้.” จบธัมมาภิสมยปญหาท่ี ๘ คําอธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาเกี่ยวกับการตรัสรูธรรม ชื่อวา ธัมมาภิสมย- ปญหา. คาํ วา พวกมิจฉาทฏิ ฐิ คือพวกมีนยิ ตมิจฉาทฏิ ฐิ ปฏเิ สธ กรรม ปฏิเสธผลของกรรม โดยนยั วา “กรรมดี กรรมช่ัว ไมม ีผล” ดงั นี้เปนตน . คาํ วา ภิกษุผูตอ งครุกาบัติ ๑๓ อยา ง อยางใดอยา ง หน่ึง คือภิกษุผูตองอาบัติหนักประเภทสังฆาทิเสส ๑๓ อยาง อยางใดอยางหน่ึง ซ่ึงแมมีการปลงอาบัติ แตยังอยูในอาบัติช่ัว

๑๙๘ กัณฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ระยะเวลาหลายวันท่ีทรงกาํ หนดและบัญญัติไว ยังไมออกจาก อาบัติ, เม่ือเปนเชนน้ี จะปวยกลาวไปไย ถึงภิกษุผูตองอาบัติ ยัง ไมปลงอาบัติเลยเลา. พึงทราบวา ภิกษุผูตองอาบัติแมเปนเพียง ลหุกาบัติ (อาบัติเบา) หากไมปลงอาบัติ เปนผูมีอาบัติน้ัน ๆ ติด ตัวอยู ก็ไมอาจตรัสรูธรรมไดเหมือนกัน เพราะศีลไมบริสุทธ์ิ. สวนการไมอาจตรัสรูธรรมไดของบุคคลท่ีเหลือ บัณฑิตพึงทราบ ตามคาํ อธิบายในอภิสมยันตรายกรปญหา ในพุทธวรรคกอน หนานี้ เถิด. คาํ วา ถาหากวาเด็กออนอายุต่ํากวา ๗ ขวบ พึง กําหนัดอารมณท ่นี า กําหนดั เปน ตน มคี วามวา ถา หากวา ใน อารมณมีรูปเปน ตน ทนี่ า กาํ หนัดยินดี เด็กออนอายตุ ํา่ กวา ๗ ขวบ รูจักจะกาํ หนัดยินดีในอารมณนั้นเหมือนผูใหญท่ีรูเดียงสาท่ัวไป ซ่งึ แสดงวา จติ ของเขามีกาํ ลงั ไมอ อ นแอไซร เด็กออ นกจ็ ะรูจกั ดาํ ริ ในอนั เจรญิ อธกิ ุศล เพอ่ื ละความกาํ หนัดยนิ ดใี นอารมณนั้น แมใ น อารมณท่ีเหลือ มีอารมณท่ีนาประทุษราย ก็อยางนี้เหมือนกัน เพราะเหตนุ น้ั เขากอ็ าจตรสั รธู รรมได อาจกระทําพระนิพพานให แจงได, แตเพราะปกติเขามีจิตออนแอ ทรามกําลัง ไมรูจักจะ กาํ หนดั ยินดเี ปน ตนในอารมณที่ปกตคิ นอืน่ ๆ กาํ หนดั ยินดเี ปน ตน เพราะฉะน้ันเขาก็ยอมไมมีความดําริในอันจะเจริญอธิกุศล เพ่ือ ละกเิ ลสอะไร ๆ เพราะเม่ือกเิ ลสเหลา น้นั แตละอยางไมเกิดขึ้นใน คราวทีค่ วรจะเกิดเกดิ ขนึ้ เดก็ ออนกย็ อมเกิดความสาํ เนียกสาํ นกึ วา “สิง่ ทีต่ องละ ซ่ึงเปน สิง่ ทมี่ ีโทษ กม็ ีอยูหนา” ดังน้ีไดยาก เพราะ

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๑๙๙ เหตุน้ันน่ันแหละ เขาจึงไมมีการตรัสรูธรรม ไมอาจกระทาํ พระ- นิพพานทเี่ ปน ของยิ่งใหญใหแ จง ดว ยจติ ท่เี ลก็ นอ ยถอยตา่ํ นัน้ ได. จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๘ ปญ หาที่ ๙, เอกันตสขุ นิพพานปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน พระนิพพานเปน สขุ โดยสว นเดียว, หรอื วา เจอื ดวยทุกขเ ลา? “ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระนิพพาน เปนสขุ โดยสว นเดยี ว, ไมเจือดว ยทกุ ข? ” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน คาํ ที่วา ‘พระ นิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว’ น้ัน ขาพเจาไมขอเชื่อหรอก, พระคุณเจานาคเสน ในเร่ืองน้ี ขาพเจาเชื่ออยูอยางนี้วา ‘พระ นิพพานเจือดวยทุกข’, ก็ในขอท่ีวา พระนิพพานเจือดวยทุกขนี้ ขาพเจามีเหตุผลอยู. เหตุผลในขอน้ีเปนไฉน, พระคุณเจานาค- เสน บุคคลทั้งหลายผูแสวงหาพระนิพพาน ปรากฏวากายและ จิตมีแตความรอนรุม แผดเผา มีอันตองกําหนดการยืน การเดิน การนั่ง การนอน และอาหาร มีอันตองกําจัดความโงกงวง ตอง บังคับอายตนะ ท้ังตองละจากทรัพยสินและญาติมิตรอันเปนท่ี รัก, บุคคลพวกที่มีสุข อิ่มเอิบดวยสุขในทางโลก ซ่ึงลวนแตทํา อายตนะท้ังหลายใหร่ืนรมย ใหเพิ่มพูน, คือทาํ ตาใหร่ืนรมย ให เพ่ิมพูนดวยรูปที่เปนสุภนิมิต (สวยงาม) มากมายหลายอยาง ทําหูใหรื่นรมยดวยเสียงที่เปนสุภนิมิต (ไพเราะ) มีเสียงขับรอง

๒๐๐ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา เสียงบรรเลงเปนตน แตละอยางลวนนาชอบใจ, ทําจมูกให ร่ืนรมย ใหเพิ่มพูนดวยกลิ่นท่ีเปนสุภนิมิต (หอม) มากมายหลาย อยาง มีกล่ินดอกไม กล่ินใบ กลิ่นเปลือก กล่ินราก กลิ่นแกน เปนตน แตละอยางลวนนาชอบใจ, ทําล้ินใหรื่นรมย ใหเพิ่มพูน ดวยรสท่ีเปนสุภนิมิต (อรอย) มากมายหลายอยาง จากของ เค้ียว ของกิน ของด่ืม ของเลีย ของล้ิมแตละอยางลวนนาชอบใจ, ทาํ กายใหร่ืนรมย ใหเพิ่มพูนดวยผัสสะท่ีเปนสุภนิมิต (นุม, อบอุน ฯลฯ) มากมายหลายอยาง ซึ่งละเอียด สุขุมออนนุม แตละอยาง ลวนนาชอบใจ, ทําใจใหร่ืนรมย ใหเพิ่มพูนดวยมนสิการและการ ตรึกนึกถึงอารมณมากมายหลายอยางอันเปนบุญบาง บาปบาง ดีบาง ไมดีบาง ซ่ึงแตละอยางลวนนาชอบใจ. พวกทานพากันละ กาํ จัด บั่นทอน ตัดขาด ปองกัน ขัดขวางความร่ืนเริง ความ เพ่ิมพูนแหงตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ น้ันเสีย เพราะเหตุน้นั จึง เรารอนท้ังกาย, เรารอนท้ังจิต. เม่ือกายเรารอน ก็ช่ือวาเสวย ทุกขเวทนาทางกาย, เม่ือจิตเรารอน ก็ช่ือวาเสวยทุกขเวทนาทาง ใจ. แมมาคันทิยะปริพพาชกเม่ือจะตําหนิพระผูมีพระภาค ก็ได กลาวอยางนี้วา ‘ภูนหโน สมโณ โคตโม๑ - พระสมณโคตมะ เปนผูกําจัดความเจริญ’ ดังน้ี มิใชหรือ. ที่วามานี้ เปนเหตุผล ในความขอนี้ ซ่ึงเปนเหตุใหขาพเจากลาวไดวา พระนิพพานเจือ ดวยทุกข.”                                                ๑. ม. ม. ๑๓/๒๔๕.

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๐๑ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระนิพพานมไิ ดเ จอื ดวย ทุกขห รอก, พระนพิ พานเปนสขุ โดยสว นเดียว. ขอถวายพระพร ขอ ท่ีพระองคตรัสวา พระนิพพานเปนทุกข ขึ้นชื่อวาพระนิพพานหา เปนทุกขไม, ก็ขอที่พระองคตรัสมาน้ี เปนขอปฏิบัติอันเปนสวน เบ้ืองตน เพอื่ อันกระทาํ พระนพิ พานใหแจง , ขอ ทพี่ ระองคต รสั มาน้ี เปนขอปฏิบัติอันเปนการแสวงหาพระนิพพาน, ขอถวายพระพร พ ร ะ นิ พ พ า น เ ป น สุ ข โ ด ย ส ว น เ ดี ย ว ไ ม เ จื อ ด ว ย ทุ ก ข ห ร อ ก . อาตมภาพจะขอกลาวเหตุผลในคาํ ท่ีวาน้ี, ขอถวายพระพร ชื่อวา รัชชสขุ (สุขในการครองราชย) แหงพระราชาทง้ั หลาย มีอยูหรือ?” พระเจามิลินท : “ใช พระคุณเจา รัชชสุขแหงพระราชา ท้ังหลาย มีอยู.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร รัชชสุขน้ัน เปนสุขท่ีเจือ ดว ยทกุ ขหรอื ไร?” พระเจา มลิ นิ ท : “หามิได พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เม่ือหัวเมืองปลายแดน เกิดกาํ เริบข้ึน (ถาหากวารัชชสุขไมเจือดวยทุกข) เพราะเหตุไร พวกพระราชาเหลานนั้ จึงทรงมพี วกอํามาตย พวกแมท ัพ พวกขา- ราชบริพาร พวกไพรพลแวดลอม เสด็จนิราศไปเพื่อปราบปราม พวกชาวเมืองปลายแดนเหลาน้ัน, ทรงถูกเหลือบยุง สายลม แสงแดดเบียดเบียน เสด็จทองไปในท่ีขรุขระ, ทั้งยังจะตองทาํ การ รบคร้ังใหญ, ท้ังยงั จะอาจสิน้ พระชนมไดเ ลา?”

๒๐๒ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจา ขอท่ีกลาวมานี้ หาช่ือวา รัชชสุข ไม, ขอที่วามาน้ี เปนเพียงการกระทาํ อันเปนสวนเบื้องตน แหงการแสวงหารัชชสุข, พระคุณเจานาคเสน พวกพระราชาคร้ัน แสวงหาราชสมบัติไดแลว ก็ไดทรงเสวยรัชชสุข, พระคุณเจา นาคเสน รัชชสุขไมเจือดวยทุกขตามท่ีกลาวมาน้ีหรอก, รัชชสุข เปนอยางหนึ่ง, ทุกขเปนอีกอยางหนึ่ง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน พระนิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว, หาเจือดวย ทุกขไ ม. แตว า บคุ คลเหลา ใดแสวงหาพระนิพพาน บุคคลเหลานัน้ มีอันตองทํากายและจิตใหรอนรุม ตองกําหนดการยืน การเดิน การนั่ง การนอน และอาหาร ตองกําจัดความโงกงวง ตองบังคับ อายตนะ ตองสละทั้งกายทั้งชีวิต, คร้ันแสวงหาพระนิพพานไป ดวยความลาํ บากแลว จึงไดเสวยพระนิพพานอันเปนสุขโดยสวน เดียว, ดุจพระราชากําจัดขาศกึ ไดแลวก็ไดเ สวยรัชชสขุ ฉะนั้น. ขอ ถวายพระพร พระนิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว ไมเจือดวยทุกข พระนิพพานกเ็ ปน อยา งหนง่ึ ทุกขก็เปน อกี อยา งหนงึ่ ดงั กลา วมานี้. ขอถวายพระพร ขอพระองคจงทรงสดับเหตุผลที่วา ‘พระนิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว ไมเจือดวยทุกข พระนิพพาน เปนอยางหนึ่ง ทุกขเปนอีกอยางหน่ึง’ ท่ีย่ิงกวา แมอีกอยางหน่ึง เถิด, ขอถวายพระพร ช่ือ ศิลปสุข (สุขในงานศิลปะ) แหงพวก อาจารยทั้งหลายผูมีวิชาศิลปะ มีอยูหรือ?”

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๐๓ พระเจามิลินท : “ใช ศิลปสุขแหงอาจารยทั้งหลายผูมี วิชาศิลปะ มีอยู พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ศิลปสุขน้ัน เปนสุขท่ี เจือดวยทุกขหรือ?” พระเจามิลินท : “หามิได พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร พวก อาจารยเหลาน้ันจึงทาํ กายใหเดือดรอนดวยการกราบไหว การ ลุกรับอาจารย, ดวยการตักนา้ํ การกวาดถูเรือน การคอยมอบ ไมชาํ ระฟน นาํ้ ลางหนาเขาไปใหอาจารย, ดวยการรับของเหลือ- เดน การนวดเฟน การอาบน้ําให การระบมเทาใหแกอาจารย, ดวยการละวางความคิดของตนเสีย คอยคลอยตามความคิด ของผูอ่ืน, ดวยการนอนเปนทุกข ดวยอาหารที่ไมเหมาะสม เลา?” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอที่วามาน้ี ไม ช่ือวาเปนศิลปสุขหรอก, ท่ีวามานี้เปนเพียงการกระทาํ อันเปน สวนเบื้องตน แหง การแสวงหาศิลปสขุ , พระคุณเจา นาคเสน พวก อาจารยท ั้งหลาย ครัน้ แสวงหาวชิ าศิลปะไดด วยความยากลําบาก แลว ก็ยอมไดเสวยศิลปสุข, พระคุณเจานาคเสนศิลปสุขมิไดเจือ ดวยทกุ ข ตามทก่ี ลา วมานหี้ รอก, ศลิ ปสุขนน้ั เปน อยางหน่งึ , ทุกข เปนอีกอยา งหนง่ึ ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน พระนิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว, ไมเจือดวย

๒๐๔ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ทุกข. แตวาบุคคลเหลาใดแสวงหาพระนิพพาน บุคคลเหลาน้ัน ตองทํากายและจิตใหรอนรุม ตองกาํ หนดการยืน การเดิน การนั่ง การนอน และอาหาร ตองกําจัดความโงกงวง ตองบังคับอายตนะ ตองสละท้ังกายท้ังชีวิต, คร้ันแสงหาพระนิพพานไดดวยความ ยากลาํ บากแลว จึงไดเสวยพระนิพพานอันเปนสุขโดยสวนเดียว ดุจพวกอาจารยไดเสวยศิลปสุขฉะนั้น, ขอถวายพระพร พระ- นิพพาน ช่ือวาเปนสุขโดยสวนเดียว ไมเจือดวยทุกข พระนิพพาน เปนอยางหนึ่ง ทุกขก็เปนอีกอยางหน่ึง ดังกลาวมาน้ี.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามท่ีทานกลาวมากระน้ี นี้.” จบเอกันตสุขนิพพานปญหาท่ี ๙ คาํ อธิบายปญหาที่ ๙ ปญหาเก่ียวกับพระนิพพานซ่ึงมีสุขโดยสวนเดียว ช่ือวา เอกันตสุขนิพพานปญหา. คาํ วา มีอนั ตองกําหนดการยืน ฯลฯ และอาหาร คือมี อันตองกําหนดประโยชนในการยืน ฯลฯ และอาหาร มีความ สาํ รวมในการใชอิริยาบถท้ังหลาย และในการบริโภคอาหารทั้ง รูจักกําหนดประมาณในอาหารน้ัน. คําวา มอี นั ตองกาํ จดั ความโงกงวง พระราชาตรัสหมาย เอาความเปนผูไมมักมากดวยสุขในการเอน การนอน การหลับ ทวา ทําเวลาใหลวงไปดวยการปรารภความเพียร ติดตอกัน.

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๐๕ คําวา ตองบังคับอายตนะ คือตองสํารวมอินทรียท่ีเปน อายตนะ มีตาเปนตน. อารมณทั้งหลาย มีรูปสวย ๆ เสียงเพราะ ๆ เปนตน ช่ือ วา สุภนิมิต เพราะเปนเหตุเกิดข้ึนแหงราคะ ซ่ึงไดชื่อวา “สุภะ (ดีงาม)” เพราะทําใจใหนอมไปวา “ดี, งาม”. คําวา ศลิ ปสุข คอื ความสขุ ท่ีเกิดจากความสําเรจ็ ในการ ประกอบงานศิลปะ. คาํ วา ดวยการกราบไหว การลุกรับอาจารย คือดวย การกราบไหว การลุกรับอาจารยรุนกอน ๆ สมัยที่ตนยังเปนศิษย เรียนวิชาศิลปะจากอาจารยเหลาน้ันอยู. คําวา ดวยการละวางความคิดของตนเสีย เปน ตน คอื เมื่อความคิดของตนไมเหมือนความคิดของผูอื่นคืออาจารยก็ ระงับความคิดของตนเสีย ประพฤติคลอยตามความคิดของ อาจารยดวยอาํ นาจความเคารพนับถือ. ความวา ขอปฏิบัติเพ่ือทําพระนิพพานใหแจง ท่ีเปนไป กอนหนาการทําพระนิพพานใหแจงเทานั้น เจือดวยทุกข หาใช พระนิพพานไม พระนิพพานเปนสุขโดยสวนเดียว เพราะเหตุนั้น น่ันแหละ พระผูมีพระภาคจึงตรัสไววา “นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ๑ - พระนิพพานเปนสุขอยางย่ิง.” จบคาํ อธิบายปญ หาที่ ๙                                                ๑. ข.ุ ธ. ๒๕/๕๖.

๒๐๖ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ปญหาท่ี ๑๐, นิพพานรูปสัณฐานปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาวถึงส่ิงใด วา ‘พระนิพพาน พระนิพพาน’ ทานอาจท่ีจะบงชี้ถึงสีก็ดี สัณฐาน ก็ดี วัยก็ดี ขนาดก็ดี แหงพระนิพพานนั้น โดยอุปมาก็ดี โดยเหตุก็ ดี โดยนัยก็ดี ไดหรือไม?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระนิพพาน เปนส่ิงท่ีอะไร ๆ ก็หาสวนเปรียบมิได, จึงไมอาจท่ีจะบงช้ีถึงสีก็ดี สัณฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาดก็ดี แหงพระนิพพานนั้น โดยอุปมาก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยก็ดี ได.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน ขอ ที่ทา นไมอ าจทํา ใหร ูสีกด็ ี สัณฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาดกด็ ี แหง พระนพิ พานนน้ั โดย อุปมาก็ดี โดยเหตกุ ็ดี โดยนัยก็ดีไดน ้ี ขา พเจายังยอมรบั ไมไ ดห รอก, ขอจงทําใหข า พเจา เขา ใจดว ยเหตผุ ล เถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เอาละ อาตมภาพจะ ขอถวายพระพร ทาํ ใหพระองคไดทรงเขาพระทัยดวยเหตุผล, ขอถวายพระพร ขึ้นชื่อวา มหาสมุทร ยอมมีอยูใชไหม?” พระเจามิลนิ ท : “ใช พระคณุ เจา มหาสมทุ รน้ี มอี ย.ู ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาหากวา ใคร ๆ จะพึง ทูลถามพระองคอยางนี้ วา ‘ขาแตมหาราชเจา น้ําในมหาสมุทร มีเทาไร, สัตวท่ีอาศัยอยูในมหาสมุทรมีเทาไร พระเจาขา?’ ดังน้ี. พระองคทรงถูกทูลถามอยางนี้ จะพึงตรัสตอบคนผูน้ันวา กระไร?”

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๐๗ พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากใคร ๆ พึง ถามขาพเจาอยางน้ี วา ‘ขาแตมหาราชเจา นาํ้ ในมหาสมุทรมี เทา ไร, สัตวท ีอ่ าศยั อยูใ นมหาสมทุ รมเี ทา ไร พระเจา ขา ?’ ดังน้ี ไซร พระคุณเจา ขาพเจาจะพึงตอบเขาอยางนี้วา ‘น่ีแนะพอมหา จําเริญเอย เธอถามฉันถึงส่ิงท่ีไมควรถามเลย, นี่เปนคําถามท่ีไม นาถาม, นี่เปนปญหาท่ีควรพักไว. มหาสมุทรเปนสิ่งที่นักบรรยาย เร่ืองโลกท้ังหลาย (กลาว) จําแนกมิได, ใคร ๆ ไมอาจท่ีจะนับนาํ้ ในมหาสมุทร หรือสัตวผเู ขาไปอยูในมหาสมุทรนั้นได’ ขาพเจาจะ พึงใหคาํ ตอบแกเขาอยางน้ี.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ก็แตวา เมื่อมหาสมุทรมี อยเู ปน ธรรมดา เพราะเหตุไรพระองคจึงทรงใหพระดํารัสตรัสตอบ อยางน้ีเลา, ก็นาจะทรงนับแลวตรัสตอบเขาไปวา ‘นา้ํ ใน มหาสมุทรมีเทาน้ี, และสัตวจาํ นวนเทาน้ี อาศัยอยูในมหาสมุทร’ ดังน้ี มิใชหรือ?” พระเจามิลินท : “ไมอาจบอกไดหรอก พระคุณเจา, ปญหานี้ไมใชวิสัย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ใคร ๆ กย็ ังไมอาจนับนาํ้ ในมหาสมุทรซึ่งมอี ยูเปน ธรรมดาหรอื สตั วผ ูเขาไปอยใู นมหาสมทุ ร น้ันได ฉันใด, ขอถวายพระพร ใคร ๆ ก็ไมอาจท่ีจะบงช้ีสีก็ดี สัณฐานก็ดี วยั ก็ดี ขนาดก็ดี แหงพระนิพพานซง่ึ มอี ยูเ ปน ธรรมดา โดยอุปมากด็ ี โดยเหตกุ ด็ ี โดยนยั กด็ ี ไดฉนั นัน้ , ขอถวายพระพร ภิกษุผูมีฤทธิ์ ถึงความชาํ นาญแหงจิต อาจนับนา้ํ ในมหาสมุทร

๒๐๘ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา และสตั วผ ูอ าศยั อยใู นมหาสมุทรนัน้ ได, แตวา ภิกษผุ มู ีฤทธิ์ ผูถงึ ความชํานาญแหงจิตน้ัน ไมอาจจะบงชี้สีก็ดี สัณฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาดก็ดี แหงพระนิพพาน โดยอุปมาก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยก็ดี ไดเ ลย. ขอถวายพระพร ขอพระองคจงทรงสดับเหตุผลในขอท่ีวา ใคร ๆ ไมอาจท่ีจะบงชี้สีก็ดี สัณฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาดก็ดี แหง พระนิพพานซึ่งมอี ยเู ปนธรรมดา โดยอุปมาก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัย ก็ดี ที่ย่ิงข้ึนไป แมอีกสักขอหนึ่งเถิด. ขอถวายพระพร ในบรรดา เทวดาท้ังหลาย เทวดาที่ชื่อวาพวกไมมีรูปกาย ก็มีอยูใชหรือ ไม? ” พระเจามิลินท : “ใช พระคุณเจา ขาพเจาก็ไดยินมาวา ในบรรดาเทวดาท้ังหลาย เทวดาที่ช่ือวา พวกไมมีรูปกาย มีอยู.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ใคร ๆ อาจทีจ่ ะบงชีส้ ีก็ดี สัณฐานกด็ ี วยั กด็ ี ขนาดก็ดี แหงพวกเทวดาผูไ มมรี ปู กายเหลา น้นั โดยอุปมาก็ดี โดยเหตกุ ด็ ี โดยนยั ก็ดี ไดหรอื ไม?” พระเจา มิลนิ ท : “มิไดห รอก พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาอยางน้ัน เทวดาพวก ไมมีรูปกาย ก็ไมมีอยูจริง.” พระเจา มิลนิ ท : “เทวดาพวกไมมีรปู กายมีจริง พระคณุ เจา, แตวาใคร ๆ ไมอาจท่ีจะบงช้ีสีก็ดี สัณฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาด ก็ดี แหงเทวดาเหลาน้ัน โดยอุปมาก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยก็ดี ไดเลย.”

วรรคท่ี ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๐๙ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไมอาจที่จะบงชี้สี ก็ดี ฯลฯ แหง เทวดาผไู มม รี ูปกายซ่ึงเปนสตั วที่มีอยูจรงิ โดยอปุ มา ก็ดี ฯลฯ ได ฉันใด, ขอถวายพระพร ใคร ๆ ก็ไมอาจท่ีจะบงชี้สี ก็ดี ฯลฯ แหงพระนิพพานท่ีมีอยูเปนธรรมดา โดยอุปมาก็ดี ฯลฯ ได ฉนั นน้ั เหมอื นกนั ..” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระนิพพานจะ เปนสุขโดยสวนเดียว, ทั้งใคร ๆ ไมอาจท่ีจะบงช้ีสีก็ดี ฯลฯ แหงพระนิพพานนั้น โดยอุปมาก็ดี ฯลฯ ไดเลยก็ตามทีเถิด. แตวา คุณ (คุณสมบัติ) ของพระนิพพานที่พอจะแสดงใหเห็นโดยอุปมา เปรียบเทียบกับคุณ (คุณสมบัติ) ของสิ่งอ่ืน ๆ สักเล็กนอย มีอยู บางหรือไม?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร คุณของพระนิพพานที่ เปรียบเทียบกันไดกับคุณของสิ่งอ่ืน ๆ โดยสภาวะที่มีอยู ไมมีหรอก, แตวาบัณฑิตอาจท่ีจะช้ีถึงพระนิพพานโดยคุณ เพียงเปนการแสดงใหเห็นโดยอุปมาสักเล็กนอยได.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอไดโปรดบอก กลาวโดยประการที่ขาพเจาจะไดความแจมแจงพระนิพพาน แมโดยคุณ สักสวนหน่ึง เร็ว ๆ เถิด, ขอจงดับ จงกาํ จัดความ รอนใจของขาพเจาดวยสายลม คือคาํ พูดที่เยือกเย็น ไพเราะ นาฟงเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร คุณอยางหน่ึงของ ดอกปทุมเทียบกันไดกับพระนิพพาน, คุณ ๒ อยางของนํ้า...,

๒๑๐ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา คุณ ๓ อยางของยาแกพิษ..., คุณ ๔ อยางของมหาสมุทร....., คุณ ๕ อยางของโภชนะ..., คุณ ๑๐ อยางของอากาศ..., คุณ ๓ อยางของแกวณี..., คุณ ๓ อยางของจันทนแดง..., คุณ ๓ อยางของหัวเนยใส..., คุณ ๕ อยางของยอดเขา เทียบ กันไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณอยางหน่ึงของดอกปทุมเทียบไดกับพระนิพพาน’ ดังน้ี ขอ ถามวา คุณอยางหน่ึงของดอกปทุม คืออะไร ซ่ึงเทียบกันไดกับ พระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา นา้ํ ฉาบติดดอกปทุมมิได ฉันใด, ขอถวายพระพร กิเลสทั้งหลาย ท้ังปวง ก็ฉาบติดพระนิพพานมิได ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวาย พระพร น้ีคือคุณอยางหนึ่งของดอกปทุมที่เทียบกันไดกับ พระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คณุ ๒ อยา งของน้ําเทยี บกันไดก บั พระนพิ พาน’ ดังนี้ ขอถามวา คณุ ๒ อยางของนา้ํ คืออะไรบา ง ซงึ่ เทยี บกันไดกบั พระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา นาํ้ เยน็ ใชดับความเรา รอ นได ฉันใด, พระนพิ พานกเ็ ยอื กเย็น ใชดับความ เรารอนคือกิเลสท้ังหลายท้ังปวงได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวาย พระพร นี้คือคุณอยางท่ี ๑ ของนาํ้ ท่ีเทียบกันไดกับพระนิพพาน.

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๒๑๑ ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวาน้าํ ใชเปนเครื่องกาํ จัดความกระหายของสัตวท้ังหลาย ท้ังคนท้ัง สัตวเล้ียงผูเหน็ดเหน่ือยคอแหง กระหายนา้ํ ถูกความรอนแผด เผาได ฉันใด, พระนิพพานก็ใชเปนเครื่องกาํ จัดความกระหาย คือกามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหาได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือคุณของนาํ้ อยางท่ี ๒ ซ่ึงเทียบกันไดกับ พระนิพพาน. ขอถวายพระพร คุณ ๒ อยาง ของนาํ้ เหลานี้แล เทียบกันไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน. ทานกลาววา ‘คุณ ๓ อยางของยาแกพิษเทียบกันไดกับคุณของพระนิพพาน’ ดังนี้ ขอถามวา คุณ ๓ อยางของยาแกพิษคืออะไรบาง ซึ่งเทียบ กันไดก ับพระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ยาแก พิษ ใชเปนเครื่องถอนพิษสาํ หรับสัตวท้ังหลายผูถูกพิษบีบค้ันได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็ใชเปนเครื่องถอนพิษ สําหรบั สัตวท ง้ั หลายผถู กู พษิ คอื กิเลสบีบคนั้ ได ฉนั นั้นเหมอื นกนั , ขอถวายพระพร นค้ี อื คณุ อยา งที่ ๑ ของยาแกพ ิษ ซ่ึงเทยี บกนั ได กบั พระนพิ พาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา ยา แกพิษ ทําความเจ็บปวยท้ังหลายใหสิ้นสุดไป ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระนิพพานก็ทําทุกขท้ังหลายทั้งปวงใหส้ินสุดไปฉันนั้น

๒๑๒ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือคุณอยางที่ ๒ ของยาแกพิษ ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวายา แกพิษ เปนยาอมตะ (ชวยไมใหตาย) ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนพิ พานก็เปน อมตะ ฉันน้ันเหมอื นกัน. ขอถวายพระพร นเ้ี ปน คุณอยางท่ี ๓ ของยาแกพิษ ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร คุณ ๓ อยางของยาแกพิษเหลานี้แล เทียบกัน ไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๔ อยางของมหาสมุทรเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังนี้ ขอถามวา คุณ ๔ อยางของมหาสมุทร คืออะไรบาง ซึ่งเทียบกัน ไดกับพระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา มหาสมุทรวางเปลาจากซากศพท้ังปวง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็วางเปลาจากซากศพ คือกิเลสทั้งหลายท้ังปวง ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือคุณอยางท่ี ๑ ของ มหาสมุทร ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา มหาสมุทรใหญโต มองไมเ ห็นฝงขางโนน , ไมเตม็ ดวยนาํ้ ท่ีไหลมา จากที่ทั้งปวง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็ใหญโต มองไมเห็นฝง, ไมเต็มดวยสัตวท้ังปวง ฉันน้ันเหมือนกัน.

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๒๑๓ ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๒ ของมหาสมุทร ซ่ึงเทียบกัน ไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา มหาสมุทรเปนท่ีอยูของภูต (สัตว) ใหญ ๆ ท้ังหลาย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปนท่ีอยูของภูตใหญ ๆ คือ พระอรหันตผูปราศจากมลทิน ถึงกําลังแหงพระขีณาสพ เปน วสีภูต เปนมหาภูต ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือคุณ อยางท่ี ๓ ของมหาสมุทร ท่ีเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา มหาสมุทรมีดอกไมแยมบาน คือ คลื่นลูกใหญ ๆ หลากหลาย ประมาณมิได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็มีดอกไม แยมบาน คือวิชชาและวิมุตติอันบริสุทธ์ิ ไพบูลย หลากหลาย ประมาณมิได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ี คือคุณอยาง ท่ี ๔ ของมหาสมุทร ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวาย พระพร คุณ ๔ อยางของมหาสมุทรเหลานี้แล เทียบกันไดกับ พระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๕ อยางของโภชนะเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังน้ี ขอถามวาคุณ ๕ อยางของโภชนะ คืออะไรบาง ซ่ึงเทียบกันได กับพระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา โภชนะ เปนส่ิงที่ทรงอายุของสัตวทั้งหลายทั้งปวงไว ฉันใด, ขอถวาย

๒๑๔ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา พระพร พระนิพพานท่ีบุคคลไดกระทาํ ใหแจงแลว ก็เปนส่ิงทรง อายุ โดยการทําชราและมรณะใหพินาศไป ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๑ ขอโภชนะซ่ึงเทียบกันได กับพระนพิ พาน. ขอถวายพระพร ยังมอี ีกอยา งหนง่ึ เปรยี บเหมือนวา โภชนะ เปนส่ิงท่ีเจริญกําลังแกสัตวทั้งหลายทั้งปวงไว ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระนิพพานท่ีบุคคลไดกระทําใหแจงแลว ก็เปนส่ิงเจริญ กําลัง คือฤทธ์ิ แกส ตั วทง้ั หลายทง้ั ปวง ฉันนน้ั เหมอื นกนั , ขอถวาย พระพร นี้คือคุณอยางท่ี ๒ ของโภชนะซึ่งเทียบกันไดกับพระ นพิ พาน. ขอถวายพระพร ยังมอี ีกอยา งหนงึ่ เปรียบเหมือนวา โภชนะ เปนสงิ่ ใหเกดิ วรรณะ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนพิ พานที่บคุ คล ไดกระทาํ ใหแจงแลว ก็เปนส่ิงใหเกิดวรรณะคือคุณธรรม ฉันน้ัน เหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๓ ของโภชนะ ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา โภชนะ เปนเครื่องสงบความกระวนกระวายของสัตวท้ังหลาย ทงั้ ปวงได ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานทีบ่ ุคคลไดกระทาํ ใหแจงแลว ก็เปนเคร่ืองสงบความกระวนกระวาย คือกิเลส ทั้งปวงของสัตวท้ังหลายทั้งปวงได ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวาย พระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๔ ของโภชนะ ซ่ึงเทียบกันไดกับ พระนิพพาน.

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๑๕ ขอถวายพระพร ยังมีอกี อยา งหน่ึง เปรยี บเหมือนวา โภชนะ เปนเคร่ืองบรรเทาความหิวความออนเพลียของสัตวท้ังหลายท้ัง ปวงได ฉนั ใด, พระนพิ พานทีบ่ ุคคลไดก ระทาํ ใหแ จง แลว ก็เปน เคร่ืองบรรเทาความหิว ความออนเพลีย คือทุกขท้ังปวงของสัตว ทั้งหลายทั้งปวงได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือคุณ อยางท่ี ๕ ของโภชนะ ซึ่งเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวาย พระพร คุณ ๕ อยางของโภชนะเหลาน้ีแล เทียบกันไดกับพระ นพิ พาน.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลา ววา ‘คุณ ๑๐ อยางของอากาศเทียบกนั ไดกับพระนพิ พาน’ ดงั นี้ ขอถามวา คุณ ๑๐ อยางของอากาศ คืออะไรบาง ซึ่งเทียบกันไดกับพระ นิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา อากาศ ไมเ กดิ , ไมแ ก, ไมตาย, ไมเคล่อื น, ไมอุปบตั ,ิ ขม ข่ีไดย าก, โจร ปลนเอาไปไมไ ด, ไมต อ งอิงอาศยั สิ่งอื่น, เปน ทีด่ ําเนินไปแหงวหิ ค, ไมม ีสง่ิ ขวางกนั้ , หาทีส่ ดุ มิได ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระนพิ พาน ก็ไมเกิด, ไมแก, ไมตาย, ไมเคลื่อน, ไมอุปบัติ, ขมข่ีไดยาก, โจร ปลนเอาไปไมได, ไมอิงอาศัยส่ิงอ่ืน, เปนที่ดําเนินไปแหงพระ อริยเจา, ไมมีสิ่งขวางก้ัน, หาที่สุดมิได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอ ถวายพระพร คุณ ๑๐ อยาง ของอากาศเหลาน้ีแล เทียบกันได กับพระนิพพาน.”

๒๑๖ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๓ อยางของแกวมณีเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังนี้, ขอถามวา คุณ ๓ อยา งของแกวมณี คืออะไรบา ง ซ่ึงเทยี บกนั ได กับพระนพิ พาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา แกวมณี มอบแตความนาพึงพอใจ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็ มอบแตความนาพึงพอใจ ฉันน้ันเหมือนกัน ขอถวายพระพร น้ีคือ คุณของแกวมณีอยางที่ ๑ ซึ่งเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา แกวมณีสรางแตความบันเทิงใจ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ- นิพพานก็สรางแตความบันเทิงใจ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร นี้คือคุณอยางที่ ๒ ของแกวมณี ซ่ึงเทียบกันไดกับพระ นิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา แกวมณีสรางแตแสงโชติชวง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ- นิพพานก็สรางแตแสงโชติชวง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๓ ของแกวมณี ซึ่งเทียบกันไดกับพระ นิพพาน. ขอถวายพระพร คุณ ๓ อยางของแกวมณีเหลานี้แล เทียบกันไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๓ อยางของจันทนแดงเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังน้ี

วรรคท่ี ๓, เวสสันตรวรรค ๒๑๗ ขอถามวา คุณ ๓ อยางของจันทนแดง คืออะไรบาง ซ่ึงเทียบ กันไดกับพระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวาจันทน แดงเปนสิ่งที่หาไดยาก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็ เปนสิ่งที่หาไดยาก ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือคุณ อยางที่ ๑ ของจันทนแดง ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา จันทนแดงมีกลิ่นหอม หากล่ินอ่ืนเสมอเหมือนมิได ฉันใด, ขอ ถวายพระพร พระนิพพานก็มีกลิ่นหอม หากลิ่นอื่นเสมอเหมือน มิได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๒ ของ จันทนแดง ซึ่งเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา จันทนแดง เปนส่ิงท่ีชนท้ังปวงสรรเสริญ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปนส่ิงท่ีพระอริยเจาสรรเสริญ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๓ ของจันทนแดง ซึ่งเทียบกัน ไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร คุณ ๓ อยางของจันทนแดง เหลานี้แล เทียบกันไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๓ อยางของหัวเนยใสเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังนี้ ขอถามวา คุณ ๓ อยางของหัวเนยใส คืออะไรบาง ท่ีเทียบกัน ไดกับพระนิพพาน?”

๒๑๘ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา หัวเนย ใส เปนธรรมชาติที่ถึงพรอมดวยสีสัน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนพิ พานกเ็ ปนสง่ิ ท่ถี งึ พรอมดว ยสีสันคือคุณ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๑ ของหัวเนยใส ซ่ึงเทียบกันได กับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา หัว เนยใส เปนธรรมชาติท่ถี ึงพรอมดวยกล่ิน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปนส่ิงที่ถึงพรอมดวยกลิ่นคือศีล ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๒ ของหัวเนยใส ซึ่งเทียบกันได กับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา หัว เนยใส เปนธรรมชาติท่ถี ึงพรอมดวยรส ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปนส่ิงท่ีถึงพรอมดวยรส (คือวิมุตติ) ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือคุณอยางท่ี ๓ ของหัวเนยใส ซึ่ง เทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร คุณ ๓ อยางของ หัวเนยใสเหลาน้ีแล เทียบกันไดกับพระนิพพาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘คุณ ๕ อยางของยอดเขาเทียบกันไดกับพระนิพพาน’ ดังน้ี ขอถามวา คุณ ๕ อยางของยอดเขา คืออะไรบาง ที่เทียบกัน ไดกับพระนิพพาน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ยอด เขาเปนสวนที่สูงย่ิง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปน

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๒๑๙ สวนท่ีสูงยิ่ง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๑ ของยอดเขา ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา ยอดเขาเปนส่ิงที่หาความสั่นไหวมิได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปนส่ิงท่ีหาความส่ันไหวมิได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๒ ของยอดเขา ซ่ึงเทียบกัน ไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา ยอดเขาเปนสิ่งท่ีใคร ๆ ปนข้ึนไปไดยาก ฉันใด, ขอถวายพระ พร พระนิพพานก็เปนที่กิเลสท้ังหลายท้ังปวงยางขึ้นไดยาก ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางที่ ๓ ของ ยอดเขา ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา ยอดเขาไมเปนท่ีงอกงามแหงพืชทั้งหลายทั้งปวง ฉันใด, ขอ ถวายพระพร พระนิพพานก็ไมเปนท่ีงอกงามแหงกิเลสทั้งหลาย ท้ังปวง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๔ ของยอดเขา ซ่ึงเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา ยอดเขาพนแลวจากความยินดีและความยินราย ฉันใด, ขอ ถวายพระพร พระนิพพานก็พนแลวจากความยินดีและความ ยินราย ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือคุณอยางท่ี ๕ ของยอดเขา ซึ่งเทียบกันไดกับพระนิพพาน. ขอถวายพระพร

๒๒๐ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา คุณ ๕ อยางของยอดเขาเหลานี้แล เทียบกันไดกับพระ นิพพาน.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมาน้ี.” จบนิพพานรูปสัณฐานปญหาที่ ๑๐ คําอธิบายปญหาท่ี ๑๐ ปญหาเก่ียวกับสีและสัณฐานแหงพระนิพพาน ช่ือวา นพิ พานรูปสัณฐานปญ หา. ช่ือวา ไมอาจท่ีจะบงชี้ถึงสีก็ดี ฯลฯ ขนาดก็ดี ก็ เพราะความที่พระนิพพานนั้นไมมีสี ไมมีสัณฐาน ไมมีวัย ไมมี ขนาด. คาํ วา โดยอุปมา เปนตน ความวา ไมอาจบงช้ีถึงสี เปนตน โดยอุปมา เพราะหาสิ่งอ่ืนที่จะนํามาเปนอุปมา เปรียบ เทียบกับพระนิพพาน เพื่อจะใหทราบถึงสีเปนตน มิได. คาํ วา โดยเหตุ คือ โดยเหตุท่ีทําใหเกิดขึ้น เพราะ พระนิพพานไมมีเหตุ. คาํ วา โดยนัย คือ โดยวิธีการแนะนาํ เฉพาะ เพื่อใหทราบ ถึงสีเปนตน แหงพระนิพพานเพราะพระนิพพานไมมีนัย. คําวา คุณของพระนิพพานที่เปรียบเทียบกันไดกับ คุณของสิ่งอื่น ๆ โดยสภาวะที่มีอยู ไมมีหรอก คือ คุณของ พระนิพพานที่เปรียบเทียบกันไดกับคุณของส่ิงอ่ืน ๆ โดยสภาวะ

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๒๑ ที่มีอยูจริง เชนวา สภาวะท่ีสงบสังขาร เปนตน ไมมีหรอก. คาํ วา เปนวสีภูต คือ เปนสัตวผูบรรลุวสีภาวะ (ความ ชาํ นาญจิต) ดวยอํานาจสมาบัติ ๘ เปนตน, หรือเปนสัตวผูมี อาํ นาจในตน ไมเน่ืองดวยผูอื่น. คาํ วา เปนมหาภูต คือ เปนสัตวผูที่เทวดาและมนุษย ทั้งหลายบูชา หรือเปนสัตวผูมีคุณทั้งหลาย มีศีลคุณเปนตน ที่ยิ่งใหญ. คําวา โดยการทาํ ชราและมรณะใหพ นิ าศไป คอื โดย การทําชราและมรณะใหพินาศไป ตามแนวแหงการทําชาติ (ความเกิด) ใหพินาศไป. พระนิพพานช่ือวาเปนสิ่งท่ีถึงพรอมดวยกล่ิน คือศีล ก็เพราะบุคคลจักเปนผูอาจทาํ พระนิพพานใหแจงได ก็ในเมื่อได ปรารภปฏิปทาท่ีมีการชาํ ระศีลใหบริสุทธ์ิเปนเบ้ืองตนกอนเทาน้ัน และเพราะเม่ือถึงพระนิพพานแลว เขายอมช่ือวาเปนผูมีศีล บรสิ ทุ ธ์ิ มีกลิ่นคือศีลนนั้ หอมฟุงไปแมท วนลม ซงึ่ เปนอันประกาศ ถงึ คณุ านุภาพแหงพระนพิ พาน. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๑๐ ปญหาที่ ๑๑, นิพพานสจั ฉิกรณปญ หา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน พวกทานกลาวกนั วา ‘พระนิพพานไมเปนอดีต, ไมเปนอนาคต, ไมเปนปจจุบัน, ไมใชสิ่งท่ีเกิดข้ึนแลว, ไมใชส่ิงที่ยังไมเกิด, ไมใชสิ่งที่อาจทาํ

๒๒๒ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ใหเกดิ ข้ึนได’ ดังนี้. พระคุณเจานาคเสน บุคคลใดบคุ คลหนง่ึ ใน โลกนีป้ ฏิบตั ชิ อบ กย็ อมกระทําพระนพิ พานใหแ จง ได, บุคคลน้นั กระทาํ พระนิพพานที่เกิดข้ึนแลวใหแจงหรือไร, หรือวากระทาํ พระนิพพานใหเกิดขึ้นแลว จึงกระทาํ ใหแจง เลา?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร บุคคลใด บุคคลหนึ่ง ปฏิบัติชอบ ก็ยอมกระทําพระนิพพานใหแจงได, บุคคลนั้น หาไดกระทาํ พระนิพพานท่ีเกิดข้ึนแลวใหแจงไม, หาได กระทําพระนิพพานใหเกิด แลวจึงกระทําใหแจงไม.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน โปรดอยาแสดง ปญหาน้ีอยางปด ๆ บัง ๆ เลย, โปรดเกิดฉันทะ เกิดอุตสาหะ แสดงอยางเปดเผย อยางปรากฏเถิด, ขอจงเปดเผยพระ นิพพานท่ีทานไดศึกษามาใหหมดเถิด, ในเร่ืองพระนิพพานนี้ ยังมีคนลุมหลง เกิดความคลางแคลงใจ เขาสูความสงสัยกัน อยู, ขอทานจงหักลูกศรที่เสียบอยูภายในใจขอนี้เสียเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร นิพพานธาตุซึ่งสงบ เปนสุข ประณีตน้ี มีอยู, บุคคลผูปฏิบัติชอบ ผูไดพิจารณา สังขารท้ังหลายไปตามคําที่พระชินวรพุทธเจาทรงอนุศาสนไว ยอมกระทาํ พระนิพพานน้ันใหแจงดวยปญญาได, ขอถวาย พระพร เปรียบเหมือนวา ลูกศิษยผูปฏิบัติชอบตามคําที่ อาจารยอนุศาสนไว ยอมกระทาํ วิชชาใหแจงดวยปญญาได ฉันใด, บุคคลผูปฏิบัติชอบตามคาํ ที่พระชินวรพุทธเจาทรง อนุศาสนไว ก็ยอมกระทาํ พระนิพพานใหแจงดวยปญญาได

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๒๒๓ ฉันน้ันเหมือนกัน. ก็บัณฑิตพึงเห็นพระนิพพานนั้น อยางไร. พึงเห็นวาหา เสนียดมิได วาหาอุปททวะ (อันตราย) มิได วาหาภัยมิได วา เกษม วาสงบ วาเปนสุข วานายินดี วาประณีต วาสะอาด วา เยือกเย็น. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหนึ่งกําลังจะ ถูกไฟท่ีลุกติดกองไมแหงหลายกองเผาเอา ก็ใชความพยายาม หนีพนจากกองไฟนั้นได เขาไปอยูในโอกาสที่ปราศจากไฟแลว ก็ไดรับความสุขอยางยิ่งอยู ณ ที่นั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดเปนผูปฏิบัติชอบ บุคคลนั้นก็ยอมใชโยนิโสมนสิการ กระทาํ พระนิพพานอันเปนธรรมท่ีปราศจากความรอนแหงกิเลส ดุจไฟ ๓ กอง อันเปนสุขอยางยิ่ง ใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร บุคคลพึงเห็นกิเลสดุจไฟ ๓ กอง วาเปนดุจกอง ไฟเถิด, พึงเห็นบุคคลผูปฏิบัติชอบ วาเปนดุจบุรุษผูตกไปในกอง ไฟ, พึงเห็นพระนิพพาน วาเปนดุจโอกาสท่ีปราศจากไฟ ฉะน้ัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา บุรุษ คนหน่ึงตกลงไปในกองซากงู ซากไก ซากมนุษย, กองโกฏฐาส อันเปนของเสียจากรางกาย เขาไปในระหวางสถานที่ที่มีแต ซากศพสุมอยูเกล่ือน ก็ใชความพยายามหนีพนจากสถานที่น้ัน ไปได เขาไปสูโอกาสที่ปราศจากซากศพไดแลว ก็ไดรับความสุข อยางยิ่งอยู ณ สถานท่ีน้ัน ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใด เปนผูปฏิบัติชอบ, บุคคลน้ันก็ยอมใชโยนิโสมนสิการกระทํา

๒๒๔ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา พระนิพพานอันเปนธรรมท่ีปราศจากซากศพคือกิเลสเปนสุข อยางย่ิง ใหแจงได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร พึงเห็น กามคุณ ๕ วาเปนดุจซากศพ, พึงเห็นบุคคลผูปฏิบัติชอบ วา เปนบุรุษผูตกไปในกองซากศพ, พึงเห็นพระนิพพานวาเปนดุจ โอกาสท่ีปราศจากซากศพ ฉะน้ันเถิด. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา บุรุษคน หนึ่ง กลัวภัย สะดุง หว่ันหวาด มีจิตวิปริตวุนวาย ก็ใชความ พยายามหนีพนจากสถานที่น้ัน เขาไปสูสถานที่ท่ีแข็งแรงม่ันคง ไมหว่ันไหว ไมมีภัยไดแลวก็ไดรับความสุขอยางย่ิงอยู ณ สถานท่ีนั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดเปนผูปฏิบัติชอบ, บุคคลนั้นก็ยอมใชโยนิโสมนสิการ กระทําพระนิพพานอันเปน ธรรมท่ีปราศจากภัย ความสะดุงกลัว เปนสุขอยางย่ิง ใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร พึงเห็นภัย ท่ีอาศัยชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เปนไปสืบตอกันไป วาเปนดุจภัย, พึงเห็นบุคคล ผูปฏิบัติชอบ วาเปนบุรุษผูกลัวภัย, พึงเห็นพระนิพพาน วาเปน ดุจสถานท่ีท่ีไมมีภัย ฉะน้ันเถิด. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษ คนหนึ่งตกไปในท่ีท่ีเปนแองโคลนตม เลอะเทอะ สกปรก ใช ความพยายามละสถานท่ีที่มีแตเปอกตมนั้นเสีย เขาไปยัง สถานท่ีที่สะอาด ปราศจากมลทินไดแลวก็ไดรับความสุขอยาง ยิ่งอยู ณ สถานที่นั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดเปนผู ปฏิบัติชอบ, บุคคลน้ันก็ยอมใชโยนิโสมนสิการ กระทําพระ

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๒๕ นิพพานอันเปนธรรมท่ีปราศจากเปอกตมคือกิเลส ใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร พึงเห็นลาภสักการและ ช่ือเสียงวาเปนดุจเปอกตม, พึงเห็นบุคคลผูปฏิบัติชอบ วาเปน ดุจบุรุษผูตกไปในเปอกตม, พึงเห็นพระนิพพาน วาเปนดุจ สถานที่ท่ีสะอาดปราศจากมลทิน ฉะน้ันเถิด. ก็แตวา บุคคลผูปฏิบัติชอบ ยอมกระทําพระนิพพานน้ัน ใหแจงวากระไรเลา, ขอถวายพระพร บุคคลผูปฏิบัติชอบยอม พิจารณาสังขารท่ีเปนไปอยู เมื่อพิจารณาสังขารท่ีเปนไปอยู ก็ ยอมเห็นชาติ เห็นชรา เห็นพยาธิ เห็นมรณะในสังขารน้ัน, ยอม ไมเ ห็นความสขุ ความสาํ ราญอะไร ๆ ในสงั ขารนนั้ ไมวาเบื้องตน ไมวาทามกลาง ไมวาที่สุด. บุคคลผูปฏิบัติชอบน้ัน ยอมมอง ไมเห็นอะไร ๆ ท่ีควรเขาไปถือเอาในสังขารน้ัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา เม่ือกอนเหล็กถูกไฟ เผาตลอดทั้งวัน จนรอนจัด ลุกโพลง บุรุษคนหนึ่ง ยอมมองไม เห็นสวนท่ีนาเขาไปจับถือเลยสักสวนหนึ่ง ไมวาตน ไมวากลาง ไมวาปลาย ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดพิจารณาสังขาร ที่เปนไปอยู, บุคคลนั้น เมื่อพิจารณาสังขารท่ีเปนอยูก็ยอมเห็น ชาติ เห็นชรา เห็นพยาธิ เห็นมรณะในสังขารนั้นยอมไมเห็น ความสุขความสาํ ราญอะไร ๆ ในสังขารน้ัน ไมวาเบ้ืองตน ไมวา ทามกลาง ไมวาท่ีสุด ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลผูปฏิบัติชอบนั้น ยอมมองไมเห็นอะไร ๆ ท่ีควรเขาไปถือเอาในสังขารน้ัน, เมื่อ บุคคลผูปฏิบัติชอบนั้น มองไมเห็นสิ่งท่ีควรเขาไปถือเอา ความ

๒๒๖ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ไมยินดีก็ยอมตั้งข้ึนในจิต, ความรอนก็ยอมกาวลงในกาย, เขา น้ันก็เปนผูไมมีที่ตานทาน ไมมีท่ีพ่ึง เปนผูหาอะไร ๆ เปนที่พ่ึง มิได ยอมเบื่อหนายในภพท้ังหลาย. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหน่ึงเขาไปสู กองไฟใหญท่ีมีเปลวลุกโพลง, เขาน้ันเปนผูไมมีที่ตานทาน ไมมี ท่ีพึ่ง เปนผูที่หาอะไร ๆ เปนที่พึ่งมิได ก็พึงเบ่ือหนายในกองไฟ ฉันใด, ขอถวายพระพร เมื่อบุคคลผูปฏิบัติชอบนั้น, มองไมเห็น สิ่งที่ควรเขาไปถือเอา ความไมยินดีก็ยอมตั้งขึ้นในจิตความรอน ก็ยอมกาวลงในกาย, เขาน้ันก็เปนผูไมมีท่ีตานทานไมมีท่ีพึ่ง เปนผูหาอะไร ๆ เปนท่ีพ่ึงมิได ยอมเบ่ือหนายในภพทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน. บุคคลผูมีปกติเล็งเห็นภัยในสังขารที่เปนไปน้ัน ยอมเกิด ความคิดอยางนี้วา สังขารที่เปนไปน้ี รอน แผดเผา ลุกโพลง มีทุกขมาก มีความคับแคนมาก หนอ, ถาหากวาใคร ๆ จะพึงได ธรรมอันหาสังขารเปนไปมิได ซึ่งสงบนี้ ซ่ึงประณีตน้ี ไซร ธรรม อันหาสังขารเปนไปมิไดน้ี ก็ตองไดแกธรรมอันเปนท่ีสงบสังขาร ทั้งปวง เปนท่ีสละอุปธิทั้งปวง เปนท่ีส้ินตัณหา เปนท่ีสาํ รอก ราคะ เปนท่ีดับ (ตัณหา) เปนนิพพาน เม่ือเปนอยางนี้ จิตของ เขาก็ยอมแลนไป ยอมเล่ือมใส ยอมบันเทิง ยอมยินดี ในธรรม อันหาสังขารเปนไปมิไดวา เราไดนิสสรณธรรม (ธรรมที่แลน ออกไปจากทุกข) แลวหนอดังน้ี. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหนึ่งหลงทาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook