Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๒๗ ในคาํ เหลาน้ัน คําวา ดูกร ทานวัสสุเทพ เปนเพียงคาํ เรียกฝน โดยสมมุติบุคคลเทานั้น. คาํ วา ดุจโคอสุภะ ฯลฯ ดุจชางทาํ ลายเถาหัวดวนได เปนเพียงคําเปรียบ แสดงใหเห็นการตัดไดอยางงายดาย. คาํ วา เราจึงไมเขาถึงครรภเปนที่อยูอีก มีความหมาย วา เราจึงไมเขาถึงการปฏิสนธิในภพใหมอีก น่ันเทียว. จบคาํ อธิบายปญ หาที่ ๔ ปญ หาที่ ๕, ทปี ก งั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงพอเสือเหลือง’ องค ๒ ที่พึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เสือเหลืองอาศัยพงหญาในปาบาง ปารกบาง ท่ีรก แหงภูเขาบาง ซอนตัว แลวจึงจะจับเอาเนื้อท้ังหลายได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียรก็พึงเสพสถานท่ี วิเวก คือ ปา โคนไม ภูเขา ซอกเขา ถํ้าตามภูเขา ปาชา ปาไม ท่ีโลงแจง ลอมฟาง ซึ่งเปนสถานท่ีท่ีมีเสียงนอย ไมมี เสียงอึกทึก ไมมีผูคนพลุกพลาน มีท่ีนอนที่สงัดจากพวกคน ทั้งหลาย มีความเหมาะสมแกการหลีกเรน. ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ผูเสพสถานท่ีวิเวก ยอมบรรลุ วสีภาวะในอภิญญา ๖ ตอกาลไมนานเลยเทียว ฉันนั้น

๓๒๘ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๑ แหงพอเสือเหลือง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระเถระผูเปนธัมมสังคาห- กาจารยท้ังหลาย ไดภาสิตความขอน้ีวา :- ‘ยถาป ทีปโก นาม, นิลียิตฺวา คณฺหตี มิเค ตเถวายํ พุทฺธปุตฺโต, ยุตฺตโยโค วิปสฺสโก อรฺ ปวิสิตฺวาน, คณฺหาติ ผลมุตฺตมํ๑ ธรรมดาวา เสือเหลือง ซอนตัวแลวก็ยอมจับเอาเน้ือ ทั้งหลายได แมฉันใด, พระโยคาวจรผูเปนพุทธบุตร ผูประกอบความเพียร เจริญวิปสสนาเขาปาแลว ก็ ยอมจับเอาผลที่สูงสุดได ฉันนั้น.’ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ธรรมดาวา พอเสือ เหลืองฆาสัตวตัวใดตัวหน่ึงแลว จะไมยอมกัดกินเนื้อที่ลมไปทาง ขางซาย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพ งึ บรโิ ภคโภชนะสําเร็จโดยการใหไ มไผบาง, ดวยการใหใ บไม (ผัก) บาง, ดวยการใหดอกไมบาง, ดวยการใหผลไมบาง, ดวย การใหเคร่ืองสนานบาง, ดวยการใหดินเหนียวบาง, ดวยการให เคร่ืองจุณบาง, ดวยการใหไมชาํ ระฟนบาง, ดวยการใหนา้ํ ลาง หนาบาง, ดว ยความเปน คนประจบบา ง, ดวยความเปนผมู ีคาํ พูด ดุจแกงถ่ัวบาง, ดวยงานเล้ียงเด็กบาง, ดวยงานรับสงขาวสาร บาง, หรือดวยมิจฉาอาชีวะอยางใดอยางหนึ่งท่ีพระพุทธเจา                                                ๑. วิสุทธฺ มิ คคฺ ๒/๖๔ (ฉบับภูมพิ โลภกิ ฺขุ).

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๒๙ ทรงรังเกียจ, ดุจพอเสือเหลือง ไมยอมกัดกินเน้ือท่ีลมไปทาง ขางซาย ฉะนั้น ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ืคือองค ท่ี ๒ แหงพอเสือเหลือง ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทาน พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระไดภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘วจีวิฺตฺติวิปฺผารา, อุปฺปนฺนํ มธุปายสํ. สเจ ภุตฺโต ภเวยฺยาหํ, สาชีโว ครหิโต มม, ยทิป เม อนฺตคุณํ, นิกฺขมิตฺวา พหี จเร. เนว ภินฺเทยฺยมาชีวํ, จชมาโนป ชีวิตํ.๑ ถาหากวา เราพึงเปนผูบริโภคขาวมธุปายาสท่ี เกิดขึ้นเพราะการแผไปแหงวจีวิญญัติแลวไซร อาชีวะของเราน้ัน พึงเปนส่ิงที่บัณฑิตติเตียนได แมหากวา ขนดไสของเราจะพึงออกมาเท่ียวไป ภายนอก เราจะไมทาํ ลายอาชีวะเลย แมตอง สละชีวิตไป.’ ดังนี้.” จบทีปกังคปญหาท่ี ๕ คาํ อธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาวาดวยองคแหงพอเสือเหลือง ช่ือวา ทีปกังค- ปญหา.                                                ๑. วสิ ทุ ธฺ ิมคฺค ๑/๖๔. (ฉบับภูมพิ โลภกิ ฺขุ).

๓๓๐ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค คําวา ยอ มจบั เอาผลท่ีสงู สดุ คอื ยอ มบรรลพุ ระอรหตั ต- ผล ซ่ึงเปนผลที่สูงสุดในบรรดาสามัญญผล ๔ มีโสดาปตติผล เปน ตน . ในคาํ วา ถาหากวา เราพึงเปนผบู รโิ ภคขา วมธุปายาส เปนตนน้ัน มีเรื่องแสดงความเปนมาแหงคําพูดนี้ อยางน้ีวา :- สมัยหน่ึง ทานพระสารีบุตรเถระเกิดอาพาธเพราะลมในทองเมื่อ ทานพระมหาโมคคัลลานะเถระถามถึงวิธีบําบัด ทานก็บอกพระ เถระวา ในสมัยท่ีทานยังเปนฆราวาสอยูนั้น คราวหน่ึงเกิด เจ็บปว ยดวยโรคอยางเดียวกนั น้ี มารดาของทา นไดทําขา วปายาส หุงดวยนา้ํ นม ปรุงดวยเนยใส นํา้ ผ้ึง และนํา้ ตาลกรวดให บริโภค ทานหายเจ็บปวยไดเพราะไดอาศัยขาวปายาสท่ีเปน เชนนั้น. ในวันนั้น ทานพระมหาโมคคัลลานะเท่ียวบิณฑบาตไป ทานไดขาวปายาสอยางน้ีจากตระกูลอุปฏฐากของทาน ผูดําริ จะทําขาวปายาสเชนน้ีข้ึนมาในวันนั้น เพราะการบีบบังคับของ เทวดาตนหน่ึง ไดแลวก็นาํ เอาไปถวายทานพระสารีบุตร ทาน พระสารีบุตรเห็นเหตุเกิดขึ้นแหงอาหาร วาอาหารเชนน้ีเราไดมา เพราะการเปลงวาจา แมทานไมมีเจตนาจะกลาวเพ่ือใหไดมา ก็ตาม ถึงกระนั้น ทานก็นึกรังเกียจการไดอาหารมาบริโภค โดยวิธีเปลงวาจาเชนน้ี เพราะเหตุน้ัน จึงไดกลาวกะพระมหา- โมคคัลลานเถระวา “ถาหากวาเราพึงบริโภค ขาวมธุปายาส” ดังน้ี เปนตน.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๓๑ ในคาํ เหลาน้ัน คาํ วา เพราะการแผไปแหงวจีวิญญัติ คือเพราะการเปลงวาจาเปนเหตุ. คาํ วา แมหากวาขนดไส ของเราจะพึงออกมาเท่ียวไปภายนอก คือแมหากวาขนดไส ของเราจะพึงออกมาจากภายในทอง เท่ียวหากินไปภายนอก กายน้ีเสียเอง ดวยอํานาจแหงความหิว. คาํ วา เราจะไมทําลาย อาชีวะ คือเราจะไมทาํ ลายศีลคืออาชีวะที่บริสุทธิ์ แมวาจะตอง ส้ินชีวิตไปเพราะอดอาหารก็ตามที. จบคําอธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาที่ ๖, กุมมังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๕ แหงเตา’ องค ๕ ท่ีพึงถือเอาเหลาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เตาเปนสัตว ที่เท่ียวไปในน้ํา สาํ เร็จการอยูแตในนํ้าเทานั้น ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ผูอนุเคราะหประโยชน เกื้อกูลแกสัตว ภูต บุคคลท้ังหลายทั้งปวง ก็พึงเปนผูแผไปสูโลก (สัตวโลก) อันมีอยูในท่ีท้ังปวง ดวยจิตท่ีสหรคตดวยเมตตา อันไพบูลย อันเปนมหัคคตะ อันหาประมาณมิได ไมมีเวร ไมมี ความเบียดเบียนอยู ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือ องคที่ ๑ แหงเตา ที่พึงถือเอา.

๓๓๒ วรรคท่ี ๑, คัทรภวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ธรรมดาวา เตาขณะที่ ลอยลองอยูในน้าํ โงหัวขึ้นมา ถาหากเห็นใคร ๆ เขา ก็จะดําลง ไปในน้ํา หย่ังลงไปใหลึกทันที ดวยคิดวา ‘คนพวกน้ันอยาไดเห็น เราอีก’ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร เมอ่ื กิเลสทงั้ หลายปรากฏ กพ็ งึ ดาํ ลงไปในสระคอื อารมณ พึงหยั่ง ลงไปใหลึก ดวยคิดวา ‘กิเลสท้ังหลาย อยาไดเห็นเราอีก’ ดังนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหงเตา ทพ่ี งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ธรรมดาวา เตายอม ออกจากนาํ้ มาผ่ึงแดด ฉันใด, พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียรก็พึง ถอนจิตออกจากการน่ัง การยืน การนอน และการจงกรมแลว ก็พึงผ่ึงจิตใหรอนในสัมมัปปธาน ฉันนั้นเหมือนกัน. น้ีคือองคที่ ๓ แหงเตา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห นึ่ง เตายอ มขุดพืน้ ดนิ สาํ เรจ็ การอยูในหลุมที่สงัด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงหยั่งลึกลงสูสถานท่ีสงัดเงียบ คือแมกไม ปา ไม ภูเขา ซอกเขา ถ้ําตามภูเขา อันวาง อันสงัด มีเสียงนอย ปราศจากเสียงอึกทึก สําเร็จการอยูในแตในท่ีสงัดเทานั้น ฉันน้ัน เหมือนกัน. นี้คือองคที่ ๔ แหงเตา ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระอุปเสนวังคันตบุตรเถระได ภาสิตความขอนี้ไววา :

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๓๓ ‘วิวิตฺตํ อปฺปนิคฺโฆสํ, วาฬมิคนิเสวิตํ. เสเว เสนาสนํ ภิกฺขุ, ปฏิสลฺลานการณา๑ ภิกษุพึงเสพเสนาสนะท่ีสงัด ที่ไมมีเสียงอึกทึก ท่ีหมูสัตวรายสองเสพ เพราะเหตุแหงความ ประพฤติหลีกเรน.’ ดังนี้. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ธรรมดาวา เตาเมื่อ เท่ียวจาริกไป พบเห็นอะไร ๆ เขาก็ดี, ไดยินเสียงก็ดี ก็จะปด ซอนอวัยวะท้ังหลาย มีคอเปนที่ ๕ ไวในกระดอง แลวหยุดเฉย อยู ไมขวนขวาย ไดแตรักษาตัวอยู ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร เม่ือมีอารมณท้ังปวง คือรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมมาปรากฏ ก็ไมยอมเปดประตู คือความสํารวม ปดซอนจิตไว ทําความสาํ รวมไดแลว ก็ไดแต เปนผูมีสติ มีสัมปชัญญะ คอยรักษาสมณธรรมอยู ฉันน้ัน เหมือนกัน. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่ง เหลาเทพ ทรงภาสิตความขอนี้ไวใน กุมฺมูปมสูตร ในสังยุตต- นิกายอันประเสริฐ วา - ‘กุมฺโมว องฺคานิ สเก กปาเล สโมทหํ ภิกฺขุ มโนวิตกฺเก อนิสฺสิโต อฺมเหฏยาโน ปรินิพฺพุโตนูปเวเทยฺย กฺจิ๒                                                ๑. ขุ. เถร. ๒๖/๓๙๗. ๒. สํ. สฬา. ๑๘/๒๒๓. 

๓๓๔ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค พระโยคาวจรภิกษุ พึงปดซอนความดาํ ริแหงจิต ของตนไว ไมอาศัยตัณหาและทิฏฐิ ไมเบียดเบียน ผูอ่ืน เปนผูดับกิเลส ไมกลาวติเตียนใคร ๆ ดุจเตา ปดซอนอวัยวะไวในกระดองของตน รักษาตัวอยู ฉะนั้น.’ ดังนี้. จบกุมมังคปญหาที่ ๖ คําอธิบายปญหาที่ ๖ ปญ หาวา ดว ยองคแ หง เตา ชือ่ วา กุมมงั คปญ หา. คาํ วา ภูต, บุคคล เปนเพียงคาํ ไวพจนของคาํ วา สัตว เทาน้นั . ในคาํ วา ดว ยจติ ท่สี หรคตดวยเมตตา เปน ตน มีความ วา แผไปสูสัตวโลก ไดแก กระทาํ ใหเปนอารมณ, ดวยจิต ท่ีสหรคตดวยเมตตา คือดวยจิตท่ีประกอบดวยเมตตา, อัน ไพบูลย คืออันกวางขวาง, อันเปนมหัคคตะ คืออันถึงความ เปนรูปาวจร, อันหาประมาณมิได คือมีสัตวอันหาประมาณ มิได (ไมจาํ กัดจาํ นวน) เปนอารมณ, ไมมีเวร คือ เปนขาศึก ของความพยาบาท, ไมมีความเบียดเบียน คือ เปนขาศึก ของวิหิงสา (ความเบียดเบียน) หรือหางไกลจากความทุกข ทางใจ. คําวา พึงดําลงไปในสระคืออารมณ ไดแกพึงจรดจิต ลงไปในอารมณอันเปนกรรมฐาน แลว หย่ังลงไปใหลึก คือ

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๓๕ จรดลงไปในอารมณนั้น ใหลึกดวยอํานาจแหงสติที่ระลึกอยู เนือง ๆ และแหงสมาธิท่ีต้ังมั่น. คาํ วา กิเลสท้ังหลาย อยาไดเห็นเราอีก คือกิเลส ทั้งหลาย อยาไดปรากฏข้ึนมาใหเห็นวา “เรา” , วา “ของเรา” อีก. คาํ วา พึงถอนจิตออกจากการนั่ง การยืน การนอน และการจงกรม ความวา ไมทาํ เวลาใหล ว งเลยไปดวยการคอย ผลัดเปล่ียนอิริยาบถแตอยางเดียวเทาน้ัน ทวา ในเวลาท่ีทรงกาย อยูในอิริยาบถใด ๆ ก็ตาม พึงถอนจิตออกจากอารมณตาง ๆ มากมายภายนอก มนสิการอารมณกรรมฐานในอิริยาบถน้ัน ๆ น่ันแหละ. คําวา พึงผึ่งจิตใหรอนในสัมมัปปธาน คือพึงผ่ึง ไดแก พึงตากจิตท่ีเปยกชุมดวยตัณหาใหแหงไปในแสงแดด คือ สัมมัปปธาน (ความเพียรชอบ) ๔ ประการ คือเพียรปองกัน อกุศลธรรม (นิวรณธรรมทั้งหลาย) ท่ียังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น ๑, เพียรละอกุศลธรรมท่ีเกิดข้ึนแลว ๑, เพียรทาํ กุศล (สมาธิ, วปิ สสนา และมรรค) ท่ียงั ไมเ กิด ใหเกดิ ขน้ึ ๑, เพยี รเพิ่มพนู กศุ ลท่ี เกิดข้ึนแลว ใหเต็มใหบริบูรณยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๑ โดยประการท่ีคอย เพียรยกจิตใหต้ังอยูในอารมณกรรมฐานติดตอกันไป ไมยอทอ น่ันเทียว. ในภาสิตของ พระอุปเสนวังคันตบุตรเถระ นั้น คําวา เสนาสนะที่สงัด คือที่อยอู าศยั ทสี่ งดั ไดแกว า งเวนจากผคู นมีปา เปนตน. คาํ วา ท่ีไมมีเสียงอึกทึก คือท่ีปราศจากเสียงรบกวน.

๓๓๖ วรรคท่ี ๑, คัทรภวรรค คาํ วา ที่หมูสัตวรายสองเสพ คือท่ีหมูสัตวราย มีสีหะเสือโครง เสือเหลือง เปน ตน เทีย่ วหากนิ ไป. คาํ วา เพราะเหตุแหงความ ประพฤติหลีกเรน คือเพราะความปรารถนาจะประพฤติหลีก จิตออกจากอารมณตาง ๆ มากมายในภายนอก แลวเรนคือพัก จิตนั้นไวในอารมณกรรมฐานเปนเหตุ. ในพระภาสิตท่ีวา พระโยคาวจรภิกษุ พึงซอนความ ดาํ ริ เปนตน มีความวา : เปรียบเหมือนวา เตาซอนอวัยวะท้ังหลายไวในกระดอง ไมใหโอกาสแกสุนัขจ้ิงจอก สุนัขจิ้งจอกไมอาจทําอันตราย จึง รักษาตัวอยูได ฉันใด, พระโยคาวจรก็พึงซอนความดําริ (ความ คิด, สภาวะที่ยกจิตข้ึนสูอารมณ) แหงจิตของตน ไดแกคอยยก จิตไวในกระดองคืออารมณกรรมฐานน่ันเอง ไมใหโอกาสแกมาร มารไมอาจทาํ อันตราย จึงรักษาตัวอยูได ฉันน้ันเหมือนกัน. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๖ ปญหาที่ ๗, วังสังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงไมไผ’ องค ๑ ท่ีพึงถือเอานั้น เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ไมไผยอมออนโอนตามกันไป ในสถานท่ีท่ีมีลม, ไม แลนตามกันไป ในท่ีที่เปนอยางอ่ืน ฉันใด, ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระโยคาวจร ก็พึงคลอยตามพระนวังคศาสน (คาํ

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๓๗ สอนมีองค ๙) ที่พระผูมีพระภาคทรงภาสิตไว ต้ังอยูในส่ิงที่เปน กัปปยะ ไมมีโทษ แสวงหาเฉพาะสมณธรรมเทาน้ัน ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหงไมไผ ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระราหุลเถระไดภาสิตความขอน้ีไววา ‘นวงฺคํ พุทธฺ วจน,ํ อนโุ ลเมตฺวาน สพฺพทา กปฺปเ ย อนวชฺชสฺม,ึ ตวฺ าปายํ สมุตฺตรึ พระโยคาวจรภิกษุอนุโลมตามพระพุทธวจนะ อันมีองค ๙ ตั้งอยูในสิ่งที่เปนกัปปยะ หาโทษ มิไดแลว ก็จะเปนผูถึงธรรมที่ยิ่งข้ึนไป ไดโดย ชอบ.’ ดังนี.้ ” จบวังสังคปญหาท่ี ๗ คําอธิบายปญหาที่ ๗ ปญ หาวา ดว ยองคแหง ไมไผ ชื่อวา วงั สงั คปญหา. คําวา ในทที่ เ่ี ปนอยา งอื่น คือในที่ท่ีไมม ลี ม. คําวา คลอ ยตาม คอื ยึดถือเปน แบบแผนเพื่ออนั ประพฤติ ตาม ปฏิบัติตาม ตามท่ีทรงอนุศาสน. คําวา พระนวังคศาสน ไดแกคาํ สอนมีองค ๙ มี สุตตะ เคยยะ เปน ตน. คําวา สิ่งที่เปนกัปปยะ คือส่ิงที่ทรงกาํ หนดไวแลววา ใชได ไมเปนอาบัติแกผูใช ผูเสพ.

๓๓๘ วรรคท่ี ๑, คทั รภวรรค ในภาสิตของ พระราหุลเถระ : คําวา เปนผูถึงธรรมที่ ยิ่งขึ้นไป ไดโดยชอบ ไดแก ถึงธรรมคือคุณทั้งหลาย มีศีล เปนตน ที่ย่ิง ๆ ข้ึนไปตามลําดับ จนถึงพระนิพพานเปนที่สุด. จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาท่ี ๘, จาปงคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงธนู’ องค ๑ ที่พึงถือเอานั้น เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ธนูที่เขาถากดีแลวนอมดัดเขาหากันแลว ก็โคงงอ เรียบสม่ําเสมอกันไป ไมสะดุด จับต้ังแตปลายถึงโคน ฉันใด, ขอถวายพระพร มหาบพิตร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึง นอบนอมในภิกษุผูเปนพระเถระ ภิกษุผูเปนพระใหม และภิกษุ ผูเปนพระรุนกลาง สมา่ํ เสมอกัน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร นี้คือองค ๑ แหงหนู ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรงภาสิตความขอ น้ีไวในวิธุร (ปุณณก) ชาดก วา ‘จาโปวูนุทโร ธีโร, วํโส วาป ปกมฺปเย ปฏิโลมํ น วตฺเตยฺย, ส ราชวสตึ วเส๑ บุคคลผูเปนนักปราชญใด พึงเปนผูมีทองพรอง เรียว ดุจธนู, ทั้งพึงหว่ันไหว (ในคาํ ที่พระราชา                                                ๑. ขุ. ชา. ๒๘/๓๕๑.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๓๙ ตรัส) ดุจไมไผ (ตองลม), ไมพึงประพฤติโตแยง, บุคคลผูเปนนักปราชญน้ัน จะพึงเขาไปอยูยัง สถานที่อยูแหงพระราชาได’ ดังน้ี.” จบจาปงคปญหาที่ ๘ คําอธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาวาดวยองคแ หงธนู ช่อื วา จาปง คปญ หา คําวา ภิกษุผูเปนพระเถระ คือภิกษุผูมีพรรษาจับต้ังแต ๑๐ ขน้ึ ไป. คําวา ภกิ ษุผูเปน พระใหม คอื ภกิ ษุผมู ีพรรษาไมเกิน ๕. คําวา ภกิ ษุผเู ปน พระรนุ กลาง คอื ภิกษผุ มู ีพรรษา ๕ ข้ึน ไป แตไ มถ ึง ๑๐. คาํ วา บุคคลผูเปนนักปราชญใด เปนตน เปนคําตรัส ของพระผูมีพระภาค ในกาลท่ีเสวยพระชาติเปนวิธุรบัณฑิต อํามาตยของพระเจาโกรัพยะ แหงนครอินทปต แควนกุรุ. ทาน บัณฑิตน้ัน เมื่อถูกถามถึงวิธีการอยูในสํานักของพระราชาได อยางผาสุก ไมมีราชภัย ทวา มีแตพระราชาจะทรงโปรดปราน ก็ไดเฉลยใหทราบ น้ีเปนสวนหน่ึงแหงคําเฉลยน้ัน. ในคํานั้น คําวา พงึ เปนผมู ที อ งพรอ งเรยี ว คือไมเ ปน ผูม ี ทองใหญเหมือนคนตะกละ มักมากในการบริโภค ทวา มีทอง พรองเรียวเหมือนอยางธนูที่เล็กเรียว. คาํ น้ี มีความหมายแต

๓๔๐ วรรคท่ี ๑, คัทรภวรรค เพียงวา เมื่อไดอยูในสํานักของพระราชา ก็อยาไดประพฤติเปน คนละโมบโลภมาก หวังแตจะไดของพระราชทาน ไมรูจักพอ เหมือนอยางคนตะกละในการบริโภค มักมากในของกินเสียจน ทอ งโตใหญ ฉะนั้น ทวา ควรเปน ผูรูจ กั ประมาณ รูจ ักพอ. คาํ วา ท้ังพึงหว่ันไหว คือพึงหวั่นไหว ไดแกพึงคอย สําเหนียกที่จะอนุโลมตามคําตรัสของพระราชาทุกอยาง. ดุจ อะไร? ดุจไผตองลม ท่ีคอยแตละโอนเอนไปตามลม ไมฝน กระแสลม ฉะนั้น. คําวา จะพึงเขาไปอยูยังสถานที่อยูแหงพระราชาได ความวา เม่ือประพฤติตามอยางที่กลาวมาน้ี ก็สมควรที่จะอยูใน สํานักของพระราชาได. จบคําอธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาท่ี ๙, วายสังคปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงกา’ องค ๒ ที่พึงถอื เอาน้นั เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา กา เอาแตสงสัยระแวงภัย พากเพียรขวนขวายเท่ียวไป อยู ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ ําเพญ็ เพียร กพ็ ึงเปน ผูเอาแตสงสัยระแวงภัย พากเพียรขวนขวายสํารวมอินทรีย ท้ังหลายดวยสติที่ตั้งม่ัน เท่ียวไป ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร น้ีคือองคท่ี ๑ แหงกา ที่พึงถือเอา.

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๔๑ ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค ๑ ธรรมดาวา กา พบของกิน อะไร ๆ แลว ก็แบงกันกินกับพวกญาติ ฉันใด, ขอถวายพระพร ลาภท่ีเกิดโดยธรรม ไดมาโดยธรรม โดยท่ีสุดแมเพียงของกินท่ี เนื่องอยูในบาตรเหลาน้ัน ใด, ลาภเห็นปานน้ัน เหลาน้ัน พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร พึงแบงกันฉันกับเพ่ือนพรหมจรรย มีผูมี ศีลท้ังหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงกา ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดี สารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา ‘สเจ เม อุปนาเมนฺติ ยถาลทฺธํ ตปสฺสโิ น. สพเฺ พ สํวิภชติ ฺวาน, ตโต ภุฺชามิ โภชนํ ถาหากวา พวกคนท้ังหลาย นอมเอาโภชนะตามท่ี ไดมาเขาไปใหเรา เราก็จะแบงใหภิกษุผูมีตบะท่ัว ทุกรูป แลวจึงจะบริโภคอาหารหลังจากนั้น.’ ดังน้ี.” จบวายสงั คปญหาท่ี ๙ คาํ อธิบายปญหาที่ ๙ ปญหาวาดวยองคแหงกา ช่ือวา วายสังคปญหา. คําวา พึงเปนผูเอาแตสงสยั ระแวงภยั คือพึงเปน ผเู อา แตห วาดหวนั่ ภัยในสังสารวฏั . คาํ วา ภกิ ษผุ มู ตี บะ คือภกิ ษผุ มู ีความเพยี ร ซึ่งไดช ่ือวา ตบะ เพราะอรรถวาแผดเผากิเลส. จบคําอธิบายปญ หาที่ ๙

๓๔๒ วรรคที่ ๑, คทั รภวรรค ปญหาที่ ๑๐, มกั กฏงั คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๒ แหง วานร’ องค ๒ ท่ีพงึ ถอื เอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา วานร เมื่อจะเลือกอยูอาศัย ก็ยอมเลือกอยูอาศัยใน โอกาสเห็นปานฉะนี้ คือ ตนไมตนใหญ ๆ ทีส่ งัด อนั พร่ังพรอ มดวย กิ่งกานสาขา เปนที่ปองกันภัยได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระ โยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเลือกอยูอาศัยอาจารยผูเปน กัลยาณมิตร เห็นปานฉะนี้ คือ เปนลัชชี รักศีล มีศีล มีกัลยาณ- ธรรม เปนพหูสูต ทรงธรรม ทรงวินัย นารัก นาเคารพ นายกยอง เปนผรู จู กั วากลา ว อดทนตอการวากลาว เปนผโู อวาท ผูบอกใหร ู ผูช้ีคุณและโทษ ผูชักชวนกระตุนใหอาจหาญ ใหบันเทิง ฉันน้ัน เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร นี้คือองคท ่ี ๑ แหงวานร ท่ีพงึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ธรรมดาวา วานร จะ เท่ียวไป จะยืน จะนั่ง, แมหากวาจะกาวลงสูความหลับ ก็บน ตนไมท้ังนั้นแหละ, ยอมไดการอยูอาศัยไปตลอดท้ังคืนบนตนไม นั้นเทาน้ัน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูบายหนาสูปา, พึงยืน เดิน นั่ง นอน กาวลงสูความ หลับอยูแตในปา เทานั้น, พึงได (การเจริญ) สติปฏฐาน ในปา นั้นเทานั้น ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหง วานร ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดีสารี- บุตรเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา :-

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๔๓ ‘จงกฺ มนโฺ ตป ตฏิ  นฺโต, นสิ ชฺชาสยเนน วา. ปวเน โสภเต ภกิ ฺข,ุ ปวนนฺตวํ วณณฺ ิตํ. ภิกษุ เม่ือเดินอยูก็ดี ยืนอยูก็ดี, หรือต้ังกายอยู โดยการน่ัง หรือการนอนก็ดี ในปา ยอมสวยงาม ปาน่ันเทียวเปนสถานที่ที่พระอริยบุคคลท้ังหลาย สรรเสริญ.’ ดังนี.้ ” จบมักกฏังคปญหาท่ี ๑๐ คําอธิบายปญหาที่ ๑๐ ปญ หาเกี่ยวกับองคแ หงวานร ชื่อวา มักกฏงั คปญหา. คําวา เปนลัชชี คือเปนผูละอายบาป ละอายความ ประพฤติท่ีไมสมควร. คาํ วา เปนผูรูจักวากลาว คือเปนผูรูจักวากลาวศิษยใน สมัยท่ีควรวากลาว. คําวา อดทนตอ การวา กลา ว คอื อดทน ไดแ กไมทอ แทใน อนั วา กลาวศษิ ย. ช่อื วา ชักชวน กระตนุ ใหอาจหาญ ใหบนั เทิง กใ็ นสมยั ที่ศิษยเกิดความทอแทใจ เหนื่อยหนายในการเจริญอธิกุศล. คําวา เมื่อเดินอยูก็ดี เปนตน คือเม่ือเดินอยูเปนตน ดวยจิตท่ีมนสิการกรรมฐาน. จบคําอธิบายปญหาท่ี ๑๐ จบคัทรภวรรคท่ี ๑

๓๔๔ วรรคที่ ๒, สมทุ ทวรรค วรรคท่ี ๒, สมทุ ทวรรค ปญ หาที่ ๑, ลาพลุ ตงั คปญ หา พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทา นกลาววา ‘พึง ถอื เอาองค ๑ แหง เถานาํ้ เตา’ องค ๑ ท่พี ึงถอื เอานนั้ เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เถาน้ําเตา เลือ้ ยผานไปบนกอหญา กด็ ี บนไมแ หงก็ดี บนเถาวลั ยก ด็ ี กย็ อมใชสายงวงทงั้ หลายยดึ เหนยี่ วไวเ ล้อื ยขน้ึ ไป เจริญงอกงามอยบู นสง่ิ นนั้ ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผบู ําเพ็ญเพยี ร ผูต องการเจริญยง่ิ ในความเปนพระอรหนั ต กพ็ งึ ใช จิตยึดเหน่ียวอารมณ ขึ้นไปเจริญงอกงามยิ่งอยูในความเปน พระอรหันต ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหง เถานํา้ เตา ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดี สารบี ตุ รเถระ ไดภ าสติ ความขอ น้ไี วว า :- ‘ยถา ลาพุลตา นาม, ติเณ กฏเ ลตาย วา. อาลมฺพิตฺวา โสณฺฑิกาหิ, ตโต วฑฺฒติ อุปฺปริ. ตเถว พุทฺธปุตฺเตน, อรหตฺตผลกามินา. อารมฺมณํ อาลมฺพิตฺวา, วฑฺฒิตพฺพํ อเสกฺขผเล เปรียบเหมือนวา เถานา้ํ เตา ใชสายงวงทั้งหลาย ยึดเหน่ียวเอากอหญาบาง ไมแหงบาง เถาวัลย บาง แลวข้ึนไปเจริญอยูเหนือสิ่งเหลานั้น ฉันใด, พระโยคาวจรผูเปนพุทธบุตรผูตองการอรหัตตผล

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๔๕ พึงยึดเหนี่ยวอารมณ แลวเจริญอยูในอเสกขผล (อรหัตตผล) ฉันน้ันเหมือนกัน.’ ดังนี้.” จบลาพุลตังคปญหาท่ี ๑ คําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาวาดวยองคแหงเถานาํ้ เตา ช่ือวา ลาพุลตังค- ปญหา. คําวา พึงใชจิต คือพึงใชวิปสสนาจิตท่ีเปนไปคลอย ตามลําดับแหงวิปสสนาจาํ เดิมแตตน. คาํ วา เหน่ียวอารมณ ฯลฯ ในความเปนพระอรหนั ต คือเหนี่ยว ไดแกท าํ ใหเ ปน อารมณ. ความวา ใชว ิปส สนาจติ นน้ั ทํา กรรมฐานคือรูปและนามนั้น ๆ ใหเปนอารมณ จนกระท่ังเห็น ความส้นิ ไป ปราศไป ตอ จากนั้น ก็เหนี่ยวเอาความสนิ้ ไป ปราศไป ไตสูงข้ึนไปดวยการทาํ วิปสสนาญาณที่เห็นอยางน้ันนั่นแหละ ให กาวหนาย่ิง ๆ ข้ึนไปตามลาํ ดับ แลวปลอยอารมณคือความส้ินไป เสือ่ มไปแหงนามรปู น้นั เสีย เหน่ียวเอาพระนิพพาน ดวยโคตรภูจิต เม่ือโคตรภจู ติ ดบั ไปแลว ตอ จากนั้นก็ยังคงเหนย่ี วเอาพระนพิ พาน นั้นนั่นแหละ ดวยมรรคจิต ซึ่งนับไดวาไดกระทาํ พระนิพพานให แจงไดแลว ทบทวนปฏิบัติไดอยางน้ีแหละ จนมรรคเกิดครบ ๔ วาระตามลําดับ ตอจากมรรคท่ี ๔ ซ่ึงดับไปแลวน้ัน ช่ือวาเจริญ งอกงามอยูในผล คอื ความเปนพระอรหนั ต ฉะน้แี ล.

๓๔๖ วรรคที่ ๒, สมทุ ทวรรค อรหัตตผล ชื่อวา อเสกขผล เพราะเปนผลที่ใหสาํ เร็จ ความเปนพระอเสกขะ คือพระขีณาสพผูไมตองมีการศึกษาใน สกิ ขา ๓ แลว . จบคําอธบิ ายปญหาท่ี ๑ ปญหาท่ี ๒, ปทุมังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๓ แหงบัวหลวง’ องค ๓ ที่พึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา บัวหลวง เกิดในน้ํา เจริญอยูในนาํ้ น้ําก็ไมฉาบติด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร เจริญอยู ในสกุล ในคณะ ในลาภ ในยศ ในสักการะ ในความนับถือ ใน ปจจัยเครื่องใชสอยท้ังหลาย ก็พึงเปนผูอันส่ิงท้ังปวง (เหลานั้น) ไมฉาบติด ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงบัวหลวง ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง บัวหลวง ยอมโผล ขึ้นมาจากนา้ํ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญ เพียร ก็พึงครอบงาํ โลกทั้งปวง แลวโผลข้ึนมาดาํ รงอยูในโล กุตตรธรรม ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๒ แหงบัวหลวง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ธรรมดาวา บัวหลวง ยอมโอนเอน หวั่นไหว เพราะนา้ํ แมเพียงเล็กนอย ฉันใด, ขอ

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๔๗ ถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร เมื่อกิเลสท้ังหลาย เกิดข้ึนแมเพียงเล็กนอย ก็พึงหว่ันไหว กระทาํ การปองกัน, พึง เปนผูมีปกติเล็งเห็นวาเปนภัยอยู ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหงบัวหลวง ท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย พระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลาเทพ ทรงภาสิต ความขอน้ีไววา ‘อณุมตฺเตสุ วชฺเชสุ ภยทสฺสาวี สมาทาย สิกฺขติ สิกฺขาปเทสุ๑ - เธอเปนผูมีปกติเล็งเห็นวาเปนภัยในส่ิง ที่เปนโทษท้ังหลาย มาตรวาเล็กนอย ยอมสมาทานศึกษาอยู ในสิกขาบทท้ังหลาย; ดังน้ี.” จบปทุมังคปญหาที่ ๒ คําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญ หาวา ดวยองคแหง บวั หลวง ช่อื วา ปทุมงั คปญหา. คําวา พึงเปนผอู นั ส่งิ ทง้ั ปวงไมฉาบตดิ คอื พึงเปน ผูอนั ส่ิงทั้งปวง มีสกุลเปนตน ไมฉาบติด เพราะไมมีใจติดดวยอํานาจ ความเสนหาในสิ่งเหลาน้ัน. คําวา พึงครอบงาํ โลกท้ังปวง คือพึงครอบงาํ โลกอัน ไดแกอุปาทานขันธ ๕ ดวยญาณที่เห็นวาไมเที่ยงเปนตนโผลพน โลกนั้นขึ้นมาได ดวยอาํ นาจการละตัณหาและอุปาทานอันเปน                                                ๑. ท.ี สี. ๙/๘๒.

๓๔๘ วรรคท่ี ๒, สมุททวรรค เหตไุ มโ ผลพ น แลว ดาํ รงอยใู นโลกตุ ตรธรรม ดว ยอํานาจการบรรลุ (มรรค, ผล) และกระทาํ ใหแจง (พระนิพพาน) คําวา พึงเปนผูมีปกติเล็งเห็นวาเปนภัย คือพึงเปนผูมี ปกติเล็งเห็นวาเปนภัย คือเปนของนากลัว เพราะเหตุท่ีนาํ มาแต ความหายนะ. คําวา ในส่งิ ที่เปนโทษทั้งหลาย มาตรวาเลก็ นอ ย คือ ในส่ิงที่เปนโทษที่มีประเภทเปนอกุสลจิตตุปบาท (อกุศลจิตท่ี เกิดขึ้น) เทา น้ันเปน ตน รวมทั้งเสขิยวตั ร (วตั รทพี่ ึงศกึ ษา) ทภ่ี กิ ษุ ลวงโดยมิไดมีความตั้งใจลวง ซ่ึงนับวาเล็กนอย เพราะทรงปรับ อาบัติไวเพียงทุกกฏทุพภาสิตเทาน้ัน. ความวา โทษแมเล็กนอย อยางน้ี ก็เล็งเห็นวาเปนภัยใหญหลวงแกผูลวงละเมิดราวกะวา เปนอาบัติขั้นปาราชิก ฉะน้ัน. คาํ วา ยอมสมาทานศึกษาอยูในสิกขาบทท้ังหลาย ความวา ยอมถือเอาโดยชอบ ศึกษาศีลสิกขาบทที่ควรสมาทาน ศึกษาท้ังหมด บกพรองขอนั้น ๆ ไป ทราบแลวก็ทําใหเต็มให บริบูรณอ ยเู สมอ ไมเ ปนผมู อี าบตั ิติดตวั . จบคําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญหาท่ี ๓, พีชังคปญหา พระเจา มิลนิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทา นกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงพืช (เมล็ดพืช)’ องค ๒ ที่พึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?”

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๔๙ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา พืช ท่ีเขาหวานโปรยไวในไรนา แมมีเพียงนิดหนอย แตเมื่อฝน โปรยสายธารลงมาดวยดี ก็จักคอยมอบผลใหมากมายนัก ฉัน ใด, ขอถวายพระพร มหาบพิตร ศีลท่ีพระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ทาํ ใหดําเนินไปไดตามลาํ ดับ ก็จะคอยมอบสามัญญ- ผลทั้งส้ินให ฉันน้ันเหมือนกัน. เมื่อเปนเชนน้ี ก็พึงปฏิบัติ โดยชอบเถิด. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๑ แหงพืช ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง ธรรมดาวา พืช ถูก เพาะไวในไรนาท่ีชาํ ระดีแลว ก็ยอมงอกข้ึนไดเร็วพลันทีเดียว ฉันใด. ขอถวายพระพร จิตที่พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ประคับประคองไวดีแลว อยูในสุญญาคาร ชาํ ระแลว วางไว แลว ในไรนาคือสติปฏฐาน (อารมณอันเปนที่เขาไปตั้งอยูแหง สติ) อันประเสริฐ ยอมงอกงามไดเร็วพลัน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๒ แหงพืช ท่ีพึงถือเอา. ขอถวาย พระพร ทานพระอนุรุทธเถระ ไดภาสิตความขอนี้ไววา :- ‘ยถาป เขตฺเต ปริสุทฺเธ, พีชฺจสฺส ปติฏิตํ. วิปุลํ ตสฺส ผลํ โหติ, อป โตเสติ กสฺสกํ. ตเถว โยคินา จิตฺตํ, สุฺาคาเร วิโสธิตํ. สติปฏานเขตฺตมฺหิ, ขิปฺปเมว วิรูหติ เปรียบเหมือนวา พืชท่ีตั้งอยูในไรนาอันชําระแลว ยอมมีผลไพบูลย, ท้ังยังทําใหชาวไรชาวนายินดี

๓๕๐ วรรคที่ ๒, สมทุ ทวรรค ฉันใด จิตท่ีพระโยคีผูอยูในสุญญาคาร ชาํ ระแลว ในไรนา คือสติปฏฐาน ยอมงอกงามไดเร็วพลัน ฉันนั้นเหมือนกัน.’ ดังน้ี.” จบพีชังคปญหาท่ี ๓ คาํ อธิบายปญหาที่ ๓ ปญ หาเกยี่ วกบั องคแ หงพืช ช่อื วา พชี งั คปญ หา. คาํ วา ศลี ไดแ กศลี บรสิ ทุ ธิ์ ๔ อยาง คือ ปาตโิ มกขสังวรศลี (ศีลคือความสํารวมพระปาติโมกข) ๑, อินทริยสังวรศีล (ศลี คือสตทิ สี่ าํ รวมอินทรยี  ๖) ๑, อาชวี ปารสิ ุทธศิ ลี (ศลี คืออาชวี ะ ท่ีบริสุทธ์ิ) ๑, ปจจยสันนิสิตศีล (ศีลคือการพิจารณาปจจัย ๔ มจี วี รเปน ตน กอ นใชส อยแตละคร้งั ) ๑. คําวา คอยมอบสามัญญผลท้ังสิ้นให คือคอยมอบ สามญั ญผลทง้ั สน้ิ คอื ทง้ั ๔ มโี สดาปต ตผิ ลเปน ตน ใหต ามลาํ ดับ. คาํ วา ประคับประคองไวดีแลว คือประคับประคองไวดี แลว ดวยกายคตาสติ (กายานปุ ส สนาสตปิ ฏฐาน), เวทนาคตาสติ (เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน), จิตตคตาสติ (จิตตานุปสสนาสติ- ปฏ ฐาน) และธัมมคตาสติ (ธัมมานุปส สนาสติปฏฐาน). คําวา ในสุญญาคาร คือในเรือนวาง. อีกอยางหน่ึง เพราะตรสั ไวว า “บุรษุ มีตัณหาเปนเพอื่ น”, เพราะฉะนนั้ ชื่อวา ใน สุญญาคาร ก็คือในกาย ในเวทนา ในจิตและธรรม ซึ่งเปนดุจ

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๕๑ เรือนอันวางจากเพ่ือนคือตัณหา ดวยอํานาจแหงความเปนผูมีสติ เขาไปตั้งไวที่กายเปนตน นั้น. คาํ วา ชําระแลว คือทําใหหมดจด โดยภาวะที่ไมปะปน ดวยกิเลส. คาํ วา วางไวแลว คอื อันญาณวางลงแลว คือกาํ หนดลงไป แนนอนแลววา “รูปเปนอยางน้ี, ความเกิดขึ้นแหงรูปเปนอยางน้ี, ความดับไปแหงรูปเปนอยางน้ี เวทนาเปนอยางนี้ ฯลฯ ความดับ ไปแหงวิญญาณเปนอยางน้ี.” คําวา ในไรน าคอื สติปฏฐานอนั ประเสรฐิ คอื ในไรน า อนั ประเสรฐิ คืออารมณ ๔ อยาง มีกายเปนตน อันเปน ท่เี ขา ไปตัง้ ไวแหง สติ. ช่อื วา ยอ มงอกงามไดเรว็ พลนั ก็ดว ยอํานาจแหงความ เปนปจจัยสืบตอกันไปจนกระทั่งบรรลุมัคคญาณ ซ่ึงเปนผูทาํ กิจ อริยสัจ ๔ คือกาํ หนดทุกข ละสมุทัย ทํานิโรธใหแจง และเจริญ มรรค ไดเ ร็วพลัน. จบคาํ อธบิ ายปญ หาท่ี ๓ ปญหาที่ ๔, สาลกัลยาณิกงั คปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหง ไมขานาง’, องค ๑ ที่พงึ ถอื เอานัน้ เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา ธรรมดาวา ไมขานาง, เจริญเติบโตอยูภายในพื้นดิน

๓๕๒ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค งอกขึ้นไปได แมตั้ง ๑๐๐ ศอก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงกระทําสามัญญผล ๔ ปฏิสัมภิทา ๔ อภิญญา ๖ และสมณธรรมทั้งสิ้น ใหบริบูรณ ในสุญญาคาร ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองค ๑ แหงไมขานางท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระราหุลเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘สาลกลฺยาณิกา นาม, ปาทโป ธรณีรุโห. อนฺโตปวิยํ เยว, สตหตฺโถป วฑฺฒติ. ยถา กาลมฺหิ สมฺปตฺเต, ปริปาเกน โส ทุโม. อุคฺคฺฉิตฺวาน เอกาหํ, สตหตฺโถป วฑฺฒติ. เอวเมวาหํ มหาวีร, สาลกลฺยาณิกา วิย. อพฺภนฺตเร สุฺาคาเร, ธมฺมโต อภิวฑฺฒยึ ธรรมดาวา ไมขานางท่ีงอกอยูบนธรณี ยอม เจริญเติบโตต้ังแตพ้ืนดินนั่นเทียว จน (สูง) ถึง ๑๐๐ ศอก, ตนไมน้ัน เม่ือเวลามาถึงเขามีความ แกรอบ เพียงวันเดียว ก็เติบโตโผลขึ้นไปไดถึง ๑๐๐ ศอก ฉันใด, ขาแตพระมหาวีระ ขาพระองค ก็เจริญยิ่งโดยธรรม อยูภายในสุญญาคาร ดุจไม ขานาง ฉันนั้นเหมือนกัน พระเจาขา.’ ดังนี้.” จบสาลกัลยาณิกังคปญหาที่ ๔

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๕๓ คาํ อธบิ ายปญหาที่ ๔ ปญหาวาดวยองคแหงไมขานาง ชื่อวา สาลกัลยาณิ- กงั คปญหา. คาํ วา สมณธรรม แปลวา ธรรมของสมณะ ความวาธรรม ที่สรางความเปนสมณะ ไดแก ศีลบริสุทธิ์ ๔ อยาง ธุดงค ๑๓ จรณะ ๑๕ สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ เปนตน สมาบัติ ๘ วิปสสนาญาณตาง ๆ รวมท้ังโพธิปกขิยธรรม ๓๗ อยาง มี สติปฏฐาน ๔ เปนตน ตามสมควรแกความสามารถ. จบคําอธบิ ายปญหาที่ ๔ ปญ หาท่ี ๕, นาวงั คปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทา นกลา ววา ‘พึง ถอื เอาองค ๓ แหงเรือ’ องค ๓ ท่พี ึงถอื เอานัน้ เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เรือ มีแตเคร่ืองไมหลายอยางตาง ๆ ประกอบเขา ดวยกัน ยอมยังชนแมมากมายใหขามฝงได ฉันใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร มีแตธรรมหลายอยาง มีอาจาระ ศีลคุณ วัตรปฏิบัติท้ังหลายตาง ๆ กัน ก็จะพึงขาม โลกที่มีพรอมพร่ังท้ังเทวดาได ฉันนั้นเหมือนกัน. น้ีคือองคท่ี ๑ แหงเรือที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง เรือ ยอมทนสูคล่ืนแรง กระแสนา้ํ ท่ีเช่ียวกราก แรงกระแสนาํ้ วนหลายอยางตางๆ กันได

๓๕๔ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู าํ เพ็ญเพยี ร ก็พงึ ทนสแู รง คลน่ื คอื กิเลสมากมายหลายอยา ง ลาภ สกั การะ ยศ ชอื่ เสยี ง การ บูชา การกราบไหว และแรงคล่ืนคือโทษมากมายหลายอยาง มี นินทา สรรเสริญ สุข ทุกข ความนับถือ ความดูหมิ่น ในสกุลของ ผูอ่ืนท้ังหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๒ แหงเรือที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง ธรรมดาวา เรือ ยอม จรไปในมหาสมุทรอันกวางขวาง อันประมาณไมได ไมมีที่ สิ้นสุด แลไมเห็นฝง ใคร ๆ ก็ไมอาจทําใหกาํ เริบได มีแตคลื่นสง เสียงดังคลืน ๆ กลนเกลื่อนดวยปลาติมิ ปลาติมิงคิละ มังกร ฝูงปลาท่ัวไป เปนตน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บําเพ็ญเพียร ก็พึงทําจิตใหสัญจรไปในการแทงตลอดญาณท่ี ตรัสรูสัจจะ ๔ อันมีปริวัฏ ๓ อาการ ๑๒ ฉันน้ันเหมือนกัน. น้ี คือองคท่ี ๓ แหงเรือ ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระ ภาคผูทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพทั้งหลาย ทรงภาสิตความขอน้ีไว ในสัจจสังยุต ในสังยุตตนิกายอันประเสริฐ วา :- ‘วิตกฺเกนฺตา จ โข ตุมฺเห ภิกฺขเว อิทํ ทุกฺขนฺติ วิตกฺเกยฺยาถ, อยํ ทุกฺขสมุทโยติ วิตกฺเกยฺยาถ, อยํ ทุกฺขนิโรโธติ วิตกฺเกยฺยาถ, อยํ ทุกฺขนิโรธ- คามินีปฏิปทาติ วิตกฺเกยฺยาถ.๑                                                ๑. สํ. มหา. ๑๙/๕๑๕.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๕๕ ดูกร ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอเมื่อจะดําริ พึงดาํ ริ วา นี้ ทุกข, พึงดําริวา นี้ ทุกขสมุทัย, พึงดาํ ริวา นี้ ทุกขนิโรธ, พึงดําริวา น้ี ทุกขนิโรธคามินี- ปฏิปทา ดังนี้เถิด.’ ดังน้ี.” จบนาวังคปญหาท่ี ๕ คําอธิบายปญหาที่ ๕ ปญหาเกย่ี วกบั องคแหงเรอื ช่ือวา นาวงั คปญหา. คําวา มีอาจาระ คือมีมารยาทดี ประเสริฐ, คาํ วา ศีล ไดแกศ ลี บริสุทธิ์ ๔ อยา ง มปี าติโมกขสังวรศีลเปน ตน , คาํ วา คณุ ไดแก คุณมีความเปนผูมักนอย สันโดษเปนตน. คําวา วัตร- ปฏิบตั ิ ไดแก วัตรทค่ี วรปฏิบัติ มอี ปุ ชฌายวัตร (วัตรท่คี วรทําแก พระอุปชฌายะ) เปนตน อันมาแลวในขันธกวตั รในพระวนิ ัย. คาํ วา กจ็ ะพงึ ขา มโลกทีม่ ีพรอ มพรัง่ ท้งั เทวดา คือ ก็จะ พึงขามโลกท้ัง ๓ กลาวคือ กามโลก รูปโลก อรูปโลก ท่ีมีพรอม พร่ังทั้งเทวดา โดยเกี่ยวกับการไมกลับมาปฏิสนธิในโลกทั้ง ๓ น้ี อีก ดวยสามารถแหงมัคคญาณ ๔. คาํ วา ก็พึงทนสูแรงคล่ืนคือกิเลสมากมาย คือพึงทน สูแรงคลื่นคือกิเลสหลายอยางอันมีลาภเปนตน เปนเหตุ ดวย อํานาจการกําจัดความยินดีในลาภเปนตนน้ัน ดวยญาณ.

๓๕๖ วรรคท่ี ๒, สมุททวรรค โลกธรรมท้งั หลาย มี นินทา เปนตน ชือ่ วา โทษเพราะเปน ทีต่ งั้ แหง ทจุ รติ . ชื่อวา ปลาติมิ ปลาติมิงคิละ ไดแกปลาใหญ ซ่ึงมี อัตภาพยาวถึง ๓๐๐ หรือแม ๕๐๐ โยชน. ชื่อวา ญาณที่ตรัสรูสัจจะ ไดแกมัคคญาณ ๔ มีโสดา- ปตติมัคคญาณเปนตน น่ันเอง. คาํ วา สัจจะ ๔ อันมีปริวัฏ ๓ อาการ ๑๒ ความวา ชื่อวา ปรวิ ฏั ๓ ไดแกญ าณทรี่ เู วียนรอบ ๓ รอบ ในอรยิ สจั ๔ อยาง คือ : ญาณที่หยั่งรูสภาวะที่เปนอริยสัจแตละอยาง ที่ทาน เรียกวา “สัจจญาณ” นั้นน่ันแหละ อยางนี้วา “น้ี ทุกขอริยสัจ”, วา “นี้ ทุกขสมุทยอริยสัจ”, วา “น้ี ทุกขนิโรธอริยสัจ”, วา “น้ี ทุกขนิโรนธคามินีปฏิปทาอริยสัจ” ดังนี้, อันจัดเปนปริวัฏท่ี ๑. ญาณที่หยั่งรูกิจท่ีตองทาํ ในอริยสัจแตละอยาง ท่ีทาน เรียกวา “กิจจญาณ” อยางน้ีวา “ทุกขอริยสัจน้ี มีกิจคือตอง กําหนดรู”, วา “ทุกขสมุทยอริยสัจนี้ มีกิจคือตองละ”, วา “ทุกขนิโรธอริยสัจน้ี มีกิจคือตองกระทําใหแจง”, วา “ทุกข- นิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจน้ี มีกิจคือตองเจริญ” ดังน้ี, อันจัด เปนปริวัฏที่ ๒. ญาณท่ีหย่ังรูกิจอันไดกระทาํ สําเร็จแลว ท่ีทานเรียกวา “กตญาณ” อยางน้ีวา “ทุกขอริยสัจน้ี เราไดกําหนดรูแลว”, วา “ทุกขสมุทยอริยสัจนี้ เราละไดแลว”, วา “ทุกขนิโรธอริยสัจนี้

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๕๗ เราไดกระทาํ ใหแจงแลว”, วา “ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ น้ี เราไดเจริญแลว” ดังนี้, อันจัดเปนปริวัฏท่ี ๓. นี้ ช่ือวา “ปรวิ ฏั ๓”. คําวา อาการ ๑๒ ความวา ญาณที่เรียกวาปริวัฏ ๓ มี สัจจญาณเปนตน ดังกลาวแลวน่ันเอง แตละญาณมีอาการคือ มี การกระจายไปในอรยิ สจั ๔ ดวยอํานาจความหยัง่ รใู นอรยิ สัจ ๔ จึงชื่อวา “อาการ ๑๒”. คาํ วา พวกเธอเมื่อจะดําริ พึงดําริวา นี้ ทุกข เปนตน ความวา พวกเธอเมื่อจะดําริ คือเม่ือจะยกจิตข้ึนสูอารมณดวย อํานาจแหงวติ ก ก็พงึ ดาํ รวิ า นี้ ทุกข, คืออปุ าทานขันธ ๕ น้ี เปน ทุกข เปนตน ดวยอาํ นาจแหงวิตกที่สัมปยุตกับวิปสสนาญาณ จําเดมิ แตต น และดวยอาํ นาจแหงวติ กท่ีสัมปยตุ กบั มัคคญาณ. จบคาํ อธบิ ายปญหาที่ ๕ ปญหาที่ ๖, นาวาลคั คนกงั คปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๒ แหงเชือกโยงเรือ (สมอเรือ)’, องค ๒ ท่ีพึงถือเอา นั้น เปนไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เชือกโยงเรือ ยอมร้ังเรือไว ทาํ ใหติดอยูในมหา- สมุทรท่ีกวางใหญ ซึ่งมีแตแผนนาํ้ ที่กําเริบข้ึนเพราะเกลียว คลื่นมากมายหลายระลอก, ไมยอมใหเกลียวระลอกคลื่นนาํ ไป

๓๕๘ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค สูทิศใหญทิศนอย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็พึงรั้งจิตไวในคราวประจวบกับมหาสมุทรคือ วิตกใหญ ๆ ที่มีแตระลอกคลื่นคือ ราคะ โทสะ และโมหะ, ไมพึงยอมใหราคะเปนตน นาํ ไปสูทิศใหญทิศนอย ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๑ แหงเชือกโยงเรือ ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห นงึ่ เชอื กโยงเรอื (สมอเรือ) ไมลอย เอาแตจ ม. ร้ังเรอื ไว นาํ เขา ไปสกู ารจอดนิ่งในนา้ํ แมวา ลกึ ตั้ง ๑๐๐ ศอก ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียรก็ไมพึงลองลอยไปในลาภ ยศ สักการะ ความนับถือ การ กราบไหว การบชู า ความนอบนอ ม แมใ นลาภยศช้ันยอด, พงึ จอด พักจิตไวในสักวาเปนเพียงปจจัยเครื่องยังสรีระใหดาํ เนินไปได เทานั้น ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหง เชือกโยงเรือที่พึงถือเอา ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดี สารีบุตรเถระ ไดภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘ยถา สมุทฺเท ลคฺคนกํ, น ปฺลวติ วิสีทติ ตเถว ลาภสกฺกาเร, มา ปฺลวถ วิสีทถ เชือกโยงเรือ (สมอเรือ) ไมลอย แตวาจมอยูใน มหาสมุทร ฉันใด, ขอทานท้ังหลายก็จงอยา ลองลอยไปในลาภและสักการะ จงหยุดน่ิง ฉันนั้นเหมือนกันเถิด.’

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๕๙ ดังน้ี. จบนาวาลัคคนกังคปญหาที่ ๖ คาํ อธิบายปญหาที่ ๖ ปญหาเก่ียวกับเชือกโยงเรือ (สมอเรือ) ชื่อวา นาวา- ลัคคนกังคปญหา. คําวา พึงร้ังจิตไวในคราวประจวบกับมหาสมุทรคือ วิตกใหญ ๆ คือในคราวที่วิตกใหญ ๆ อันเปนมิจฉาวิตก กลาวคือ กามวิตก (ความดาํ ริที่ประกอบดวยความยินดีในกาม คณุ ), พยาปาทวติ ก (ความดาํ ริเพื่ออันพยาบาท), และวหิ ิงสาวติ ก (ความดําริเพ่ืออันเบียดเบียน) เกิดข้ึนแลว ก็พึงร้ังจิตไวไมให คลอยไปตามอาํ นาจแหงมิจฉาวิตกท้ัง ๓ เหลาน้ี คือไมยอมรับ วิตกทเี่ กดิ ขนึ้ แลวเหลานน้ั ทวา ยอ มละ ยอ มบรรเทา ยอ มทาํ ให สน้ิ สุดไป ดวยสมั มาปฏิปทาอันเปนปฏปิ กษตอ วติ กน้นั ๆ. ดวยคําวา ราคะ โทสะ โมหะ เปนอันทานกลาวถึงกาม- ราคานุสัย ปฏิฆานุสัย และอวิชชานสุ ยั ท่ีไหลไปไมห ยดุ ย้งั เหมอื น ระลอกคล่ืน. ความวา พระโยคาวจร เมื่อไมยอมรับมิจฉาวิตก เหลาน้ัน คือ ละ บรรเทา ทาํ ใหส้ินสุดไป ดวยสัมมาปฏิปทาแลว, ก็ยอมไมถกู กามราคานสุ ยั ปฏิฆานุสยั และอวชิ ชานุสัย อนั มมี จิ ฉา- วติ กนน้ั เปนปจ จยั นําไปสูทิศนอยทิศใหญ คอื ภพนอยภพใหญ. คําวา ไมพึงลองลอยไปในลาภ คือไมพึงคอยตาม เพลิดเพลิน ปลาบปลื้มในลาภ เปนตน ที่ไดรับหรือหวังจะไดรับ

๓๖๐ วรรคท่ี ๒, สมทุ ทวรรค คาํ วา พึงจอดพักจิตไว ฯลฯ ใหดําเนินไปไดเทาน้ัน คือจอด ไดแกหยุดย้ังไวดวยอํานาจแหงสติ และพัก ไดแก พิจารณาใครครวญดวยปญญา ในลาภเปนตนน้ัน วาเปนเพียง ปจจัยเครื่องยังสรีระ คืออัตภาพใหดําเนินไป คือใหเปนไปได ตลอดชีวิตเทาน้ัน. จบคาํ อธิบายปญ หาท่ี ๖ ปญหาที่ ๗, กปู ง คปญ หา พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงเสากระโดงเรือ’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา เสากระโดงเรือ ทรงเชือกโยงใบเรือ สายหนังรัดใบ เรือ และใบเรือไว ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญ เพียรก็พึงเปนผูประกอบพรอมดวยสติและสัมปชัญญะ, พึงเปน ผูม ีปกติกระทาํ ความรสู กึ ตัวในการกาวไป ในการกาวกลบั ในการ แลดู ในการเหลียวดู ในการคู ในการเหยยี ด ในการทรงผาสังฆาฏิ บาตร และจีวร ในการกิน ในการดื่ม ในการเค้ียว ในการลิ้ม ในการถายอุจจาระปสสาวะ ในการเดิน ในการยืน ในการนั่ง ใน การหลับ ในการต่ืน ในการพูด ในการนิ่งเฉย (หยุดพูด) ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองค ๑ แหงเสากระโดงเรือ ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพ

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๖๑ ยิ่งเหลาเทพ ไดทรงภาสิตความขอนี้ไววา ‘สโต ภิกฺขเว ภิกฺขุ วิหเรยยฺ สมปฺ ชาโน, อยํ โข อมฺหากํ อนสุ าสนี๑ - ดกู ร ภกิ ษุ ท้ังหลาย พวกเธอพึงเปนผูมีสติ มีสัมปชัญญะอยูเถิด, นี้เปน อนุสาสนขี องเรา’ ดังน.้ี ” จบกปู ง คปญ หาที่ ๗ คาํ อธิบายปญ หาที่ ๗ ปญหาเก่ียวกับองคแหงเสากระโดงเรือ ช่ือวา กูปงค- ปญหา. คาํ วา พึงเปนผูมีปกติกระทําความรูสึกตัวในการกาว ไป เปนตน เปนคําพูดแสดงถึงความเปนผูมีสัมปชัญญะ ซึ่ง จําปรารถนาในการใชอิริยาบถยอยโดยพิเศษ ก็พระผูมีพระภาค ตรัสคาํ น้ีไวในสัมปชัญญบรรพ ในสติปฏฐานสูตร กายคตาสติ- สูตรเปนตน บัณฑิตพึงทราบคําอธิบายโดยพิสดารในอรรถถา เถิด. จบคาํ อธิบายปญหาที่ ๗ ปญหาที่ ๘, นิยามกังคปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึงถือเอาองค ๓ แหงนายทายเรือ’, องค ๓ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปนไฉน?”                                                ๑. ส.ํ มหา. ๑๙/๑๘๔.

๓๖๒ วรรคที่ ๒, สมทุ ทวรรค พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา นายทายเรือ เปนผูไมประมาท (ไมเผอเรอ) พากเพียร ขวนขวาย ขบั เรอื ใหแลน ไปอยูเ ปนประจาํ สมํ่าเสมอ ตลอดทัง้ คนื ท้ังวัน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ผูจะถือทายเรือคือจิต ก็พึงเปนผูไมประมาท พากเพียรขวนขวาย ใชโยนโิ สมนสิการ ถือทา ยเรอื คือจิตไวเ ปนประจําสม่าํ เสมอ ตลอด ทัง้ คนื ทั้งวนั ฉนั นั้นเหมอื นกัน. ขอถวายพระพร นคี้ อื องคท ี่ ๑ แหง นายทายเรอื ท่พี ึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผมู พี ระภาคผทู รง เปน เทพยง่ิ เหลาเทพ ไดท รงภาสติ ความขอ น้ไี วว า :- ‘อปฺปมาทรตา โหถ, สจิตฺตมนุรกฺขถ ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ, ปงฺเก สนฺโนว กุฺชโร๑ พวกเธอจงยินดีในความไมประมาท คอยตาม รักษาจิตของตน พึงถอนตนขึ้นจากหนทาง ลาํ บากดุจชางที่ติดอยูในเปอกตม ถอนตนข้ึน จากเปอกตม ฉะน้ัน เถิด.’ ดงั น้ี. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนง่ึ สงิ่ ใดสงิ่ หน่งึ จะเปนสงิ่ ดี งามกต็ าม เปน ส่งิ ไมด ีงามก็ตาม ในมหาสมทุ ร, นายทา ยเรือยอม มีอันรูแจงส่ิงนั้นทั้งหมด ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูเจริญความเพียร ก็พึงรูแจงธรรมท่ีเปนกุศลและอกุศล ท่ีมีโทษ                                                ๑. ขุ. ธ. ๒๕/๘๐.

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๖๓ และไมมีโทษ ท่ีเลวและประณีต ที่มีสวนเปรียบไดกับดําและขาว ฉันนน้ั เหมอื นกนั . ขอถวายพระพร นคี้ อื องคท ี่ ๒ แหง นายทายเรอื ท่พี งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง นายทายเรือยอม ประทับตราไวท เ่ี ครื่องยนตว า ‘ใคร ๆ อยาไดแ ตะตองเคร่ืองยนต’ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึง ประทับตราคือความสํารวมไวท่ีจิตวา ‘เราอยาไดตรึกอกุศลวิตก ชั่วชาอะไร ๆ เลย’ ดังน้ี ฉันนั้นเหมือนกัน. น้ีคือองคท่ี ๓ แหง นายทายเรือ ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผู ทรงเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ไดทรงภาสิตความขอนี้ไวในสังยุตต- นกิ ายอันประเสรฐิ วา ‘มา ภิกขฺ เว ปาปเก อกสุ เล วิตกเฺ ก วิตกฺเกยยฺ าถ. เสยยฺ ถที ,ํ กามวติ กฺกํ พยฺ าปาทวติ กฺกํ วิหึสา- วิตกฺกํ๑ - ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พวกเธออยาพึงตรึกอกุศลวิตกอัน ชั่วชา คือกามวิตก พยาปาทวิตกและวิหิวสาวิตก เลย’ ดังนี้. จบนิยามกังคปญหาท่ี ๘ คาํ อธิบายปญหาที่ ๘ ปญหาเก่ียวกับองคแหงนายทายเรือ ชื่อวา นิยามกังค- ปญหา. คําวา พึงเปนผูไมประมาท คือพึงเปนผูมีสติต้ังม่ัน.                                                ๑. ส.ํ มหา. ๑๙/๕๑๕.

๓๖๔ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค คาํ วา ใชโ ยนิโสมนสกิ าร คือมกี ารกระทาํ เขาไวใ นใจโดย ถูกอุบาย หรือถูกทาง วาเราจักกําหนดรูทุกข จักละสมุทัย จัก กระทาํ นิโรธใหแจง จักเจริญมรรค เพ่ือความพนจากทุกขทั้งปวง. คําวา จิต ไดแกจ ิตทปี่ ระกอบดว ยสตแิ ละสัมปชัญญะใน การทํากจิ แหง อริยสจั ๔ นนั่ เอง. ธรรมทั้งหลาย ช่ือวา มีโทษ ก็เพราะความที่เปนอกุศล. ชื่อวา ไมมีโทษ ก็เพราะความที่เปนกุศล แมท่ีช่ือวา เลว, ประณีต เปนตน ก็มีนัยนี้. คาํ วา นายทายเรือยอมประทับตรา คือนายทายเรือ ยอมประทับตราเปนเคร่ืองหมายบอกใหทราบวาหามแตะตอง เคร่อื งยนต เพือ่ ปอ งกนั ความเสียหาย. คาํ วา ประทับตราคือความสาํ รวม คือใหมีการตรา เคร่ืองหมายคือความสาํ รวม อันไดแกสติ ไวท่ีจิต. คําวา เราอยา ไดต รกึ อกุศลวิตกช่ัวชาอะไร ๆ เลย มี ความหมายวา เราอยาไดมีความตรึก คือความดาํ ริที่ช่ัวชา คือ ที่ นบั วา เปน อกุศลวติ ก มกี ามวิตกเปน ตน เลย. จบคาํ อธิบายปญ หาที่ ๘ ปญหาท่ี ๙, กมั มการงั คปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๑ แหงกรรมกร’, องค ๑ ท่ีพึงถือเอานั้น เปน

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๖๕ ไฉน?” (กรรมกรในท่ีนห้ี มายถงึ ลูกจา งขบั เรอื ). พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ผเู ปน กรรมกร ยอ มคิดอยางนวี้ า ‘เราเปน ลูกจา ง ทาํ งานอยใู นเรอื ลํานี,้ เราไดรับ คา จาง เน่ืองดว ยเรือลําน,้ี เราจงึ ไมค วรทําความประมาท, เราควร ขบั เรือลาํ น้ไี ปดวยความไมประมาท’ ดงั น้ี ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็พึงคิดอยางน้ีวา ‘เราจะเปนผู ไมประมาท มีสติต้ังม่ัน พิจารณากายอนั เปนเพียงมหาภตู ๔ นี้ เปน ประจาํ สมาํ่ เสมอ มสี ติ มีสัมปชญั ญะ มจี ติ ต้ังมน่ั ถงึ ความ เปนหนง่ึ จกั ไดหลุดพนจากชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข โทมนสั อปุ ายาส, เราควรทาํ ความไมประมาทอยางน้ีแล’ ดังน้ี ฉันน้ันเหมือนกัน. น้ีคือองค ๑ แหงกรรมกร ที่พึงถือเอา. ขอถวายพระพร ทานพระธรรมเสนาบดสี ารบี ตุ รเถระ ไดภ าสติ ความขอนไี้ ว วา :- ‘กายํ อิมํ สมฺมสถ, ปริชานาถ ปุนปฺปุนํ กาเย สภาวํ ทิสฺวาน, ทุกฺขสฺสนฺตํ กริสฺสถ ทานท้ังหลาย จงพิจารณากายน้ี จงกําหนดรูอยู บอย ๆ เถิด ทานเห็นสภาวะในกายแลว ก็จัก กระทําที่สุดแหงทุกขได.’ ดังน้ี.” จบกัมมการังคปญหาที่ ๙

๓๖๖ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค คําอธิบายปญหาที่ ๙ ปญหาเก่ียวกับองคแหงกรรมกร ชื่อวา กัมมการังค- ปญหา. คําวา อันเปนเพียงมหาภูต ๔ คือ อันเปนเพียงธาตุ ๔ ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้าํ ธาตุไฟ และธาตุลม หาความเปนสัตว เปน อัตตามิได ซึ่งไดช่ือวา ‘มหาภูต’ เพราะเปนสิ่งท่ีมีจริงและ แพรห ลาย. คําวา จงกําหนดรูอยูบอย ๆ คือจงมีความเพียร คอยใช สติและสัมปชัญญะกําหนดรูกายนั้นอยูบอย ๆ. คาํ วา เห็นสภาวะในกาย คือเห็นสภาวะในกายตาม ความเปนจริง วาไมเท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา และวาไมงาม คําวา จกั กระทําที่สุดแหง ทกุ ข คือจักกระทาํ พระ นิพพานอันเปนท่ีสุดแหงทุกข ใหแจงได, หรือจักกระทาํ ทุกข ทั้งหลาย มชี าติเปน ตน ใหมอี นั ส้ินสุดไปได. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๙ ปญหาที่ ๑๐, สมทุ ทังคปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงมหาสมุทร’ ดังนี้, องค ๕ ท่ีพึงถือเอาน้ัน เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา มหาสมุทร ยอมไมอยูรวมกับซากสัตวตาย ฉันใด,

โอปมมกถาปญหากัณฑ ๓๖๗ ขอถวายพระพร พระโยคีผูบาํ เพ็ญเพียร ก็ไมพึงอยูรวมกับกิเลส ท้ังหลาย คือ ราคะ, โทสะ, โมหะ, มานะ, ทิฏฐิ, มักขะ, (ความ ลบหลูคุณ), ปฬาสะ (ความตีเสมอ), อิสสา (ความริษยา), มัจฉริยะ (ความตระหนี่), มายา (ความหลอกลวง), สาเฐยยะ (ความเสแสรง), กุฏิละ (ความคดโกง) และทุจริตวิสมะทั้งหลาย ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๑ แหงมหาสมุทร ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง มหาสมุทร ยอมรองรับ ปดก้ันขุมทรัพย คือรัตนมณีหลายอยางตาง ๆ กัน มีแกวมุกดา แกวมณี แกวไพฑูรย สังข กอนหิน แกวประวาฬ แกวผลึก เปนตน, ไมใหก ระจดั กระจายไปภายนอก ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ ําเพ็ญเพยี รบรรลรุ ตั นะ คือคุณวิเศษหลายอยา ง ตาง ๆ กัน มีมรรค ผล ฌาน วิโมกข สมาธิ สมาบัติ วิปสสนา อภญิ ญา เปนตน แลว กพ็ งึ ปกปดไว, ไมใ หแ พรไ ปภายนอก ฉนั น้นั เหมือนกัน, ขอถวายพระพร นีค้ ือองคท่ี ๒ แหง มหาสมุทร ท่พี งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง มหาสมุทร ยอมอยู รวมกบั สัตวท่ีย่งิ ใหญท ั้งหลาย ฉนั ใด, ขอถวายพร พระโยคาวจร ผูบาํ เพญ็ เพยี ร ก็พึงอยอู าศยั เพ่อื นพรหมจารี ผูเปนกลั ยาณมิตร ผมู ักนอ ย สนั โดษ เปน ธตุ วาทะ (กลา วสรรเสริญธดุ งค) ประพฤติ ขูดเกลากิเลส ถึงพรอ มดว ยอาจาระ เปน ลชั ชี (ละอายบาป) มศี ีล เปนท่ีรัก นาเคารพ นายกยอง เปนผูวากลาว อดทนการวากลาว

๓๖๘ วรรคที่ ๒, สมุททวรรค เปน ผทู ักทว ง ตเิ ตียนบาป เปนผูโ อวาท เปน ผอู นุศาสน เปน ผูบอก ใหรู เปนผูช้ีใหเห็น เปนผูชักชวนใหอาจหาญ ใหบันเทิง ฉันนั้น เหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๓ แหงมหาสมุทร ท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง มหาสมุทร แมวาเต็ม เปยมดวยนาํ้ จากแมน้าํ สักแสนสาย มีแมนา้ํ อจิรวดี สรภู มหิ เปนตน ซ่งึ เตม็ ดวยน้าํ ใหม ๆ และดว ยธารนํา้ จากอากาศก็ไมเออ จนลน ฝงของตน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู ําเพ็ญ เพยี ร กไ็ มพ งึ จงใจกระทําการกา วลว งสกิ ขาบทเพราะเหตคุ ือลาภ สกั การะ ช่ือเสียง การกราบไหว การนบั ถือ การบูชา แมเ พราะเหตุ แหงชีวิต ฉันนั้นเหมือนกัน ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๔ แหง มหาสมุทร ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรง เปนเทพย่ิงเหลาเทพทรงภาษิตความขอนี้ไววา :- ‘เสยฺยถาป มหาราช มหาสมุทฺโท ิตธมฺโม ฯเปฯ ชีวิตเหตุป นาติกฺกมนฺติ๑ - มหาบพิตร มหาสมุทร มีความ ทรงตัวอยูเปนธรรมดา ไมเออลนฝง แมฉันใด, สิกขาบทที่ อาตมภาพไดบัญญัติแกสาวกท้ังหลาย ใด, สาวกทั้งหลายของ อาตมภาพ ก็ไมกาวลวงสิกขาบทน้ัน แมเพราะเหตุแหงชีวิต ฉันนนั้ เหมือนกัน.’ ดงั นี้.                                                ๑. อง.ฺ อฏ ก. ๒๓/๒๒๐.

โอปม มกถาปญหากัณฑ ๓๖๙ ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง มหาสมุทร ไมรูจักเต็ม เปยมดวยนา้ํ จากแมน้าํ คงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหิ เปนตน แมจากธารนาํ้ ในอากาศ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคีผู บาํ เพ็ญเพียร แมสดับตรัสฟงพระนวังคศาสนอันประเสริฐของ พระชินวรพุทธเจา อันมีอุเทส (พระบาลี) ปริปุจฉา (คําอธิบาย พระบาลี) สวนะ (การฟง) ธารณะ (การทรงจาํ ) วินิจฉัย, อันมี วิคคหบท นิกเขปบท สนธิบท และวิภัตติ ท่ีพึงถือเอาใน พระอภิธรรม พระวินัย และพระสูตร ก็ไมรูจักจะอิ่มหนํา ฉันนั้น เหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๕ แหงมหาสมุทร ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพรพระผูมีพระภาคผูทรงเปนเทพย่ิงเหลา เทพ ทรงภาสิตความขอน้ีไววา :- ‘อคฺคิ ยถา ติณกฏ ทหนฺโต, น ตปฺปติ สาคโร วา นทีหิ เอวมฺป เว ปณฺฑิตา ราชเสฏ สุตฺวา น ตปฺปนฺติ สุภาสิเตน๑ เปรียบเหมือนวา ไฟไหมหญาและไมแหงไป ไม รูจักอ่ิม อีกอยางหนึ่ง ทะเลยอมไมรูจักอ่ิมดวย แมน้ําทั้งหลาย ฉันใด, ขาแตทานผูเปนพระราชา ประเสริฐ บัณฑิตท้ังหลายไดสดับแลว ก็ไมรูจัก อิ่ม ดวยคําสุภาษิต ฉันน้ันเหมือนกัน’ ดังน้ี.” จบสมุททังคปญหาท่ี ๑๐                                                ๑. ขุ. ชา.๒๘/๑๔๒

๓๗๐ วรรคท่ี ๒, สมทุ ทวรรค คาํ อธิบายปญ หาท่ี ๑๐ ปญหาเก่ียวกับองคแหงมหาสมุทร ชื่อวา สมุททังค- ปญหา. คาํ วา วคิ คหบท ไดแกบ ทท่ีเปน คําวเิ คราะหอ รรถแหงช่ือ หรอื โวหารนัน้ ๆ. บทที่วางไว ทคี่ วรทําการวิเคราะหอรรถ ชอ่ื วา นิกเขปบท. บททัง้ หลาย จบั ตั้งแต ๒ บทข้นึ ไปท่ีเชอื่ มเขา ดว ยกันเปน บทเดียว เพราะในคราวน้ันไมตองการจะแสดงเวนระยะระหวาง บท ชือ่ วา สนธบิ ท. คําวา วิภัตติ ไดแกการจําแนกบทท้ังหลายวาเปนสนธิ, นาม, การก, สมาส, ตทั ธติ , อาขยาต, กติ เปน ตน . จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๑๐ จบสมุททวรรคท่ี ๒

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๗๑ วรรคที่ ๓, ปถววี รรค ปญ หาท่ี ๑, ปถวอี งั คปญหา พระเจามิลนิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน ทานกลาววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหง ดิน’, องค ๕ ทีพ่ งึ ถอื เอานนั้ เปนไฉน? พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพติ ร เมือ่ บุคคลแม เกลี่ยส่ิงที่นาปรารถนา มีการบูร กฤษณาสามัญ กฤษณาหอม จันทนห อม หญา ฝรั่น เปน ตน ลงไป, แมเกล่ยี สง่ิ ทไ่ี มนาปรารถนา มีดี เสมหะ น้ําหนอง โลหิต เหง่ือ มันขน น้าํ ลาย นํ้ามูก ไขขอ นาํ้ ปสสาวะ อุจจาระ เปนตน ลงไป, ดิน (พ้ืนแผนดิน) กเ็ ชน เดยี วกันน้นั นน่ั แหละ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนเชนเดียวกันน้ันน่ันแหละ ในสิ่งท่ีนา ปรารถนาและไมนาปรารถนา คือ ในลาภและเสื่อมลาภ, ในยศ และเส่ือมยศ, ในนินทาและสรรเสริญ, ในสุขและทุกข ทุกอยาง ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๑ แหงดิน ที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ดิน ปราศจาก เคร่ืองประดับเครื่องตกแตง ก็อบอวลดวยกล่ินของตน ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ผูปราศจาก เคร่ืองประดับ เคร่ืองตกแตง ก็พึงเปนผูอบอวลดวยกลิ่นศีลของ ตน ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๒ แหงดิน ท่ีพึงถือเอา.

๓๗๒ วรรคท่ี ๓, ปถวีวรรค ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห น่ึง, ดนิ ไมมรี ะหวาง ไมข าด ตอน ไมเปน โพรง หนาทบึ แผไ ปกวางขวาง ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู ําเพญ็ เพียร กพ็ ึงเปน ผูมีศีลทไี่ มม รี ะหวาง ไมขาด ตอน ไมทะลุ ไมเปนโพรง หนาทึบ แผไปกวางขวาง ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหงดิน ท่ีพึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห นึง่ , ดิน แมร องรบั บา น นิคม เมือง ชนบท ตน ไม ภเู ขา แมน ํ้า ตระพงั น้ํา สระโบกขรณี หมเู นือ้ นก มนษุ ยช ายหญงิ ไว ก็หาความเหน่อื ยลา มิได ฉนั ใด, ขอถวาย พระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร แมโอวาท แมอนุศาสน แมบอกใหร ู แมชีใ้ หเ หน็ แมใหส มาทาน แมท าํ ใหอาจหาญ แมทาํ ใหบันเทิง ก็พึงเปนผูหาความเหน่ือยลาในธรรมเทศนาท้ังหลาย มิได ฉันน้ันเหมือนกัน, ขอถวายพระพร นี้คือองคที่ ๔ แหงดิน ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, ดิน พนแลวจากความ ยินดีและความยินราย ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู บาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูพนแลวจากความยินดีและความยินราย มีใจเสมอดวยแผนดิน ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือ องคที่ ๕ แหงดิน ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร นางจูฬสุภัททา- อบุ าสิกา ผเู ม่อื ยกยองสมณะท้งั หลายของตน ไดภ าสิตความขอ นี้ ไว วา :

โอปมมกถาปญหากณั ฑ ๓๗๓ ‘เอกฺเจ พาหํ วาสิยา, ตจฺเฉ กุปตมานสา. เอกฺเจ พาหํ คนฺเธน, อาลิมฺเปยฺย ปโมทิตา. อมุสฺมึ ปฏิโฆ นตฺถิ, ราโค อสฺมึ นตฺถิ. ปถวีสมจิตฺตา เต, ตาทิสา สมณา มม. ถาหากผูท่ีมีจิตโกรธเคือง จะพึงมาใชพราตัดแขน ขางหนึ่ง ถาหากผูที่มีจิตบันเทิง จะพึงมาใชของหอม ลูบไลแขนอีกขางหน่ึง ทานก็จะไมมีความขุนเคืองใน บุคคลโนน, ไมมีความยินดีในบุคคลนี้ ทานเหลานั้น มีจิตเสมอดวยแผนดิน, สมณะท้ังหลายของเราทาน เปนบุคคลเชนนั้น.’ ดงั น้.ี ” จบปถวีอังคปญหาที่ ๑ คําอธิบายปญหาที่ ๑ ปญหาเก่ียวกับองคแหงดิน (พ้ืนแผนดิน) ช่ือวา ปถวี- อังคปญหา. คําวา พึงเปนเชนเดียวกันนั่นแหละ คือพึงเปนผูมีจิต เปนปกติ ต้ังม่ัน ไมหว่ันไหว, ความวา ไมมีใจฟูข้ึนในส่ิงที่นา ปรารถนา, ไมมีใจฝอลงในสิ่งที่ไมนาปรารถนา. คําวา หาความเหน่ือยลามิได คือหาความยอทอแลว ถึงความขวนขวายนอยมิได.

๓๗๔ วรรคที่ ๓, ปถววี รรค คําวา ทานก็จะไมมีความขุนเคืองในบุคคลโนน คือ ทา นกจ็ ะไมม คี วามโกรธ, ไมม ีจิตประทุษรา ยในบคุ คลผใู ชพราตดั แขนขางหน่ึงของทา น. คําวา ไมมีความยินดีในบุคคลน้ี คือไมมีความช่ืนชม ในบคุ คลผทู ใ่ี ชของหอมลบู ไลแขนอีกขา งหนึ่งของทา น. คําวา สมณะท้ังหลายของเรา น้ี อุบาสิกาผูน้ีกลาวโดย ยกเอาพระขณี าสพทงั้ หลายขึ้นเปน ประธาน. จบคําอธิบายปญ หาท่ี ๑ ปญ หาที่ ๒, อาปงคปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน ทานกลา ววา ‘พึง ถือเอาองค ๕ แหงนาํ้ ’, องค ๕ ที่พงึ ถือเอานน้ั เปน ไฉน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา นาํ้ ใส สะอาดเพราะสภาพท่พี อสงบนิ่งดแี ลว กไ็ มก ระเพอื่ ม จึงไมขนุ มวั ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงขจัด ความหลอกลวง การพดู เลียบเคียง ความเปนผทู าํ นิมติ ความเปน ผพู ดู บีบบังคบั แลวกเ็ ปน ผูมอี าจาระบริสทุ ธ์ิ เพราะสภาวะทม่ี จี ติ สงบน่ิงดี ไมห วน่ั ไหว ไมข นุ มวั ฉนั นนั้ เหมือนกัน, ขอถวายพระพร นค้ี ือองคท ี่ ๑ แหง นาํ้ ทพี่ ึงถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหน่ึง, นาํ้ ทรงสภาพท่ีเยือก เย็นไว ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญเพียร ก็พึงเปนผูถึงพรอมดวยขันติ เมตตา ความเอ้ือเอ็นดู เปนผู

โอปม มกถาปญหากณั ฑ ๓๗๕ แสวงหาประโยชน อนุเคราะห ในสัตวทั้งหลายทั้งปวง ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร นี้คือองคท่ี ๒ แหงนํ้าที่พึง ถือเอา. ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, นา้ํ ทําสิ่งที่ไมสะอาด ใหสะอาดได ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบาํ เพ็ญ เพียร ก็พึงเปนผูมีปกติกระทาํ มิใหมีเหลือ ดวยการกระทาํ ที่หา โทษมิไดในบุคคลท้ังปวง คือในพระอุปชฌายะ ในภิกษุผูเทียบ กันไดกับพระอุปชฌายะ ในอาจารยในภิกษุผูเทียบกันไดกับ อาจารย ในบานก็ดี ในปาก็ดี ฉันน้ันเหมือนกัน. ขอถวาย พระพร น้ีคือองคท่ี ๓ แหงนา้ํ ที่พึงถือเอา ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคหนึ่ง, นํ้า เปนส่ิงที่ชนเปน อนั มากปรารถนา ฉนั ใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ ําเพญ็ เพียร กพ็ งึ เปน ผูม กั นอ ย สันโดษ สงดั หลกี เรน ซึ่งชาวโลกทงั้ ปวง ปรารถนายิง่ เปน ประจํา ฉันนน้ั เหมือนกนั , ขอถวายพระพร นคี้ อื องคท ี่ ๔ แหง น้าํ ทพี่ งึ ถือเอา. ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคหนง่ึ , นา้ํ ไมก อความหายนะ แกใคร ๆ ฉันใด, ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบําเพ็ญเพียร ก็ ไมพึงทาํ การโตตอบ การทะเลาะ การจับผิด การวิวาท การเพง โทษ การไมชอบกันกับผอู ืน่ ใหเกิดขน้ึ , ไมพึงกระทาํ บาปดว ยกาย วาจา และใจ ฉันนั้นเหมือนกัน, ขอถวายพระพร น้ีคือองคที่ ๕ แหงนํ้า ท่ีพึงถือเอา. ขอถวายพระพร พระผูมีพระภาคผูทรงเปน เทพย่ิงเหลาเทพ ไดทรงภาสิตความขอนี้ไว ในกัณหชาดก วา -

๓๗๖ วรรคที่ ๓, ปถวีวรรค ‘วรฺเจ เม อโท สกฺก, สพฺพภูตานมิสฺสร น มโน วา สรีรํ วา, มํ-กเต สกฺก กสฺสจิ กทาจิ อุปหฺเถ, เอตํ สกฺก วรํ วเร๑ ขาแตทานทาวสักกะ ผูเปนใหญแหงสรรพสัตว ถาหากวาพระองคจะประทานพรแกขาพระองคไซร ขาพระองคหวังความไมโกรธดวยดี ความไม ประทุษรายดวยดี ความไมโลภ ความหมดเสนหา ใหเปนความประพฤติของตนอยู ขอจงทรงประทาน พร ๔ ประการเหลาน้ี ใหแกขาพระองค เถิด.’ ดังน้ี.” จบอาปงคปญหาท่ี ๒ คําอธิบายปญหาที่ ๒ ปญหาเกี่ยวกับองคแ หงนํา้ ชื่อวา อาปงคปญหา. คาํ วา ก็พึงขจัดความหลอกลวง ฯลฯ แลวก็เปนผูมี อาจาระบริสุทธ์ิ เปนคําที่แสดงถึงความเปนผูมีอาชีวปาริสุทธิ- ศีล (ศีลคืออาชีวะท่ีบริสุทธิ์). ในคาํ เหลาน้ัน ช่ือวา ความหลอกลวง มี ๒ อยาง คือ การแสรง ปฏิเสธปจ จัย ๑, การแตง อริ ิยาบถ ๑. ภกิ ษบุ างรปู คดิ วา “เราจะไดป จจยั มากมายโดยวิธีนี้แหละ” ดงั นแ้ี ลว กแ็ สรงปฏิเสธ                                                ๑. ขุ.ชา. ๒๗/๒๗๒.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook