Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๗๗ ปจ จัยทที่ ายกนาํ มาถวายดว ยศรทั ธา ทํานองวา ปจจยั มีจีวรเนือ้ ดี เปนตนเหลานั้น ไมเหมาะแกสมณสากยบุตรผูบวชดวยศรัทธา ผูสันโดษดวยปจจัยท่ีมีคานอยเทาที่มี เทาที่ได สาํ หรับจีวรก็ควร จะเปนผาบังสุกุลนั่นแหละ จึงจะเหมาะเปนตน คนเหลาน้ันฟง แลวก็เกิดความเลื่อมใส มีประมาณย่ิง ๆ ขึ้นไป ดวยคิดวา “พระคุณเจารูปนี้ เปนผูมักนอย สันโดษเสียจริงหนอ เห็นทีวา ทานจะเปนผูมีคุณวิเศษ”, ดังน้ีแลว ก็เที่ยวปาวประกาศใหคน ทั้งหลายไดทราบ คนเหลาน้ันมีจิตเล่ือมใสย่ิง พวกเขาเหลาน้ัน คดิ วา “การใหแ กท านผูประเสริฐเหน็ ปานฉะน้ี ยอ มมผี ลตอบแทน มากมาย ไมอ าจประมาณได” ดงั นแ้ี ลว กพ็ ากนั เขา ไปออนวอน ใหทานรับของของตน ภิกษุผูมักมากคะเนวา เวลาน้ี ปจจัยที่เขา นาํ มาถวายตนน้ันรวมกันแลวก็มีมากมาย สมตามท่ีกะการณไว จึงกลาวกะคนเหลานั้นวา “เอาละ ทานทั้งหลาย ปจจัยที่ทาน ทั้งหลายหาไดมาดวยความบริสุทธ์ิ ก็มีอยู ทายกผูมีศรัทธาจะ ถวายคือทานทั้งหลาย ก็มีอยู. อาตมภาพผูเปนปฏิคาหก ก็มีอยู เม่ือองค ๓ พรอมเพรียงกันอยางนี้แลว การท่ีอาตมาจะปฏิเสธ ไมยอมรับปจจัยเหลานี้อีก ท้ัง ๆ ท่ีพวกทานออนวอนกันอยูก็ดู เหมือนจะไมเย่ือใยกันจนเกินไป จะทาํ ใหพวกทานพลาดจากบุญ ไปเสีย เอาเถอะ อาตมาจะยอมรับไวสักครั้งหนึ่ง”, ในท่ีสุด ตอง ใชเกวียนจึงจะขนเอาส่ิงของเหลาน้ันไปไดหมด. น้ี ชื่อวา “การ แสรงปฏิเสธปจจัย”.

๓๗๘ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ภิกษุผูมักมาก หวังจะไดปจจัยท่ีประณีตมาก ๆ คิดวา “ดวยวิธีน้ี เราจักไดปจจัยท่ีประณีตมากมาย” ดังน้ีแลว ก็ พยายามแตงอิริยาบถใหนาเลื่อมใสแกผูพบเห็น เขาไปอยูใน สถานท่ีท่ีคิดวา “คนท้ังหลายจะไดเห็นเรา” ดังนี้แลว ก็แตง อิริยาบถใหเครงครัด เวลาน่ังก็นั่งสาํ รวมเสียเหลือเกิน ราวกะ นั่งเขาสมาธิสมาบัติอยูน่ันเทียว แมเวลายืนเปนตน ก็อยางน้ัน เหมือนกัน. คนท้ังหลายพบเห็นเขา ก็สาํ คัญผิดวาทานเปน ผูมีคุณวิเศษ เปนพระอริยบุคคล เกิดความเลื่อมใสยิ่งนักแลว ก็นอมนาํ เอาปจจัยท่ีประณีตเขาไปถวายให นี้ ช่ือวา “การแตง อิริยาบถ”, ความหลอกลวง มี ๒ อยาง ตามประการดังกลาว มาน.้ี สวน ช่ือวา การพดู เลยี บเคยี ง ไดแก การไมบ อกส่ิงทตี่ น ตอ งการแกเ ขาตรง ๆ เพราะยังมคี วามละอายอยบู า ง หรอื เพราะ เห็นวาเขามไิ ดป วารณาไว ทวา พูดเลยี บ ๆ เคยี ง ๆ คือ เฉียด ๆ วัตถุท่ีประสงค เพ่ือใหเขาฟงแลวทราบเองโดยนัย เชนวา เห็น เขาแบกออ ยเดินมา ตนอยากฉันออย ก็ถามวา “แนะอบุ าสก ออ ย นะหวานรึ?” “หวาน พระคณุ เจา” , “รูไดอ ยา งไรวาหวาน?” , “ตอง ชิมดู พระคณุ เจา จงึ จะรู”, “ไมม คี นนาํ มาถวาย แลวอาตมาจะได ออยที่ไหนชิมเลา?” เขาไดยินแลวก็รีบจัดแจงมาถวาย อยางน้ี เปนตน. นี้ ชื่อวา “การพูดเลียบเคียง” คาํ วา ความเปนผูทํานิมิต คือความเปนผูทาํ กายและ วาจาใหขยับเขย้ือนเคล่ือนไหวเปนเคร่ืองหมายใหผูอื่นไดรูความ

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๗๙ ประสงคของตน เชนวา เห็นเขาบริโภคมะมวงกัน ก็กลาววา “อา ว ถงึ หนามะมว งแลวหรอื ” ดงั นี้ เปน ตน . นี้ ชอ่ื วา “ความเปน ผูทํานมิ ิต”. คาํ วา ความเปนผูพูดบีบบังคับ คือเห็นเขาไมเคย ถวายอะไร ๆ แกตน ก็พูดใหเขาเกิดความเจ็บใจ เพ่ือใหเขา ถวายปจจัยแกตน เพราะความเจ็บใจน้ันนั่นแหละ เชนเรียก เขาวา “ผูกินบุญเกา” ดังน้ี บาง, วา “ผูมีชีวิตดวยการบริโภค ผักอยางเดียว” บาง, หรือถึงกับพูดประชด เรียกเขาวา “ทาน ทานบดี” ดังนี้ บาง, ซ่ึงเขาฟงแลวก็ขุนเคือง เจ็บใจ รูวาจะตอง นําอะไร ๆ มาถวายภิกษุรูปน้ีบางเทาน้ัน ภิกษุรูปนี้จึงจะหยุด พูดจาเยาะเยยเปนตน อยางน้ี. น้ี ช่ือวา “ความเปนผูพูด บีบบังคับ.” คําวา เปนผูมีอาจาระบริสุทธิ์ คือมีความประพฤติทั้ง ทางกาย ทั้งทางวาจา บริสุทธ์ิ เพราะเหตุที่มิไดใชกายและวาจา ประกอบมิจฉาอาชีวะ มีประการดังกลาว. พระคาถาท่ีวา “วรฺเจ เม อโท” เปนตน เปนคาํ ตรัส ของพระผูมีพระภาค สมัยท่ีเสวยพระชาติเปนกัณหกุมาร ซึ่ง ตอมาทิ้งกองสมบัติท่เี ห็นวาไมมีสาระ ไปบวชเปนดาบสอยูท่แี ดน หิมพานต ประพฤติมักนอยย่ิงนัก สมาทานธุดงคหลายขอ ใน ท่สี ดุ กส็ ามารถทําอภิญญาสมาบัติท้งั หลายใหส ําเรจ็ ได. พระแทน ท่ีประทับของทานทาวสักกะเกิดรอนข้ึน เพราะเดชแหงศีลของ ทาน ทานทาวสักกะจึงเสด็จลงมา เม่ือทรงเปดโอกาสใหดาบส

๓๘๐ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ขอพร ทานดาบสก็ขอพร ๔ ประการ ตามคาถาท่ีทานยกมา แสดงน.ี้ จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๒ ปญหาท่ี ๓, เตชังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหง ไฟ’, องค ๕ ท่พี งึ ถือเอาน้นั เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ไฟเผาไหมตนหญา ไมแหง ก่ิงไม ใบไม ฉันใด, ขอ ถวายพระพร กิเลสท้ังหลาย ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี ซ่ึงมีการ เสวยอิฏฐารมยและอนิฏฐารมณเหลาน้ัน ใด, พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็พึงใชไฟคือญาณ เผากิเลสเหลานั้นท้ังหมด, ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๑ แหงไฟ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ไฟ โหดราย หากรุณา มิได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไม ควรกระทาํ ความการุญ ความเอื้อเอ็นดู ในกิเลสท้ังหลายท้ังปวง ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๒ แหงไฟ ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ไฟ ปราบความเย็นได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงทําไฟ รอนคือวิริยะ ใหเกิดข้ึนมาปราบกิเลสทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๓ แหงไฟ ท่ีพึงถือเอา.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๘๑ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ไฟ พนแลวจากความ ยินดียินราย ทําความรอนใหเกิด ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญ เพียร ก็พึงเปนผูพนแลวจากความยินดียินราย อยูดวยใจเสมอ ดว ยไฟ ฉนั น้ันเหมือนกนั , ขอถวายพระพร น้ีคอื องคท ี่ ๔ แหง ไฟ ทพ่ี ึงถอื เอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห นึ่ง ไฟ กําจดั ความมืด ยัง แสงสวางใหปรากฏ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพญ็ เพยี ร กพ็ งึ กาํ จัดความมดื ยงั แสงสวา งคอื ญาณใหปรากฏ ฉนั น้นั เหมือนกัน, ขอถวายพระพร นค้ี ือองคท ี่ ๕ แหง ไฟ ทีพ่ ึง ถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลา เทพ ทรงมีพระโอวาทรับสั่งความขอน้ี กะทานพระราหุลผูเปน โอรสของพระองค วา :- ‘เตโชสมํ ราหุล ภาวนํ ภาเวหิ, เตโชสมํ หิ เต ราหุล ภาวนํ ภาวยโต อุปฺปนฺนา มนาปา- มนาปา ผสฺสา จิตฺตํ น ปริยาทาย สฺสนฺติ๑ น่ีแนะ ราหุล เธอจงเจริญภาวนา อันเปนเครื่อง สงบไฟ เถิด, น่ีแนะ ราหุล ก็เมื่อเธอเจริญ ภาวนา อันเปนเคร่ืองสงบไฟไดอยู ผัสสะท่ี นาชอบใจและไมนาชอบใจ ท่ีเกิดข้ึนแลว จัก ต้ังอยูครอบงําจิตมิได.’ ดังนี้.” จบเตชังคปญหาท่ี ๓                                                ๑. ม. ม. ๑๓/๑๒๘.

๓๘๒ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค คําอธิบายปญหาท่ี ๓ ปญหาเกี่ยวกบั องคแหงไฟ ชือ่ วา เตชงั คปญหา. คาํ วา กิเลสทง้ั หลาย ภายในกด็ ี ภายนอกก็ดี ความ วา กิเลสท้ังหลายท่ีชื่อวา “ภายใน” เพราะเปนไปปรารภทวาร ๖ คือ ตา หู จมกู ล้ิน กาย และใจ ของตนกด็ ี ท่ชี อื่ วา “ภายนอก” เพราะเปนไปปรารภอารมณ ๖ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมก็ดี, อกี อยางหนึง่ ทช่ี ื่อวา “ภายใน” เพราะเปน ไปปรารภ ขันธของตนก็ดี, ช่ือวา “ภายนอก” เพราะเปนไปปรารภขันธ ของผูอ่ืนกด็ ี. คาํ วา พึงใชไฟคือญาณ คือพึงใชไฟคือวิปสสนาญาณ และมรรคญาณ. วิริยะ (ความเพยี ร) ช่อื วา ไฟรอ น กเ็ พราะเมอื่ ปรารภไดดี โดยเก่ียวกบั สามารถกระทาํ ไดต ิดตอกนั กเ็ ปน ตบะแผดเผากเิ ลส ทั้งหลายได. ทานประสงคเ อาความเพียรทเี่ ปนปจ จยั แกวปิ ส สนา- ญาณและมรรคญาณนนั่ เอง อวิชชา ช่ือวา ความมดื เพราะอรรถวา ปดบังสจั จะ ไมให ปรากฏตามความเปนจริง, ช่ือวา ญาณ ไดแกวิชชา ซ่ึงไดช่ือวา แสงสวาง ก็เพราะอรรถวา กาํ จัดความมืดคืออวิชชาน้ัน สองให สจั จะท้ังหลายไดปรากฏตามความเปน จริง. คาํ วา เธอจงเจริญภาวนา อันเปน เคร่ืองสงบไฟ คือ เธอจงเจริญวิปสสนาภาวนาหรือแมสมถภาวนาอันเปนบาทแหง วิปสสนา ซ่ึงช่ือวาเปนเครื่องสงบไฟภายในคือสงบความยินดี

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๘๓ ยินรา ยทอี่ าศัยไฟภายใน มีไฟบม รางกายเปน ตน เกดิ ขึ้น. คําวา ผัสสะท่ีนาชอบใจ ไดแกผัสสะ (การกระทบ อารมณทางทวาร ๖) ที่เปนปจจัยแก ราคะ คือความยินดี, ความ วา ผัสสะที่กระทบอารมณท่ีนาปรารถนา. คําวา ผัสสะท่ีไมนาชอบใจ ไดแกผัสสะท่เี ปนปจจัยแก โทสะ, ความวา ผัสสะที่กระทบอารมณที่ไมนาปรารถนา. จบคําอธบิ ายปญ หาท่ี ๓ ปญ หาท่ี ๔, วายุงคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงลม, องค ๕ ทพ่ี ึงถอื เอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ลมพัดโชยไปในระหวา งราวปา ทผี่ ลดิ อกออกชอ ดฉี นั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงร่ืนรมยใน ระหวางราวปาที่มีตนไมผลิดอกออกชอดี คือวิมุตติอันประเสริฐ ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงลม ท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองคหนง่ึ , ลม พัดกระหนํ่า ย่ํายีหมู ไมท่ีงอกข้ึนบนพ้ืนธรณี ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียรก็พึง เปนผูไปในระหวางปา วิจัยสังขาร ยํา่ ยีกิเลสทั้งหลาย ฉันน้ัน เหมือนกัน. นี้คือองคที่ ๒ แหงลม ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห นึง่ , ลม ยอ มจรไปในอากาศ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพญ็ เพยี รกพ็ งึ ทําจติ ให

๓๘๔ วรรคที่ ๓, ปถวีวรรค สัญจรไปในโลกุตตรธรรมท้ังหลาย ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวาย พระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหงลม ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห นึ่ง, ลมยอ มโชยกลนิ่ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู ําเพญ็ เพยี ร ก็พงึ โชยกล่นิ ทหี่ อม ยิ่ง คือศีลประเสริฐของตน ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้ คือองคท่ี ๔ แหงลม ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ลม ปราศจากที่อยู ประจํา มิไดอาศัยสถานท่ีอยู ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูปราศจากท่ีอยูประจํา ไมมี บา น หาความคุนเคยมไิ ด ปลอดพนในทท่ี ัง้ ปวง ฉนั นน้ั เหมอื นกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๕ แหงลม ที่พึงถือเอา. ขอถวาย พระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิต ความขอน้ีไวในสุตตนิบาต วา :- ‘สนฺถวโต ภยํ ชาตํ, นิเกตา ชายเต รโช อนิเกตมสนฺถวํ, เอตํ เอว มุนิทสฺสนํ๑ ภัยเกิดจากสันถวะ (ความคุนเคยกัน) ธุลีเกิด จากบาน ธรรมอันหาบานมิได หาสันถวะมิไดน้ี ผูเปนมุนีเห็นแลว แล.’ ดังนี้.” จบวายุงคปญ หาที่ ๔                                                ๑. ข.ุ สุ. ๒๕/๔๐๘.

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๘๕ คาํ อธบิ ายปญ หาที่ ๔ ปญ หาเก่ียวกับองคแหงลม ช่ือวา วายุงคปญหา. ดวยคําวา พึงร่ืนรมยในระหวางราวปาท่ีมีตนไมผลิ ดอกออกชอดี คือวิมตุ ติอันประเสรฐิ นี้ ทานแสดงถึงการเสวย วมิ ุตตสิ ขุ ในการเขา ผลสมาบตั ขิ องพระอรยิ บุคคลทง้ั หลาย. คาํ วา พึงเปนผูไปในระหวางปา วิจัยสังขาร ยาํ่ ยี กิเลสท้ังหลาย คือเขา ไปปรารภความเพยี รในปา เจริญวปิ ส สนา ซึ่งเปน ปญ ญาท่วี จิ ยั สงั ขาร วาไมเ ทยี่ ง เปน ทุกข เปน อนตั ตา ย่ํายี กิเลสท้งั หลายดวยอาํ นาจแหง การละเปนตทงั คปหาน (ละเปน แต ละคร้ัง แตล ะคราวที่มีวิปสสนาปญ ญาน้ันเกิดขนึ้ ) ดว ยวิปส สนา- ญาณที่เกิดข้ึนน้ัน และเมื่อทาํ วิปสสนาญาณน้ันใหกาวหนาไป จนบรรลุถึงมรรคได ก็ยอมสามารถย่าํ ยี คือละเปนสมุจเฉท- ปหาน (ละไดเด็ดขาด) ดวยมัคคญาณนั้น ฉะนี้แล. คาํ วา พึงทําจติ ใหส ัญจรไปในโลกุตตรธรรมท้งั หลาย คือพึงทาํ จิตใหสัญจรไป คือพึงทาํ ใหเปนไปในโลกุตตรธรรม ทั้งหลาย คือ ในมรรค ผล และพระนิพพาน ที่ไดบรรลุ ดวย อํานาจการพิจารณาโลกุตตรธรรมท่ีไดบรรลุเหลาน้ัน วา “น้ี มรรค, เราไดเจริญแลว, น้ี ผล, เราไดบรรลุแลว, น้ี นิพพาน, เราไดกระทาํ ใหแจงแลว” ดังนี้. ดวยคําวา พึงโชยกล่ินที่หอมย่ิง คือศีลที่ประเสริฐ ของตน นี้ ทานแสดงถึงความเปนผูพรอมเพรียงดวยจตุปาริ- สุทธิศีล (ศีลท่ีบริสุทธ์ิ ๔ อยาง) มีปาติโมกขสังวรศีล เปนตน.

๓๘๖ วรรคท่ี ๓, ปถววี รรค คาํ อธบิ ายพระคาถาที่วา สนฺถวโต ภยํ ชาตํ – ภยั เกิด จากสันถวะเปนตน ไดแสดงแลวในสันถวปญหา ในเลม ๒ หนา ๓๖๘, โปรดดูในท่ีนน้ั . จบคําอธิบายปญ หาที่ ๔ ปญ หาที่ ๕, ปพ พตังคปญหา พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๕ แหงภูเขา’, องค ๕ ทพี่ งึ ถอื เอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ภูเขาไมส่ัน ไมหว่ันไหว ไมคลอนแคลน ฉันใด, ขอ ถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ไมพึงกาํ หนัดในธรรม ทั้งหลายอันนากําหนัด, ไมพึงประทุษรายในธรรมทั้งหลายอัน นาประทุษราย, ไมพึงลุมหลงในธรรมท้ังหลายอันนาหลง, ไมพึง หว่ัน ไมพึงสั่นไหว ในความนับถือ ความดูหม่ินในสักการะ ใน สักการะ ในการทาํ ความเคารพ ในการไมทาํ ความเคารพ ในยศ ในความเส่ือมยศ ในนินทา ในสรรเสริญ ในสุข ในทุกข ใน รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมท้ังหลายทั้งปวงที่ นาปรารถนาและไมนาปรารถนา, พึงเปนผูหาความส่ันไหวมิได ดุจภูเขาฉะน้ัน ฉันนั้นเหมือนกัน เถิด, ขอถวายพระพร นี้คือองค ท่ี ๑ แหงภูเขา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผู ทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไววา :-

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๘๗ ‘เสโล ยถา เอกฆโน, วาเตน น สมีรติ เอวํ นนิ ฺทาปสสํ าส,ุ น สมิ ชฺ นฺติ ปณฺฑิตา๑ ภูเขาศิลา ทึบตันเปนอันเดียวกัน ยอมไมโอนเอนไป เพราะลม ฉันใด, บัณฑิตท้ังหลาย ก็ยอมไมหว่ันไหว ในเพราะคาํ นินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น.’ ดังน้ี. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ภูเขาแข็งกระดาง ไมปะปนกับส่ิงไร ๆ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูแข็งกระดาง ไมคลุกคลี ไมพึงกระทํา การคลุกคลีกับใคร ๆ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือ องคท่ี ๒ แหงภูเขา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระ ภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘อสํสฏ คหฏเหิ, อนาคาเรหิ จูภยํ อโนกสาริมปฺปจฺฉํ, ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ๒ เราขอกลาวถึงภิกษุผูมักนอย ไมคลุกคลีดวยท้ัง ๒ ฝาย คือดวยคฤหัสถและดวยบรรชิต ประพฤติเปนผูหาท่ีอยู ประจํามิได วาเปนพราหมณ.’ ดังนี้.                                                ๑. ข.ุ ธ. ๒๕/๓๑. ๒. ข.ุ ธ. ๒๕/๙๖.

๓๘๘ วรรคท่ี ๓, ปถววี รรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, พืช ยอมไมงอกงาม บนภูเขา ฉนั ใด, พระโยคาวจรกไ็ มพึงทํากเิ ลสทงั้ หลายใหง อกงาม ในใจของตน ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๓ แหงภูเขา ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระสุภูติเถระได ภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘ราคปู สหํ ิตํ จติ ฺต,ํ ยทา อปุ ฺปชชฺ เต มม. สยวํ ปจจฺ เวกขฺ าม,ิ เอกโก ตํ ทเมมหํ. รชชฺ เส รชฺชนีเย จ, ทุสสฺ นเี ย จ ทสุ สฺ เส. มยุ ฺหเส โมหนีเย จ, นกิ ขฺ มสสฺ ุ วนา ตวุ ํ วิสทุ ธฺ านํ อยํ วาโส, นมิ ฺมลานํ ตปสสฺ นิ .ํ มา โข วสิ ุทธฺ ํ ทเู สส,ิ นกิ ฺขมสสฺ ุ วนา ตวุ ํ๑ ในเวลาใด จิตท่ีประกอบกับราคะ เกิดขึ้นแกเราเรา จะพิจารณาเองทีเดียว, เราจะพึงทรมานจิตนั้นอยู แตผูเดียว เราสอนตนเองวา ตัวเจายังกาํ หนัดในสิ่ง ที่นากาํ หนัด ยังประทุษรายในสิ่งท่ีนาประทุษราย และยังหลงในส่ิงท่ีนาหลงอยูละก็ ขอจงออกไป จากปาเสียเถอะ สถานท่ีคือปาน้ีเปนท่ีอยูของทาน ผูหมดจด ปราศจากมลทิน มีตบะ ทานจงอยา ทาํ ลายสถานที่บริสุทธิ์ จงออกไปจากปาเสียเถอะ.’ ดังน้ี.                                                ๑. ขุ. อป. ๓๒/๙๘.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๘๙ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ภูเขา เปนสิ่งสูงยิ่ง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ก็พึงเปนผูสูงสงยิ่งดวย ญาณ ฉันนนั้ เหมอื นกัน, ขอถวายพระพร นค้ี ือองคท ่ี ๔ แหงภเู ขา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่ง เหลาเทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไววา :- ‘ปมาทํ อปฺปมาเทน, ยทา นุทติ ปณฺฑิโต ปฺาปาสาทมารุยฺห, อโสโก โสกินึ ปชํ ปพฺพตฏโว ภูมฏเ, ธีโร พาเล อเวกฺขติ๑ เม่ือใด บัณฑิตบรรเทาความประมาทดวยความ ไมประมาทได ก็ยอมเปนผูไมเศราโศก ยางขึ้นสู ปราสาทคือปญญา เล็งเห็นหมูสัตวผูเศราโศกอยู นักปราชญยอมมองเห็นคนพาลท้ังหลาย ดุจบุคคล ผูยืนอยูบนภูเขา มองเห็นคนที่ยืนอยูบนพื้นดิน ฉะน้ัน.’ ดังน.ี้ ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคหนงึ่ ภเู ขาไมฟ ู ไมฟ ุบ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพึงกระทาํ การ ฟขู น้ึ การฟบุ ลง ฉันนน้ั เหมอื นกัน, ขอถวายพระพร น้คี ือองคท่ี ๕ แหงภูเขา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร นางจูฬสุภัททาอุบาสิกา เมื่อจะยกยองสมณะของตน ก็ไดภาสิตความขอน้ีไววา :-                                                ๑. ข.ุ ธ. ๒๕/๒๐.

๓๙๐ วรรคที่ ๓, ปถวีวรรค ‘ลาเภน อุนฺนโต โลโก, อลาเภน จ โอนโต ลาภาลาเภน เอกฏา, ตาทิสา สมณา มม โลกฟูเพราะลาภ, และฟุบเพราะเสื่อมลาภ ทาน สมณะท้ังหลาย มีสภาวะเปนหน่ึงในลาภ และ เสื่อมลาภ, ทานสมณะทั้งหลายของเรา ทานเปน เชนน้ัน.’ ดังนี้.” จบปพพตังคปญหาที่ ๕ คําอธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาเก่ียวกบั องคแ หงภเู ขา ชอ่ื วา ปพพตังคปญหา. คาํ วา พึงเปนผูแ ข็งกระดาง คือพงึ เปนผมู ีจติ เขม แข็ง. ดวยคาํ วา ไมพึงกระทําการคลุกคลี น้ี ทานแสดงถึง ความเปนผูมีปกติอยูแตผูเดียวเที่ยวไปแตผูเดียว. คําวา ไมพึงทาํ กิเลสทั้งหลายใหงอกงาม คือไมพึงทาํ ใหงอกงามดวยอํานาจแหง การละเปน ตทงั คปหาน ดวยวิปสสนา- ญาณ หรอื แมด วยอาํ นาจแหง การละเปนวิกขัมภนปหาน (ละดวย การขมไวได) ดวยฌานที่เปนบาทแหงวิปสสนาและดวยอํานาจ การละเปน สมจุ เฉทปหานดวยมัคคญาณ. ในคาถาของพระสุภูติเถระ คําวา เราพึงทรมานจิต คือ เราพึงขมจิตที่มีราคะนั้น ดวยกรรมฐาน.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๙๑ คาํ วา กพ็ งึ เปนผูสูงสง ยงิ่ ดว ยญาณ คอื เปน ผสู งู สงยง่ิ ๆ ข้ึนไปตามลําดับ ดวยอํานาจลาํ ดับแหงวิปสสนาญาณและมัคค- ญาณ จบั ต้งั แตช ้ันตา่ํ ๆ ขน้ึ ไปสชู ้ันสงู ๆ. ในพระคาถา : คําวา บรรเทาความประมาทดวยความ ไมประมาท ไดแกเพ่ิมพูนความไมประมาท ดวยการเจริญ อธิกุศล คือสมถะและวิปสสนา ใชกาํ ลังแหงความไมประมาท บรรเทาคือขจัดความประมาทนั้น ไมยอมใหโอกาสแกความ ประมาท. คําวา ยอมเปนผูไมเศราโศก ยางขึ้นสูปราสาทคือ ปญญา เปนตน ความวา ภิกษุผูบรรเทาความประมาทไดแลว ยอมเปนผูไมเศราโศก เพราะถอนลูกศรคือความเศราโศกออกได แลว ยอมยางขึ้นสูปราสาทคือปญญา ซึ่งในท่ีนี้ไดแกทิพยจักษุ ทางบันไดคอื ปฏิปทาทค่ี ลอยตามปฏิปทาท่ีสรางความไมป ระมาท นน้ั นัน่ แหละ. คาํ วา เล็งเห็นหมูสัตวผูเศราโศกอยู คือใชทิพยจักษุ มองดหู มสู ัตวผ ูเคลือ่ นจากภพนนั้ สูภพนี้, จากภพน้ีสูภพโนน ผูถ กู ทุกข กลา วคอื ชรา พยาธิ มรณะ เปน ตน ครอบงําเศราโศกอยู. คาํ วา นกั ปราชญย อ มมองเห็นคนพาลท้ังหลาย เปน ตน ความวา บัณฑิตผเู ปน นักปราชญ คือพระขีณาสพผูไ ดท พิ ยจักษุ ยอมมองเห็นคนพาลผูเกิด ผูตายอยูในภพน้ัน ๆ โดยไมยาก เหมือนอยางอะไร? เหมือนอยางบุคคลผูมีตาดี ยืนอยูบนเนินเขา

๓๙๒ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ยอมมองเหน็ คนทงั้ หลายผยู ืนอยูบนพน้ื ดนิ เบ้ืองลางไดโดยไมยาก ฉะน้ัน. คําวา โลกฟูเพราะลาภ และฟุบเพราะเส่ือมลาภ ความวา โลกคอื สตั ว ฟูคือเกิดความปลาบปลม้ื ยินดเี พราะไดล าภ, และฟุบคือเกิดความเศราโศกเสียใจเพราะเส่ือมลาภกลาวคือ ไมไ ดลาภทหี่ วงั จะได หรือลาภท่ไี ดแ ลวพินาศไป. คําวา ทานสมณะทั้งหลาย เปนคําท่ีอุบาสิกาผูนี้กลาว หมายเอาสมณะในพระศาสนาน้ี, โดยพิเศษคือพระอรหันต. คาํ วา มีสภาวะเปนหนึ่ง คือมีสภาวะแหงจิตเปนหนึ่ง โดยเก่ียวกับต้ังมั่น ไมหวั่นไหวดวยอํานาจความยินดี และความ ยินราย. จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาที่ ๖, อากาสงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงอากาศ’, องค ๕ แหงอากาศท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ใคร ๆ ไมอาจ จับตองอากาศได โดยประการทั้งปวง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูท่ีกิเลสทั้งหลายไมอาจ จับตองได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหง อากาศ ที่พึงถือเอา.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๙๓ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, อากาศ เปนท่ีท่ีบรรดา ฤๅษี ดาบส พระอรหันต หมูน ก สญั จรไปมา ฉนั ใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพญ็ เพยี ร ก็พงึ ทาํ ใจใหสญั จรไปใน สังขารทั้งหลาย โดยอาการวา ‘ไมเท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา’ ดงั นี้ ฉันนั้นเหมอื นกัน, ขอถวายพระพร น้คี อื องคท ี่ ๒ แหง อากาศ ท่พี ึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห น่งึ , อากาศ เปน ส่ิงนา หวาด สะดุง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงทําใจใหหวาดหว่ัน, ไมพึงทาํ ความยินดีในการปฏิสนธิในภพ ทั้งปวง ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๓ แหง อากาศ ทพ่ี ึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง อากาศ หาท่ีสุดมิได หาประมาณมิได ใคร ๆ ไมอาจวัดได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน ผทู ่มี ีศีลหาทสี่ ุดมิได มญี าณ ท่ีวัดมิได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๔ แหง อากาศ ทีพ่ งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, อากาศ ไมติด ไมของ ไมห ยดุ ไมพ วั พนั ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู าํ เพญ็ เพยี ร กพ็ ึงเปนผไู มต ดิ ไมขอ ง ไมห ยุดอยู ไมพ ัวพนั ในส่ิงท้งั ปวง คือในสกุล ในคณะ ในลาภ ในอาวาส ในปจจัยท่ีเปนปลิโพธ ในกิเลสท้ังหลายท้ังปวง ฉันนั้นเหมือนกัน, นี้คือองคท่ี ๕ แหง อากาศ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปน

๓๙๔ วรรคท่ี ๓, ปถววี รรค เทพยิ่งเหลาเทพ ไดทรงภาสิตความขอนี้ กะทานพระราหุลผูเปน โอรสของพระองค โดยเปน พระโอวาทวา :- ‘เสยฺยถาป ราหุล อากาโส น กตฺถจิ ปติฏิโต, เอวเมว โข ตฺวํ ราหุล อากาสสมํ ภาวนํ ภาเวหิ, อากาสสมํ หิ เต ราหุล ภาวนํ ภาวยโต อุปฺปนฺนา มนาปามนาปา ผสฺสา จิตฺตํ น ปริยาทาย สฺสนฺติ๑ น่ีแนะ ราหุล อากาศไมหยุดย้ังอยูในท่ีไหน ๆ ฉันใด, น่ีแนะ ราหุล เธอจงเจริญภาวนาอันเปนเครื่องสงบ อากาศ ฉันนั้นเหมือนกันเถิด, ก็เมื่อเธอเจริญภาวนา อันเปนเครื่องสงบอากาศอยู ผัสสะท่ีนาชอบใจและ ไมนาชอบใจท่ีเกิดขึ้นแลว จักตั้งอยู ครอบงาํ จิต มิได.’ ดังน้.ี ” จบอากาสังคปญ หาที่ ๖ คําอธิบายปญหาที่ ๖ ปญ หาเกยี่ วกับองคแหง อากาศ ช่ือวา อากาสังคปญหา. คําวา อากาศ ในที่นี้หมายเอาอชั ฎากาศคืออากาศอนั เปน ทีโ่ ลง เวง้ิ วาง เปน ท่สี ัญจรไปมาแหง หมูน ก เปน ท่ีตง้ั แหง โลกธาต.ุ                                                ๑. ม. ม. ๑๓/๑๒๙.

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๙๕ คาํ วา พงึ เปน ผทู ่ีกิเลสทงั้ หลายไมอ าจจับตอ งได นน้ั ทานกลาวหมายเอาปริยุฏฐานกิเลส (กิเลสท่ีกลุมรุมจิต), และ อนุสัยกิเลส (กิเลสท่ีนอนเน่ืองอยูในจิตสันดาน). คาํ วา พึงทาํ ใจใหสัญจรไปในสังขาร คือพึงทาํ ใจท่ี เปนไปกับปญญาใหสัญจร คือใหเที่ยวพิจารณาไปในสังขาร. อากาศ ชือ่ วา เปน สิ่งทีน่ าหวาดสะดุง ก็โดยเกยี่ วกบั วา มี ความกวา งขวาง เวงิ้ วา งไปหาท่สี ุดมไิ ด. ศีล ชื่อวา หาท่ีสุดมิได เพราะเปนศีลที่ไมมีความสิ้นสุด คือไมขาด ไมทะลุ เปนตน เหตุเพราะเห็นแกลาภ ยศ ญาติ อวัยวะ หรือแมชีวิต. ญาณ (ปญญา) ชอ่ื วา วัดมไิ ด เพราะอรรถวาสามารถ หยั่งรูอารมณทั้งหลายท่ีควรรูไดมากมาย ไมอาจวัดได คือ ประมาณได ในโลกท้ัง ๓. ในพระคาถา : คาํ วา เธอจงเจริญภาวนาอนั เปนเคร่ือง สงบอากาศ คือเธอจงเจรญิ ภาวนาอนั เปนเครอ่ื งสงบความยนิ ดี และความยินราย ในอากาศภายใน มีชองหู ชองจมูก ชองปาก เปน ตน ซ่งึ มีการพิจารณาวาเปนเพยี งธาตุ คอื สว นยอย ๆ ที่ ประกอบในอัตภาพนี้ เชนเดียวกบั ธาตุ ๔ มธี าตุดนิ เปน ตน น้นั นั่นเทียว ไมใชเรา ไมใชของเรา ไมใชอัตตาของเรา แมใน อากาศภายนอก ก็มีการพิจารณาอยางนี้. คําวา ผัสสะที่นา ชอบใจ ฯลฯ จกั ต้งั อยู ครอบงาํ จิต มไิ ด ความวา เมื่อเธอพจิ ารณาเหน็ ตามความเปนจรงิ อยูอยา งน้ี

๓๙๖ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ผสั สะ คอื การกระทบอารมณ ๖ ทางทวาร ๖ ทน่ี าชอบใจอันเปน ปจ จยั แกร าคะ เกิดข้ึนแลว ก็ไมอ าจต้ังอยู ครอบงาํ จิต คือไมอ าจ ทําจิตใหเกิดความยินดีความพอใจขึ้น, และท่ีไมนาชอบใจ ท่ี เปนปจ จยั แกโทสะ กไ็ มอ าจตั้งอยู ครอบงําจิต คอื ไมอาจทาํ จิตให เกิดความยินรายความไมพอใจข้ึน ฉะนี้แล. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๖ ปญหาท่ี ๗, จันทังคปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๕ แหงพระจนั ทร’ , องค ๕ ที่พงึ ถอื เอานัน้ เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา พระจันทรคราวขางข้ึน โผลขึ้นมา ก็เจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเจริญ ย่ิง ๆ ข้ึนไป ในอาจารคุณ ศีลคุณ ขอวัตรปฏิบัติ, ในอาคมอธิคม, ในการหลีกเรน, ในสติปฏฐาน, ในความเปนผูคุมครองทวาร ในอินทรียท้ังหลาย, ในความเปนผูรูจักประมาณในโภชนะ, ใน ความประกอบเนือง ๆ ในชาคริยธรรม ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอ ถวายพระพร นี้คือองคที่ ๑ แหงพระจันทร ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระจันทร สูงสงเปน อธิบดี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึง เปน ผสู งู สง มีฉันทะเปน อธบิ ดี ฉนั นนั้ เหมอื นกนั , ขอถวายพระพร น้ีคอื องคที่ ๒ แหง พระจนั ทร ทพ่ี ึงถือเอา

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๙๗ ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคหนง่ึ , พระจนั ทร ยอมเท่ยี วไป ในตอนกลางคืน (ซึ่งเปนเวลาทเี่ งียบสงดั ) ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู ําเพญ็ เพียร กพ็ ึงเปน ผหู ลีกสงัด ฉนั นัน้ เหมอื นกัน, ขอถวายพระพร น้คี ือองคท่ี ๓ แหง พระจันทรท พี่ ึงถอื เอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, พระจันทร มีวิมานเปน ธงชัย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปน ผมู ศี ีลเปนธงชยั ฉันนนั้ เหมอื นกนั , ขอถวายพระพร น้ีคอื องคท ่ี ๔ แหง พระจันทร ทีพ่ ึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระจันทร โผลข้ึนมา เปน สง่ิ ท่คี นทั้งหลายเรียกรอง ปรารถนา ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูที่เขาเรียกรอง ปรารถนา เขาไปสูสกุลทั้งหลาย ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือ องคท ่ี ๕ แหง พระจนั ทร ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมพี ระ ภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพท้ังหลาย ทรงภาสิตความขอนี้ไว ในสังยุตตนิกายอันประเสริฐวา ‘จนฺทูปมา ภิกฺขเว กุลานิ อุปสงฺกมถ, อเปกสฺเสว กายํ อปกสฺส จิตฺตํ นิจฺจนวกา กุเลสุ อปฺปคพฺภา๑ - ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเปนผูมี อุปมาดวยพระจันทร เขาไปสูสกุลทั้งหลายเถิด, จงพรากกาย จงพรากจิตเสียน่ันเทียว เปนผูใหมเปนนิตย ไมเปนกันเองใน สกุลท้ังหลาย’ ดังนี้.” จบจันทังคปญหาที่ ๗                                                ๑. ส.ํ นิ. ๑๖/๒๓๗.

๓๙๘ วรรคที่ ๓, ปถววี รรค คําอธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาเก่ียวกับองคแหงพระจันทร ช่ือวา จันทังคปญหา. คาํ วา พระจันทรคราวขางขึ้น โผลขึ้นมา ก็เจริญ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป คือพระจันทรนั้น ในคราวขางข้ึน ยอมโผลขึ้นมา เจริญย่ิง ๆ ข้ึนไป คือคอย ๆ เติบเต็ม จนเปนพระจันทรเต็มดวง. ในคําวา อาจารคณุ เปน ตน มีคําอธบิ ายอันไดก ลา วแลว ในปญหากอ น ๆ. คําวา สูงสงเปนอธิบดี ไดแก มีอานุภาพสูงสงเหนือ ดวงดาวหลายรอยดวง เปนอธิบดี คือเปนใหญแหงดวงดาว เหลานั้น. คาํ วา มีวิมานเปนธงชัย คือมีรัศมีที่เปลงออกโดยรอบ อันเปนดุจวิมาน เปนธงชัย. พระโยคาวจร ชื่อวา พึงเปนผูท ีเ่ ขาเรียกรอ ง ปรารถนา เขาไปสูสกุลทั้งหลาย อยางไร คือ พึงเปนผูท่ีเขาเรียกรองเชน อยางนวี้ า “ทานผเู จริญ ขอทานไดโ ปรดเขา ไปยงั สกลุ ของกระผม เถดิ เจาขา” ดังน้ีเปน ตน, แลว จงึ คอ ยเขาไปสสู กลุ นนั้ , พึงเปน ผทู ี่ เขาปรารถนา เชน อยางน้ีวา “ทานผเู จริญ พวกกระผมปรารถนา การมาของทา น เจา ขา” ดังน้ีเปนตน แลวจงึ คอยเขา ไปสสู กลุ นั้น. คําวา จงเปนผูมีอุปมาดวยพระจันทร คือจงเปนผู เปรียบเสมือนพระจันทร อธิบายวา พระจันทรโคจรไปในกลาง

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๙๙ หาวเรื่อยไป ไมต ิดขดั ไมทําความยินดี ความคนุ เคย ความเสนห า ความอาลัย ความปรารถนา แลวแวะพกั อยู ณ ทท่ี โ่ี คจรไปถึง ไม ทาํ ความเสนห าคนุ เคยไวก ับใคร ๆ แตจ ะไมเปนทรี่ ักท่ีชอบใจของ คนท้ังหลาย ก็หาไม ฉันใด, ภิกษุก็พึงเท่ียวไปไมติดขัด ไมทํา ความคนุ เคย ความเสนห าไวก บั สกุลไหน ๆ แลวเที่ยวแวะพกั คลกุ คลีอยูกับสกุลที่ไปถึงนั้น แตจะไมเปนท่ีรักท่ีชอบใจของคน ท้ังหลาย ก็หาไม ฉันน้ันเหมือนกัน. คาํ วา จงพรากกาย จงพรากจิตเสียนั่นเทียว คือ จง พรากกาย โดยเกี่ยวกับเปนผูไมมีกายเขาไปคลุกคลีในสกุล ทั้งหลาย, จงพรากจิต โดยเก่ียวกับเปนผูไมมีจิตติดของ สนิท เสนห าในสกลุ เหลานั้น และในไทยธรรมที่สกุลเหลา นัน้ นอ มถวาย. คาํ วา เปนผูใหมเปนนิตย ไมเปนกันเองในสกุล ท้ังหลาย คอื เปนคนใหม (คนแปลกหนา) เปนนติ ย เชน เดยี วกบั วาเปนแขกผูมาถึงเรือนนั่นเทียว ในสกุลทั้งหลาย แมวาสกุล น้ัน ๆ จะเปนสกุลญาติก็ตาม เพราะความเปนผูมีปกติเล็งเห็น โทษในการคลุกคลีดวยเพศฆราวาส, ท้ังไมเปนกันเองโดยเก่ียว กับการไมประพฤติเกี่ยวของกับบุคคลเหลาน้ัน ในฐานะวาเปน ญาติกันเอง เปนตน เหมือนเม่ือครั้งท่ียังครองเพศฆราวาส. ความวา ระมดั ระวังสํารวมเหมือนตนเปน แขกแปลกหนา. จบคาํ อธบิ ายปญหาที่ ๗

๔๐๐ วรรคท่ี ๓, ปถววี รรค ปญ หาท่ี ๘, สรู ยิ งั คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๗ แหงพระอาทิตย’ , องค ๗ ทพี่ ึงถอื เอานั้นเปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา พระอาทิตย ทํานํ้าใหเหือดแหงไปหมดได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงทาํ กิเลส ท้ังหลายท้ังปวง ใหเหือดแหงไป ไมมีเหลือ ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงพระอาทิตย ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระอาทิตย ขจัด ความมืด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงขจัดความมืดคือราคะ ความมืดคือโทสะ ความมืดคือโมหะ ความมืดคือมานะ ความมืดคือทิฏฐิ ความมืดคือกิเลสท้ังปวง ความมืดคือทุจริตท้ังปวง ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้ คือองคท่ี ๒ แหงพระอาทิตย ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, พระอาทิตย ยอมโคจร เปนประจาํ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงกระทําโยนิโสมนสิการเปนประจํา ฉันน้ันเหมือนกัน, น้ีคือ องคที่ ๓ แหงพระอาทิตย ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระอาทิตย มีรัศมี เปนมาลัย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงมีอารมณ (กรรมฐาน) เปนมาลัย ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอ ถวายพระพร นี้คือองคที่ ๔ แหงพระอาทิตย ท่ีพึงถือเอา.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๐๑ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระอาทิตย ยอม โคจรไป ทาํ หมูมหาชนใหอบอุน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงทาํ โลกพรอมทั้งเทวดา ใหอบอุน ดวยอาจาระ ศีลคุณ ขอวัตรปฏิบัติ ฌาน วิโมกข สมาธิ สมาบัติ อินทรีย พละ โพชฌงค สติปฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท ฉันน้ันเหมือนกัน, น้ีคือองคท่ี ๕ แหงพระอาทิตยที่ พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, พระอาทิตยโคจรไป ก็กลัวแตภัยคือราหู ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บําเพ็ญเพียร เห็นสัตวท้ังหลายผูมีวิบากตกไปในทุคติ ท่ีขรุขระ ท่ีกนั ดาร เพราะทจุ รติ ผถู ูกขายคอื กิเลสเกยี่ วพัน ผปู ระกอบดวย กองทฏิ ฐิ ผแู ลนไปสทู างชั่ว ผูดาํ เนนิ ไปในทางชวั่ แลว กพ็ งึ เปน ผมู ี ความกลัวคือความสลดใจ ทาํ ใจใหหวาดหวั่น ฉันน้ันเหมือนกัน, น้ีคือองคที่ ๖ แหงพระอาทิตย ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, พระอาทิตย ยอมสอง สง่ิ ท่ดี ีและเลวใหป รากฏ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็พึงยังโลกิยธรรมและโลกุตตรธรรม คือ อินทรีย พละ โพชฌงค สติปฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท ใหปรากฏ ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้คี ือองคท่ี ๗ แหงพระอาทิตย ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระวังคีสเถระไดภาสิตความขอน้ี ไววา :

๔๐๒ วรรคที่ ๓, ปถววี รรค ‘ยถาป สุริโย อุทยนฺโต, รูป ทสฺเสติ ปาณินํ. สุจิฺจ อสุจิฺจาป, กลฺยาณฺจาป ปาปกํ. ตถา ภิกฺขุ ธมฺมธโร, อวิชฺชาปหิตํ ชนํ. ปถํ ทสฺเสติ วิวิธํ, อาทิจฺโจวุทยํ ยถา. เปรียบเหมือนวา พระอาทิตย พอโผลข้ึน ก็สองรูป ทั้งสะอาดและไมสะอาด, ท้ังดีและเลว ใหปรากฏแก สัตวท้ังหลาย ฉันใด, ภิกษุผูทรงธรรม ก็ยอมยังชนผู ถูกอวิชชาปดบังใหมองเห็นหนทาง มีอยางตางๆ กัน ดุจพระอาทิตยท่ีโผลขึ้น ฉันนั้นเหมือนกัน.’ ดังน้ี.” จบสรู ิยงั คปญ หาท่ี ๘ คาํ อธบิ ายปญหาที่ ๘ ปญหาที่เก่ียวกับองคแหงพระอาทิตย ช่ือวา สูริยังค- ปญ หา. คาํ วา พึงทํากเิ ลสทง้ั หลายท้ังปวง ใหเหอื ดแหง ไป ไมมีเหลือ คือ พึงทาํ กิเลสท้ังหลายทั้งปวงใหเหือดแหงไป ไมมี เหลือ ดวยแสงแดดคือความเพียรในพระอรหัตตมรรค. บาปธรรมท้ังหลาย มีราคะเปนตน ช่ือวา ความมืด ก็ เพราะเหตทุ ปี่ ดบังสัจจะทงั้ หลายไมใหป รากฏตามความเปน จรงิ . คําวา พึงมีอารมณ (กรรมฐาน) เปนมาลัย คือพึงมี อารมณแ หง ภาวนาท้งั ๒ (สมถะ, วปิ ส สนา) เปน มาลยั .

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๐๓ คําวา ผูแลนไปสูทางชั่ว ผูดาํ เนินไปในทางชั่ว คือ ผูแลน ตามหนทางผดิ ๆ ดําเนนิ ไปในหนทางผิด ๆ ซ่งึ เปน หนทาง ไปสูความทุกข ภัย ความหายนะ มีประการตาง ๆ, ความวา ผูทองเที่ยวไปในสังสารทุกข ซ่ึงกําลังเสวยทุกขนั้น ๆ มีประมาณ ยิ่ง. ช่ือวา พึงเปนผูมีความกลัวคือความสลดใจ ก็โดย เก่ียวกับการพจิ ารณาอยางนี้วา “โอหนอ เรา เมื่อยงั ทอ งเทย่ี วไป ในสังสารวฏั อยูอ ยางน้ี กจ็ ะตอ งเปน เหมือนกับสตั วเหลาน.ี้ ” ดงั น้ี เปน ตน. คําวา ยอมสองส่ิงที่ดีและเลวใหปรากฏ คือยอมสอง ใหเห็นรูปทน่ี า ปรารถนาและรปู ท่ไี มน า ปรารถนา. คําวา ใหมองเห็นหนทาง มีอยางตาง ๆ กัน คือ ใหรู จักหนทางทั้งหลายท่ีแตกตางกันอยางนี้วา “น้ี หนทางไปสูทุคติ, น้ี หนทางไปสูกามสุคติ, นี้ หนทางไปสูรูปภพ, นี้ หนทางไปสู อรูปภพ, น้ี หนทางไปสูพระนิพพาน” ดังน้ี. จบคําอธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาที่ ๙, สักกังคปญหา พระเจามิลนิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พงึ ถือเอาองค ๓ แหงทาวสักกะ’, องค ๓ ที่ถึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ทาวสักกะ เปนผูเปยมเสมอดวยสุขโดยสวนเดียว

๔๐๔ วรรคที่ ๓, ปถววี รรค ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ก็พึงเปนผูเต็มเปยม ดวยวิเวกสุขโดยสวนเดียว ฉันน้ันเหมือนกัน, นี้คือองคท่ี ๑ แหงทาวสักกะ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ทาวสักกะ ทรง ประคับประคองดูแลพวกเทวดาทั้งหลาย, ทรงยังใหเกิดความ บันเทิง ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพญ็ เพียรก็พงึ ประคับประคองจิตที่มีอันทอถอย เกียจคราน ในกุศลธรรม ท้ังหลาย, พึงทาํ ใหเกิดความบันเทิง, พึงกระตุน, พึงสืบตอ, พึง พยายาม ฉันน้ันเหมือนกัน, นี้คือองคท่ี ๒ แหงทาวสักกะ ท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ทาวสักกะ ไมทรงเกิด ความเหน่ือยหนาย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพึงทาํ ความเหนื่อยหนายในสุญญาคารให เกิดขึ้น ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหง ทาวสักกะ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระสุภูติเถระ ได ภาสิตความขอนี้ไว วา : ‘สาสเน เต มหาวีร, ยโต ปพฺพชิโต อหํ นาภิชานามิ อุปฺปนฺนํ, มานสํ กามสํหิตํ ขาแตทานมหาวีระ, ต้ังแตขาพระองคไดบวชใน ศาสนาของพระองคแลว ขาพระองคก็ไมรูจักจะ ทาํ จิตท่ีประกอบกับความใคร ใหมีอันไดเกิดขึ้น.’ ดังน้ี.” จบสักกงั คปญ หาท่ี ๙

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๐๕ คาํ อธบิ ายปญหาที่ ๙ ปญหาเกย่ี วกบั องคแ หงทาวสักกะ ชอื่ วา สักกงั คปญหา. คาํ วา ดวยวิเวกสุข คือดวยวิเวก กลา วคือพระนพิ พานอัน เปนสขุ อยา งยิ่ง โดยการเขาผลสมาบตั .ิ คําวา พึงประคับประคองจิต คือพึงประคับประคอง ภาวนาจิต. คําวา ไมทรงเกิดความเหน่ือยหนาย คือไมทรงเกิด ความเหน่ือยหนายในการปกครองอนุศาสนพวกเทวดาท้ังหลาย. คาํ วา ในสุญญาคาร คือในภาวนาท่วี างเวน หลกี หางจาก มิจฉาวิตก, หรือในอารมณกรรมฐานท่ีวางจากอัตตา จากสิ่งที่ เนื่องดว ยอัตตา. จบคําอธบิ ายปญ หาท่ี ๙ ปญหาที่ ๑๐, จักกวัตตงิ คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๔ แหง พระเจา จกั รพรรด’ิ , องค ๔ ทพี่ งึ ถือเอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา พระเจาจักรพรรดิ ทรงสงเคราะหผูคนดวยสังคหวัตถุ ๔ ประการ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงสงเคราะหจิตของบริษัท ๔ คือ พึงอนุเคราะห พึงทาํ ให บันเทิง ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหง พระเจาจักรพรรดิ ท่ีพึงถือเอา.

๔๐๖ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคหนึง่ , พวกโจรท้ังหลายยอ ม ไมฮ กึ เหิมในแวนแควน ของพระเจาจักรพรรดิ ฉันใด, ขอถวายพระ- พร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพึงทาํ กามวิตก พยาบาท วิตก และวิหิงสาวิตก ใหเกิดขึ้น ฉันนั้นเหมือนกัน, น้ีคือองคที่ ๒ แหงพระเจาจกั รพรรดิ ที่พงึ ถือเอา. ขอถวายพระพร พระผมู ี พระภาคผทู รงเปน เทพยงิ่ เหลาเทพ ทรงภาสิตความขอ นไ้ี ว วา : ‘วิตกฺกูปสเม จ โย รโต, อสุภํ ภาวยเต สทา สโต. เอส โข พฺยนฺติกาหิติ เอส เฉจฺฉติ มารพนฺธนํ๑ ก็ภิกษุรูปใด ยินดีในธรรมเคร่ืองสงบวิตก มีสติเจริญอสุภฌานตลอดกาลทุกเม่ือ ภิกษุรูปนี้ จักกระทําตัณหาใหสิ้นสุดไดแล ภิกษุรูปนี้ จักตัดเคร่ืองผูกแหงมารได แล.’ ดังนี้. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, ทุก ๆ วัน พระเจา- จกั รพรรดิ จะเสดจ็ ดาํ เนนิ ไปตามแผน ดินใหญ อนั มีมหาสมทุ รเปน ทส่ี ดุ เสาะหาสิ่งท่ดี แี ละไมดี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงพิจารณากายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ทุก ๆ วัน โดยนัยวา ‘เราจะทําวันเวลาใหลวงไป ไมถูกติเตียน                                                ๑. ขุ. ธ. ๒๕/๘๕.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๐๗ โดยฐานะ ๓ ไดไฉนหนอ?’ ดังนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร นี้คอื องคท ี่ ๓ แหงพระเจา จกั รพรรดิ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย พระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิต ความขอ นี้ไวในอังคตุ ตรนกิ ายอนั ประเสริฐ วา : ‘กถมฺภูตสฺส เม รตฺติทิวา วีติวตฺตนฺตีติ ปพฺพชิเตน อภณิ หฺ ํ ปจจฺ เวกขฺ ติ พฺพํ๑ - ผเู ปน บรรพชติ พึงพจิ ารณาบอ ย ๆ วา ‘คืนและวันของเราผูเกิดมาแลว ลวงไปอยางไรบางหนอ. ดังนี้.’ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, การถวายการอารักขา ทง้ั ภายใน ทงั้ ภายนอก การถวายการปองกันเปนอยา งดี ยอ มมีแก พระเจาจักรพรรดิ ฉันใด, พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงต้ัง นายประตูคือสติ เพ่ือการรักษา (ปองกัน) กิเลสท้ังหลาย ท้ัง ภายใน ทงั้ ภายนอก ฉนั นัน้ เหมอื นกนั , ขอถวายพระพร น้คี ือองค ท่ี ๔ แหงพระเจาจกั รพรรดิ ทพ่ี ึงถอื เอา. ขอถวายพระพร พระผมู -ี พระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไววา : ‘สติโทวาริโก ภิกฺขเว อรยิ สาวโก อกุสลํ ปชหติ กุสลํ ภาเวติ, สาวชฺชํ ปชหติ, อนวชฺชํ ภาเวติ, สุทฺธมตฺตานํ ปรหิ รติ - ดกู ร ภิกษุทง้ั หลาย พระอริยสาวกผูมีสติเปน นายประตู ยอมละอกุศล เจริญกุศลได, ละธรรมทมี่ ีโทษ เจริญธรรมที่ไมมี โทษได, ยอมบรหิ ารตนใหห มดจดได.’ ดังน.้ี ” จบจักกวัตติงคปญหาท่ี ๑๐                                                ๑. อง.ฺ ทสก. ๒๔/๙๓.

๔๐๘ วรรคท่ี ๓, ปถววี รรค คําอธบิ ายปญ หาที่ ๑๐ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงพระเจาจักรพรรดิ ชื่อวา จักก- วัตติงคปญหา. คําวา ดว ยสงั คหวตั ถุ ๔ ประการ คอื ดว ยสิ่งที่พงึ จัดแจง เพื่อการสงเคราะหผูอ่ืน ๔ ประการ ไดแก ทาน - การให การ แบง ปน ๑, เปยยวัชชะ - คาํ พูดท่ีออ นหวานนารกั ๑, อัตถจริยา - ความประพฤติแตป ระโยชน (คือคาํ พดู ที่สรางสรรคแตป ระโยชน) ๑, สมานัตตตา - ความเปนผูมีตนเสมอกนั (คือสุขดวยกัน, ทกุ ข ดวยกนั ) ๑. คาํ วา พึงสงเคราะหจิตของบริษัท ๔ เปนตน คือพึง สงเคราะหจิตของบริษัท ๔ อันไดแก ภิกษุบริษัท ภิกษุณีบริษัท เทวบริษัท และมนุสสบริษัท, หรือไดแก ขัตติยบริษัท พราหมณ- บริษัท เวสสบริษัท และสุททบริษัท พึงอนุเคราะห พึงทําให บันเทิงดวยธรรมเทศนา. ในพระคาถา : คาํ วา ยนิ ดีในธรรมเครือ่ งสงบวิตก คือ ยินดีในปฐมฌาน ในอสุภกรรมฐาน ๑๐ มีซากศพท่ีขึ้นพองอืด เปน ตน ซึง่ นบั วาเปน เครอ่ื งสงบมจิ ฉาวติ ก คอื ความดาํ ริผิด ๆ ๓ อยา ง มีกามวิตกเปน ตน. คําวา เคร่ืองผูกแหงมาร ไดแกตัณหาที่ทําวัฏฏะในภูมิ ๓ ใหเปนไปนั้นนั่นแหละ. คาํ วา โดยฐานะ ๓ ไดแก โดยฐานะ ๓ เหลานี้ คือ โดยทางกายกรรมฐานะ ๑, โดยทางวจีกรรมฐานะ ๑, โดยทาง

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๐๙ มโนกรรมฐานะ ๑. ดวยคาํ วา คืนและวันของเราผูเกิดมาแลว ลวงไป อยางไรบางหนอ น้ี ทรงแสดงถึงขอที่ควรสาํ เหนียกพิจารณา บอ ย ๆ ของผเู ปน บรรพชติ อยางนว้ี า “คนื และวนั ของเราผูเกิด มาแลว คอื เปน บรรพชิตแลว ยอ มลว งไปอยา งไรบางหนอ. ตลอด ทง้ั วัน วนั นี้ ตลอดท้งั คนื คนื น้ี เราไดท ําวัตรปฏบิ ตั ทิ ่คี วรทาํ นั้น ๆ แลวหรือหนอ หรือวาท่ียังมิไดทํา ก็ยังมีอยูอีก ไดทาํ การสวด สาธยายคันถะแลวหรือหนอ หรอื วายังมไิ ดทํา ไดม นสกิ ารกรรม- ฐานแลวหรอื หนอ หรือวา ยังมไิ ดม นสิการเลา” ดงั นี้ เปน ตน. คําวา การถวายการอารักขาทั้งภายใน ท้ังภายนอก คือการถวายการอารักขาองคพระเจาจักรพรรดิไวจากศัตรู จาก อนั ตราย ทง้ั ภายในพระนคร ทัง้ ภายนอกพระนคร. คําวา กิเลสทั้งหลายทั้งภายใน ทั้งภายนอก คือกิเลส ทั้งหลายที่ช่ือวาเปนภายในเพราะเปนไปในอายตนะภายใน ๖ หรือเพราะเปนไปปรารภขันธของตน. ท้ังที่ชื่อวาเปนภายนอก เพราะเปนไปในอายตนะภายนอก ๖ หรือเพราะเปน ไปปรารภขันธ ของผอู น่ื . คาํ วา ผมู สี ติเปนนายประตู คือผูเ ขา ไปต้ังสตไิ วทีป่ ระตู คอื ท่ีทวารอนั เปน อนิ ทรีย ๖ มี ตา หู เปนตน เพ่ือปอ งกันกเิ ลสทีจ่ ะ พึงไหลเขา มาทางทวารนั้น ๆ. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๑๐ จบปถววี รรคที่ ๓

๔๑๐ วรรคที่ ๔, อุปจิกาวรรค วรรคที่ ๔, อุปจกิ าวรรค ปญหาท่ี ๑, อุปจิกังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงปลวก’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมอื นวา ปลวก สรางเครื่องมงุ บังไวเบอื้ งบน ปดบังตนเองไวแ ลว ก็เท่ียวโคจรไป ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ก็พึงสรางเครื่องมุงบังคือศีลสังวร ปดบังจิตไวแลวเที่ยว บิณฑบาตไป ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบําเพ็ญเพียร อาศัยเคร่ืองมุงบังคือศีลสังวร ก็ยอมกาวลวงภัย ทั้งปวงได, ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหงปลวก ท่ีพึงถือเอา, ขอถวายพระพร ทานพระอุปเสนวงั คนั ตบุตรเถระ ไดภาสติ ความ ขอนี้ไว วา - ‘สีลสํวรฉทนํ, โยคี กตฺวาน มานสํ. อนุปลิตฺโต โลเกน, ภยา จ ปริมุจฺจติ พระโยคี กระทาํ จิตใหมีเครื่องมุงบังคือศีลสังวร แลว ก็ไมถูกโลกธรรมฉาบทา ยอมหลุดพนจาก ภัยทั้งปวงได.’ ดังน้ี.” จบอุปจิกังคปญหาที่ ๑

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๔๑๑ คําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาเก่ียวกับองคแหงปลวก ชื่อวา อุปจิกังคปญหา. คาํ วา พึงสรางเครื่องมุงบังคือศีลสังวร คือพึงสราง เคร่ืองมุงบังคือศีลบริสุทธิ์ ๔ อยาง มีปาติโมกขสังวรศีลเปนตน, โดยพิเศษวคืออินทริยสังวรศีล ปดบังคือรักษาวิปสสนาจิต หรือ จิตท่ีประกอบดวยสติและสัมปชัญญะ ไมใหชองแกความยินดี ยินราย แหงภิกษุผูบาํ เพ็ญคตปจจาคติกวัตร (วัตรของภิกษุ ผูนาํ กรรมฐานกาํ กับจิตใจไป และนํากรรมฐานน้ันกาํ กับจิตใจ มา ไมท้ิงเสียในระหวาง ในสมัยท่ีเที่ยวบิณฑบาตไปและ กลับมาแตละคร้ัง). จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาที่ ๒, พิฬารังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงแมว’, องค ๒ ที่พึงถอื เอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา แมว ไมวาจะอยูในถาํ้ ไมวาจะอยูในโพรง ไมวาจะ อยูในบาน ก็เอาแตจะคนหาหนูทาเดียว ฉันใด, ขอถวายพระ พร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ไมวาจะอยูในบาน ไมวาจะอยู ในปา ไมวาจะอยูท่ีโคนไม ก็พึงเปนผูไมประมาทเปนประจํา สมํา่ เสมอ เอาแตจะคนหาของกินคือกายคตาสติ ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงแมวท่ีพึงถือเอา

๔๑๒ วรรคที่ ๔, อุปจิกาวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, แมว เสาะหาที่เท่ียว หากินเฉพาะใกล ๆ เทานั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูตามพิจารณาเห็นความเกิดขึ้น และ ความปราศไปในอุปาทานขันธ ๕ เหลานี้ เทานั้นอยูอยางนี้วา ‘รูปมีอยางน้ี รูปมีความเกิดข้ึนอยางน้ี รูปมีความปราศไป อยางน้ี, เวทนามีอยางนี้ เวทนามีความเกิดขึ้นอยางนี้ เวทนา มีความปราศไปอยางน้ี, สัญญามีอยางน้ี สัญญามีความเกิดขึ้น อยางนี้ สัญญามีความปราศไปอยางนี้, สังขารมีอยางนี้ สังขารมีความเกิดขึ้นอยางนี้ สังขารมีความปราศไปอยางน้ี, วิญญาณมีอยางน้ี วิญญาณมีความเกิดข้ึนอยางนี้ วิญญาณ มีความปราศไปอยางนี้’ ดังนี้ ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงแมว ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระ- ผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไว วา : ‘น อิโต ทูเร ภวิตพฺพํ, ภวคฺคํ กึ กริสฺสติ ปจฺจุปฺปนฺนมฺหิ โวหาเร, สเก กายมฺหิ วินฺทถ พวกเธอไมพึงอยูในท่ีไกลไปกวาน้ี, ภวัคคพรหม จักกระทาํ อะไรใหไดเลา, จงยินดีอยูแตในกายของ ตนท่ีกลาวถึงกันไดในปจจุบันเทาน้ัน เถิด.’ ดังนี้. จบพิฬารังคปญหาที่ ๒

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๔๑๓ คําอธบิ ายปญหาท่ี ๒ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงแมว ช่ือวา พิฬารังคปญหา. คําวา เอาแตจะคนหาของกินคือกายคตาสติ คือเอา แตจะคนหา คือเอาแตจะเจริญสติที่เปนไปในกาย ท่ีเปนไป รวมกับปญญาพิจารณากาย อยางท่ีตรัสไวอยางน้ีวา “ภิกษุเม่ือ เดิน ก็ยอมรูชัดวาเดินอยู, เม่ือยืน ก็ยอมรูชัดวายืนอยู, เมื่อนั่ง ก็ยอมรูชัดวานั่งอยู, เม่ือนอน ก็ยอมรูชัดวานอนอยู, ก็หรือวากาย ของเธอต้งั อยโู ดยอาการใด ๆ เธอกย็ อ มรชู ดั ซึ่งกายนัน้ โดยอาการ นน้ั ๆ” ดงั น.้ี ความเปนผูตามพิจารณาเห็นความเกิดข้ึน และความ ปราศไป คือดับไปแหงอุปาทานขันธ ๕ แหงพระโยคาวจรเปรียบ ไดกับความเปนผูเสาะหาแตที่เที่ยวหากินเฉพาะใกล ๆ แหงแมว ก็เพราะความท่ีอุปาทานขันธ ๕ ของตน แหงพระโยคาวจรผู พิจารณาอยูนั้น นับวาเปนของที่อยูใกลยิ่งกวาอุปาทานขันธ ๕ นอกน้ี. พระโยคาวจรมีโอกาสไดเห็นความเกิดข้ึนและความดับ ไปแหงอุปาทานขันธ ๕ ได ก็เพราะไดเจริญกายคตาสติไวใน เบ้ืองตน. ในพระคาถา : คําวา พวกเธอไมพงึ อยใู นทไ่ี กลไปกวา น้ี คือ พวกเธอไมพึงใหจิตอยูในที่ไกลไปกวาอุปาทานขันธ ๕ ของตนน้ี ดว ยอาํ นาจแหง การเจริญกายคตาสตเิ นอื ง ๆ น่ันเทียว. คาํ วา ภวัคคพรหมจักกระทําอะไรใหไดเลา ความวา เม่ือไดเจริญกายคตาสติ ก็สามารถเกิดวิปสสนาญาณเห็นความ

๔๑๔ วรรคท่ี ๔, อุปจกิ าวรรค เกิดขึ้นและความดับไปแหงอุปาทานขันธ ๕ ที่มีอยูน้ีได และ ความรูความเห็นอยางนี้ ยอมเปนไปเพ่ือประโยชนคือการถึง พระนิพพานอันเปนธรรมที่ดับภพทั้งปวง ซ่ึงเปนประโยชนอยาง ยิ่ง เม่ือเปนเชนนี้ ภวัคคพรหม (พรหมซึ่งเปนยอดแหงภพ) คือ พรหมชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ จักกระทําประโยชนอะไร ใหอีกเลา, ประโยชนอะไรดวยภวัคคพรหมเลา. คําวา จงยินดอี ยแู ตในกายของตนที่กลา วถงึ กันไดใ น ปจจบุ นั เทานั้น เถดิ คือจงยินดจี ะทาํ ประโยชนด วยอาศัยกายท่ี มีอยู ท่ีกลาวถึงกันอยูในปจจุบัน โดยสมมุติวา “เรา, ของเรา” น้ี เทา นั้นเถดิ . จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๒ ปญหาท่ี ๓, อนุ ทรู ังคปญ หา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน ทานกลา ววา ‘พึง ถอื เอาองค ๑ แหง หนู’, องค ๑ ท่ีพงึ ถือเอานน้ั เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา หนู ยอ มเท่ียวตรวจสอบไปขา งนั้น ขา งนี้ หวงั อยูแ ตส ิ่ง ที่เปนอาหารเทานั้น ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูเที่ยวสอบสวนไปขางน้ันขางนี้ หวังอยู แตจะทําโยนิโสมนสิการ ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ี คือองค ๑ แหงหนู ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระอุปเสน- วังคันตบุตรเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไว วา :

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๔๑๕ ‘ธมฺมสีสํ กริตฺวาน, วิหรนฺโต วิปสฺสโก อโนลีโน วิหรติ, อุปสนฺโต สทา สโต ภิกษุผูกระทาํ ธรรมใหเปนศีรษะ เจริญวิปสสนา อยู ยอมเปนผูไมยึดติด มีสติ สงบ ตลอดกาล ทุกเม่ืออยู.’ ดังน้ี.” จบอุนทูรังคปญหาที่ ๓ คําอธิบายปญหาที่ ๓ ปญหาเก่ียวกบั องคแ หงหนู ช่ือวา อนุ ทรู ังคปญหา. คาํ วา หวังอยูแตจะทําโยนิโสมนสิการ คือมุงแตจะทํา โยนิโสมนสิการ อันเปนเหตุบายหนาตรงตอวิปสสนาท่ีเห็นวา ไมเท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา ในเวลาที่เดินอยู ในเวลาท่ียืนอยู ในเวลาที่นั่งอยู และในเวลาที่นอนอยู. คาํ วา ภิกษุผูกระทําธรรมใหเปนศีรษะ คือภิกษุ ผูกระทําธรรมคือโยนิโสมนสิการใหเปนศีรษะ คือใหบายหนา ตรงตอวิปสสนา ผูกาํ ลังเจริญวิปสสนาอยู. คาํ วา ยอมเปนผูไมยึดติด คือยอมเปนผูท่ีไมยึดติดใน ธรรมทั้งหลายท่ีตนเห็นแลวดวยวิปสสนาวา ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาน้ัน เพราะเหตุน้ันนั่นแหละ จึงเปนผู มีสติ สงบ ตลอดกาลทุกเม่ืออยู. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๓

๔๑๖ วรรคท่ี ๔, อุปจกิ าวรรค ปญหาท่ี ๔, วิจฉิกังคปญหา พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน ทา นกลา ววา ‘พงึ ถอื เอาองค ๑ แหงแมงปอ ง’, องค ๑ ท่ีพงึ ถอื เอานน้ั เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา แมงปอง มีหางเปนอาวุธ จึงเท่ียวยกหางไป ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูมีญาณ เปนอาวุธ, พึงยกข้ึนซึ่งญาณอยู ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวาย พระพร น้ีคือองค ๑ แหงแมงปอง ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระอุปเสนวังคันตบุตรเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไววา : ‘าณขคฺคํ คเหตฺวาน, วิหรนฺโต วิปสฺสโก ปริมุจฺจติ สพฺพภยา, ทุปฺปสโห จ โส ภเว ภิกษุผูจับพระขรรคคือญาณ เจริญวิปสสนาอยู ยอมหลุดพนจากภัยทั้งปวงได, และเธอจะพึงเปน ผูท่ีภัยท้ังหลายขมข่ี (ทําใหพรั่นพรึง) ไดยาก.’ ดังนี้.” จบวิจฉิกังคปญหาท่ี ๔ คาํ อธิบายปญหาที่ ๔ ปญ หาเกี่ยวกบั องคแหงแมงปอง ชอ่ื วา วจิ ฉิกังคปญ หา. คาํ วา พึงเปนผูมญี าณเปนอาวธุ คือพงึ เปนผูมญี าณทงั้ ทเี่ ปนโลกยี  ทง้ั ท่เี ปน โลกตุ ตระ เปนอาวธุ รบชนะมารท้งั ๕ ได.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๑๗ คาํ วา พึงยกข้ึนซ่ึงญาณ คือพึงยก ไดแกพึงทาํ ญาณ- สังวรใหเกิดข้ึนบอย ๆ ตัดกระแสตัณหาและทิฏฐิอันเปนเหตุแหง มารท้ัง ๕ น้ัน. ก็มาร ๕ นั้น ไดแก กิเลสมาร ๑, อภิสังขารมาร (กรรมดี, กรรมช่ัว) ๑, ขันธมาร ๑, มัจจุมาร - ความตาย ๑, เทวบุตรมาร ๑. กิเลสเปนตน ชื่อวา มาร ก็เพราะอรรถวา ทาํ ใหตาย กลาวคือ ทาํ ใหประสบความตายซํา้ ๆ ซาก ๆ ใน สังสารวฏั . จบคําอธิบายปญหาที่ ๔ ปญหาท่ี ๕, นกุลังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๑, แหงพังพอน’, องค ๑ ที่พึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา พงั พอน เมื่อจะเขา ใกลง ู กย็ อ มใชย าอบตวั แลวจงึ เขา ไปใกลงู เพื่อที่จะจับเอา ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบาํ เพ็ญเพียร เมื่อจะเขาไปใกลชาวโลกผูมากดวยความโกรธ ความอาฆาต ผูถูกการทะเลาะ การจับผิดกัน การวิวาท ความ โกรธครอบงํา ก็ยอมใชยาคือเมตตาลูบไลจิต ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๑ แหงพังพอนท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย

๔๑๘ วรรคท่ี ๔, อุปจิกาวรรค พระพร ทานพระธรรมเสนาบดี สารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอนี้ ไว วา - ‘ตสฺมา สกํ ปเรสมฺป, กาตพฺพา เมตฺตาภาวนา เมตฺตจิตฺเตน ผริตพฺพํ, เอตํ พุทฺธาน สาสนํ เพราะฉะนั้น ก็ควรกระทาํ การเจริญเมตตา แกตน ทั้งแกคนอื่น พึงแผไปดวยเมตตาจิต น้ีคือคําสอน ของพระพุทธเจาท้ังหลาย.’ ดังนี้.” จบนกุลังคปญหาท่ี ๕ คําอธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงพังพอน ชื่อวา นกุลังคปญหา. คําวา พึงแผไปดวยเมตตาจิต คือพึงแผ ไดแกพึง คาํ นึงถึงสัตวท้ังหลายทั้งปวง พึงทาํ สัตวทั้งหลายท้ังปวงใหเปน อารมณ ดวยจิตท่ีประกอบดวยเมตตา. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๕ ปญหาที่ ๖, ชรสิงคาลังคปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ทานกลา ววา ‘พึง ถอื เอาองค ๒ แหง สนุ ัขจงิ้ จอก’, องค ๒ ทีพ่ งึ ถอื เอานน้ั เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา สุนัขจิ้งจอก พอไดของกินแลว ก็ไมรังเกียจ กลืนกิน

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๑๙ ตราบเทาที่ตองการ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ไดโภชนาหารมาแลว ก็พึงเปนผูไมรังเกียจบริโภค เพยี งเพอ่ื เปนเครอ่ื งเยียวยาสรีระ ฉนั น้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๑ แหงสุนัขจิ้งจอก ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทาน พระมหากสั สปเถระ ไดภาสิตความขอนีไ้ วว า : ‘เสนาสนมฺหา โอรุยฺห, คามํ ปณฺฑาย ปาวิสึ. ภุฺชนฺตํ ปุริสํ กุฏึ, สกฺกจจํ นํ อุปฏหึ. โส เม ปกฺเกน หตฺเถน, อาโลป อุปนามยิ. อาโลป ปกฺขิปนฺตสฺส, องฺคุลิ ปตฺเต ฉิชฺชถ. กุฏฏมูลฺจ นิสฺสาย, อาโลป ตํ อภุฺชิสํ. ภุฺชมาเน วา ภุตฺเต, เชคุจฺฉํ เม น วิชฺชติ.๑ เราลงจากเสนาสนะ เขาไปสูละแวกบาน เพ่ือ บิณฑบาต ไดเขาไปหาบุรุษโรคเรื้อน ผูกําลัง บริโภคอยูนั้น แลวยืนอยูอยางเคารพ บุรุษโรคเร้ือน น้ัน ใชมือเปอย ๆ นอมถวายคําขาวแกเรา เมื่อเขา กําลังใสคําขาวลงไป น้ิวก็ขาดตกไปในบาตร เรา น่ังชิดโคนฝาเรือน บริโภคคําขาวน้ัน เราจะมีความ รังเกียจในคาํ ขาวท่ีกําลังบริโภคอยู หรือท่ีบริโภค แลวบาง ก็หาไม.’ ดังน้ี.                                                ๑. ข.ุ เถร. ๒๖/๔๕๗

๔๒๐ วรรคท่ี ๔, อุปจิกาวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, สุนัขจิ้งจอก ไดของกิน มาแลว ก็ไมเลือกวาเลวหรือประณีต ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ไดโภชนาหารมาแลว ก็ไมพึงเลือก วาเลวหรือประณีต, วาสมบูรณหรือไมสมบูรณ พึงยินดีอยูดวย โภชนาหารตามที่ได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือ องคที่ ๒ แหงสุนัขจิ้งจอก ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระ อุปเสนวังคันตบุตรเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไว วา : ‘ลูเขนป จ สนฺตุสฺเส, นาฺ ปตฺเถ รสํ พหุ รเสสุ อนุคิทฺธสฺส, ฌาเน น รมเต มโน อิตรีตเรน สนฺตุฏโ, สามฺ ปริปูรติ๑ พึงสันโดษดวยโภชนะตามที่ไดมา แมวาเลว, ไมพึงปรารถนารสมากมายอยางอื่นอีก ใจของ บุคคลผูคอยติดของในรสทั้งหลาย ยอมไมรื่นรมย ในฌาน บุคคลผูสันโดษดวยปจจัยตามที่มี ตาม ที่ได ยอมทําความเปนสมณะใหเต็มเปยมได.’ ดังนี้.” จบชรสิงคาลังคปญหาท่ี ๖ คําอธิบายปญหาที่ ๖ ปญหาเกี่ยวกับองคแหงสุนัขจิ้งจอก ช่ือวา ชรสิคาลังค- ปญหา.                                                ๑. ข.ุ เถร. ๒๖/๓๙๗.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๒๑ คําพูดของทานพระมหากัสสปเถระท่ีวา “เราลงจาก เสนาสนะ” เปนตน ทานกลาวไวในคราวท่ีใหโอวาทภิกษุ ทั้งหลาย สมัยหน่ึง เพ่ือชี้ใหเห็นวา “ข้ึนชื่อวาเปนภิกษุ ควร ปฏิบัติอยางน้ี” โดยการแสดงถึงความสันโดษในปจจัย ๔ ของ ตัวทานเอง เปนชองทาง. ในคําเหลาน้ัน ทานกลาวไวอยางน้ีวา “เราลงจากเสนาสนะ” ดังนี้ ก็เพราะในเวลานั้นทานอยูท่ี เสนาสนะภูเขา. กอนหนานั้น ทานเขานิโรธสมาบัติอยู ออก จากสมาบัติน้ันในเวลาภิกขาจาร คิดจะสงเคราะหคนยากจน เข็ญใจสักคนหนึ่ง ทราบวา “บุรุษโรคเร้ือนผูนี้ เปนคนยากจน ขัดสนย่ิง” ดังน้ีแลว จึงลงจากภูเขา เดินเขาไปสูละแวกบาน มุงจะสงเคราะหบุรุษโรคเร้ือนผูน้ีเปนสาํ คัญ. คาํ วา ไปหาบุรุษโรคเร้ือน ฯลฯ แลวยืนอยูอยาง เคารพ คือทานตองการภิกษาหาร ดวยประสงคจะสงเคราะห บุรุษโรคเร้ือนผูน้ีใหไดรับสมบัติประเสริฐมากมาย เปนเศรษฐี ดวย เพราะผูท่ีถวายภิกษาหารแกทานผูออกจากนิโรธสมาบัติ ใหม ๆ ยอมไดรับอานิสงสเชนที่วาภายใน ๗ วัน จึงเขาไปดวย ความเคารพ คือดวยความเอื้อเฟออยางยิ่ง ราวกะเขาไปสู ตระกูลทายกท่ีมั่งคั่ง ที่คอยจะถวายภิกษาหารที่ประณีตให ฉะน้ัน แลวยืนรออยู เพราะเวลาน้ัน บุรุษโรคเร้ือนผูน้ันกาํ ลัง บริโภคอาหารอยู. คาํ วา ใชมือเปอย ๆ คือพอเห็นพระเถระเขา ก็เกิด ศรัทธายิ่ง ใครจะถวายภิกษาหาร แตไมมีภิกษาหารอะไรอื่นที่

๔๒๒ วรรคที่ ๔, อุปจิกาวรรค นอกเหนือจากที่ตนกําลังบริโภค จึงนอมเอาอาหารที่ตนกําลัง บริโภคนั้นนั่นแหละ ถวายแกพระเถระ ดวยมือตนที่ผุเปอย เพราะโรคเรื้อนน้ัน. คาํ วา นิ้วก็ขาดตกไปในบาตร คือนิ้วมือท่ีเปอยเต็มที นิ้วหน่ึง ขาดตกไปในบาตรพรอมกับอาหารท่ีถวาย. คําวา เราน่ังชิดโคนฝาเรือน บริโภคคาํ ขาวนั้น คือ พระเถระเกรงวาบุรุษโรคเรื้อนจะเกิดความคิดระแวงวาทานจะ รังเกียจภิกษาหารเชนน้ีแลวก็เทท้ิงเสีย ณ ท่ีใดท่ีหนึ่ง ทานจึง น่ังลงชิดโคนฝาเรือนของเขานั่นแหละ คัดเอานิ้วที่ขาดตกลงไป ในบาตรน้ันท้ิงไป ฉันภิกษาหารในบาตรน้ันตอหนาเขานั่นเทียว ฉะนี้แล. ในคําของพระอปุ เสนวงั คนั ตบุตร :- คาํ วา ยอ มไมร ่ืนรมย ในฌาน คือยอมไมอาจไดรับความรื่นรมยในความสุขในฌาน เพราะผูท่ียังมีจิตติดของในรสของอาหาร นับวาเปนผูท่ีมีอินทริย- สังวรท่ียังไมเต็มบริบูรณ และผูที่มีอินทริยสังวรบกพรอง ยอมไม อาจสาํ เร็จฌานทั้งหลาย ทั้งโลกิยฌาน ทั้งโลกุตรฌานได. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๖ ปญหาท่ี ๗, มิคังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๓ แหงเน้ือ’, องค ๓ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน ไฉน?”

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๔๒๓ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา เนื้อ ตอนกลางวันเท่ียวไปในปา, ตอนกลางคืนเที่ยวไปในที่โลงแจง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียรตอน กลางวันพึงอยูแตในปา, ตอนกลางคืนพึงอยูในท่ีโลงแจง ฉันน้ัน เหมือนกัน, น้ีคือองคท่ี ๑ แหงเนื้อ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลา เทพ ทรงภาสิตความขอนไี้ วใ น โลมหงั สนปรยิ ายสูตร (มหา- สหี นาทสูตร) วา - ‘โส โข อหํ สารีปตุ ต ยา ตา รตฺตโิ ย สีตา เหมนตฺ กิ า ฯเปฯ รตฺตึ วนสณฺเฑ๑ - ‘ดกู ร สารบี ุตร กลางคืน ที่หนาวเย็นในฤดูหนาว ในสมัยที่มีหิมะตกในแวนแควนน้ันใด, ในตอนกลางคืนเห็นปานน้ัน เราไดอยูในท่ีโลงแจง, พอถึงตอน กลางวัน ก็อยูแตในปาทึบ. ตลอดฤดูรอนจนถึงเดือนสุดทาย กลางวันเราอยูในที่โลงแจง, กลางคืนอยูแตในปาทึบ’ ดังนี้. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง เม่ือมีหอกหรือธนูพุง ตกลงมา เนื้อยอมมีแตจะหลบหลีกหนีไป, ไมนอมกายเขาไปรับ ฉันใด, ขอถวายพระพร เมื่อมีกิเลสพุงตกลงมา พระโยคาวจรก็ พึงหลบหลีกหนีไป, ไมพึงนอมจิตเขาไปรับไว ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, เน้ือ พอเห็นคนเขาก็ หนีไปเสียทางใดทางหนึ่ง ดวยความคิดวา ‘ขอพวกคนเหลาน้ัน จงอยา ไดเหน็ เราเลย’ ดงั น้ี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร                                                ๑. ม. มู ๑๒/๑๔๓.

๔๒๔ วรรคที่ ๔, อุปจิกาวรรค ผูบาํ เพ็ญเพียร เห็นคนทุศีลท้ังหลาย ผูมีปกติโตเถียงกัน ทะเลาะ กนั จับผดิ กนั ววิ าทกัน คนเกยี จคราน คนทีย่ นิ ดกี ารอยคู ลกุ คลีกัน แลว ก็พึงหนีไปเสียทางใดทางหน่ึง ดวยความคิดวา ‘ขอคน เหลาน้ัน จงอยาไดพบเห็นเราเลย’ ดังน้ี ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คอื องคท ี่ ๓ แหง เน้อื ทพี่ ึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดสี ารีบตุ รเถระ ไดภาสติ ความขอนีไ้ วว า - ‘มา เม กทาจิ ปาปจฺโฉ, กุสีโต หีนวีริโย อปฺปสฺสุโต อนาจาโร, สมฺมโต อหุ กตฺถจิ๑ ในกาลไหน ๆ ในที่ไหน ๆ ขอเราจงอยาไดมีคน ปรารถนาลามก คนเกียจคราน คนมีความเพียรเลว ทราม คนหาการสดับมิได คนไมมีอาจาระเปนคนท่ี เราตองคบหาดวยเลย.’ ดังน้ี.” จบมิคังคปญหาท่ี ๗ คาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญ หาเกี่ยวกบั องคแหงเนอ้ื ช่ือวา มคิ งั คปญหา. พระโยคี ตอนกลางวันพึงอยูแตใ นปา, ตอนกลางคนื พึงอยูในทโี่ ลงแจง ก็เพอื่ ประโยชนแกกายวเิ วก (ความสงัดกาย) หลีกเล่ียงการพบปะผูคนที่พึงมีเกล่ือนกลนในสถานท่ีน้ัน ๆ ใน เวลานั้น ๆ.                                                ๑. ข.ุ เถร. ๒๖/๔๔๙.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๔๒๕ คาํ วา เมื่อมีกิเลสพุงตกลงมา พระโยคาวจรพึงหลบ หลีกหนีไป คือเม่ือประสบอารมณอันเปนท่ีตั้งแหงราคะ เปน ท่ีตั้งแหงโทสะ หรือเปนท่ีตั้งแหงโมหะ อันจะเปนเหตุใหราคะ เปนตนเกิดขึ้น ก็พึงทําจิตหลบหลีกหนีไปเสียกอน ดวยอาํ นาจ สํารวมอินทรียทั้งหลาย มีสติ มีสัมปชัญญะ มนสิการกรรมฐาน มีการพิจารณาโกฏฐาส ๓๒ เปนตน. คาํ วา พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร เห็นคนทุศีล ทั้งหลาย เปน ตน เปน คําแสดงถงึ ความเปน ผูม ีปกติคบหาบณั ฑิต หลีกเลี่ยงการคบหาคนพาล แหงพระโยคาวจร. จบคําอธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาท่ี ๘, โครูปงคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๔ แหงโค’, องค ๔ ที่พึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา โค ยอมไมละทิ้งคอกของตนไป ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพึงละทิ้งกายของตน ดวยการทําไวในใจวา ‘กายนี้ มีความเปนของไมเท่ียง ทรุด- โทรม ยอยยับ แตกทาํ ลาย กระจัดกระจาย ปปน เปนธรรมดา’ ดังน้ี ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๑ แหงโค ท่ีพึงถือเอา.

๔๒๖ วรรคท่ี ๔, อุปจกิ าวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, โคท่ีเขาเทียมแอก แลว ยอมนําแอกไป โดยสะดวกบาง ลําบากบาง ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูเทียม แอกคือพรหมจรรย ประพฤติพรหมจรรยอันลมหายใจเปนท่ีสุด โดยสะดวกบาง ลําบากบาง ตลอดจนกวาชีวิตส้ินสุด ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๒ แหงโคท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, โค ยอมด่ืมนาํ้ สูดดม ดวยความพอใจ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ก็พึงเปนผูกระหายจะรับเอาคาํ อนุศาสนของอาจารยและ อุปชฌายะ สูดดมดวยความพอใจ ดวยความรัก ดวยความ เล่ือมใส ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๓ แหง โค ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, โค พอถูกใครคนใด คนหนึ่งตอนไป ก็ยอมไป ฉันใด, พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงรับเอาโอวาทและอนุศาสนีท้ังของอาจารยและอุปชฌายะ ท้ังของอุบาสกฆราวาส ดวยเศียรเกลา ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอ ถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๔ แหงโค ท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย พระพร ทานพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอนี้ ไววา - ‘ตทหุ ปพฺพชโิ ต สนฺโต, ชาติยา สตฺตวสสฺ ิโก. โสป มํ อนุสาเสยยฺ , สมฺปฏิจฉฺ ามิ มตฺถเก.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook