Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๒๗ ดิ่งไปผิดที่ พอพบเห็นทางออกเขา ก็แลนตรงไปทางน้ัน เล่ือมใส บันเทิง ยินดีอยูวา เราไดทางออกแลวหนอ ดังนี้ ฉันใด, ขอถวายพระพร จิตของบุคคลผูมีปกติเล็งเห็นภัยในสังขารท่ี เปนไปอยู ยอมแลนไป ยอมเลื่อมใส ยอมบันเทิง ยอมยินดี ในธรรมอันหาสังขารเปนไปมิไดวา เราไดนิสสรณธรรมแลวหนอ ดังนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน. บุคคลผูปฏิบัติชอบน้ัน ยอมพยายามแสวงหา ยอมเจริญ ยอมกระทาํ ไวมาก ซึ่งมรรคปฏิปทา เพ่ือประโยชนแกธรรมอัน หาสังขารเปนไปมิได, สติของเขายอมตั้งอยูเพ่ือประโยชนนั้น, วิริยะ ยอมตั้งอยูเพื่อประโยชนน้ัน, ปติ ยอมต้ังอยูเพ่ือประโยชน น้ัน, จิตของเขา ผูกระทําไวในใจโดยถูกทางนั้น ยอมกาวลวง สังขารท่ีเปนไป แลวกาวลงสูธรรมอันหาสังขารเปนไปมิได, ขอ ถวายพระพร บัณฑิตยอมกลาวถึง บุคคลผูปฏิบัติชอบ ผูบรรลุ ธรรมอันหาสังขารเปนไปมิไดตามลาํ ดับแลว วา กระทําพระ นิพพานใหแจง.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ขาพเจา ขอยอมรับคําตามที่ทานกลาวมาน้ี.” จบนพิ พานสจั ฉกิ รณปญ หาที่ ๑๑ คําอธบิ ายปญหาที่ ๑๑ ปญหาเก่ียวกับการกระทําพระนิพพานใหแจง ช่ือวา นพิ พานสจั ฉกิ รณปญ หา.

๒๒๘ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา คําวา พระนิพพานไมเปนอดีต เปนตน เปนเพียงการ กลาวถงึ ภาวะท่ีพระนิพพานมไิ ดเปน ไปเน่อื งดว ยปจ จัยเทานั้น. คาํ วา กระทําพระนิพพานที่เกิดข้ึนแลวใหแจงหรือไร เปนตน คือกระทาํ พระนิพพานท่ีเกิดขึ้นเองอยูแลวใหแจงหรือไร, หรือวาทาํ นิพพานท่ียังไมเกิดข้ึนใหเกิดข้ึนเสียกอน แลวจึงทํา ใหแ จง . คําวา บุคคลใดเปนผูปฏิบัติชอบ บุคคลนั้นยอมใช โยนิโสมนสิการ ฯลฯ ใหแจงได ความวา บุคคลใดเปนผู ปฏิบัติชอบ บุคคลผูน้ันยอมใชโยนิโสมนสิการในการปฏิบัติน้ัน ซึ่งเพราะเหตุท่ีปฏิบัติไปอยางมีโยนิโสมนสิการ วิปสสนาปญญา ก็ยอมเกิดข้ึน เมื่อวิปสสนาปญญาเกิดข้ึนแลว ก็ทาํ วิปสสนา ปญญานั้นใหเจริญกาวหนาไป ก็ยอมบรรลุถึงมรรคปญญา กระทําพระนิพพานอันเปนธรรมที่ปราศจากความรอนแหงกิเลส ดุจไฟ ๓ กอง คือ ความรอนแหงไฟราคะ ไฟโทสะ และไฟโมหะ, และเปนธรรมที่เปนสุขอยางย่ิง เพราะเปนที่ระงับทุกขทั้งหลาย ท้ังปวง ใหแจงได. คําวา ความรอนก็ยอมกาวลงในกาย คือ กายเปน เหมือนเกิดความรอนรุมขึ้น เพราะเม่ือไดเห็นความจริงในสังขาร แลว ความเย็นชุมดวยอํานาจตัณหา เสนหาในกาย ก็ปราศไป. พระนิพพาน ชื่อวา ธรรมอันหาสังขารเปนไปมิได ก็ เพราะเหตุวา สังขารท้ังหลายท้ังปวง พอมาถึงพระนิพพานนี้แลว

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๒๙ ก็ยอมหยุดเปนไป ยอมสงบระงับไป เพราะเหตุน้ัน ทานจึงกลาว วา ธรรมอันเปนทสี่ งบสังขารท้ังปวง. คําวา เปนผูไมมีท่ีตานทาน ฯลฯ ยอมเบื่อหนายใน ภพทั้งหลาย ความวา เมื่อไดเห็นความจริงในสังขารทั้งหลาย ดวยปญญาแลว ก็มองไมเห็นความเปนท่ีตานทานภัย ความ เปนท่ีพึ่งในสังขาร อะไร ๆ ในสังขารแมเพียงนิดหนอยที่พอจะ เปนท่ีพึ่งไดบางไมมีเลย เพราะเหตุนั้นน่ันแหละ จึงเบื่อหนาย ในภพทั้งหลายอันเปนเพียงความเปนไปแหงสังขารเหลาน้ัน. คําวา ยอมเห็นชาติ ฯลฯ เห็นมรณะในสังขารนน้ั คือ ยอมเห็นชาติคือความเกิดขึ้น เห็นชราคือความแปรปรวนดวย อาํ นาจความบายหนาไปหาความดับ เห็นพยาธิคือความบีบคั้น ดวยอํานาจความเกิดขึ้นและความดับไปน้ัน เห็นมรณะคือความ ดับไปในสังขารน้ัน. คําวา เปนที่สละอุปธิท้ังปวง ความวา ธรรม ๓ อยาง เหลาน้ี คือขันธ กิเลส และอภิสังขาร (กรรมดีกรรมช่ัว) หรือ เปน ๔ อยางพรอมทั้งกามคุณ ช่ือวา “อุปธิ” เพราะอรรถวา เปนท่ีเขาไปทรงอยูแหงทุกขท้ังหลายทั้งปวง พระนิพพานชื่อวา เปนที่สละอุปธิท้ังปวงเหลาน้ัน ก็เพราะเหตุวา อุปธิเหลานั้น เม่ือ ถึงพระนิพพานก็ถูกสละ คือถูกบริจาค ถูกท้ิงไป ถูกปลอยไป. จบคําอธบิ ายปญหาท่ี ๑๑

๒๓๐ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา ปญหาท่ี ๑๒, นิพพานสันนิหิตปญหา พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ภมู ิประเทศทีพ่ ระ นิพพานต้ังอยู ทางทิศตะวันออกก็ตาม ทางทิศใตก็ตาม ทางทิศ ตะวันตกก็ตาม ทางทศิ เหนอื กต็ าม ทางทศิ เบือ้ งบนกต็ าม ทางทิศ เบื้องลางก็ตาม ทางทิศเบ้ืองขวางก็ตาม มีอยูหรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร ภมู ปิ ระเทศที่ พระนิพพานต้ังอยู ทางทิศตะวันออกก็ตาม ฯลฯ ทางทิศเบื้อง ขวางก็ตาม ไมมีหรอก.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวาโอกาส ท่ีพระนิพพานต้ังอยูไมมีอยูละก็ ถาอยางน้ัน พระนิพพานก็หามี จริงไม และบุคคลเหลาใดไดกระทาํ พระนิพพานน้ันใหแจง, แม บุคคลเหลานั้น ชื่อวามีการกระทําใหแจงผิด ๆ, ขาพเจาจัก ขอกลาวเหตุผลในขอท่ีวาน้ัน, พระคุณเจานาคเสน เปรียบ เหมือนวา บนแผนดิน ที่นาอันเปนท่ีต้ังข้ึนแหงขาว ก็มีจริง, ดอกไมอันเปนท่ีต้ังข้ึนแหงกล่ิน ก็มีจริง, กอไมอันเปนที่ต้ังขึ้น แหงดอกไม ก็มีจริง, ตนไมอันเปนที่ตั้งแหงผลไม ก็มีจริง, บอ แกวอันเปนที่ตั้งข้ึนแหงแกว ก็มีจริง, ใครคนใดคนหนึ่งตองการ ส่ิงใด ๆ ณ สถานที่ มีที่นาเปนตน เหลานั้น บุคคลนั้นไปใน สถานท่ี มีท่ีนาเปนตนเหลาน้ัน แลวก็ยอมนําเอาส่ิงที่ตองการ น้ัน ๆ ไปได ฉันใด, พระคุณเจานาคเสน ถาหากวาพระนิพพาน มีจริงละก็ แมโอกาสอันเปนที่ตั้งขึ้นแหงพระนิพพาน ก็นาจะ

วรรคที่ ๓, เวสสนั ตรวรรค ๒๓๑ ปรารถนาได ฉันนั้นเหมือนกัน พระคุณเจานาคเสน แตเพราะ เหตุวาโอกาสอันเปนท่ีตั้งข้ึนแหงพระนิพพาน ไมมี, เพราะฉะน้ัน ขาพเจาก็ขอกลาววา พระนิพพานไมมีจริงหรอก, และบุคคล เหลานั้นใด ไดกระทําพระนิพพานใหแจง, แมบุคคลเหลาน้ัน ช่ือวามีการกระทําใหแจงผิด ๆ.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร โอกาสที่ตั้งอยูแหงพระ นิพพาน ไมมีหรอก, แตวา พระนิพพานนี้ก็มีจริง, บุคคลผูปฏิบัติ ชอบ ยอมใชโยนิโสมนสิการกระทาํ พระนิพพานใหแจงได. ขอ ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ธรรมดาวา ไฟ มีจริง, โอกาส ท่ีต้ังอยูแหงไฟนั้น หามีไม, คนเอาไมแหง ๒ ทอนมาสีกันแลวก็ ยอมไดไฟ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพานมีจริง, โอกาส ท่ีต้ังอยูแหงพระนิพพานนั้น หามีไม, บุคคลผูปฏิบัติชอบ ยอมใช โยนิโสมนสิการกระทําพระนิพพานใหแจงได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวาธรรมดา วา แกว ๗ อยาง คือจักรแกว ชางแกว มาแกว แกวมณี นางแกว คฤหบดีแกว ปริณายกแกว มีจริง, แตโอกาสท่ีตั้งอยูแหงแกว เหลาน้ัน หามีไม, ก็กษัตริยผูปฏิบัติชอบ ยอมไดรับแกวเหลาน้ัน ตามกําลังแหงการปฏิบัติ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระนิพพาน มีจริง โอกาสที่ต้ังอยูแหงพระนิพพานน้ัน หามีไม บุคคลผูปฏิบัติ ชอบ ยอมใชโยนิโสมนสิการ กระทําพระนิพพานใหแจงได ฉันน้ันเหมือนกัน.”

๒๓๒ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา พระเจามลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน โอกาสที่ตง้ั อยูแหง พระนิพพาน จะไมมีก็ชางเถอะ, แตวา ท่ีต้ังที่บุคคลผูปฏิบัติชอบ จะตั้งอยู กระทําพระนพิ พานใหแ จง มีอยูหรอื ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ใช ที่ตั้งที่บุคคลผูปฏิบัติ ชอบจะตัง้ อยู กระทําพระนิพพานใหแ จง มอี ย.ู ” พระเจามิลินท : “ที่ตั้งที่บุคคลผูปฏิบัติชอบจะตั้งอยู กระทาํ พระนิพพานใหแจงนั้น เปนไฉน พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ศีล ชื่อวาเปนท่ีตั้ง, บุคคลต้ังม่ันในศีล ทาํ ไวในใจโดยถูกอุบาย ดํารงอยูในสถานที่ ใดที่หนึ่ง ไมวาในปาสักกยวัน ไมวาในเมืองจีนวิลาตะ ไมวา ในเมืองอลสันทะ ไมวาในเมืองนิคุมพะ ไมวาในเมืองกาสิโกสล ไมวาในเมืองกัสมิระ ไมวาในเมืองคันธาระ ไมวาในเมืองนค- มุทธะ ไมวาในพรหมโลก ก็ยอมกระทําพระนิพพานใหแจงได, ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษผูมีตาดีคนใดคนหนึ่ง ดํารงอยูในสถานที่ใดท่ีหน่ึง ไมวาในปาสักกยวัน ฯลฯ ไมวาใน พรหมโลก ยอมมองเห็นอากาศ ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลผู ต้ังม่ันในศีล ทําไวในใจโดยถูกอุบายดาํ รงอยูในสถานท่ีใดท่ีหน่ึง ไมวาในปาสักกยวัน ฯลฯ ไมวาในพรหมโลก ก็ยอมกระทาํ พระ- นิพพานใหแจงได ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา ทิศเบื้อง หนา ยอมมีแกบุรุษผูมีตาดี ผูดาํ รงอยูในสถานที่ใดท่ีหนึ่ง ไมวา

วรรคที่ ๓, เวสสันตรวรรค ๒๓๓ ในปาสักกยวัน ฯลฯ ไมวาในพรหมโลก ฉันใด, ขอถวายพระพร การกระทาํ พระนิพพานใหแจง ยอมมีแกบุคคลผูปฏิบัติชอบ ผู ตั้งม่ันในศีล ทาํ ไวในใจโดยถูกอุบายผูดํารงอยูในสถานที่ใด ท่ีหน่ึง ไมวาในปาสักกยวัน ฯลฯ ไมวาในพรหมโลก ฉันนั้น เหมือนกัน.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ท่ีทานได แสดงพระนิพพาน, ไดแสดงการกระทาํ พระนิพพานใหแจง, ได ช้ีถึงคุณของศีล, ไดแสดงสัมมาปฏิบัติ, ไดยกธงคือพระธรรม, ไดต้ังแบบแผนคือพระธรรม, ความพยายามชอบแหงกุลบุตรผู พยายามชอบ ยอมไมเปนอันเหลวเปลา, ทานผูประเสริฐยอด เย่ียมแหงพระสงฆ ขาพเจาขอยอมรับคาํ ตามท่ีทานกลาวมา กระน้ี นี้.” จบนิพพานสันนิหิตปญหาที่ ๑๒ คาํ อธบิ ายปญหาท่ี ๑๒ ปญหาเก่ียวกับภูมิประเทศที่พระนิพพานตั้งอยู ช่ือวา นพิ พานสันนหิ ติ ปญหา. คําวา บุคคลผูปฏิบัติชอบ คือบุคคลผูปฏิบัติมรรค- ปฏปิ ทา อันมสี ติปฏ ฐาน ๔ เปน เบื้องตน. คําวา ยอมใชโยนิโสมมสิการ คือยอมใชโยนิโสมนสิ- การท่ีเปนเหตุเกิดข้ึนแหงวิปสสนาและพระอริยมรรค.

๒๓๔ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา คําวา โอกาสที่ตั้งอยูแหงไฟ หามีไม คือโอกาสอัน เปนสถานท่ีท่ีไฟต้ังลุกโพลงอยูกอนหามีไม แตถึงกระน้ัน ไพ น้ันก็ช่ือวามีจริง เพราะบุคคลใชความพยายามชอบ สีไมแหง ๒ ทอนไปเรื่อย ๆ ก็ยอมมีไฟเกิดข้ึนมา. จบคําอธิบายปญหาที่ ๑๒ จบเวสสันตรวรรคที่ ๓ ในวรรคน้ี มี ๑๒ ปญหา

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๓๕ วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ปญหาที่ ๑, อนุมานปญหา ครั้งน้ันแล พระเจามิลินทไดเสด็จเขาไปหาทานพระ นาคเสน ณ ที่ทานพาํ นักอยู, คร้ันเสด็จเขาไปแลว ก็ทรงกราบ ไหวพระนาคเสน ทรงนั่งลง ณ ที่สมควรสวนหน่ึง. พระเจา มิลินท คร้ันทรงน่ังลงแลว ก็ทรงเปนผูใครจะทราบ ใครจะสดับ ใครจะทรงจาํ ใครจะทอดพระเนตรเห็นแสงสวางคือญาณ ใคร จะทาํ ลายความไมรู ใครจะทาํ แสงสวางคือญาณใหเกิดขึ้น ใครที่จะทําความมืดคืออวิชชาใหพินาศไป จึงทรงตั้งความทรง จาํ ความอุตสาหะ สติ และสัมปชัญญะไวมั่น มีประมาณย่ิง ตรัสความขอนี้กะทานพระนาคเสน วา “พระคุณเจานาคเสน ทานเคยเห็นพระพุทธเจาหรือ?” พระนาคเสน : “อาตมภาพไมเคยเห็นหรอก มหาบพิตร.” พระเจามิลินท : “ก็แตวา อาจารยทั้งหลายของทานเคย เห็นหรือ?” พระนาคเสน : “ไมเคยเห็นหรอก ขอถวายพระพร.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจานาเสน ทราบวา ตัวทา นก็ไม เคยเห็นพระพุทธเจา, ทั้งอาจารยทั้งหลายของทานก็ไมเคยเห็น พระพุทธเจา, พระคุณเจานาคเสน ถาอยางนั้นพระพุทธเจาก็มิได มีจรงิ , เปน อนั วา พระพทุ ธเจามิไดป รากฏในโลกน.ี้ ”

๒๓๖ กัณฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร บรรพกษัตริยที่เปน ตนวงศแหงวงศกษัตริยของพระองค มีจริงหรือ?” พระเจามิลินท : “ใช มีจริง พระคุณเจา สงสัยอะไรกัน เลา พวกบรรพกษัตริยที่เปนตนวงศแหงวงศกษัตริยของขาพเจา มีจริง” พระนาคเสน : “พระองคทรงทอดพระเนตรเห็นพวก บรรพกษัตริยหรือ ขอถวายพระพร?” พระเจามิลินท : “ไมเคยเห็น พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พวกปุโรหติ พวกเสนาบดี พวกตุลาการ พวกอาํ มาตย ท่ีคอยกราบทูลพระองค เคยเห็น พวกบรรพกษัตริยหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ไมเคยเหน็ พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถา หากวา พระองคไ มเคย ทรงทอดพระเนตรเห็นพวกบรรพกษัตริย, ท้ังพวกที่คอยกราบทูล พระองค ก็ไมเคยเห็นพวกบรรพกษัตริย ไซร, ถาอยางน้ัน พวก บรรพกษัตริยเหลาน้ันก็ไมมีจริง, เปนอันวาพวกบรรพกษัตริย มิไดปรากฏในโลกน้ี.” พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน เครอื่ งราชปู โภคที่ พวกบรรพกษัตริยทรงใชสอยปรากฏอยู เชนอะไรบาง? เชนวา เศวตฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท พัดพาลวิชนี พระขรรคแกว และที่บรรทมใหญเงียบสงัด เปนตน เปนเหตุใหพวกขาพเจาพึงรู พึงเชื่อไดว า พวกบรรพกษตั ริยม จี รงิ .”

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๓๗ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร อุปมาฉันใด พวกอาตมภาพก็พึงรู พึงเชื่อวาพระผูมีพระภาคพระองคนี้มีจริง ฉันนั้นเหมือนกัน. ก็เหตุผลท่ีทาํ ใหพวกอาตมภาพพึงรู พึงเช่ือ วาพระผูมีพระภาคพระองคน้ีมีจริง นั้น มีอยู. เหตุผลที่วานั้น เปนไฉน?, ขอถวายพระพร เครื่องใชสอยท่ีพระผูมีพระภาค ผูรู ผูเห็น ผูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคน้ันทรงใชสอย ยังมีอยู. เชนอะไรบาง? เชนวา สติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ พระอริยมรรคอันมี องค ๘, อันเปนเหตุใหชาวโลกพรอมท้ังเทวดาไดรู ไดเชื่อวา ‘พระผูมีพระภาคพระองคน้ันมีจริง’, ขอถวายพระพร พวก อาตมภาพอาจรูไดวา ‘พระผูมีพระภาคพระองคน้ันมีจริง’ ก็ ดวยการณน้ี ดวยเหตุนี้ ดวยนัยนี้ ดวยขออนุมานน้ี. พวกขาพเจาอาจทราบวา พระผูมีพระภาคผูยัง ชนทั้งหลายใหขามไป ผูปรินิพพานแลวเพราะ เหตุที่ส้ินอุปธิ ผูสูงสุดแหงบรรดาสัตว ๒ เทา พระองคน้ัน มีจริงดวยขออนุมาน.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอทานจงกระทาํ อุปมา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ชาง สรางเมือง ผูใครจะสรางเมือง ตรวจดูภูมิภาคท่ีนาร่ืนรมย ท่ีเรียบ ไมใชท่ีลุมที่ดอน ไมใชที่มีแตกอนกรวดกอนหิน เปนท่ีปราศ จากอันตราย ไมมีโทษ, ณ ภูมิภาคน้ัน พบบริเวณท่ีไมเรียบ

๒๓๘ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ก็ใหเขาปรับเสียใหเรียบ ใหเขาถางตอหนาม แลวจึงสรางเมือง ข้ึน ณ ภูมิภาคน้ัน เปนเมืองสวยงาม แบงหมายไวเปนสวน ๆ มีเชิงเทิน คูเมือง กาํ แพงลอม มีซุมประตู ปอมคาย โรงเรือน มั่นคง มีทาง ๔ แพรง ๓ แพรงมากมาย มีทางหลวงที่สะอาด ผิวเรียบ มีตลาดระหวางทางที่จัดแบงไวดี ถึงพรอมดวยอาราม อุทยาน ตระพังน้ํา สระบัว ทานา้ํ ดื่ม ประดับดวยเทวสถาน หลายแบบ ปราศจากโทษท้ังปวง, เม่ือเมืองน้ันถึงความไพบูลย โดยประการทั้งปวงแลว ชางสรางเมืองผูน้ันก็ไปที่อื่นเสีย. ใน สมัยตอมา เมืองนั้นก็สาํ เร็จ แผไพศาล ภิกษาหางาย เกษม มั่งคั่ง สงบเย็น ไมมีเวรภัย ปราศจากอันตราย กลนเกล่ือน ดวยผูคนตาง ๆ, พวกคนท้ังหลายมากมาย คือ พวกกษัตริย พวกพราหมณ พวกแพศย พวกสูท พวกพลชาง พวกพลมา พวกพลรถ พวกพลเดินเทา พวกขมังธนู พวกนักดาบ พวก แมทัพนายกอง พวกพลเสบียง พวกราชบุตรสูงศักดิ์ พวก แนวหนา พวกวีรชนคนกลา พวกนักรบเสื้อเกราะ พวกบุตร นางทาสี พวกบุตรคนรับใช พวกนักมวย พวกชาํ นาญการนับ พวกพอครัว พวกคนครัว พวกชางกัลบก พวกชางดาบ พวกชางจุนท พวกชางจัดพวงดอกไม พวกชางทอง พวก ชางเงิน พวกชางตะกั่ว พวกชางดีบุก พวกชางทองแดง พวกชางทองเหลือง พวกชางเหล็ก พวกชางแกวณี พวก ชางทอ พวกชางหมอ พวกชางสานตอก พวกคนทาํ เกลือ พวกชางหนัง พวกชางรถ พวกชางทาํ ฟน พวกชางทําเชือก

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๓๙ พวกชางทาํ หวี พวกชางทําดาย พวกชางสานตะกรา พวก ชางทําธนู พวกชางทําสายธนู พวกชางศร พวกจิตรกร พวกชางสี พวกชางยอม พวกชางทอผา พวกชางชุบผา พวกเหรัญญิก พวกพอคาผา พวกพอคาของหอม พวกคน เก็บผัก พวกคนเก็บฟน พวกลูกจาง พวกขายผัก พวก ขายผลไม พวกขายรากไม พวกขายขนม พวกขายปลา พวก ขายเน้ือ พวกขายเหลา พวกนักฟอน พวกนักเตน พวก นักกายกรรม พวกเจา หนา ทจี่ ัดมหรสพ พวกนักเลง พวกสปั เหรอ พวกคนท้ิงดอกไมเนา พวกชางจักสาน พวกนายพราน พวก นางคณิกา พวกนางระบาํ พวกนางกุมภทาสี พวกชาวเมือง สักกยวัน พวกชาวจีนวิลาตะ พวกชาวเมืองอุชเชนี พวกชาว เมืองภารุกัจฉกะ พวกชาวเมืองกาลิโกสล พวกชาวชนบทปลาย แดน พวกชาวเมืองมคธ พวกชาวเมืองสาเกต พวกชาวเมือง โสระ พวกชาวเมืองปาวา พวกชาวเมืองโกฏมภรมาถุระ พวก ชาวเมืองอลสันทะ ชาวเมืองกัสมิระ และชาวเมืองคันธาระ ได เขาไปอยูอาศัยเมืองน้ัน คนทั้งหลายจากแดนตาง ๆ เห็นเมือง ใหมท่ีจําแนกไวดี ไมมีโทษ ไมมีขอนาติเตียน ร่ืนรมยนั้นแลว ก็ยอมทราบโดยการอนุมานเอาไดวา ‘ทานผูเจริญเอย ชางสราง เมืองที่สรางเมืองน้ีขึ้นมา เปนคนฉลาดเสียจริงหนอ’ ดังน้ี ฉันใด, ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาค ผูหาใครเสมอมิได ผูเสมอกับผูหาใครเสมอมิได ผูหาใครเปรียบมิได ผูหาใคร เหมือนมิได ผูมีพระคุณอันใครช่ังมิได ผูอันใคร ๆ ไมอาจนับได

๒๔๐ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ใคร ๆ ไมอาจประมาณได ใคร ๆ ไมอาจวัดได ผูอันใคร ๆ นับพระคุณมิได ผูบรรลุบารมี ผูมีพระธิติหาท่ีสุดมิได ผูมี พระเดชหาที่สุดมิได ผูมีพระวิริยะหาท่ีสุดมิได ผูมีพระพละ หาที่สุดมิได ผูถึงพระพุทธพลบารมี ทรงทํามารพรอมท้ังไพลพล ใหพายแพ ทาํ ลายขายคือทิฏฐิ ทําอวิชชาใหส้ินไป ทาํ วิชชา ใหเกิดขึ้น ชูคบเพลิงคือพระธรรม บรรลุความเปนพระสัพพัญู ชนะสงครามแลวก็ทรงสรางธรรมนคร (เมืองคือพระธรรม) ขึ้น ฉนั นนั้ เหมือนกัน. ขอถวายพระพร ธรรมนครของพระผูมีพระภาค มีศีลเปน ปราการ มีหิริเปนคูนํา้ รอบ มีญาณเปนซุมประตู มีวิริยะเปนปอม มีศรัทธาเปนเสาระเนียด มีสติเปนนายประตู มีปญญาเปน ปราสาท มีพระสูตรเปนทางสี่สาย มีพระอภิธรรมเปนทางส่ีแยก มีพระวินัยเปนโรงวินิจฉัย มีสติปฏฐานเปนทางเดิน, ขอถวาย พระพร ท่ี ๒ ขางทางเดินคอื สตปิ ฏฐานน้นั มตี ลาดแผยาวเหยยี ด ไปเหน็ ปานฉะนี้ เชนวา ตลาดดอกไม ตลาดของหอม ตลาดผลไม ตลาดยาแกพิษ ตลาดยาท่ัวไป ตลาดยาอมตะ ตลาดแกว ตลาด สิง่ ทงั้ ปวง.” พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดดอกไมข อง พระผมู ีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาค ผูรู ผูเห็น ผูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ไดตรัสการจําแนก อารมณไว. อะไรบาง? ไดแก อนิจจสัญญา ทุกขสัญญา

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๔๑ อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา นิโรธสัญญา สัพพโลกาภิรติสัญญา (ความสาํ คัญ วาไมนายินดีในโลกท้ังปวง) สัพพสังขารานิจจสัญญา (ความ สาํ คัญวาไมเท่ียงในสังขารทั้งปวง) อานาปานสติสัญญา อุทธุ- มาตกสัญญา (ความสาํ คัญวาเปนซากข้ึนพอง) วินีลกสัญญา (ความสําคัญวาเปนซากขึ้นเขียว) วิปุพพกสัญญา (ความสําคัญ วาเปนซากมีหนองไหลเปรอะเปอน) วิจฉิททกสัญญา (ความ สาํ คัญวาเปนซากขาดกลาง) วิกขายิตกสัญญา (ความสําคัญ วาเปนซากถูกสัตวกัดกินเวา ๆ แหวง ๆ) วิกขิตตกสัญญา (ความสาํ คัญวาเปนซากขาดกระจัดกระจาย) หตวิกขิตตสัญญา (ความสําคัญวาเปนซากถูกศัสตราฟาดฟนขาดกระจัดกระจาย) โลหิตกสัญญา (ความสําคัญวาเปนซากมีโลหิตเปรอะเปอน) ปุฬุวกสัญญา (ความสาํ คัญวาเปนซากมีหมูหนอนชอนไช) อัฏฐิกสัญญา (ความสาํ คัญวาเปนซากกระดูก) เมตตาสัญญา กรุณาสัญญา มุทิตาสัญญา อุเบกขาสัญญา มรณานุสติ กายคตาสติ, ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคไดตรัสการ จาํ แนกอารมณเหลาน้ีแล. ในบรรดาบุคคลท้ังหลายน้ัน บุคคล ใดบุคคลหน่ึง เปนผูตองการจะพนจากชราและมรณะ บุคคล น้ันยอมถือเอาอารมณอยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดาอารมณ เหลาน้ัน. ดวยอารมณน้ัน เขายอมพนจากราคะ ยอมพนจาก โทสะ ยอมพนจากโมหะ ยอมพนจากมานะ ยอมพนจากทิฏฐิ ยอมขามสังสารวัฏ ยอมกั้นกระแสตัณหา ยอมชําระมลทิน

๒๔๒ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา ๓ อยางใหหมดจด ยอมกาํ จัดกิเลสท้ังปวงได เขาไปสูนิพพาน อันเปนนครอุดม ไมมีมลทิน ปราศจากธุลี บริสุทธิ์ หมดจด ไมเกิด ไมตาย เปนสุข มีความเยือกเย็น แลวก็ทาํ จิตใหหลุดพน ได ในเพราะความเปนพระอรหันต ขอถวายพระพร นี้เรียกวา ‘ตลาดดอกไมของพระผูมีพระภาค’. ขอทานทั้งหลายจงถือเอาทรัพยไปสูตลาด แลว ซื้ออารมณเถิด ทานมีอารมณเคร่ืองหลุดพน แลวก็จะหลุดพนจากทุกขน้ันได.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดของหอม ของพระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคนั้นได ตรัสการจําแนกศีลไว ของหอมคือศีล เปนเหตุใหบุตรของพระ ผูมีพระภาคผูไดลูบไลแลวทั้งหลาย ทําโลกพรอมทั้งเทวดาให หอมฟุงอบอวลไปดวยกล่ินศีล กล่ินศีลยอมหอมฟุง ตลบไปยัง ทิศใหญ ๆ บาง ทิศยอย ๆ บาง ตามลมบาง ทวนลมบาง, ต้ัง แพรไปทั่ว. การจาํ แนกศีลนั้นเปนไฉน? ไดแก สรณศีล ศีลมี องค ๕ ศีลมีองค ๘ ศีลมีองค ๑๐ ศีลคือปาติโมกขสังวรที่นับ เน่ืองเขาในอุเทส ๕, ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา ‘ตลาดของหอม ของพระผูมีพระภาค’. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรง เปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไว วา :- น ปุปฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมติ น จนฺทนํ ตครมลฺลิกา วา

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๔๓ สตฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ สพฺพา ทิสา สปฺปุริโส ปวายติ๑ แปลวา : กลน่ิ ดอกไมกห็ อมฟุงทวนลมมไิ ด กล่ินจนั ทน กลิ่น กฤษณา กลิ่นมะลิซอน ก็หอมฟุงทวนลมไปมิได สวนกลิ่นของสัตบุรุษ ยอมหอมฟุงทวนลมไปได สัตบุรุษยอมหอมฟุงไปตลอดทิศท้ังปวง. ดังน.ี้ กลิ่นศีล นับวายอดเยี่ยมแหงบรรดาคันธชาติทั้ง หลายเหลา นี้ ไมวาไมจนั ทน ไมว า กฤษณา ไมวา ดอกอุบล หรือวาดอกมะลิ, กล่ินกฤษณาหรือ จันทนนี้ใด น้ีนับวาเปนกลิ่นที่มีประมาณนอย สวนวากลิ่นของทานผูมีศีลทั้งหลาย จัดวาสูงสุด ยอมหอมฟุงไปได แมในหมูเทวดาท้ังหลาย.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดผลไมของ พระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระผมู พี ระภาคไดตรัสถงึ ผลไมไ วหลายชนิด. อะไรบาง? ไดแก โสดาปต ตผิ ล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล สุญญตผลสมาบัติ อนิมิตตผลสมาบัติ อัปปณิหิตผลสมาบัติ, ในบรรดาผลไมเหลาน้ัน บุคคลใดบุคคล หนึ่ง ตองการผลไมชนิดใด, เขาก็ยอมใชทรัพยซ้ือผลไมที่ตน                                                ๑. อง.ฺ ติก. ๒๐/๒๘๙.

๒๔๔ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ตองการไปได ไมว าจะเปนโสดาปตตผิ ล ไมว า จะเปนสกทาคามผิ ล ไมวาจะเปนอนาคามิผล ไมวาจะเปนอรหัตตผล ไมวาจะ เปนสุญญตผลสมาบัติ ไมวาจะเปนอนิมิตตผลสมาบัติ ไมวาจะ เปนอัปปณิหิตผลสมาบัติ. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหน่ึง มีตนมะมวงที่ออกผลประจาํ . บุรุษผูน้ันจะไมสอย ผลจากตนนั้น ตราบเทาท่ีผูซื้อยังไมมา, สวนเม่ือผูซื้อมาถึงแลว เขารบั ทรพั ยไ ปแลว กก็ ลา วอยา งน้ี วา ‘พอมหาจําเริญเอย มะมวง ตน นี้ออกผลประจํา ทา นตอ งการผลชนดิ ใดในบรรดาผลเหลานั้น กจ็ งถือเอาผลชนดิ ทตี่ อ งการเถดิ ไมว า ยงั ออ นอยู ไมว าเริ่มจะสุก ไมวากาํ ลังดี ไมวาดิบ ไมวาสุก’ ดังน้ี. ดวยทรัพยท่ีตนใหไป บุรุษผูซื้อน้ัน ถาตองการผลท่ีออน ก็ยอมถือเอาผลออนไป, ถาตองการผลที่เริ่มจะสุก ก็ยอมถือเอาผลที่เร่ิมจะสุกไป, ถา ตอ งการผลทก่ี าํ ลังดี ก็ยอ มถือเอาผลท่กี าํ ลงั ดีไป, ถาตอ งการผล ที่ดิบ กย็ อ มถอื เอาผลทด่ี บิ ไป, ถา ตองการผลทสี่ ุก ก็ยอ มถอื เอา ผลที่สุกไป ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลใดตองการผลใด บคุ คลนั้นใหท รัพยไ ปแลว ก็ยอ มถือเอาผลทีต่ นปรารถนาได ไมว า จะเปนโสดาปตติผล ฯลฯ ไมวาจะเปนอัปปณิหิตผลสมาบัติ ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา ‘ตลาดผลไมของ พระผูมีพระภาค.’ ชนทั้งหลายมอบทรัพยใหไปแลว ก็ยอมรับเอา ผลอมตะไปได ชนเหลาใดซื้อผลอมตะไป ชน เหลานั้นยอมเปนผูถึงสุขไดดวยผลอมตะน้ัน”

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๔๕ พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดยาแกพิษ ของพระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคไดตรัส ยาแกพษิ ไวห ลายอยา ง ซง่ึ เปนยาทพี่ ระผูมพี ระภาคทรงใชเ ปล้ือง สัตวโลกพรอมท้ังเทวดา ใหพนจากพิษคือกิเลส. ก็ยาแกพิษ เหลานั้น มีอะไรบาง? ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคไดตรัส อริยสัจ ๔ เหลาน้ีไว ไดแก ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทัยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ, ในอริยสัจ ๔ เหลานั้น ชนพวกท่ีมุงความรู แลวไดสดับธรรม คือสัจจะ ๔ ยอมหลุดพนจากชาติ, ยอมหลุดพนจากชรา, ยอมหลุดพนจาก มรณะ, ยอมหลุดพนจากโสกะ ปริเทวะทุกขโทมนัสอุปายาส, ขอถวายพระพร นี้เรียกวา ‘ยาแกพิษของพระผูมีพระภาค.’ ยาแกพิษท่ีหามพิษทั้งหลายได เหลาใดเหลา หนึ่งในโลก ยาแกพิษท่ีเสมอดวยยาแกพิษคือ สัจธรรม หามีไม ขอภิกษุท้ังหลาย จงดื่มยา แกพิษคือสัจธรรมน้ีเถิด.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดยาทั่วไปของ พระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคไดตรัส ถึงยาทั่วไปไว, ซึ่งเปนยาที่พระผูมีพระภาคทรงใชเยียวยาเทวดา และมนษุ ย. ยาน้ี ไดแกอ ะไรบา ง, ไดแ ก สตปิ ฏ ฐาน ๔ อิทธบิ าท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ พระอริยมรรคมีองค ๘.

๒๔๖ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา พระผูมีพระภาคทรงใชยาเหลาน้ีทาํ เทวดาและมนุษยใหสํารอก มจิ ฉาทิฏฐ,ิ ใหสํารอกมิจฉาสงั กปั ปะ, ใหสาํ รอกมิจฉาวาจา ให สํารอกมิจฉากัมมันตะ, ใหสาํ รอกมิจฉาอาชีวะ, ใหสาํ รอกมิจฉา- วายามะ, ใหสํารอกมิจฉาสติ, ใหสาํ รอกมิจฉาสมาธิ, ใหทาํ การ อาเจียนโลภะ, ใหทาํ การอาเจียนโทสะ, ใหทาํ การอาเจียนโมหะ, ใหทําการอาเจียนมานะ, ใหทาํ การอาเจียนทิฏฐิ, ใหทําการ อาเจียนวิจิกิจฉา, ใหทาํ การอาเจียนอุทธัจจะ, ใหทําการอาเจียน ถีนมิทธะ, ใหทําการอาเจียนอหิริกะและอโนตตัปปะ, ใหทําการ อาเจียนกิเลสทั้งปวง, ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา ‘ตลาดยาท่ัวไป ของพระผูมีพระภาค.’ ยาเหลาใดเหลาหนึ่ง มีอยูมากมายในโลก ยาท่ี เสมอเหมือนพระธรรม หามีไม, ขอภิกษุทั้งหลาย จงดื่มยาคือพระธรรมน้ีเถิด. ภิกษุดื่มยาคือพระ ธรรมน้ีแลว, ก็จะเปนผูนิพพาน ในธรรมอันเปน ท่ีสิ้นอุปธิ.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดยาอมตะ ของพระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระผูมีพระ- ภาคไดตรัสบอกยาอมตะไว ซึ่งเปนยาอมตะที่พระผูมีพระภาค นั้น ทรงใชประพรมชาวโลกพรอมท้ังเทวดา, เปนยาอมตะที่พวก มนุษยและเทวดาทั้งหลายไดประพรมแลว ก็เปนเหตุใหพนจาก ความเกิด ความแก ความเจ็บไขไดปวย ความตาย ความเศรา-

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๔๗ โศก ความร่ําไหราํ พัน ความทุกขกาย ความทุกขใจ และความ คับแคนใจได. ยาอมตะน้ัน เปนไฉน? ไดแก กายคตาสติ. ขอ ถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิต ความขอนี้ไว วา ‘อมตํ เต ภิกฺขเว ปริภุฺชนฺติ เย กายคตา- สตึ ปริภุฺชนฺติ๑ - ดูกร ภิกษุท้ังหลาย บุคคลเหลาใดบริโภค กายคตาสติ, บุคคลเหลาน้ันชื่อวา บริโภคอมตะ’ ดังน้ี, ขอถวาย พระพร นี้เรียกวา ‘ตลาดยาอมตะของพระผูมีพระภาค.’ พระผูมีพระภาค ทอดพระเนตรเห็นหมูชนผูปวย ไขแลวก็ทรงเปดตลาดยาอมตะให ขอภิกษุท้ัง หลายจงใชทรัพยซ้ือยาอมตะนั้น มาฉันเถิด.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ตลาดแกวของ พระผูมีพระภาคพุทธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระผูมีพระ ภาคไดตรัสบอกแกวหลายอยาง, ซึ่งเปนแกวท่ีโอรสของพระผูมี พระภาคใชประดับแลวก็ทาํ ใหโลกพรอมทั้งเทวดา ใหรุงเรือง สองแสง ทาํ ใหสวาง ทาํ ใหโพลง ทําใหโชติชวง ทําแสงสวางให ปรากฏไปตลอดท้ังเบ้ืองบน เบื้องลาง และเบ้ืองขวาง, แกว ทั้งหลายเหลานั้น มีอะไรบาง? ไดแก แกวคือศีล แกวคือสมาธิ แกวคือปญญา แกวคือวิมุตติ แกวคือวิมุตติญาณทัสสนะ แกว คือปฏิสัมภิทา แกวคือโพชฌงค.                                                ๑. องฺ. เอกก. ๒๐/๖๐

๒๔๘ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ขอถวายพระพร แกวคือศีลของพระผมู ีพระภาค เปน ไฉน? ไดแก ปาติโมกขสังวรศีล อินทริยสังวรศีล อาชีวปาริสุทธิศีล ปจจยสันนิสสิตศีล จูฬศีล มัชฌิมศีล มหาศีล มรรคศีล ผลศีล. ขอถวายพระพร หมูประชาชาวโลกพรอมทั้งเทวดา พรอมท้ังมาร พรอ มทงั้ พรหม พรอมทง้ั สมณะและพราหมณ ยอ มติดใจใฝหาแต บุคคลผปู ระดบั แลว ดวยแกว คอื ศีล, ขอถวายพระพร ภิกษผุ ูมีแกว คือศีลเปนเคร่ืองประดับยอมทาํ ทิศท้ังทิศใหญ ทั้งทิศนอย ทั้งทิศ เบื้องบน ท้ังทิศเบ้ืองลาง ทั้งทิศเบื้องขวาง ใหสวางไสว, แกวคือ ศีล ยอมตั้งอยู กาวลวง ครอบงํา ปกคลุมแกวทั้งปวงในบริเวณ ระหวา ง จับตั้งแตเ บือ้ งตา่ํ คอื อเวจมี หานรก จนกระทงั่ ถงึ เบ้อื งบน คือภวัคคพรหม. ขอถวายพระพร แกวคือศีล เห็นปานฉะนี้ แพรหลายอยูในตลาดแกวของพระผูมีพระภาค, ขอถวายพระพร นี้เรียกวา ‘แกวคือสมาธิของพระผูมีพระภาค.’ แกวคือศีลของพระผูมีพระภาค เห็นปานฉะนี้ ยอมมีอยูในตลาดของพระพุทธเจา ขอทานทั้ง หลายจงใชทรัพยซื้อแกวคือศีลน้ัน มาประดับ เถิด. ขอถวายพระพร แกวคือสมาธิของพระผูมีพระภาค, มี อะไรบาง? ไดแก สมาธิที่มีวิตกและวิจาร สมาธิท่ีไมมีวิตกมีเพียง วิจาร สมาธิที่ไมมีวิตกไมมีวิจาร สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณหิ ติ สมาธ.ิ ขอถวายพระพร กามวิตก พยาปาทวิตก วิหิงสา- วิตก มานะ อทุ ธัจจะ ทฏิ ฐิ วิจกิ จิ ฉา กิเลสวัตถทุ ง้ั หลาย และความ

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๔๙ ตรึกชั่วมีอยางตาง ๆ ท้ังหลายท้ังปวงของภิกษุผูมีสมาธิเปน เคร่ืองประดับ มาเผชิญกะสมาธิเขาก็ยอมกระจาย แหลกปนไป ตั้งอยูไมได ติดอยูไมได. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา นา้ํ ตกบนใบบัวแลวก็ยอ มกระจายไป แตกซานไป ตง้ั อยูไ มไ ด ตดิ อยู ไมได, ขอนั้นเปนเพราะเหตุไร เพราะบัวเปนธรรมชาติหมดจด (เกล้ียงเกลา) ฉันใด, ขอถวายพระพร กามวิตก พยาปาทวิตก วหิ ิงสาวติ ก มานะ อทุ ธจั จะ ทฏิ ฐิ วจิ ิกิจฉา กเิ ลสวตั ถทุ ั้งหลาย และความตรึกชั่วมีอยางตาง ๆ ทั้งหลายทั้งปวงของภิกษุผูมีแกว คือสมาธิเปนเครื่องประดับ มาเผชิญกะสมาธิเขาก็ยอมกระจาย แหลกปนไป ต้ังอยูไมได ติดอยูไมได ขอน้ันเปนเพราะเหตุไร เพราะสมาธิเปนธรรมชาติหมดจด ฉันนั้นเหมือนกัน ขอถวาย พระพร น้ีเรียกวา ‘แกวคือสมาธิของพระผูมีพระภาค.’ วิตกชั่ว ยอมไมเกิดแกภิกษุผูมีมาลัยแกวคือ สมาธิ ทั้งจิตก็ไมซัดสาย, ขอทานทั้งหลายจง ประดับแกว คือสมาธิน้ีเถิด. ขอถวายพระพร แกวคือปญญาของพระผูมีพระภาค มี อะไรบาง? ขอถวายพระพร พระอริยสาวกยอมรูชัดตามความ เปนจริงวา ‘นี้ กุศล’, ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา ‘น้ีอกุศล’, ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา ‘นี้ มีโทษ, น้ี ไมมีโทษ, น้ี ควรเสพ, นี้ ไมควรเสพ, น้ี เลว, น้ี ประณีต, นี้ ดาํ , นี้ ขาว, นี้ มีสวนเปรียบ กันไดกับดําและขาว’. ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา ‘น้ี ทุกข’, ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา ‘นี้เหตุเกิดข้ึนแหงทุกข’, ยอมรูชัด

๒๕๐ กณั ฑท ่ี ๕, อนมุ านปญหา ตามความเปนจริงวา ‘นี้ ธรรมที่ดับทุกข’, ยอมรูชัดตามความ เปนจริงวา ‘น้ี คือปฏิปทาท่ีใหถึงธรรมท่ีดับทุกข” ดังน้ี ดวย ปญญาใด, ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา ‘แกวคือปญญาของพระผู มีพระภาค.’ ภพชาติของบุคคลผูมีมาลัยแกวคือปญญา ยอม เปนไปไดไมนาน เขายอมสัมผัสอมตธรรมได เร็วพลัน ยอมไมโพลงอยูในภพ. ขอถวายพระพร แกวคือวิมุตติของพระผูมีพระภาค เปน ไฉน? ขอถวายพระพร พระอรหัตตผล (ผลคือความเปนพระ อรหันต) แล เรียกวา แกวคือวิมุตติ, ภิกษุผูบรรลุพระอรหัตตผล เรียกวา ผูมีแกวคือวิมุตติเปนเครื่องประดับ. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหน่ึง ตกแตงประดับประดาดวยพวง แกวมุกดา พวงแกวมณี พวงแกวประวาฬ และอาภรณ ทั้งหลาย ลูบไลกายดวยผลกฤษณาหอม กฤษณาสามัญ ผล เฉียง ผลจันทนแดง วิจิตรดวยดอกกากะทิง ดอกบุนนาค ดอก สาละ ดอกสฬละ (?) ดอกธัมมกะ (?) ดอกคัดเคา ดอกลาํ ดวน ดอกอุบล หรือดอกมะลิซอน ก็ยอมรุงเรือง รุงเรืองยิ่ง บรรเจิด โออา สวางไสว เจิดแจม กาวลวงชนที่เหลือท้ังหลาย ยอม ครอบงาํ อยูเหนือชนท้ังหลาย ดวยพวงดอกไมของหอม เคร่ือง ถนิมพิมพาภรณทั้งหลาย ฉันใด ขอถวายพระพร พระขีณาสพ ผูบรรลุพระอรหัตตผล ช่ือวา เปนผูประดับแลวดวยแกวคือ วิมุตติ ยอมรุงเรือง รุงเรืองย่ิง บรรเจิด โออา สวางไสว เจิดแจม

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๕๑ กาวลวงภิกษุผูหลุดพนแลวท้ังหลาย โดยเทียบ ๆ กันไป ยอม ครอบงํา อยูเหนือภิกษุผูท่ีหลุดพนแลวท้ังหลาย จับตั้งแตชั้น ตน ๆ ดวยวิมุตติ ฉันน้ันเหมือนกัน, ถามวา ขอน้ันเปนเพราะ เหตุไร, ขอถวายพระพร เพราะวาเครื่องประดับคือวิมุตตินั้น เปนเคร่ืองประดับชั้นยอดแหงเครื่องประดับทั้งหลายท้ังปวง, ขอถวายพระพร นี้เรียกวา ‘แกวคือวิมุตติของพระผูมีพระภาค.’ ชนยอมเฝาชมเจานายผูทรงมาลัยแกวมณี ฉัน ใด สัตวท้ังหลายพรอมทั้งเทวดา ก็ยอมเฝาชม พระอรหันตผูมีมาลัยแกวคือวิมุตติ ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร แกวคือวิมุตติญาณทัสสนะของพระผูมี พระภาค เปนไฉน? ขอถวายพระพร ปจจเวกขณญาณ เรียกวา ‘แกวคือวิมุตติญาณทัสสนะของพระผูมีพระภาค’ ซ่ึงเปนญาณท่ี พระอริยสาวกใชพิจารณามรรค ผล พระนิพพาน กิเลสที่ละได แลว และกิเลสที่ยังเหลืออยู. พระอริยบุคคลท้ังหลาย ยอมรูถึงความที่ตนได ทํากิจแลวดวยญาณ ใด, ขอทานทั้งหลายจง พยายามเพื่ออันไดแกวคือญาณน้ันเถิด. ขอถวายพระพร แกวคือปฏิสัมภิทาของพระผูมีพระภาค เปนไฉน? ไดแก ปฏิสัมภิทา ๔ คือ อัตถปฏิสัมภิทา ธัมม- ปฏสิ มั ภทิ า นริ ุตติปฏิสัมภทิ า ปฏภิ าณปฏสิ มั ภทิ า, ภกิ ษผุ ปู ระดบั แลวดวยแกว คอื ปฏิสัมภิทา ๔ เหลาน้ี เขาไปยังบริษัทใด ๆ ไมวา

๒๕๒ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา จะเปนขัตติยบริษัท ไมวาจะเปนพราหมณบริษัท, ไมวาจะเปน คฤหบดีบริษัท, ไมวาจะเปนสมณบริษัท ก็ยอมเปนผูแกลวกลา เขาไป ยอมเปนผูไมเกอเขิน ไมกลัว ไมหวาดหวั่น ไมต่ืน ตระหนก โลมชาติไมลุกชัน เขาไปยังบริษัท. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา นักรบผูกลาหาญ ในสงคราม เหน็บอาวุธ ๕ อยางแลวก็ไมหวาดหว่ัน หยั่งลงสู สงคราม คิดวา ถาหากขาศึกอยูในท่ีไกล เราจักใชศรยิงใหลมลง ไปเสีย, ถาหากมีอยูในที่ใกลกวาน้ันอีก เราก็จักใชหอกขวางไป ฆาเสีย, ถาหากวามีอยูในที่ใกลกวานั้นอีก เราก็จักใชทวนแทง, เราจกั ใชดาบฟน ขา ศึกผอู ยูใ กลตัว ใหขาดเปน ๒ ทอ น, เราจักใช มดี ทิ่มแทงขา ศึกผูเ ขา มาประชิดตัว ดังนี้ ฉันใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูประดับดวยปฏิสัมภิทา ๔ ก็เปนผูไมหวาดหว่ันเขาไป ยังบริษัท คิดวา ใครคนใดคนหน่ึงจักถามปญหาเราในอัตถ- ปฏิสัมภิทา เราก็จักกลาวอรรถตามควรแกอรรถ, จักกลาวการณ ตามสมควรแกการณ, จักกลาวเหตุตามสมควรแกเหตุ, จักกลาว นยั ตามสมควรแกนยั , จกั กระทําใหห มดความสงสัย, จักทาํ ความ คลางแคลงใจใหวางเวนไป, จักทําใหยินดีดวยคําตอบปญหา. ใครคนใดคนหนึ่ง จักถามปญหาเราในธัมมปฏิสัมภิทา, เราก็จักกลาวธรรมตามสมควรแกธรรม, จักกลาวส่ิงที่เปนอมตะ ตามสมควรแกส่ิงที่เปนอมตะ, จักกลาวส่ิงท่ีเปนอสังขตะตาม สมควรแกส่ิงที่เปนอสังขตะ, จักกลาวนิพพานตามสมควรแก นิพพาน, จักกลาวสุญญตธรรมตามสมควรแกสุญญตธรรม,

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๕๓ จักกลาวอนิมิตตธรรมตามสมควรแกอนิมิตธรรม, จักกลาว อัปปณิหิตธรรมตามสมควรแกอัปปณิหิตธรรม, จักกลาว อเนชธรรมตามสมควรแกอเนชธรรม, จักกระทําใหหมดความ สงสัย. จักกระทาํ ความคลางแคลงใจใหวางเวนไป, จักทาํ ให ยินดดี วยคําตอบปญ หา. ใครคนใดคนหนึ่ง จักถามปญหาเราในนิรุตติปฏิสัมภิทา, เราจักกลาวนิรุตติไปตามสมควรแกนิรุตติแกเขา, จักกลาวบทไป ตามสมควรแกบท, จักกลาวอนุบทไปตามสมควรแกอนุบท, จัก กลาวอกั ขระไปตามสมควรแกอักขระ, จักกลา วสนธิไปตามสมควร แกสนธ,ิ จักกลา วพยัญชนะไปตามสมควรแกพยญั ชนะ, จักกลา ว อนุพยัญชนะไปตามสมควรแกอนุพยัญชนะ, จักกลาววัณณะไป ตามสมควรแกวัณณะ, จักกลาวสระไปตามสมควรแกสระ, จัก กลาวบัญญัติไปตามสมควรแกบัญญัติ, จักกลาวโวหารไปตาม สมควรแกโวหาร, จักกระทําใหหมดความสงสัย, จักกระทาํ ความ คลางแคลงใจใหว างเวนไป, จกั ทําใหย ินดดี ว ยคําตอบปญ หา. ใครคนใดคนหน่ึง จกั ถามปญหาเราในปฏิภาณปฏิสมั ภิทา, เราจักกลาวปฏิภาณตามสมควรแกปฏิภาณแกเขา, จักกลาว อุปมาตามสมควรแกอุปมา, จักกลาวลักษณะตามสมควรแก ลักษณะ, จักกลาวรสตามสมควรแกรส, จักกระทาํ ใหหมดความ สงสัย, จักกระทําความคลางแคลงใจใหวางเวนไป, จักกระทาํ ใหยินดีดวยคําตอบปญหา, ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา ‘แกว คือปฏิสัมภิทาของพระผูมีพระภาค’

๒๕๔ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ภิกษุรูปใด ใชญาณซ้ือปฏิสัมภิทามาจับตองได ภิกษุรูปนั้นยอมเปนผูไมหวาดหว่ัน ไมสะดุงกลัว รุงเรืองย่ิงในหมูชาวโลก พรอมทั้งเทวดา. ขอถวายพระพร แกวคือโพชฌงคของพระผูมีพระภาค เปน ไฉน? ขอถวายพระพร ไดแ กโ พชฌงค ๗ อยา งเหลา น้ี คือ สตสิ ัมโพชฌงค ธัมมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค ปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัมโพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค ขอถวายพระพร ภิกษุผูประดับดวยแกว คอื โพชฌงค ๗ เหลา นี้ ยอมครอบงําความมืดทง้ั ปวง ยงั โลกที่มี พรอมทั้งเทวดาใหสวางไสว ยอมทาํ แสงสวางใหเกิด, ขอถวาย พระพร นี้เรียกวา ‘แกวคือโพชฌงคของพระผูมีพระภาค’ ชาวโลกพรอมทั้งเทวดา ยอมบากบ่ันเพื่อมาลัย แกวคือโพชฌงค ขอทานท้ังหลายจงใชทรัพยซ้ือ แกวคือโพชฌงคน้ัน มาประดับเถิด.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ตลาดส่ิงของทัง้ ปวง ของพระผมู พี ระภาคพทุ ธเจา เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระพุทธ- วจนะอันมีองค ๙ พระสารีริกเจดีย พระบริโภคเจดีย และ พระสังฆ-รัตนะ แล ชื่อวา ตลาดสิ่งท้ังปวงของพระผูมีพระภาค, ขอถวายพระพร ในตลาดส่ิงท้ังปวง พระผูมีพระภาคทรงเสนอ สินคาคือชาติสมบัติ ทรงเสนอสินคาคือโภคสมบัติ, ทรงเสนอ สินคาคืออายุสมบัติ, ทรงเสนอสินคาคืออาโรคยสมบัติ, ทรง

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๕๕ เสนอสินคาคือวรรณสมบัติ, ทรงเสนอสินคาคือปญญาสมบัติ, ทรงเสนอสินคาคือมนุษยสมบัติ, ทรงเสนอสินคาคือทิพยสมบัติ, ทรงเสนอสินคาคือนิพพานสมบัติ. ในตลาดส่ิงท้ังปวงนั้น บุคคล พวกท่ีตองการสินคาคือสมบัติน้ัน ๆ, ยอมใชทรัพยซ้ือเอาสินคา คือสมบัติแตละอยางท่ีปรารถนาไป. บางพวกใชทรัพยคือการ สมาทานศีลซ้ือ บางพวกใชทรัพยคืออุโบสถกรรมซื้อ, ยอมใช ทรัพยโดยเทียบ ๆ กันไป จับต้ังแตทรัพยแมเพียงเล็กนอย ก็ยอม ไดสมบัติท้ังหลาย. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ท่ีตลาด ของเจาของตลาด บุคคลยอมใชทรัพยโดยเทียบ ๆ กันไป จับ ต้ังแตทรัพยเพียงเล็กนอย ก็ยอมรับเอางา ถ่ัวเขียว ถั่วราชมาส ไปได, ใชทรัพยเพิ่มแมอีกนิดหนอย ก็ยอมรับเอาขาวสาร ถั่ว เขียว ถ่ัวราชมาส ไปได ฉันน้ันเหมือนกัน ขอถวายพระพร น้ี เรียกวา ‘ตลาดสิ่งท้ังปวงของพระผูมีพระภาค’. อายุ ความไมมีโรค วรรณะ สวรรค ความเปนผูเกิด ในตระกูลสูง ส่ิงท่ีเปนอสังขตะและอมตะยอมมีอยู ในตลาดสิ่งท้ังปวงของพระชินวรพุทธเจา บุคคล ยอมใชทรัพยเล็กนอยบาง มากมายบาง ถือเอาไป ขอภิกษุท้ังหลาย ผูมั่งค่ังดวยทรัพย มีศรัทธาเปนตน จงซ้ือเอาไปเถิด. ขอถวายพระพร ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค แล มี ชนทั้งหลาย เห็นปานฉะนี้ อยูอาศัยกัน, ไดแก ภิกษุพวกทรง พระสูตร ภิกษุพวกทรงพระวินัย ภิกษุพวกทรงพระอภิธรรม

๒๕๖ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ภิกษุพวกธรรมกถึก ภิกษุพวกชํานาญชาดก ภิกษุพวกชาํ นาญ ทีฆนิกาย ภิกษุพวกชาํ นาญมัชฌิมนิกาย ภิกษุพวกชํานาญ สังยุตตนิกาย ภิกษุพวกชาํ นาญอังคุตตรนิกาย ภิกษุพวก ชํานาญขุททกนิกาย พวกถึงพรอมดวยศีล พวกถึงพรอมดวย สมาธิ พวกถึงพรอมดวยปญญา พวกยินดีในการเจริญโพชฌงค พวกเจริญวิปสสนา พวกขวนขวายประโยชนตน พวกถือการอยู ปาเปนวัตร พวกถือการอยูโคนไมเปนวัตร พวกถือการอยูในท่ี โลงแจงเปนวัตร พวกถือการอยูลอมฟางเปนวัตร พวกถือการ อยูปาชาเปนวัตร พวกถือการนั่งเปนวัตร พวกที่ยังเปนปฏิ- ปนนกะ (ยังปฏิบัติอยู) พวกตั้งอยูในผล พวกพระเสกขะ พวก พรอมเพรียงดวยผล พวกพระโสดาบัน พวกพระสกทาคามี พวกพระอนาคามี พวกพระอรหันต พวกไดวิชชา ๓ พวกได อภิญญา ๖ พวกมีฤทธิ์ พวกถึงฝงแหงปญญา พวกผูฉลาดใน สติปฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย พละ โพชฌงค มรรค ฌานประเสริฐ วิโมกข ในสุขสมาบัติที่เปนรูปาวจร และท่ีสงบจากรูปาวจร, เปนธรรมนครท่ีกลนเกลื่อน กระจาย แพรหลายดวยพระอรหันตท้ังหลายเหลานั้น ดุจปาออหรือปา กก (ที่กลนเกล่ือนดวยตนออหรือตนกก) ฉะน้ัน. ในท่ีน้ี จึงมี อันกลาวไดวา :- ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือ ทานผูปราศจาก ราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ หาอาสวะ มิได ปราศจากตัณหา ไมมีความยึดถือ อาศัยอยู.

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๕๗ ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือทานผูทรงธุดงค ถือการอยูปาเปนวัตร ทานผูไดฌานทรงจีวร เศราหมอง ทานผูเปนนักปราชญยินดียิ่งในวิเวก อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานท้ังหลายท้ังปวงเหลาน้ัน คือ ทานผูถือแตการน่ังเปนวัตร ทานผูถือเอาอาสนะ ตามท่ีเขาช้ีให รวมท้ังทานผูถือแตการยืนและการ จงกรม ทานผูทรงผาบังสุกุล อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลานั้น คือทานสัตบุรุษผู ทรงจีวรแตเพียง ๓ ผืน, มีเพียงแผนหนังเปน ผืนท่ี ๔ ทานวิญูชนผูยินดีอยูดวยการนั่ง (ฉัน) หนเดียว อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือทานผูเปนนัก ปราชญมักนอย เฉลียวฉลาด, มีอาหารนอย ไมมีความละโมบ สันโดษอยูดวยลาภนอยลาภ ใหญ อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือทานผูเปนปราชญ มีฌาน ยินดีในฌาน มีจิตสงบ มีจิตต้ังม่ันโดย ชอบ ปรารถนาปจจัยเพียงเล็ก ๆ นอย ๆ อาศัย อยู.

๒๕๘ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา ในธรรมนครมีทานเหลานั้น คือทานผูปฏิบัติ ทาน ผูตั้งอยูในผล ทานผูเปนพระเสกขะ ทานผูพรอม เพรียงดวยผล ทานผูหวังไดซึ่งผลสูงสุดอาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานผูท่ีเปนพระโสดาบัน ปราศจาก มลทิน ทานผูเปนพระสกทาคามี ทานผูเปนพระ อนาคามี และทานผูเปนพระอรหันต อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลานั้น คือทานผูฉลาดใน สติปฏฐาน ทานผูยินดีอยูดวยการเจริญโพชฌงค ทานผูเจริญวิปสสนา ทานผูทรงพระธรรม อาศัย อยู. ในธรรมนครมีทานเหลานั้น คือทานผูฉลาดใน อิทธิบาท, ทานผูยินดีอยูดวยการเจริญสมาธิ, ทานผูตามประกอบในสัมมัปปธาน อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลานั้น คือทานผูถึงฝงแหง อภิญญา ทานผูยินดีในโคจรของบิดา ทานผู เท่ียวไปในกลางหาว อาศัยอยู. ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือทานผูทอดสาย ตามองต่าํ รูจักประมาณการพูดจา คุมครอง ทวารสาํ รวมดี ฝกดีแลวในธรรมท่ีสูงสุด อาศัย อยู.

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๕๙ ในธรรมนครมีทานเหลาน้ัน คือทานผูไดวิชชา ๓ ทานผูไดอภิญญา ๖ ผูถึงฝงแหงทุกข และทาน ผูถึงฝงแหงปญญา อาศัยอยู. ขอถวายพระพร ภิกษุผูทรงญาณอันประมาณมิได ผูมี ญาณไมขัดของ ผูมีคุณอันช่ังมิได ผูมียศอันช่ังมิได ผูมีกําลัง อันชั่งมิได ผูมีเดชอันช่ังมิได ผูหมุนลอธรรม ผูถึงปญญาบารมี เหลานั้นใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะนี้ เรียกวาเปน ธรรมเสนาบดี ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูมีฤทธ์ิ ผูบรรลุปฏิสัมภิทา ถึงความแกลวกลา ผูเท่ียวไปในทองฟา ผูอันใคร ๆ เอาชนะได ยาก โจมตีไดยาก ผูเปนอนาลัมพจร (เท่ียวไปในธรรมที่หนวง เหน่ียวไดยาก คือพระนิพพาน) ผูสามารถทาํ ผืนแผนดินใหญ พรอมท้ังมหาสมุทรใหหวั่นไหวได สามารถลูบคลําพระจันทร และพระอาทิตยได ฉลาดในวิกุพพนาภินิหารและอธิษฐานา- ภินิหาร เจนจบอิทธิบารมี เหลาน้ัน ใด, ขอถวายพระพร ภิกษุ ผูเห็นปานฉะนี้ เรียกวาเปน ปุโรหิต ในธรรมนครของพระผูมี พระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูเห็นชอบธุดงค มักนอย สันโดษ รังเกียจการแสวงหาดวยวิญญัติ เปนผูเท่ียวบิณฑบาตไป ตามลาํ ดับเรือน ดุจแมลงภูตามสูดดมดอกไมหอม แลวก็เขาไปสู ปาละเมาะท่สี งัด ฉะน้ัน, เปนผูไมอาลัยในกายและชีวิต บรรลุ ความเปนพระอรหันต ผูอันพระผูมีพระภาคทรงตราไววา เปนเลิศ

๒๖๐ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา ในธุดงคคุณเหลาน้ัน ใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะนี้ เรียกวาเปน ผูพิพากษา ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผู (มีจกั ษุ) บริสทุ ธ์ิ ปราศจาก มลทิน ไมมีกเิ ลส ฉลาดในจุตแิ ละปฏิสนธิ เจนจบทพิ ยจกั ษบุ ารมี เหลาน้ัน ใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะนี้ เรียกวา เปน นครโชตกะ (ผูสอดสองไปทั่วเมือง) ในธรรมนครของพระผูมี พระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูเปนพหูสูต บรรลุอาคม ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ฉลาดในการกําหนดอักษรท่ีเปน สิถิละ (ไมออกเสียงหนักแนน) ท่ีเปนธนิตะ (ออกเสียงหนักแนน) ท่ีเปนฑีฆะ ที่เปนรัสสะ ที่เปนครุ ที่เปนลหุ เปนผูทรงคาํ สอน มีองค ๙ เหลานั้น ใด, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะน้ี เรียกวาเปน ธรรมรักขะ (ผูรักษาธรรม) ในธรรมนครของ พระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผรู ูพระวนิ ัย ฉลาดในฐานะ และอฐานะ (ฉบบั ของไทย : ฉลาดในเหตแุ ละวัตถ)ุ ฉลาดในอาบัติ อนาบัติ (ไมใชอาบัติ) ครุกาบัติ ลหุกาบัติ อาบัติท่ีเยียวยาได อาบัติท่ีเยียวยามิได การออกจากอาบัติ การแสดงอาบัติ การทาํ นิคคหกรรม การปลงอาบัติ การใหกลับคืน การขับใหออกไป การใหทําชดเชย เปนผูถึงฝงในพระวินัย, ขอถวายพระพร ภิกษุผู เหน็ ปานฉะน้ี เรียกวา รูปรกั ขะ (ผูรักษารูปแบบ) ในธรรมนครของ พระผูมีพระภาค.

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๖๑ ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูคลองมาลัยดอกไมคือ พระวิมุตติอันประเสริฐ ผูบรรลุความเปนผูประเสริฐยอดเย่ียม มีคามาก สูงสงตามลําดับ เปนผูท่ีชนทั้งหลายเปนอันมากพอใจ และปรารถนายิ่ง, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะน้ี เรียกวา ปุปฝาปณิกะ (เจาของรานดอกไม) ในธรรมนครของพระผูมี พระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุรูปใดเปนผูแทงตลอดดวย การตรัสรูสัจจะ ๔ เห็นสัจจะ รูแจงพระศาสนา ขามความสงสัย ในสามัญผล ๔ ไดรับสุขในผลสมาบัติ แลวยังแบงปนผล เหลาน้ันแกภิกษุผูปฏิบัติแมเหลาอื่น, ขอถวายพระพร ภิกษุผู เห็นปานฉะน้ี เรียกวา ผลาปณิกะ (เจาของรานผลไม) ในธรรม นครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภกิ ษุรปู ใดเปน ผูล บู ไลของหอมคอื ศีลสังวร ทรงคุณหลายอยางเปนอเนก ขจัดทลทินของเหม็นคือ กิเลส, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเ หน็ ปานฉะนี้ เรียกวา คนั ธาปณกิ ะ (เจาของรานของหอม) ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุรูปใดเปนผูใครธรรม รักการ สนทนาในอภิธรรม ในอภิวินัย มีความปราโมทยเปนลนพน ไปสู ปาบาง ไปสูโคนไมบาง ไปสูเรือนวางบาง ไดดื่มกินรสแหงพระ ธรรมอันประเสริฐ เปนผูหย่ังถึงรสแหงพระธรรมอันประเสริฐ ดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ มีปฏิภาณประมาณย่ิงในธรรม ทัง้ หลาย ปฏบิ ัติแสวงหาธรรมจากที่น่บี า ง จากท่ีนนั่ บา ง, ในทใ่ี ด ๆ

๒๖๒ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา มีอัปปจฉกถา (การพูดถึงความมักนอย) สันตุฏฐิกถา (การพูด ถึงความสันโดษ) ปวิเวกกถา (การพูดถึงความสงัด) อสังสัคค- กถา (การพูดถึงความไมคลุกคลี) วีริยารัมภกถา (การพูดถึงการ ปรารภความเพียร) สีลกถา (การพูดถึงศีล) สมาธิกถา (การพูด ถึงสมาธิ) ปญญากถา (การพูดถึงปญญา) วิมุตติกถา (การพูด ถึงความหลุดพน) วิมุตติญาณทัสสนกถา (การพูดถึงความรู ความเห็นวาหลุดพนแลว) ก็จะไปในท่ีนั้น ๆ แลวไดดื่มกินรสแหง กถา, ขอถวายพระพร ภิกษผุ ูเ ห็นปานฉะนี้ เรียกวา โสณฑปป าสะ (นักดื่มตามโรงเหลา) ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูตามประกอบชาคริยา- นุโยค ตลอดราตรีสวนขางตน และราตรีสวนขางทาย ทําคืน และวันใหลวงไปดวยการน่ัง การยืน และการจงกรม, ตาม ประกอบภาวนานุโยค ขวนขวายประโยชนตน เพื่ออันปองกัน กิเลส ขอถวายพระพร ภิกษุเห็นปานฉะนี้เรียกวา นครคุตติกะ (ผูคุมครองเมือง) ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูบอกพระพุทธวจนะอันมี องค ๙ ทั้งโดยอรรถ ทั้งโดยพยัญชนะ ท้ังโดยนัย ทั้งโดยเหตุ ท้ัง โดยอุทาหรณได บอกตามได กลาวได กลาวตามได, ขอถวาย พระพร ภิกษุเห็นปานฉะน้ี เรียกวา ธัมมเสฏฐี (เศรษฐีธรรม) ในธรรมนครของพระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร สวนวา ภิกษุผูมีการแทงตลอดพระ- ธรรมเทศนาอันยิ่งใหญ ผูมีการจําแนกการแสดงอารมณท่ีชาํ่ ชอง

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๖๓ ผูถึงฝงแหงสิกขาคุณ, ขอถวายพระพร ภิกษุผูเห็นปานฉะนี้ เรียกวา วิสสุตธัมมิกะ (ผูมีธรรมปรากฏ) ในธรรมนครของ พระผูมีพระภาค. ขอถวายพระพร มหาบพิตร ธรรมนครของพระผูมีพระ- ภาค เปนนครที่จําแนกดีอยางน้ี สรางไวดีอยางนี้ จัดแจงไวดี อยางนี้ บริบูรณดี กําหนดไวดีอยางนี้ รักษาไวดีอยางน้ี คุมครอง ดีอยางน้ี อันขาศึกปจจามิตรท้ังหลายรุกรานไดยากอยางน้ี แล, ขอถวายพระพร บัณฑิตจึงพึงรูไดวา พระผูมีพระภาคนั้นมีอยู เพราะการณนี้ เพราะเหตุนี้ เพราะนัยนี้ เพราะขออนุมานน้ี. เปรียบเหมือนวา พอเห็นเมืองท่ีจําแนกไวดี นารื่นรมย แลวก็ยอมรูถึงความสาํ คัญยิ่งใหญของชางสรางเมือง แมฉันใด, บัณฑิตท้ังหลาย พอเห็นธรรมนครของพระ ผูมีพระภาคโลกนาถเจา แลว ก็ยอมรูโดยการอนุมาน วา พระผูมีพระภาคพระองคน้ันทรงมีอยูจริง ฉันน้ัน เหมือนกัน. บัณฑิตท้ังหลาย พอเห็นวาพระพุทธเจาทรงเปนผู บรรเทาความโศกของสัตวทั้งหลายได ทรงเปนผู อันมารเอาชนะมิไดในที่ทั้งปวง ทรงเปนผูบรรลุพระ นิพพานอันเปนที่สิ้นตัณหา ทรงเปนผูยังสัตวใหพน จากภพสงสารได ดังน้ีแลว ก็ยอมทราบโดยการ อนุมานวา พระผูมีพระภาคพระองคน้ัน ทรงเปนผูมี

๒๖๔ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา พระคุณยิ่งใหญ เหมือนอยางที่ชนทั้งหลายเห็นคลื่น ในทะเลแลว ก็ยอมทราบถึงคลื่นท่ีปรากฏอยู วาเปน คลื่นลูกใหญ ๆ ฉะน้ัน. ยอมทราบวา พระพุทธเจาผูเปนดุจผูแผไปซ่ึงลูกคล่ืน คือพระธรรม ทรงเปนผูเลิศในโลกพรอมท้ังเทวดา เหมือนอยางท่ีเห็นลูกคล่ืนอันจะพึงทราบไดโดยการ อนุมาน ฉะน้ัน. เหมือนอยางวา ชนทั้งหลาย พอเห็นภูเขาที่สูงย่ิง ก็ ยอมทราบโดยการอนุมานวา ภูเขาสูงยิ่งเชนน้ีนั้น จัก เปนภูเขาที่มีหิมะ ฉันใด, บัณฑิตทั้งหลาย พอไดเห็น ภูเขาคือพระธรรมซ่ึงมีความเยือกเย็น ปราศจากอุปธิ เปนภูเขาที่สูงยิ่ง ต้ังมั่นดี ไมหว่ันไหว ของพระผูมี พระภาคแลว ครั้นเห็นภูเขาคือพระธรรมแลว ก็จะพึง ทราบโดยการอนุมานวาพระมหาวีระเจาก็อยางน้ัน เหมือนกัน คือทรงเปนพระพุทธเจาผูยอดเยี่ยม ฉันนั้น. เปรียบเหมือนวา พวกคนทั้งหลาย พอไดเห็นรอยเทา ของพญาชางแลว ก็ยอมทราบโดยการอนุมานวา น้ี เปนชางตัวใหญ ฉันใด, บัณฑิตผูมีปกติเจริญปญญา ท้ังหลาย พอเห็นรอยพระบาทของพญาชางคือ

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๖๕ พระพุทธเจาแลว ก็ยอมทราบโดยการอนุมานวา พระ ผูมีพระภาคนั้นทรงเปนผูย่ิงใหญ ฉันน้ันเหมือนกัน. เปรียบเหมือนวา คนทั้งหลาย พอเห็นสัตวเล็กสัตว นอยท้ังหลายท่ีหว่ันกลัวอยู ก็ยอมทราบโดยการ อนุมานไดวา พวกสัตวเล็กสัตวนอยเหลาน้ี หวั่นกลัว แตเสียงราชสีหเจาแหงสัตว ฉันใด, บัณฑิตท้ังหลาย พอเห็นพวกเดียรถียผูมีใจหวั่นกลัว พลานกันอยู ก็พึง ทราบวา พระผูเปนเจาแหงธรรมทรงบันลือสีหนาท แลว ฉันนั้นเหมือนกัน. เปรียบเหมือนวา ชนท้ังหลาย พอเห็นแผนดินที่ชุม เย็นเขียวชะอุม มีแองนํ้าใหญ ๆ ก็ยอมทราบโดยการ อนุมานไดวา แผนดินชุมเย็นไป เพราะฝนหาใหญ ฉันใด, บัณฑิตทั้งหลาย พอเห็นฝูงชนราเริงบันเทิงใจ แลว ก็พึงทราบโดยการอนุมานไดวา ผูน้ีอ่ิมเอิบใจ เพราะฝนคือพระธรรม ฉันน้ันเหมือนกัน. เปรียบเหมือนวา ชนทั้งหลาย พอเห็นพื้นดินมีเปอก- ตมติดอยูหนา ๆ ถึงความเปนบอน้าํ โคลน ก็ยอม ทราบโดยการอนุมานไดวา มีธารน้ําใหญไหลทวมไป ฉันใด, บัณฑิตทั้งหลาย พอไดเห็นชนผูอันเปอกตม คือกิเลสหอหุมอยูน้ี ถูกแมน้าํ คือพระธรรม พัดพาไป

๒๖๖ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา ปลอยไวในทะเลคือพระธรรม (พระนิพพาน) เห็น แผนดินคือโลกน้ี ที่มีพรอมท้ังเทวดา ถึงธรรมอันเปน อมตะแลว ก็พึงทราบโดยการอนุมานไดวา มีธารนา้ํ ใหญคือพระธรรม ไหลทวมไป ฉันน้ันเหมือนกัน. เปรียบเหมือนวา พอกล่ินน้ีหอมฟุงไป ชนทั้งหลาย สูดดมกล่ินหอมยอดเยี่ยมแลว ก็ยอมรูโดยการ อนุมานไดวามีดอกไมบาน ฉันใด, พอกลิ่นศีลนี้ฟุง ไปในโลกพรอมท้ังเทวดา บัณฑิตท้ังหลายก็พึงทราบ โดยการอนุมานไดวา พระพุทธเจาผูทรงเปนบุคคล ยอดเยี่ยมมีอยูจริง ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร บุคคลอาจระบุพระพลานุภาพของ พระพุทธเจาได โดยรอยการณพันการณ โดยรอยเหตุพันเหตุ โดยรอยนัยพันนัย โดยรอยอุปมาพันอุปมา เห็นปานฉะนี้ได, ขอ ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ชางจัดดอกไมผูชํานาญ คัดเลือก ดอกไมจากกองดอกไมชนิดตาง ๆ มาทาํ เปนชอมาลัยท่ีวิจิตร งดงาม โดยวิธีการของบุรุษเฉพาะตน ตามแบบแผนที่อาจารย อนุศาสนไว ฉันใด, ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคพระองคนั้น ทรงเปนบุคคลผูมีพระคุณหาที่สุดมิได มีพระคุณอันใคร ๆ ไม อาจประมาณได ดุจดอกไมท่ีวิจิตร งดงาม ฉันน้ัน, ในบัดนี้ อาตมภาพผูเปนดุจชางดอกไม มีความรูเกี่ยวกับดอกไม จักขอ

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๖๗ แสดงพระพลานุภาพของพระพุทธเจาโดยการอนุมานไปตาม เหตุผล แมไมอาจนับได ตามแนวทางบูรพาจารยทั้งหลายบาง ตามกําลังความรูของอาตมภาพเองบาง, ก็แตวา ขอพระองคจง ทรงทําพระฉันทะ เพ่ือทรงสดับในเรื่องนี้ใหเกิด เถิด.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน การท่ีจะบงชี้ พระพลานุภาพของพระพุทธเจา โดยการอนุมานตามเหตุผล เห็น ปานฉะน้ี แกคนอื่น เปนสิ่งกระทาํ ไดยาก, พระคุณเจานาคเสน, ขาพเจาก็เย็นใจแลว เพราะปญหาพยากรณท่ีวิจิตรยิ่งของทาน.” จบอนุมานปญหาท่ี ๑ คําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาเก่ียวกับการอนุมาน คือการคาดหมายถึงส่ิงท่ี ไมเห็น ไมปรากฏอยู วาสิ่งน้ีมีจริงเปนจริง เพราะอาศัยส่ิงท่ีเห็น อยู ปรากฏอยู ซงึ่ มีจรงิ อนั มลี ักษณะเดยี วกนั เปน เครอื่ งตัดสนิ ใจ ชื่อวา อนุมานปญ หา. คําวา ไดตรัสการจําแนกอารมณ คือไดตรัสการจาํ แนก อารมณกรรมฐาน. คาํ วา อนิจจสัญญา เปนตน ไดแกอารมณอันเหมาะสม แกความเกิดข้ึนแหงอนิจจสัญญา เปนตน. คําวา สรณศีล ไดแกศีลที่บุคคลสมาทาน พรอมกับคํา กลาวขอถึงพระรัตนตรัยวาเปนสรณะ.

๒๖๘ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา คาํ วา ท่ีนับเนื่องเขาในอุเทส ๕ คือที่นับเน่ืองเขาใน เทศนาท่ีทรงยกขึ้นแสดงไว ๕ สวน คือ มหาวิภังค ภิกขุนีวิภังค มหาวรรค จุลลวรรค และบริวาร. คําวา ผลอมตะ คือผลท่ีไดรับเพราะเหตุท่ีไดทําอมต- ธรรม คือพระนิพพานใหแจงได. อริยสัจ ๔ ช่ือวา ยาแกพิษ เพราะบุคคลพอไดบรรลุ อริยสัจ ๔ แลว ก็ถอนพิษ คือกิเลสท้ังหลายได. คําวา บริโภคกายคตาสติ ไดแกเสวย คือเจริญกาย- คตาสติ. ชื่อวา บริโภคอมตะ ก็เพราะการไดเสวยกายคตาสติ เปนเหตุใหไดเสวยวิมุตติรสแหงพระนิพพานอันเปนอมตะ. คําวา ยอมครอบงาํ อยูเหนือภิกษุผูหลุดพนแลว ทั้งหลาย จับต้ังแตช้ันตน ๆ คือ ยอมครอบงํา ฯลฯ จับต้ังแต ช้ันตน ๆ มีพระโสดาบันเปนตน. คาํ วา อเนชธรรม แปลวาธรรมที่หาความหวั่นไหวมิได เปนชื่อเรียกพระนิพพานน่ันเอง. รวมความในอุปมาไดอ ยางนี้ วา เพราะไดเห็นเมอื งทส่ี รา ง ไวดี สวยงาม มีการแบง พนื้ ท่เี ปน สดั สวนเปน ตน แมชา งสรางเมอื ง ไปเสียที่อ่ืน ไมไดอยูใหใคร ๆ ไดพบเห็น ชนทั้งหลายผูพบเห็น เมืองนน้ั ก็ยอ มปลงใจเชอื่ วา ชางสรางเมอื งผชู ํานาญน้ี มอี ยูจริง เพราะมีเมืองท่ีเขาไดสรางไวเปนประจักษพยาน ฉันใด, เพราะได เห็นธรรมนคร (เมอื งธรรม) ท่ีสรางไวด ี มศี ีลเปน ปราการเปนตน

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๖๙ แมช างสรา งธรรมนครน้ี คือพระพทุ ธเจา จะเสดจ็ ดับขันธปรินพิ าน ไปนานแลว ไมปรากฏใหบริษัท ๔ ไดพบเห็นแลว ชนท้ังหลายผู พบเห็นธรรมนครท่ีทรงสรางไว ก็ยอมปลงใจเช่ือไดวา พระพุทธเจามีจริง เพราะมีธรรมนครท่ีพระองคทรงสรางไวเปน ประจักษพยาน ฉันน้ันเหมือนกัน. จบคําอธิบายปญ หาที่ ๑ ปญหาท่ี ๒, ธุตังคปญหา พระราชาทอดพระเนตรเห็นภิกษุท้ังหลายผูอยูปา หยั่งลงในธุตคุณ ทอดพระเนตรเห็นคนครอง เรือนผูดาํ รงอยูในพระอนาคามิผลอีกดวย คร้ัน ทอดพระเนตรเห็นคนทั้ง ๒ ฝายแลว พระราชาก็ ทรงเกิดความสงสัยใหญข้ึน วา “ถาหากวาคน ที่ครองเรือนก็อาจจะตรัสรูธรรมได ไซร, ธุดงค ก็นาจะเปนของไรผล เอาเถอะ เราจะถามพระ นาคเสนเถระผูมีวาทะยํ่ายีวาทะของปรวาที, ผูมี ความรูละเอียดออนในพระไตรปฎก ผูมีคําพูด ประเสริฐ, พระเถระน้ัน ยอมทาํ ความสงสัยของ เราใหพินาศได.” ครั้งน้ันแล พระเจามิลินทไดเสด็จเขาไปหาทานพระนาค เสน ณ ท่ีทานพาํ นักอยู คร้ันเสด็จเขาไปแลว ก็ทรงกราบไหว ทานพระนาคเสน แลวประทับน่ัง ณ ที่สมควรสวนหนึ่ง,

๒๗๐ กัณฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา พระราชานั้น ประทับน่ัง ณ ท่ีสมควรสวนหน่ึงแลว ก็ไดรับส่ัง ความขอนั้นกะทานพระนาคเสน วา “พระคุณเจานาคเสน ผู เปนคฤหัสถครองเรือน บริโภคกาม ครอบครองท่ีนอนอันเบียด เสียดดวยบุตรและภรรยา เสวยเครื่องจันทนจากแควนกาสี ทัด ทรงชอดอกไมของหอม เครื่องลูบไล ชื่นชมเงินและทอง มุน มวยผมอันวิจิตรดวยแกวมณี แกวมุกดาและทองคํา ซึ่งเปนผูได กระทําพระนิพพานอันเปนบทที่สงบ อันเปนประโยชนอยางยิ่ง ใหแจง มีอยูบางหรือไม?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร คฤหัสถผูได กระทําพระนิพพานใหแจง จะมีจาํ นวนเพียงรอยเดียวเทานั้นหา มิได จะมีจาํ นวนสองรอยก็หามิได จะมีจาํ นวนสามรอย, สี่รอย, หารอยก็หามิได จะมีจํานวนพันก็หามิได, จะมีจาํ นวนแสนก็หา มิได, จะมีจาํ นวนรอยโกฏิก็หามิได, จะมีจํานวนพันโกฏิก็หามิได, จะมีจํานวนแสนโกฏิก็หามิได ทวา หาประมาณมิได, ขอถวาย พระพร การตรัสรูธรรมของคฤหัสถ ๑๐ คน ๒๐ คน ๑๐๐ คน ๑,๐๐๐ คน ก็ขอจงยกไวกอนเถิด, ควรทราบวา เหตุท่ีทาํ ให คฤหัสถเหลานั้นเปนคนฝกอบรมได คืออะไร?” พระเจามิลินท : “ขอพระคุณเจานั่นแหละ จงบอกเหตุ ที่วาน้ี” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาอยางนั้น อาตมภาพ ก็จักไดถวายพระพร กลาวแกพระองค, คาํ พูดในพระพุทธวจนะ อันมีองค ๙ จะมีรอยคําก็ตาม พันคาํ ก็ตาม แสนคําก็ตาม

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๗๑ โกฏิคาํ ก็ตาม รอยโกฏิคําก็ตาม พันโกฏิคาํ ก็ตาม แสนโกฏิคํา ก็ตาม คาํ ใดคําหน่ึง ซ่งึ อิงอาศัยขอปฏิบัติอันเปนความประพฤติ ขูดเกลากิเลส หรือธุดงคคุณอันประเสริฐ, คาํ พูดท้ังหมดเหลาน้ัน ลวนรวมเขา ในเหตทุ ี่ทําใหเ ปนคนฝก ไดน ้.ี ขอถวายพระพร เปรียบ เหมือนวา นาํ้ ฝนที่ตกหนักบนภูมิภาคท่ีเปนท่ีลุม ท่ีดอน ท่ีเรียบ ที่ขรุขระ ที่เปนเนิน ที่ไมใชเนิน, นํา้ ท้ังหมดนั้น ยอมเออลน จากสถานท่ีเหลานั้น ไปรวมกันที่หวงนํา้ ใหญคือทะเล ฉันใด, ขอถวายพระพร เมื่อมีผูทําใหถึงพรอมคําพูดในพระพุทธวจนะ อันมีองค ๙ คําใดคาํ หนึ่ง ซ่ึงอิงอาศัยขอปฏิบัติอันเปนความ ประพฤติขูดเกลากิเลสหรือธุดงคคุณประเสริฐ คําพูดท้ังหมด เหลาน้ันลวนรวมเขาในเหตุที่ทําใหเปนคนฝกได น้ี ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร ในความขอนี้ อาตมภาพจะขอใชความ ชา่ํ ชอง ใชความรูของอาตมภาพ รวบรวมคาํ แสดงถึงเหตุ, คํา อรรถาธิบายนั้น จักเปนอันจําแนกดี วิจิตร บริบูรณ บริสุทธิ์ แนะนําไวชอบ ก็เพราะการไดรวบรวมคําแสดงเหตุนั้น, ขอถวาย พระพร เปรียบเหมือนวา อาจารยสอนเลขผูฉลาด จบการศึกษา แลว เมื่อจะสอนเลข ก็ใชความชา่ํ ชอง ใชความรูของตนสอนเลข ใหจบบริบูรณได โดยการแสดงวิธีทาํ , โดยประการอยางนี้ เลข น้ันก็จักเปนอันใชได บริบูรณ ไมบกพรอง ฉันใด ในความขอน้ี อาตมภาพก็จักขอใชความช่ําชอง ใชความรูของอาตมภาพรวบ รวมคําแสดงเหตุ, คําอรรถาธิบายน้ัน จักเปนอันจาํ แนกดี วิจิตร

๒๗๒ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา บริบูรณ บริสุทธิ์ แนะนาํ ไวชอบ ก็เพราะการไดรวบรวมคําแสดง เหตนุ ัน้ ฉันนน้ั เหมอื นกัน. ขอถวายพระพร ท่ีเมืองสาวัตถี มีพระอริยสาวกอยู ประมาณ ๕ โกฏิ, ทานที่เปนอุบาสกอุบาสิกาของพระผูมี- พระภาคจํานวน ๓ แสน ๕ หมื่น ๗ พัน เปนผูตั้งอยูในพระ อนาคามิผล, บุคคลเหลานั้นแมทุกคนลวนเปนคฤหัสถ หาเปน บรรพชิตไม. ยังมีอีก ในคราวที่ทรงแสดงพระยมกปาฏิหาริย ใกล โคนตนกัณฑัมพะนั่นเทียว สัตวจาํ นวน ๒๐ โกฏิ ก็ไดตรัสรูธรรม, ยังมีอีก เม่อื คราวท่ีทรงแสดงจูฬราหุโลวาทสูตร เมื่อคราวท่ีทรง แสดงมหามังคลสูตร, เมื่อคราวที่ทรงแสดงสมจิตตปริยายสูตร, เม่ือคราวท่ีทรงแสดงปราภวสูตร, เมื่อคราวท่ีทรงแสดงปุราเภท สูตร,เมื่อคราวท่ีทรงแสดงกลหวิวาทสูตร, เม่ือคราวท่ีทรงแสดง จูฬพยูหสูตร, เม่ือคราวที่ทรงแสดงมหาพยูหสูตร, เม่ือคราวท่ีทรง แสดงตุวฏกสูตร, เม่ือคราวที่ทรงแสดงสารีปุตตสูตร เทวดา จาํ นวนพนหนทางท่ีจะนับได ไดมีการตรัสรูธรรม ท่ีกรุงราชคฤห มีอุบาสก อุบาสิกาไดตรัสรูธรรมเปนพระ- อริยสาวกของพระผูมีพระภาค ๓ แสน ๕ หม่ีนคน, อีกคร้ังหน่ึง ท่ีกรุงราชคฤหน้ันนั่นแหละ ในคราวที่ทรงทรมานชางธนบาล สัตว ๙๐ โกฏิไดตรัสรูธรรม, ท่ีปาสาณกเจดียปารายนสมาคม สัตว ๑๔ โกฏิไดตรัสรูธรรม, อีกครั้งหน่ึง ในคราวที่ทรงแสดง ธรรมเปนครั้งแรกท่ีปาอิสิปตนมิคทายะ ใกลกรุงพาราณสี พรหม ๑๘ โกฏิและเทวดาหาประมาณมิได ไดตรัสรูธรรม, อีกคร้ังหน่ึง

วรรคที่ ๔, อนุมานวรรค ๒๗๓ ในคราวที่ทรงแสดงพระอภิธรรมบนพระแทนปณฑุกัมพลสิลา- อาสน ณ ภพดาวดึงส เทวดา ๘๐ โกฏิไดตรัสรูธรรม, ในคราว ท่ีเสด็จลงมาจากเทวโลก มนุษยและเทวดาผูเลื่อมใสในพระ ปาฏิหาริยเปดโลก ไดตรัสรูธรรม. ยังมีอีก, ในคราวท่ีทรงแสดงพุทธวงศ ท่ีนิโครธาราม ใกลกรุงกบิลพัสดุ ณ แควนศากยะและในคราวท่ีทรงแสดง มหาสมัยสูตร เทวดาจํานวนพนหนทางที่จะนับได ไดมีการ ตรัสรูธรรม. อีกครั้งหน่ึง ในคราวท่ีนายสุมนมาลาการมาเฝา, ในคราวที่นายครหทินนมาเฝา, ในคราวที่อานันทเศรษฐีมาเฝา, ในคราวที่ชัมพุกาชีวกมาเฝา, ในคราวท่ีปณฑุกเทพบุตรลงมา เฝา, ในคราวท่ีมัฏฐกุณฑลิเทพบุตรลงมาเฝา, ในคราวท่ีนาง สุลสาหญิงนครโสเภณีมาเฝา, ในคราวท่ีนางสิริมาหญิงนคร โสเภณีมาเฝา, ในคราวท่ีธิดาชางทอหูกมาเฝา, ในคราวท่ีนาง จูฬสุภัททามาเฝา, ในคราวท่ีพราหมณชาวเมืองสาเกตุมาเฝา ณ อาฬาหนทัสสนะ, ในคราวที่ชาวเมืองสูนาปรันตะมาเฝา, ในสมาคมท่ีทรงแสดงสักกปญหาสูตร, ในสมาคมท่ีทรงแสดง ติโรกุฑฑสูตร, ในสมาคมที่ทรงแสดงรัตนสูตร แตละคร้ัง ๘๔,๐๐๐ ไดมีการตรัสรูธรรม. พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ สถานท่ีใด ๆ ในบรรดาชนบทใหญ ๑๖ แหง ใน ๓ มณฑล, ณ สถานท่ีน้ัน ๆ โดยมากจะมีเทวดาและมนุษยจาํ นวนสอง สาม หา รอย พัน แสน ไดกระทาํ พระนิพพานอันเปนบทที่สงบ เปน ประโยชนอยางยิ่งใหแจง, ขอถวายพระพร พวกเทวดาเหลาน้ัน

๒๗๔ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ลวนเปนคฤหัสถ หาเปนบรรพชิตไม, ขอถวายพระพร พวก เทวดาหลายแสนโกฏิเหลาน้ีและเหลาอ่ืน เปนคฤหัสถครอง เรือน บริโภคกาม ไดกระทาํ พระนิพพานอันเปนบทท่ีสงบ เปน ประโยชนอยางยิ่งใหแจงแลว” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา ผูเปน คฤหัสถครองเรือน บริโภคกาม ก็กระทาํ พระนิพพานอันเปนบท ท่ีสงบ เปนประโยชนอยางยิ่งใหแจงไดเหมือนกันไซร, เมื่อเปน เชนน้ัน ภิกษุท้ังหลายจะยังธุดงคเหลาน้ีใหสาํ เร็จเพ่ือประโยชน อะไร, ธุดงคทั้งหลาย ช่ือวาเปนกิจที่ไมควรทํา ก็เพราะเหตุนั้น. พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา ความเจ็บไขไดปวย ยอมระงับ ไปไดโดยเวน (การใช) มนตและยาทั้งหลายไซร ประโยชน อะไรดวยการตองทํารางกายใหออนเพลียดวยการอาเจียน การ ขับถายเปนตน เลา. ถาหากเพียงแตใชกําปนก็ปราบศัตรูฝาย ตรงขามไดแลว ไซร, ประโยชนอะไรดวยดาบ หอก ธนู ลูกศร เกาทัณฑ ไมคอน ไมกระบอกอีกเลา, ถาหากวา ผูคนเหนี่ยว ตนไมสวนที่เปนปม สวนที่คดงอ สวนท่ีเปนโพรง ท่ีเปนหนาม ท่ีเปนเครือเถา ท่ีเปนกิ่งกาน ก็ปนขึ้นตนไมไดอยูแลว, ประโยชน อะไรดวยการแสวงหาพะองที่ยาว ๆ แข็งแรง อีกเลา, ถาหากวา ดวยการนอนบนพื้นดินแข็ง ๆ ก็มีความเสมอกันแหงธาตุไดไซร, ประโยชนอะไรดวยการแสวงหาที่นอนใหญ ๆ สวยงาม มีสัมผัส เปนสุขอีกเลา. ถาหากวา ลาํ พังคนเดียวก็สามารถขามที่กันดาร ขรุขระ นาระแวงภัย มีภัยเฉพาะไดแลว ไซร, ประโยชนอะไรดวย

วรรคท่ี ๔, อนุมานวรรค ๒๗๕ การเที่ยวแสวงหาการจะจัดแจงผูกเกวียนกองใหญ ๆ อีกเลา. ถาหากวา เพียงใชแขน (วายไป) ก็สามารถขามแมนา้ํ สระน้ําได แลว ไซร, ประโยชนอะไรดวยการเท่ียวแสวงหาสะพานแข็งแรง หรือเรือแพอีกเลา. ถาหากวา ดวยขาวของเทาที่มีอยูของตน ก็ เพียงพอที่จะทําเปนของกิน ผานุง ผาหมไดแลว, ประโยชนอะไร ดวยวิธีเล้ียงชีพที่ตองเขาไปคบหาผูอื่น ตองพูดคาํ ออนหวาน ตองคอยเที่ยวดักหนาดักหลังเขาเลา. ถาหากวา ไดน้าํ ในสระที่ ไมตองขุดอยูแลว, ประโยชนอะไรดวยการขุดสระน้ําดื่ม สระ โบกขรณีอีกเลา. พระคุณเจานาคเสน อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน ถาหากวาพวกคฤหัสถครองเรือน บริโภคกาม ก็กระทําพระนิพานอันเปนบทท่ีสงบ เปนประโยชนอยางยิ่งให แจงไดเหมือนกัน ไซร, ประโยชนอะไรดวยการสมาทานธุดงค คุณอันประเสริฐ เลา?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร คุณแหง ธุดงคอันเปนคุณท่ีมีตามความเปนจริง เปนคุณที่เปนเหตุให พระพุทธเจาทุกพระองคทรงใฝพระทัย ปรารถนาธุดงค มี ๒๘ ประการ เหลานี้, คุณ ๒๘ ประการ อะไรบาง? ขอถวายพระพร ธดุ งคในธรรมวินัยน้ี มคี ณุ อยา งน้ี คอื : ๑. สทุ ฺธาชีวํ - ยังใหเ ลย้ี งชพี บริสุทธิ์ ๒. สขุ ผลํ - มีผลเปน สขุ ๓. อนวชฺชํ - หาโทษมิได ๔. น ปรทุกขฺ าปนํ - ไมทาํ ใหผ อู น่ื ลาํ บาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook