Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิลินทปัญหา เล่ม ๓

มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Description: มิลินทปัญหา เล่ม ๓

Search

Read the Text Version

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๒๗ คาํ วา ประกอบในพระพทุ ธศาสนา ความวา เพราะเหตุ ท่ีความเพียรท้ัง ๒ อยางยอมเปนไป ยอมสาํ เร็จประโยชนก็โดย เก่ียวกับเปนผูประกอบในพระพุทธศาสนา คือเจริญสมถะและ วิปสสนา เพราะฉะน้ัน ก็จงประกอบชอบในพระศาสนาของ พระผมู พี ระภาค คือเจริญสมถะและวปิ ส สนาใหก าวหนายง่ิ ๆ ขึ้น ไป อันเปน กจิ ท่จี าํ ตอ งอาศัยความเพียรน้ัน ดว ยอํานาจความเปน ผตู ื่นอยเู สมอ (ไมมกั มากในการนอนหลบั ). คําวา กองทัพแหงพญามัจจุ ความวา กองทัพคือกิเลส ช่ือวากองทพั แหงพญามัจจุ คือความตาย. คาํ วา ดุจชางทาํ ลายเรือนไมออ ความวา ชางเปนสัตว ใหญโต แข็งแรง ยอมทาํ ลายเรือนไมออซ่ึงเปนเรือนท่ีออนแอ ไมแข็งแรงไดโดยพลัน ฉันใด พระโยคาวจรก็จงใชพลานุภาพท่ี ยิ่งใหญของความเพียร กาํ จัด ขยี้กองทัพแหงพญามัจจุเสียโดย พลัน ฉันน้ันเหมือนกัน. คาํ วา ไมท รงยินดปี ฏปิ ทาใด คือไมทรงยินดปี ฏปิ ทาคอื ความเพยี รทเ่ี ครง ครดั เห็นปานนน้ั ใด. คําวา ปฏิปทาทั้งในคราวน้ัน ทั้งในคราวน้ีนั้น ก็เปน อันเดียวกันนั่นแหละ ความวาปฏิปทาคือความเพียร ทั้งใน คราวที่ยังเปนพระโพธิสัตวบาํ เพ็ญทุกกรกิริยาน้ัน ท้ังในคราวท่ี ทรงบรรลุพระสัพพัญุตญาณแลวทรงแนะนาํ สาวกทั้งหลายน้ี นั้น ก็เปนอันเดียวกันนั่นแหละ คือเปนความเพียร ๒ อยาง (อารัมภธาตุ และนิกกมธาตุ) ดวยกันน่ันแหละ.

๒๘ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา คาํ วา ปฏิปทานี้ เปนอันตองมีประจําตลอดกาลทุก เม่ือเทียว คือปฏิปทาอันไดแกความเพียร ๒ อยางนี้ เปนอัน ตองมีประจําตลอดกาล แหงบุคคลผูปฏิบัติเพื่อพนจากภัยใน วัฏฏะ. ในอุปมาท่ี ๒ คําวา โทษของความพยายาม ไดแก โทษคือการวิ่งเร็วเกินไปน้ันเอง. จบคาํ อธบิ ายปญหาท่ี ๔ ปญ หาที่ ๕, หีนายาวตั ตนปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระศาสนาของ พระตถาคตนี้ยิ่งใหญ มีสาระดีงาม ประเสริฐ ยอดเย่ียม บริสุทธ์ิ หาส่ิงเปรียบเทียบมิได ปราศจากมลทิน ผองแผว หาขอ ติเตียนมิได, จึงไมควรใหผูเปนคฤหัสถบวชกอน, ตอในเวลาใด ผูเปนคฤหัสถสําเร็จในผลสักอยางหน่ึงแลว เปนผูไมกลับมาสู เพศที่เลวกวาอีก, ในเวลานั้นจึงคอยใหเขาบวช. เพราะเหตุไร หรือ, พวกคนไมดีเหลานี้ พอไดบวชในพระศาสนาที่บริสุทธ์ิ นี้แลว ก็ยังถอยกลับ (ลาสิกขา, สึก) เวียนกลับมาสูเพศที่เลว ไดอีก เพราะการถอยกลับมาแหงพวกเขา พวกมหาชนน้ีก็ยอม คิดอยางน้ีวา “(เห็นทีวา) ศาสนาของพระสมณโคตมะจักเปน ของเหลวเปลาหนอ, พวกคนเหลาน้ีจึงไดถอยกลับมา” ดังน้ีได ขอท่ีวานี้ จัดวาเปนเหตุผลในการที่ไมควรใหพวกคฤหัสถไดบวช กอนนี้.

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๒๙ พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา มีสระน้ําอยูแหงหนึ่ง ซึ่งมีนาํ้ อยูเต็มเปยม ใสสะอาด ปราศจากมลทิน เย็นดี, ตอมามีบุรุษคนใดคนหนึ่ง ผูเปรอะ เปอนเหง่ือเปอนสิ่งสกปรกเปอกตม ไปถึงสระนํา้ น้ันแลวก็ไม ยอมอาบนาํ้ เนื้อตัวยังเปรอะเปอนอยูเทียว ก็ถอยกลับมา เสียกอน, ขอถวายพระพร ในบุรุษและในสระนาํ้ นั้น ผูคนพึง ติเตียนอะไร บุรุษผูเปรอะเปอนเหงื่อไคล หรือวาสระนาํ้ เลา?” พระเจามิลินท : “ผูคนพึงติเตียนบุรุษผูเปรอะเปอน เหงื่อไคล วา ‘ผูน้ีไปถึงสระนํ้าแลวก็ไมยอมอาบน้ํา เน้ือตัวยัง เปรอะเปอนอยูนั่นแหละ ก็ถอยกลับมาเสียกอน, สระนํ้านี้จัก อาบน้ําใหบุรุษผูไมตองการอาบนี้ไดเองกระไรเลา, ความผิด อะไรของสระนาํ้ เลา’ อยางนี้เทียว.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ัน พระตถาคตทรงสรางสระนาํ้ คือพระสัทธรรมอัน ประเสริฐขึ้น ซ่ึงเต็มเปยมดวยนา้ํ คือวิมุติอันประเสริฐ ดวยทรง ดาํ ริวา ‘บุคคลเหลาใดเหลาหน่ึง ผูเปรอะเปอนมลทินคือกิเลส แตรูสาํ เหนียก มีความต้ังใจ บุคคลเหลานั้นไดอาบนํา้ ในสระคือ พระสัทธรรมอันประเสริฐนี้แลว ก็จะลอยกิเลสทั้งปวงไปเสียได ดังนี้. ถาหากวาจะมีบางคนไปถึงสระน้าํ คือพระสัทธรรมอัน ประเสริฐน้ันแลว ก็กลับไมยอมอาบ ยังเปนผูมีกิเลสอยูน่ัน เทียว ก็ถอยกลับมาเสีย เวียนมาสูเพศท่ีเลวอีก ผูคนก็จัก ติเตียน ผูน้ันน่ันแหละวา ‘คนผูนี้บวชในพระศาสนาของพระ

๓๐ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ชินวรพุทธเจาแลว ยังไมไดที่พึ่งในพระศาสนานั้นเลย ก็เวียน กลับมาสูเพศท่ีเลว พระศาสนาน้ีจักทําคนผูไมปฏิบัติผูนี้ให ตรัสรูเสียเองไดกระไรเลา, ความผิดอะไรของพระศาสนาของ พระชินวรพุทธเจาเลา’ อยางนี้ไดทีเดียว.’ ขอถวายพระพร อกี อยา งหนง่ึ เปรยี บเหมอื นวา บุรษุ คนหน่งึ ปวยหนักอยู ไดพบหมอผาตัดผูฉลาดในเหตุเกิดขึ้นแหงโรค ผูสําเร็จการงานม่ันคง ไมใชคนเหลวเปลาแลว ก็ไมยอมใหหมอ รักษา ยังปวยอยูน่ันเอง ก็ถอยกลับไปเสีย, ในบุคคล ๒ คนน้ัน ผคู นพึงตเิ ตยี นคนไหน คนไขหรอื วา หมอเลา.” พระเจา มลิ นิ ท : “พระคณุ เจา ผคู นพงึ ตเิ ตยี นคนไขว า ‘ผนู ี้ ไดหมอผาตัดผูฉลาดในเหตุเกิดแหงโรค ผูสําเร็จการงานม่ันคง ไมใ ชคนเหลวเปลาแลว กไ็ มย อมใหหมอรกั ษา ยงั ปว ยอยนู ่ันเทียว ก็ถอยกลับไปเสียได, หมอเองจะรักษาคนผูไมยอมใหรักษาน้ีได กระไรเลา , ความผิดอะไรของหมอเลา ” ดงั นไี้ ด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน พระตถาคตทรงบรรจุโอสถอมตะที่สามารถ สงบความปวยไขคือกิเลสท้ังสิ้น ไวในตลับยาคือพระศาสนา, ดวยทรงดําริวา ‘บุคคลเหลาใดเหลาหนึ่ง ผูถูกความปวยไขคือ กิเลสบีบค้ัน แตวารูสําเหนียก มีความตั้งใจ, บุคคลนั้นด่ืมโอสถ อมตะน้ีแลว ก็จักสงบความปวยไขคือกิเลสท้ังปวงได’ ดังนี้. ถา หากวามีบางคน ไมยอมดื่มโอสถอมตะนั้นแลว ทั้ง ๆ ที่ยังเปนผู มีกิเลสอยูนั่นเทียว ก็ถอยกลับไป เวียนกลับมาสูเพศที่เลวไซร

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๓๑ ผูคนจักติเตียนเขาน่ันแหละ วา ‘คนผูนี้บวชในพระศาสนาของ พระชินวรพุทธเจาแลว ยังไมทันไดท่ีพ่ึงในพระศาสนานั้นเลย ก็ เวียนกลับมาสูเพศที่เลว, พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา จัก ทาํ ใหเขาผูไมยอมปฏิบัติน้ีไดตรัสรูเสียเองไดกระไรเลา, ความผิด อะไรของพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาเลา’ ดังน้ีได. ขอถวายพระพร อีกอยางหนง่ึ เปรยี บเหมอื นวา บรุ ุษผหู ิวขา ว อยคู นหนึง่ ไปถงึ สถานทเ่ี ล้ียงอาหารบุญครง้ั ยิ่งใหญส ําคัญแลว ก็ ไมยอมบริโภคอาหารน้ัน ยังหิวอยูนั่นเทียว ก็ถอยกลับไปเสีย, ในบุรุษคนผูหิวขาวและอาหารบุญน้ัน ผูคนพึงติเตียนอะไรเลา บุรษผหู ิวอยหู รือวา อาหารบญุ ?” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา ผูคนพงึ ติเตยี นบุรษุ ผหู วิ อยู วา ‘ผูน ีถ้ ูกความหิวบบี ค้ันอยู ไดอ าหารบุญแลว ก็ยงั ไมย อมบริโภค ยังหิวอยูน่ันเทียว ก็ถอยกลับมาเสีย, ของกินจักเขาปากบุรุษ ผูไมยอมบริโภคคนนี้ไดเองกระไรเลา, ความผิดอะไรของของกิน เลา ’ ดงั นีไ้ ด. ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ันเหมือนกัน พระตถาคตทรงวางของกินคือกายคตาสติ อันประเสริฐ ยอดเยี่ยม สงบ เกษม ประณีต เปน อมตะ มีรสอรอ ย อยางยิ่ง ไวในสํารับคือพระศาสนา ดว ยทรงดํารวิ า ‘บคุ คลเหลา ใด เหลา หนึง่ ผถู กู ความหวิ คอื กเิ ลสแผดเผา ผูถกู ตณั หาครอบงําจิต แตเปนผูรูสําเหนียก มีความตั้งใจ, บุคคลเหลาน้ันบริโภคของกิน น้ีแลว ก็จักขจัดตัณหาทั้งปวงในกามภพ รูปภพ และอรูปภพได’

๓๒ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ดังนี้. ถาหากวาจะมีบางคนไมยอมบริโภคของกินน้ัน กลับเวียน มาสูเพศท่ีเลวไซร ผูคนจักติเตียนคนผูนั้นน่ันแหละ วา “คนผูน้ี บวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาแลว ยังไมทันไดที่พ่ึง ในพระศาสนานั้นเลย กเ็ วียนกลบั มาสเู พศท่ีเลว พระศาสนาของ พระชินวรพุทธเจาจักชวยใหบุรุษผูไมยอมปฏิบัติผูนี้ตรัสรูเสียเอง ไดกระไรเลา , ความผดิ อะไรของพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา เลา’ ดงั น้ีได. ขอถวายพระพร ถาหากวาพระตถาคตทรงอนุญาตให คฤหัสถผูสาํ เร็จในผลสักอยางหนึ่งเสียกอนเทาน้ันไดบวชไซร, ช่ือวาการบวชน้ี ก็จะไมพึงเปนไปเพื่อการละกิเลส หรือเพ่ือ วิสุทธิ, กิจที่พึงกระทําดวยการบวชก็ไมมี, ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษคนหน่ึงใหเขาขุดสระนํา้ ไวดวยการกระทํา (การขุด) หลายรอยครั้ง แลวบอกใหไดยินตอ ๆ กันไปใน บริษทั อยางนีว้ า ‘ทา นผเู จริญทง้ั หลายเอย ใคร ๆ ผเู ปรอะเปอน เหงื่อไคลขออยาลงสูสระน้ีเลย, ผูท่ีลางขี้ฝุนเหง่ือไคลเน้ือตัว สะอาด ขัดสีมลทินออกแลว ขอจงยางลงสูสระนํา้ น้ีเถิด’ ดังนี้. ขอถวายพระพร สําหรับคนที่ลางข้ีฝุนเหง่ือไคลเน้ือตัวสะอาด ขัดสีมลทินออกแลวเหลาน้ัน พึงมีกิจท่ีพึงทาํ ดวยสระนาํ้ น้ันอยู อีกหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ไมม หี รอก พระคุณเจา, บุคคลเหลาน้นั เขาไปสูสระน้าํ นั้นเพื่อประโยชนแก (การทาํ ) กิจใด, พอเวนกิจ

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๓๓ ที่พึงทาํ (ดวยนํา้ ) ซึ่งคนเหลานั้นไดทาํ เสียกอนแลวเทาน้ัน (เม่ือเปนเชนน้ี) ประโยชนอะไรดวยสระน้ําสาํ หรับคนเหลานั้น อีกเลา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ถาหากวาพระตถาคตทรงอนุญาตเฉพาะ คฤหัสถผสู าํ เร็จในผลสักอยา งหนง่ึ เสียกอนเทานัน้ ใหบวชไดไ ซร, กิจท่ีพึงทําในการบวชนั้นน่ันแหละ คนเหลาน้ันก็ไดทาํ แลว (กอ นบวช) ประโยชนอะไรดว ยการบวชสาํ หรบั คนเหลานน้ั อกี เลา . ขอถวายพระพร อกี อยา งหนึง่ เปรียบเหมอื นวา หมอรกั ษา โรคผูอ ันฤๅษชี บุ เลยี้ งมา ผูทรงจาํ บทมนตท่สี ดับมาได คงแกเ รยี น ฉลาดในเหตุเกิดข้ึนแหงโรค สําเร็จการงานม่ันคง ปรุงยาท่ีใช รักษาโรคท้ังปวงไดแลว ก็บอกใหไดยินตอ ๆ กันไปในบริษัทวา ‘ทานผเู จรญิ ทั้งหลายเอย ใคร ๆ ที่มคี วามเจ็บปวย ขอจงอยา ได เขา ไปในสาํ นักของเราเลย, ผูท่ไี มมีความเจ็บปวย ไมม ีโรค ขอจง เขาไปในสาํ นกั ของเราเถดิ ’ ดังน.้ี ขอถวายพระพร สาํ หรบั คนผไู ม เจ็บปวย ไมม โี รค บรบิ รู ณอยู สบายใจอยูเหลา นนั้ พึงมกี จิ ทต่ี อ ง ใหห มอทําหรอื หนอ?’ พระเจา มิลนิ ท : ‘ไมม ีหรอก พระคณุ เจา, คนเหลา น้นั เขา ไปหาหมอรกั ษาโรคเพอ่ื ประโยชนแ กก ิจ (คือรกั ษาโรค) ใด, เวนกิจ ที่พึงทําซึ่งคนเหลาน้ันไดทาํ แลวนั้นเสียเทาน้ัน (เมื่อเปนเชนนี้) ประโยชนอะไรดว ยหมอสาํ หรับคนเหลา นน้ั เลา .”

๓๔ กัณฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัย ก็ฉันน้ันเหมือนกัน ถาหากวาพระตถาคตทรงอนุญาตคฤหัสถ ผูสาํ เร็จในผลสักอยางหน่ึงเสียกอนเทาน้ัน ใหบวชไดไซร, กิจที่ พึงทาํ ในการบวชน้ันนั่นแหละ คนเหลานั้นก็ไดทําแลว (เม่ือ เปนเชนน้ี) ประโยชนอะไรดวยการบวชสาํ หรับคนเหลานั้นอีก เลา .” ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา บุรุษคน หน่ึงจัดเตรียมโภชนาหาร มีของสุกหลายรอยถาด แลวก็บอก กลาวใหไดย นิ ตอ ๆ กนั ไปในบรษิ ัท วา ‘ทานผเู จรญิ ทั้งหลายเอย ใคร ๆ ท่ีหิวขอจงอยาเขาไปสูสถานที่เล้ียงอาหารน้ีของขาพเจา เลย, ผูทบี่ รโิ ภคดีแลว อ่มิ หนาํ แลว เพียงพอแลว เอิบอม่ิ เตม็ ท่แี ลว ขอจงเขาไปสูสถานทเ่ี ลยี้ งอาหารนเ้ี ถิด’. ขอถวายพระพร สําหรับ คนท่ีบริโภคดีแลว อิ่มหนําแลว เพียงพอแลว เอิบอิ่มเต็มท่ีแลว เหลานนั้ พึงมีกจิ ทีต่ องทาํ ดวยโภชนาหาร (คือการบรโิ ภคอาหาร) นัน้ อกี หรอื ?” พระเจามิลินท : “ไมมีหรอก พระคุณเจา คนเหลาน้ันพึง เขา ไปสสู ถานท่ีเล้ยี งอาหารเพอ่ื ประโยชนแ ก (การทาํ ) กิจใด, เวน กจิ ที่พึงทํานน้ั ซงึ่ คนเหลา นัน้ ไดท ําแลวเสียเทา นนั้ (เมอื่ เปนเชน น้)ี ประโยชนอะไรดวยสถานท่ีเล้ียงอาหารสําหรับคนเหลาน้ันอีก เลา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน ถาหากวาพระตถาคตทรงอนุญาตคฤหัสถ

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๓๕ ผูสาํ เร็จในผลสักอยางหนึ่งเสียกอนเทาน้ันใหบวชไดไซร, กิจที่ พึงทําในการบวชน้ันน่ันแหละ คนเหลานั้นก็ไดทาํ แลว (เม่ือเปน เชนน้ี) ประโยชนอะไรดวยการบวชสาํ หรับคนเหลานั้นอีกเลา. ขอถวายพระพร อกี อยางหนึ่ง บุคคลเหลา ใดเวยี นกลับมา สูเพศที่เลว, บุคคลเหลานั้นยังทาํ คุณที่ไมอาจชั่งได ๕ อยางแหง พระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา ใหป รากฏได ทาํ คุณ ๕ ประการ อะไรบางใหปรากฏได? ไดแก ทําความท่ีพระศาสนาเปนภูมิอัน ยิ่งใหญใหปรากฏ ๑, ทําความที่พระศาสนาเปนของบริสุทธิ์ ปราศจากมลทินใหปรากฏ ๑, ทําความท่ีพระศาสนาอันพวกคน ช่ัวไมอาจอยูรวมไดใหปรากฏ ๑, ทาํ ความท่ีพระศาสนาเปนของ แทงตลอดไดยากใหปรากฏ ๑, ทาํ ความท่ีพระศาสนาอันบุคคล รักษาไดดวยสงั วรเปน อนั มากใหป รากฏ ๑, ช่ือวา ยอมทาํ ความที่พระศาสนาเปนภูมิอันย่ิงใหญ ใหปรากฏ อยางไร? ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษ ผูไรทรัพย มีชาติตํ่าทราม หาขอดีพิเศษมิได ความรูก็เส่ือม ไดรับราชสมบัติที่ยิ่งใหญแลว ก็ยอมตกไป เลิกรางไป เสื่อมไป จากอสิ สรยิ ยศตอกาลไมน านเลยเทยี ว ยอ มไมอ าจจะทรงอสิ สริย- ยศเอาไวได. เพราะอะไร? เพราะอิสสริยยศเปนภูมิที่ยิ่งใหญ ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลเหลาใดเหลาหนึ่ง ผูหาขอดีพิเศษ มิได ไมไดทําบุญไว ความรูก็เส่ือม บวชในพระศาสนาของพระ ชินวรพุทธเจา, บุคคลเหลานั้น เมื่อไมสามารถจะทรงการบวชท่ี ประเสริฐสุดเอาไวได ก็ยอมตกไป เลิกรางไป เส่ือมไปจากพระ

๓๖ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา ศาสนาของพระชินวรพุทธเจา เวียนกลับมาสูเพศที่เลว ตอกาล ไมนานเลยเทียว, ยอมไมอาจท่ีจะทรงพระศาสนาของพระชินวร- พุทธเจาเอาไวได, เพราะเหตุไร? เพราะภูมิคือพระศาสนาของ พระชินวรเจาเปนของยิ่งใหญ ฉันนั้นเหมือนกัน. ช่ือวา ยอมทํา ความที่พระศาสนาเปนภูมิอันยิ่งใหญใหปรากฏ ตามประการ ดงั กลา วมานี.้ ชื่อวา ยอมทาํ ความที่พระศาสนาเปนของบริสุทธ์ิ ปราศจากมลทินใหปรากฏ อยางไร? ขอถวายพระพร นํ้าตก ลงไปบนใบบัวแลว ก็ยอมกระเซ็นไหลกลิ้งไป ไมถึงความต้ังอยู ได ไมติดอยู. เพราะเหตุไร? เพราะใบบัวเปนของเกลี้ยงเกลา ปราศจากมลทนิ ฉันใด, ขอถวายพระพร บคุ คลเหลา ใดเหลา หนง่ึ ซ่ึงเปนคนเจาเลห คดโกง มีความเห็นไมสมควร บวชในพระ ศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, บุคคลเหลาน้ันกระเซ็นไหลกล้งิ ไป จากพระศาสนาที่บริสุทธ์ิปราศจากมลทิน ไมมีเสี้ยนหนาม ผอง แผว ประเสริฐยอดเยี่ยม ต้ังอยูไมได ติดอยูไมได แลวก็ ยอ มเวยี นกลบั สูเ พศทเ่ี ลวตอ กาลไมน านเลยเทยี ว. เพราะเหตไุ ร? เพราะพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาเปนของบริสุทธิ์ปราศ จากมลทิน ฉันน้ันเหมือนกัน. ชื่อวายอมทําความท่ีพระศาสนา เปนของบริสุทธ์ิปราศจากมลทินใหปรากฏตามประการดังกลาว มานี้. ชอื่ วา ยอมทาํ ความทพ่ี ระศาสนาอันพวกคนช่วั ไมอาจ อยูรวมดวยไดใหปรากฏ อยางไร? ขอถวายพระพร เปรียบ

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๓๗ เหมือนวา มหาสมุทร ยอมไมอยูรวมกับซากสัตวตาย, ซากสัตว ตายใดมอี ยใู นมหาสมทุ ร, มหาสมทุ รยอ มซดั ซากสัตวต ายนัน้ ไปสู ฝง หรือซัดข้ึนไปบนบกโดยเร็วทีเดียว. เพราะเหตุไร? เพราะ มหาสมทุ รเปน ทีอ่ ยูของสัตวเ ปนใหญ ๆ ทัง้ หลาย ฉันใด, ขอถวาย พระพร บุคคลเหลาใดเหลาหน่ึง ซ่ึงเปนคนช่ัวชา ไมสาํ รวม ไม ละอาย หากริ ิยาไมไ ด ยอหยอนความเพียร เกยี จคราน มัวหมอง เปนคนทรชน บวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, บุคคล เหลาน้ันยอมตองออกไปจากพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา อันเปนท่ีอยูของสัตวใหญคือพระอรหันตขีณาสพผูปราศจาก มลทิน อยูรวมกันมิได ตองเวียนกลับมาสูเพศท่ีเลว. เพราะเหตุ ไร? เพราะพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาอันคนชั่วไมอาจอยู รวมดวยได ฉันนั้นเหมือนกัน. ชื่อวายอมทําความท่ีพระศาสนา อันพวกคนชั่วไมอาจอยูรวมดวยไดใหปรากฏ ตามประการ ดังกลาวมานี้. ช่ือวา ยอมทาํ ความท่ีพระศาสนาเปนของแทงตลอด ไดยากใหปรากฏ อยางไร? ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา พวกนายขมังธนูพวกใดพวกหนึ่ง ซึ่งเปนคนไมฉลาด ไมไดศึกษา (ในการยงิ ธนู) ไมไดเรยี นศิลปะ (การยงิ ธน)ู มีความรูเ สื่อมทราม เมื่อไมสามารถจะยิงถูกขนทราย (ท่ีปกไวที่เปา) ได ก็ยอม ลมเหลวหลีกไป เพราะเหตุไร? เพราะขนทรายเปนของละเอียด สขุ ุม ยงิ ไปใหถ ูกไดย าก ฉนั ใด, ขอถวายพระพร บคุ คลเหลา ใด เหลา หน่ึง ซงึ่ เปนคนทรามปญ ญา บา เซอ หลงเลอะ เปน ชนผมู ีคติ

๓๘ กณั ฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา มดื บอด ยอ มบวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, บุคคล เหลาน้ันเม่ือไมสามารถจะแทงตลอดธรรมท่ีควรแทงตลอดคือ สัจจะ ๔ อันละเอียดสุขุมอยางยิ่งได ก็ตองลมเหลว หลีกไปจาก พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา เวียนกลับมาสูเพศที่เลว ตอ กาลไมนานเลย. เพราะเหตุไร? เพราะสัจจะท้ังหมดเปนของ ละเอียด สุขุม แทงตลอดไดยากย่ิง ฉันนั้นเหมือนกัน. ช่ือวา ยอมทาํ ความที่พระศาสนาเปนของแทงตลอดไดยากใหปรากฏ ตามประการดังกลาวมาน้ี. ชื่อวา ยอมทําความที่พระศาสนาอันบุคคลรักษาไว ดวยสังวรเปนอันมากใหปรากฏ อยางไร? ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรุษบางคนเขาไปสูยุทธภูมิครั้งยิ่งใหญ ถูก กองทพั ปรปกษห อ มลอมทางทิศใหญท ิศนอ ย โดยรอบอยู เหน็ ชน ผูมีมือถือหอกมุงเขามาก็กลัว ถอยหนีกลับไป. เพราะเหตุไร? เพราะกลวั การรกั ษา (การใช) ยุทธวิธอี ยา งตาง ๆ เปน อนั มาก ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลเหลาใดเหลาหนึ่งซึ่งเปนคนช่ัว ไมสาํ รวม ไมมคี วามละอาย หากริ ิยาไมไ ด ไมอดทน กลอกกลิ้ง โลเล สถุล เปนคนพาล ยอมบวชในพระศาสนาของพระชินวร- พุทธเจา, บุคคลเหลานั้น เม่ือไมอาจรักษาสิกขาบทตาง ๆ มากมายได ก็ทอถอย หนีกลับไป เวียนกลับมาสูเพศที่เลว ตอกาลไมนานเลย เพราะเหตุไร? เพราะพระศาสนาของพระ ชินวรพุทธเจาเปนของที่ตองรักษาไวดวยสังวรมีอยางตาง ๆ เปนอันมาก ฉันนั้นเหมือนกัน. ช่ือวา ยอมทาํ ความท่ีพระศาสนา

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๓๙ อันบุคคลรักษาไดดวยสังวรเปนอันมากใหปรากฏตามประการ ดังกลาวมาน้ี. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา ในกอมะลิซอน แม นับวาสูงสุดแหงบรรดาดอกไมท่ีเกิดบนบก (ถึงอยางไรๆ) ก็ยังมี บางดอกถูกหนอนเจาะ, ดอกที่ถูกหนอนเจาะเหลาน้ัน มีข้ัวดอก ท่เี ห่ียวโรยแลว ก็ยอมตกรวงไปเสยี ในระหวา งทีเดยี ว. ก็แลกอดอก มะลิจะไดช่ือวาเปนกอดอกไมช้ันเลวเพราะมีบางดอกถูกหนอน เจาะตกรวงไป ก็หาไม. ดอกท่ียังดํารงอยูไดในกอมะลิซอนน้ัน ยอ มมีกลนิ่ หอมแพรไ ปสูทิศใหญท ิศนอ ย ฉนั ใด, ขอถวายพระพร บุคคลพวกที่บวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาแลว ก็ยัง เวียนกลับมาสูเพศท่ีเลวไดอีกนั้น, บุคคลเหลานั้นช่ือวาเปนผู ปราศจากสีและกลิ่น มีอาการท่ีหาขอสรรเสริญมิไดเปนปกติ ดุจ ดอกมะลิซอนท่ีถูกหนอนเจาะ เปนคนอาภัพตอความเจริญงอก งามในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, ก็แล พระศาสนาของ พระชินวรพุทธเจาจะช่ือวาเปนของต่ําทรามเพราะการท่ีบุคคล นั้นยังเวียนกลับมาสูเพศท่ีเลว ก็หาไม. พวกภิกษุที่ยังดาํ รงอยูได ในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจานั้นยอมเปนผูมีกลิ่นหอม คือศีลประเสริฐแพรไปตลอดโลกพรอมท้ังเทวดา ฉันนั้น เหมือนกัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บรรดาขาวสาลีแดง ท้ังหลายท่ีปราศจากโรคภัย, ขาวสาลีแดงชนิดหน่ึง ช่ือวา กรุมภกะ เกิดข้ึนแลวก็เสียไประหวางเทียว, ก็แล ขาวสาลี

๔๐ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา แดงท้ังหลายจะไดชื่อวา เปนขาวสาลีชั้นเลว เพราะการท่ีขาว สาลีชนิดนั้นเสียไป ก็หาไม. ในบรรดาขาวสาลีแดงเหลาน้ัน ขาวสาลีท่ีดาํ รงอยูได (ไมเสียไปในระหวาง) ก็สมควรเปนเคร่ือง เสวยสาํ หรับพระราชา ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลพวกที่ บวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา แลวก็ยังเวียนกลับมา สูเพศท่ีเลวไดอีกน้ัน, บุคคลเหลาน้ันไมเจริญ ไมถึงความงอกงาม ในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา ยอมเวียนกลับมาสูเพศที่ เลวในระหวางเทียว ดุจในบรรดาขาวสาลีแดงทั้งหลายขาวสาลี กรุมภกะไมเจริญ ไมถึงความงอกงาม ยอมเสียไปในระหวาง เทียว ฉะน้ัน ก็แล พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาจะได ช่ือวาเปนของตาํ่ ทราม เพราะการท่ีบุคคลเหลานั้นเวียนกลับมา สูเพศที่เลวก็หาไม. ภิกษุทั้งหลายท่ีดาํ รงอยูไดในพระศาสนา น้ัน ภิกษุเหลาน้ันยอมเปนผูสมควรตอความเปนพระอรหันต ฉันนั้นเหมือนกัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา แมแตแกวมณีท่ี คอยมอบแตสิ่งท่ีตองการให ก็ยังมีบางสวนเกิดเปนปมหยาบ กระดาง (เปนตําหน)ิ ขึน้ มาได. กแ็ ล แกว มณจี ะไดช ือ่ วาเปน แกว ช้ันเลว เพราะการท่ีตรงสวนน้ันเกิดเปนปมหยาบกระดางขึ้นมา ก็หาไม. ในทุกสวนแหงแกวมณีนั้น สวนใดบริสุทธิ์ สวนนั้นยอม บันดาลแตความบันเทิงแกผูคน ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคล พวกท่ีบวชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาแลวก็ยังเวียน กลับมาสูเพศที่เลวไดอีกน้ัน, บุคคลเหลาน้ันจัดวาเปนคนหยาบ

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๔๑ กระดาง เปนสะเก็ดในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, ก็แล พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา จะไดชื่อวาเปนของตํ่าทราม เพราะการที่บุคคลเหลาน้ันยังเวียนกลับมาสูเพศที่เลวไดอีก ก็หา ไม. พวกภิกษุทั้งหลายผูดํารงอยูไดในพระศาสนาน้ัน ยอมเปน ผูทาํ ความบันเทิงใหเกิดแกเทวดาและมนุษยท้ังหลาย ฉันนั้น เหมอื นกัน. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา แมแตจันทนแดงที่ถึง พรอมดวยชาติพันธ ก็ยังมีบางสวนเนาเสีย หมดกลิ่นไป. จันทน แดงจะไดช่ือวาเปนของเลวเพราะเหตุน้ัน ก็หาไม. ในบรรดาสวน เหลาน้ัน สวนท่ีไมเนาเสีย มีกล่ินหอมดี ยอมแพรไป ทาํ ใหหอม ตลบไปโดยรอบ ฉันใด, ขอถวายพระพร บคุ คลพวกที่บวชในพระ ศาสนาของพระชินวรพุทธเจาแลวก็ยังเวียนกลับมาสูเพศที่เลวได อกี , บุคคลเหลานนั้ จัดวา เปน ผทู ีค่ วรถูกขจัดทงิ้ ในพระศาสนาของ พระชนิ วรพทุ ธเจา ดุจสว นท่ีเนาเสยี ในแกน จนั ทนแ ดง ฉะน้ัน, ก็แล พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจาจะไดช่ือวาเปนของต่ําทราม เพราะการที่คนเหลาน้ันยังเวียนกลับมาสูเพศท่ีเลวไดอีก ก็หา ไม พวกภิกษุท่ีดาํ รงอยูไดในพระศาสนาน้ัน ยอมใชจันทรแดง คือศีลอันประเสริฐคอยฉาบทาโลกพรอมทั้งเทวดาไว ฉันน้ัน เหมือนกัน. พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน เปนอัน พระคุณเจาไดแ สดงพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา อนั ถึงความ ไมม ีขอ นาตาํ หนโิ ดยความเปนพระศานาท่ปี ระเสริฐสดุ ดว ยเหตผุ ล

๔๒ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ทเ่ี หมาะสม (กบั อปุ มา) น้นั ๆ แลว, บคุ คลแมวาเวยี นกลบั มาสเู พศ ท่ีเลวไดอีก ก็ยังทาํ ความประเสริฐแหงพระศาสนาของพระชินวร พุทธเจาใหปรากฏได แล.” จบหนี ายาวตั ตนปญ หาท่ี ๕ คาํ อธิบายปญหาที่ ๕ ปญ หาเกย่ี วกับการเวียนมาสูเพศท่เี ลว เรยี กวา หนี ายา- วัตตนปญหา. เพศฆราวาส ช่อื วา เพศทีเ่ ลว เม่ือเทียบกบั เพศบรรพชติ เพราะครองเรือนบรโิ ภคกาม. คาํ วา สําเร็จในผลสักอยางหนึ่ง คอื สําเร็จในสามัญญ- ผลสกั อยา งหนึ่งในบรรดาสามญั ญผล ๔ มีโสดาปต ตผิ ลเปน ตน. ความวา สําเร็จเปน พระอรยิ บุคคลสักจําพวกหน่งึ ในบรรดาพระ อริยบุคคล ๔ จาํ พวก มีพระโสดาบันเปนตน. เปนความจริงวา บรรพชติ (นักบวช) ท่เี ปน พระอรยิ บุคคลทั้งหลาย ยอ มไมลาสิกขา เวียนกลับมาสูเพศที่เลวอีกเลยโดยประการท้ังปวง. คาํ วา ดว ยสงั วรเปน อนั มาก คือดว ยสังวร (ธรรมเครอื่ ง สาํ รวม) ๕ อยาง คือปาตโิ มกขสงั วร ๑ สตสิ ังวร ๑ ญาณสงั วร ๑ วริ ิยสังวร ๑ ขนั ติสงั วร ๑. จบคาํ อธิบายปญ หาที่ ๕

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๔๓ ปญ หาที่ ๖, อรหนั ตเวทนาเวทยิ นปญ หา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจา นาคเสน พวกทา นกลา วกัน วา ‘พระอรหันตเสวยเวทนาอยางเดียว คือเวทนาทางกาย มิได เสวยเวทนาทางใจ’ ดงั น.้ี พระคณุ เจา นาคเสน จติ ของพระอรหนั ต อาศัยกายใดเปนไป พระอรหันตมิไดเปนใหญ มิไดเปนเจาของ มไิ ดม อี ํานาจเปนไปในกายน้ันหรือ อยางไร?” พระนาคเสน : “ถูกตองแลว มหาบพติ ร.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอท่ีพระอรหันต น้ันมิไดเปนใหญ มิไดเปนเจาของ มิไดมีอาํ นาจเปนไปในกายท่ี เปนไปสาํ หรับจิตของตนนี้ ไมสมควรเลย, พระคุณเจา แมแตนก อาศัยอยปู ระจําในรังไหน, ก็ยอ มเปน ใหญ เปน เจา ของ มีอํานาจ เปนไปในรังน้ัน.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ธรรม ๑๐ อยางเหลานี้ คลอยตามกาย แลนตามกาย แปรเปลี่ยนไปตามกายทุก ๆ ภพ. ธรรม ๑๐ อยางอะไรบาง ไดแ ก ความเยน็ ความรอ น ความหิว ความกระหาย อุจจาระ ปสสาวะ ความงวง ความแก ความ เจ็บปวย ความตาย. ขอถวายพระพร ธรรม ๑๐ อยางเหลานแ้ี ล คลอ ยไปตามกาย แลน ไปตามกาย แปรเปลี่ยนไปตามกายทุก ๆ ภพ, พระอรหันตมิไดเปนใหญ มิไดเปนเจาของ มิไดมีอํานาจ เปน ไปในกายนน้ั .”

๔๔ กณั ฑที่ ๕, อนุมานปญหา พระเจา มลิ นิ ท : “พระคุณเจานาคเสน เพราะเหตไุ ร พระ อรหันตจึงหาอาํ นาจหรือความเปนใหญในกายมิไดเลา? ขอทาน จงบอกเหตผุ ลในขอ ท่วี า น้ันแกขา พเจา เถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เปรียบ เหมือนวา สัตวท้ังหลายที่อาศัยแผนดินเหลาใดเหลาหนึ่ง, สัตว เหลาน้ันทั้งหมด ยอมเท่ียวไปได อยูได สําเร็จความเปนไปได เพราะลวนแตไดอาศัยแผนดิน, ขอถวายพระพร สัตวเหลาน้ันมี อํานาจหรือความเปนใหญเปนไปในแผนดินหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “หามไิ ด พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ฉันน้ัน จิตของพระอรหันตอาศัยกายเปนไป, แตวาพระ อรหันตหามีอาํ นาจหรือความเปนใหญเปนไปในกาย ไม.” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน เพราะเหตุไรผเู ปน ปุถุชนจึงเสวยเวทนาทางกายก็ได ทางใจกไ็ ดเลา?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร ปถุ ชุ นเสวย เวทนาทางกายก็ได ทางใจกไ็ ด เพราะมิไดอ บรมจิต. ขอถวายพระ พร เปรยี บเหมอื นวา โคที่หิวอยู ทอี่ ยากกินอยู ถกู เขาผกู ตดิ ไวทก่ี อ หญาเล็ก ๆ อนั ไมมกี าํ ลัง อันออ นกําลงั หรือทีเ่ ถาวัลย, เวลาใด โค ตวั น้ันกาํ เริบ (หงดุ หงดิ ) ขนึ้ มา, เวลานนั้ มันจะหลกี ไปเสยี พรอ ม กับสิ่งที่ผูกติด ฉันใด, ขอถวายพระพร เวทนาของปุถุชนผูไมได อบรมจติ เกดิ ขึน้ แลวกท็ าํ จิตใหก ําเริบ, จิตท่กี าํ เรบิ ยอมดัด ยอ ม บิดซง่ึ กาย ยอ มทํากายใหแปรปรวนไป. เมอ่ื เปน เชนน้นั ปุถชุ นผูมี

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๔๕ จิตมิไดอ บรมน้นั จึงสะดงุ กลัว จงึ รอง จงึ สง เสยี งรอ งดงั นา กลัว, ขอ ถวายพระพร น้คี ือเหตใุ นเรอื่ งนท้ี ท่ี าํ ใหปุถชุ นเสวยเวทนาทางกาย กไ็ ด ทางใจก็ได.” พระเจามิลนิ ท : ก็เหตุอะไรเลา ท่ที าํ ใหพระอรหันตเสวย เวทนาอยา งเดยี ว คือเวทนาทางกาย มิไดเ สวยเวทนาทางใจ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร จิตของพระ อรหันตเปนธรรมชาติที่ไดอบรมแลว อบรมดีแลว ฝกแลว ฝกดี แลว จึงทําไดตามที่พูดเปนแนแท, พระอรหันตน้ัน เมื่อถูก ทกุ ขเวทนากระทบเอา กย็ อ มถือมนั่ วา ‘ไมเทย่ี ง’ เปนตน ยอ มผูก จิตไวท่ีเสาคอื สมาธิ จิตของทานที่ผกู ไวทเี่ สาคือสมาธินัน้ ยอ มไม คลอนแคลน ไมสั่นไหว, เปนธรรมชาติต้ังอยูไมซัดสาย. เพราะ ความแผไ ปแหง วกิ ารของเวทนานน้ั กายของทานก็ยอมคดไป บิด ไป แปรปรวนไป. ขอถวายพระพร น้ีคือเหตุในเรื่องน้ี ซึ่งจัดเปน เหตุที่ทาํ ใหพระอรหันตเสวยเวทนาอยางเดียว คือทางกาย มิได เสวยเวทนาทางใจ.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ขอท่ีวา เมื่อกาย หว่ันไหว แตจติ กลบั ไมห ว่ันไหว ช่ือวาเปน ของนา อศั จรรยในโลก, ขอทานจงบอกเหตุผลในเรือ่ งนั้นแกข า พเจา เถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร เม่อื ตน ไมต น ใหญโตอนั สมบรู ณดว ยลาํ ตน กง่ิ และใบ ถูกกําลังลมกระหน่ํากิง่ ไมก ็ยอ มส่ันไหว, ลําตนแหง ตนไมนนั้ กย็ อ มส่ันไหวดว ยหรอื หนอ?” พระเจามิลนิ ท : “หามไิ ด พระคณุ เจา ”

๔๖ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้น พระอรหันตพอถูกทุกขเวทนากระทบเอา ก็ยอมถือม่ัน วา ‘ไมเที่ยง’ เปนตน, ยอมผูกจิตไวท่ีเสาคือสมาธิ, จิตของ ทานที่ผูกไวท่ีเสาคือสมาธินั้น ยอมไมคลอนแคลน ไมสั่นไหว, เปนธรรมชาติตั้งอยูไมซัดสาย. เพราะความแผไปแหงวิการของ เวทนาน้ัน กายของทานก็ยอมคดไป บิดไป แปรปรวนไป, แตวา จิตของทานยอมไมคลอนแคลน ไมส่ันไหว เหมือนลาํ ตนแหง ตนไมใหญ ฉะน้ัน.” พระเจามิลินท : “นาอัศจรรยจริง พระคุณเจานาคเสน นาแปลกจริง พระคุณเจานาคเสน, ขาพเจาไมเคยเห็นประทีป สองธรรมไดตลอดกาลท้ังปวง เชนนี้มากอนเลย.” จบอรหันตเวทนาเวทิยนปญหาท่ี ๖ อธิบายปญ หาท่ี ๖ ปญหาเก่ียวกับการเสวยเวทนาแหงพระอรหันต ช่ือวา อรหันตเวทนาเวทยิ นปญ หา. ในบรรดาธรรม ๑๐ อยาง มีความเย็น ความรอนเปนตน นั้น ช่ือวา ความงวง (ถีนมิทธะ) ที่ยังเปนไปแกกายของพระ อรหันตนั้น ไดแก ความกะปลกกะเปลี้ยเพลียแรงแหงรางกายที่ เปนเหตุใหทานรูวา ถึงคราวจาํ ตองพักกายดวยการนอนหลับ เทานั้น ไมใชความโงกงวงอยางท่ีเปนนิวรณที่เรียกวาถีนมิทธ- นิวรณ เพราะพระอรหันตละนิวรณทั้งหลายไดแลว. ความวา

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๔๗ ธรรม ๑๐ อยางคลอยตามกาย คือเปนไปเน่ืองกับกาย เพราะ ฉะนั้น แมพระอรหันตเม่ือทานมีกาย ทานก็ยอมมีเวทนา เสวยอารมณในคราวท่ีรางกายของทานเกิดเย็น เกิดรอนข้ึน เปนตน. ในอุปมา, สัตวทั้งหลาย แมวาอาศัยอยูบนพื้นแผนดิน ก็หามีอาํ นาจเหนือพ้ืนแผนดินไม ฉันใด จิตของสัตวทั้งหลาย ในปญจโวการภูมิ (ภูมิท่ีมีขันธ ๕) แมวาเปนไปอาศัยกาย ก็หา มีอํานาจเหนือกายเกี่ยวกับจะบังคับกายวา จงอยาเย็น จงอยา รอนเปนตน เพื่อประโยชนแกการหามความเกิดข้ึนแหงเวทนา ทางกายไม ฉันน้ันเหมือนกัน เพราะฉะนั้น เมื่อเปนเชนน้ี พระอรหันตก็ยังตองมีเวทนาเสวยอารมณเปนสุขเวทนา เปน ทุกขเวทนา ในคราวท่ีมีความเย็น ความรอน เปนตน มากระทบ กาย ซึ่งเปนกายที่ไมอาจบังคับบัญชาไดนั้น พูดงาย ๆ วาทาน ตองคอยรูสึกสุขทุกขทางกาย. ก็แตวา เมื่อเกิดสุขเวทนาทาง กายข้ึน จิตใจของทานก็มิไดหว่ันไหวไปดวยอาํ นาจความยินดี, เมื่อเกิดทุกขเวทนาทางกายข้ึน จิตใจของทานก็มิไดหว่ันไหวไป ดวยอาํ นาจความยินราย ทวา ตั้งมั่นวางเฉยในสุขและทุกขน้ัน น้ีเปนความหมายของคําวา ทานเสวยเวทนาทางกายอยางเดียว มิไดเสวยเวทนาทางใจดวย ในท่ีน้ี. ถามวา เพราะเหตุไร ตอบ วา เพราะทานไดอบรมจิตไวดีแลว, สวนผูเปนปุถุชนทั้งหลาย เม่ือเกิดสุขเวทนาหรือทุกขเวทนาทางกายข้ึน จิตใจก็ยอม หว่ันไหวไปดวยอาํ นาจความยินดีหรือยินราย ชื่อวา ยอมเสวย

๔๘ กณั ฑท่ี ๕, อนุมานปญหา เวทนาท้ังทางกาย ท้ังทางใจ. ถามวา เพราะเหตุไร ตอบวา เพราะปุถุชนมิไดอบรมจิตไวดีแลว อยางจิตของพระอรหันต จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๖ ปญ หาที่ ๗, อภสิ มยันตรายกรปญหา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน คฤหัสถคนใดคน หนึ่งในโลกน้ีเปนผูตองปาราชิก ในสมัยตอมาอีก คฤหัสถผูน้ัน ไดบวช, ทั้งตัวเขาเองก็ไมรูวา ‘เราเปนคฤหัสถผูตองปาราชิก’, ท้ังใครคนอ่ืนก็ไมไดบอกเขาวา ‘ทานเปนคฤหัสถผูตองปาราชิก’. ก็คฤหัสถผูนั้นพึงปฏิบัติเพื่อความเปนผูตรัสรูธรรมน้ัน, เขาจะ พึงมีการตรัสรูธรรมไดหรือไมหนอ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เขาจะมีการตรัสรูธรรม มไิ ด.” พระเจา มิลนิ ท : “เพราะเหตไุ รหรือ พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “เหตุเพอื่ การตรสั รธู รรมใด, เขาขาดเหตนุ ้ัน, เพราะฉะนนั้ จงึ ไมมกี ารตรสั รูธ รรม.” พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจานาคเสน พวกทานกลา วกนั วา ‘เม่ือรูอยู ก็ยอมมีกุกกุจจะ (ความหงุดหงิดใจ, ความกลัด กลุมใจ) เมื่อมีกุกกุจจะก็ชื่อวามีเครื่องขวางก้ัน, เม่ือจิตถูกขวาง กัน้ ก็ยอมไมมกี ารตรัสรูธรรม’ ดงั น้ี. กแ็ ตว า สาํ หรบั บคุ คลผูไ มร อู ยู (วาตองปาราชิก) ไมเกิดกุกกุจจะ มีจิตสงบอยูนี้ เพราะเหตุไร

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๔๙ จึงหาการตรัสรูธรรมมิไดเลา. ปญหานี้ ยอมถึงแกทานผูหาใคร เสมอเหมือนมิได, ขอทานจงคิดเฉลยเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พืชมีประโยชนท ่ีเขาฝง ไว อยางดีในทองไรทองนาอันไถพรวนดีแลว อันทําใหเปนดินเปยก นุมดแี ลว ยอมงอกงามไดมิใชหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ใช ยอมงอกงามได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พืชอันเดียวกันน้ันนั่น แหละ พึงงอกงามบนพ้ืนหินแหง ภเู ขาหินทบึ ตัน ไดหรือไม?” พระเจามลิ นิ ท : “มิไดหรอก พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไรบนดินเปยก นุม พืชนั้นนั่นแหละจึงงอกงามได, เพราะเหตุไรบนเขาหินทึบตัน จึงงอกงามไมไ ด?” พระเจามลิ นิ ท : “พระคณุ เจา บนภเู ขาหินทบึ ตนั ไมม ีเหตุ เพ่อื ใหพืชนนั้ งอกงาม พชื ไมงอกงามเพราะไมม เี หตุ.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉนั ใด อปุ มัยกฉ็ นั น้ัน เหมือนกัน บคุ คลผนู นั้ จะพงึ มีการตรสั รูธ รรมได เพราะอาศยั เหตุ ใด, เขาขาดเหตุน้ันไป, เพราะไมม ีเหตุ เขาจงึ ไมม ีการตรสั รธู รรม. ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา ทอนไม กอนหิน ไมตะบอง ไมคอน ยอมถึงความต้ังอยูไดบนพื้นดิน, ขอถวายพระพร ทอนไม กอนดิน ไมตะบอง ไมคอน เหลาน้ันน่ัน แหละพึงถึงความต้ังอยูในกลางหาวไดหรือไม?”

๕๐ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา พระเจามิลนิ ท : “มิไดห รอก พระคณุ เจา.” พระนาคเสน : “มีเหตุอะไรในเรื่องน้ีเลา ท่ีทําใหทอนไม กอ นดนิ ไมต ะบอง ไมคอนเหลา น้ันนน่ั แหละ ถึงความต้งั อยูไ ดบ น พื้นดินได, เพราะเหตุไร ทอนไมเปนตนเหลาน้ันน่ันแหละจึงตั้งอยู ในกลางหาวมิได? ” พระเจามิลินท : “เหตุท่ีทําใหทอนไม กอนหิน ไมตะบอง ไมคอนเหลานั้นน่ันแหละ ต้ังอยูในอากาศได หามีไม, เพราะไมมี เหตุ จงึ ต้งั อยไู มไ ด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลผูน้ันจะพึงมีการตรัสรูธรรมได เพราะ อาศยั เหตุใด, เขาขาดเหตุน้ันไป, เพราะไมมีเหตุ เขาจึงไมมีการ ตรัสรูธรรม. ขอถวายพระพร อกี อยา งหน่ึง เปรยี บเหมอื นวา ไฟยอมลกุ โพลงไดบนบก, ขอถวายพระพร ไฟน้ันน่ันแหละ ยอมลุกโพลงใน นํา้ ไดหรือหนอ?” พระเจา มิลนิ ท : “มไิ ดห รอก พระคณุ เจา .” พระนาคเสน : “มเี หตุอะไรในเรื่องนี้เลา ทีท่ ําใหไ ฟนน้ั นน่ั แหละ ลุกโพลงบนบกได, เพราะเหตุไรจงึ ลกุ โพลงในนํ้ามไิ ด?” พระเจา มลิ นิ ท : “เหตุทที่ าํ ใหไ ฟนน้ั นนั่ แหละ ลกุ โพลงใน น้าํ ได หามีไม, เพราะไมม ีเหตุ จงึ ลุกโพลงไมไ ด. ” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บุคคลผูนั้นจะพึงมีการตรัสรูธรรมได เพราะ

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๕๑ อาศัยเหตุอันใด, เขาขาดเหตนุ น้ั ไป, เพราะไมม เี หตุ เขาจึงไมม กี าร ตรสั รูธรรม.” พระเจามิลนิ ท : “พระคณุ เจา ขอทา นจงคิดอรรถาธบิ าย ขอนี้อีกครั้งหนึ่งเถิด, ในขอที่วา เม่ือไมรูอยูก็ไมมีกุกกุจจะ เม่ือไม มีกุกกุจจะก็ไมมีสิ่งขวางกั้น ดังน้ีนั้น ขาพเจายังไมมีความเขาใจ, ขอทานจงทาํ ใหข า พเจาเขา ใจดว ยเหตุผลเถิด.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ยาพิษท่ีแรงกลา ท่ี บุคคลไมรูไปกินเขา ยอมคราชีวิตไดมิใชหรือ?” พระเจามิลินท : “ใช, ยอมคราชีวิตได พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ันเหมือนกัน บาปที่บุคคลผูแมไมรูกระทาํ ยอมเปนส่ิงทํา อันตรายตอการตรัสรูได. ขอถวายพระพร อนึง่ อสรพิษกัดผทู ีไ่ มร ู ก็ยอ มคราชีวิตได มิใชหรือ?” พระเจา มิลนิ ท : “ใช, ยอมครา ชีวิตได พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันนั้นเหมือนกัน บาปที่บุคคลผูแมไมรูกระทาํ ยอมเปนสิ่งทํา อันตรายตอการตรัสรูได. ขอถวายพระพร พระเจากาลิงคะผูมาจากสกุลสมณะ ผู เกลื่อนกลนดวยแกว ๗ ประการ เสด็จข้ึนชางแกวไปเย่ียมสกุล แมวาพระองคไ มท รงรอู ยู ก็ไมอ าจเสดจ็ ขา มไปเหนือแดนตรสั รไู ด, เรอ่ื งพระเจา กาลงิ คะนี้ เปนเหตผุ ลในขอทีว่ า บาปทบ่ี คุ คลผแู มไ มรู

๕๒ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา กระทําเขา กย็ อมเปน สง่ิ อันตรายตอ การตรัสรู น้ี.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน เหตุผลท่ีพระชินวร พุทธเจาตรัสไว ใคร ๆ ไมอาจปฏิเสธได คําอรรถาธิบายในเรื่องนี้ ขาพเจาขอยอมรับตามประการท่ีทา นกลาวมาน้ัน.” จบอภิสมยนั ตรายกรปญ หาท่ี ๗ คําอธบิ ายปญ หาท่ี ๗ ปญหาเกี่ยวกับบุคคลผูมีธรรมที่ทาํ อันตรายแกการตรัสรู ชื่อวา อภิสมยันตรายกรปญหา. คาํ วา เปน ผตู อ งปาราชกิ ความวา บคุ คลชอื่ วา “ปาราชกิ - ผูแพ” เพราะไมอ าจเจรญิ สิกขา ๓ เพ่ือการตรัสรูธรรม เอาชนะ กิเลสท้ังหลายได เหตุเพราะมีธรรมที่สรางอันตราย คือ ขัดขวาง การเจริญสกิ ขา ๓ เพ่อื การตรสั รนู ้ัน. ไดแ ก เปน ผูถ ึงความเปน ปาราชิกดังกลาวน.ี้ ก็บุคคลผเู ปน ปาราชิก มี ๒๔ จาํ พวก. ใน ๒๔ จาํ พวกนั้น ที แรก ๘ จําพวกกอน คอื ภิกษุผูตอ งอาบัตปิ าราชิก ๔ ขอนับเปน ๔ จาํ พวก. และภกิ ษณุ ีผตู อ งอาบัติปาราชกิ ๔ ขอ นับเปน ๔ จําพวก. บคุ คล ๘ จาํ พวกน้ี สน้ิ ความเปนสมณะแลว หากวายงั ครองเพศ สมณะ ปดบัง ไมประกาศความส้ินความเปนสมณะของตนให ภกิ ษรุ ปู อ่นื ทราบ แลวลาสิกขาเวียนกลบั มาสเู พศฆราวาสแลว ก็ ไมอ าจตรัสรูธ รรมคืออริยสัจจธรรมทงั้ ๔ ได ยอมไมอ าจแมเ พยี ง ทาํ วปิ สสนาญาณทัง้ หลายใหเ กิดได.

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๕๓ ตอมา ไดแก อภัพพบุคคล (บุคคลผูอาภัพตอการตรัสรู ธรรม) ๑๑ จําพวก ใน ๑๑ จําพวกน้ี ๓ จําพวก คือ บัณเฑาะก (กะเทย) คน ๒ เพศ และสัตวเดรัจฉาน เปนอภัพพบุคคลไมอาจ ตรัสรูธรรมไดเพราะมีวัตถุวิบัติ (คือมีปฏิสนธิจิตเปนอเหตุกะซึ่ง ออนแอ ไมอ าจรองรับคณุ ธรรมช้นั สงู ๆ ได) แมพ ระตถาคตกท็ รง ปฏเิ สธการบวช. บุคคล ๓ จาํ พวกน้ี แมไมอาจตรัสรูธ รรมได กอ็ าจ ทําบุญไปสวรรคได. สวนอีก ๘ จาํ พวก คือ ผูปลอมบวชซึ่ง หมายถึงผบู วชเองไมม ีอปุ ช ฌายอ าจารย ผเู ขา รตี เดยี รถีย (เปลี่ยน ความนับถอื ไปนบั ถือลัทธิเดยี รถียน นั่ เอง) ผฆู า มารดา ผฆู า บิดา ผู ฆาพระอรหันต ผูทาํ พระโลหิตของพระพุทธเจาใหหอข้ึน ผูยุยง สงฆใ หแตกกนั และผปู ระทษุ รายพระภิกษณุ ี ชอ่ื วา เปน คนอาภพั ไมอาจตรสั รธู รรมไดเพราะมกี ิรยิ าวิบตั ิ กลาวคือ ผูปลอมบวชและ ผูเขารีตเดียรถีย (ท่ีเขามาบวชในพระศาสนานี้) มีกิริยาคือการ กระทําท่ีวิบัติคือเปนโทษท่ีพระพุทธเจาทรงหามการบวช แต บคุ คลเหลา น้อี าจทาํ บุญเพื่อไปสวรรคได ผกู ระทําอนนั ตรยิ กรรม ๕ อยาง มฆี า มารดาเปน ตน รวม ๕ จาํ พวก มีกิริยาวบิ ตั คิ ือการทํา กรรมหนักเกนิ ไป ทงั้ พระองคกท็ รงหา มการบวชของบคุ คลเหลา น้ี การกระทําของบุคคลเหลาน้ี เปนท้ังสัคคาวรณ คือหามการไป สวรรค เปนทั้งมัคคาวรณ คอื หามการบรรลุมรรค เพราะฉะน้ัน จึง ไมอาจตรัสรูธรรมได. สวนผูประทุษรายภิกษุณี ก็มีกิริยาวิบัติ เก่ียวกับมีการทาํ รายทุบตีเปนตน ตอพระภิกษุณีนั่นแหละ ทั้งพระองคก็ทรงหามการบวช. ๑๑ จาํ พวกดังกลาวมานี้ รวมกับ

๕๔ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา ๘ จาํ พวกขางตน ก็เปนปาราชิก ๑๙ จําพวก. ยังมีอีก ๕ จาํ พวก คือภิกษุณีท่ีเกิดความยินดีชอบใจใน เพศฆราวาส แมบ วชเปน ภกิ ษณุ ีแลว กเ็ วยี นกลับมาอยคู ลกุ คลีกับ พวกฆราวาส ทาํ เวลาใหลวงไปโดยมากดวยการทํากิจนอยใหญ รว มกบั พวกฆราวาส ราวกะวาเปน ฆราวาสผูหนง่ึ หาความสาํ นึก สําเหนียกวา “เราเปนสมณะ” มิได. แมไมมีความประพฤติท่ี นับวาอัชฌาจาร (ความประพฤติเกินเลยขอบเขตคือการเสพ เมถุน) ก็ถึงความเปนปาราชิก หาการตรัสรูธรรมมิได พวกที่ ทานเรียกวา “ลัมพี” เพราะเหตุที่มีองคชาตยาวเกินปกติคน ทั่วไป ก็อยางนั้น. พวกที่ทานเรียกวา “มุทุปฏฐกะ-คนหลังออน) อันไดแกพวกนักฟอนราํ ที่พยายามดัดรางกายของตนใหออน ราวกะไมมีกระดกู เพอ่ื ประโยชนแกศลิ ปะการฟอนราํ ของตน ก็ หาการตรัสรูธรรมมิได. พวกที่ชอบเสพเมถุนโดยการสอดใส องคชาตของตนเขาปากผูอ่ืนก็หาการตรัสรูธรรมมิได. และ พวกท่ีช่ืนชมยินดีองคชาตของผูอ่ืน ก็หาการตรัสรูธรรมมิได. บุคคล ๕ จาํ พวกเหลาน้ี หาการตรัสรูธรรมมิไดเพราะมีราคะ หนาแนนเกินไป แมเพียงวิปสสนาญาณก็ไมอาจทําใหเกิด ได. รวมบุคคลผูเปนปาราชิกได ๒๔ จําพวก ตามประการ ดังกลาวมาน.ี้ ใน ๒๔ จาํ พวกนน้ั พวกที่ตอ งอาบัติ ๒ ฝา ย ๘ จาํ พวก, พวกท่ียุยงใหแตกแยกกัน, พวกปลอมบวช, พวกเขารีตเดียถีย, และภิกษุณีท่ียินดีในเพศฆราวาส ช่ือวา “ภิกษุปาราชิก” (ชื่อนี้

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๕๕ หมายรวมทั้งภิกษุท้ังภิกษุณี) เพราะถึงความเปนปาราชิกเม่ือได บวชครองเพศเปนภิกษุหรือภิกษุณี หากยังไมไดบวช ก็ยังไมถึง ความเปนปาราชิก. สวนพวกที่เหลือ มีพวกที่มีวัตถุวิบัติเปนตน ช่ือวา “คิหิปาราชิก” เพราะแมไมไดบวชยังถือเพศคฤหัสถน่ันเทียว เมื่อมีความเปนอยางน้ัน ก็เปนปาราชิกได. พระเจามิลินททรง หมายเอาพวกคิหิปาราชิกเหลาน้ี ปรารภแตงเปนปญหาถาม พระนาคเสน. ก็คนเหลาน้ี แมหากวาพระพุทธเจาไมทรง บัญญัติสิกขาบทหามการบวชไว แมมีโอกาสไดบวช เพราะเหตุ ที่ตนเองไมรูถึงความเปนคนปาราชิกของตนก็ดี พระอุปชฌาย เปนตนไมรูก็ดี ไดบวชแลว แมมีโอกาสไดประพฤติปฏิบัติธรรม มากมายเพียงใดก็ตาม ก็ไมอาจตรัสรูธรรมไดเลย เม่ือเปน เชนน้ี จะปวยกลาวไปไย ในคราวท่ีพระพุทธเจาทรงบัญญัติ สิกขาบทหามการบวชไวแลวเลา. คาํ วา เหตุเพื่อการตรัสรูธรรมใด, เขาขาดเหตุน้ัน ความวา การเจริญสิกขา ๓ อันเปนสวนเบื้องตนซ่ึงเปนเหตุ แหงการตรัสรูอริยสัจธรรมในกาลตอมา ใด, เขาขาดเหตุน้ันไป. เพราะเหตุไรจึงขาด? เพราะเหตุท่ีตนเปนคนปาราชิก เพราะ ฉะนั้นจึงไมอาจทาํ เหตุน้ันได. อธิบายวา ความไมรูตนเองวา ตนเปนคนปาราชิก ไมมีความกลัดกลุมในเรื่องน้ี มิไดเปนเหตุ ชวยใหมีการตรัสรูธรรม. จบคําอธิบายปญหาที่ ๗

๕๖ กัณฑท ่ี ๕, อนุมานปญหา ปญ หาท่ี ๘, ทสุ สีลปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน อะไรเปนความ แปลกกนั , อะไรเปน ขอแตกตางกนั ระหวา งคฤหสั ถท ศุ ลี กบั สมณะ ทศุ ลี , บุคคลทัง้ ๒ น้ี มีคตเิ สมอเหมือนกันหรอื , ทานที่ใหแ กบ คุ คล ทั้ง ๒ มีวิบากเสมอเหมือนกันหรือ, หรือวายังมีอะไรท่ีเปนขอ แตกตางกนั อยเู ลา ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร สมณะทุศลี ยัง มีคุณธรรมย่ิงกวาคุณธรรมของคฤหัสถผูทุศีลโดยพิเศษอยู ๑๐ ประการเหลานี้, และยังชําระทักขิณาทานใหหมดจดยิ่ง ๆ ข้ึนไป เพราะเหตุ ๑๐ ประการ. สมณะทุศีลยังมีคุณธรรมยิ่งกวาคุณธรรมของคฤหัสถ ทุศีลโดยพิเศษอยู ๑๐ ประการ อะไรบาง? ขอถวายพระพร มหาบพิตร สมณะทุศีลในพระศาสนานี้ : - ยังเปนผูมีความเคารพในพระพุทธเจา - ยังเปนผูมีความเคารพในพระธรรม - ยังเปนผูมีความเคารพในพระสงฆ - ยังเปนผูมีความเคารพในเพ่ือนพรหมจารี - ยังพยายามในอุเทศ (การเรียนพระบาลี) และปริปุจฉา (การเรียนอรรถกถา) - ยงั เปนผูม ากดวยการสดบั ตรบั ฟง - ขอถวายพระพร ผูเปนสมณะแมวาศีลขาด เปนคนทุศีล ไปทามกลางบริษัทแลว ก็ยังรักษาอากัปกิริยาไวได, รักษาความ

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๕๗ ประพฤติทางกายไวได ความประพฤติทางวาจาไวไดเพราะกลัว การตเิ ตยี น, - ยงั มีจิตบายหนาตรงตอความเพยี ร, - ยังเปนผเู ขา ถึงสมญั ญาวา “ภกิ ษ”ุ , - ขอถวายพระพร สมณะทุศลี แมเ มอื่ จะทํากรรมช่ัว กย็ อ ม ประพฤติอยางปดบัง. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวาหญิงมี สามียอมประพฤตชิ วั่ ชา เฉพาะแตใ นที่ลับเทานั้น ฉนั ใด, ขอถวาย พระพร สมณะทุศีล แมเมื่อจะทํากรรมชั่ว ก็ยอมประพฤติอยาง ปดบัง ฉันนน้ั เหมอื นกัน แล, ขอถวายพระพร มหาบพิตร สมณะทุศีลยังมีคุณธรรมย่ิง กวา คฤหสั ถผ ูท ศุ ีลโดยพเิ ศษอยู ๑๐ ประการเหลานี้ แล. ยังชาํ ระทักขิณาทานใหหมดจดยิ่ง ๆ ข้ึนไปได เพราะเหตุ ๑๐ ประการ อะไรบา ง? - ยอมชาํ ระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความท่ี ทรงเส้ือเกราะ (ผากาสาวพัสตร) อันหาโทษมิได, - ยอมชําระทกั ขณิ าทานใหห มดจดได แมเ พราะการไดท รง เพศคนหวั โลน ผมู สี มัญญาวา ฤๅษี (ภกิ ษ)ุ , - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความที่ เขาถึงความเปนตัวแทนสงฆท่ีเขานิมนต, - ยอมชําระทักขิณาทานใหห มดจดได แมเ พราะความเปน ผถู ึงพระพทุ ธเจา พระธรรม และพระสงฆ วาเปน สรณะ,

๕๘ กัณฑที่ ๕, อนุมานปญหา - ยอมชาํ ระทกั ขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความเปน ผูอ ยูอาศัยในบา นพกั อาศยั คือความเพียร, - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะมีการ แสวงหาทรัพยคือพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา, - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะมีการ แสดงธรรมท่ียอดเย่ียม, - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความที่มี พระธรรมเปน ประทปี สองคติทไ่ี ปเบอ้ื งหนา, - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความที่มี ความเหน็ ตรงแนนอนวา “พระพทุ ธเจา ทรงเปนยอดบคุ คล” - ยอมชําระทักขิณาทานใหหมดจดได แมเพราะความท่ีมี การสมาทานอโุ บสถ, ขอถวายพระพร สมณะทุศีลยังชาํ ระทักขิณาทานใหหมด จดยิ่ง ๆ ขึ้นไปได เพราะเหตุ ๑๐ ประการเหลานี้ แล. ขอถวายพระพร เปน ความจรงิ วา สมณะทุศีล แมวาแสน วิบัติ ก็ยังชาํ ระทักขิณาทานของทายกท้ังหลายใหหมดจดได. ขอ ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา น้าํ แมวาแสนจะขุนขน ก็ยังใช กําจัดโคลนตม เหงื่อไคล ขี้ฝุนได ฉันใด, สมณะทุศีล แมวา แสนวบิ ตั ิ ก็ยังชําระทกั ขณิ าทานของทายกทัง้ หลายใหหมดจดได ฉันนน้ั . ขอถวายพระพร อีกอยางหนึ่ง เปรียบเหมือนวา น้ํารอน แมวาแสนจะ (รอนจน) เดือด ก็ยอมทําไฟกองใหญท่ีกาํ ลังลุก

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๕๙ โพลงใหดับได ฉันใด, สมณะทุศีล แมวาแสนวิบัติ ก็ยังชาํ ระ ทกั ขิณาทานของทายกท้ังหลายใหหมดจดได ฉันนนั้ . ขอถวายพระพร อกี อยา งหนงึ่ เปรยี บเหมอื นวา โภชนาหาร แมวาหารสชาติมิได ก็ยังใชกําจัดความหิว ความออนเพลียได ฉันใด, สมณะทุศีล แมวาแสนวิบัติ ก็ยังชาํ ระทักขิณาทานของ ทายกท้ังหลายใหหมดจดได ฉันนั้น. ขอถวายพระพร พระตถาคตผูเปนเทพยิ่งเหลาเทพ ทรง ภาสิตความขอนี้ไวในทักขิณาวิภังคพยากรณ (ทักขิณาวิภังค- สูตร) ในปกรณมัชฌิมนิกายอันประเสริฐ วา :- โย สีลวา ทุสฺสีเลสุ ททาติ ทานํ, ธมฺเมน ลทฺธํ สุปสนฺนจิตฺโต อภิสทฺทหํ กมฺมผลํ อุฬารํ, สา ทกฺขิณา ทายกโต วิสุชฺฌติ๑ แปลวา : บุคคลใดเปนผูมีศีล มีจิตเล่ือมใสดี เชื่อม่ันอยู ใหทานท่ีไดมาโดยธรรม ในบุคคลผูทุศีลท้ังหลาย บุคคลนั้นยอมไดรับผลของกรรมมากมาย ทักขิณานั้น ช่ือวา หมดจด โดยทางทายก. ดังน้ี. พระเจามิลินท : “นาอัศจรรยจริง พระคุณเจานาคเสน, นาแปลกจริง พระคุณเจานาคเสน, ขาพเจาไดถามปญหาถึง                                                ๑. ม. อุ. ๑๔/๔๒๑.

๖๐ กณั ฑที่ ๕, อนมุ านปญหา เพียงนั้นแลว, ทานก็ไดเปดเผยปญหาน้ัน ทําใหมีรสชาติอรอย เปนอมตะใหนาฟงดวยอุปมา ดวยเหตุผลทั้งหลายมากมาย. ขาแตพระคุณเจา เปรียบเหมือนวา พอครัวหรือลูกมือของพอ ครัว ไดเนื้อถึงเพียงน้ันแลวก็ใชเคร่ืองปรุงหลายอยางตาง ๆ กัน มาปรุงใหสาํ เร็จเปนเคร่ืองเสวยของพระราชา ฉันใด, พระคุณเจา นาคเสน ขาพเจาไดถามปญหาถึงเพียงนั้นแลว, ทานก็ไดเปด เผยปญหานั้น ทาํ ใหมีรสชาติอรอย เปนอมตะ ใหนาฟงดวย อุปมา ดวยเหตุผลท้ังหลายมากมาย ฉันนั้น.” จบทุสสีลปญหาที่ ๘ คําอธบิ ายปญ หาที่ ๘ ปญ หาเกีย่ วกับคนทศุ ลี ช่อื วา ทสุ สีลปญ หา. คาํ วา บคุ คลทัง้ ๒ นี้ มีคตเิ สมอเหมอื นกนั หรือ ความวา บุคคลทง้ั ๒ คอื สมณะทุศีลและคฤหสั ถทศุ ีล น้ี มีคตคิ ือมีอาการ เปนไปแหงคุณสมบัติดานความเปนปฏิคาหก (ผูรับเอาทาน) เสมอเหมือนกนั หรอื . อธบิ ายวา สมณะแมวาทุศลี กย็ งั เปน ผมู คี ุณธรรมซงึ่ เปน คุณธรรมที่ดียง่ิ กวาคุณธรรมของคฤหัสถผูท ุศีลอยถู ึง ๑๐ ประการ, และยังชาํ ระทักขิณาทาน คือทานท่ีเขาถวายใหดวยมีความเช่ือ โลกหนา ใหห มดจดคอื ใหปราศจากมลทนิ ทเี่ ปน อปุ สรรคขัดขวาง การบันดาลผลตอบแทนมากมายแกทายกผูถวาย. ความวา ผู เปนสมณะเทาน้ันท่ีชาํ ระทักขิณาทานใหหมดจดได แมวาเปน ผูทุศลี , ไมใ ชผ ูเปน คฤหัสถ.

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๖๑ ใน ทักขิณาวิภังคสูตร๑ พระพุทธเจาตรัสปาฏิบุคคลิก ทักขิณาทาน (ทักขิณาทานท่ีเขาใหเจาะจงบุคคล) ไวถึง ๑๔ ประเภท ประเภทท่ี ๑๓ ที่วา “ปุถุชฺชนทุสฺสีเลสุ ทานํ เทติ - ยอมใหทานในปุถุชนคนทุศลี ” ดังนนี้ น้ั บณั ฑิตพงึ ทราบวา คําวา “ปถุ ุชนคนทศุ ีล” น้ี เปน อันสงเคราะหเ อาคฤหสั ถทศุ ีลทกี่ ลา วถึง ในทน่ี ี้ ในคราวท่ีเขาตงั้ อยูในฐานะเปนปฏคิ าหก, สวนในบรรดา สงั ฆคตทักขณิ าทาน (สังฆทาน) ๗ ประเภทน้นั ประเภทที่ ๖ ที่วา “เอตฺตเก เม ภิกขฺ ู สงฺฆโต อทุ ฺทิสฺสถ - ขอจงคัดเลือกภกิ ษุ จาํ นวนเทา นจ้ี ากพระสงฆแกกระผมเถิด” ดงั นี้ นนั้ พงึ ทราบวา คําวา “ภิกษุจํานวนเทา นี”้ น้ี เปน อันสงเคราะหเอาสมณะทศุ ีล ไดดวยทีเดียว ในคราวที่ไดรับการคัดเลือกจากสงฆใหเปนตัว แทนของสงฆไปเปนปฏิคาหกรับเอาปจจัยไทยธรรมที่เขาเตรียม ถวาย. ในบรรดาคุณธรรมพิเศษ ๑๐ ประการ คําวา ยังเปนผูมี ความเคารพในพระพุทธเจา เปนตน. ความวา เพราะไดบวช บวชแลว ไดฟ ง ธรรม ไดทาํ ธุระในพระศาสนา ไดท าํ กจิ ของสงฆเ ปน ตน อยูบา ง กย็ อ มมองเหน็ ความประเสริฐสุดในพระพุทธเจา เปน ตน ก็ยอมตระหนัก มคี วามเคารพในพระพุทธเจา เปน ตน . คาํ วา ก็ยังรักษาอากัปกิริยาไวได เปนตน ความวา เพราะกลวั การตเิ ตยี นทาํ นองอยางน้ีวา “ผูนไ้ี ดบ วชในพระศาสนา                                                ๑. ม. อุ. ๑๔/๔๑๕.

๖๒ กัณฑที่ ๕, อนมุ านปญหา ท่ีประเสริฐแลวก็จริง แตก็ไมไดรับประโยชนอะไร ๆ ที่ควรไดจาก การบวช แมบวชก็เหมือนไมไดบวช ยังประพฤติอยางพวก ฆราวาสทั้งหลายอยูน่ันเอง เพราะแมแตอากัปกิริยาความ ประพฤติทางกาย ทางวาจา ก็ไมรูจักจะระมัดระวังสํารวม”ดังนี้ เปนตน จึงเปน ผรู จู ักจะรกั ษาอากปั กริ ิยาเปนตนอยูบาง. คําวา ยังมีจิตบายหนาตรงตอความเพียร ความวา เพราะอยูทามกลางภิกษุผูมีศีลท้ังหลาย ผูปรารภความเพียร ขวนขวายในธุระทั้ง ๒, ตนแมเปนคนทุศีลก็ยอมเกิดความ สาํ คัญตระหนักวาชีวิตสมณะเปนชีวิตที่ทําเวลาใหลวงเลยไป ดวยการปรารภความเพียร เม่ือเปนเชนนี้ ก็ยอมสําเหนียก โอกาสท่ีจะปรารภความเพียรเพื่อทําประโยชนตนอยูบาง. ในบรรดาเหตุท่ีทาํ ใหชําระทักขิณาทานใหหมดจด ๑๐ ประการ, คําวา “ยอมชาํ ระทักขิณาทานใหหมดจดได แม เพราะความท่ีเขาถึงความเปนตัวแทนสงฆที่เขานิมนต” คือ แมตนจะเปนสมณะศีลขาด แมกระท่ังวาขาดความเปนสมณะ แลว เม่ือสงฆยังไมรูความเปนคนศีลขาด ต้ังตนเปนตัวแทนของ สงฆรับนิมนตเพื่อฉันภัตตาหารยังเรือนของทายกเปนตน ทายก แมวารูวาตนเปนคนศีลขาด หาความเปนสมณะมิไดแลวแตเม่ือ สามารถทําใจไวในฐานะสงฆ ไมใชในฐานะบุคคลแตละคน วา “ผูนี้มาในฐานะสงฆ” , เลอ่ื มใสในความเปน สงฆอ ยู ประเคนปจ จยั ไทยธรรมถวายใหอยางเคารพ ความเปนผูต้ังอยูในฐานะสงฆใน

วรรคที่ ๑, พทุ ธวรรค ๖๓ เวลาน้ันซึ่งทายกก็สาํ คัญอยู ยอมชําระทักขิณาทานท่ีเขาถวาย ใหนั้น ใหหมดจดได คือทาํ ใหไดรับอานิสงสมากมาย เชน เดียวกับท่ีไดถวายในพระสงฆผูมีศีลท่ัวไปน่ันเอง เพื่อความแจม- แจงในความขอนี้ ก็ใครขอสาธกเร่ืองของนายบานผูเปนเจาของ วิหาร (วัด). มีเรื่องวา นายบานผูเปนเจาของวิหารคนหน่ึง คิดวา “เราจักถวายสังฆทาน” จึงไปยังวิหาร รองขอตอสงฆวา “ขอ จงเลือกพระภิกษุแกกระผมสักรูปหนึ่งเถิด เจาขา” พระสงฆ คัดเลือกภิกษุรูปหน่ึงไป นายบานไดนิมนตใหภิกษุรูปน้ันน่ังบน อาสนะที่ตนปูลาดไวอยางดี ในสถานท่ีท่ีไดชาํ ระทําความ สะอาดไวดีแลว ท่ีเบื้องบนเพดานประดับดอกไมของหอมตาง ๆ วิจิตรสวยงาม, ลางเทาให ทานํา้ มันให เสร็จแลวก็ไดถวาย ไทยธรรม (ของท่ีควรถวาย) แกภิกษุรูปน้ัน โดยอาการท่ีบุคคล ท้ังหลายผูมีความเคารพยําเกรงในพระสงฆควรทาํ . ภิกษุรูปน้ัน กลับไปแลว ในเวลาเย็นกลับมาที่เรือนของนายบานผูนี้อีกกลาว วา “อาตมาขอยืมจอบหนอย”, อุบาสกนายบานผูน้ันเวลานั้น นั่งอยู ก็ไมลุกข้ึนตอนรับ ใชเทาเข่ียจอบที่วางทิ้งอยูใกลตัว ใหไป พรอมทั้งกลาววา “เอาไปสิ”, คนท้ังหลายพูดกะเขาวา “เม่ือเชาทานทาํ การบูชาสักการะพระภิกษุรูปน้ีเสียดีนักหนา ไม อาจจะกลาวไดเลยเทียว, พอมาเด๋ียวน้ีแมเพียงมารยาทก็ไมมี เหลือ เกิดอะไรข้ึน?”. อุบาสกนายบานกลาววา “เม่ือเชาเรา ไดถวายไทยธรรมดวยความเคารพยาํ เกรงแกพระสงฆ, แตวา

๖๔ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา เวลานี้ ไดใหคนทุศีลมันยืมจอบไป” ดังนี้. ก็คนทุศีลยอมชาํ ระ ทักขิณาทานของทายกใหหมดจดได เพราะทายกมีจิตหมดจด ดวยอาํ นาจแหงความสาํ คัญวา “นี้ สงฆ, นี้ ผูมาในฐานะสงฆ”, ไมใชสาํ คัญวา “นี้ คนทุศีล” ตามประการดังกลาวมานี้. คําวา แมเพราะมกี ารสมาทานอุโบสถ คอื แมเ พราะยงั มี ความต้งั ใจจะถอื เอาศีลสกิ ขาบทบญั ญตั ินอยใหญใ นวันอโุ บสถ. ในพระคาถา, คาํ วา ใหท านท่ีไดมาโดยธรรม คือใหทาน มภี ตั ตาหารเปน ตน ท่ตี นแสวงหามาไดโ ดยธรรม คอื โดยวธิ กี ารท่ี นบั วาสจุ รติ ไมใ ชโ ดยอธรรมคือทุจรติ . คําวา ชื่อวา หมดจดโดยทางทายก คือ ชื่อวาหมดจด เพราะบันดาลอานิสงสตอบแทนมากมาย โดยทางทายกเพราะ เหตุที่ทายกมีจิตเล่ือมใสไมขุนมัว, ไมใชโดยทางปฏิคาหกซึ่งเปน คนทศุ ลี ฉะนีแ้ ล. จบคําอธบิ ายปญ หาที่ ๘ ปญ หาท่ี ๙, อุทกสตั ตชีวปญหา พระเจา มิลนิ ท : “พระคณุ เจา นาคเสน น้ําทถ่ี ูกตม อยูบนไฟ นี้ พอเดอื ดกส็ ง เสียงวี้ ๆ ซ้ดี ๆ หลายอยาง, พระคณุ เจา นาํ้ มีชวี ิต หรอื หนอ, สง เสียงเลนหรือ, หรือวา ถกู สิ่งอื่นบีบค้ันจึงสง เสยี ง?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร น้ําหามีชีวิต ไม, ชีวะก็ดี สตั วก็ดี ไมมอี ยใู นน้ํา, ขอถวายพระพร แตท วา เพราะ

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๖๕ ความที่กาํ ลังความรอนแหงไฟมมี ากมาย นา้ํ จึงสง เสียงวี้ ๆ ซดี้ ๆ หลายอยา ง.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พวกเดียรถียบาง พวกในโลกนี้คิดวานาํ้ มีชีวิต จึงปฏิเสธนาํ้ เย็น ทาํ นํา้ ใหรอน แลวบริโภคน้ําที่มีการทําใหวิปริตผิดแปลกไป, พวกเดียรถีย เหลานั้นยอมติเตียนดูหมิ่นพวกทาน วา ‘พวกสมณศากบุตรยัง เบียดเบียนอินทรียชีวะอยูอยางหนึ่ง’ ดังนี้. ขอทานจงบรรเทา จงขจัดปดเปาคาํ ติเตียนดูหมิ่นนั้น ของพวกเดียรถียเหลาน้ัน เถดิ .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร มหาบพิตร น้ําไมมีชีวิต หรอก, ชีวะกด็ ี สตั วก ็ดี ไมม ีอยใู นนาํ้ , แตท วา เพราะความทกี่ ําลงั ความรอ นแหงไฟมีมากมาย นํ้าจงึ สง เสยี งว้ี ๆ ซด้ี ๆ หลายอยาง. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา เพราะความท่ีกาํ ลังลม และแดดรุนแรง น้าํ ทอ่ี ยใู นโพรง สระ ลําธาร ทะเล ตระพงั น้าํ รอง นํ้าที่ซอกเขา บอ น้าํ ทีล่ มุ สระโบกขรณี จึงถกู ขจดั จนถงึ ความสน้ิ ไป, ก็แตวา นํ้าในสถานที่เหลานั้น ยอมสงเสียงวี้ ๆ ซ้ีด ๆ หลาย อยา งหรอื หนอ?” พระเจามิลนิ ท : “หามิได พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาหากวานาํ้ พึงมีชีวิต ไซร, น้าํ แมในสถานที่เหลาน้ันก็จะพึงสงเสียง, ขอถวายพระพร เพราะเหตุผลแมขอน้ี ก็จงทรงทราบเถิดวา ชีวะก็ดี สัตวก็ดี ไมมี

๖๖ กัณฑท่ี ๕, อนุมานปญหา อยใู นนํา้ , แตท วา เพราะความทีก่ ําลงั ความรอ นแหง ไฟมีมากมาย นํ้าจงึ สง เสยี งว้ี ๆ ซีด้ ๆ หลายอยา ง. ขอถวายพระพร ขอพระองคจงทรงสดับเหตุผลแมขออ่ืน ที่วา ชีวะก็ดี สัตวก็ดี ไมมีอยูในนาํ้ , แตทวา เพราะความท่ีกําลัง ความรอ นแหงไฟมีมากมาย นํา้ จงึ สง เสียงว้ี ๆ ซดี้ ๆ หลายอยา ง ย่ิงอีกหนอยเถิด. ขอถวายพระพร ในเวลาที่บุคคลยกนํ้าที่ปน ขาวสารซ่ึงอยูในภาชนะปดฝาขึ้นวางบนเตา ก็นํ้าบนเตาน้ันยอม สง เสยี งหรอื หนอ?” พระเจามิลนิ ท : “หามไิ ด พระคณุ เจา , ยอมเปนอนั สงบนง่ิ ไมส ่ันไหว.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร น้าํ ท่ีอยูในภาชนะน้ัน น่ันแหละ เขาจุดไฟ (ในเตา) ใหลุกโพลงเสียกอนแลวจึงคอย วางบนเตา, น้ําที่อยูบนเตาน้ันยังคงสงบนิ่ง ไมส่ันไหวอยูนั่นเอง หรือ?” พระเจามิลินท : “หามิได พระคุณเจา, มันยอมสั่นไหว กระเพื่อม เดือด ขนุ ขนึ้ เกิดเปนระลอกคลื่นแลน ไปยงั ทศิ ใหญทิศ นอ ยทงั้ เบือ้ งบนเบือ้ งลาง เออแผเ ปนฟองไป.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร นาํ้ ตาม ปกตนิ นั้ จงึ สงบน่ิง ไมส นั่ ไหว, สวนวา น้ําที่อยูบนไฟ เพราะเหตุไร จึงส่ันไหว กระเพ่ือม เดือด ขุนขึ้น เกิดเปนระลอกคลื่น แลนไปยังทิศใหญทิศนอยท้ังเบื้องบนเบ้ืองลาง เออแผเปนฟอง เลา ?”

วรรคท่ี ๑, พทุ ธวรรค ๖๗ พระเจามิลินท : “นาํ้ ตามปกติไมส่ันไหว, สวนนํ้าที่อยูบน ไฟสงเสียงรองวี้ ๆ ซี้ด ๆ หลายอยาง เพราะความที่กําลังความ รอนแหงไฟมีมากมาย.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตผุ ลแมข อนก้ี ็ขอ จงทราบเถิดวา ชีวะกด็ ี สตั วก ็ดี ไมม ีอยใู นน้ํา, แตท วาเพราะความ ท่กี าํ ลังความรอนแหง ไฟมมี ากมาย นาํ้ จึงสง เสยี งว้ี ๆ ซี้ด ๆ หลาย อยาง. ขอถวายพระพร ขอพระองคทรงสดับเหตุผลแมอ ีกขอหน่ึง วา ชวี ะก็ดี สัตวกด็ ี ไมมอี ยใู นนาํ้ , แตท วา เพราะความทกี่ ําลงั ความรอนแหงไฟมีมากมาย นาํ้ จึงสงเสียงวี้ ๆ ซ้ีด ๆ ได ยิ่งอีก หนอยเถิด. ขอถวายพระพร ในเรือนแตละหลัง เขาจะมีการใสนํา้ ไวในถังนา้ํ แลว ปด ฝาไวมใิ ชหรอื ?” พระเจา มิลนิ ท : “ใช พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร กแ็ ตว า นํ้านั้นยอมสัน่ ไหว กระเพอื่ ม เดอื ดขุนข้ึนมา เกดิ เปนระลอกคล่ืนแลน ไปสทู ศิ ใหญท ศิ นอ ย ท้งั เบือ้ งบนเบือ้ งลาง, เออแผเ ปน ฟองไปหรอื ไร?” พระเจามิลินท : “หามิได พระคุณเจา, นาํ้ ท่ีอยูในถังน้าํ ตามปกตนิ ้ัน ยอมมีอันไมส่นั ไหว.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร พระองคเ คยทรงสดับมา หรือไม วานํ้าในมหาสมทุ รก็สนั่ ไหว กระเพอื่ ม เดอื ดขุนขึน้ มา เกดิ เปนระลอกคลื่นแลนไปสูทิศใหญทิศนอย ท้ังเบ้ืองบน เบื้องลาง, เออ แผเปน ฟองไป ซัดข้ึนไปกระแทกฝง สงเสียงหลายอยาง.”

๖๘ กณั ฑท ี่ ๕, อนุมานปญหา พระเจามิลินท : “ใช ขาพเจาเคยไดสดับมาวา นา้ํ ใน มหาสมทุ รซดั ขน้ึ ไปบนทอ งฟา สงู ชั่ว ๑๐๐ ศอกบา ง ๑,๐๐๐ ศอก บาง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร นา้ํ ท่ีอยูใน ถงั จงึ ไมส่นั ไหว ไมสง เสยี ง แตเ พราะเหตไุ ร นา้ํ ในมหาสมทุ รจงึ สัน่ ไหว จงึ สง เสยี ง?” พระเจามิลินท : “พระคุณเจา นาํ้ ในมหาสมุทรส่ันไหว สงเสียง เพราะแรงลมมีมาก, นาํ้ ที่อยูในถังนาํ้ ไมถูกอะไร ๆ กระแทกกระทั้น จึงไมสั่นไหว ไมสงเสียง.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร นา้ํ ในมหาสมุทรยอ มสั่น ไหว ยอมสงเสียง เพราะแรงลมมีมาก ฉันใด, นา้ํ (ที่อยูบนไฟ) ยอ มสง เสยี ง เพราะกาํ ลงั ความรอนแหง ไฟมมี าก ฉนั นน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร ธรรมดาวา ขอบปากหนากลอง เขาใช หนังโคหมุ ไวม ิใชห รอื ?” พระเจามิลนิ ท : “ใช พระคุณเจา .” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ก็แตวา ชวี ะก็ดี สตั วกด็ ี มี อยูในกลองหรอื ?” พระเจามิลนิ ท : “ไมม หี รอก พระคุณเจา.” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร กลองจงึ สง เสียงไดเลา ?” พระเจามิลินท : “พระคุณเจา กลองสงเสียงได เพราะ ความพยายาม (คือการตี) ท่ีเกิดขึ้นจากความประสงคจะตีของ

วรรคท่ี ๑, พุทธวรรค ๖๙ หญิงหรือชายนัน้ .” พระนาคเสน : “อุปมาฉันใด อุปมัยก็ฉันนั้น นาํ้ สงเสียง ไดเพราะความที่กาํ ลังความรอนแหงไฟมีมาก, ขอถวายพระพร แมเพราะเหตุผลขอนี้ ก็ขอพระองคจงทรงทราบไวเถิดวา ชีวะ ก็ดี สัตวก็ดี ไมมีอยูในน้าํ , นาํ้ สงเสียงไดเพราะความที่กําลัง ความรอนแหงไฟมีมาก. ขอถวายพระพร คาํ ทพ่ี ระองคพงึ ตรสั ถามอาตมภาพก็มอี ยู เพียงเทาน้ัน, ซึ่งขอน้ีก็เปนปญหาที่อาตมภาพวินิจฉัยดีแลวตาม ประการดังกลาวมานี้, ขอถวายพระพร นาํ้ ที่เขาใชภาชนะแมทุก อยาง ตมใหรอน ก็ยอมสงเสียงไดท้ังนั้นหรือไร, หรือวาท่ีใช ภาชนะบางอยา งตมใหรอนเทานนั้ จงึ จะสงเสยี งไดเลา?” พระเจามิลินท : “พระคุณเจา นํ้าที่ถูกเขาใชภาชนะทุก อยางตมใหรอน ยอมสงเสียงทั้งน้ัน หามิได, นา้ํ ที่เขาใชภาชนะ บางอยา งตมใหรอ นเทา นนั้ จงึ สง เสียงได” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ถาอยางนั้นก็เปนอันวา พระองคทรงละท้ิงความคิดเห็นของพระองค หันกลับมาสูวิสัย ของอาตมภาพท่ีวา ชีวะก็ดี สัตวก็ดี ไมมีอยูในนาํ้ ขอถวาย พระพร ถาหากวา นา้ํ ท่ีถูกเขาใชภาชนะแมทุกอยางตมใหรอน ก็พึงสงเสียงไดท้ังน้ันไซร, ก็ควรที่จะกลาวคาํ วา “น้าํ มีชีวิต” คาํ น้ี ได. ขอถวายพระพร เปนความจริงวา นํา้ ยอมไมมีการแยกเปน ๒ ประการ คือสงเสียงไดอยู ก็ช่ือวามีชีวิต ๑, พอสงเสียงไมได ก็ช่ือวาไมมีชีวิต ๑, ขอถวายพระพร ถาหากวา นา้ํ พึงมีชีวิตไซร

๗๐ กณั ฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา เวลาท่ีชางใหญมีรางกายสูงใหญกําลังแตกมัน ใชงวงดูดนํ้าแลว พนเขาไปทางปากจนถึงทอง, นา้ํ นั้นเม่ือถูกบดขยี้อยูระหวาง กรามของชางเหลาน้ัน ก็นาจะสงเสียง, แมเรือใหญยาวถึง ๑๐๐ ศอก เปนเรือหนัก เต็มดวยของหนัก ๆ หลายรอยหลายพันอยาง เท่ียวไปในมหาสมุทร นาํ้ ถูกเรือใหญเหลาน้ันบดขย้ีอยู ก็นาจะ สงเสียง. แมปลาใหญ ๆ มีกายยาวหลายรอยโยชน คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคละ ปลาติมิรปงคละดาํ ลงไปภายในมหาสมุทร ใช มหาสมุทรเปนท่ีอยูอาศัย ทั้งกิน ทั้งพนธารน้าํ ใหญ, นาํ้ ท่ีถูกบด ขย้ีระหวางฟนปลาแมเหลาน้ันก็นาจะสงเสียง. ขอถวายพระพร ก็เพราะเหตุวา นํา้ ถูกสิ่งบีบคั้นใหญ ๆ ทั้งหลาย เห็นปานฉะน้ี บีบคั้นอยู ก็ยังไมสงเสียง, เพราะฉะนั้น ชีวะก็ดี สัตวก็ดี ไมมีอยู ในนา้ํ หรอก, ขอพระองคจงทรงยอมรับความจริงขอน้ี ตาม ประการดังกลาวมาน้ีเถิด.” พระเจามิลินท : “ดีจริง พระคุณเจานาคเสน ปญหาที่มี โทษ ทานก็ไดจําแนกอยางเหมาะสมแลว พระคุณเจานาคเสน เปรียบเหมือนวา แกวมณีท่ีมีคามาก พอสงไปถึงชางแกวมณีผู ฉลาด อจั ฉรยิ ะ ชาํ นาญ การศกึ ษาแลว ก็พงึ ไดแ ตขอทนี่ า ยกยอ ง ขอที่นาชมเชย ขอท่ีนาสรรเสริญ, อีกอยางหนึ่ง แกวมุกดา พอ สงไปถึงชางแกวมุกดา ก็พึงไดแตขอท่ีนายกยอง ขอท่ีนาชมเชย ขอท่ีนาสรรเสริญ, อีกอยางหน่ึง ผาเน้ือดี พอสงไปถึงชางตัด เสื้อผาแลว ก็พึงไดแตขอที่นายกยอง ขอที่นาชมเชย ขอที่นา สรรเสริญ ฉันใด, พระคุณเจานาคเสน ปญหาท่ีมีโทษทานก็ได

วรรคที่ ๑, พุทธวรรค ๗๑ จาํ แนกไวอยางเหมาะสมแลว ฉันนั้นเหมือนกัน, ขาพเจาขอ ยอมรบั คําตามทีท่ านกลา วมาน้.ี ” จบอุทกสัตตชวี ปญ หาท่ี ๙ คําอธบิ ายปญหาท่ี ๙ ปญ หาเก่ยี วกับความเปน สตั วความเปนชวี ะ (เปน สิ่งมชี ีวิต คอื เปน อตั ตา) แหงนา้ํ ชอ่ื วา อุทกสัตตชวี ปญ หา. คําวา ชีวะก็ดี, สัตวก็ดี ไมมีอยูในน้ํา มีความหมาย เพยี งเทา น้วี า นา้ํ ไมใ ชชีวะ นาํ้ ไมใ ชสตั ว. คาํ วา นา้ํ ทีม่ กี ารทําใหวิปริตผิดแปลกไป คือน้าํ รอ นซึง่ เปนนาํ้ ทีท่ ําใหวิปรติ แปลกไปจากนํ้าเย็นปกติ. คาํ วา ปญหาทีม่ ีโทษ คือ ปญ หาท่ีมโี ทษคือขอท่ีชวนให เกดิ ความสําคัญผิด. จบคาํ อธิบายปญหาท่ี ๙ จบพุทธวรรคที่ ๑ ในวรรคน้ี มี ๙ ปญหา.

๗๒ กณั ฑท ี่ ๕, อนมุ านปญหา วรรคที่ ๒, นิปปปญจวรรค ปญ หาท่ี ๑, นปิ ปปญจปญ หา พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน พระผูมีพระภาค ทรงภาสิตความขอน้ีไววา ‘นิปฺปปฺจาราโม ภิกฺขเว วิหรถ นิปฺปปฺจรติโน – ดูกร ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงมีนิปปปญจ- ธรรม (ธรรมอันไปปราศเครื่องเน่ินชา) เปนท่ียินดี ยินดีใน นิปปปญจธรรมอยูเถิด’ ดังน้ี นิปปปญจธรรมเปน?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร โสดาปตติผลก็ชื่อ วานิปปปญจธรรม, สกทาคามิผลก็ช่ือวานิปปปญจธรรม, อนาคามิผลก็ช่ือวานิปปปญจธรรม, อรหัตตผลก็ช่ือวา นิ ป ป ป ญ จ ธ ร ร ม . ” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ถาหากวา โสดา- ปตติผลก็ช่ือวานิปปปญจธรรม. สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผลกช็ ่ือวา นิปปปญ จธรรม ไซร เพราะเหตไุ ร ภกิ ษุเหลา นน้ั จงึ ยงั เลาเรียน สอบถามซงึ่ สุตตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อทุ าน อิตวิ ตุ ตกะ ชาดก อพั ภตู ธรรม เวทลั ละ กนั อยู, ยังยุง เกี่ยวกบั งาน กอสราง ยังยุงเก่ียวกับทานและการบูชากันอยู, ภิกษุเหลานั้น จัดวากระทําการงานที่พระชินวรพุทธเจาทรงหามมิใชหรือ?” พระนาคเสน : “ขอถวายพระพร ภิกษุเหลาใดเลาเรียน สอบถามซึ่งสุตตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ, ยังยุงเกี่ยวกับงานกอสราง ยังยุง

วรรคที่ ๒, นิปปปญจวรรค ๗๓ เกี่ยวกับทานและการบูชากันอยู ภิกษุเหลาน้ันลวนชื่อวากระทํา เพ่ือบรรลุนิปปปญจธรรมทั้งส้ิน, ขอถวายพระพร ภิกษุเหลาใด เปนผบู รสิ ทุ ธติ์ ามสภาวะแลว มีวาสนาอันไดอบรมแลว ในภพกอน, ภิกษุเหลานั้นยอมสําเร็จเปนผูไมมีธรรมเคร่ืองเนิ่นชา (คือบรรลุ นิปปปญจธรรม) โดยขณะจิตเดียว, สวนภิกษุเหลาใดยังเปนผูมี ธุลใี นดวงตามากอยู, ภกิ ษุเหลาน้นั จะสําเร็จเปน ผไู มมีธรรมเครือ่ ง เน่นิ ชา ก็โดยอาศยั ประโยค (ความขวนขวายพยายาม) มีการเลา เรยี นเปนตน เหลาน.้ี ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา บุรษุ คนหนึ่ง หวา นพืชไว ในท่นี าดแี ลว ก็พึงใชความพยายามตามควรแกกาํ ลงั ของตน เกบ็ เก่ียวธัญญชาติ (ขาว) ได โดยเวนการลอมรั้ว, บุรุษอีกคนหน่ึง หวานพืชไวในท่ีนาแลว ก็ยังตองเขาปาตัดทอนไมและกิ่งกานมา ทําร้วั ลอ ม จงึ จะพึงเกบ็ เก่ยี วธัญญชาติได, ในบุรุษ ๒ คนนน้ั การ ตองแสวงหารั้วลอมของบุรุษ (คนที่ ๒) น้ัน ใด, การแสวงหาร้ัว ลอมน้นั ยอ มเปน ไปเพือ่ ประโยชนแ กธ ัญญชาติ, ขอถวายพระพร อุปมาฉนั ใด อปุ มัยก็ฉันนน้ั ภิกษเุ หลา ใดเปนผูบริสทุ ธ์ิตามสภาวะ อยูแ ลว มีวาสนาอนั ไดอบรมไวแลว ในภพกอน, ภกิ ษุเหลา นนั้ ยอม สําเรจ็ เปนผไู มม ธี รรมเครื่องเนิน่ ชา โดยขณะจิตเดยี ว เปรยี บไดกับ บรุ ุษผเู กบ็ เกย่ี วธญั ญชาตไิ ดโ ดยเวน ร้วั ลอ ม ฉะนน้ั , สวนวา ภกิ ษุ เหลาใดเปนผูมีธุลีในดวงตามาก, ภิกษุเหลาน้ันจะสําเร็จเปนผูไม มีธรรมเครื่องเน่ินชา ก็โดยอาศัยประโยคมีการเลาเรียนเปนตน

๗๔ กัณฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา เหลานี้, เปรียบไดกับบุรุษผูตองทาํ รั้วลอมกอน จึงจะเก็บเกี่ยว ธัญญชาตไิ ดฉ ะน้ัน. ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษคน หน่ึง พึงมีผลมะมวงเปนชอ ๆ อยูตอนบนของตนมะมวงตน ใหญ ๆ. ตอมา มีบุรุษผูมีฤทธิ์คนใดคนหนึ่ง (เหาะ) มายัง ตอนบนของตนมะมวงนั้น เก็บเอามะมวงของบุรุษผูน้ันไป, สวนผูท่ีไมมีฤทธ์ิ มาที่ตนมะมวงน้ันแลว ก็ตัดไมและเถาวัลย ผูกเปนพะอง แลวไตขึ้นตนมะมวงนั้นไปทางพะองน้ัน เก็บเอา ผลมะมวงไป. ในบุรุษ ๒ คนน้ัน การตองแสวงหาพะองของ บุรุษผูไมมีฤทธิ์น้ัน ใด, การตองแสวงหาพะองนั้น ยอมมีเพ่ือ ประโยชนแกผลมะมวง, ขอถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ ฉันน้ัน ภิกษุเหลาใดเปนผูบริสุทธิ์ตามสภาวะอยูแลว มีวาสนา อันไดอบรมไวแลวในภพกอน, ภิกษุเหลาน้ันยอมสาํ เร็จเปนผู ไมมีธรรมเครื่องเน่ินชาโดยขณะจิตเดียว เปรียบไดกับบุรุษผูมี ฤทธ์ิผูมาเก็บเอาผลมะมวงไป ฉะนั้น, สวนวาภิกษุเหลาใดเปน ผูมีธุลีในดวงตามาก, ภิกษุเหลาน้ันจะสําเร็จเปนผูไมมีธรรม เครื่องเน่ินชา ก็โดยอาศัยประโยคมีการเลาเรียน เปนตน เหลานี้ เปรียบไดกบั บุรษุ ผตู องใชพะองจงึ จะเกบ็ มะมว งได ฉะนนั้ . ขอถวายพระพร อีกอยางหน่ึง เปรียบเหมือนวา บุรุษคน หน่งึ เปนผตู อ งการทําผลประโยชน (รายได) เขาถึงความเปน เจาของ (เปน นาย) แลว กท็ ําผลประโยชนใ หส ําเรจ็ ไดลําพังตนคน เดียวเทานั้น, บุรุษผูมีทรัพยอีกคนหนึ่ง ตองใชทรัพยจางชาว

วรรคที่ ๒, นปิ ปปญ จวรรค ๗๕ บริษัท, โดยการอาศัยชาวบริษัท จึงทําผลประโยชนใหสาํ เร็จได ในบคุ คลทั้ง ๒ นั้น, การตอ งแสวงหาชาวบริษทั ของบุรุษผมู ีทรัพย ใด, การตองแสวงหาชาวบริษัทนั้น ยอมมีเพื่อผลประโยชน, ขอ ถวายพระพร อุปมาฉันใด อุปมัยก็ฉันนั้น ภิกษุเหลาใดเปนผู บริสุทธต์ิ ามสภาวะอยแู ลว มวี าสนาอนั ไดอ บรมไวแลวในภพกอน, ภิกษุเหลา นนั้ ยอ มบรรลุวสภี าวะในอภญิ ญา ๖ โดยขณะจติ เดียว เปรียบไดกับบุรุษผูทาํ ผลประโยชนใหสําเร็จไดโดยลาํ พังตนคน เดียว ฉะนน้ั , สวนวาภกิ ษุเหลาใดเปน ผมู ีธลุ ใี นดวงตามาก, ภิกษุ เหลานนั้ ยอ มทาํ สามญั ญผลใหส าํ เรจ็ ได โดยอาศยั ประโยคมกี าร เลาเรียนเปนตนเหลาน้ี เปรียบไดกับบุรุษผูทาํ ผลประโยชนให สําเรจ็ ไดโ ดยอาศยั ชาวบริษัท ฉะนนั้ . ขอถวายพระพร แมการเลาเรียน ก็จัดวามีอุปการะมาก, แมการสอบถาม กจ็ ดั วามอี ุปการะมาก, แมง านกอ สราง กจ็ ดั วามี อุปการะมาก, แมทาน ก็จัดวามีอุปการะมาก, แมการบูชาก็จัด วามีอุปการะมาก เม่ือกิจท่ีควรทําทั้งหลายเหลานั้นๆ มีอยู. ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวาบุรุษคนหน่ึง เปนผูคบหากับ พระราชา ไดทาํ อุปการคุณไวกับพวกอาํ มาตย พวกไพรพ ล นาย ประตู ทหารยามรักษาพระองค และชนชาวบริษัทท้ังหลาย, เมื่อ กิจที่ตองทําตกถึงแกบุรุษผูน้ัน บุคคลแมท้ังปวงก็ยอมเปน ผูอุปการะ (ชวยเหลือ) เขา ฉนั ใด, ขอถวายพระพร แมก ารเลา เรียน กจ็ ดั วา มอี ุปการะมาก, แมการสอบถาม ก็จัดวามีอุปการะ มาก, แมงานกอสราง ก็จัดวามีอุปการะมาก, แมทานก็จัดวามี

๗๖ กัณฑท่ี ๕, อนมุ านปญหา อุปการะมาก, แมก ารบชู า ก็จดั วา มอี ุปการะมาก เม่ือกจิ ท่คี วรทาํ เหลา นนั้ ๆ มอี ยู, ฉนั นน้ั . ขอถวายพระพร ถาหากวา ภกิ ษแุ มทกุ รูปลว นเปน ผมู อี ภิชาติบริสุทธ์ิ ไซร, กจิ ท่คี วรทําตามคําอนุศาสน ก็ ไมนา จะม.ี ขอถวายพระพร เพราะเหตุท่ีกิจท่ีควรทําดวยการสดับ ตรับฟงมีอยู แล, แมแตทานพระสารีบุตรเถระผูส่ังสมกุศลมูล ไวนับไดหลายอสงไขยกัปหาประมาณมิได แลวไดบรรลุท่ีสุด ยอดแหงปญญา ก็ไมอาจบรรลุอาสวักขยญาณไดโดยเวนการ สดบั ตรบั ฟง, ขอถวายพระพร เพราะเหตุนนั้ การสดับตรับฟงจงึ จดั วามีอปุ การะมาก, แมการเลาเรียน แมการสอบถาม ก็อยาง นั้นเหมือนกัน, เพราะเหตุน้ัน ท้ังการเลาเรียน การสอบถาม ก็นับวาเปนนิปปปญจธรรมได.” พระเจามิลินท : “พระคุณเจานาคเสน ทานไดทําให ขาพเจาเขาใจปญหาดีแลว, ขาพเจาขอยอมรับตามท่ีทานกลาว มาน.้ี ” จบนปิ ปปญจปญ หาท่ี ๑ คาํ อธิบายปญ หาท่ี ๑ ปญ หาเก่ยี วกับนิปปปญ จธรรม ชื่อวา นปิ ปปญจปญหา. ธรรม ๓ อยา ง คอื ตณั หา มานะ และทิฏฐิ ช่อื วา ปปญ จ- ธรรม เพราะอรรถวาเปนเครื่องเน่ินชาในสังสารวัฏแหงสัตว ทัง้ หลาย พระนิพพาน ชอ่ื วา นิปปปญ จธรรม โดยนิปรยิ ายเพราะ อรรถวา เปนท่ีไปปราศปปญจธรรมเหลาน้ัน. สวนมรรค ๔ มี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook