Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

Description: เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

Search

Read the Text Version

การให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพิบัตกิ รณีฉุกเฉนิ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย เงนิ ทดรองราชการเพ่อื ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั พบิ ัติกรณีฉุกเฉนิ พ.ศ. 2556 1. หลักการใช้เงินทดรองราชการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีได้ก�าหนดระเบียบ กระทรวงการคลงั ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพอ่ื ช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2556 เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ซงึ่ มผี ลใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ท ่ี 19 กมุ ภาพนั ธ ์ 2556 เปน็ ตน้ ไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการสามารถเบิกเงินจากคลังเป็นเงินทดรองราชการเพ่ือทดรองจ่าย ในกรณีท่ีเกิดภัยพิบัติฉุกเฉินและมีความจ�าเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความช่วยเหลือเพ่ือบรรเทา ความเดือดร้อนเฉพาะหน้าแก่ผู้ประสบภัยพิบัติในระหว่างที่ยังไม่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณ ซึ่งการเบิกจ่ายเงินให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการช่วยเหลือที่กระทรวงการคลัง ก�าหนด และเมื่อส่วนราชการได้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินไป แลว้ ตอ้ งดา� เนนิ การขอรบั การจดั สรรเงนิ งบประมาณรายจา่ ยเพอื่ ชดใชเ้ งนิ ทดรองราชการตามทร่ี ะเบยี บ ก�าหนด โดยกา� หนดความหมายของ “ภยั พบิ ตั ”ิ หมายความวา่ สาธารณภยั อนั ไดแ้ ก ่ อคั คภี ยั วาตภยั อทุ กภยั ภัยแล้ง ภาวะฝนแลง้ ฝนทิ้งชว่ ง ภัยจากลกู เห็บ ภยั อันเกดิ จากไฟปา่ ภัยทีเ่ กดิ จากโรคหรือ การระบาดของแมลงหรือศัตรพู ชื ทุกชนดิ อากาศหนาวจดั ผิดปกต ิ ภัยสงคราม และภยั อันเนื่องมาจาก การ กระทา� ของผกู้ ่อการรา้ ย กองก�าลังจากนอกประเทศ ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ ไมว่ า่ เกดิ จากธรรมชาติ หรือมบี คุ คลหรอื สัตว์ทา� ให้เกิดขนึ้ ซงึ่ ก่อใหเ้ กิดอันตรายแก่ชีวิต รา่ งกายของประชาชน หรอื ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ นิ ของประชาชนทเ่ี กดิ ขนึ้ โดยปจั จบุ นั ทนั ดว่ นหรอื เปน็ ทคี่ าดหมายวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในเวลาอันใกล ้ และจ�าเปน็ ตอ้ งรีบแกไ้ ขโดยฉับพลนั “ฉกุ เฉนิ ” หมายความวา่ เกิดขน้ึ โดยปัจจุบนั ทัน ดว่ นหรอื เปน็ ทค่ี าดหมายวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในเวลาอนั ใกลแ้ ละจา� เปน็ ตอ้ งรบี แกไ้ ขโดยฉบั พลนั และ “ผปู้ ระสบ ภัยพิบัติ” หมายความว่า ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแต่ไม่รวมถึง ส่วนราชการหรือหนว่ ยงานของรัฐ 2. ขอบเขตการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ระเบียบได้ก�าหนดให้ส่วนราชการมีวงเงินทดรอง ราชการ ใน 2 กรณี ดังน้ี 1) กรณคี าดหมายว่าจะเกดิ ภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉินข้ึนในเวลาอันใกล้ ใหใ้ ชเ้ พ่ือการปอ้ งกัน หรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ซึ่งจ�าเป็นต้องรีบด�าเนินการโดยฉับพลัน ภายในวงเงิน 10 ล้านบาท โดยไมต่ ้องประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื 50 เร่อื งควรรู้ คูม่ ือนกั ปกครอง

2) กรณเี กดิ ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ขนึ้ และไดป้ ระกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแล้ว ให้ใช้เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินหรือสนับสนุนการให้ ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ โดยเรง่ ดว่ นตามความจา� เปน็ และเหมาะสม โดยมงุ่ หมายทจี่ ะบรรเทา ความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ ของผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ แตม่ ไิ ดม้ งุ่ หมายทจี่ ะชดใชค้ วามเสยี หายใหแ้ กผ่ ใู้ ด โดย ใชส้ �าหรบั ทุกสถานการณ์ภัย 3. ข้ันตอนและวิธีด�าเนินการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือป้องกันหรือยับย้ังภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉนิ (วงเงนิ 10 ล้านบาท) 1) ความหมาย “ในเชิงป้องกันหรือยับยั้ง” การด�าเนินการที่จ�าเป็นต้องกระท�าต่อ สถานการณ์ภัยพิบัติท่ีคาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจ�าเป็นต้องรีบป้องกันหรือยับยั้ง ภยั พบิ ตั ดิ งั กลา่ วโดยฉบั พลนั เพอ่ื ลดผลกระทบจากภยั พบิ ตั ทิ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ ซงึ่ หากไมด่ า� เนนิ การอาจสง่ ผล ให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือ ของรฐั 2) อ�านาจหน้าที่การใช้จ่ายเงินและผู้มีอ�านาจอนุมัติการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ในเชิงปอ้ งกนั หรือยบั ย้งั ภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉิน - กรณกี รงุ เทพมหานคร ใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยอธบิ ดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเปน็ ผ้มู อี �านาจอนมุ ตั ิจ่ายเงนิ - กรณจี งั หวดั อนื่ เปน็ อา� นาจหนา้ ทขี่ องสา� นกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เป็นผมู้ ีอ�านาจอนมุ ตั จิ า่ ยเงนิ 3) ไม่ตอ้ งประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณฉี กุ เฉนิ เมือ่ ดา� เนินการ ป้องกนั หรือยบั ยั้งภยั พิบตั กิ รณีฉกุ เฉินแล้ว แตไ่ ม่สามารถป้องกนั หรือยบั ยั้งภยั พิบตั ิได้ กใ็ ห้ประกาศ เขตการใหค้ วามชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบตั กิ รณฉี กุ เฉินตอ่ ไป 4) การใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการในเชงิ ปอ้ งกนั หรอื ยบั ยง้ั ภยั พบิ ตั ิ ไมร่ วมถงึ การปอ้ งกนั หรอื ยบั ยง้ั ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ดา้ นการเกษตรทเี่ กดิ จากโรคหรอื การระบาดของสตั วห์ รอื พชื ทกุ ชนดิ ซงึ่ หาก เกดิ กรณดี ังกลา่ วใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใช้จ่ายจากเงินงบประมาณของหน่วยงานก่อน เมื่อไม่ สามารถปอ้ งกนั ได ้ และเกดิ โรคหรอื การแพรร่ ะบาดแลว้ และงบประมาณไมเ่ พยี งพอ ใหส้ ามารถใชจ้ า่ ย จากเงินทดรองราชการของส�านักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ 5) วธิ กี ารใช้จา่ ยเงนิ ฯ 5.1) ให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดแต่งตงั้ เจา้ หน้าทข่ี องส่วนราชการทเี่ กี่ยวข้องกบั การด�าเนนิ การป้องกันหรือยับย้ังภัยพิบัติในครั้งน้ัน อย่างน้อย 5 คน เป็นคณะกรรมการ ท�าหน้าที่ประเมิน สถานการณ ์ ระดบั ความรนุ แรงของภยั วเิ คราะหส์ ถานการณค์ วามเปน็ ไปได ้ พฤตกิ ารณ/์ ปจั จยั บง่ ชต้ี า่ งๆ เรือ่ งควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง 51

ว่ามีความจ�าเป็นต้องป้องกันหรือยับย้ัง เสนอมาตรการและแนวทางในการป้องกันหรือยับย้ังภัยพิบัติ ดังกลา่ วตอ่ ผู้ว่าราชการจงั หวัด 5.2) การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเก่ียวกับการใช้จ่ายเงิน ทดรองราชการในเชงิ ปอ้ งกนั หรอื ยบั ยงั้ ภยั พบิ ตั ิ ซง่ึ มผี ลใชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ท ่ี 1 สงิ หาคม 2556 เปน็ ตน้ ไป รายการคา่ ใช้จ่ายท่เี บิกจา่ ยได ้ ได้แก่ ค่าแรงงาน คา่ จา้ งเหมา คา่ วสั ดุ อุปกรณ ์ ค่าซ่อมแซมเคร่อื งมือ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ ค่าจัดหาพลังงานเช้ือเพลิงและน�้ามันหล่อล่ืน ค่าจัดหาพลังงานไฟฟ้า ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของเจ้าหน้าท่ี ค่าอาหารจัดเล้ียงเจ้าหน้าที่และผู้มาให้ ความชว่ ยเหลอื หากกรณีมีเหตุจ�าเป็นท่ีจะต้องจ่ายนอกเหนือจากรายการเหล่าน ี้ ให้คณะกรรมการฯ ที่ท�า หน้าท่เี สนอมาตรการและแนวทางในการป้องกนั หรอื ยบั ยง้ั ภยั พิบัติ เปน็ ผพู้ จิ ารณากา� หนด และเสนอ ผ้วู ่าราชการจงั หวัดเพอ่ื อนมุ ตั จิ ่ายต่อไป 5.3) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดได้อนุมัติให้ใช้จ่ายเงินแล้ว ให้รายงาน กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ทราบ ภายใน 24 ชวั่ โมง นบั แต่อนุมัติ 5.4) การจดั หาพัสด ุ ให้ถอื ปฏิบัติตามระเบยี บสา� นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพสั ดุ 5.5) การส่งเอกสารเพ่ือขอรับการจัดสรรงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการให้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รบั รองและยนื ยนั ดว้ ยวา่ ไดด้ า� เนนิ การและใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการถกู ตอ้ งเปน็ จรงิ และอยู่ภายในวงเงินตามระเบียบและหลักเกณฑ์ท่ีก�าหนด ท้ังน้ี จะต้องส่งใบส�าคัญและเอกสารที่ เกย่ี วขอ้ งกับการจ่ายเงนิ ไปยงั ปภ. ภายใน 30 วันทา� การ นับแต่วนั ที่ไดร้ ับเงินจากคลัง 4. ขนั้ ตอนและวธิ ดี า� เนินการใชจ้ ่ายเงนิ ทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั พบิ ตั ิกรณี ฉกุ เฉนิ 1) เมอื่ เกดิ ภยั พบิ ตั ใิ นจงั หวดั นายอา� เภอทอ้ งทจ่ี ะรายงานเปน็ เหตดุ ว่ นใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั ทราบ หากผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉิน ก็จะประกาศให้เป็นเขตการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องด�าเนินการช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภยั พิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่กระทรวงการคลงั ก�าหนด 2) เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดได้ประกาศเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉกุ เฉนิ แลว้ อา� เภอจะดา� เนนิ การประชมุ คณะกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ริ ะดบั อา� เภอ หรือ ก.ช.ภ.อ. ประกอบด้วย นายอ�าเภอเป็นประธานกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการประจ�าอ�าเภอ ท่ีเกี่ยวข้องหรือผู้แทนไม่เกินสี่คน ผู้แทนกระทรวงกลาโหมหนึ่งคน ผู้แทนกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ�าเภอหนึ่งคน เป็นกรรมการ และมี ปลัดอ�าเภอหัวหน้าฝ่ายความมั่นคง เป็นกรรมการและเลขานุการ เพื่อพิจารณาช่วยเหลือผู้ประสบ 52 เร่อื งควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง

ภัยพิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกระทรวงการคลังก�าหนด ซึ่งนายอ�าเภอจะเป็นผู้อนุมัติจ่ายเงิน ทดรองราชการเพ่อื ด�าเนินการช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั พิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการ ก.ช.ภ.อ. ภายใน วงเงินทดรองราชการทีผ่ ูว้ ่าราชการจงั หวัดจัดสรรให้ 3) หากอา� เภอมคี วามจา� เปน็ ตอ้ งชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั มิ ากกวา่ วงเงนิ ทไี่ ดร้ บั การจดั สรร จากผวู้ า่ ราชการจงั หวดั กจ็ ะขอรบั การสนบั สนนุ โดยตรงตอ่ จงั หวดั ซง่ึ จงั หวดั จะนา� เสนอคณะกรรมการ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับจังหวัด หรือ ก.ช.ภ.จ. ที่ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัด พาณิชย์จังหวัด โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ผู้แทนกระทรวง พฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยห์ นง่ึ คน ผแู้ ทนกระทรวงกลาโหมหนงึ่ คน ผแู้ ทนกระทรวงเกษตร และสหกรณ์หนึ่งคน ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหนึ่งคน ผู้แทนส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องกับภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินไม่เกินสี่คน ประธานหอการค้าจังหวัดหรือ สภาอุตสาหกรรมจังหวัดหรือผู้แทนในเขตจังหวัดน้ันหน่ึงคน เป็นกรรมการ และหัวหน้าส�านักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ พิจารณาช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติตามที่อ�าเภอร้องขอภายใต้ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังก�าหนด โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดจะอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการของจังหวัดสนับสนุนการดังกล่าวตามมติของ ก.ช.ภ.จ. 4) ให้ส่วนราชการที่มีวงเงินทดรองราชการ และผู้มีอ�านาจอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ เพอ่ื ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัติกรณฉี กุ เฉิน ดังนี้ ส่วนราชการ วงเงนิ (บาท) ผู้มอี า� นาจอนุมตั ิ ส�านกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 100,000,000 นายกรัฐมนตรี สา� นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงกลาโหม 50,000,000 ปลดั กระทรวงกลาโหม สา� นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงการพฒั นา 10,000,000 ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม สงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ และความมัน่ คงของมนุษย์ สา� นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงเกษตรและ 50,000,000 ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สหกรณ์ ส�านกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 50,000,000 ปลัดกระทรวงมหาดไทย สา� นกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ 10,000,000 ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 50,000,000 อธบิ ดกี รมปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภยั เรือ่ งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง 53

สว่ นราชการ วงเงนิ (บาท) ผูม้ ีอา� นาจอนมุ ตั ิ ส�านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 20,000,000 ผู้ว่าราชการจงั หวัด จังหวดั แหง่ ละ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั มีอ�านาจจดั สรรวงเงนิ ใหแ้ กอ่ �าเภอ ๕๐๐,๐๐๐ นายอ�าเภอ ตามความจา� เปน็ เหมาะสม แห่งละไมเ่ กนิ กรณที มี่ ีความจ�าเปน็ จะจดั สรรเพ่ิมเติมให้อกี กไ็ ด้ 5) การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย หากไมพ่ อใหข้ อขยายเพิ่มจาก กระทรวงการคลงั 6) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้านการเกษตร กรณีภัยที่เกิดจากโรคหรือ การระบาดของสัตว์หรือพืชทุกชนิด ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใช้จ่ายจากเงินงบประมาณของ หนว่ ยงานกอ่ น เมอ่ื ไมส่ ามารถปอ้ งกนั ไดแ้ ละเกดิ โรคหรอื การแพรร่ ะบาดแลว้ และงบประมาณไมเ่ พยี งพอ อาจใชจ้ า่ ยจากเงนิ ทดรองราชการในอา� นาจของปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ วงเงนิ 50 ลา้ นบาท 7) หากวงเงนิ ทดรองราชการของจงั หวดั มไี มเ่ พยี งพอจงั หวดั สามารถขอขยายวงเงนิ ทดรอง ราชการเพมิ่ เตมิ ตอ่ กระทรวงการคลังได ้ ตามความจา� เปน็ และเหมาะสม 8) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ ต้องด�าเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามเดือนนับต้ังแต่วันที่เกิดภัย หากมีความจ�าเป็นต้องด�าเนินการ เกินกว่าสามเดือน จังหวัดต้องขอขยายระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือต่อกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ซง่ึ อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มอี า� นาจอนมุ ตั ใิ หข้ ยายเวลาการใหค้ วามชว่ ย เหลอื ใหแ้ กจ่ งั หวดั ได ้ ตามความจ�าเป็นและเหมาะสม 9) การใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ ตอ้ งเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทจี่ า� เปน็ ในการด�ารงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือเป็นการซ่อมแซมให้คืนสู่สภาพเดิมอันเป็นการ บรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า โดยไม่สามารถใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือก่อสร้าง หรือสาธารณูปโภคท่ีถาวร หรือก่อสร้างใหม่ได้ การจ่ายเงินทดรองราชการให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตาม หลกั เกณฑ ์ วธิ กี าร เงอื่ นไข และอตั ราทก่ี ระทรวงการคลงั กา� หนด หากมคี วามจา� เปน็ ตอ้ งจา่ ยนอกเหนอื หลกั เกณฑ ์ ตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากกระทรวงการคลงั กอ่ นซง่ึ ปจั จบุ นั กระทรวงการคลงั ไดก้ า� หนดหลกั เกณฑ์ การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 ข้ึน เพ่ือให้ สว่ นราชการถอื ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ มผี ลใชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ท ี่ 1 เมษายน 2556 เปน็ ตน้ ไป โดยหลกั เกณฑด์ งั กลา่ ว ให้ช่วยเหลือเป็นส่ิงของหรือจ่ายเป็นเงินโดยค�านึงถึงสภาพและเหตุการณ์ตามความเหมาะสม โดย แบ่งเปน็ 6 ดา้ น สรุปได้ดังนี้ 54 เรื่องควรรู้ คมู่ อื นักปกครอง

ดา้ น การชว่ ยเหลือ รายการชว่ ยเหลือ 1 ดา้ นการดา� รงชพี เช่น ค่าอาหารจัดเลี้ยง ค่าถุงยังชีพ ค่าจัดหาน�้าบริโภคและใช้สอย ค่าจัดหาสิ่งของในการด�ารงชีพกรณีท่ีอยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ทั้งหลัง ค่าวัสดุซ่อมแซมก่อสร้างท่ีอยู่อาศัยประจ�า ค่าวัสดุซ่อมแซม หรือสร้างยุ้งข้าว คา่ เครื่องนุ่งห่ม เงินทุน/คา่ เครื่องมอื ประกอบอาชพี ค่าจดั การศพผู้เสียชวี ิต เปน็ ตน้ 2 ดา้ นสังคมสงเคราะห์ เช่น ช่วยเหลือเป็นเงินสงเคราะห์เพื่อบรรเทาภาวะวิกฤตเฉพาะหน้า แก่นักเรียนนักศึกษาท่ีบิดามารดาหรือผู้อุปการะเล้ียงดู หรือผู้มี รายไดห้ ลกั เลยี้ งดคู รอบครวั เสยี ชวี ติ จากภยั พบิ ตั ,ิ การฝกึ อบรมสง่ เสรมิ อาชีพระยะส้นั แกผ่ ปู้ ระสบภัย เป็นตน้ 3 ด้านการแพทย์และ เช่น จัดหาวัสดุ เคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ อาหารเสริมโปรตีน ค่าวัสดุ การสาธารณสขุ วทิ ยาศาสตร ์ คา่ ยาและเวชภณั ฑ ์ สา� หรบั การรกั ษาและควบคมุ การแพร่ ระบาดของโรค เป็นต้น 4 ด้านการเกษตร ให้ด�าเนินการช่วยเหลือเป็นตัวเงินในล�าดับแรกแก่ผู้ประสบภัยพิบัติ ทขี่ น้ึ ทะเบยี นกบั หนว่ ยงานทกี่ า� กบั ดแู ลแตล่ ะดา้ นของกระทรวงเกษตร และสหกรณ ์ ก่อนเกิดภัยแลว้ เทา่ นน้ั โดยเบกิ จา่ ยได้ดงั น้ี 1) ด้านพชื เชน่ กรณพี ชื ตายหรอื เสยี หาย ให้ชว่ ยเหลอื เปน็ คา่ พันธ์ุพืชและคา่ ปุย๋ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และอัตราที่กระทรวงเกษตรและ สหกรณก์ า� หนดตามจา� นวนพน้ื ทท่ี า� การเกษตรจรงิ ทไ่ี ดร้ บั ความเสยี หาย แต่ไม่เกิน 30 ไร่ และสารปอ้ งกนั ก�าจัดศตั รพู ชื เปน็ ตน้ 2) ด้านประมง เช่น ให้ชว่ ยเหลอื เป็นพันธุ์สตั ว์น้�า อาหารสตั ว์นา้� วสั ดุทางการประมง สารเคมีและยารักษาโรคทจี่ า� เปน็ เปน็ ตน้ 3) ด้านปศสุ ตั ว์ เชน่ จัดหาพชื อาหารสตั ว ์ วัคซีนและเวชภณั ฑ์รักษาสตั ว์ เปน็ ตน้ 4) ดา้ นการเกษตรอน่ื เชน่ คา่ ปรบั เกลยี่ พ้นื ท่ี คา่ ขนยา้ ยสัตวเ์ ลยี้ ง เปน็ ตน้ เร่อื งควรรู้ คู่มือนกั ปกครอง 55

ดา้ น การช่วยเหลอื รายการชว่ ยเหลอื 5 ด้านบรรเทา เช่น จัดหาภาชนะรองรับน�้า ซ่อมแซมภาชนะรองรับน�้า ซ่อมแซม สาธารณภัย ส่ิงสาธารณประโยชน์ กรณีส่ิงสาธารณประโยชน์ท่ีอยู่ใน ความรับผิดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องเป็นกรณีท่ี งบประมาณเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�าเป็นซึ่งต้ังไว้ในปีนั้นได้ใช้จ่ายหมด แล้ว และหากไม่ซ่อมจะบงั เกดิ ความเสยี หายต่อส่ิงสาธารณประโยชน์ หรือสร้างความเดือดร้อนแก่ราษฎรโดยรวม โดยให้มีหนังสือยืนยัน ข้อมลู ดงั กล่าวจ้างเหมากา� จดั ส่งิ กดี ขวางทางน้�า เป็นต้น 6 ด้านการปฏิบัติงาน เช่น คา่ ซ่อมแซมครุภัณฑ ์ รวมท้ังยานพาหนะ ค่าน้า� มันเช้อื เพลงิ และ ให้ความชว่ ยเหลอื หลอ่ ลนื่ คา่ กระแสไฟฟา้ คา่ เชา่ หรอื จา้ งเหมาเครอื่ งสบู นา�้ คา่ จา้ งเหมา ผูป้ ระสบภัย แรงงาน คา่ ใชจ้ า่ ยของเจา้ หนา้ ท ี่ หรอื ผมู้ าชว่ ยทางราชการ คา่ ตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางส�าหรับเจ้าหน้าที่ ที่ออกปฏบิ ัตงิ านใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยในพืน้ ที่ โดยใหเ้ บิกได้ เฉพาะกรณีที่งบประมาณปกติไม่เพียงพอหรือมิได้ต้ังไว้เพื่อการนี้ เท่าน้นั เป็นต้น 10) การส่งเอกสารเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการ เม่ือส่วน ราชการได้จ่ายเงินทดรองราชการไปแล้ว ให้ด�าเนินการขอรับการจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่ายเพื่อ ชดใช้เงินทดรองราชการ ดงั น้ี 10.1) กรณสี ว่ นราชการใชจ้ า่ ยวงเงนิ ทดรองราชการในอา� นาจของตนเอง ใหร้ วบรวม เอกสารส่งส�านกั งบประมาณภายใน 30 วันทา� การนบั แตว่ นั ท่ีได้รบั เงนิ จากคลัง 10.2) กรณสี ว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรฐั ซงึ่ ไมม่ วี งเงนิ ทดรองราชการฯ ใหส้ ง่ ใบสา� คญั มายงั หนว่ ยงานเจา้ ของเงนิ ทนั ทภี ายใน 30 วนั ทา� การนบั ตง้ั แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั เงนิ จากคลงั และให้ สว่ นราชการเจา้ ของเงนิ รวบรวมใบสา� คญั สง่ ใหส้ า� นกั งบประมาณทนั ท ี ทงั้ น ้ี ระยะเวลาดา� เนนิ การขอรบั การจัดสรรเงินงบประมาณจะตอ้ งเสร็จส้ิน ภายใน 60 วัน ********************* กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 0-2637-3000 56 เรอื่ งควรรู้ คมู่ อื นักปกครอง

แผนผงั การใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการเพ่อื ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบตั ิ เร่อื งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง 57

สรปุ สาระสา� คญั พระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนท ี่ ๕๒ ก วันที ่ ๗ กนั ยายน ๒๕๕๐ โดยมผี ลใชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ ันท่ ี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ เปน็ ต้นไป (มาตรา ๒ กา� หนดให้พระราชบัญญัติน้ีมีผลใช้บงั คบั เมอื่ พ้นกา� หนดหกสิบวนั นบั แตว่ ันประกาศในราช กิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป) มีสาระส�าคัญ ดงั น้ี ๑. ขอบเขต (มาตรา ๓) พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วมขี อบเขตการดา� เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ครอบคลมุ เร่ืองอุบัติภยั และอคั คภี ัยดว้ ย โดยยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น พ.ศ.๒๕๒๒ และพระ ราชบัญญัตปิ อ้ งกันและระงับอคั คภี ยั พ.ศ.๒๕๔๒ ๒. คา� นิยาม (มาตรา ๔) “สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย ์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้�า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีผลกระทบต่อ สาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ท�าให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่ืนใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตราย แก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้ หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่อวนิ าศกรรมดว้ ย “ภัยทางอากาศ” หมายความวา่ ภัยอนั เกิดจากการโจมตีทางอากาศ “การกอ่ วินาศกรรม” หมายความว่า การกระทา� ใด ๆ อันเป็นการมุง่ ท�าลายทรพั ย์สนิ ของ ประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหน่วงเหน่ียวระบบ การปฏบิ ตั งิ านใด ๆ ตลอดจนการประทษุ รา้ ยตอ่ บคุ คลอนั เปน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ ความปน่ั ปว่ นทางการเมอื ง การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ความมัน่ คงของรัฐ “องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แหง่ พน้ื ท”่ี หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บล เทศบาล เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นท่ีมีกฎหมายจัดต้ัง แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์การ บริหารส่วนจงั หวัด และกรงุ เทพมหานคร ๓. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาต ิ (กปภ.ช.) ๓.๑ องคป์ ระกอบ (มาตรา ๖) ประกอบด้วยกรรมการทงั้ หมด ๒๓ คน โดยมี - นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรซี ง่ึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ - รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย เปน็ รองประธานกรรมการคนทหี่ นงึ่ - ปลดั กระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการคนทีส่ อง - อธิบดีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ กรรมการและเลขานุการ - ขา้ ราชการในกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จา� นวนไมเ่ กนิ สองคน เปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 58 เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง

๓.๒ อา� นาจหนา้ ท ่ี (มาตรา ๗) - กา� หนดนโยบายในการจัดท�าแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาต ิ - พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตกิ อ่ นเสนอ คณะรัฐมนตรี - บรู ณาการพฒั นาระบบการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระหวา่ งหนว่ ยงาน ของรฐั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และหน่วยงานภาคเอกชนทเ่ี กยี่ วขอ้ งให้มีประสิทธภิ าพ - ให้ค�าแนะน�า ปรึกษาและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - วางระเบยี บเกย่ี วกบั คา่ ตอบแทน คา่ ทดแทน และคา่ ใช้จ่ายในการดา� เนินการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง - ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอื่น หรือตามท่ี คณะรัฐมนตรมี อบหมาย ๔. หน่วยงานกลางของรฐั ในการด�าเนินการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (มาตรา ๑๑) ใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ หนว่ ยงานกลางของรฐั ในการดา� เนนิ การเกย่ี วกบั การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ มอี า� นาจหน้าท่ี - จัดท�าแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติเสนอ กปภ.ช. เพื่อขออนุมัติต่อ คณะรัฐมนตรี - จัดให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อหามาตรการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มี ประสิทธภิ าพปฏบิ ัติการ ประสานการปฏิบัติ ใหก้ ารสนบั สนนุ และชว่ ยเหลือหนว่ ยงานของรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานภาคเอกชน ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และให้การ สงเคราะหเ์ บ้ืองตน้ แก่ผ้ปู ระสบภัย ผู้ไดร้ ับภยนั ตราย หรอื ผไู้ ดร้ ับความเสียหายจากสาธารณภยั - แนะนา� ใหค้ า� ปรกึ ษา และอบรมเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แก ่ หนว่ ยงาน ของรฐั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และหนว่ ยงานภาคเอกชน - ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด�าเนินการตามแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในแต่ละระดบั และเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ี กรมจะจัดให้มีศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ข้ึนในบางจังหวัด ตามความจ�าเป็นเพื่อปฏิบัติงานในจังหวัดนั้นและจังหวัดใกล้เคียง และจะให้มี สา� นกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ขน้ึ เพอ่ื กา� กบั ดแู ลและสนนั สนนุ การปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในจังหวัด หรอื ตามทผ่ี อู้ า� นวยการจังหวดั มอบหมายกไ็ ด ้ (มาตรา ๑๑) โดยให้ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตเดิมเป็นศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบญั ญตั ินี ้ (มาตรา ๕๗) เร่อื งควรรู้ คู่มือนักปกครอง 59

๕. แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ก�าหนดให้มกี ารจัดทา� แผน ๓ ระดับ ดังนี้ ๕.๑ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ โดยกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั จดั ทา� รว่ มกบั หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตวั แทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ แตล่ ะประเภท และหน่วยงานภาคเอกชน โดยต้องมสี าระส�าคัญตามท่กี า� หนด เช่น - แนวทางมาตรการ งบประมาณ ในการดา� เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง และแนวทาง วิธีการในการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของรัฐ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ทรี่ บั ผดิ ชอบ - แนวทางในการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นบคุ ลากร อปุ กรณ์ และเครื่องมือเครอื่ งใช้ และจดั ระบบการปฏิบัตกิ ารป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั รวมถึงการฝกึ บคุ ลากร และประชาชน - แนวทางในการซ่อมแซม บูรณะ และฟนื้ ฟู แล้วน�าเสนอแผนขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาต ิ และขออนมุ ตั คิ ณะรฐั มนตร ี เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานของรฐั และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ปฏิบัต ิ (มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒) ๕.๒ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั จดั ทา� โดยคณะกรรมการ ซง่ึ ผวู้ า่ ราชการ จงั หวดั เปน็ ประธาน โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ผลู้ งนามประกาศใช ้ ซงึ่ แผนดงั กลา่ วตอ้ งสอดคลอ้ งกบั แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ และมสี าระสา� คญั อ่นื ดงั ตอ่ ไปนี ้ (มาตรา ๑๖ และ มาตรา ๑๗) - การจัดต้งั ศูนยอ์ �านวยการเฉพาะกจิ เมอื่ เกิดสาธารณภัยขนึ้ โครงสร้างและผูม้ อี า� นาจ สัง่ การด้านตา่ ง ๆ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั - แผนและขน้ั ตอนขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการจดั หาวัสด ุ อุปกรณ์ เครอื่ ง มือเครือ่ งใช้ และยานพาหนะ เพ่ือใช้ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - แผนและขนั้ ตอนขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในการจดั ใหม้ เี ครอ่ื งหมาย สญั ญาณ หรือสิง่ อืน่ ใด ในการแจง้ ใหป้ ระชาชนได้ทราบถงึ การเกดิ หรือจะเกดิ สาธารณภยั - แผนปฏบิ ตั กิ ารในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ - แผนการประสานงานกับองคก์ ารสาธารณกศุ ล ๕.๓ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร จดั ท�าโดยคณะกรรมการ ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธาน โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้ลงนามประกาศ ใช้ ซ่ึงแผนดังกล่าวต้องสอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และมี สาระสา� คัญอื่น ดงั ต่อไปน้ี (มาตรา ๓๓ และ ๓๔) - การจัดตงั้ ศูนยอ์ �านวยการเฉพาะกจิ เมอ่ื เกดิ สาธารณภัยข้นึ โครงสรา้ ง และผู้มีอ�านาจ สัง่ การดา้ นต่าง ๆ ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย 60 เรอ่ื งควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง

- แผนและขั้นตอนในการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ และยานพาหนะเพอื่ ใช้ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย - แผนและขั้นตอนในการจัดให้มีเครื่องหมายสัญญาณ หรือสิ่งอ่ืนใด ในการแจ้งให้ ประชาชนไดท้ ราบถงึ การเกิดหรอื จะเกิดสาธารณภยั - แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตกรุงเทพมหานคร - แผนการประสานงานกบั องค์การสาธารณกุศลในเขตกรุงเทพมหานคร ใหห้ นว่ ยงานหรอื บคุ คลทมี่ หี นา้ ทจ่ี ดั ทา� แผนตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ จดั ทา� แผนใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในสองปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยระหว่างที่ยังจัดท�าแผนไม่แล้วเสร็จให้ด�าเนินการตาม แผนทใี่ ช้บังคับอยกู่ อ่ นวนั ท่ีพระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบ้ งั คบั (มาตรา ๕๖) ๖. การบัญชาการ ก�าหนดให้เป็นอา� นาจหนา้ ทขี่ องบคุ คลดังต่อไปน้ี ๖.๑ นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรัฐมนตรซี ึง่ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย (มาตรา ๓๑ กรณี เกดิ สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง) ๖.๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาต ิ มอี า� นาจควบคมุ และกา� กบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทวั่ ราชอาณาจกั รใหเ้ ปน็ ไปตาม แผน การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาต ิ และมีอ�านาจบงั คบั บญั ชาและส่งั การผอู้ �านวยการ รองผู้อ�านวยการ ผู้ช่วยผู้อ�านวยการ เจ้าพนักงาน และอาสาสมัครได้ท่ัวราชอาณาจักร (มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง) ๖.๓ ปลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ รองผบู้ ัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ มหี นา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ผบู้ ญั ชาการในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามทผ่ี บู้ ญั ชาการ มอบหมาย โดยให้มอี �านาจบังคับบัญชาและส่งั การรองจากผูบ้ ัญชาการ (มาตรา ๑๓ วรรคสอง) ๗. การปฏิบัติ เป็นอ�านาจหน้าที่ของผู้อ�านวยการ เจ้าพนักงาน และอาสาสมัครในเขตพื้นที่ รบั ผิดชอบ ดงั นี้ ๗.๑ อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เป็นผู้อ�านวยการกลาง มหี น้าที่ปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัยทัว่ ราชอาณาจักร (มาตรา ๑๔) ๗.๒ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้อ�านวยการจังหวัด รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขตจงั หวัด (มาตรา ๑๕) ๗.๓ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองผู้อ�านวยการจังหวัด มีหน้าท่ีช่วยเหลือ ผู้อา� นวยการจังหวัดในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (มาตรา ๑๘) ๗.๔ นายอ�าเภอ (รวมปลัดอ�าเภอผู้เป็นหัวหน้าประจ�ากิ่งอ�าเภอ) เป็นผู้อ�านวยการอ�าเภอ รับผิดชอบและปฎิบัตหิ นา้ ทใี่ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตอ�าเภอ (มาตรา ๔ ประกอบ กบั มาตรา ๑๙) เรอื่ งควรรู้ คู่มือนกั ปกครอง 61

๗.๕ ผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ (นายกองค์การบริหาร ส่วนต�าบล นายกเทศมนตรี นายกเมืองพัทยา และหัวหน้าผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แห่งพ้ืนท่ีอ่ืน ท่ีมีกฎหมายจัดตั้ง) เป็นผู้อ�านวยการท้องถิ่น มีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตท้องถ่ินของตน และมีหน้าท่ีช่วยเหลือผู้อ�านวยการจังหวัด และผู้อ�านวยการอ�าเภอตามที่ได้ รบั มอบหมาย (มาตรา ๔ ประกอบกบั มาตรา ๒๐) ๗.๖ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นผู้อ�านวยการกรุงเทพมหานคร รับผิดชอบในการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตกรงุ เทพมหานคร (มาตรา ๓๒) ๗.๗ ปลดั กรงุ เทพมหานคร เปน็ รองผอู้ า� นวยการกรงุ เทพมหานคร มหี นา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื ผอู้ �านวย การกรงุ เทพมหานครในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยจะมอบหมายรองปลดั กรงุ เทพมหานคร เป็นผชู้ ว่ ยปฏบิ ตั ดิ ว้ ยกไ็ ด ้ (มาตรา ๓๕) ๗.๘ ผู้อ�านวยการเขตในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นผู้ช่วยผู้อ�านวยการ กรงุ เทพมหานคร รับผดิ ชอบในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตรับผิดชอบ และมหี น้าทช่ี ว่ ย เหลือผู้อ�านวยการกรงุ เทพมหานครตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย (มาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗) ๗.๙ เจา้ พนกั งาน ใหผ้ อู้ า� นวยการมอี า� นาจแตง่ ตง้ั เจา้ พนกั งานเพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตรับผิดชอบ โดยหลักเกณฑ์การแต่งต้ังและการปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าพนักงานใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบท่ีกระทรวงมหาดไทยก�าหนด (มาตรา ๓๙) ๗.๑๐ อาสาสมัคร ให้ผู้อ�านวยการจัดให้มีอาสาสมัครในพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบ เพ่ือช่วยเหลือ เจา้ พนกั งานในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ นื่ ตามทผ่ี อู้ า� นวยการมอบหมาย และตามที่กา� หนดในระเบียบของกระทรวงมหาดไทย (มาตรา ๔๑) ๗.๑๑ องค์การสาธารณกศุ ลหรอื บคุ คลท่มี าชว่ ยเหลอื การปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องเจ้าพนกั งาน ใน ระหว่างเกิดสาธารณภัย สามารถช่วยเหลือหรือบรรเทาสาธารณภัยได้ตามที่ผู้อ�านวยการหรือ เจ้าพนักงาน ท่ีได้รับมอบหมายได้มอบหมายภารกิจให้ (มาตรา ๔๒) ๘. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๘.๑ เม่ือเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แห่งพ้ืนท่ีใด ให้เป็นหน้าท่ีของผู้อ�านวยการท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพื้นที่นั้น โดย ผู้อ�านวยการอ�าเภอ และผู้อ�านวยการจังหวัดมีอ�านาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้อ�านวยการท้องถิ่นในเขต อ�าเภอพนื้ ทข่ี องตน และในเขตจงั หวัด แล้วแต่กรณี (มาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒) ๘.๒ กรณที พ่ี นื้ ทที่ เ่ี กดิ หรอื จะเกดิ สาธารณภยั อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของผอู้ า� นวยการทอ้ งถน่ิ หลายคน ผอู้ า� นวยการทอ้ งถน่ิ คนหนงึ่ คนใดจะใชอ้ า� นาจหรอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามมาตรา ๒๑ ไปพลางกอ่ น ก็ได ้ แล้วใหแ้ จ้งผอู้ �านวยการท้องถิน่ อื่นทราบโดยเร็ว และกรณีผู้อา� นวยการท้องถิ่นมคี วามจ�าเปน็ ตอ้ ง 62 เร่ืองควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง

ได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐท่ีอยู่นอกเขตขององค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถ่ินแหง่ พนื้ ท่ีของตน ใหแ้ จ้งใหผ้ อู้ า� นวยการอ�าเภอ หรอื ผอู้ �านวยการจังหวดั แล้วแตก่ รณีเพ่ือ ส่งั การโดยเร็วต่อไป (มาตรา ๒๒) ๘.๓ ผอู้ า� นวยการในเขตพน้ื ทที่ ตี่ ดิ ตอ่ หรอื ใกลเ้ คยี งมหี นา้ ทสี่ นบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยแก่ผู้อ�านวยการซึ่งรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดข้ึนนั้น (มาตรา ๒๓) ๘.๔ เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น เจ้าพนักงานที่ประสบเหตุมีหน้าท่ีต้องเข้าด�าเนินการเบื้องต้น เพอ่ื ระงบั ภยั นน้ั แลว้ รบี รายงานใหผ้ อู้ า� นวยการทอ้ งถน่ิ เพอื่ สง่ั การตอ่ ไป และในกรณจี า� เปน็ เจา้ พนกั งาน มีอ�านาจด�าเนินการใดเพ่ือประโยชน์ในการคุ้มครองชีวิตหรือป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่บุคคลได ้ (มาตรา ๒๔) ๘.๕ กรณีเจ้าพนักงานจา� เปน็ ต้องเขา้ ไปในอาคารหรือสถานที่ที่อย่ใู กล้เคียงกบั บริเวณทเี่ กิด สาธารณภัยเพื่อท�าการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้กระท�าได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากเจ้าของ หรอื ผคู้ รอบครองอาคารหรอื สถานทแี่ ลว้ เวน้ แตไ่ มม่ เี จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองอยใู่ นเวลานน้ั หรอื เมอื่ มี ผอู้ า� นวยการอยดู่ ว้ ย และหากทรพั ยส์ นิ นน้ั เปน็ สงิ่ ทท่ี า� ใหเ้ กดิ สาธารณภยั ไดง้ า่ ย ใหเ้ จา้ พนกั งานมอี า� นาจ สงั่ ใหเ้ จา้ ของ หรอื ผคู้ รอบครองขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ นน้ั ออกจากอาคารหรอื สถานทด่ี งั กลา่ วได ้ หากเจา้ ของ หรอื ผูค้ รอบครอง ไม่ปฏบิ ัตติ าม เจ้าพนักงานมอี า� นาจขนย้ายทรพั ยส์ ินนน้ั ไดต้ ามความจ�าเป็นแก่การ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยเจ้าพนักงานไม่ต้องรับผิดชอบบรรดาความเสียหายอันเกิดจาก การกระท�าดงั กลา่ ว (มาตรา ๒๖) ๘.๖ ให้ผู้อ�านวยการในเขตพ้ืนที่ที่รับผิดชอบส�ารวจความเสียหายจากสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น และทา� บญั ชรี ายชอื่ ผปู้ ระสบภยั และทรพั ยส์ นิ ทเี่ สยี หายไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน พรอ้ มทง้ั ออกหนงั สอื รบั รองให้ ผูป้ ระสบภยั ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการรับการสงเคราะหแ์ ละฟืน้ ฟ ู (มาตรา ๓๐) ๘.๗ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยงานในพนื้ ทกี่ บั หนว่ ยทหารในการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั (มาตรา ๔๖) ก�าหนดให้หน่วยทหารเข้ามามีส่วนร่วมต้ังแต่ขั้นตอนการจัดท�าแผน และกรณีเกิด สาธารณภยั ข้นึ หากตอ้ งมหี นว่ ยทหารเขา้ รว่ มดา� เนนิ การ ก�าหนดให้ตอ้ งจดั ท�าเป็นบนั ทึกขอ้ ตกลงรว่ ม กนั ระหว่างผู้วา่ ราชการจงั หวดั ในฐานะผู้อา� นวยการจงั หวัด หรือผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานครในฐานะ ผู้อา� นวยการกรุงเทพมหานคร กับผ้บู ญั ชาทหารในเขตพื้นที่ทเี่ กยี่ วข้อง เว้นแตเ่ ปน็ กรณีการส่งั การของ นายกรัฐมนตรีหรอื รองนายกรัฐมนตรซี ง่ึ นายกรฐั มนตรีมอบหมาย เรือ่ งควรรู้ คมู่ อื นักปกครอง 63

๙. การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตกรุงเทพมหานคร ในกรณที ม่ี คี วามจา� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผใู้ ดหรอื หนว่ ยงาน ของรัฐใดในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ผู้อ�านวยการ กรงุ เทพมหานครแจง้ ใหเ้ จ้าหน้าท่ขี องรัฐผนู้ ้นั หรอื หน่วยงานของรฐั นน้ั ทราบ และเมือ่ เจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐ ผู้นั้นหรือหน่วยงานของรัฐนั้น แล้วแต่กรณี ได้รับแจ้งแล้ว ให้เป็นหน้าท่ีที่จะต้องด�าเนินการให้ความ ชว่ ยเหลอื ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเขตกรงุ เทพมหานครตามทไ่ี ดร้ บั แจง้ โดยเรว็ (มาตรา ๓๘) ****************************** กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย 0-2637-3000 64 เรือ่ งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง

การปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุ/อบุ ัตภิ ยั ชว่ งเทศกาล



การป้องกันอุบตั เิ หตุ/อบุ ตั ิภยั ชว่ งเทศกาล ๑. กรอบแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนน กรอบนโยบาย รายละเอยี ดของกรอบนโยบาย (๑) นโยบายรฐั บาล การป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุในการจราจรอันน�าไปสู่ การบาดเจ็บและเสียชีวิต โดยการร่วมมือระหว่างฝ่ายต่างๆ ในการ ตรวจจบั เพ่อื ป้องกนั การรายงาน และการดูแลผู้บาดเจบ็ (๒) แผนทศวรรษ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ มีมติเห็นชอบให้ ความปลอดภัยทางถนน “ปี ๒๕๕๔-๒๕๖๓ เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” เพื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ บูรณาการการด�าเนินงานจากทุกภาคส่วน โดยมีเป้าหมายลดอัตรา การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่�ากว่า ๑๐ คนต่อประชากร หนง่ึ แสนคนภายในปี ๒๕๖๓ ตามแนวทาง ๕ เสาหลกั ประกอบดว้ ย ๑) การบริหารจัดการความปลอดภยั ทางถนน ๒) ถนนและการสัญจรอยา่ งปลอดภัย ๓) ยานพาหนะทีป่ ลอดภยั ๔) การใชร้ ถใช้ถนนท่ปี ลอดภยั ๕) การตอบสนองหลงั การเกดิ อุบตั เิ หตุ (๓) แผนแมบ่ ท คณะรฐั มนตรเี มอ่ื วนั ท ี่ ๒๔ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๕๘ มมี ตเิ หน็ ชอบใหใ้ ชแ้ ผน ความปลอดภัยทางถนน แม่บทความปลอดภัยทางถนนเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการด�าเนิน พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ การปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตขุ องหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประกอบดว้ ย ๔ ยุทธศาสตร์ คอื ๑) พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทาง ถนนสูร่ ะดับสากล ๒) การเสริมสรา้ งความปลอดภัยแบบมุง่ เป้า ๓) ลดความสญู เสียในปจั จัยเสยี่ งหลักอยา่ งยง่ั ยนื ๔) เสรมิ สรา้ งความปลอดภยั ทางถนนในทอ้ งถน่ิ อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม เร่ืองควรรู้ ค่มู ือนักปกครอง 67

กรอบนโยบาย รายละเอยี ดของกรอบนโยบาย (๔) แผนปฏิบัติการเพื่อ คณะกรรมการศูนย์อ�านวยการความปลอดภัยทางถนน เม่ือวันท่ี รองรับแผนแม่บทและแผน ๑๙ มนี าคม ๒๕๕๘ มมี ตเิ หน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื รองรบั แผนแมบ่ ท ทศวรรษความปลอดภัย และแผนทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน เพื่อให้หน่วยงาน ทางถนน พ.ศ. ๒๕๕๖ - ทเ่ี กยี่ วขอ้ งใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการขบั เคลอื่ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ข ๒๕๕๙ ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในระดับต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมและ มีประสิทธภิ าพ (๕) มติคณะรฐั มนตรี มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ และวันท ่ี ๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๘ ๒. วตั ถุประสงค์ เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่�ากว่า ๑๐ คนต่อประชากรหน่ึงแสนคนในป ี ๒๕๖๓ ตามเปา้ หมายทศวรรษแหง่ ความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓ ๓. ระเบยี บ/กฎหมายท่ี ระเบียบสา� นักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการป้องกนั และลดอบุ ัตเิ หตทุ างถนน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔. กลไกในการด�าเนนิ งาน ระเบยี บสา� นักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการป้องกนั และลดอบุ ัติเหตุทางถนน พ.ศ. ๒๕๕๔ ก�าหนด โครงสรา้ งองค์กรรับผดิ ชอบในการดา� เนนิ งานระดบั พื้นท่ี ดงั น้ี 68 เรือ่ งควรรู้ คูม่ อื นกั ปกครอง

ระเบียบสา� นักนายกรฐั มนตรีฯ ระดบั นโยบาย ระดับอา� นวยการ ระดบั ปฏบิ ัติการ • คณะกรรมการนโยบาย • ศนู ยอ์ า� นวยการความปลอดภยั • ศูนยป์ ฏบิ ัติการความ การปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หต ุ ทางถนน (ศปถ.) ปลอดภัยทางถนน ทางถนนแห่งชาติ * รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย (ศปถ. อา� เภอ) (คณะกรรมการ นปถ.) เป็นผ้อู �านวยการศูนยฯ์ * นายอา� เภอ เป็น * นายกรฐั มนตรีหรอื • คณะกรรมการศนู ย์อ�านวยการ ผู้อ�านวยการศนู ยฯ์ รองนายกรฐั มนตรี ความปลอดภยั ทางถนน • คณะกรรมการศนู ยป์ ฏบิ ตั ิ ที่นายกรัฐมนตรมี อบหมาย (คณะกรรมการ ศปถ.) การความปลอดภยั เปน็ ประธานกรรมการฯ * รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย ทางถนนอ�าเภอ เป็นประธานกรรมการ (คณะกรรมการ • ศูนย์อ�านวยการความปลอดภัย ศปถ.อ�าเภอ) ทางถนนจงั หวัด (ศปถ.จงั หวดั ) * นายอ�าเภอ * ผู้ว่าราชการจงั หวดั เปน็ ประธานกรรมการ เป็นผ้อู า� นวยการศนู ยฯ์ • คณะกรรมการศูนย์อ�านวยการ • ศูนย์ปฏิบัติการความ ความปลอดภยั ทางถนนจังหวดั ปลอดภยั ทางถนนองคก์ ร (คณะกรรมการ ศปถ.จังหวัด) ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน * ผ้วู ่าราชการจังหวัด * ผ้บู ริหารองคก์ รปกครอง เปน็ ประธานกรรมการ ส่วนท้องถ่ิน เปน็ ผู้อา� นวยการศูนย์ฯ • ศนู ย์อา� นวยการความปลอดภยั • คณะกรรมการศนู ยป์ ฏบิ ตั ิ ทางถนนกรงุ เทพมหานคร การความปลอดภยั ทาง (ศปถ.กทม.) ถนนองค์กรปกครอง * ผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานคร ส่วนทอ้ งถ่ิน (คณะ เปน็ ผอู้ า� นวยการศนู ย์ฯ กรรมการ ศปถ.อปท.) • คณะกรรมการศนู ย์อ�านวยการ * ผบู้ ริหารองคก์ รปกครอง ความปลอดภยั ทางถนน ส่วนทอ้ งถิน่ กรงุ เทพมหานคร เปน็ ประธานกรรมการ (คณะกรรมการ ศปถ.กทม.) * ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ ประธานกรรมการ เรอื่ งควรรู้ คูม่ อื นกั ปกครอง 69

๕. อา� นาจหนา้ ที่ * ระเบียบฯ ข้อ ๑๗ * ระเบยี บฯ ข้อ ๒๒ (๑) จัดท�าแผนปฏิบัติการ แผนงาน ในทอ้ งทข่ี ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ใดมี โครงการ และงบประมาณ ในการปอ้ งกนั และ ปัญหาเก่ียวกับอุบัติเหตุทางถนนอันสมควร ลดอุบตั ิเหตทุ างถนน ให้มีศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทาง (๒) ด�าเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ถนนข้ึนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้ผู้ว่า ทางถนนในเขตจังหวัด ราชการจังหวัดประสานกับองค์กรปกครอง (๓) อา� นวยการ ประสานการปฏบิ ตั ิงาน ส่วนท้องถิ่นน้ัน เพ่ือให้ผู้บริหารองค์กร เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลตามแผน ป ก ค ร อ ง ส ่ ว น ท ้ อ ง ถ่ิ น พิ จ า ร ณ า จั ด ใ ห ้ มี ปฏบิ ตั กิ ารแผนงาน โครงการ และงบประมาณ ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนน (๔) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ ม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (ศปถ.อปท.) ของประชาชนในการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หต ุ ทางถนนในเขตจังหวัด (๕) จดั ใหม้ ศี นู ยข์ ้อมูลและสถติ อิ บุ ัติเหต ุ ทางถนนของจังหวดั (๖) จดั ใหม้ โี ครงการพฒั นาบคุ ลากรดา้ น ความปลอดภัยทางถนน (๗) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและ ประชาสมั พนั ธก์ ารดา� เนนิ งานต่อสาธารณะ (๘) รายงานผลการดา� เนนิ งาน และเสนอ ความเหน็ ต่อคณะกรรมการ ศปถ. (๙) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะ ทา� งาน (๑๐) ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการ นปถ. หรอื คณะกรรมการ ศปถ. มอบหมาย 70 เรอ่ื งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง

๖. แนวทางการด�าเนนิ งาน ๖.๑ ชว่ งปกต ิ ใหใ้ ช้กรอบแนวทางการด�าเนนิ งาน ดังตอ่ ไปนี้ ๑) แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ ๔ ยุทธศาสตร ์ ดังน ี้ ยุทธศาสตรท์ ่ ี ๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภยั ทางถนนสรู่ ะดบั สากล ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การเสรมิ สร้างความปลอดภยั แบบมงุ่ เปา้ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ลดความสูญเสยี ในปจั จัยเสยี่ งหลักอยา่ งย่งั ยนื ยุทธศาสตร์ท ี่ ๔ เสรมิ สรา้ งความปลอดภัยทางถนในท้องถ่ินอย่างมสี ว่ นรว่ ม ๒) มตคิ ณะกรรมการนโยบายการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนแหง่ ชาต ิ (คณะกรรมการ นปถ.) เมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัย ทางถนน เปน็ วาระแหง่ ชาต ิ ๙ ขอ้ ดงั นี้ ๑. ส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนให้กับ ประชาชน โดยเพ่ิมการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง รวมท้ังขับเคลื่อนผลักดันให้เป็นหลักสูตรของนักเรียน นักศึกษาอย่างเป็น รูปธรรม ๒. ส่งเสรมิ การสวมหมวกนิรภยั ๓. ลดพฤติกรรมเสีย่ งจากการบริโภคเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์แล้วขับขยี่ านพาหนะ ๔. แก้ไขปญั หาจดุ เส่ยี ง จุดอนั ตราย ๕. ปรับพฤติกรรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะให้ใช้ความเร็ว ตามท่ีกฎหมายก�าหนด โดยเฉพาะรถจกั รยานยนต์ รถโดยสารสาธารณะ และรถบรรทกุ ๖. ยกระดบั มาตรฐานยานพาหนะใหป้ ลอดภยั โดยเฉพาะรถจักรยานยนต ์ รถโดยสาร สาธารณะ และรถบรรทกุ ๗. พฒั นาสมรรถนะของผู้ใชร้ ถใชถ้ นนให้มคี วามปลอดภัย ๘. พัฒนาระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน การรักษาและการฟ้ืนฟูผบู้ าดเจบ็ เพ่อื ให้การบรกิ าร ระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ การรกั ษาและการฟน้ื ฟผู บู้ าดเจบ็ ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ และรวดเรว็ และเพม่ิ ศกั ยภาพ การกภู้ ัยท้ังในระดับประเทศ และท้องถ่นิ ให้สงู ข้นึ ๙. พัฒนาระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย ทางถนนของประเทศไทยให้มี ประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการด�าเนินงานแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมใหม้ ากขนึ้ แนวทางการดา� เนนิ งาน ๑) ดา� เนินการป้องกันและลดอุบตั ิเหตทุ างถนนในเขตจังหวัด (๑) จัดประชมุ คณะกรรมการศนู ย์อา� นวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวดั เรอ่ื งควรรู้ คมู่ อื นกั ปกครอง 71

(๒) จัดทา� แผนปฏบิ ัติการ แผนงาน โครงการ และงบประมาณ ในการปอ้ งกนั และลด อุบัติเหตุทางถนนให้สอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ แผนแม่บทความ ปลอดภยั ทางถนน แผนพัฒนาจังหวดั และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (๓) ขบั เคลอ่ื นนโยบายเรง่ ดว่ นป ี ๒๕๕๘ โดยจดั ทา� แผนการดา� เนนิ งานรองรบั ในประเดน็ ดงั นี้ • รณรงค์ลดความเรว็ ในการขับขย่ี านพาหนะ • รณรงคส์ ง่ เสรมิ การสวมหมวกนิรภัย ๑๐๐ % • ความปลอดภัยทางถนนสา� หรับเดก็ • แก้กฎหมายสา� คญั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง • เตรยี มตัวสูป่ ระชาคมอาเซยี น ๒) บรู ณาการและประสานหนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตุ ทางถนน ในเขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ โดยการสร้างการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น ๓ ด้าน ประกอบด้วย ๑. นโยบายภาครัฐ ๒. องค์ความรู้และนวตั กรรม ๓. การมสี ว่ นรว่ มภาคเี ครือขา่ ย อปท. และภาคประชาชน นโยบายภาครฐั องคค์ วามรู้ การมี และนวตั กรรม สว่ นร่วมภาคี เครือข่าย อปท. และภาค ประชาชน ๓) จดั ให้มีศนู ยข์ อ้ มูลและสถติ ิอบุ ัตเิ หตุทางถนนของจงั หวดั (๑) ประชุมคณะทา� งานขอ้ มูลอุบตั เิ หตทุ างถนนระดับจงั หวัด (๒) ประสานหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในเขตพนื้ ทเี่ พอื่ รายงานขอ้ มลู สถติ อิ บุ ตั เิ หตทุ างถนน ไปยังจังหวัด (๓) รายงานขอ้ มลู สถติ อิ บุ ตั เิ หตทุ างถนนรายเดอื นผา่ นระบบ e-report ไปยงั กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ส�านักงานเลขานุการคณะกรรมการศนู ยอ์ า� นวยการความปลอดภัยทางถนน 72 เร่ืองควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง

๔) จัดต้ังคณะทา� งานสบื สวนอบุ ตั ิเหตเุ ชิงลึกระดบั จงั หวัด ๕) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์การด�าเนินงานให้ประชาชนในพ้ืนที่ รบั ทราบ ๖) รณรงคส์ ร้างจติ สา� นกึ และสรา้ งการมสี ่วนร่วมกับทุกภาคสว่ น ๗) ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบและรายงานผลการ ด�าเนินงานไปยัง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส�านักงานเลขานุการคณะกรรมการศูนย์อ�านวย การความปลอดภัยทางถนน ๖.๒ ช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต ์ มแี นวทางการด�าเนินงาน ดงั น้ี ๑) จัดตงั้ ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารป้องกันและลดอุบัตเิ หตุทางถนนชว่ งเทศกาลระดบั จังหวดั ๒) จัดท�าแผนปอ้ งกนั และลดอุบตั เิ หตทุ างถนนชว่ งเทศกาลระดบั จังหวดั ๓) ประสานหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ ดา� เนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตุ ทางถนนช่วงเทศกาลระดบั จงั หวดั ๔) ประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการรายงานข้อมูลสถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล ของอ�าเภอ ในพื้นท่รี ับผิดชอบ ๕) รายงานข้อมูลสถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลให้ศูนย์อ�านวยการป้องกัน และลดอบุ ัตเิ หตุทางถนนชว่ งเทศกาลส่วนกลาง ๖) เผยแพร่ประชาสมั พันธผ์ ลการดา� เนนิ งานชว่ งเทศกาลในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ ๗) รณรงคส์ ร้างจิตส�านกึ และสร้างการมสี ว่ นร่วมกับทกุ ภาคสว่ น ๘) รายงานผลการดา� เนนิ งานใหศ้ นู ยอ์ า� นวยการปอ้ งกนั และลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนชว่ งเทศกาล ส่วนกลาง ------------------------------------------------ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 0-2637-3000 เรื่องควรรู้ คู่มอื นักปกครอง 73



การแกไ้ ขปัญหาราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่า�



การแกไ้ ขปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตร โครงการกระจายผลผลติ ด้านการเกษตรสูผ่ บู้ รโิ ภค ๗๔,๙๖๓ หมูบ่ า้ น กระทรวงมหาดไทยมีนโยบายเร่ืองการกระจายผลผลิตด้านการเกษตรสู่ผู้บริโภคเนื่องจาก ในแต่ละช่วงฤดูการผลิตจะมีผลผลิตทางการเกษตรออกมาจ�าหน่ายในท้องตลาดจ�านวนมาก ซ่ึงอาจ สง่ ผลกระทบตอ่ ราคาของสินค้าเกษตร เชน่ ล�าไย เงาะ ทุเรียน มังคดุ ลางสาด หอม กระเทยี ม เป็นต้น ที่ผ่านเม่ือมีผลผลิตล้นตลาดท�าให้ราคาตกต�่า แต่เกษตรกรไม่สามารถชะลอการน�าออกจ�าหน่ายหรือ กระจายผลผลิตไปในพืน้ ท่หี ่างไกลได ้ ผลผลิตท่อี อกส่ตู ลาดจงึ เกิดความเสยี หาย เกษตรกรมีรายไดต้ า�่ ไม่คุม้ คา่ กับการลงทนุ นา� ไปสู่การรวมตัวกนั ของเกษตรกรเพือ่ เรยี กร้องให้รัฐบาลเข้ามาชว่ ยเหลือ เป็น ปัญหาทางสังคมและความมั่นคงตามมา กระทรวงมหาดไทยจึงได้ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หาแนวทางสนบั สนนุ การดา� เนนิ การเพอื่ แกไ้ ขปญั หาใหก้ บั จงั หวดั ทเี่ ปน็ แหลง่ ผลติ หรอื จงั หวดั “ตน้ นา�้ ” กบั จงั หวดั ทเี่ ป็นตลาดหรอื จังหวดั “ปลายนา้� ” รวมทัง้ ระบบการบริหารจดั การ เพ่อื ขนส่งสินคา้ ด้าน การเกษตรของจงั หวดั ตน้ น้�าไปกระจายสหู่ ม่บู ้าน/ชมุ ชนจังหวดั ปลายนา้� ให้ทว่ั ถึง และมคี ณุ ภาพ โดย ได้จัดตั้ง “ศูนย์ประสานการกระจายผลผลิตด้านการเกษตรสู่ผู้บริโภค 74,963 หมู่บ้าน” (MOI Distribution Center) ครอบคลุมทุกหมู่บ้านท่ัวประเทศ โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็น ประธานกรรมการ กรรมการประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงท่ีเก่ียวข้อง สมาคมธุรกิจการค้า กรงุ เทพมหานคร หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการมหี นา้ ทส่ี า� คญั คอื “จบั คจู่ งั หวดั แหล่งกา� เนดิ สินค้ากบั กลุม่ จังหวดั เป้าหมายกระจายสินคา้ ” ในสว่ นของจงั หวัดนอกจากการต้งั ศูนย์ขน้ึ ทุกหมู่บา้ นแลว้ ไดก้ า� หนดให้มีการจดั ตัง้ Provincial Distribution Center โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน กรรมการประกอบด้วยส่วนราชการ ท่ีเกี่ยวข้อง สมาคมธุรกิจการค้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประธานชมรมก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการมีหนา้ ที่ 1. ส�ารวจและวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ ชนิดสินค้าเกษตรท่ีคาดว่าจะมีราคาตกต�่า (กรณีเป็น จงั หวัดแหล่งก�าเนิดสนิ คา้ เกษตร) 2. สา� รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ปรมิ าณสนิ คา้ เกษตรทสี่ ามารถกระจายไปยงั ผบู้ รโิ ภคภายในจงั หวดั (กรณเี ปน็ จงั หวัดเป้าหมายกระจายสินคา้ เกษตร) 3. ส�ารวจและรวบรวมแหล่งที่มา ช่องทางการใช้จ่ายงบประมาณจากทุกหน่วยงานในสังกัด ทีส่ ามารถใชจ้ า่ ยเพอื่ แกไ้ ขปญั หาราคาสินค้าเกษตรตกต่า� 4. ประสานของบประมาณในการแกไ้ ขปญั หา กรณไี มส่ ามารถใชง้ บประมาณปกตไิ ด ้ จากองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิน่ เรอื่ งควรรู้ คูม่ อื นักปกครอง 77

นอกจากนี้กระทรวงมหาดไทยได้ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดแก้ไขปัญหาผลผลิตด้าน การเกษตรอย่างยัง่ ยืนตามแนวทาง ดังนี้ ๑. กา� หนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาระยะยาวในจงั หวดั ทเ่ี ปน็ แหลง่ ผลติ สนิ คา้ เกษตร (จงั หวดั ตน้ นา�้ ) เชน่ การลดพน้ื ทเ่ี พาะปลกู หรอื การปรบั ปรงุ สายพนั ธก์ุ ารผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพมากกวา่ ปรมิ าณ ชะลอการนา� ผลผลิตออกสู่ตลาด โดยจัดหาห้องเย็น สถานท่ีเก็บรักษา หรือส่งเสริมให้มีการแปรรูป และแสวงหา ตลาดจา� หน่ายล่วงหน้าท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ เปน็ ตน้ ๒. ก�าหนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาระยะส้นั ดงั นี ้ ๒.๑ การประชาสมั พันธแ์ ละส่งเสรมิ การบรโิ ภคภายในประเทศ ๒.๒ การส่งเสริมการแปรรูปเพ่อื เพ่ิมมลู คา่ ๒.๓ การกระจายผลผลติ สผู่ บู้ รโิ ภคกลมุ่ ใหม ่ ในระดบั หมบู่ า้ น/ชมุ ชน หรอื สถานประกอบการ ผา่ นทางเครอื ขา่ ยศนู ยป์ ระสานการกระจายผลผลติ ดา้ นการเกษตรสผู่ บู้ รโิ ภคทมี่ คี รอบคลมุ ทกุ หมบู่ า้ น ๓. ใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั สง่ั การใหน้ ายอา� เภอทกุ อา� เภอจดั ตงั้ ศนู ยป์ ระสานการกระจายผลผลติ ดา้ นการเกษตรส่ผู ู้บริโภคระดับอา� เภอ เพือ่ กระจายผลผลติ ไปสหู่ มบู่ า้ นให้ทัว่ ถงึ สว่ นในระดับหมบู่ า้ น ให้อยู่ในดุลพินิจของนายอ�าเภอว่าจะต้องจัดต้ังศูนย์ประสานการกระจายผลผลิตด้านการเกษตรสู่ ผู้บรโิ ภค ระดบั หมู่บ้านหรือไม่ ทัง้ น้ ี ตามความเหมาะสมและจา� เป็นของแตล่ ะพื้นที ่ ๔. ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ค่าขนส่ง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ขอให้จังหวัดได้เสนอขอรับ การสนับสนุนงบประมาณจากคณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) หรือ งบประมาณจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นต่อไป ส�านกั บรหิ ารการปกครองทอ้ งที่ กรมการปกครอง 0-2629-8307-14 78 เรอื่ งควรรู้ ค่มู อื นกั ปกครอง

เร่อื งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง 79

80 เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง

เร่อื งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง 81

82 เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง โครงการกระจายผลผลติ ด้านการเกษตรสู่ผู้บรโิ ภค 74,963 หมูบ่ ้าน (MOI Distribution Center) กระทรวงมหาดไทย กกรระะทรทวรงมวหงามดหไทายดไทย จัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานการกระจายผลผลิตดา้ นการเกษตรสู่ผู้บริโภค 74,963 หมบู่ ้าน ระดบั จังหวัด บูรณาการกับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ประสานงานกับจังหวัดตน้ นา้ และปลายนา้ ประชาสัมพันธ์ จงั หวดั ต้นนา้ จดั ตั้งศนู ย์ประสานการกระจายผลผลิตดา้ นการเกษตรสู่ผบู้ ริโภค 74,963 หมู่บา้ น ระดบั จังหวัด บรู ณาการกับคณะกรรมการเพือ่ แก้ไขปญั หาเกษตรกรอนั เนอ่ื งมาจากผลผลิตการเกษตรระดบั จงั หวัด (คพช.) และกลุ่มเกษตรกร/สหกรณใ์ นพ้นื ท่ี ส้ารวจข้อมูลการเพราะปลูก คาดการณผ์ ลผลติ รวบรวมข้อมลู ผลผลติ ส่วนเกนิ เพือ่ เสนอจา้ หนา่ ยไปยังจังหวดั ปลายนา้ และรายงานขอ้ มูลให้ มท. ทราบ ตดิ ตอ่ ขอรับงบประมาณชดเชยคา่ ขนส่งจากคณะกรรมการนโยบายและชว่ ยเหลือเกษตรกร (คชก.) ผ่านเกษตรจังหวัด จดั ส่งผลผลติ ให้แกจ่ งั หวดั ปลายน้าตามทีไ่ ดป้ ระสานงานไว้ (ตรวจสอบคุณภาพและปริมาณก่อนสง่ ) รายงานผลการจา้ หน่ายดังกล่าวให้ มท. ทราบ (จงั หวดั ท่สี นบั สนุน ปริมาณ วงเงินทัง้ หมด) ช้าระเงินคา่ จ้าหน่ายผลผลิตโดยตรง ระหวา่ งจงั หวัดต้นน้า – จงั หวดั ปลายน้า จังหวัดปลายน้า จดั ต้งั ศูนย์ประสานการกระจายผลผลติ ดา้ นการเกษตรสผู่ ูบ้ รโิ ภค 74,963 หมูบ่ า้ น ระดับจงั หวดั บรู ณาการกบั คณะกรรมการเพ่ือแก้ไขปัญหาเกษตรกรอันเนื่องมาจากผลผลติ การเกษตรระดับจงั หวัด (คพช.) และกลุ่มผบู้ ริโภค ประชาสัมพันธเ์ พอ่ื ส่ือสารสรา้ งความเขา้ ใจในการกระจายผลผลิตสู่ผ้บู ริโภค ตอบรบั การน้าผลผลติ ของจังหวดั ตน้ นา้ ไปกระจายผลผลิตสู่ผบู้ ริโภค ตอบรบั การน้าผลผลิตสพู่ ื้นทเ่ี ปา้ หมายตามแผนที่ก้าหนดไว้ ชา้ ระเงินค่าจ้าหน่ายผลผลิตโดยตรง รายงานผลการด้าเนินการให้ มท. ทราบ

การแก้ไขปญั หาหน้นี อกระบบ



การแกไ้ ขปัญหาหนีน้ อกระบบ แนวทางท ี่ 1 หน้ีนอกระบบทีจ่ ดั การได้ 1. กรณขี อ้ พพิ าททางแพง่ ทมี่ ที นุ ทรพั ยห์ รอื มลู หนไ้ี มเ่ กนิ สองแสนบาท อา� เภอมหี นา้ ท ี่ ไกลเ่ กลย่ี และประนีประนอมข้อพิพาทตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับท ่ี 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 61/1 มาตรา 61/2 และกฎกระทรวงวา่ ดว้ ย การไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ. 2553 ซึ่งผลของการท�าสัญญาประนีประนอม ยอมความมผี ลเชน่ เดยี วกบั คา� ชขี้ าดของอนญุ าโตตลุ าการ กลา่ วคอื ถา้ คพู่ พิ าทฝา่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ คู่พพิ าทอกี ฝ่ายหน่งึ สามารถย่นื คา� ร้องต่อพนักงานอยั การท่ีมีเขต อ�านาจ เพ่ือให้พนักงานอัยการยื่นค�าร้องต่อศาลให้ออกบังคับตามสัญญาประนีประนอมยอมความได้ ตามขอ้ 25 แห่งกฎกระทรวงวา่ ด้วยการไกลเ่ กลยี่ และประนอมข้อพพิ าททางแพง่ พ.ศ. 2553 2. กรณขี อ้ พพิ าททางแพง่ ทมี่ ที นุ ทรพั ยห์ รอื มลู หนเี้ กนิ สองแสนบาท อา� เภอไมส่ ามารถ ไกลเ่ กลยี่ และประนอมข้อพิพาทตามกฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ. 2553 ได้ เน่ืองจากในปัจจุบันยังไม่มีการก�าหนดข้อพิพาททางแพ่งอ่ืนท่ีมีทุนทรัพย์เกินกว่า สองแสนบาทไว้ในพระราชกฤษฎีกา แต่อย่างไรก็ตามหากคู่กรณียินยอมท้ังสองฝ่ายให้นายอ�าเภอ ไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาท เมื่อการท�าหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทถือเป็นภารกิจ เก่ียวกับการบ�าบัดทุกข์บ�ารุงสุขให้แก่ประชาชน ซ่ึงเป็นภารกิจหลักของศูนย์ด�ารงธรรมอ�าเภอ นายอ�าเภอก็สามารถด�าเนินการได้ ซ่ึงก่อนจะด�าเนินการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทไม่ว่าจะมี ทนุ ทรพั ยห์ รอื มมี ลู หนไ้ี มเ่ กนิ สองแสนบาทหรอื เกนิ สองแสนบาทกต็ าม จะตอ้ งขอดสู ญั ญาหรอื หลกั ฐาน แหง่ การกยู้ มื เงนิ และดอกเบย้ี ใหช้ ดั เจนกอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก เนอื่ งจากประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา 653 บัญญัติว่า “การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทข้ึนไปนั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็น หนงั สอื อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ลงลายมอื ชอื่ ผยู้ มื เปน็ สา� คญั จะฟอ้ งรอ้ งใหบ้ งั คบั คดหี าไดไ้ ม”่ ซง่ึ การไกลเ่ กลยี่ และประนอมข้อพิพาทกระท�าไดต้ ามระเบียบกฎหมาย ดังนี้ 2.1 การไกล่เกล่ียข้อพิพาททั่วไป หากตกลงกันได้ก็สามารถท�าสัญญาประนีประนอม ยอมความตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ มาตรา 850 มาตรา 851 และมาตรา 852 ซงึ่ เปน็ เรื่องการด�าเนินการในทางแพ่งปกติ แต่หากคู่กรณีไม่ปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวก็ต้องบังคับคดีตาม สัญญาประนีประนอมยอมความในชน้ั ศาลต่อไป 2.2 การประนปี ระนอมขอ้ พพิ าทของคณะกรรมการหมบู่ า้ นตามขอ้ บงั คบั กระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการปฏบิ ตั งิ านประนปี ระนอมขอ้ พพิ าทของคณะกรรมการหมบู า้ น พ.ศ. 2530 ขอ้ 4 ซงึ่ กา� หนด ให้คณะกรรมการหมู่บ้านสามารถท�าการประนีประนอมข้อพิพาทในทางแพ่งได้ทุกคดี โดยมิได้ระบุ ทุนทรัพย์ทางแพ่งไว้ แต่สัญญาประนีประนอมยอมความที่ท�าตามข้อบังคับนี้เป็นเพียงสัญญาธรรมดา เรื่องควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง 85

ไมม่ ีผลบงั คับดังเช่นพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ มาตรา 61/1 และมาตรา 61/2 และกฎกระทรวงวา่ ด้วยการไกลเ่ กลี่ยและประนอมข้อพพิ าททางแพง่ พ.ศ.2553 2.3 กรณีการแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนของเกษตรกรและผู้ยากจนในด้านที่ดินหนี้สิน กฎหมายและคดีความ และการประกอบอาชีพ สามารถไกล่เกล่ียและประนีประนอมข้อพิพาท ตามระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน พ.ศ. 2528 และที่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยใหค้ ณะอนกุ รรมการชว่ ยเหลอื เกษตรกรและผยู้ ากจนสว่ นจงั หวดั “อชก. สว่ นจงั หวดั ” และคณะอนกุ รรมการชว่ ยเหลอื เกษตรกรและผยู้ ากจนสว่ นอา� เภอ “อชก. สว่ นอา� เภอ” เปน็ ผทู้ า� หนา้ ที่ ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทและประสานการช่วยเหลือตามระเบียบสา� นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย กองทนุ หมนุ เวียนเพือ่ การก้ยู มื แกเ่ กษตรกรและผยู้ ากจน พ.ศ. 2546 3. ตดิ ตามผลภายหลงั การแกไ้ ขปญั หาเจรจาไกลเ่ กลย่ี กรณไี กลเ่ กลย่ี สา� เรจ็ ยตุ เิ รอ่ื งประเมนิ ความ พง่ึ พอใจของคกู่ รณ ี กรณไี มส่ า� เรจ็ สง่ ศนู ยด์ า� รงธรรมจงั หวดั ถา้ เจา้ หนไี้ มย่ อมเขา้ สกู่ ระบวนการไกลเ่ กลย่ี ถ้ากรณีเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราท่ีกฎหมายก�าหนด หรือมีการทวงถามหนี้โดยการข่มขู่หรือใช้ก�าลัง ประทษุ รา้ ยใช้แนวทางที่ 2 แนวทางท่ี 2 การใช้มาตรการทางกฎหมาย 1. การรับเรื่องราวร้องทุกข์กรณีหนี้นอกระบบแล้วเรียกดอกเบ้ียเกินอัตราที่กฎหมายก�าหนด ให้ส่งเรื่องไปยังเจ้าหน้าท่ีต�ารวจเพื่อด�าเนินคดีกับผู้ให้กู้ตามกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติห้ามเรียก ดอกเบ้ียเกินอัตรา พุทธศักราช 2435 มาตรา 3 ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 58 ลงวันท่ี 24 มกราคม 2515 ขอ้ 5 และ ขอ้ 16 ประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 46/2557 ลงวันท ่ี 28 พฤษภาคม 2557 เป็นตน้ และประสานสรรพากรพื้นที่ในเขตรับผดิ ชอบ เพ่อื ด�าเนินการ ทางภาษกี ับผู้ใหก้ ู้ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 91/2 (5) 2. รวบรวมข้อมูลทางลับเก่ียวกับรายช่ือบุคคลที่เป็นเจ้าหน้ีเงินกู้นอกระบบในพื้นที่ตามแบบ ท่ีกา� หนด แล้วรายงานใหก้ รมการปกครองทราบ 3. ให้ปฏิบัติการเชิงรุกโดยการประสานเจ้าหน้าท่ีต�ารวจด�าเนินคดีกับผู้ติดแผ่นป้ายหรือผู้เป็น เจา้ ของ ตรวจสอบใบประกาศโฆษณาเงนิ กทู้ ตี่ ดิ ตามสถานทส่ี าธารณะตา่ ง ๆ ตามพระราชบญั ญตั ริ กั ษา ความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมือง พ.ศ. 2535 หรือความผดิ อ่ืนทเี่ กยี่ วข้อง 4. หากมีการรอ้ งเรียนว่า มีบุคคลหรอื กลมุ่ บุคคลทม่ี ีพฤตกิ รรมข่มขทู่ �าร้ายลูกหนี้ให้ตรวจสอบ ข้อเท็จจริงแล้วใช้มาตรการทางกฎหมาย โดยให้อ�าเภอแต่งต้ังชุดเฉพาะกิจเคล่ือนท่ีเร็วประกอบด้วย ทหาร ต�ารวจฝา่ ยปกครอง สรรพากร และอืน่ ๆ ออกช่วยเหลอื ประชาชนในเบื้องต้นโดยด่วน 5. การพฒั นาศกั ยภาพลกู หนใี้ หอ้ า� เภอประสานและบรู ณาการของความรว่ มมอื องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคเอกชนหรือกองทุนหมู่บ้านให้การสนับสนุน งบประมาณเพือ่ จัดทา� โครงการอบรมให้ความร้เู กยี่ วกับผลเสียทเ่ี กดิ ข้ึนจากการก้เู งินนอกระบบ ความ 86 เรื่องควรรู้ คมู่ ือนักปกครอง

รู้เกี่ยวกับการออม การใช้จ่ายเงิน หรือจัดท�ากิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่ผู้มีรายได้น้อยตามแนวทาง เศรษฐกจิ พอเพียงหรอื ใหค้ วามช่วยเหลือในดา้ นอน่ื ๆ แก่บุคคลทีไ่ ม่ได้ประกอบอาชพี 6. ตดิ ตามประเมินผลภายหลังการแกไ้ ขปัญหาและการให้ความชว่ ยเหลือ ในดา้ นอ่ืนๆ แนวทางท่ี 3 การแก้ไขปญั หาตามพระราชบญั ญตั ิการทวงถามหน้ ี พ.ศ.2558 1. ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ประธานกรรมการคณะกรรมการกา� กบั การทวงถามหนป้ี ระจา� จงั หวดั และมีอ�านาจแต่งต้ังผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านกรคุ้มครองผู้บริโภคเป็นกรรมการ ใน คณะกรรมการก�ากบั การทวงถามหน้ปี ระจา� จังหวัด 2. มีอ�านาจหน้าท่ตี ามมาตรา 28 ภายในเขตพ้ืนท่ีท่ีรบั ผิดชอบดงั ต่อไปนี ้ 2.1 พิจารณาวินิจฉยั เรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตนิ ้ี 2.2 ส่ังเพกิ ถอนการจดทะเบียนของผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทวงถามหนีต้ ามมาตรา 37 2.3 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหน่ึงตามท่ีคณะ กรรมการตามมาตรา 27 มอบหมาย 2.4 รายงานการปฏิบตั หิ นา้ ที ่ รวมทงั้ ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการ ทุกสามเดือน 3. เปน็ ประธานการประชมุ คณะกรรมการกา� กบั การทวงถามหนี้ประจ�าจังหวดั สา� นกั การสอบสวนและนติ ิการ กรมการปกครอง 0-2356-9556-7 เรอ่ื งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง 87

88 เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง

เร่อื งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง 89



การจัดระเบยี บสงั คม



การจดั ระเบียบสงั คม รัฐบาลมีนโยบายจัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ใหแ้ กป่ ระชาชน เพอื่ ตอบสนองนโยบายของรฐั บาล กระทรวงมหาดไทยไดก้ า� หนดนโยบายลดอบายมขุ สรา้ งสขุ ให้สังคม เพ่ือดา� เนนิ การกับสถานบรกิ าร ร้านจ�าหน่ายสุรา ทีก่ ่อให้เกิดความเดอื ดรอ้ นรา� คาญ หรือด�าเนินกิจการที่ขัดต่อภาพลักษณ์และวัฒนธรรมอันดีของประเทศ และแหล่งอบายมุขอ่ืนท่ีส่งผล เอ้ือต่อปัญหายาเสพติด บ่อนการพนัน ตู้ม้า ก�าจัดสิ่งยั่วยุ หรือจุดเสี่ยง ส่ิงพิมพ์หรือเอกสารที่ส่อไป ในทางลามกอนาจาร รวมทั้งให้ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดลานกิจกรรมด้านดนตรีและ ศิลปะ เพอื่ ปลกู ฝังจติ สา� นกึ และคา่ นิยมท่ีดี ใหเ้ ยาวชนห่างไกลจากยาเสพตดิ สง่ เสริมใหป้ ระชาชนและ เยาวชนเขา้ ร่วมกิจกรรมขนบธรรมเนียมประเพณีทางศาสนา หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตโิ ดยความเหน็ ชอบของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตไิ ดอ้ อก คา� สง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาต ิ ท ่ี ๒๒/๒๕๕๘ เรอ่ื งมาตรการในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา การแข่งรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ในทางและการควบคุมในสถานบริการหรือสถานประกอบการ ทเ่ี ปิดใหบ้ ริการในลักษณะที่คลา้ ยกบั สถานบริการ ลงวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ โดยอาศัยอา� นาจ ตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ กระทรวงมหาดไทยจงึ แจ้งใหจ้ ังหวดั ด�าเนนิ การ ดังต่อไปน้ี ๑. ด้านมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแขง่ ขันรถยนต์และรถจักรยานยนตใ์ นทาง ใหถ้ ือปฏบิ ัตติ ามค�าสั่งหัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาต ิ ท่ี ๒๒/๒๕๕๘ โดยเคร่งครดั ๒. ด้านการควบคมุ สถานบรกิ ารหรือสถานบรกิ ารในลักษณะท่คี ล้ายกับสถานบริการ ๒.๑ การควบคมุ สถานบรกิ าร ๑) กรณีที่พบการกระท�าความผิดตามค�าส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาต ิ ท ี่ ๒๒/๒๕๕๘ ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามคา� ส่ังหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติฯ โดยเคร่งครัด ๒) กรณที พี่ บการกระทา� ความผดิ นอกเหนอื จากทบี่ ญั ญตั ไิ วต้ ามคา� สง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษา ความสงบแหง่ ชาติ ท ี่ ๒๒/๒๕๕๘ ใหน้ า� บทบญั ญัติตามพระราชบัญญัติสถานบริการ และกฎหมายอ่นื ทเี่ กี่ยวข้องมาใช้บงั คับ ๒.๒ การควบคมุ สถานประกอบการท่ีเปดิ ใหบ้ รกิ ารในลักษณะทคี่ ลา้ ยกบั สถานบรกิ าร 1) กรณีที่พบการกระท�าความผิดตามค�าส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาต ิ ที่ 22/2558 ใหถ้ ือปฏิบัตติ ามคา� สง่ั หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยเครง่ ครัด 2) กรณที พี่ บการกระทา� ความผดิ นอกเหนอื จากทบ่ี ญั ญตั ไิ วต้ ามคา� สง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษา ความสงบแห่งชาติที่ 22/2558 ให้น�าบทบัญญัติตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 50 ลงวันที่ 15 มกราคม 2502 และกฎหมายอื่นทเ่ี กยี่ วข้องมาใชบ้ งั คบั เร่ืองควรรู้ คู่มือนักปกครอง 93

3. ในการด�าเนินการตามค�าส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 22/2558 หากพบ การกระความผิด ก่อนออกค�าสั่งเพิกถอนในอนุญาตหรือสั่งปิดสถานประกอบการ ให้ถือปฏิบัติ ตามพระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539 4. ให้จังหวัดก�าชับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามค�าส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาต ิ ท ่ี 22/2558 เร่ือง มาตรการในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาการแขง่ รถยนต์และรถจกั รยนต์ ในทางและการควบคุมสถานบริการหรือสถานประกอบการณ์ท่ีเปิดให้บริการในลักษณะท่ีคล้ายกับ สถานบริการ ลงวนั ที ่ 22 กรกฎาคม 2558 อย่างเคร่งครดั เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ การกระทา� ความผดิ ในกรณที ป่ี รากฏวา่ มกี ารเพกิ เฉยหรอื ละเลยไมก่ ระทา� การหรอื งดเวน้ กระทา� ตามกฎหมายของเจา้ หนา้ ท่ี ใหด้ า� เนนิ การทางแพ่ง ทางอาญาและทางปกครองกบั เจ้าหนา้ ทผ่ี ู้น้นั อย่างเฉียบขาดและรวดเรว็ กรณที ี่หัวหนา้ สว่ นราชการหรือผู้บังคับบญั ชาปล่อยปละละเลย ไม่ด�าเนนิ การตามมาตรการ ทีก่ า� หนดไว้ในค�าส่งั หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติที ่ 22/2558 ให้นา� มาตรการท่ีก�าหนดไว้ใน ค�าสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 69/2557 เร่ือง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ ลงวันท ี่ 18 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2557 มาใช้บงั คบั 5. ให้จงั หวดั กวดขนั และเรง่ รัดจัดท�ามาตรการเพอื่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการแข่งรถยนตแ์ ละ รถจกั รยานยนตใ์ นทางและการควบคมุ สถานบรกิ ารหรอื สถานประกอบการทเ่ี ปดิ ใหบ้ รกิ ารในลกั ษณะ ท่คี ลา้ ยกบั สถานบรกิ าร 6. ใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวดั นายอา� เภอ หรอื ผบู้ รหิ ารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พนักงานเจ้าท่ี ซง่ึ รฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั นา� กระบวนการคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 มาด�าเนินการโดยเข้มงวด โดยให้ผู้มีหน้าท่ีคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กด�าเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ทเี่ สี่ยงตอ่ การกระทา� ผดิ ตามกฎกระทรวง ซึง่ ออกตามกฎหมายคมุ้ ครองเดก็ อยา่ งเครง่ ครดั 7. ให้จังหวัดส�ารวจการออกใบอนุญาตสถานบริการ สถานประกอบการท่ีมีลักษณะคล้าย สถานบรกิ ารในพ้ืนทเ่ี ปดิ ใหบ้ รกิ าร โดยให้ระบุรายละเอยี ดแตล่ ะประเภทว่ามีจา� นวนเทา่ ใด กฎหมาย/ระเบียบท่ีเก่ยี วขอ้ ง 1. ประมวลกฎหมายอาญา - กอ่ ใหเ้ กดิ เสียงออื้ อึงโดยไม่มีเหตุอันควร (มาตรา 370) 2. พระราชบัญญัตสิ รุ า พ.ศ.2493 - จ�าหน่ายสุราโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต (มาตรา 17) - จา� หน่ายสุรานอกเวลาท่ีกฎหมายก�าหนด (มาตรา 20) 94 เรือ่ งควรรู้ คู่มือนักปกครอง

3. พระราชบญั ญตั คิ วบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล ์ พ.ศ.2553 - จา� หน่ายสรุ าใหแ้ กบ่ คุ คลที่มอี ายุต�่ากว่า 20 ปี (มาตรา 29) - สถานทจ่ี า� หนา่ ยสรุ าไม่ถูกตอ้ งตามเงื่อนไขของกฎหมาย (มาตรา 27) 4. พระราชบัญญตั สิ ถานบริการ พ.ศ.2509 - ด�าเนินกิจการเข้าขา่ ยเปน็ สถานบรกิ าร (มาตรา 3) การบงั คับใช้กฎหมาย 1. ตรวจตรากวดขนั สถานบรกิ ารวา่ ได้รบั อนุญาตถกู ตอ้ งตามกฎหมายหรือไม่ 2. กวดขันมิให้ผู้มอี ายุต�่ากวา่ 20 ปีบริบรู ณ ์ เขา้ ไปในสถานบรกิ ารระหวา่ งเวลาท�าการ 3. มใิ หม้ กี ารกระท�าผดิ เกยี่ วกับยาเสพติด 4. มิให้มีการแสดงลามกอนาจาร 5. ใหส้ ถานบริการเปดิ – ปดิ ตามเวลาที่กฎหมายก�าหนด 6. ควบคุมมิใหม้ กี ารน�าอาวุธเข้าไปในสถานบริการ สา� นกั การสอบสวนและนิตกิ าร กรมการปกครอง 0-2356-9663 เรื่องควรรู้ คมู่ ือนักปกครอง 95



การปราบปรามและแกไ้ ขปญั หาการคา้ มนษุ ย์



การปราบปรามและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์เป็นกระบวนการในการจัดหา น�าพา หรือส่งตัวบุคคลไปยังท่ีใดที่หนึ่ง หรือรับ ตวั บุคคลไว้โดยการใชก้ �าลังบังคบั ข่มข ู่ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใช้อ�านาจโดยมชิ อบ หรือโดยใหเ้ งนิ หรอื ผลประโยชนอ์ ยา่ งอน่ื แกผ่ ปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลบคุ คลนน้ั เพอ่ื ใหผ้ ปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลใหค้ วามยนิ ยอม แก่ผู้กระท�าความผิด ท้ังนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือจะแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากบุคคลดังกล่าว กลา่ วอกี นยั หนง่ึ หากบคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดถกู บงั คบั หรอื ถกู หลอกลอ่ ลอ่ ลวงดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ จนกระทง่ั บุคคลน้ันต้องมาตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีตนเอง จ�าต้องยอมรับสภาพของการถูกแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ ดังน้ันถือได้ว่ามีการค้ามนุษย์เกิดขึ้น และบุคคลนั้นถือว่าตกเป็นเหย่ือ/ผู้เสียหายจาก การคา้ มนษุ ย์ โดยทวั่ ไปการคา้ มนษุ ยจ์ ะประกอบดว้ ยขั้นตอนหลัก ๆ ๓ ขนั้ ตอน คอื ๑. ขั้นตอนของการจัดหาเหย่ือ/ผูเ้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ ๒. ข้ันตอนของการน�าพาเหย่ือ/ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ไปยังจุดหมายปลายทาง ซง่ึ โดยสว่ นใหญค่ อื สถานทท่ี ีเ่ กดิ การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ๓. ขั้นตอนสุดท้ายคอื ข้นั ตอนของการแสวงหาประโยชน์โดยมชิ อบ “บุคคลท่ีเข้ามาเก่ียวข้องไม่ว่าในข้ันตอนใด โดยรู้หรือเจตนา ย่อมมีความผิดฐานค้ามนุษย์ ดว้ ยกันทุกคน” ปจั จบุ นั ประเทศไทยมกี ฎหมายเฉพาะเพอื่ ดา� เนนิ การปอ้ งกนั ปราบปรามและชว่ ยเหลอื ผเู้ สยี หาย จากการคา้ มนุษย ์ คือ พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยเหตุผล ส�าคญั ของการประกาศใช้กฎหมายฉบับน ี้ คือ 1. เพ่ือก�าหนดลักษณะความผิดให้ครอบคลุมการกระท�าเพ่ือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบท่ี หลากหลายมากขน้ึ 2. เพ่ือขยายความคุ้มครองไปยงั ผู้ชายท่ตี กเป็นผู้เสียหายจากการคา้ มนุษย์ 3. เพ่ือปรับปรุงกลไกที่ใช้ในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ให้มีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับพันธกรณีที่ก�าหนดในข้อตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยได้ร่วมลงนาม ได้แก่ อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร และพิธีสารเพื่อ ป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการคา้ มนษุ ย ์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก เป็นต้น 4. เพ่อื ปรบั ปรงุ การช่วยเหลอื และคุม้ ครองสวัสดิภาพของผู้เสียหายให้เหมาะสมย่งิ ขน้ึ เร่อื งควรรู้ คู่มือนักปกครอง 99