Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๑

Description: คลังธรรมเล่ม๑

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

i คลังธรรม (ล่ม ๑ โดย / พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองสี ล[ุ ร(ตไช) ป.ธ. ๙,ราชบัณฑิต และคณะ www.kalyanamitra.org

คลังธรรม เล่ม ๑ ISBN 978-974-493-800-5 รวบรวมเรียบเรียงโดย พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองติ อุ[รเตโช) ป.ธ. ๙,ราชบัณฑิต และคณะ สำ นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จัดพิมพ์เพื่อส่งเสริมการเผยแฝพระพทธศาสนา พิมพ์ครงแรก ะ กันยายน ๒๕๔๖ จำ นวน ๒,000 ชุด : โรงพิมพ์เลี่ยงเปึยง ๒๒ฅ ถนนบำรุงเมือง เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑0๒00 พิมพ์ครั้งที่สอง ะ เมษายน ๒๕๕๖ จำ นวน ๔.๑00 ชุด : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย ๑๒๙ หมู่ ฅ ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗0 โทร.0-๒๘00-๒๓๗๓-๔ หมวดรับงานพิมพ์ โทรyโทรสาร 0-๒๒๘๑-๗๗๙0 www.kalyanamitra.org

[๔] 3/0/ 0 <1/ ^ a/ คณะ^จดทาหนงสอคลงธรรม ๑. พระธรรมกิตติวงสั (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙,ราชบัณฑิต ๒. พระFเรีกิตติโมลี (สุรพล สุรพโล) ป.ธ. ๙ ฅ. พระโสภณธรรมวาที (บุญมา อาคมปุญโณ) ป.ธ. ๘ ๔. พระเมธีวราลังการ (ไพคิต ธม.มินฺโท) ป.ธ. ๙ ๕. พระมหาพร อิท.ธิวโร ป.ธ. ๙ ๖. พระมหากำพล คณงกโร ป.ธ. ๙ ๗. พระมหาวัฒนา จน.ทโชโต ป.ธ. ๙ ๘. พระครูโสภิตธรรมวังลี (บุญส่ง ธม.มรํลี) ป.ธ. ๔ ๙. นายเอนก ขำ ทอง นักวิชาการศาสนา ป.ธ. ๙ ๑๐. นายแก้ว ชิตตะขบ นักวิชาการศาสนา ป.ธ. ๙ บรรณาธิการ ะ พระธรรมกิตติวงศ์ พิสูจน์อักษร ะ พระศรีกิตติโมลี พระเมธีวราลังการ ฃ้อมูลและประสานงาน เอนก ขำทอง บรรณกรจัดรูปเล่ม ะ พระครูใสภิตธรรมวังสี ะ แก้ว ชิตตะขบ สุจินต์ ศรีปีญญาพล www.kalyanamitra.org

คำ นำ สำ นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีภารกิจที่สำคัญส่วนหนึ่ง คือส่งเสริมการเผยแผ่พระศาสนา โดยมุ่งหรังให้ประซาซนมีความรู้ ความ เข้าใจ และเข้าถึงหลักธรรมคำสอนทางพระศาสนา พร้อมทั้งสามารถนำไป ปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีคุณธรรม เป็น คนดีของลังคมซึ่งส่งผลดีต่อการสิบทอดพระศาสนาและดำรงความสงบสุข ของลังคมได้ โครงการจัดพิมพ์หนังสิอชุด \"คลังธรรม\" นี้จึงเป็นส่วนหนึ่งของการ สนับสนุนการดำเนินการตามภารกิจคังกล่าว ด้วยพิจารณาแล้วเห็นว่า หนังสิอชุดนี้พระธรรมกิตติวงสั{ทองดี สุรเตโซ)ป.ธ.๙,ราซบัณฑิต และคณะ ได้จัดทำขึ้นและเคยจัดพิมพ์เผยแพร่มาแล้วคราวหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยม เป็นอย่างมากจากทั้งพระสงฆ์และคฤหัสถ์ผู้สนใจใฝ่เรียนรู้พระธรรมดำสอน ของสมเด็จพระลัมมาลัมพุทธเจ้า ด้วยว่าหนังสิอชุดนี้ได้คัดกรองเฟินหา พระพุทธพจน์สำคัญที่ปรากฎในพระไตรป็ฎกมาจัดเป็นหมวดหมู่เพี่อความ สะดวกแก่การคืกษาค้นคว้าและอ้างอิง โดยประกอบด้วยพระบาลีที่เป็น พุทธพจน์ แหล่งที่มา อรรถกถา/ดำแปล และดำอธิบายย่อยในบางหัวข้อ ดังนั้นจึงได้สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ เพี่อถวายพระสงฆ์และมอบ ให้แก่สำนักเรียน/สถาบันการสืกษาต่าง^ ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป อันเป็นการ สนับสนุนการเผยแผ่หลักธรรมดำสอนทางพระพุทธศาสนาให้กว้างขวางมาก ยิ่งขึ้น www.kalyanamitra.org

[b] สำ นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ขอนัอมถวายการจัดพิมพ์ หนังสีอชุด \"คลังธรรม\" เป็นพุทธบูชา เพื่อให้เป็นประทีปธรรมแก่พุทธบริษัท ทุกหยู่เหล่าได้สิกษาเรียนรู้ต่อไป และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสีอชุดนี้จะ นำ มาซึ่งประโยชน์แก่ผู้ที่ได้รับไปเป็นธรรมบรรณาการอันเป็นอริยสมบัติ ส่วนดน ดามสมควร ขอกราบขอบพระคุณ พระธรรมกิดติวงสั และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ ได้ช่วยดำเนินการจัดพิมพ์หนังสิอชุด \"คลังธรรม\" นี้ให้สำเรีจเรียบร้อยและ เปียมด้วยธรรมอันบริบรณ์ทกประการ (นาายยฺูจิรราายยู ออิศศรราางงคกูร ณ อยยูู!ธยา) ผ้อำ นวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ www.kalyanamitra.org

คำ นำ (พิมพ์ครั้งแรก) ในการเทศนาแต่ละครั้งนั้นผู้เทศน์มักมีปัญหาเหมือนกันอยู่อย่าง หนึ่งคือต้องเสิยเวลาคิดเรื่องที่จะเทศน์หรือคิดบทอุเทศที่จะยกขึ้นเทศนา เบื้องต้นให้ตรงกับเรื่องที่จะเทศน์ ทำ ให้เสียเวลาไม่น้อย หนังสีอชุด \"คลัง ธรรม\" นี้ ก่อกำเนิดมาก็ต้วยเหตุผลข้อนี้ และเนึ่องจากวัดราซโอรสาราม เป็นศูนย์อบรมพระนักเทศน์ส่วนกลาง มีพระนักเทศน์ที่ฝานการอบรมไป แล้วจำนวนมาก ในแต่ละรุ่นนั้นพระนักเทศน์จะให้ความเห็นว่าน่าจะมี หนังสีอประเภทอำนวยความสะดวกในการเทศน์ ซึ่งเป็นหนังสีอรวบรวม ธรรมต่างๆ จากพระไตรป็ฎกบ้าง อรรถกถาบ้าง หรือจากที่อึ่นบ้าง โดย เฉพาะมีบาลีที่สามารถนำไปเป็นบทอุเทศไต้ ซึ่งมีหลักฐานอ้างอิงแน่นอนไว้ เป็นคูมีอในการเทศน์หรือแนะนำซาวบ้าน เพื่อเป็นหลักยึดหรือเป็นแนวที่ ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน ความเห็นและข้อแนะนำของพระนักเทศน์อย่างนี้เป็น แรงผลักดันหรือเป็นตัวเร่งสำคัญให้รืบจัดทำหนังสีอชุดนี้ออกมา ซึ่ง หมายความว่าตลาดต้องการอย่างนี้ ในการจัดทำหนังสีอชุดนี้นั้นก็อาศัยพระนักเทศน์ที่ฝานการอบรมแล้ว เป็นองค์คณะโดยต่างไปรวบรวมหัวข้อธรรมจากที่ต่างๆ พร้อมทั้งที่มา คำ แปล ตลอดถึงรายละเอียดอื่นๆ แล้วนำมาพิจารณาดัดสรรร่วมกันว่าจะ คงหัวข้อธรรมใดไว้ ซึ่งกว่าจะรวบรวมไต้ก็เสียเวลาไม่น้อย แต่ก็ไต้แนวทาง ที่ดีจากหนังสีอ ๒ เล่ม คือ ธรรมาวลี ซึ่งรวบรวมโดย พระธรรมวราจารย์ {แบน กิตฺติสาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร และคลังปริยัติธรรม ของนายแพทย์ www.kalyanamitra.org

[๘] เกิด ธนซาต ทำ ให้ประหยัดเวลาได้มากทีเดียว และข้อความบางตอนก็ได้ คัดมาจากหใฬัสีอทั้งสองเล่มนี้ จึงขอขอบพระคุณท่านเจ้าของหน'งสิอทั้ง สองท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย หนังสิอชุดนมี ฅ เล่ม สำ เร็จเป็นรูปเล่มได้ด้วยดีก็เพราะได้อาคัย องค์คณะทำงานหลายท่าน คังปรากฏส์อโนหนังสิอนี้แล้วส่วนหนี้ง และ ยังมีอีกหลายท่านที่ช่วยพิมพ์ด้นฉบับ ตรวจทานด้นฉบับเป็นด้น จึงขอ ขอบพระคุณทุกท่านไว้ ณ ที่นี้เช่นกัน สำ หรับทุนในการจัดพิมพ์นั้นได้รับงบประมาณในส่วนของการแก อบรมพระนักเทศน์จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแท่งชาติ ซึ๋งจัดงบ ประมาณทั้งในการแกอบรมและพิมพ์เอกสาร หนังสิอถวายแก่พระนักเทศน์ ทุกรูปทุกรุ่นติดต่อกันเรื่อยมา นับเป็นกุศลมหาศาลที่ช่วยกันอุปถัมภ์ธำรง รักษาพระพุทธศาสนาไว้ในรูปแบบการเผยแผ่ จึงขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ ^ห้การสนับสนุนงานแกอบรมพระนักเทศน์ด้วยดีตลอดมา หวังว่าหนังสีอชุด \"คลังธรรม\" ทั้ง ฅ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ พระนักเทศน์และผู้ที่สนใจตามสมควร ในอนาคตอาจมีคลังธรรมเล่ม ๔ ออกมาสนองความด้องการ เพราะหัวข้อธรรมที่ยังมีได้รวบรวมไว้ยังมีอีกมาก (พระธรรมกิตติวงศ์) วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๖ www.kalyanamitra.org

คำ ชี้แจง เพอเข้าใจเจตนารมณ์ทสำคัญของการจัดทาหนังสีอชุด \"คลังธรรม\" นี้ และเพี่อไข้หนังสีอชุดนี้!คัถูกต้องตามเจตนารมณ์ จึงขอขี๋[แจงทำความ เข้าใจไว้เป็นเบื้องต้นดังนี้ ๑. หนังสีอชุดนี้จัดทำขึ้นเพี่อเป็นคู่มีอสำหรับพระนักเทศน์เป็นหลัก มิไต้มุ่งให้เป็นหนังสิออ้างอิงทางวิชาการ หลักฐานและรายละเอียดต่าง จึงไม่สมบูรณ์เต็มที่ แต่ผู้มุ่งเข้งวิชาการหรือมุ่งหลักฐานอ้างอิงก็สามารถไป สิบต้นต้นตอเพี่อให้!ต้รายละเอียดโดยไม่ยากนัก ๒. หัวข้อธรรมที่รวบรวมไว้ มุ่งเน์นเฉพาะธรรมที่เห็นว่าจะเป็น ประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตประจำวันเป็นหลักใหญ่ กล่าวคือรวบรวมเฉพาะ ธรรมประ๓ทปหาคัพพธรรม(ธรรมที่ควรละ)ลัจฉิกาคัพพธรรม(ธรรมที่ควร เข้าใจให้แจ่มแจ้ง) และภาเวคัพพธรรม (ธรรมที่ควรเจริญ) เป็นส่วนใหญ่ ส่วนหัวข้อธรรมประ๓ทวิญเญยยธรรม (ธรรมที่ควรรู้) นั้นไต้รวบรวมไว้แต่ น์อย ทั้งนี้เพราะธรรมประ๓ทนั้นมีจำนวนมาก หากรวบรวมไว้ต้วยมากๆ ก็จะกลายเป็นตำราเล่มใหญ่ไป และแม้หัวข้อธรรมประเภทที่ต้องการก็ รวบรวมไว้!ม่หมดเสียทีเดียว ต้วยมีจำนวนมากเซ่นกัน จึงรวบรวมไว้เท่า ที่พอจร\" \" ฅ. ในการตั้งซื่อหัวข้อธรรม เซ่น ปุดคลกถา ลันติกถา ก็ตั้งไว้ เป็นคัวอย่างเท่านั้น โดยตั้งตามอัตโนมัติบัาง ตั้งตามแบบที่ท่านตั้งไว้ใน www.kalyanamitra.org

[๑๐] พระไตรปิฎกบ้าง ตั้งตามซื่อสูตรหรือเรื่องนั้นๆ บ้าง ขอให้ถือว่าเป็นซื่อ สมมติเท่านั้น ท่านผู้นำเรื่องนั้นๆ ไปเทศน์อาจตั้งซื่อเรื่องเป็นอย่างอื่นตาม ที่เห็นสมควรได้ตามถนัด ๔. ข้อย่อยของธรรมที่มีเลขกำกับไว้ว่า ๑. ๒. ฅ. เป็นด้นก่อน บอกที่มานั้น เป็นการเก็บความหรือสรุปเนื้อหาสาระไว้ตั้นๆ เป็นเบื้องด้น สำ หรับจดจาให้เห็นซัดเจน ซื่งเหมาะสำหรับจดจำไปพูดหรือเทศน์เพราะ นั้นและกระซับ แดใจความอาจไม่ตรงกับข้อความบาลีทั้งหมดทุกคาเพราะ เป็นการเก็บความหรือสรุปเนื้อหาเท่านั้น ส่วนรายละเอียดจริงๆ ต้องดูที่ บาลีและคำแปลประกอบ ๕. การนับข้อธรรมเป็น ๑. ๒. ฅ. นั้น ก็กำ หนดนับตามข้อความ ที่ปรากฏในบาลี เซ่น ทุกนิบาต มีหัวข้อธรรมหมวดละ ๒ ติกนิบาต มี หัวข้อธรรมหมวดละ ฅ แต่บาลีส่วนใหญ่มิได้กำหนดหัวข้อย่อยไว้ว่ามีเท่าไร ที่นับจำนวนไว้ให้นื้ก็ทำตามที่นิยมทำกันมาแต่อดีตบ้าง ตกลงกันว่าน่าจะ เป็นอย่างนั้นบ้าง หากไม่สะดวกใจที่จะนับก็ไม่ด้องนับก็ได้ หรือเห็นว่านับ ไม่ถูกต้องจะตัดหรือเพิ่มก็ได้ตามถนัด ทั้งนื้เพราะข้อสำคัญมิใซ่อยู่ที่จำนวน ข้อย่อยว่ามีเท่าไร แต่อยู่ที่เนื้อหาสาระแห่งธรรมที่นำเสนอไปนั้นครบถ้วน สมบูรถ!หรือไม่ ๖. สำ หรับบาลีที่ยกมาอ้างไว้นั้นมีที่มาหลายแท่ง และใส่อักษรย่อ ที่มาไว้ให้เพิ่อการลีบด้นด้นตอที่ถูกต้อง สำ หรับตัวเลขนั้นเป็นที่รู้กันในหมู่ นักวิชาการว่า ตัวเลขข้างด้นหมายถึงเล่มที่ ตัวเลขตรงกลางหมายถึงข้อที่ และตัวเลขสุดห้ายหมายถึงหน้า เซ่น ๑อ/๒ต/๑๕๑ ก็หมายความว่า เล่มที่ ๑๐ ข้อที่ ๒ต หน้าที่ ๑๕๑ ตังนื้ แต่บางแห่งไม่ได้บอกหน้าไว้เพราะหนังลีอ www.kalyanamitra.org

[๑๑] บางเล่มพิมพ์หลายครั้งหลายแห่ง หน้าไม่ตรงกัน จึงละไว้ บอกแค่เล่ม และข้อก็พอจะสิบค้นได้ และหากที่มาไม่ซัดเจนหรือไม่มีบาลีก็ละไว้ บอก แต่เพียงที่มาที่เป็นด้นฉบับ เซ่น คลังปรืยัติธรรม แต่เพื่อความสะดวกใน การสิบค้น จึงได้ทำบัญชีอักษรย่อบอกซี่อคัมภีรIว้ในหนังสิอนี้ด้วยแล้ว ๗. บาลีที่ยกขึ้นมาแสดงไว้นั้นสำหรับเป็นหัวข้ออุเทศหรือนิกเขปบท เบื้องด้นแห่งเทศนาตามคตินิยม บาลีตอนโดเห็นว่าไม่ยาวเกินไป เซ่นเป็น รูปคาถาอยู่แล้ว ก็คงไว้ทั้งหมดไม่ตัดย่อ ส่วนบาลีตอนโดเห็นว่ายาวเกินไป ก็ยกมาแสดงเป็นบางส่วน ที่เหลีอก็โส่เครื่องหมาย ... ไว้ ขอโห้เข้าโจว่า เครื่องหมายนั้1ด้ละบาล!ว้บางส่วน แต่บางแห่งเห็นว่าบาลีนั้นเป็นสิงสำคัญ สำ หรับผู้ที่สามารถแปลได้เองก็คงไว้ให้ แม้จะดูยีดยาวไปบ้างก็เป็นประโยชน์ แต่เมื่อนำไปเป็นหัวข้อเทศนาก็สามารถตัดทอนได้ตามที่ด้องการ ทั้งนี้ก็อยู่ โนดุลยพินิจของท่านผู้จะนำไปโข้เป็นสำคัญ ๘. คำ แปลบาลีนั้น ถ้าเห็นว่าซํ้ากับเนื้อหาที่แสดงไว้แล้วข้างด้นก็ จะละไว้ โส่เฉพาะข้อด้นกับข้อสุดท้ายเท่านั้น ส่วนที่ละไว้ก็พึงโส่ตาม ข้อความข้างด้นฺนั้น แต่ถ้าเห็นว่ามีข้อความแปลกกันหรือมีเนื้อหารายละเอียด มากกว่าที่แสดงไว้ข้างด้นก็จะโส่เต็มไว้ บางแห่งย่อบาลีไว้ แดในคำแปล จะโส่ข้อความที่เต็มสมบูรถ!]1ว้เพื่อเป็นข้อมูลว่าบาลีข้างด้นได้ละข้อความ อะไรไว้ ซึ๋งท่านที่รู้บาลีดีย่อมทำความเข้าโจได!ม่ยากนัก ๙. เนื่องจากหนังสิอที่นำมาเป็นหลักฐานอ้างอีงมีแหล่งที่มาหลายที่ และพิมพ์หลายครั้ง ข้อความส่วนโหญ่จะตรงกัน แต่ที่ไม่ตรงกันก็มีอยู่ ตังนั้น หากผู้สืกษาค้นคว้าเซิงวิชาการไปค้นหาเห็นว่าไม่ตรงกันก็พึงไปสิบค้นจากอีก สำ นักหนื่งหรือที่พิมพ์อีกปีหนื่ง ย่อมได้ความกระจ่างโนเรื่องนี้ หนังสิอที่มี www.kalyanamitra.org

[๑๒] ผิดเพี้ยนกันมากที่สุดคือมิลินทปัญหาและโลกนีติ สำ หร้บที่นำมาอ้างอิงใน หนังสิอนี้ พระไตรปิฎกภาษาบาลีไซ้ฉบับส์โงคายนา ที่พิมพ์เมี่อปี พ.ศ. ๒๕ฅอ อรรถกถาไซ้ฉบับของมหาจุฬาฯ ที่พิมพ์เมี่อปี พ.ศ. ๒๕ฅ๒ มิลีนทปัญหาไซ้ ฉบับของมหาจุฬาฯ ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔อ และโลกปีติ ไซ้ฉบับของ ราชบัณฑิตยสถาน ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ส่วนหนังลีอคลังปริยัติธรรม ไซ้ฉบับของนายแพทย์เกิด ธนซาด ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑ฅ เป็นหลัก ๑อ. ข้อความบาลีที่ยกมาไว้อาจมีซํ้าซ้อนกันบ้าง ทั้งนี้เพราะเจตนา ต้องการไห้ทราบว่าอ้าจะนับข้อความนั้นเป็นข้อย่อยก็จัดอยูไนหมวดนี้ แต่ อ้าจะไม่นับเป็นข้อย่อยก็จัดอยู่ไนหมวดนี้ ดังนี้เป็นต้น ไม่พิงเห็นว่า เป็นการซํ้าซ้อนกันเกินไป ๑๑. ไนการแปลนั้นไซ้ต้นฉบับพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยเป็นหลัก แต่ก็มีดัดเติมบ้างเพี่อไห้สะดวกไนการทำความเข้าไจ และย่อมมีปรากฏ อยู่บ้างที่ข้อความบาลีอย่างเดียวกัน แต่อยู่ต่างหมวดกัน คำ แปลกลับ ไม่เหมีอนกัน ทั้งนี้เกิดจากการปรับเปลี่ยนคำแปลไห้เหมีอนกันไนการตรวจ ต้นฉบับยังไม่หมด เพราะคำแปลจากต้นฉบับที่มาก็ยังมีที่คลาดเคลี่อนกัน อยู่บ้าง จำ ต้องมาปรับเปลี่ยนไหมโห้เหมีอนกัน ที่ยังไม่ปรับเปลี่ยนก็อาจ ยังมีหลงเหลืออยู่บ้าง ถึงกระนั้นก็ตามก็ต่างกันโดยพยัญชนะเท่านั้น ว่าโดย เนี้อหาสาระแล้วมื่ไต้แตกต่างกันเลย คณะญ้จัดทำ www.kalyanamitra.org

[๑๓] ^ a/ /ะ! ๔ อักษรย่อบอกชอคัมภืร พระบาลีไตรขฎก ๔๕ เล่ม พระบาลีวินัยปีฎค ๘ เล่ม เล่มท คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ วิ.มหาวิ. วินยป็ฏเก มหาวิภงฺคปาลิ (ปฟ้ม ภาโค) ๒ วิ.มหาวิ. ฅ วิ.ภิกขนี. วินยปีฎเก มหาวิภง.คปาลิ (ทุติโย ภาโค) ๔ วิ.มหา. ๕ วิ.มหา. วินยปีฏเก ภิกฺชุนีวิภง.คปาลิ วินยป็ฏเก มหาวคฺคปาลิ (ปฟ้ม ภาโค) ๖ วิ.จุลฺ. ๗ วิ.จุล.. วินยป็ฏเก มหาว?}คปาลิ (ทุติโย ภาโค) วินยปิฏเก จุล.ลวคฺคปาลิ {ปฟ้ม ภาโค) Co วิ.ป. วินยปีฏเก จุลฺลวค.คปาลิ (ทุติโย ภาโค) วินยปิฏเก ปริวารปาลิ เล่มท คำ ย่อ พระบาลีสุดต็นตปีฎก ๒๕ เล่ม ๙ ที.สี. ๑๐ ที.ม. คำ เต็ม ๑๑ ที.ปา. สุตฺตนุตป็ฏเก ทีฆนิกายสส สีลฤขนุธวคฺคปาลิ สุตฺตนุตปีฏเก ทีฆนิกายลฺส มหาวคฺคปาลิ สุฤตนุตป็ฏเก ทีฆนิกายสฺส ปาฏิกวคฺคปาลิ * ทมายถึง พระไตรปีฎคภาษามคธ ฉบับสังคีติ!ฅ่ปีฎค ะ ทยฺยรฎฺธสฺส สงฺคีติ!ต'!เฎคํ ๒๕๓๐ า^ทุธวชุ!ส(ฉบับส์งคายนา ในพระบรมรา^ปถัมภ์ ทุทธสักราช*๒๕ฅอ)และ พระไตร!เฎก ภาษาไทย ฉบับพลาง !ฉเมพระ!คียรติ า;{ทธสัคราช ๒๕๔๒ www.kalyanamitra.org

[๑๔] เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑๒ ม.มู. สุตฺตนุตปีฎเก มซฺฌิมนิกายสส มูลปเนฺณาสปาลิ สุตฺตนุตปีฏเก มซฺฌิมนิกายสฺส มชุฌิมปณฺณาสปาลิ ๑ฅ ม.ม. สุตฺตนุตป็ฏเก มซฺฌิมนิกายสฺส อุปริปณุณาสปาลิ ๑๔ ม.อุ. ๑๔ สํ.ส. สุตฺตนุตปีฏเก ฝยุต.ตนิกายสฺส สคาถาวคฺคปาลิ ๑๖ ฝ.นิ. สุตฺตนุตป็ฏเก ฝยุตฺตนิกายสฺส นิทานวคฺคปาลิ ๑๗ ฝ.ข. สุต.ตนุตปิฏเก ฝยุตฺตนิกายสฺส ขนุธวคฺคปาลิ ๑๔ ฝ.สฬา. สุต.ตนุตป็ฏเก ฝยุตุตนิกายสฺส สฬายตนวคฺคปาลิ ๑๙ ฝ.ม. สุตฺตนุตปีฏเก ฝยุตฺตนิกายสฺส มหาวคฺคปาลิ ๒๐ อง..เอกก. สุตฺตนุตป็ฎเก อง.คุตฺตรนิกายสฺส เอกกนิปาตปาลิ อง..ทุก. สุต.ตนุตป็ฏเก อง.คุต.ตรนิกายสุส ทุกนิปาตปาลิ อง..ดิก. สุต.ตนุตปีฎเก องฺคุต.ตรนิกายสฺส ดิกนิปาตปาลิ ๒๑ อง..จตุฤก. สุต.ตนุตป็ฏเก อง.คุตฺตรนิกายสฺส จตุกฺกนิปาตปาลิ ๒๒ องฺ.ปพ.จก. สุต.ตนุตป็ฏเก อง.คุต.ตรนิกายสฺส ปฌฺจกนิปาตปาลิ อง..ฉก.ก. สุตฺตนุตปีฏเก อง.คุตฺตรนิกายสฺส ฉฦกนิปาตปาลิ ๒ฅ อง..สต.ตก. สุตฺตนุตป็ฏเก องฺคุต.ตรนิกายสฺส สต.ตกนิปาตปาลิ อง..อฏจก. สุต.ตนุตปิฎเก อง.คุตฺตรนิกายสฺส อฏจกนิปาตปาลิ อง..นวก. สุตฺตนุตปิฎเก อง.คุต.ตรนิกายสุส นากนิปาตปาลิ ๒๔ องุ.ทสก. สุตุตนุตป็ฎเก องฺคุต.ตรนิกายสฺส ทสกนิปาตปาลิ อง..เอกาทสก. สุต.ตนุตป็ฏเก อง.คุต.ตรนิกายสฺส เอกาทสกนิปาตปาลิ ๒๔ ชุ.ชุ. สุต.ตนุตปิฏเก ชุทุทกนิกายสุส ชุทฺทกปาจปาลิ ชุ.ธ. สุต.ตนุตป็ฎเก ขททกนิกายร(ส ธมมปทปาลิ ชุ.อุ. สุตุตนุตป็ฎเก ชุทฺทกนิกายร{ส อุทานปาลิ www.kalyanamitra.org

[®^] เล่มท คำ ยอ คำ เต็ม ชุ.อิติ. สุตฺตนฺตป็ฎเก ชุทฺทกนิกายสฺส อิติวุตฺตกปาลิ ชุ.สุ- สุตฺตนฺตปีฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส สุตฺตนิปาตปาลิ ๒๖ ชุ.วิ. สุตฺตนฺตปีฏเก ชุท.ทกนิกายสุส วิมานวต.ลุปาลิ ชุ.ฟต. สุตฺตนฺตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เปตวตฺลุปาลิ ชุ.เถร. สุตฺตนฺตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เถรคาถาปาลิ ชุ.เถรี. สุตฺตนฺตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เถรีคาถาปาลิ ๒๗ ชุ.ซา. สุฤตนฺตปีฎเก ชุทฺทกนิกายสุส ซาตกปาลิ (ปฟ้ม ภาโค) ๒๘ ชุ.ชา. สุตฺตนฺตปีฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส ซาตกปาลิ (ทุติโย ภาโค) ๒๙ ชุ.มหา. สุตฺตนฺตปีฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส มหานิทฺเทสปาลิ ฅ๐ ชุ.จูฬ. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสุส จูฬนินุเทสปาลิ ๓๑ ชุ.ปฏิ. สุตฺตนุตปีฎเก ชุทฺทกนิกายสฺส ปฏิสมฺภิทามคฺคปาลิ ๓๒ ชุ.อป. สุตฺตนุตปิฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส อปทานปาลิ ๓๓ ชุ.อป. สุต.ตนุตปิฏเก ชุท.ทกนิกายสฺส อปทานปาลิ ชุ.พุทธ. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุท.ทกนิกายสฺส พุท.ธวํสปาลิ ชุ.จริยา. สุตุตนุตป็ฏเก ชุท.ทกนิกายสฺส จริยาปีฎกปาลิ พระบาลีอภิธรรม'!เฎก ๑๒ เล่ม เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๓๔ อภิ.สง.. อภิรม.มปีฏเก ธม.มสง.คณีปาลิ ๓๔ อภิ.วิ. อภิธม.มป็ฎเก วิภง.คปาลิ ๓๖ อภิ.ฮา. อภิธมฺมปิฏเก ธาตุกถาปาลิ อภิ.ปุ. อภิธมฺมปิฎเก ปุคฺคลปฌฺฌฤติปาลิ ๓๗ อภิ.ก. อภิธม.มปีฏเก กถาวต.ลุปาลิ www.kalyanamitra.org

[๑๖] คำ เต็ม เล่มที่ คำ ล่อ อภิรม.มป็ฏเก ยมกปาลิ อภิธม.มป็ฏเก ยมกปาลิ ฅ๔ อภิ.ย. อภิธมมปีฏเก ปฏจานปาลิ ฅ๙ อภิ.ย. อภิธมุมป็ฏเก ปฏจานปาลิ ๔๐ อภิ.ป. อภิธม.มป็ฏเก ปฎจานปาลิ ๔ร) อภิ.ป. อภิธมุมป็ฏเก ปฎจานปาลิ ๔๒ อภิ.ป. อภิธม.มปีฏเก ปฏจานปาลิ ๔ฅ อภิ.ป. อภิธม.มปิฎเก ปฏจานปาลิ ๔๔ อภิ.ป. ๔๔ อภิ.ป. คัมภีร์อรรถกถา* อรรถกถาพระบาลีวินัยปีฎก เล่มที่ คำ ล่อ คำ เต็ม ๑ วิ.อ. ๑ สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยอฏกฎจกถาย ปาราชิกกณฺฑ วณฺณนา (มหาวิภงควณฺณนา) วิ.อ.๒ สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยป็ฏกฏจกลาย สํฆาทิเสสาทิ กณฺฑวณุณนา (มหาวิภงฺควทเณนา) ฅ วิ.อ. ต สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยป็ฏกฏจกถาย มหาวค.คาทิ วณฺณนา (มหาซนุธกาทิวณฺณนา) กง.ขา.อ. กง.ขาวิตรณีอฏฺจกถา วิ.สงุคห. วินยสงคหอฏจกถา * หมายถึง คัมภีร์อรรอกลาภาษามคธ ฉบับมหาชุพาองกรฌราชวิทยาคัย ยกเวินคัมภีร์ ธม.มปทฎชกถา www.kalyanamitra.org

[๑๗] อรรถกถาพระบาลีสูตตันตปีฎก ทีฆนิกาย(๓ คัมภีร์ ผ ฒ่ม} เล่มที คำ ล่อ คำ เต็ม ๑ ที.สี.อ. สุมงุคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฏรกถาย สีลฤฃนฺธ วคุควณฺณนา ๒ ที.ม.อ. สุมงคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฏฺรกถาย มหาวคุค วณฺณนา ฅ ที.ปา.อ. สุมงุคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฎรกถาย ปาฎิกวคฺค วณฺณนา มัชผิมนิกาย(๓ คัมภีร์ ๓ (ล่ม) เล่มที่ คำ ล่อ คำ เต็ม ๑,๒ ม.มู.อ. ปปฌฺจลูทนิยา นาม มซฌิมนิกายฏฺรกถาย มูลปณุณาส วณฺณนา ฅ ม.ม.อ. ปปถเจสูทนิยา นาม มซฌิมนิกายฏฺรกถาย มซฺฌิมปถเณาส วณฺณนา ๔ ม.อุ.อ. ปปฌฺจสูทนิยา นาม มชุฌิมนิกาย/)รกถาย อุปริปณฺณาส วณฺณนา สังยุตดนิกาย (๕ คัมภีร์ ๓ เล่ม) เล่มที คำ ล่อ คำ เต็ม ๑ สํ.ส.อ. สารตุถปฺปกาสินิยา นาม ส์ยุตตนิกายฏฺรกถาย สคาถา วคฺควณฺณนา ๒ สํ.นิ.อ.,สํ.ข.อ. สารตฺถปฺปกาสินิยา นาม สํยุตฺตนิกายฎรกถาย นิทาน วคคขนธวารวคควณณนา www.kalyanamitra.org

[๑๘] เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ฅ สํ.สฬา.อ.,สํ.ม.อ. สารตถปฺปกาสินิยา นาม สํยุเคุตนิกายฏรกถาย สฟิายตนวคฺคมหาวารวคควณฺณนา อังคตตรนิกาย(๑๑ นิบาต ๓ เล่ม) เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ อง..อ. มโนรถปูรtรยา นาม องฺคุ(คุตรนิกายฏฺรกถาย เอกก นิปาตวณฺณนา ๒ อง..ทุก.อ, อง..ติก.อ., องฺ.จ(^ฤก.อ. มโนรถปูรณิยา นาม องฺคุต.ตรนิกายฎรกถาย ทุกาทิ นิปาตวเนณนา ฅ อง..ปฌฺจก.อ, อง..ฉก.ก.อ., อง..สต.ตก.อ., องฺ.อฏรก.อ., อง..นวก.อ., องฺ.ทสก.อ., อง..เอกาทสก.อ. มโนรถปูรณิยา นาม องฺคุต.ตรนิกายฎรกถาย ปฌฺจกาทิ นิปาตวณฺณนา ชุฑทกนิกาย คำ ย่อ คำ เต็ม ชุ.ชุ.อ. ปรมตฺถโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายฎฺรกถาย ชุท.ทกปารวณฺณนา ชุ.ธ.อ. ธม.มปทฏรกถา (ปรโม ภาโค - อฎรโม ภาโค)* (๘ เล่ม) ชุ.อุ.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุท.ทกนิกายฎฺรกถาย อุทานวณุณนา ชุ.อิติ.อ. ปรมตฺถทีปนิยา นาม ชุท.ทกนิกายฏรกถาย อิติวุต.ตกวณุณนา * หมายถึง อัมภีร์อรรถกถใรรรมบทภาษามคft ฉบับมหามภูฎราชวิทยาลัย www.kalyanamitra.org

[๑๙] ฟมที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ชุ.สุ.อ. ปรมตฺถโชติกาย นาม ชุททกนิกายqรกถาย สุตฺตนิปาตวณุณนา (๒ เล่ม) ชุ.วิ.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุทฺทกนิกายฏรกถาย วิมานวต.ถุวณฺณนา ชุ.เปต.อ. ปรมต.ถโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายฏรกถาย เปตวตฺถุวณฺณนา ชุ,เถร.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุทฺทกนิกายฏฺรกถาย เถรคาถาวณฺณนา (๒ เล่ม) ชุ.เถรี.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุทฺทกนิกายฎฺรกถาย เถรีคาถาวณุณนา ชุ.ชา.อ. ชุท.ทกนิกาเย ชาตกปาฉยา สํวณฺณนาภูตา ชาตกฏรกถา ปรโม ภาโค - ทสโม ภาโค เอกกนิปาตวณฺณนา - มหานิปาตวณฺณนา (๑๐ เล่ม) ชุ.ม.อ. สทฺธมุมปุปซฺโชติกาย นาม ชุท.ทกนิกายฏรกถาย มหานิV!เทส วณฺณนา ชุ.จู.อ. สทุธมุมปฺปชฺโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายฏรกถาย จูฬนิทเทส วณฺณนา ชุ.ป.อ. สท.ธม.มปปกาสินิยา นาม ชุท.ทกนิกายฎรกถาย ปฎิสมุภิทา มคฺควณฺณนา (๒ เล่ม) ชุ.อป.อ. วิสุทธชนวิลาสินิยา นาม ชุท.ทกนิกายฏฺรกถาย อปทานวณฺณนา (๒ เล่ม) ชุ.พุทธ.อ. มธุรตฺถวิลาสินิยา นาม ชุททกนิกายฏรกถาย พุทธวํลวณฺณนา ชุ.จริยา.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุททกนิกายฎรกถาย จริยาปีฏกวณฺณนา www.kalyanamitra.org

[๒๐] อรรถกถาพระบาลีอภิธรรมปีฎก คำ ย่อ คำ &ด็ม อภิ.สง..อ. อฏจสาลินิยา นาม อภิธม.มฏจกถาย ธม.มสงุคณีวณฺณนา อภิ.วิ.อ. สมฺโมหวิโนทนิยา นาม อภิธม.มฎฺรกถาย วิภงฺควณฺณนา อภิ.ปฌ.จ.อ. ปญฺจปกรณฏุจกถาย ธาตุกถาทิวณฺณนา คัมภีร์ที่นอกจากพระไตทิเฎกและอรรถกถา (เฉพาะที่อ้าง)* คำ ย่อ คำ เต็ม มิลินุท. มิสิใเทปฌฺหปกรณ (๑ เล่ม) วิสุviB. สุตฺตนฺตป็ฎเก จตุนฺนํ อาคมานํ สาธารณqจกถาภูตํ ภทฺทนฺต- สารตุถ. มทาพุทุธโฆสตฺเถเรน กตํ วิสุท.ริมคฺคปกรณํ (ปจโม ภาโค-ทุติโย ที.สิ. ฏี. ภาโค : ฉบับมหาจุฬา ฯ) (๒ เล่ม) สารตุถทีปนีฏีกา (ฅ เล่ม) ทิฆนิกาย สาธุวิลาสินี สิลก.ขนฺธวค.คอภินวฎีกา (๒ เล่ม) * ทมายถึง คัมภีร§กาภาษามคธ ฉบับมหาชุฬาลงกรณราชวิทยาลัย www.kalyanamitra.org

[๒๑] คำ ชี้แจงการใช้อักษรย่อ อักษรย่อบอกคัมภีร์ที่ใซ้อ้างอิงการทำเซิงอรรถใน หนังสือคลังธรรม นี้ พึงทราบว่า การอ้างคัมภีร์พระไตรปีฎก ได้อ้างเฉพาะเล่มและข้อ โดยเลขหน้า บอกเล่ม เลขหลังบอกข้อ คัวอย่าง เซ่น วิ.มหาวิ. ๑/๑/๑ หมายถึง วินยป็ฏเก มหาวิภงคปาลิ (ปฮโม ภาโค) เล่ม ๑ ข้อ ๑ หนัา ๑ หรือพระ บาลีวินัยป็ฎก มหาวิภังค์(ปฐมภาค) เล่ม ๑ ข้อ ๑ ในส่วนของการอ้างอิงคัมภีร์อรรถกถาและคัมภีร์ปกรถ!วิเสสที่นอกจาก พระไตรปีฎกและอรรถกถา ได้อ้างอิงเฉพาะเล่มและหน้าเป็นสำคัญ โดย บอกซื่อเต็มของอรรถกถานั้น ๆ ไว้ด้วย มีการอ้างอิง ๒ ลักษณะ คือ (๑) คัมภีร์ที่พิมพ์ ๒ เล่มจบ หรือ ฅ เล่มจบ ได้อ้างอิงเล่มและหน้า ประกอบภัน โดย เลขหนัา หมายถึงเล่มหรือภาค เลขหลัง หมายถึง หน้าของเล่มหนังสิอของคัมภีร์นั้น ๆ ตัวอย่าง เซ่น วิ.อ.๑/๑๑๘ หมายถึง สมนุตปาสาฑิกาย นาม วินยปีฎกฏฺเรกถาย ปาราชิกกฌฺฑวณณนา (มหา วิภงฺควณณนา) หรืออรรถกถาสมันตํปาสาทิกา แห่งพระวินัยป็ฎก เล่ม ๑ หน้า ๑๑๘ (๒) คัมภีร์อรรถกถาที่พิมพ์เล่มเดียวจบ โดยไฝจัดพิมพ์เป็นภาค ๑ ภาค ๒ ได้อ้างอิงเฉพาะหน้า ตัวอย่าง เซ่น ที.สี.อ. ๘๔ หมายถึง อุ[มงคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฏุธกถาย สีลกขนุธวคุควณฺฌนา หรือ อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี แห่งพระสุดตันดป็ฎก ทีฆนีกาย สิลฃันธวรรค หน้า ๘๔ อนึ่ง เนึ่องจากได้อ้างถึงคัมภีร์ฎีกาน้อยมาก จึงแสดงอักษรย่อบอกซื่อ คัมภีร์คังกล่าว เฉพาะที่อ้างถึง www.kalyanamitra.org

^''^/''' ■■\"v \"•' ■ ' ■:y, .^ ■\"■ ':' : ■ . '■/■^ร่: s • s '■ : \" ^ r';:- ■'. . ~:ท s '. \"■ I ■ ^: -'J\" : ;■ - ii'- ;-l -' 'โเ:. s r.- . •\" J s . .r ,• s *':\"\"'\" ร' 'X'V-Ivi 'u/'[v- , -'l'-' ■^' ^^'\"' ■' i -'-.lฯ;'\" . s s -iTr.•'. ,' \" >'^- - .- s ฯ::'\"'':;. :;- '^!\";:' -:-'''^ :-';-\"^^-fei -■ :-' .• i ' J • ■ :■ - - ;1. ' : 'ะ '• • ': . -:. ■= ' ': ีป' ;} ' i ''ะ ■■• \"V •■ , -- :ไ r ฟ้; ■ r. ■ฯ-'', C--:r -r^:- ■F^: 'นฺ; L;. -''c :'F\"--HU - ^.-' ■- !V% \" www.kalyanamitra.org

คลังธรรม เลม ๑ สารบัญ คำ นา หน้า คำ นำ พิมพ์ครั้งแรก [๕] คำ ซี้แจง [๗] อักษรย่อซื่อคัมภีร์ [๙] สารบัญ [๑๓] [๒๓] เรื่อง หมวด ๑ หน้า โอวาทปาดิโมกขกถา ว่าด้วย สัทธัมมคารวกถา ๑ หลักพุทธศาสน์ พุทธรัตนกถา ๒ การเคารพพระลัทธรรม ธัมมรัตนกถา ๓ สังฆรัตนกถา รัตนะคือพระพุทธเจ้า ฅ (ft เฃมสรณกถา รัตนะคือพระธรรม รัตนะคือพระสงฆ์ ๕ อักคทานานิสังสกถา ๕ ที่พึ๋งอันเกษม ๖ กาลทานกถา ๖ อานิสงส์ทานอันเลิศ โภชนทานกถา ทานที่ถวายตามกาล การถวายอาหาร www.kalyanamitra.org

[๒๔] คลังธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ๗ ๗ วิหารทานกถา การถวายวิหาร (ที่อยู่อาสัย) ๘ า]ญญนิธิกลา ขุมทรัพย์คือบุญ ๑อ ติโรคูฑฑกถา การทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย ๑๑ การทำบุญอุทิศแก่เทวดา ๑๑ เทวดาฑิสสกถา อานิสงส์แห่งทาน (นัยที่ ๑) อานิสงส์แห่งทาน (นัยที่ ๒) ๑๒ ทานานิสังสกถา (๑) ๑๒ ทานานิสังสกถา(๒) อานิสงส์การถวายอาหาร ๑๓ อันนทานกถา ความตาย (นัยที่ ๑) ๑๓ ความตาย (นัยที่ ๒) มรณกถา (๑) ๑๔ มรณกถา(๒) บุคคล ๔ ประเภท ๑๔ ๑๔ จqปุคคถกถา พระปัจฉิมโอวาท ๑๔ ๑๖ ปึจฉิมโอวาทกถา ผู้!ม่อาจครองเรือนให้ดีได้ ๑๖ ๑๗ นฆราวาสกถา เรื่องของคนเกียจคร้าน ๑๗ กีจของลูกผู้ชาย ๑๘ ฤสีฅijคคลกถา ๑๘ ใ^ริสกิจจกถา การสะสมทรัพย์ ๑๙ การใช้สอยทรัพย์ ๑๙ โภคสันนิจยกถา ๒๐ ปริโภคกถา เรื่องอดีตเปันด้น ๒๐ อติฅาทิกถา ความตาย มัจชุราชกถา กาลเวลาที่ผ่านไป อัจเจนติกถา ผ้ชบผอม สุ[สสันติกถา 1jญญวัฑผนกถา นิ นิ สีลาทิกถา วิธีพอกพูนบุญ นิดตกถา «!_ ๘!- .-V- . ชุติยกถา มิตร เพี่อน www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๒๕] นามคลา ว่าด้วย หน้า จิตตวสกถา เรื่องซื่อ ๒๑ โลกกถา ๒๑ อำ นาจจิต ๒๒ โกธกถา ๒๒ เรื่องโลก ๒๓ {[ญญาณกถา ความโกรธ ๒๓ เสฎฐชีวิตกลา ๒๔ ธัมมเตกถา ศรีสง่า ๒๔ ๒๕ นชีรติกถา เวิตประเสรีฐ ๒๕ ปริฟ้นถกถา ๒๖ ผู้ดำ รงอยู่ในธรรม ๒๖ วสกถา ๒๖ สิงไม่เสีอมสินไป ๒๗ นทเทกถา ๒๗ อันตรายแห่งธรรม ๒๘ สัทธาสิริกถา อำ นาจ ๒๘ อิจฉากถา ๒๙ ไม่พึงขายตัว ๒๙ สมณกถา ศรัทธาและสิริ ๓0 ปริพาชกถา ๓อ ความอยาก ๓๑ ชุกกฎ^ตกถา สมณะ ๓๑ สามัญญกถา การบวช ๓๒ โสตถิกถา ความชั่วและความดี สันติเปกจกถา ภาวะของสมณะ สุทธิกถา ปติฎฐากถา ความสวัสดี 1^ญญปาปกถา มัจชุเสนากถา ผู้มุ่งสันติ มชุสสายุกถา ความบริสุทธื๊ ที่พึ่งในปรโลก เรื่องบุญและบาป กองทัพมัจจุราช เรื่องอายุของมนุษย์ www.kalyanamitra.org

[๒๖] คลังธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ฅ๒ สัมมดิกถา เรื่องสมมติ ฅฅ ใ3กขกถา ฅฅ เรื่องทุกข์ อุ[ภาสิตวิดูกถา ฅ๔ มาตาปีดูโปสกกถา ผู้รู้คำ สุภาษิต ๓๔ อ[ุ ภาสิตกถา ๓๕ ผู้เลี้ยงบิดามารดา ๓๕ สัจอกถา ๓๖ สดิกถา วาจาสุภาษิด ๓๖ ๓๗ ปญญาลาภกถา คำ ส์ตย์ ๓๗ ๓๘ อใาสสตานิสังสฺกถา เรื่องสติ ๓๘ ปรมขันดิกถา ๓๙ กัลยาณปาปกถา การได้ปัญญา ๓๙ อานิสงส์อนุสติ ๔ว อทฬิฑทกถา ขันติชั้นยอด ๔อ ๔9 ชุฑธานุสาสนีกถา การทำดีทำชั้ว ๔๒ คนไม่จน ๔๒ อาดูเนยยกถา ๔๓ พระพุทธานุสาสนิ ๔๓ เสวนากถา ๔๔ อาทุไนยบุคคล ๔๔ อุปสันตกถา อุปนิสสยกถา การคบหา จักกธัมมกถา ผู้อยู่สงบสุข กัดคijคคลกถา ผู้เป็นหลักพึ๋งพิง สัปijริสกถา ธรรมดุจล้อ ปสังสนียคดลกถา ลักษณะอัครบุคคล กัดคทานกถา ลัดบุรุษ สารจัมมกถา ผู้ควรยกย่องสรรเสริญ อุปาสิกากถา ทานอันเลิศ ธรรมที่เป็นแก่นสารของซีวิด ลักษณะอุบาสิกา www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๒๗] เรื่อง ว่าด้วย ห'พา ทานเจตนากถา เจตนาในการให้ทาน ๔๕ ๘๕ อเวรึกถา ^ฝมีเวร ๔๖ นาถกถา ที่พึ่ง เมตตากถา เรองเมตตา ๔๖ ๔๗ มโนกถา ใจ ๔๗ เรื่องเวร เวรกถา ๔๘ อสารใJคคลกถา กตใ]ญญกถา ผลของบุญ ๔๘ ปมัตตกถา คนประมาท ๔๙ อัปปมาทกถา ๔๙ ยสวัฑฒนกถา ความไม่ประมาท ๕๐ พาลฟ้ณฑิตกถา ธรรมเป็นเครื่องเจริญยศ {[ญญาปาสาทกถา ความแตกต่างระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ๕๐ อัปปมัตตกถา จิตตทมถกถา ผู้ขึ้นปราสาทปัญญา ๕ จิตตรักฃกถา ๕๑ คนไม่ประมาท กายจิต^ปมากถา การแกฝนจิต ๕๒ กายกถา การรักษาจิต ๕๒ มิจฉาปณิหิตจิตตกถา ๕ฅ อุปมากายและจิต มุนีกถา ร่างกาย ๕๓ อัตตโนคัมมกถา ๕๔ จิตที่ตั้งไว้ผิด ๕๔ พาลกถา ๕๕ ปฏิปทามุนี ชิวหากถา มองแต่เรื่องตัวเอง ญัตตกถา ลิ้นรู้รสอาหาร ๕๕ ๕๖ วิชาความร ๕๖ www.kalyanamitra.org

[๒๘] คลังธรรม หนัา เรอง ว่าด้วย ๕๗ ๕๗ พาลภิกชุกถา ภิกษุพาล ๕๘ ผู้บอกขุมทรัพย์ ๕๘ นิธิปวัดดากลา ๕๙ ปียคคลกถา บุคคลผู้เป็นที่รักของคนดี ๕๙ กิจจกถา ๖0 กิจกรรมของคน ๖0 สัป1jริสกถา ๖๑ สัตบุรุษบัณฑิต ๖๑ ปริฬาหกถา ๖๒ ความเร่าร้อน ๖๒ ฎมิรามเณยยกถา ๖ฅ สังคามชุดดมกถา ภูมิภาคอันน่ารื่นรมย์ ๖๓ อาชุวัฑผนธัมมกถา ผู้ยอดเยี่ยมในสงคราม ๖๔ ชุสสีลกถา ธรรมเป็นเครื่องเจริญอายุ ๖๔ ฤรดกถา ผู้Iม่มีดีล ๖๕ ๖๕ ^ญญกถา คนเกียจคร้าน ๖๖ ๖๖ ปาปอุจจยกถา การทำบุญ ๖๗ าเญญอุจจยกถา ๖๗ การสังสมบาป ๖๘ ปาปกถา ๖๘ การสังสมบุญ ใ]ญญาจินกถา คนชั่ว นัดถิปาปกถา ปจ&จติปาปกถา ผู้สังสมบุญ ชรานัจอุกถา บาปไม่มิผลแก่ผู้!ม่ทำ สัพภิธัมมกถา บาปตามสนอง โดกถา ความแก่และความตาย อดดนาถกถา เรื่องธรรมของสัตบุรุษ 'อุสสีลกถา คนรู้น้อย อสาชุกถา การพึ่งตน ผู้ทุดีล ความไม่ดีทำไดีง่าย www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๒๙] pi0^ทธิคลา ว่าด้วย หน้า อัตตทัดถกถา ความบริสุทธและไม่บริสุทธี้ ๖๙ นโลกวัฑฒนกถา ๖๙ ประโยชน์ตน ๗อ สุจริฅธัมมกถา ไม่ควรเป็นคนรกโลก ๗อ ๗๑ กิจฉกถา การปฏิบัติหน้าviให้ดี ๗๑ ๗๒ 1Jริสาชัญญกถา ส์งที่ได้โดยยาก ๗๒ ๗ฅ อ[ุ ขกถา บุรุษอาชาไนย ๗๓ ๗๔ ดูปสันฅกถา ส์งนำสุขมาให้ ๗๔ ๗๕ ปรมกถา ผู้อยู่สงบฟิข ๗๕ สังวาสกถา ๗๖ ปียกถา ส์งที่เป็นอย่างยิ่ง ๗๖ ๗๗ อุคตมปฎิคคาหกกถา การอยู่ร่วมกัน ๗๗ ๗๘ ชยกถา ยามหาเสน่ห์ ๗๘ ๗๙ ติฐานกถา ผู้ต้อนรับที่สำคัญ ๗๙ ๘๐ นินทากถา วิธีเอาชนะคน ๘๐ อนินทิตกถา นัตถิกถา ฐานะ ต ประการ วัชชกถา ฟ้ณฑิตกถา การนินทา ธัมมธรกถา เถรธัมมกถา ^ม่สมควรถูกตำหนิ อาทัปปกถา อนิจจกถา ส์งที่ไม่มีอะไรเสมอ ชุกฃกถา โทษ ผู้เป็นบัณฑิต ผู้ทรงธรรม คุณสมบัติของเถรบุคคล ความเพียร เรื่องอนิจจัง เรื่องทุกขัง www.kalyanamitra.org

[๓๐] คลังธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ๘๑ ๘๑ อนัตตากถา เรื่องอนัตตา ๘๒ ๘๒ อลสกลา คนเกียจคร้าน ๘๓ ๘๓ วนกถา ป่ากิเลส ๘๔ ๘๔ วิ ลธุ[ฃกถา สุขอันไพบูลย์ ๘๕ ^ม่พ้นจากเวร ๘๕ เวราปริ14ตตกถา ๘๖ ^ด้รับการบูชาในที่นั้น^ ๘๖ ดัตถ^ชิตกถา ๘๗ ปากฏใ]ดคลกถา ^ดดเด่น ๘๗ ๘๘ ฟ้จจันตนครกถา ปัจจันตนคร ๘๘ ทันตกถา ๘๙ ถูญชรกถา ผู้ที่ลกแล้ว ๘๙ สูฃกถา ๙๐ ช้างตกหล่ม ๙๐ ภิกขุกถา ๙๑ มขุรภาสิตกถา สิงนำสุขมาให้ ๙๑ ๙๒ เมตตาวิหารีกถา ลักษณะของภิกษุ 6(ๆร1 โอฆติณณกถา ถ้อยคำที่ไพเราะ ขุปสันตกถา ผู้อยู่ด้วยเมตตา อัตตโจทนากถา อัตตนาถกถา ผู้ข้ามโอฆะได้ ฑหรกถา ผู้สงบระงับ อาจริยนมการกถา การเตือนตน พราหมณกถา การพึ๋งตน ปรมอุ[ขกถา ภิกษุหนุ่มแน่น อธิวาสนขันติกถา การนอบน้อมอาจารย์ กัมมกิริยากถา ผู้ประเสริฐ สุขอย่างยิ่ง ความอดกลั้น การทำกรรม www.kalyanamitra.org

เรื่อง ศารบัญ [๓๑] สามัคคีกถา ว่าด้วย หน้า 1]ญญลักขณกถา ความสามัคคี ๙ต ปุญญกามกถา ๙ฅ ลักษณะบุญ ๙๔ ฟ้ณฑิตกถา ผู้ต้องการบุญ ๙๔ ๙๕ มัดถิฅลุ[ฃกลา ลักษณะบัณฑิต ๙๕ สังกิยาjคคลกถา ๙๖ ความสุฃที่ปรารถนา ๙๖ ฤทธกถา คนที่ถูกระแวง ๙๗ ๙๗ ชุฏฐกถา คนโลภ ๙๘ า^ฬหกถา คนโกรธ ๙๘ ๙๙ พรหมกถา คนหลง ๙๙ ปราภวเ^ขกถา พระพรหมของบุตร ๑00 ๑00 คัมมกถา ปากทางแห่งความเส์อม ๑0๑ ๑0๑ 1]คคถกถา การกระทา ๑๑๒ ชีวิตกถา บุคคลผู้1ต้รับความสำเร็จ ๑๑๒ มรณภยกถา ชีวิต ๑๑๓ มรณภัย ๑๑๓ มัจชุกถา มัจจุคีอความตาย ๑๑๔ คัมมกถา ๑๑๔ อัปปชีวิตกถา เรื่องกรรม อวเสสกถา ชีวิตลัน มานกถา สิงที่เหลือของคนตาย ภิกชุปฏิปทากถา ความถือตัว อาเปาทานกถา ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุ ทักขิณากถา ธัมมาธัมมกถา ความไม่ถือมั่น ทักษิณาทาน ธรรมและอธรรม www.kalyanamitra.org

[๓๒)] คลังธรรม หน้า เรอง ว่าด้วย ๑ว๕ ๑0๕ อโมฆทิวสกลา วันคืนไฝสูญเปล่า ๑อ๖ ๑อ๖ สีลกถา(๑) เรื่องคืล (นัยที่ ๑) ๑อ๗ สึสกถา(๒) เรื่องคืล (นัยที่ ๒) ๑อต) สีลกถา(๓) เรื่องคืล (นัยที่ ต) ๑อ๘ สีถกถา(๔) เรื่องคืล (นัยที่ ๔) ๑อ๘ ๑อ๙ สัจจวาจากถา คำ สัตย์ ๑อ๙ ตถาคตกถา เรื่องพระตถาคต ๑๑อ ๑๑อ กามกถา พิษกาม ๑๑๑ ๑๑๑ ปาภฎกถา ทรัพย์ต้นทุน ๑๑๑ ผู้มีเทวธรรม เทวธัมมกถา ๑๑๒ ปาณฆาดีกถา คนที่ชอบฆ่า ๑๑๒ ธัมมโกวิทกถา ผู้ฉลาดรู้ธรรมเนียม ๑๑ต ๑๑ต นิกดิปญญากถา ผู้ใขัปัญญาหลอกคนอื่น ๑๑๔ อมิตตเสยยกถา ความดีของสัตรู ๑๑๔ ชุมเมธกถา ผู้ต้อยปัญญา ๑๑๕ ๑๑๕ อชุปายกถา ความไม่แยบยล ๑๑๖ นักขัตตกถา ฤกษ์ยาม ชิตกถา ชัยชนะ อกดัญญกถา(๑) อกสัญญกถา(๒) คนอกตัญฌู (นัยที่ ๑) สัมพชุลญาติกถา คนอกตัญฌู (นัยที่ ๒) กัลยาณโมกขกถา การมีญาติมาก เจสันติกถา การเปล่งวาจางาม วสสาสกถา ความต้องการ ความไว้วางใจ www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๓๑)] สังขารกถา ว่าด้วย หน้า ปมัตดกถา เรื่องสังขาร ๑๑๖ นวเสกถา ๑๑๗ ผู้ประมาทมัวเมา ๑๑๗ สิปปกถา (๑) สิปปกถา(๒) สถานที่ทีไม่ควรอยู่ ๑๑Co ๑๑Co นาจินฅยันตกถา สืลปวิทยา (นัยที่ ๑) ๑๑Co ยสัสสีกถา สืลปวิทยา (นัยที่ ๒) ๑๑๙ วายามกถา คนคิดไม่เปีน ๑๑๙ ๑๒0 กัลยาณปาปกกถา ผู้มียศ ๑๒0 ๑๒๑ สันชุฏเกถา ความพยายาม ๑๒๑ ๑๒๒ กัมมันตกถา ผลดีผลเสิย ๑๒๒ มิตตธัมมกถา ความยินดีพอใจ ๑๒๓ ปราภวกถา ๑๒๓ วิสสาสกถา การงานที่รีบร้อนทำ ๑๒๔ กัลยาณธัมมกถา ๑๒๔ สัพภิสันถวกถา มิตรผู้มีมิตรธรรม ๑๒๔ ๑๒๔ มหากถา ยามเส์อม ๑๒๖ ความไวใจ ๑๒๖ กาสาวารหกถา ๑๒๗ ผู้มิกัลยาณธรรม ๑๒๗ กรณึยกถา วิคติจฉกถา การคบหากับคนดี กาลกถา ผู้ใหญ่ มัณฑกถา ผู้สมควรห่มผ้ากาสาวJ เฑสสกถา กิจที่พึงทำ มัตดัญญตากถา ผู้ทมตอยากแล้ว กาลเวลา การลงโทษ คนที่น่ารังเกียจ ความรู้จักประมาณ www.kalyanamitra.org

[๓๔] คลังธรรม หนัา เรื่อง ว่าด้วย ๑๒๘ ๑๒๘ ม1เรภาสิดคลา ถ้อยคำที่อ่อนหวาน ๑๒๙ เสยชุปเสวนาคลา การคบหากับคนประเสริฐ ๑๒๙ เรื่องของคนมีใ สัคขิคคลา ๑ฅ0 ผู้ทำ บุญไว้ดี ๑๓0 คดใ]ญญคลา ๑๓๑ ความบากบั่น ๑๓๑ ปรัคคมคลา .การให้ การแสดงความสนิทสนมเป็นต้น ๑๓๒ ทานคลา ๑๓๒ ผู้สมควรแก่เครื่องบูชา สัญไญคาทิคลา ๑๓๓ อย่าถือตัว ๑๓๓ นมานคลา ๑๓๓ การอยู่ต่างแดน วิเทสวาสคลา ๑๓๔ ที่ลับไฝมีในโลก ๑๓๔ นัดลิรโหคลา สิงที่ควรระแวง ๑๓๔ สังคิสัพพคลา ๑๓๕ ผู้ยอดเยี่ยม ๑๓๖ ชุดดริดรคลา ๑๓๖ สำ คัญที่ใจ ๑๓๗ มโนคลา คนดีแต่พูด ๑๓๗ ๑๓๘ ภาสมานคลา ยอดภรรยา ๑๓๘ ๑๓๙ ปรมภริยาคลา ความสุข อ[ุ ฃภาวคลา ผู้แล่นไปตามกระแส ปรโฆสาใjสาริคลา ผู้!ฝเชื่อคนอื่นง่าย นปรนัดดิยคลา วัย วยคลา สิงที่ไฝควรโศกเศร้าถึง อน ผู้ปราศจากความหวัง นิราสาคลา นสาชุคลา คนไฝดี ใ]งควคลา โคจ่าฝูง www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๓๕] ปริกขวันตกถา ว่าด้วย หน้า อมิฅฅวสกถา ผู้รอบคอบ ๑ฅ๙ กาลัญชุตากถา ๑๔0 ผู้ตกอยูโนอำนาจสัตรู ๑๔อ ปรวจนกถา ๑๔๑ ความรู้จกกาล ๑๔๑ สืลุตตมกถา ๑๔๒ ^ธสีถกถา คาพูดของคนอื่น ๑๔๒ ๑๔๓ อกัถยาณมิตตกถา ตีลยอดเยี่ยม ๑๔๓ ๑๔๔ รสกถา สืลที่บริสุทธิ้ ๑๔๔ ๑๔๔ ปชุฎฐคคถกถา ผู้มิโซ่มิตรแท้ ๑๔๔ ๅฑฒิกถา ๑๔๖ รส ๑๔๖ เวรกถา (๑) ๑๔๗ เวรกถา(๒) ผู้ประทุษร้ายคนอื่น ๑๔๗ ^กถา ๑๔๔ ความเจริญ ๑๔๔ นใ]กขาปญจกถา ๑๔๙ เรี่องเวร (นัยที่ ๑) ๑๔๙ เวทจรณกถา เรื่องเวร (นัยที่ ๒) ๑๔อ วิชาความรู้ ๑๔อ นวสตีกถา ๑๔๑ อวิเสสกรกถา ความรู้ท่วมนัวเอาตัวไม่รอด ลักขึอลักขีกถา ธัมมาทิกถา ผลของวิชาและจรณะ ญาติสังคหกถา สถานที่ที่โม่ควรอยู่ ฟ้ญชลิกกถา สถานที่ทำใท้คนแผกกันไม่ได เสวนากถา คนโชคดีโชคร้าย ยาจนกถา ธรรมเป็นตัน ทิสกถา การสงเคราะห์ญาติ ผู้ประนมกร การคบหา การขอ ผู้เป็นนัวหนัาคน www.kalyanamitra.org

[๓๖] คลังธรรม — เรื่อง ว่าด้วย หน้า ปริหารกกถา (๑) ผู้บริหารหมู่คณะ (นัยที่ ๑) ๑<4๑ ปริหารกกถา(๒) ผู้บริหารหมู่คณะ (นัยที่ ๒) ผู้บำ เพ็ญประโยชน์ ๑(รเ๑ อตถจาริกถา คำ ที่ไม่ควรพูด ๑๕๒ ๑๕๒ วาจากถา จิตสำนึกในตัว ๑๕ฅ ๑๕๓ สกทุทธิกถา คนกตัญฌู ๑๕๕ กดัญญกถา ๑๕๕ บัณฑิตสตรี ๑๕๕ ปีณฑิตากถา ๑๕๕ ธิรวิสยกถา วิสํยนักปราชญ์ ๑๕๖ สา^กถา ชั้นแห่งความดี ๑๕๖ สมบัดีที่ขนออกดีแล้ว ๑๕๗ ^นีภฅกถา ๑๕๗ การให้กับการรบ ๑๕๘ ทานยุทธกถา การเลือกให้ทาน ๑๕๘ วิเจยยทานกถา การไม่ทำบาป ๑๕GC* ปาปากรณกถา ๑๕๙ พรหมจริยกถา คุณของพรหมจรรย์ ๅฑฒสาสนากรกถา ๑๖๐ ^ม่ทำตามคำสอนของผู้ใหญ่ ๑๖๐ สหายกถา ๑๖๑ สหายที่ดี ๑๖๑ ป็กฃปาตึกถา นกแตกฝูง ๑๖๒ ๑๖๒ วัณณกถา ผิวพรรณผุตผ่อง พาลเสวนากถา การคบหากับคนพาล โกธกถา ความโกรธ โลภกถา ความโลภ ความดีที่ทำในคนไม่ดี อสัป1jริสกตกถา ความดีที่ทำในคนกตัญฌู กดผญกตกถา ผู้เปียตเบียนบิตามารตา มาตาป็ชุหิงสกกถา www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๓๗] มาตาบชุรุบฏฐานกถา ว่าด้วย หน้า ธัมมจารีกถา นาสิเทกถา การบำรุงเลี้ยงบิดามารดา ๑๖๓ มัจฉรีกถา ๑๖๓ ผู้ประพฤติธรรม ๑๖๔ เฐากถา ๑๖๔ คนที่ไม่ควรเข้าใกล้ ๑๖๔ อัปปทักขิณากถา คนตระหนี่ ๑๖๕ ที่พึ๋งโนปรโลก ๑๖๕ นเวรกถา ทานที่ให้จากของน้อย ๑๖๖ เวรไม่มี ๑๖๖ บัณฑิตธัมมกถา ๑๖๗ ธรรมดาของบัณฑิต ๑๖๘ เมตดิกถา ๑๖๘ การผูกไมตรีไม่จืดจาง ๑๖๙ โสตถิกถา ๑๗๐ สหายโสตถิกถา สวัสติมงคล ๑๗๐ มิตตโสตถิกถา ๑๗๑ ทารโสตถิกถา สวัสติมงคลในสหาย ๑๗๑ ราชโสตถิกถา สวัสติมงคลในมิตร ๑๗๒ สัคคโสตถิกถา สวัสติมงคลในภรรยา ๑๗๒ อรทันตโสตถิกถา สวัสติมงคลในพระราชา ๑๗๓ พาลธัมมกถา สวัสติมงคลในสวรรค์ ๑๗๓ ธีรธัมมกถา สวัสติมงคลในพระอรหันต์ ๑๗๔ ๑๗๔ กามกถา (๑) ธรรมดาของคนพาล ๑๗๕ กามกถา(๒) ธรรมดาของธีรซน มัจชุปรายนกถา กาม (บัยที่ ๑) มัอจกยกถา กาม (นัยที่ ๒) เอกาทัจจกถา กิจจกรณกถา ผู้ปายหน้าไปหามฤตยู ภัยประจำของส์เตวโลก ตัวคนเดียว การทำกิจ www.kalyanamitra.org

[๓๘] คลังธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ๑๗๕ ๑๗๖ โคสิงคิกถา อุปมาเหมือนเขาโค ๑Gใ!๖ ๑๗๗ ป็ญญาคิดดิกลา ความอิ่มด้วยปัญญา ๑๗๗ ๑๗๘ ทัชชากถา พึงให้ทาน ๑๗๔ เอค้นดกถา ๑๗๙ ทำอยู่ท่าเดียว ๑๗๙ อา{มัชผกถา ๑๘อ เดินสายกลาง ๑๘๑ สามัคคีกถา ความสามัคคี ๑๘๑ ๑๘๒ สมุททปารกถา อุปมาเหมือนฝืงทะเล ๑๘๒ ๑๘๓ นินทากถา เรื่องการนินทา ๑๘๓ จิตดกถา ๑๘๕ ความคิด ๑๘๕ 1]ก'ฐปนิดกถา ๑๘๕ ผู้ตกอยู่ในห้วงทุกข์ ๑๘๕ อจินดิดกถา อริยธัมมกถา สิงที่โม่คาดคิด ๑๘๖ สดธัมมกถา ๑๘๖ ธรรมดาของอารยซน ๑๘๗ มิดดาา{ก้มปกถา ๑๘๗ ธรรมดาของคนดี เสจนกถา การอนุเคราะห์เพื่อน สีดิฎดกถา ส้มพา]ลญาดิกถา การประพรมนํ้า มิดดา]พภกถา คนที่เย็นลงแล้ว มืญาคิมากเป็นการดี ดาผกถา ผู้ทรยศเพื่อน ปืญญาเสยยกถา ก้ปปปญญากถา สิงด้านทาน พลวพาลกถา ปัญญาประเสริฐ สิริกถา ผู้ด้อยปัญญา พาลกถา คนโง่แต่มืกำลัง สิริมงคล คนโง่ www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๓ส] สังหีรป็ญญากถา ว่าด้วย หน้า หืนชัจจกถา ผู้มีป้ญญาอ่อนด้อย ๑(ทCo ๑(นGo สหวใสกถา คนมีกำเนิดตาด้อย ๑๘๙ เสวนากถา การอยู่ร่วมกัน ๑๘๙ ๑๙0 พาสูปเสวนากถา การคบหา ๑๙อ ธีรูปเสวนากถา ๑๙๑ การคบหากับคนพาล ๑๙๑ สันตาสันตกถา ๑๙๒ อนิสัมมกถา การคบหากับนักปราชญ์ ๑๙๒ นิสัมมกถา คนดีและคนชั่ว ๑๙ฅ นิสัมมทัณฑกถา กิจที่ไม่พินิจทำ ๑๙ฅ ชุยหกถา กิจที่พินิจทำ ๑๙๔ อัจเจนดิกถา ๑๙๔ การลงโทษโดยรอบคอบ ๑๙๔ ปริหารกถา (๑) ๑๙๔ ปริหารกถา(๒) ความลับ ๑๙๖ ปริหารกถา(๓) ๑๙๖ กาลเวลาล่วงไป ๑๙๗ อสังกิตกถา ๑๙๗ า]ถถภกถา หลักการบริหาร ๑๙๘ หลักการบริหาร ๑๙๘ มทกถา หลักการบริหาร ๑๙๙ ๒00 ปญญาพลกถา ไม่ทำตนให้เขาระแวง ฟ้ญญากถา (๑) สามีภรรยาที่หาได้ยาก ฟ้ญญากถา(๒) ความมัวเมา ขันดิกถา พลังปัญญา ^ตตมขันดิกถา ปัญญา ปัญญา สีลวันตกถา ความอดทน ความอดทนชั้นยอด ลักษณะของผ้มีดีล www.kalyanamitra.org

[๔๐] คลิงธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ๒๐๐ ๒๐๑ ฟ้ญญวันตกถา ลักษณะของผู้มีป้ญญา ๒๐๑ สัปใ]ริสกถา ๒๐๒ ลักษณะของคนดี ๒๐๒ สิริกถา ๒๐๓ สิริโชค ๒๐๓ ฟ้ญญวากถา ๒๐๔ การทำให้ตนมีปัญญา ๒๐๔ มิฅฅภาวกถา ๒๐๕ มิตรภาพ ๒๐๕ อิสสรสัญญีกถา ๒๐๖ สำ คัญตัวว่าเป็นผู้ยิ่งใหญ่ ๒๐๖ ธัมมเวทีกถา ๒๐๗ ผู้รู้แจ้งธรรม ๒๐๗ จชุใ]คคสกถา บุคคล ๔ ประเภท ๒๐๘ อสัปใ]ริสธัมมกถา ๒๐๘ ^ม่มีธรรมของคนดี ๒๐๙ กปณกถา ๒๐๙ คนกำพร้า ๒๑๐ อธัมมปฎิน้นนกถา ๒๑๐ โปราณธัมมฤสลกถา ผู้เคยประพฤดีอธรรม ๒๑๑ ๒๑๑ มิจฉาจาริกถา ผู้ฉลาดในธรรมเนียมเก่า ๒๑๒ ผู้ปฏิใม่ดีผิดในพ่อแม่ มาตาปีดูฏฐานกถา มาตาปีดูสักการกถา ฐานะของพ่อแม่ สตธัมมกถา การลักการะพ่อแม่ อจริยากถา มหาปทกถา คุณธรรมของคนดี นวิสสาสกถา สิงที่ไม่ควรประพฤดี สัพภิสันถวกถา บทเรียนสำหรับผู้ใหญ่ สัพภิกถา ปรมเสยยกถา สิงที่ไม่ควรวางใจ ปียเสวนากถา อริยธัมมเสวนากถา การสนิทสนมกับคนดี การอยู่ร่วมกับคนดี สิงที่ประเสริฐที่สุด การเสพสุขของรัก การเสพอริยธรรม www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๔๑] จาคกถา ว่าด้วย หน้า อสดสมาคมกถา ความเสืยสละ ๒๑!อ ๒๑๓ สตสมาคมกถา การสมาคมกับคนไม่ดี ๒๑๓ ๒๑๔ นโหติกถา การสมาคมกับคนดี ๒๑๔ สันตกถา ๒๑๔ เป็นไม่จริง ๒๑๔ อมิตตชุพภีกถา(๑) ๒๑๖ อมิตตา]พภีกถา(๒) บัณฑิต ๒๑๖ ปฏิลาภกถา ๒๑๗ นมิตตา]พภืกถา ^ม่ประทุษร้ายมิตร ๒๑๗ ^ม่ประทุษร้ายมิตร ๒๑๘ วัณณifจจยกถา ๒๑๘ การได้ส์งตอบแทน ๒๑๙ นฬกถา ๒๑๙ ^ม่ประทุษร้ายมิตร ๒๒0 พรหมจริยากถา สาเหตุที่ผิวพรรณผ่องใส ๒๒0 ๒๒๑ ฑหรกถา อุปมาเหมือนด้นอ้อสด ๒๒๑ ๒๒๒ อาชุกถา ประพฤติพรหมจรรย์ ๒๒๒ พพูชนกถา คนหนุ่มคนสาว ๒๒๓ ๒๒๓ วายามกถา อายุของมนุษย์ ๒๒๔ า]ติยคติกถา คนเป็นอันมาก เอกัตตกถา คุณค่าของความพยายาม มาตาปีชุโปสกกถา คติของการอยู่กับเพื่อน อัตถจริยากถา การอยู่คนเดียว อนารยกถา ผู้เลี้ยงดูบิดามารดา ชุฬหกถา การบำเพ็ญประโยซน์ ใ]ริสภาวกถา อนารยซน อิตถีภาวกถา คนงมงาย ปรารถนาเป็นชาย ปรารถนาเป็นหญิง www.kalyanamitra.org

[๔๒] คลังธรรม V เรอง 1V หนา ทิพพกถา วาดวย ๒๒๔ อนามันตกถา ๒๒๕ ปรารถนาสมบัติทิพย์ ๒๒๕ ฆราวาสธัมมกถา (๑) ๒๒๖ ฆราวาสธัมมกถา(๒) กิจที่ทำโดยไม่ปรึกษากัน ๒๒๖ ฆราวาสธัมมกถา(๓) ๒๒๗ ธรรมของผู้ครองเรือน ๒๒๗ วาจากถา ธรรมของผู้ครองเรือน ๒๒๘ ธรรมของผู้ครองเรือน ๒๒๘ ราชเสวกกถา (๑) ๒๒๙ ราชเสวกกถา(๒) การใพูด ๒๒๙ ราชเสวกกถา(๓) หลักราชการ ๒ฅอ ราชเสวกกถา(๔) ๒๓๐ ราชเสวกกถา(๕) หลักราชก่าร ๒๓๑ ราชเสวกกถา (๖) หลักราชการ ๒๓๑ ราชเสวกกถา(๗) หลักราชการ ๒๓๒ ราชเสวกกถา(๘) หลักราชการ ๒๓๒ ราชเสวกกถา (๙) หลักราชการ ๒๓๓ ราชเสวกกถา (๑๐) หลักราชการ ๒๓๓ ราชเสวกกถา (๑๑) หลักราชการ ๒๓๔ ราชเสวกกถา(๑๒) หลักราชการ ๒๓๔ ราชเสวกกถา(๑๓) หลักราชการ ๒๓๕ ราชเสวกกถา (๑๔) หลักราชการ ๒๓๕ ราชเสวกกถา (๑๕) หลักราชการ ๒๓๖ หลักราชการ มิคตา]พภกถา หลักราชการ หลักราชการ อหิตกถา มัณฑิตหทยกถา ผู้ทรยศเพื่อน สิงที่ไม่เป็นประโยชน์ หัวใจนักปราชญ์ www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๔๓] อริยทัสสนกถา ว่าด้วย หน้า สันตาสันตกถา การพบเห็นอารยซน ๒ฅ๖ มาตาtlqชุกขกถา คนดีและคนไม่ดี ๒ฅ๖ ทุฑธาชุสาสนีกถา ๒๓๗ การเปลื้องทุกข์ให้บิดามารดา ๒๓๗ อนิมิตตกถา ๒๓๘ มาชุคามวสกถา (๑) พระพุทธานุศาสนี ๒๓๘ มาชุคามวสกถา(๒) ๒๓๙ สิงที่ไม่มีเครื่องหมายบอก ๒๓๙ อุ[จิภาวกถา อำ นาจของสตรี อำ นาจของสตรี ความสะอาด ธรรมหมวด ๑ ใ^ริสจิตตปริยาทานกถา สิงครอบงำจิตบุรุษ ๒๔0 อิตถีจิตตปริยาทานกถา สิงครอบงำจิตสตรี ๒๔0 จิตตภาวนากถา จิตตปกติกถา อานิสงส์จิตตภาวนา ๒๔๑ จิตตภาวกถา เมตตจิตตกถา ปกติของจิต ๒๔๑ ปมาทกถา ปมัตตกถา สภาวะของจิต ๒๔๒ อัปปมาทกถา ๒๔๒ อัปปมัตตกถา ผู้เจริญเมตตาจิต ฟ้ญญาปริหานิกถา ความประมาท ๒๔๓ ฟ้ญญา'Jฑฒิกถา ๒๔๓ ผู้ประมาท สัทธัมมสัมโมสกถา ความไม่ประมาท ๒๔๔ สัทธัมมเติกถา ๒๔๔ ผู้!ม่ประมาท ๒๔๕ ๒๔๕ ความเส์อมปัญญา ๒๔๖ ๒๔๖ ความเจริญด้วยปัญญา ธรรมที่เป็นเหตุให้พระส์ทธรรมเสีอม ธรรมที่เป็นเหตุให้พระส์ทธรรมดำรงมั่น www.kalyanamitra.org

เรอง คลังธรรม หน้า เอค1jคคลกลา ว่าด้วย ๒๔๗ มิจฉาทิฎเกลา ๒๔๘ บุคคลผู้เรนเอก ๒๔๘ มิจฉาทิฎฐิกลา โทษปัจจุบันแห่งมิจฉาทิฐิ ๒๔๙ สัมมาทิฎเกลา โทษอนาคตแห่งมิจฉาทิฐิ ๒๔๙ สัมมาทิฏเกลา อานิสงส์ปัจจุบันแห่งสัมมาทิฐิ ๒๕0 พชุชนาหิตกลา อานิสงส์อนาคตแห่งสัมมาทิฐิ ๒๕อ พทุชนหิฅกลา ผู้ก่อความทุกฃ์ให้แก่ซาวโลก ๒๕๑ มิจฉาทิฎเวัชชกลา ผู้ก่อความสุขให้แก่ซาวโลก ๒๕๑ อมฅปริฦฅฅกลา โทษของมิจฉาทิฐิ ผู้บริโภคอมตะ อันตกลา หมวด ๒ ๒๕ฅ ปาวจนกลา ๒๕๓ ชุกขกลา ที่สุดโต่ง ๒ ๒๕๔ ๒๕๕ ปริญเญยยอัมมกลา ปาพจน์ ๒ ๒๕๕ ๒๕๖ ปหาตัพพอัมมกลา ทุกข์ ๒ ๒๕๖ ปาปตากลา ๒๕๗ กัลยาณตากลา ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ๒ ๒๕๘ คูสลตากลา ๒๕๘ ธรรมที่ควรละ ๒ ๒๕๙ กัมมัฏฐานกลา ธรรมอันทำให้เรนคนชั่ว ๒ อ1jญญลาภิกลา ธรรมอันทำให้เรนคนดี ๒ ปุญญลาภิกลา ธรรมอันทำให้เรนคนฉลาด ๒ กรรมฐาน ๒ งที่มิใช่บุญ ๒ บุญมาก ๒ www.kalyanamitra.org

เรื่อง ศารบัญ [๔๔] คัณหธัมมคลา ว่าด้วย ห'น้า pnsมมกลา ธรรมฝ่ายดำ ๒ ๒๕๙ โลกปาลธัมมกลา ๒๖0 ธรรมฝ่ายขาว ๒ ๒๖อ พลกลา ๒๖๑ ธรรมคุ้มครองโลก ๒ ๒๖๑ พาลกลา (๑) ๒๖๒ พาลกลา(๒) กำ ลัง ๒ ๒๖๓ ๒๖๓ ป็ณฑิตกลา(๑) คนพาล ๒ (นัยที่ ๑) ๒๖๔ ปณฑิตกลา(๒) คนพาล ๒ (นัยที่ ๒) ๒๖๔ บัณฑิต ๒ (นัยที่ ๑) ๒๖๕ อัพภาจิกฃกกลา บัณฑิต ๒ (นัยที่ ๒) ๒๖๕ คนกล่าวตู่พระตถาคต ๒ ๒๖๖ ปฎิคคหกถา ๒๖๖ ฎมิกลา ที่รองรับ ๒ ๒๖๗ ๒๖๘ ลมยกลา ภูมิ ๒ ๒๖๘ ๒๖๙ ปริสากลา (๑) สมัย ๒ ๒๖๙ ปริสากลา(๒) ๒๗อ ปริสากลา(๓) บริษัท ๒ (นัยที่ ๑) ๒๗0 ปริสากลา(๔) บริษัท ๒ (นัยที่ ๒) ๒๗๑ บริษัท ๒ (นัยที่ ฅ) ๒๗๑ อัจฉริยมา{สสกลา บริษัท ๒ (นัยที่ ๔) อัจฉริยมนุษย์ ๒ มาชุคามมรผกลา อ[ุ ขกลา(๑) เหตุที่ทาให้มาตุคามตาย ๒ อ[ุ ขกลา(๒) สุข ๒ (นัยที่ ๑) อ[ุ ขกลา(๓) สุข ๒ (นัยที่ ๒) อ[ุ ขกลา(๔) สุข ๒ (นัยที่ ฅ) สุข ๒ (นัยที่ ๔) วิาjตติกลา วิมุตติ ๒ www.kalyanamitra.org

[๔๖] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า อาสวกลา ผู้ที่มีอาสวะเจริญ ๒ ๒๗๒ ๒๗ฅ อาสากถา ความหวังที่ละได้ยาก ๒ ๒๗๓ ๒๗๔ ชุลสฟิกลา (๑) บุคคลที่หาได้ยาก ๒ (นัยที่ ๑) ๒๗๔ ชุลลฟิกลา(๒) บุคคลที่หาได้ยาก ๒ (นัยที่ ๒) ๒๗๕ บุคคลที่ทำให้อิ่มได้ยาก ๒ ๒๗๕ ชุดัปปยกลา ๒๗๖ ๒๗๖ บุคคลที่ทำให้อิ่มได้ง่าย ๒ ๒๗๗ ๒๗๗ ราคifจจยกลา เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดราคะ ๒ ๒๗๘ ๒๗๙ โฑส{[จจยกลา เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดโทสะ ๒ ๒๗๙ มิจฉาทิฎเฟ้อจยกลา เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดมิจฉาทิฐิ ๒ ๒๘0 ๒๘๑ สัมมาทิฎเกลา เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดสัมมาทิฐิ ๒ ๒๘๑ ๒๘๒ อโยนิโสปริหารกกลา(๑) ผู้บริหารตนไม่ถูก ๒ ๒๘๒ ๒๘๓ โยนิโสปริหารกกลา(๑) ผู้บริหารตนถูก ๒ ๒๘๓ ๒๘๔ อโยนิโสปริหารกกลา(๒) ผู้บริหารตนไม่ถูก ๒ ๒๘๔ โยนิโสปริหารกกลา(๒) ผู้บริหารตนถูก ๒ สีดลธัมมกลา ธรรมที่ทำให้เกิดความเย็น ๒ ^ณหธัมมคลา ธรรมที่ทำให้เกิดความร้อน ๒ ทานกลา การให้ ๒ ปริจาคกลา การเสียสละ ๒ สมโฟิคกลา การคบหา ๒ สังคหกลา การสงเคราะห์ ๒ ปฎิสันลารกลา การด้อนรับ ๒ ปริเยสนากลา การแสวงหา ๒ \\1ชากลา(๑) บูชา ๒ (นัยที่ ๑) www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๔๗] \\เซากถา(๒) ว่าด้วย หน้า วุฑฒิกถา บูชา ๒ (นัยที่ ๒) ๒๘๕ สันนิจยกถา ๒๘๕ ใเยธัมมกถา ความเจริญ ๒ ๒๘๖ โสภณธัมมกถา การส์งสม ๒ ๒๘๗ ธรรมอันทำให้เป็นคนน่ารัก ๒ ๒๘๗ ^ปสังกมนิยธัมมกถา ธรรมอันทำให้งาม ๒ ๒๘๘ ธรรมอันทำให้น่าเข้าใกล้ ๒ ๒๘๘ เสรนิยธัมมกถา ธรรมอันทำให้น่าคบหา ๒ ๒๘๙ ปริหานิยธัมมกถา ธรรมอันทำให้เส์อม ๒ ๒๘๙ อปริหานิยธัมมกถา ธรรมอันทำไมให้เส์อม ๒ ๒๙0 ธรรมอันเป็นกำลังภายใน ๒ ๒๙0 พลกถา ธรรมอันทำให้!ม่ห้อถอย ๒ ๒๙๑ ๒๙๑ อโนสักกกถา ธรรมไม่เป็นอุปการะ ๒ ๒๙๒ ๒๙๒ อใ{ปการธัมมกถา ธรรมมีอุปการะมาก ๒ ๒๙ฅ พชุปการธัมมกถา ๒๙๓ ทิฎเกถา ทิฐิ ๒ ๒๙๔ ๒๙๔ มากรณกถา อย่าทำ ๒ ๒๙๕ ๒๙๖ ^เมธสกถา ลักษณะของผู้มีปัญญาดี ๒ ๒๙๖ ๒๙๗ ปีณฑปาตกถา บิณฑบาตที่มีผลอานิสงส์เท่ากัน ๒ นิพพานกถา เปมปจจยกถา นิพพาน ๒ อทานกถา เหตุเกิดความรัก ๒ พชุภาสกกถา สาเหตุที่ให้ทานไม่ได้ ๒ คนที่พูดมาก ๒ ปทกกถา หลักของผลประโยชน์ ๒ กามกถา กาม ๒ www.kalyanamitra.org

[๔๘] คลังธรรม - เรื่อง ว่าด้วย หน้า ธัมมคลา ธรรม ๒ ๒๙๗ ๒๙๘ รูปกลา รูป ๒ ๒๙๘ ๒๙๙ สมาธิกลา สมาธิ ๒ ชุทธคุณกลา พุทธคุณ ๒ ญาณทัสสนกลา หมวด ๓ ฅอ๑ ฅอ๑ เทวทัดดาสัทธัมมกลา ญาณทัสสนะที่เกิดแก่พระพุทธเจ้า ฅ ๓อ๒ ดิปีฎกกลา อส์ทธรรมของพระเทวทัต ฅ ปาฎิหาริยกลา ฅอฅ ปาติโมกชุทเทสกลา ป็ฎก ฅ ปาฏิหาริย์ ฅ ฅ0๔ สฃาลักฃณกลา ๓อ๔ หัวใจพุทธศาสน์ ต ฅอ๕ ธังสกกลา ๓0๕ ลักษณะของเพื่อน ต ตอ๖ นฆราวาสกลา คนเพื่อม ๓ ตอ๗ คนครองเรือนใหัดีไม่ได้ ต ตอ๗ อคุดล^สกลา ตอ๘ คุดลรุเสกลา รากเหง้าของอกุศล ฅ ตอ๙ รากเหง้าของกุศล ฅ ชุจริดกลา การประพฤติชั่ว ต ต๑อ อุ[จริดกลา ต๑๑ อคุสสวิทักกกลา (๑) การประพฤติติ ฅ อคุสสวิทักกกลา(๒) ต๑๒ คุสสวิดักกกลา ความตรืกที่เรนอกุศล ๓ (นัยที่ ๑) ต๑๒ อคุสสสังกัปปกลา ความตรึกที่เป็นอกุศล ฅ (นัยที่ ๒) คุสสลังกัปปกลา ความตรึกที่เป็นกุศล ฅ ความดำริที่เป็นอกุศล ๓ ความดำริที่เป็นกุศล ฅ www.kalyanamitra.org

เรื่อง สารบัญ [๔๙] อฤสลธาญคลา ว่าตัวย หน้า ฎสลธา^กถา ธาสุกลา (๑) ธาตุที่เป็นอกุศล ต ต๑ต ธาqกลา(๒) ธาตุที่เป็นกุศล ฅ ต๑ต ธาดูกลา(๓) ธาตุ ฅ (นัยที่ ๑) ธาตุ ฅ (นัยที่ ๒) ต๑๔ ตัณหากลา(๑) ธาตุ ต (นัยที่ ต) ต๑๔ ตัณหากลา(๒) ต๑๔ ตัณหากลา(๓) ตัณหา ต (นัยที่ ๑) ต๑๔ สังโยชนกลา ตัณหา ต (นัยที่ ๒) ต๑๖ ตัณหา ต (นัยที่ ต) ต๑๖ อาสวกลา ต๑๗ ส์งโยซนั ต ต๑๗ ภวกลา ต๑๘ อาสวะ ต ต๑๙ เอสนากลา ต๒0 ภพ ต ต๒0 วิธากลา ต๒๑ อัทธากลา การแสวงหา ต ต๒๑ อันตกลา ต๒๒ ความถือตัว ต ต๒ต เวทนากลา ต๒ต ระยะกาล ต ต๒๔ ชุกฃฅากลา ต๒๔ ส่วนที่ถือ ต ต๒๖ กิญจนกลา ต๒๗ เวทนา ต ต๒๘ อัคคิกลา อัคคินิพพาปนกลา ความเป็นทุกข์ ต อัคคิกลา เครื่องกังวล ต ฐปสังคหกลา ไฟกิเลส ต วิธีตับไฟกิเลส ต สังขารกลา (๑) สังขารกลา(๒) ไฟบุคคล ต การย่อรูป ต ส์งขาร ต (นัยที่ ๑) สังขาร ต (นัยที่ ๒) www.kalyanamitra.org

[๕๐] คลังธรรม หน้า เรื่อง ว่าด้วย ต๒๙ ต๒๙ สังขารกลา(๓) สังขาร ฅ (นัยที่ ต) ฅฅอ 1]คคลกลา บุคคล ต ๓ต๑ เลรกลา ผู้ฟ้นเถระ ต ๓๓๒ วิธีทาบุญ ต ๓๓๒ ญคิริยากลา สาเหตุแห่งการโจท ต ปัญญา ต (นัยที่ ๑) ๓๓๓ โจทนาวัตลูกลา ปัญญา ต (นัยที่ ๒) ๓๓๓ {[ญญากลา(๑) {[ญญากลา(๒) อาวุธ ต ๓๓๔ ๓๓๕ อาลูธกลา จักษุ ต ๓๓๗ ๓๓๘ จักชุกลา สิกขา ต ๓๓๘ ๓๓๙ สิกขากลา การภาวนา ต (นัยที่ ๑) ๓๘๐ ภาวนากลา (๑) การภาวนา ต (นัยที่ ๒) ๓๔๑ ภาวนากลา(๒) ๓๔๒ สิงยอดเยี่ยม ต ๓๔๓ อ1jตดริยกลา ๓๔๓ สมาธิ ๓ (นัยที่ ๑) ๓๔๔ สมาธิกลา (๑) สมาธิ ต (นัยที่ ๒) ๓๔๕ สมาธิกลา(๒) ๓๔๖ ไสเอยยกลา ความสะอาด ต ๓๔๗ โมเนยยกลา ๓๔๗ โกสัลลกลา ธรรมที่ทำให้เป็นบุนี ต มทกลา ความฉลาด ต อธิปเตยยกลา ความเมา ต วิชชากลา วิหารจัมมกลา ความเป็นใหญ่ ต พ!]การจัมมกลา วิชชา ต นิสสารผียธาลูกลา ธรรมเป็นเครื่องอยู่ ต ธรรมมีอุปการะมาก ต ธรรมเป็นเครื่องสสัดออก ต www.kalyanamitra.org