Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

Description: เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง

Search

Read the Text Version

ค่มู อื แนวทางการปฏบิ ตั ิหน้าที่ของผดู้ �ารงตา� แหนง่ ผู้ว่าราชการจงั หวัด ในส่วนของกระทรวงมหาดไทย เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นกั ปกครอง ส�านกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

2 เร่อื งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง

ค�าน�า ความส�าคัญของการพัฒนาอยู่ในพ้ืนที่คือจังหวัดซึ่งเป็นหน่วยงานเชิงยุทธศาสตร์ ท�าหน้าที่ ก�าหนดแนวทางการพัฒนาให้ตอบสนองต่อตามความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง และเกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาที่ย่ังยืนของประเทศ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชา บรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัดรวมทั้งรับผิดชอบ ในราชการจงั หวัดและอา� เภอ กระทรวงมหาดไทยมีอ�านาจหน้าที่เก่ียวกับการ “บ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุข” ของประชาชน บุคลากรของกระทรวงมหาดไทยหรือที่เรียกว่า “คนมหาดไทย” มีอยู่ทุกพ้ืนที่ครอบคลุมทั้งประเทศ ถึงระดับหมู่บ้าน ภารกิจของกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวข้องกับชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน ซง่ึ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นสองลกั ษณะคอื การเปน็ ผรู้ บั นโยบายและคา� สง่ั จากนายกรฐั มนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง กรม มาปฏิบัติราชการให้เหมาะสมกับท้องท่ี และประชาชน ซึ่งกค็ ือ “การเป็นตวั แทนของรัฐบาลกลาง” ลักษณะหน่ึง และการบังคับบญั ชาบรรดา ข้าราชการ ท่ีปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค รวมถึงการส่งเสริม สนับสนุน ก�ากับ ดูแล ประสาน ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ริ าชการขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อนั “เปน็ บทบาทของกระทรวงมหาดไทย” อีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งในสภาวการณ์ปัจจุบันสังคมได้เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วในหลากหลายมิติ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ประสทิ ธผิ ลของการบรหิ ารราชการในจงั หวดั หากผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ไมม่ กี ารปรบั ตวั ปรับทัศนคติและรูปแบบการท�างานให้เท่าทันยุคสมัย ก็จะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ ความนา่ เชอ่ื ถอื และความม่ันคงของสถาบนั ผู้ว่าราชการจงั หวัดอย่างหลกี เล่ยี งไมไ่ ด้ กระทรวงมหาดไทยได้ตระหนักถึงความจ�าเป็นและความส�าคัญของการให้ความช่วยเหลือ สนบั สนนุ การบรหิ ารราชการของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชนอยา่ งสมบูรณ ์ จงึ ได้จดั ทา� หนังสอื เลม่ น้ ี โดยเป็นการรวบรวมกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั ประกาศ ค�าสั่ง หนังสือสั่งการ รวมทั้งแนวทางปฏิบัติด้านต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นเพียงส่วนหน่ึงใน ภารกจิ หนา้ ทขี่ องกระทรวงมหาดไทย แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม คณะผจู้ ดั ทา� หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื นจ้ี ะอา� นวย ประโยชน์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการจังหวัดให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ในฐานะ ตัวแทนรัฐบาลกลางซ่ึงได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี กระทรวง กรม ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ได้ศึกษาทา� ความเข้าใจภารกิจตา่ งๆ เพ่มิ เติม เพอื่ จะไดป้ ฏิบตั ิใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนในพื้นท ่ี ได้อย่างสมบูรณ์ ท้ังน้ี กระทรวงมหาดไทยจะพิจารณาหาแนวทางสนับสนุนการปฏิบัติราชการ อยา่ งตอ่ เนอื่ งตอ่ ไป สดุ ทา้ ยน ี้ ขอขอบคณุ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ท ่ี ในสว่ นราชการ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ท่ีได้ใหข้ อ้ มูลจนท�าใหก้ ารจดั ทา� หนงั สือเล่มน้ีสา� เรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี (นายวิบูลย์ สงวนพงศ)์ ปลดั กระทรวงมหาดไทย กันยายน 2558 เร่อื งควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง 3



สารบัญ หนา้ 7 บทน�า อ�านาจหน้าท่แี ละภารกิจในภาพรวมของผ้วู า่ ราชการจงั หวัด 13 บทท่ี ๑ แนวทางการบรหิ ารราชการของผวู้ ่าราชการจังหวดั 1. แนวทางการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ หนา้ ทส่ี �าคัญในการ 15 “บ�าบดั ทุกข์ บ�ารุงสขุ ” ของประชาชน 1.1 การจดั ทา� แผนพัฒนาจงั หวดั และการบรหิ ารราชการจังหวัด 25 แบบกลุ่มภารกจิ (cluster) 39 1.๒ การป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด 65 1.3 การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาสาธารณภัย 75 1.4 การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ/อบุ ตั ิภัยช่วงเทศกาล 83 1.5 การแกไ้ ขปญั หาราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่�า 91 1.6 การแก้ไขปญั หาหนี้นอกระบบ 97 1.7 การจัดระเบียบสังคม 113 1.8 การปราบปรามและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย ์ 125 1.9 การบรหิ ารจดั การท่ีดินของรัฐ 133 1.10 การแกไ้ ขปญั หาที่ดนิ ทา� กนิ 1.11 ภารกิจศูนยด์ า� รงธรรม 147 2. การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ แี ละพระราชบญั ญตั กิ ารอา� นวยความสะดวก 169 ในการพิจารณาอนญุ าตของทางราชการ พ.ศ. 2558 2.1 การบริหารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี 189 2.2 พระราชบัญญัตกิ ารอา� นวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. 2558 3. พระบรมราโชวาท พระราชด�ารัสและข้อคิดหรอื ปรชั ญา ในการท�างานทคี่ วรยดึ เปน็ แบบอยา่ ง เรื่องควรรู้ คมู่ อื นกั ปกครอง 5

สารบัญ หนา้ บทที่ ๒ แนวทางการปฏบิ ตั งิ านตามกฎหมายในความรับผดิ ชอบของกระทรวงมหาดไทย 199 1. ส�านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 201 2. กรมการปกครอง 259 3. กรมการพัฒนาชมุ ชน 273 4. กรมทด่ี นิ 285 5. กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 291 6. กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง 305 7. กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น 317 บทที ่ ๓ แนวทางการปฏิบัตภิ ารกจิ ทส่ี �าคัญอน่ื ๆ 445 ๑. รวมเรือ่ งและขอ้ ปฏิบตั ิเก่ียวกบั ราชสา� นัก 447 2. การสง่ เสริมความสัมพันธก์ ับต่างประเทศ 609 บทท่ี ๔ รวมกฎหมายสา� คญั 625 1. กฎหมายกลางทส่ี �าคญั ที่ใชใ้ นการบรหิ ารราชการแผ่นดิน 637 2. กฎหมายในความรับผดิ ชอบของกระทรวงมหาดไทย 735 ภาคผนวก 735 6 เร่อื งควรรู้ คู่มือนักปกครอง

บทนา� อา� นาจหนา้ ทีแ่ ละภารกิจในภาพรวม ของผู้ว่าราชการจงั หวัด



อา� นาจหน้าที่และภารกิจในภาพรวมของผวู้ ่าราชการจังหวัด ตา� แหนง่ ผู้วา่ ราชการจงั หวัด มวี ิวฒั นาการควบคกู่ บั ประวัติศาสตรก์ ารปกครองของไทย มาเป็น เวลาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัยจวบจนปัจจุบัน จึงถือเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมที่ยังคงความเป็น เอกลกั ษณข์ องวฒั นธรรมทางการปกครองของไทยตลอดมา ซงึ่ ในแตล่ ะยคุ สมยั อาจจะมกี ารปรบั บทบาท หรอื เรียกชอื่ แตกตา่ งกนั ไปบ้างเชน่ เจา้ เมอื ง ขา้ หลวง ผวู้ ่าราชการเมือง หรอื พ่อเมือง เปน็ ตน้ แต่ไม่ว่า จะมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบใด ยุคสมัยจะเปลี่ยนผ่านไปอย่างไร ต�าแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดก็ยัง ด�ารงคงอยู่เสมอ นั่นแสดงใหเ้ ห็นวา่ ตา� แหนง่ นเี้ ปน็ ตัวจักรส�าคญั ยิง่ ตอ่ การบริหารราชการแผน่ ดินของ ไทยในทกุ ยคุ ทุกสมัย “ฝ่ายปกครอง” หมายถึง รัฐและเจ้าหน้าท่ีของรัฐท้ังหมดที่มีส่วนในการใช้อ�านาจมหาชน คอื ใชอ้ า� นาจตามกฎหมายหรอื มอี า� นาจหนา้ ทต่ี ามกฎหมายในการจดั ทา� บรกิ ารสาธารณะ โดยหลกั ใหญ่ ภารกิจที่ส�าคัญของฝ่ายปกครองจะมีอยู่ 2 ลักษณะคือ การใช้อ�านาจทางปกครองหรือการกระท�า ทางปกครองและภารกจิ ในการด�าเนนิ กจิ การทางปกครอง 1. การใช้อ�านาจทางปกครองหรือการกระท�าทางปกครอง เป็นภารกิจในการดูแลรักษา ประโยชน์ส่วนรวมของคนหมู่มากในสังคมหรือประโยชน์สาธารณะ ฝ่ายปกครองใช้อ�านาจมหาชน (อา� นาจ ตามกฎหมาย) บังคับเอกชนให้เป็นไปตามเจตนารมณแ์ ห่งกฎหมายเพ่ือประโยชน์สาธารณะ 2. การดา� เนนิ กจิ การทางปกครอง คอื การจดั ทา� บรกิ ารสาธารณะ ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมทฝี่ า่ ยปกครอง จดั ทา� ขน้ึ เพอื่ วตั ถปุ ระสงคส์ าธารณะ หรอื สงิ่ ทร่ี ฐั จะทา� ใหป้ ระชาชนเปน็ การตอบแทนการเสยี ภาษอี ากร ของประชาชน การบรกิ ารสาธารณะสามารถแบง่ เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคือ 2.1 บรกิ ารสาธารณะท่มี ลี กั ษณะทางปกครอง ไดแ้ ก่ กิจกรรมที่โดยสภาพเปน็ งานในหนา้ ท่ี ของฝ่ายปกครองท่ีจะต้องท�าตามท่ีกฎหมายก�าหนดเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน กจิ กรรมเหลา่ นส้ี ว่ นใหญจ่ ะเปน็ เรอื่ งการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั และความสงบสขุ ของประชาชน และ ตอ้ งอาศัยอา� นาจมหาชน คอื อ�านาจตามกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกับภารกจิ น้ัน ๆ 2.2 บริการสาธารณะที่มีลักษณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ซ่ึงมีวัตถุประสงค ์ แห่งการบริการทางเศรษฐกิจ บริการทางสาธารณะประเภทน้ีอยู่ภายใต้หลักกฎหมายสองหลักคือ หลกั กฎหมายมหาชนและหลักกฎหมายเอกชน พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา ๕๔ วรรคหน่ึงระบุว่า “ในจังหวัดหนึ่ง ให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่งเป็นผู้รับนโยบายและค�าส่ังจากนายรัฐมนตรีในฐานะ หัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรมมาปฏบิ ัตกิ ารใหเ้ หมาะสมกับท้องทีแ่ ละประชาชน และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีในราชการส่วนภูมิภาค ในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอ�าเภอ” ดังน้ัน บทบาท อ�านาจ หน้าท่ีของ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั จงึ มหี ลากหลายลกั ษณะ ทงั้ เปน็ ไปตามกฎหมาย ประเพณปี ฏบิ ตั ิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เรอื่ งควรรู้ คูม่ ือนักปกครอง 9

รวมถึงความเช่ือ ความศรัทธาของประชาชนในพื้นท่ี ซ่ึงในปัจจุบันตลอดไปถึงอนาคตภายภาคหน้า บริบทของสังคม จะมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ย่ิงเปล่ียนแปลงมากเท่าใดก็ย่ิงก่อให้เกิด เงื่อนไขใหม่ ๆ มากมาย เช่น เกิดปัญหาและความต้องการของประชาชนในรปู แบบตา่ ง ๆ เพิม่ มากข้นึ กระแสเรียกร้องการกระจายอ�านาจสู่ท้องถิ่นเป็นไปอย่างกว้างขวาง มีการเสนอให้ยกเลิกการบริหาร ราชการส่วนภูมิภาครวมถึงการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดอยู่อย่างต่อเนื่อง ช่องทางการตรวจสอบ ภาคประชาชนมีมากมายหลายวิธีการ ในขณะท่ีทรัพยากรส�าหรับการบริหารงานทุกระบบมีอยู่ อย่างจ�ากัด ซึ่งเง่ือนไขเหล่าน้ี ล้วนส่งผลกระทบต่อการบริหารงานในจังหวัดท้ังส้ิน การปฏิบัติหน้าท่ี ราชการให้ประสพผลส�าเร็จอย่างสมบูรณ์ จึงต้องมีท้ังศาสตร์และศิลป์ ใช้ทั้งหลักนิติศาสตร์และหลัก รัฐศาสตร์ควบคู่กันไป การปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยก็เป็นอีกส่ิงหน่ึงท่ีมีความส�าคัญอย่างย่ิง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดจะต้องไมเ่ ป็นแต่เพียงนักปกครองทม่ี คี วามรู้ความเข้าใจเร่ืองระเบียบกฎหมายและ หลกั การปกครองเทา่ นัน้ แตจ่ ะตอ้ งมีความร้คู วามเข้าใจในศาสตรแ์ ขนงอ่นื ๆ หลากหลายสาขาเพอ่ื น�า มาใช้ในการพัฒนาพื้นท่ี ในการพัฒนาสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้อยู่ดีกินดีและมีสุข ในการสร้างความม่ันคงและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในสังคม รวมถึงในการอ�านวยความสะดวก และสรา้ งความเปน็ ธรรมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกนั ภารกิจของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ยคุ ใหมส่ ามารถจา� แนกเป็น 2 รูปแบบได้แก ่ เป็นอ�านาจหน้าท่ ี (Authority) คือ ส่ิงท่ีได้มาอย่างเป็นทางการตามต�าแหน่งโดยชอบด้วยกฎหมายรูปแบบหนึ่ง และเป็นภาระหน้าท่ ี (Duty) คอื ส่งิ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายหรือต้องรับผิดชอบเสมออกี รูปแบบหน่ึง 1. อา� นาจหน้าท่ ี (Authority) มีดงั น ้ี 1.1 อา� นาจของจงั หวัด ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ มาตรา ๕๒/๑ ให้จงั หวัดมอี า� นาจภายในเขตจังหวดั ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) น�าภารกจิ ของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏบิ ตั ใิ ห้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิ (๒) ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพ่ือให้เกิดความสงบ เรียบร้อยและเป็นธรรมในสังคม (๓) จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชน ท่ดี อ้ ยโอกาส เพ่ือให้ได้รับความเปน็ ธรรมทัง้ ดา้ นเศรษฐกิจและสังคมในการดา� รงชีวิตอย่างพอเพยี ง (๔) จดั ใหม้ กี ารบรกิ ารภาครฐั เพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งเสมอหนา้ รวดเรว็ และมคี ณุ ภาพ (๕) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพื่อให้ สามารถด�าเนินการตามอ�านาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และให้มีขีดความสามารถ พรอ้ มท่ีจะดา� เนนิ การตามภารกิจท่ีได้รบั การถา่ ยโอนจากกระทรวง ทบวง กรม 10 เรอ่ื งควรรู้ คู่มือนักปกครอง

(๖) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอ่ืน ของรัฐมอบหมาย หรือทม่ี ีกฎหมายก�าหนด 1.2 อ�านาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพ่มิ เตมิ มาตรา ๕๗ ผวู้ ่าราชการจังหวัดมอี า� นาจและหน้าทด่ี งั น้ี (๑) บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผน พฒั นาจงั หวดั (๒) บรหิ ารราชการตามท่ีคณะรฐั มนตร ี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรอื ตามที่ นายกรฐั มนตรีสั่งการในฐานะหัวหนา้ รฐั บาล (๓) บริหารราชการตามค�าแนะน�าและค�าช้ีแจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงในเมื่อ ไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือค�าส่ังของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรอื การสัง่ การของนายกรัฐมนตรี (๔) กา� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ริ าชการอนั มใิ ชร่ าชการสว่ นภมู ภิ าคของขา้ ราชการซงึ่ ประจา� อย่ ู ในจงั หวดั นน้ั ยกเวน้ ขา้ ราชการทหาร ขา้ ราชการฝา่ ยตลุ าการ ขา้ ราชการฝา่ ยอยั การ ขา้ ราชการพลเรอื น ในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในส�านักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็น ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับหรือคา� สง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม หรือมตขิ องคณะรัฐมนตรี หรอื การสั่งการของนายกรัฐมนตรี หรือยับย้ังการกระท�าใด ๆ ของข้าราชการในจังหวัดท่ีขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือค�าส่ังของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการส่ังการของ นายกรฐั มนตรีไวช้ ่วั คราวแลว้ รายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เก่ยี วขอ้ ง (๕) ประสานงานและรว่ มมือกบั ข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตลุ าการ ขา้ ราชการ ฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในส�านักงานตรวจเงินแผ่นดินและ ข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการและหัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาคในการพัฒนาจังหวัด หรอื ปอ้ งปดั ภัยพบิ ตั สิ าธารณะ (๖) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เก่ียวข้อง หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมาณ ต่อสา� นกั งบประมาณตามมาตรา ๕๒ วรรคสาม และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ (๗) ก�ากบั ดูแลการบรหิ ารราชการสว่ นท้องถน่ิ ตามกฎหมาย (๘) ก�ากบั การปฏิบตั หิ น้าทข่ี องพนกั งานองค์การของรฐั บาลหรอื รฐั วสิ าหกิจ ในการนี้ ให้มีอ�านาจท�ารายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�าเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือ รฐั วสิ าหกจิ ต่อรัฐมนตรเี จา้ สงั กดั องค์การของรฐั บาลหรอื รัฐวสิ าหกิจ (๙) บรรจ ุ แตง่ ตง้ั ใหบ้ า� เหนจ็ และลงโทษขา้ ราชการสว่ นภมู ภิ าคในจงั หวดั ตามกฎหมาย และตามทป่ี ลดั กระทรวง ปลดั ทบวง หรอื อธบิ ดีมอบหมาย เร่ืองควรรู้ คมู่ ือนักปกครอง 11

2. ภาระหนา้ ที่ (Duty) มตี วั อย่างเช่น 2.1 การบริหารราชการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) 2.2 การประกอบพิธีงานพระราชพิธ/ี รัฐพธิ ี 2.3 การรับเสด็จฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศานวุ งศ์ 2.4 การป้องกัน บรรเทาและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2.5 การสรา้ งความร่วมมอื ระหว่างองค์กรทุกภาคสว่ นในสงั คม 2.6 การบริหารความขัดแย้งทางความคิด ไกล่เกล่ียหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ย ประนอมข้อพิพาทเพอ่ื ให้เกดิ ความสงบเรยี บรอ้ ยในสงั คม 2.7 การแก้ไขปญั หากลมุ่ พลังมวลชนในพน้ื ที่ 2.8 การสรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดีกับประเทศเพือ่ นบา้ น 2.9 การอ�านวยความสะดวกให้ประชาชนเข้าถึงบริการภาครัฐอย่างเท่าเทียม รวมถงึ การสร้างความเป็นธรรมในสงั คม 2.10 การเปน็ จุดประสานเชอ่ื มโยงการปกครองและการบรหิ ารราชการแผน่ ดินทกุ ระดับ จากภารกิจและอ�านาจหน้าท่ีของผู้ว่าราชการจังหวัดดังกล่าว จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับ พระราชปณิธานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ องค์ปฐมเสนาบดี กระทรวงมหาดไทยทว่ี า่ “บ�าบัดทกุ ข ์ บา� รุงสขุ ” ซึง่ เปน็ คา� ทบี่ อกถงึ หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบและตวั ตน ของคนมหาดไทยอย่างชดั เจน หากไดท้ ่องจา� กนั อยา่ งข้ึนใจกส็ ามารถใช้เป็นเคร่อื งเตือนใจ เป็นเข็มทศิ ชี้ทางให้คนมหาดไทยได้คิดถึงสิ่งท่ีควรคิด รู้ในส่ิงที่ควรรู้และทา� ในส่ิงท่ีควรท�า เพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน การทคี่ นมหาดไทยจะสามารถบา� บดั ใหห้ มดทกุ ขแ์ ละบา� รงุ ใหม้ สี ขุ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ นน้ั มคี วาม จ�าเป็นต้องทราบอดีต พิชิตปัจจุบันและรู้ทันอนาคต เพื่อจะได้รู้เท่าทันและรู้แท้ทั้งเรื่องของทุกข์ และสขุ รวมทง้ั จะตอ้ งมีจติ ใจทมี่ ่นั คงในการทุ่มเทและเสยี สละ ไมย่ อ่ ท้อต่อความยากล�าบาก แต่ก็ไมไ่ ด้ หมายความว่าเม่ือไม่ได้มุ่งบ�ารุงสุขให้ตัวเองแล้วตัวเองจะต้องทุกข์ ต้องรู้จักใช้สติและวิจารณญาณ พิจารณาตามเหตุและปัจจัยท่ีสมควร นอกจากนี้ ยังจะต้องมีจิตใจท่ีแน่วแน่ไม่มัวเมาหลงใหล ในอ�านาจที่มีแล้วใช้อ�านาจนั้น ในทางมิชอบเสียเอง น่ีคือส่ิงท่ีคนมหาดไทยต้องเอาชนะตัวเองให้ได้ อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เพราะไม่เช่นนั้น ก็จะไม่สามารถปฏิบัติภารกิจตามพระราชปณิธาน ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ องค์ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ไดอ้ ย่างสมบรู ณ ์ อกี ท้งั ยังอาจกอ่ ให้เกดิ ปัญหาอ่ืน ๆ ที่รา้ ยแรงอย่างยง่ิ ตามมา คอื กลับกลายเปน็ การ บ�าบัดสุข บ�ารุงทุกข์เกิดข้ึนกับประชาชนและประเทศชาติ อันเป็นการท�าลายเกียรติยศศักดิ์ศรี ของคนมหาดไทยลงอยา่ งสิ้นเชงิ . 12 เรอื่ งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง

บทท ่ี ๑ แนวทางการบริหารราชการ ของผูว้ า่ ราชการจังหวัด



การจดั ท�าแผนพัฒนาจังหวัด และแผนการบรหิ ารราชการจังหวดั แบบกลุ่มภารกิจ (Cluster)



การจดั ทา� แผนพฒั นาจงั หวดั และการบรหิ ารราชการจงั หวดั แบบกลมุ่ ภารกจิ (Cluster) ที่มา/แนวคดิ 1. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78 (2) กา� หนดใหร้ ฐั ตอ้ งดา� เนนิ การ สนบั สนุนให้จังหวดั มีแผนและงบประมาณเพือ่ พฒั นาจังหวดั เพื่อประโยชนข์ องประชาชนในพน้ื ท่ี 2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 52 วรรคสาม กา� หนดใหจ้ ังหวดั หรือกลุ่มจังหวัดย่นื ค�าขอจดั ตั้งงบประมาณได ้ และ ใหถ้ ือวา่ จังหวดั หรือหลุ่มจังหวดั เป็นสว่ นราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธกี ารงบประมาณ มาตรา 53/1 กา� หนดใหจ้ ังหวดั จดั ทา� แผนพัฒนาจงั หวัดโดยให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละ วธิ กี ารท่ีกา� หนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา 53/2 ก�าหนดให้น�าหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวมาใช้บังคับกับการจัดท�าแผน พฒั นากลมุ่ จังหวดั ดว้ ยโดยอนุโลม 3. พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 17 กา� หนดให ้ ก.น.จ. กา� หนดนโยบาย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการจดั ทา� แผนพฒั นา จังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจ�าปีของจังหวัด เพื่อให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและ ก.บ.จ. รับไป ดา� เนินการ มาตรา 27 ใหน้ า� ความในมาตรา 17 มาใชบ้ งั คบั กบั การจดั ทา� แผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั และแผน หลกั การบรหิ ารงานจังหวัดและกลุม่ จังหวัด ตามมาตรา 6 แหง่ พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 ประกอบดว้ ย 1) การบริหารงานให้เป็นไปตามแผนพฒั นาจงั หวัดหรือแผนพฒั นากล่มุ จังหวดั แล้วแตก่ รณี 2) การสร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัด เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและ การแก้ไขปัญหา ร่วมกนั เพือ่ การพฒั นาอยา่ งยั่งยืน 3) การกระจายอ�านาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและ ความรวดเร็วในการปฏบิ ัติราชการ 4) การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้งถิ่นมีความพร้อมในการรองรับการกระจายอ�านาจให้ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เร่ืองควรรู้ คมู่ ือนักปกครอง 17

5) การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี มีความโปร่งใสและมีการตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของการ ปฏบิ ตั ริ าชการ 6) การบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามวิธีการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั ทิ ี ่ ก.น.จ. กา� หนดตามขอ้ เสนอแนะของส�านักงบประมาณ หลักการบริหารงานจังหวดั และกลุ่มจงั หวดั แบบบรู ณาการ ความสอดคล้อง • ระหวา่ งนโยบายการพฒั นาประเทศ นโยบายของ และเชื่อมโยง รฐั บาลกบั ความต้องการของประชาชนในทอ้ งถนิ่ • ความตอ้ งการและศกั ยภาพของประชาชน ความ พรอ้ มของภาครฐั และภาคธุรกิจเอกชน การบรู ณาการ การมีส่วนรว่ ม • ผู้ว่าราชการจงั หวัดประสานและสรา้ ง (Area-Based) ของทุกภาคสว่ น การมีสว่ นรว่ ม • เปดิ โอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นได้เข้ามาร่วม ในการก�าหนดยุทธศาสตร ์ การจัดท�าแผน พฒั นาจงั หวัดและกลมุ่ จังหวัดเพอื่ ใหเ้ กิด ความเหน็ พอ้ งต้องกันในยทุ ธศาสตรข์ อง จังหวัดและกลุ่มจงั หวัด และรว่ มรับผิดชอบ ตอ่ การบริหารงานจังหวดั แบบบูรณาการ • บรู ณาการต้งั แตก่ ระบวนการวางแผน กระบวนการ กา� หนดยุทธศาสตร์ การบรหิ ารตามแผนและ ยทุ ธศาสตร ์ รวมไปถงึ การบรู ณาการระหว่าง แผนงานและแผนงบประมาณ • การบูรณาการระหวา่ งภาครัฐ ภาคท้องถิน่ และ ภาครฐั กบั ภาคธรุ กจิ เอกชน แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจึงเป็นเคร่ืองมือส�าคัญในการบูรณาการความเช่ือมโยงกับ นโยบายรฐั บาล แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต ิ นโยบายสา� คญั ของรฐั บาล ตลอดจนศกั ยภาพ ปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ด้วยเหตุนี ้ กระบวนการจัดทา� แผนพฒั นาจงั หวัดและ กลมุ่ จงั หวดั จงึ ตอ้ งใหค้ วามสา� คญั กบั การวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ วดลอ้ ม จดุ เนน้ หรอื ศกั ยภาพและปญั หา ส�าคัญของพื้นที่ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับชาติ เพื่อให้แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่ม จังหวัดเป็นจุดยึดโยงการพัฒนาในระดับพื้นที่ได้อย่างมีคุณภาพ สามารถชี้น�าการพัฒนา และเป็นท่ี ยอมรับของทุกภาคสว่ น 18 เร่อื งควรรู้ คมู่ อื นกั ปกครอง

กลไกการบรหิ ารงานจังหวัดและกล่มุ จังหวัดแบบบรู ณาการ กลไกก�ากับและด�าเนินการในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ประกอบด้วย กลไกการ บรหิ ารงาน 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 1) ระดับชาติ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีอ�านาจหน้าท่ีในการก�าหนดกรอบนโยบายและวางระบบ ในการบรหิ ารงานจังหวัดและกลุ่มจงั หวดั แบบบรู ณาการ 2) ระดับกลุ่มจังหวัด คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) โดยมี ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทเี่ ปน็ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารของกลมุ่ จงั หวดั เปน็ ประธานกรรมการ มอี า� นาจหนา้ ทใ่ี นการ วางแนวทางปฏบิ ตั แิ ละอา� นวยการใหก้ ารบรหิ ารงานแบบบรู ณาการในกลมุ่ จงั หวดั เปน็ ไปตามหลกั การ นโยบายและระบบตามท ่ี ก.น.จ. ก�าหนด จัดท�าแผนพัฒนากลุม่ จังหวัด ส่งเสรมิ ประสานความร่วมมือ การพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน และการแก้ไขปัญหาภายในกลุ่ม จงั หวดั และระหวา่ งกลมุ่ จงั หวดั เพอื่ ใหก้ ารพฒั นาเปน็ ไปตามแผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั อยา่ งยง่ั ยนื เปน็ ตน้ 3) ระดบั จงั หวดั คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) มผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ประธาน มอี า� นาจหน้าทใ่ี นการวางแนวทางปฏิบตั ิและอา� นวยการให้การบริหารงานแบบบูราการ ในจังหวัดเป็นไปตามหลักการ นโยบาย และระบบตามท่ี ก.น.จ. ก�าหนด จัดท�าแผนพัฒนาจังหวัด ประสานความร่วมมอื การพฒั นาระหวา่ งภาครฐั ภาคประชาสงั คม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น เร่ืองควรรู้ คมู่ อื นักปกครอง 19

กระทรวงมหาดไทยมขี อ้ เสนอแนะเพอื่ ใหจ้ งั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั สามารถเปน็ หนว่ ยบรหิ ารงานเชงิ บรู ณาการทมี่ สี มรรถนะในการนา� นโยบายรฐั บาล ยทุ ธศาสตร ์ และระเบยี บวาระแหง่ ชาต ิ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตลอดจนสามารถดูแลแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ได้อย่าง ทว่ั ถึง ทันท่วงที โดยมุ่งเน้นการสรา้ งช่องทางให้ทุกภาคมี สี ว่ นร่วมในการบริหารงานใหเ้ ป็นที่พงึ พอใจ ของประชาชน และแก้ไขปญั หาการขาดแคลนกา� ลังบคุ ลากรในการท�างานของจงั หวัดและอ�าเภอ ดังนี้ 1) ด้านโครงสรา้ ง กา� หนดให้มีกลมุ่ ภารกิจ (Cluster) 4 ดา้ น คือ - ดา้ นเศรษฐกิจ - ด้านสังคม - ดา้ นความมัน่ คง - ด้านบรหิ ารจดั การ เพอื่ เป็นกลไกสนบั สนนุ การด�าเนนิ งานของ ก.บ.ก. ในระดบั กลมุ่ จงั หวดั ก.บ.จ. ในระดบั จงั หวดั และ ก.บ.อ. ในระดับอ�าเภอ ทั้งนี้ หากงานใดมีลักษณะไม่สอดคล้องกับกลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ดา้ นความมน่ั คง ใหจ้ ดั รวมอยใู่ นกลมุ่ ภารกจิ ดา้ นบรหิ ารจดั การ โดยใหท้ กุ หนว่ ยงานทป่ี ฏบิ ตั ิ งานอยู่ในกลุ่มจังหวัด/จังหวัด/อา� เภอ ร่วมเป็นกรรมการในกลุ่มภารกิจท่ีเกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 กลุ่ม ภารกิจ เพื่อให้ทุกภาคีในกลุ่มจังหวัด/จังหวัด/อ�าเภอ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานแบบ 20 เรื่องควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง

บรู ณาการในระดับกล่มุ จงั หวัด/จังหวดั /อ�าเภอ 1.1) โครงสร้างการบรหิ ารราชการแบบบูรณาการระดับกลุ่มจงั หวดั ประกอบไปดว้ ย (1) ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผทู้ า� หนา้ ทห่ี วั หนา้ กลมุ่ จงั หวดั ทา� หนา้ ทผ่ี บู้ รหิ ารสงู สดุ ของ กลุม่ จังหวัด (2) คณะกรรมการบรหิ ารงานกลุม่ จังหวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) (3) กลุม่ ภารกิจ (Cluster) (4) องค์กรทีป่ รกึ ษา (เชน่ กรอ. ภาค, กอ.รมน. ภาค) และท่ปี รึกษา (เช่น ผนู้ า� ศาสนา ศาล ทหาร ผู้ทรงคณุ วุฒิ) ของ ก.บ.ก. 1.2) โครงสร้างการบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการระดับจังหวัด ประกอบไปด้วย (๑) ผ้วู า่ ราชการจังหวัด ท�าหนา้ ที่เป็นผบู้ รหิ ารสูงสดุ ของจังหวดั (๒) คณะกรรมการบริหารงานจงั หวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) (3) กลุ่มภารกจิ (Cluster) (4) องคก์ รทีป่ รกึ ษา (เช่น กรอ. จว., กอ.รมน.จว.) และท่ีปรึกษา (เชน่ ผนู้ า� ศาสนา ศาล ทหาร ผู้ทรงคณุ วุฒ)ิ ของ ก.บ.จ. 1.3) โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการระดับอา� เภอ ประกอบไปด้วย (๑) นายอา� เภอ ทา� หน้าที่เป็นผู้บรหิ ารสงู สดุ ของอ�าเภอ (๒) คณะกรรมการบรหิ ารงานอา� เภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.) (3) กลมุ่ ภารกจิ (Cluster) (4) ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารประจา� ตา� บล - เพอื่ สนบั สนนุ และชว่ ยเหลอื อา� เภอในการใหบ้ รกิ าร ประชาชน การประสานและติดตามงานท่ีเป็นนโยบายหรือกิจการส�าคัญ รวมทั้งการส่งเสริมความ สัมพันธ์และความรว่ มมือระหว่างภาครัฐกับชุมชนและประชาชน ใหอ้ �าเภอพิจารณาจัดตั้งคณะท�างาน ประกอบด้วยเจ้าหน้าทข่ี องสว่ นราชการ ของหน่วยงานของรฐั และของ อปท. ทีด่ �ารงต�าแหน่งหรือได้ รบั มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทตี่ า� บลนนั้ รว่ มเปน็ ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารประจา� ตา� บล โดยแตง่ ตง้ั ผอู้ าวโุ สใน ทางราชการหรือผทู้ เี่ หมาะสมเป็นหัวหน้าชุด 2) ดา้ นการบริหารจดั การ 2.1) ขอความรว่ มมอื กระทรวง/กรม แจ้งสว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ ที่เกยี่ วขอ้ งทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สนับสนุนเร่ืองทรัพยากรและให้ความส�าคัญต่อเรื่องมอบอ�านาจ เพ่ือให้ ผวู้ ่าราชการจังหวดั สามารถพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาในพน้ื ทีไ่ ดอ้ ย่างแท้จริง 2.2) ขอความรว่ มมอื ทกุ ภาคที ่ีเกีย่ วขอ้ ง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ในการร่วมกันคิด ร่วมกนั ท�า และร่วมกนั รบั ผดิ ชอบ เพ่ือใหก้ ารบริหารงานมีเอกภาพ เรอ่ื งควรรู้ คูม่ ือนกั ปกครอง 21

2.3) สนับสนนุ ส่งเสริมใหจ้ งั หวดั จัดทา� ยุทธศาสตร์จงั หวัดทม่ี ีทิศทางทีช่ ดั เจน เปน็ ที่ ยอมรบั จากทุกฝ่ายท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2.4) ส่งเสริมการจดั การองคค์ วามรู้ (Knowledge Management) และ มกี ารทา� งานเชงิ ยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ โดยใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากร (เชน่ จดั ใหม้ กี ารอบรม/สมั มนา) และใหม้ ีการพัฒนายทุ ธศาสตร์ แนวทางการเชอ่ื มโยงและบรู ณาการแผนในระดับพ้นื ท่ี กระทรวงมหาดไทย โดย กรมการปกครอง กรมการพฒั นาชมุ ชน กรมสง่ เสริมการปกครองท้อง ถ่นิ และส�านกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ได้ประชุมหารือและกา� หนดแนวทางและปฏทิ นิ การเช่ือม โยงและบูรณาการแผนในระดับพ้นื ที ่ ระหว่างแผนชมุ ชน/หมู่บา้ น แผนพฒั นาอา� เภอ แผนพัฒนาทอ้ ง ถิ่น และแผนพฒั นาจงั หวดั โดยมกี ระบวนการเช่ือมโยงและบูรณาการแผนในระดับพน้ื ที่ ได้ ก�าหนดใน 2 มติ ิ คอื 1) เน้ือหา และ 2) ระยะเวลา ซึ่งมแี นวทางปฏิบตั ติ ามแนวทางข้อสงั่ การเรอ่ื ง การเชื่อมโยงและบูรณาการแผนในระดับพื้นท่ี ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0212.1/ว0342 ลงวันที่ 19 มกราคม 2558 ดงั นี้ 22 เรือ่ งควรรู้ คูม่ ือนกั ปกครอง

แนวทางการดา� เนินการ รายละเอยี ด 1) ทบทวนแผนชมุ ชน/หมบู่ า้ น - คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) เป็นกลไกหลกั ในการทบทวนแผน ชมุ ชน/หมบู่ า้ น - สา� นกั งานพฒั นาชมุ ชนอา� เภอสนบั สนนุ ขอ้ มลู สารสนเทศเพอื่ การ พฒั นาและวิทยากรกระบวนการ - อปท. ดา� เนนิ การสนบั สนนุ การจดั ทา� เวทปี ระชาคมในระดบั ชมุ ชน/ หมู่บ้าน และให้คณะกรรมการหมู่บ้านรวบรวมข้อมูลแผนชุมชน/ หมบู่ ้านดังกล่าวสง่ ไปยงั อ�าเภอ 2) อปท.จดั ท�าแผนพฒั นา อปท. น�าปัญหาและความต้องการของประชาชนท่ีได้จากการ ทอ้ งถนิ่ ประชาคมมาจัดท�าแผนพัฒนาท้องถิ่น (แผนพัฒนาสามปี) ตาม ระเบียบ มท. ว่าดว้ ยการจดั ทา� แผนพฒั นาของ อปท. พ.ศ. 2548 ซงึ่ กา� หนดใหแ้ ผนพฒั นาสามปจี ะตอ้ งจดั ทา� และทบทวนใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเดือนมถิ นุ ายนก่อนจดั ท�างบประมาณประจา� ป ี 3) อา� เภอจัดทา� แผนพัฒนา อา� เภอโดยกลไกของคณะอนกุ รรมการระดบั อา� เภอ (อ.ก.อ.) ตาม อ�าเภอ มาตรา 18 แหง่ พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานจงั หวดั และ กลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 หรอื คณะกรรมการบรหิ าร งานอา� เภอ (กบอ.) ทมี่ อี ยนู่ า� กรอบยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาของจงั หวดั (Top-down) มาเปน็ กรอบการพฒั นาในระดบั อา� เภอ และประมวล ความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ (Bottom-up) มาจัดท�าแผน พัฒนาอ�าเภอ และส่งกรอบแผนพฒั นาอา� เภอดังกลา่ วให้ อปท. ใน พนื้ ทอี่ า� เภอทราบทศิ ทางการพฒั นาของอ�าเภอ 4) อา� เภอสง่ แผนความตอ้ งการ อ�าเภอจดั ทา� แผนความตอ้ งการระดบั อ�าเภอแลว้ เสร็จและส่งไปยัง ของอา� เภอไปยงั ระดับจังหวดั จงั หวดั โดยใหบ้ รู ณาการปญั หาและความตอ้ งการจากชมุ ชนใหเ้ ปน็ แผนงาน/โครงการ เพื่อให้จังหวัดได้น�าไปเป็นข้อมูลประกอบการ จัดท�าแผนพัฒนาจังหวัด และให้คณะกรรมการประสานแผน ท้องถิ่นระดับอ�าเภอส่งโครงการที่เกินขีดความสามารถของ อปท. ในภาพรวมของอ�าเภอ ไปยังคณะกรรมการประสานแผนท้องถ่ิน ระดับจังหวัด เพ่ือพิจารณาบูรณาการโครงการ ที่เกินขีดความ สามารถของ อปท. ในภาพรวมของจังหวัด และเสนอให้ อบจ. พจิ ารณาบรรจุไว้ในแผนพฒั นาของ อบจ. เรือ่ งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง 23

แนวทางการดา� เนินการ รายละเอยี ด 5) จังหวัดจัดท�าแผนพัฒนา จงั หวดั นา� แผนความตอ้ งการของอา� เภอมาประมวลในภาพรวมของ จงั หวดั และแผนปฏบิ ตั ริ าชการ จังหวัดเพื่อประกอบการจัดท�าแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติ ประจา� ปีของจังหวดั ราชการประจ�าปีของจังหวัด ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2558 ท้ังนี้ ให้จังหวัดน�าหลักเกณฑ์ แนวทาง และปฏิทินที่ คณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงานจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั แบบ บรู ณาการจะก�าหนดในแตล่ ะปมี าพจิ ารณาประกอบดว้ ย 6) จงั หวดั สง่ ขอ้ มลู รายละเอยี ด จังหวดั สง่ ข้อมูลรายละเอยี ดโครงการท่ีเป็นความตอ้ งการและเกนิ โครงการที่เป็นความต้องการ ขดี ความสามารถของจงั หวดั ใหส้ ว่ นราชการทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ ใหส้ ว่ น และเกินขีดความสามารถของ ราชการที่เก่ียวข้อง พิจารณาน�าไปบรรจุในค�าของบประมาณ จังหวัดให้ส่วนราชการท่ี ประจา� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ของของส่วนราชการ เกยี่ วข้อง ส�านกั พฒั นาและสง่ เสริมการบริหารราชการจงั หวัด สา� นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 0-222๑-๙๒๐๐ 24 เรือ่ งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง

การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ



การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ๑. อ�านาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะผู้อ�านวยการศูนย์อ�านวยการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพตดิ จังหวัด (ศอ.ปส.จ.) ตามคา� สงั่ ท่เี กย่ี วขอ้ ง ดงั นี้ ๑.๑ คา� สง่ั ส�านักนายกรัฐมนตรี ท ่ี ๑๕๖/๒๕๕7 ลงวนั ท ี่ 16 ตุลาคม 2557 เรอื่ ง จัดตง้ั ศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.) โดยให้ศูนย์อ�านวยการและ ศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดระดับต่างๆ ท่ีมีอยู่แล้ว ด�าเนินการไปตามท่ีได้มีค�าส่ัง แต่งตั้งไว้แล้วเช่นเดิม แต่แก้ไขชื่อเป็น “ศูนย์อ�านวยการและศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด” อยู่ภายใตก้ ารกา� กบั ดูแลของ ศอ.ปส. ๑) องค์ประกอบของศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด (ศอ.ปส.จ.) ๑.๑) อธิการบดสี ถาบันอุดมศึกษาในพนื้ ท่ีจงั หวดั ท่ีปรึกษา ๑.๒) อัยการจงั หวัด ที่ปรกึ ษา ๑.๓) ผูบ้ ังคับการจังหวัดทหารบก ทปี่ รกึ ษา ๑.๔) ผู้ว่าราชการจงั หวัด ผู้อา� นวยการ ๑.๕) รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั ที่ได้รับมอบหมาย รองผู้อ�านวยการ ๑.๖) ผู้บงั คบั การตา� รวจภธู รจังหวดั รองผอู้ า� นวยการ ๑.๗) รองผู้อ�านวยการ รกั ษาความมั่นคงภายในจงั หวดั รองผูอ้ า� นวยการ ฝา่ ยทหาร ๑.๘) นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัด รองผู้อ�านวยการ ๑.๙) ผู้อ�านวยการสา� นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา รองผอู้ า� นวยการ ที่ผวู้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย ๑.๑๐) ผู้อา� นวยการสา� นกั งาน ปปส.ภาค กรรมการ ๑.๑๑) นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั กรรมการ ๑.๑๒) นายกเทศมนตรีนคร กรรมการ ๑.๑๓) ผู้บญั ชาการเรือนจ�าจงั หวัด กรรมการ ๑.๑๔) ผอู้ �านวยการส�านักงานคุมประพฤตจิ ังหวดั กรรมการ ๑.๑๕) แรงงานจังหวดั กรรมการ ๑.๑๖) ผอู้ า� นวยการสา� นักงานขนสง่ จังหวดั กรรมการ ๑.๑๗) พัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัด กรรมการ ๑.๑๘) วัฒนธรรมจังหวดั กรรมการ เรื่องควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง 27

๑.๑๙) ประชาสัมพนั ธจ์ ังหวัด กรรมการ ๑.๒๐) ท่องเท่ยี วและกีฬาจงั หวัด กรรมการ ๑.๒๑) พัฒนาการจงั หวัด กรรมการ ๑.๒๒) ท้องถ่ินจงั หวดั กรรมการ ๑.๒๓) นายอ�าเภอทุกอา� เภอ กรรมการ ๑.๒๔) ผู้แทนองค์กรภาคเอกชนในพ้ืนที ่ กรรมการ ๑.๒๕) หัวหนา้ ส่วนราชการทีเ่ ก่ียวขอ้ ง กรรมการ โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดเห็นชอบ ๑.๒๖) ปลัดจังหวัด กรรมการ และเลขานุการรว่ ม ๑.๒๗) หัวหนา้ ส�านกั งานจังหวดั กรรมการ และเลขานุการร่วม ๑.๒๘) รองผ้บู งั คบั การต�ารวจภูธรจงั หวดั กรรมการ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย และเลขานุการร่วม ๑.๒๙) ผู้ช่วยนายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัด กรรมการ และเลขานุการรว่ ม ๑.๓๐) รองผอู้ �านวยการสา� นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา กรรมการ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย และเลขานุการรว่ ม ๒) อา� นาจหนา้ ทข่ี องศนู ยอ์ �านวยการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวดั ๒.๑) จดั วางระบบขอ้ มลู ข่าวสารด้านยาเสพตดิ ตดิ ตามและประเมินสถานการณ์ ปัญหายาเสพตดิ ในพ้นื ทีจ่ ังหวัดและปัญหาทเี่ กยี่ วเนื่อง ๒.๒) จัดท�าแผนปฏิบัติการ แผนงาน และโครงการต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในพ้ืนท่ีจังหวัด รองรับแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ก�าหนดขึ้น โดยร่วมกับส่วน ราชการ หนว่ ยงานภาคเอกชน หรอื องค์กรภาคประชาชนทีเ่ ก่ยี วข้อง ๒.๓) สงั่ การหรอื มอบหมายใหส้ ว่ นราชการและหนว่ ยงานในพนื้ ทจี่ งั หวดั ดา� เนนิ การ ในลกั ษณะบรู ณาการทงั้ แผนงาน งบประมาณและการปฏบิ ตั ิ เพอื่ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ๒.๔) อ�านวยการ ประสานงาน เร่งรัด ตรวจสอบติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่จังหวัด ของส่วนราชการ หน่วยงานภาคเอกชน และองค์กรภาคประชาชนท่ีเก่ยี วขอ้ ง ๒.๕) จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด กลมุ่ เสย่ี งตา่ ง ๆ และจดั ใหม้ กี ารบา� บดั รกั ษาและฟน้ื ฟสู มรรถภาพผเู้ สพยาเสพตดิ ในชมุ ชนอยา่ งเพยี งพอ 28 เรือ่ งควรรู้ ค่มู ือนกั ปกครอง

๒.๖) ก�าหนดเป้าหมายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและจัดชุดเฉพาะกิจเข้าไป ปฏิบตั ิงาน ในพ้นื ท่เี ป้าหมายหรือเสริมการปฏบิ ตั ิงานตามท่ไี ด้รับการรอ้ งขอ ๒.๗) ประสานการปฏิบัติกับกองบัญชาการต�ารวจปราบปรามยาเสพติด ต�ารวจ ภูธรภาค และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้กฎหมาย เพ่ือให้บังเกิดผลในการปราบปราม สืบสวน ขยายผล ตรวจยึดทรัพย์สิน และทา� ลายเครอื ขา่ ยของยาเสพติด ๒.๘) จดั ชุดสืบสวนตรวจสอบข้อเท็จจรงิ หรอื คา� ร้องเรยี นของประชาชน และใหม้ ี ผลการปฏิบัติอย่างรวดเร็วทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ ๒.๙) เสนอผมู้ อี า� นาจหนา้ ทห่ี รอื ผอู้ า� นวยการ ศอ.ปส. ในการพจิ ารณาใหค้ ณุ ใหโ้ ทษ เจ้าหนา้ ท่ีผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในพ้นื ทรี่ บั ผิดชอบและทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ๒.๑๐) ตดิ ตามประเมนิ ผลการดา� เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในพน้ื ที่ จังหวดั และใหค้ �าแนะน�าแก่องค์กร หน่วยงานเพือ่ การปรับปรุงและพฒั นาระบบการด�าเนินงาน ๒.๑๑) จัดท�าและส่งเสริมสนับสนุนแนะน�าการจัดท�าแผนปฏิบัติการป้องกันและ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในระดบั จงั หวัด ระดบั อา� เภอ และระดับต�าบล ๒.๑๒) ให้ผู้อ�านวยการศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด มอี า� นาจ ในการมอบหมายหนา้ ทแ่ี ละจดั ตงั้ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทกุ ระดบั และ ทกุ แบบในพนื้ ทข่ี องจงั หวดั เพอ่ื อา� นวยการ สนบั สนนุ หรอื รว่ มปฏบิ ตั กิ ารแกไ้ ขปญั หาในพน้ื ทชี่ มุ ชนเมอื ง และหมบู่ า้ น/ชุมชน ในเขตชนบท ๒.๑๓) รายงานผลการปฏิบัติงานและสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นท่ี รบั ผิดชอบให ้ ศอ.ปส. ทราบทุกระยะ ๒.๑๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นเพ่ือสนับสนุนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพ ตดิ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายจาก ศอ.ปส. ๑.๒ ค�าสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๖๗/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เรอื่ ง การจดั ตง้ั ศนู ยอ์ า� นวยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ กระทรวงมหาดไทย (ศอ.ปส.มท.) สรปุ สาระสา� คัญไดด้ งั นี้ ให้จัดตั้งศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกระทรวงมหาดไทย เรียกโดยย่อว่า “ศอ.ปส.มท.” ท�าหน้าท่ีแปลงนโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดใน ความรบั ผดิ ชอบของกระทรวงมหาดไทยไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ อา� นวยการ สง่ั การ เรง่ รดั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการทา� งานของหนว่ ยงาน ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย ซงึ่ มปี ลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ ผอู้ า� นวยการ โดยมีอ�านาจในการอ�านวยการ ส่ังการ เร่งรัด ก�ากับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการ ปฏิบัติงานของศูนย์อ�านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด (ศอ.ปส.จ.) และศูนย์ ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอ�าเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับ (ศป.ปส.อ./ศป.ปส.อปท.) เรื่องควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง 29

๒. แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด ป ี ๒๕๕๘ - 2562 ศนู ยอ์ า� นวยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ จงั หวัด (ศอ.ปส.จ.) มีอา� นาจหน้าทีใ่ นการ จดั ท�าแผนปฏบิ ตั ิการ แผนงาน และโครงการต่าง ๆ เพื่อแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในพื้นท่ีจังหวัด รองรบั แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ โดยร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานภาคเอกชน หรอื องคก์ รภาคประชาชน ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ซงึ่ สรปุ สาระสา� คญั แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ได ้ ดังนี้ ๒.๑ จดุ มุ่งหมาย ลดปริมาณผู้เขา้ สกู่ ารกระท�าผดิ เก่ียวกับยาเสพติด นา� คนออกจากวงจรการกระท�าผิด เก่ยี วกบั ยาเสพตดิ ให้เหน็ อยา่ งชัดเจน จนไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สังคมและประชาชน ๒.๒ เปา้ หมายรวมทางยทุ ธศาสตร์ ๑) พฒั นามาตรฐานการบ�าบัดรกั ษาทกุ ระบบ ติดตามผผู้ า่ นการบ�าบัดฟ้นื ฟูฯ ให้ความ ช่วยเหลอื ผผู้ ่านการบ�าบัด ให้สามารถกลบั ไปใชช้ วี ติ ในสงั คมอยา่ งปกติ ๒) สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชน รวมทั้งผู้ใช้แรงงาน ในสถานประกอบการ ๓) สกดั กนั้ การลกั ลอบลา� เลยี งและนา� เขา้ ยาเสพตดิ ในชอ่ งทางชายแดน ตลอดจนพน้ื ที่ ในประเทศ ๔) ปราบปราม จับกุมการกระท�าความผิดคดีรายส�าคัญ รวมทั้งเครือข่ายการค้าใน เรือนจ�าทุกแหง่ ๒.๓ ยทุ ธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด มี ๘ ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ๑) ยุทธศาสตร์การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยเฉพาะ เด็กและ เยาวชน ใช้เคร่ืองมือการป้องกันที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ต้ังแต่เด็กปฐมวัย เยาวชน ท้งั ในและนอกสถานศึกษา กลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงานในสถานประกอบการ และครอบครวั ท่ีมคี วามเสีย่ งต่อการ ใช้ยาเสพตดิ โดยรว่ มมือกบั ทกุ ภาคสว่ นในการสร้างภูมิคมุ้ กันยาเสพตดิ สง่ เสริมการใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน ์ ด้วยการจดั กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ท้ังดนตรี กฬี า ศิลปะ หรืออนื่ ๆ ตามความเหมาะสม ๒) ยทุ ธศาสตรก์ ารแกไ้ ขปญั หาผเู้ สพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ใหค้ วามสา� คญั กบั การดา� เนนิ งาน ในเชิงคุณภาพ โดยการพัฒนากลไกการด�าเนินงานในทุกกระบวนการของการบ�าบัดรักษา ตั้งแต่การ ค้นหา คัดกรอง จ�าแนกผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และน�าเข้าสู่การบ�าบัดรักษาในระบบสมัครใจเป็นหลัก ตามประกาศคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ท ่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ หรอื ในรูปแบบทีเ่ หมาะสม เชน่ การบ�าบัด รักษาในคา่ ยปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม สถานพยาบาล สถานบงั คับบา� บัด ค่ายทหาร เปน็ ต้น 30 เรือ่ งควรรู้ คมู่ อื นกั ปกครอง

๓) ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งและพฒั นาระบบรองรบั การคนื คนดใี หส้ งั คม ใหม้ รี ะบบการ ติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบ�าบัดรักษาอย่างจริงจัง ทั้งศูนย์ประสานการดูแลผู้ผ่านการบ�าบัดฟื้นฟู ในระดบั จังหวัด และอา� เภอ พฒั นารปู แบบ แนวทางการตดิ ตามและชว่ ยเหลือ การจัดระบบช่องทาง ในการใหค้ วามช่วยเหลือ ผูผ้ ่านการบ�าบัดในดา้ นตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสมของบคุ คล เช่น ดา้ นอาชพี การงาน การอบรม แหลง่ ทนุ การศกึ ษา เปน็ ต้น ๔) ยทุ ธศาสตรก์ ารควบคมุ ตวั ยาและผคู้ า้ ยาเสพตดิ โดยการควบคมุ สกดั กนั้ ยาเสพตดิ สารต้ังต้น และเคมีภัณฑ์เข้าสู่ประเทศไทยตามช่องทางชายแดน จุดตรวจตอนใน เส้นทางคมนาคม ขนส่ง ท�าลายโครงสร้างการค้า กลุ่มอิทธิพลและยาเสพติดตามแนวชายแดน เพ่ือตัดวงจรการน�าเข้า ยาเสพตดิ ตามแนวชายแดน เสน้ ทางการเงนิ ทเี่ ชอื่ มโยง พฒั นาความเขม้ แขง็ หมบู่ า้ นตามแนวชายแดน บูรณาการและแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลการข่าวในทุกระดับ และสืบสวนปราบปรามอย่างจริงจังและต่อ เนอ่ื ง เนน้ การระดมปราบปราม แหลง่ ผลติ แหลง่ จา� หนา่ ย แหลง่ พกั ยา ผผู้ ลติ ผคู้ า้ รายสา� คญั ผลู้ า� เลยี ง ยาเสพติด เครือข่ายยาเสพติดและที่โยงใยไปในเรือนจ�า ตลอดจนข้อร้องเรียนของประชาชน โดยให้ สนธิก�าลังปฏิบัติการจากทุกหน่วย เข้าปราบปรามเครือข่ายการผลิตและการค้ายาเสพติดรายส�าคัญ และสืบสวนสอบสวนขยายผล เพื่อน�าไปสู่การใช้มาตรการทางทรัพย์สินและภาษีในการยึดหรืออายัด ทรัพย์สินของขบวนการค้ายาเสพติด ซ่ึงรวมไปถึง ผู้มีอิทธิพล นายทุนท่ีอยู่เบ้ืองหลังการกระท�าผิด และเจา้ หน้าทขี่ องรัฐทเี่ ข้าไปเกยี่ วขอ้ งกับยาเสพติด ๕) ยทุ ธศาสตรค์ วามรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ โดยการแสวงหา เสรมิ สรา้ ง และพฒั นา ความร่วมมือในการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดกับประเทศเพื่อนบ้านและ นานาประเทศ ตลอดจนองคก์ รระหวา่ งประเทศในการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ เพอ่ื เพมิ่ ขดี ความสามารถ ในการสกัดก้ัน ปราบปรามยาเสพติด จากต่างประเทศที่เข้าสู่ประเทศไทย และยกระดับบทบาทของ ประเทศไทยในการเป็นผู้ประสานงานหลักของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในภูมิภาคอาเซียน โดยมี เป้าหมายหลักในการลดสถานการณ์การผลิตยาเสพติดภายนอกประเทศท่ีส่งผลกระทบต่อปัญหา ยาเสพติดภายในประเทศและภายในภูมิภาค ๖) ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งสภาพแวดล้อมเพอ่ื ปอ้ งกันปญั หายาเสพติด ใหค้ วามสา� คัญ กับการควบคุมและจัดการสภาพแวดล้อมในบริบทท่ีเป็นปัจจัยเอ้ือที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าไปยุ่ง เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ ของกลมุ่ เป้าหมายตา่ ง ๆ ท้ังเยาวชนกลุม่ เสีย่ ง กลมุ่ ผู้ผา่ นการบา� บัดรักษาแลว้ กลบั ไปเสพซา้� เรง่ รดั การจดั ระเบยี บสงั คมอยา่ งจรงิ จงั โดยใชม้ าตรการทางกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั และการ ท�างานแบบบรู ณาการทม่ี เี จ้าภาพ ชัดเจน มุ่งเนน้ ทแ่ี หลง่ อบายมุข แหล่งมวั่ สุม และแหล่งแพรร่ ะบาด ของยาเสพตดิ ทกุ แหง่ ทวั่ ประเทศ สรา้ งสภาพแวดลอ้ มผา่ นกลไกครอบครวั และสงั คม เพอื่ ควบคมุ และ ปอ้ งกนั ปญั หายาเสพตดิ เรอื่ งควรรู้ คูม่ อื นกั ปกครอง 31

๗) ยทุ ธศาสตรก์ ารมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน โดยเนน้ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา ยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีปัญหายาเสพติด และในหมู่บ้าน/ชุมชนกองทุนแม่ของแผ่นดิน ตลอดจนเสรมิ สรา้ ง การมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน และภาคประชาสงั คมในการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ๘) ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การอยา่ งบรู ณาการ ใหค้ วามสา� คญั กบั การพฒั นาระบบ การบริหารจัดการท่ีมีเอกภาพ ทั้งในด้านกลไกการแก้ไขปัญหาทุกระดับ ระบบแผน งบประมาณ การติดตามประเมินผล และระบบสนับสนุนต่างๆ เป็นต้น มีการท�างานแบบบูรณาการทุกมาตรการ และทุกหน่วยงานในพ้ืนท่ีท่ีปรากฏปัญหาการค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติด ทั้งแนวคิด แผนงาน งบประมาณ และการปฏิบตั ิ เพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายรว่ มกันได้อย่างแท้จรงิ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถและสอดคลอ้ งกบั ภารกิจทไี่ ดร้ ับมอบหมายในแตล่ ะมาตรการทีร่ ับผดิ ชอบ ๒.๔ ตวั ชวี้ ัดความส�าเร็จการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ๑) ความพึงพอใจและความเชือ่ มัน่ ของประชาชนในการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดสงู ขน้ึ ๒) ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน อนั เนอ่ื งมาจากปญั หายาเสพตดิ สงู ข้นึ ๓) สถานการณ์ปญั หายาเสพติดในภาพรวมลดลงและสามารถควบคมุ ได้ ๒.๕ การกา� กบั ตดิ ตาม รายงานผล และประเมนิ ผลการดา� เนนิ งาน การก�ากับ ติดตามการด�าเนินงาน จะใช้กลไกของผู้ตรวจราชการกระทรวง/กรม และคณะอนุกรรมการก�ากับติดตามผลการด�าเนินงาน ในส่วนของการรายงานผลการด�าเนินงาน สา� นักงาน ป.ป.ส. กา� หนดรปู แบบการรายงานผลการดา� เนินงานตามแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันและแก้ไข ปญั หายาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๘ ผา่ นระบบสารสนเทศยาเสพตดิ จังหวดั (NISPA) ทางอนิ เทอรเ์ น็ต โดย ทกุ หนว่ ยงานในสว่ นกลางและจงั หวดั รายงานผลการดา� เนนิ งานใหส้ า� นกั งาน ป.ป.ส. ซง่ึ สา� นกั งาน ป.ป.ส. จะวิเคราะห์และประมวลผลในภาพรวมนา� เสนอคณะรัฐมนตรี การแบง่ มอบภารกิจของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงมหาดไทย เพ่ือปฏบิ ัตติ ามแผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ศอ.ปส.มท. ที่ ภารกิจ 1 อ�านวยการ สง่ั การ ก�ากับติดตามการดา� เนนิ งานของกรมทเ่ี กี่ยวข้อง ศอ.ปส.จ/อ. สรา้ งความ เข้มแขง็ กลไกอ�านวยการในแตล่ ะระดบั 2 พัฒนากระบวนการแผนและงบประมาณในระดับต่างๆ 32 เรอ่ื งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง

ท่ี ภารกิจ 3 จัดระบบฐานขอ้ มูลใหส้ ามารถเช่อื มโยงระหว่าง ศอ.ปส.มท. ไปยงั ศอ.ปส. และ ศอ.ปส.จ./อ. 4 เป็นหน่วยงานหลักในการด�าเนินมาตรการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ 5 จัดระบบการด�าเนนิ งานภาคประชาชนให้เข้มแขง็ 6 สนบั สนนุ และประสานงานการดา� เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาในกลมุ่ เยาวชนกอ่ นวยั เสย่ี ง และการสรา้ งภมู คิ ุ้มกันใหแ้ ก่เยาวชนท้ังในและนอกสถานศึกษา 7 สนับสนุนการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ปฏิบัติการจิตวิทยาป้องกันยาเสพติด (Information Operation) 8 พัฒนาระบบศูนย์ปฏบิ ัตกิ าร (War Room) ในทุกระบบ 9 ด�าเนินการกับข้อร้องเรียนของประชาชน รวมทั้งด�าเนินการกับข้าราชการและบุคลากรท่ีมี พฤติการณ์เกีย่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด กรมการปกครอง ท่ี ภารกจิ 1 มอบหมายนายอ�าเภอรับผิดชอบปฏิบัติการในพ้ืนท่ี ทบทวนตรวจสอบ ประเมินสถานะ หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ประชาสงั คมคน้ หาผเู้ สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จดั ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ดา� เนนิ การตา่ ง ๆ เช่น การปราบปรามผ้คู ้า การน�าผ้เู สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติดเขา้ บา� บัดรกั ษา ด�าเนนิ งานผปู้ ระสาน งานหมูบ่ า้ น ผู้ประสานพลงั แผ่นดนิ เอาชนะยาเสพตดิ 2 เสริมสร้างประสิทธิภาพของกลุ่มอาสาสมัครพลังแผ่นดินที่ได้จัดตั้งไว้แล้วมีศักยภาพและ คณุ ภาพ เพ่ือท�าหนา้ ทเ่ี ปน็ แกนนา� ในการสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชมุ ชน 3 สนับสนุนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในระดับพื้นท่ี พัฒนามาตรฐานการจัดท�า ค่ายปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม/โรงเรียนววิ ัฒน์พลเมืองฝ่ายปกครอง 4 ด�าเนินมาตรการทางกฎหมายในการปราบปรามและจัดระเบียบสงั คม เรอื่ งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง 33

ท่ี ภารกิจ 5 ติดตามการดา� เนินงานของส�านกั งานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) รวม ท้งั พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ หมู่บ้าน/ชุมชนชายแดน 6 จัดทา� แผนปฏิบัต ิ งบประมาณ เพือ่ สนับสนนุ การด�าเนนิ งานในพน้ื ท่ี กรมการพัฒนาชุมชน ที่ ภารกจิ 1 พฒั นาความเขม้ แขง็ ของหมบู่ า้ น/ชมุ ชนเชงิ คณุ ภาพ โดยเฉพาะหมบู่ า้ นกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ ท่ีมีอยู่แล้ว ตรวจสอบและประเมินสถานะและเสริมสร้างความเข้มแข็งหมู่บ้านท่ีจะเข้ารับ พระราชทานเป็นหม่บู า้ นกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ แหง่ ใหม่ 2 พัฒนาแกนน�าและก�าลังอาสาสมัครภาคประชาชน ในการควบคุมและลดปัญหายาเสพติด ในพ้ืนท่ตี ามแนวทางสันติวิธี 3 จัดกิจกรรมและสร้างกระแสหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเพื่อแสดงถึงการรวมพลังสามัคคี การใหอ้ ภยั การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ตามยทุ ธศาสตร์พระราชทาน “รรู้ ักสามัคคเี ปน็ พลงั แผ่นดิน” 4 ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาเยาวชนกลุ่มเสยี่ งนอกสถานศึกษา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ ภารกจิ 1 ผลักดันและส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไข ปัญหา ยาเสพติดอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2 ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสนับสนุนงบประมาณในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในทกุ ภารกจิ 3 ผลกั ดนั ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สนบั สนนุ การจดั ทา� แผนปฏบิ ตั ริ าชการดา้ นการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรัฐบาล 4 จัดกจิ กรรมปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคประชาชน 5 สนับสนุนการจัดท�าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการบ�าบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ในพื้นที่ รวมท้ังพัฒนาและสนับสนุนบุคลากรในการบ�าบัดรักษาและติดตามช่วยเหลือ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผู้ผา่ นการบ�าบดั รกั ษา 6 ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษาที่อย่ใู นสังกดั 34 เรือ่ งควรรู้ คู่มือนักปกครอง

ศอ.ปส.จ. ที่ ภารกจิ 1 ทบทวน ประเมนิ สถานการณ ์ ปญั หาและการดา� เนนิ งานรายหมบู่ า้ น/ชมุ ชน เพอ่ื จา� แนกสถานะ หมู่บ้านเปน็ ประเภท 1-5 2 จัดระบบการดา� เนนิ งานภาคประชาชนให้เข้มแขง็ 3 ปรบั ปรงุ พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพของทมี วทิ ยากรในคา่ ยปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของอา� เภอ ใหร้ บั การทา� งานของศนู ยค์ ดั กรองรวมทงั้ จดั ใหม้ ศี นู ยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพแบบสมคั รใจ จงั หวดั ละ 1 แหง่ 4 จัดตง้ั ศูนย์ขอ้ มลู ตดิ ตามและประสานการชว่ ยเหลือจงั หวัดละ 1 แหง่ 5 จดั ตั้งชดุ จดั ระเบียบสังคมของจังหวัด 6 ปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพขจัดสถานท่ีเสี่ยงที่เป็นแหล่งมั่วสุม จัดให้มีแสงสว่าง ติดตงั้ กล้อง CCTV มีชอ่ งทางแจ้งข่าวสาร สง่ เสรมิ เวรยามชมุ ชน 7 สา� รวจจา� นวนของเยาวชน นอกสถานศกึ ษาในแตล่ ะหมบู่ า้ น ตา� บล และอา� เภอ รวมทงั้ ประเภท และปัญหาของพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชน 8 จัดท�าแผนบูรณาการด้านยาเสพติดในระดับจังหวัด ก�าหนดเป้าหมายของปฏิบัติการโดย พิจารณาถึงผลการด�าเนินงานท่ีผ่านมา ท้ังปริมาณและคุณภาพ เน้นแผนปฏิบัติการที่มุ่งลด และควบคมุ ปญั หายาเสพติดในพน้ื ท่รี วมทงั้ จดั ทา� Action plan รองรบั แผนปฏิบัติการ 9 พัฒนาฐานข้อมูลยาเสพติดในจังหวัดและพัฒนาห้องปฏิบัติการ War Room จัดระบบ ฐานขอ้ มลู ให้ครอบคลมุ พืน้ ทีก่ ลมุ่ ผ้เู สพ/ผูค้ ้าและกลมุ่ เส่ียง 10 จดั ทา� ทะเบียนกา� ลังพลผปู้ ฏบิ ตั งิ านยาเสพติดของทกุ หนว่ ยใหเ้ ปน็ ระบบ 11 กา� หนดชอ่ งทางในการแจง้ เบาะแสขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพตดิ ทางต ู้ ปณ. หรอื กล่องรับ เรอื่ งราวร้องทกุ ข์ในสถานทท่ี ่ีสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกับ ผู้ว่าราชการจงั หวัด/ผอ.ศอ.ปส.จ. ได้ อยา่ งรวดเรว็ 12 ให้มีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดในเขตเทศบาลนคร/เมือง และเทศบาลต�าบลทกุ แหง่ เรื่องควรรู้ คูม่ ือนักปกครอง 35

ศอ.ปส.อ ที่ ภารกจิ 1 ทบทวน ประเมนิ สถานการณป์ ญั หาและกานดา� เนนิ งานรายหมบู่ า้ น/ชมุ ชน เพอ่ื จา� แนกสถานะ หมู่บ้านเปน็ ประเภท 1-5 2 เสริมสรา้ งความตอ่ เนือ่ งของการด�าเนินงาน เสรมิ สรา้ งหมู่บ้าน/ชมุ ชนเข้มแขง็ 3 จดั ตงั้ ผปู้ ระสารงานใหก้ บั หมบู่ า้ น/ชมุ ชนในพนื้ ท ี่ โดยใหค้ วามสา� คญั กบั หมบู่ า้ น ชมุ ชนประเภท 2-5 4 จดั ตง้ั ศูนย์จ�าแนกและคดั กรองผเู้ ข้ารบั การบา� บัดรกั ษาอ�าเภอละ 1 แหง่ 5 จัดต้ังชดุ จดั ระเบียบสงั คมของอ�าเภอ 6 สา� รวจจา� นวนของเยาวชน นอกสถานศกึ ษาในแตล่ ะหมบู่ า้ น ตา� บล และอา� เภอ รวมทง้ั ประเภท และปญั หาของพฤตกิ รรมเสี่ยงของเยาวชน 7 กา� หนดชอ่ งทางในการแจง้ เบาะแสขอ้ มูลขา่ วสารเก่ียวกับยาเสพตดิ ทางตู้ ปณ. หรือกลอ่ งรับ เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขใ์ นสถานทสี่ ามารถตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั นายอา� เภอ ผอ.ศอ.ปส.อ. ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 8 จัดตง้ั ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารพลังแผน่ ดิน เอาชนะยาเสพติดต�าบล/หมู่บ้านทกุ แห่ง สา� นักนโยบายและแผน สา� นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย 0-2226-0198 36 เรื่องควรรู้ คมู่ ือนกั ปกครอง

แผนภาพกลไกการอ�านวยการและบรหิ ารจัดการ แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ เร่อื งควรรู้ คู่มือนกั ปกครอง 37



การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสาธารณภยั



การป้องกันและแก้ไขปญั หาสาธารณภยั บทบาทและอ�านาจหน้าท่ีในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาสาธารณภยั ของผู้ว่าราชการจังหวดั ในฐานะผอู้ �านวยการจงั หวัด ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.๒๕๕๐ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้อ�านวยการจังหวัดรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตจงั หวดั โดยมีอา� นาจหน้าท่ี ดงั น ้ี (มาตรา ๑๕) ๑. อา� นาจในการสง่ั การ ๑.๑ สงั่ การหนว่ ยงานของรฐั และองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ซงึ่ อยใู่ นจังหวดั ให้ด�าเนนิ การ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั (มาตรา ๑๕) ๑.๒ ส่ังการเจ้าพนักงานและอาสาสมัครให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่พระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยกา� หนด (มาตรา ๑๕) ๑.๓ กรณเี กดิ หรือคาดวา่ จะเกดิ สาธารณภัย (มาตรา ๒๑) - สั่งข้าราชการฝ่ายพลเรือน พนักงานส่วนท้องถ่ิน เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ เจ้าพนักงาน อาสาสมัคร และบุคคลใดๆ ในเขตจังหวัดที่เกิดสาธารณภัยให้ปฏิบัติการอย่างหน่ึง อย่างใดตามความจ�าเป็นในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย - ใชอ้ าคาร สถานที ่ วัสด ุ อปุ กรณ ์ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช ้ และยานพาหนะของหน่วยงาน ของรัฐและเอกชนท่ีอยู่ในเขตจังหวัดที่เกิดสาธารณภัยเท่าท่ีจ�าเป็นเพื่อการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - ใชเ้ ครอ่ื งมอื สอ่ื สารของหนว่ ยงานของรฐั หรอื เอกชนทกุ ระบบทอี่ ยใู่ นเขตจงั หวดั ทเ่ี กดิ สาธารณภัยหรอื ทอ้ งท่ีท่เี กีย่ วเน่อื ง - ขอความช่วยเหลือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - สงั่ หา้ มเขา้ หรือใหอ้ อกจากพ้นื ท่ ี อาคารหรอื สถานท่ีท่ีก�าหนด - จัดใหม้ กี ารสงเคราะหผ์ ู้ประสบภัยโดยทวั่ ถงึ และรวดเร็ว ๑.๔ กรณีจ�าเป็นเพื่อประโยชน์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีอ�านาจออกค�าสั่ง เพื่อสั่งการหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือบุคคลใดกระท�าหรือ งดเวน้ การกระทา� ใดทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั นนั้ คา� สง่ั ดงั กลา่ วใหม้ ผี ลบงั คบั เป็นระยะเวลาตามทีก่ �าหนดในค�าสั่ง แต่ต้องไม่เกนิ ย่สี ิบสี่ชัว่ โมง (มาตรา ๒๒ วรรคสาม) เรอื่ งควรรู้ คูม่ อื นกั ปกครอง 41

๑.๕ กรณีเกิดสาธารณภัยและภยันตรายจากสาธารณภัยนั้นใกล้จะถึง มีอ�านาจสั่งให ้ เจา้ พนกั งานดดั แปลง ทา� ลาย หรอื เคลอ่ื นยา้ ยสง่ิ กอ่ สรา้ ง วสั ด ุ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของบคุ คลใดทเี่ ปน็ อปุ สรรค แก่การบ�าบดั ปัดปอ้ งภยันตรายได ้ เฉพาะเท่าทีจ่ �าเปน็ แกก่ ารยับยัง้ หรอื แกไ้ ขความเสียหายท่ีจะเกิดขนึ้ จากสาธารณภยั นน้ั (มาตรา ๒๕) ๑.๖ การบรรเทาสาธารณภัย (ด�าเนินการเองหรือมอบหมายให้ต�ารวจในพื้นที่เป็นผู้ด�าเนิน การกไ็ ด)้ (มาตรา ๒๗) - จัดให้มีสถานที่ช่ัวคราวเพื่อให้ผู้ประสบภัยอยู่อาศัยหรือรับการปฐมพยาบาล และการรักษาทรัพย์สินของผูป้ ระสบภยั - จัดระเบียบการจราจรช่วั คราวในพ้ืนทที่ ่เี กดิ สาธารณภัยและพน้ื ทใี่ กล้เคียง - ปดิ กนั้ มใิ หผ้ ู้ไม่มสี ว่ นเกยี่ วข้องเข้าไปในพื้นทีท่ เ่ี กิดสาธารณภยั และพื้นท่ีใกลเ้ คยี ง - จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบรอ้ ยและป้องกนั เหตโุ จรผ้รู า้ ย - ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัย และช่วยขนยา้ ยทรพั ย์สินในพนื้ ทที่ ี่เกิดสาธารณภัยและพ้นื ท่ี ใกล้เคียง เมอ่ื ไดร้ บั การร้องขอจากเจา้ ของหรือผู้ครอบครองทรพั ย์สนิ - จัดให้มีเครื่องหมายหรืออาณัติสัญญาณเพื่อใช้ในการก�าหนดสถานท่ีหรือ การด�าเนนิ การใดข้างต้น ๑.๗ กรณีเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยในพ้นื ทีใ่ ด - การอยอู่ าศยั ในพนื้ ทน่ี นั้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ภยนั ตรายหรอื กดี ขวางตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี อง เจา้ พนกั งาน มอี �านาจสั่งอพยพผซู้ ง่ึ อยู่ในพ้นื ทน่ี น้ั ออกไปจากพนื้ ท่ีดงั กลา่ ว เฉพาะเทา่ ที่จา� เปน็ แกก่ าร ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๒๘) - การอยอู่ าศยั หรอื ดา� เนนิ กจิ การใด ๆ ในพนื้ ทนี่ น้ั จะเปน็ อนั ตรายอยา่ งรา้ ยแรง มอี า� นาจ ประกาศห้ามมิให้บุคคลใด ๆ เข้าไปอยู่อาศัยหรือด�าเนินกิจการใดในพ้ืนที่ดังกล่าวก็ได้ โดยประกาศ ดงั กล่าวให้กา� หนดระยะเวลาการห้ามและเขตพ้นื ที่ทหี่ ้ามตามที่จ�าเป็นไว ้ (มาตรา ๒๙) ๑.๘ ส�ารวจความเสียหายจากสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นและท�าบัญชีรายช่ือผู้ประสบภัยและ ทรัพย์สินที่เสียหายไว้เป็นหลักฐาน พร้อมออกหนังสือรับรองให้ผู้ประสบภัยไว้เป็นหลักฐานในการ รับการสงเคราะห์และฟื้นฟ ู (มาตรา ๓๐) ๒. อา� นาจในการกา� กบั และควบคุม ๒.๑ ก�ากบั ดูแลการฝกึ อบรมอาสาสมัครขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (มาตรา ๑๕ (๒)) ๒.๒ ก�ากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้จัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะ และสิ่งอ่นื เพื่อใชใ้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๑๕ (๓)) 42 เร่ืองควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง

๒.๓ ควบคุมและก�ากับเจ้าพนักงานและอาสาสมัครให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่พระราชบัญญัติ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ กา� หนด (มาตรา ๑๕ วรรคสอง) ๒.๓ ควบคุมเจ้าพนักงานกรณีจ�าเป็นต้องเข้าไปในอาคารหรือสถานที่อยู่ใกล้เคียงกับพ้ืนท่ี ที่เกิดสาธารณภัยเพื่อท�าการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองอยู่ใน เวลานน้ั (มาตรา ๒๖) ๓. หนา้ ทีส่ นับสนนุ สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (มาตรา ๑๕ (๕)) ********************* กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 0-2637-3000 เรื่องควรรู้ คู่มือนักปกครอง 43

ขน้ั ตอนการจดั การฝึกซอ้ มการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ขัน้ ตอนท่ ี ๑ รบั ทราบ/วเิ คราะห ์ นโยบาย ข้อสัง่ การ การฝกึ ซอ้ ม เจา้ หนา้ ท ี่ ปภ. เมอื่ ไดร้ บั ทราบ (ทง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการ) ถงึ แนวนโยบาย หรอื ข้อสั่งการ ในฝึกซ้อมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จากระดับนโยบาย (เช่น กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั , ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั , ผบู้ รหิ ารกระทรวงมหาดไทย) จะทา� การวเิ คราะหน์ โยบาย/ ข้อสัง่ การดงั กลา่ ว เพอ่ื ก�าหนดขอบเขตเบื้องต้นของการฝกึ ซอ้ มในปงี บประมาณนัน้ ๆ เชน่ ประเภท ของภยั ทจี่ ะทา� การฝกึ , ภารกจิ หรอื ประเดน็ หลกั ทจ่ี ะทา� การทดสอบ , เขตพนื้ ทห่ี รอื ลกั ษณะพน้ื ทที่ เี่ ปน็ เป้าหมายการฝกึ เปน็ ตน้ ขนั้ ตอนที ่ ๒ จดั ทา� ร่างวตั ถุประสงค์การฝกึ ซ้อม ขอบเขตการฝึกซอ้ ม เมอื่ ไดก้ า� หนดขอบเขตเบอื้ งตน้ ของการฝกึ ซอ้ มแลว้ เจา้ หนา้ ท ่ี ปภ. จะประชมุ หารอื (อาจเปน็ การ ประชมุ หารอื ไมเ่ ปน็ ทางการ หรือเปน็ ทางการ) กบั เจ้าหน้าท่ีของหนว่ ยงานเครือข่ายหลักที่รว่ มดา� เนิน การฝึกซ้อม ซึ่งอาจได้แก่ หน่วยงานด้านการแพทย์/สาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เช่น งานดบั เพลิงกู้ภัยของเทศบาล) ต�ารวจภูธร หรือหน่วยงานอืน่ ๆ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะพน้ื ท่ี การประชุมหารือในขั้นตอนน้ี ผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่จะเป็นระดับผู้ปฏิบัติ (ไม่ใช่หัวหน้าส่วน ราชการ) ในจ�านวนไมม่ าก (อาจมีจ�านวนประมาณ ๕-๑๐ คน) เพ่อื ร่วมกนั พจิ ารณาว่า การฝึกซ้อมฯ ในปีน ี้ ควรมวี ัตถปุ ระสงคอ์ ะไรบ้าง - ควรเกย่ี วข้องกบั สาธารณภัยประเภทใด - ภารกิจใดที่ควรทดสอบหรอื ท�าการฝกึ (เช่น ดา้ นการแจ้งเหตุฉุกเฉิน ดา้ นการตดิ ต่อสือ่ สาร ดา้ นการประสานงานและส่ังการ ฯลฯ) - ระดบั ใดหรอื ประเดน็ ใดบา้ งทจ่ี ะทา� การทดสอบหรอื ทา� การฝกึ (เชน่ ทกั ษะของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ภาคสนาม ประสิทธิภาพของอุปกรณ์หรือเครื่องมือ ความพร้อมของระบบการบัญชาการ ความครบ ถว้ นสมบรู ณ์ของแผนปฏบิ ัตกิ าร ฯลฯ) ขั้นตอนนี้ อาจมีการประชุมมากกว่า ๑ คร้ัง เน่ืองจากอาจต้องมีการประสานความพร้อม ของพนื้ ทเี่ ปา้ หมาย หาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ หรอื ขอความเหน็ ชอบในหลกั การจากผบู้ งั คบั บญั ชาสงู ขนึ้ ไปของ แต่ละหนว่ ยงาน รวมถึงอาจตอ้ งเชญิ ผ้แู ทนบางหน่วยงานเข้าร่วมหารอื เพ่ิมเติม อยา่ งไรกต็ าม ผลผลิต หรอื ข้อสรุปท่ีไดใ้ นขั้นตอนน้ ี ควรประกอบดว้ ย - ประเภทของภัยทีจ่ ะท�าการฝกึ และพื้นทเ่ี ปา้ หมาย - ภารกิจท่จี ะทา� การฝกึ /ทดสอบ ระดบั หรอื ประเด็นทจี่ ะท�าการฝึก/ทดสอบ - ทางเลือกของรปู แบบการฝึก (ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ, ฝกึ ซอ้ มบนโตะ๊ , ฝกึ ปฏิบตั )ิ 44 เรอื่ งควรรู้ คู่มอื นักปกครอง

- ร่างปฏิทนิ การฝกึ (ก�าหนดหว้ งเวลาเบือ้ งตน้ สา� หรบั กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง) - ร่างสถานการณ์สมมติหลักในการฝกึ - ร่างองคป์ ระกอบของคณะทา� งานต่าง ๆ (มหี น่วยงานใดรว่ มในคณะทา� งานใดบ้าง) ขนั้ ตอนท่ี ๓ จัดทา� และเสนอขออนมุ ตั ิโครงการ และแต่งตง้ั คณะกรรมการ/คณะท�างาน เปน็ ขน้ั ตอนทางธุรการที่เจา้ หน้าที่ ปภ. จะน�าผลผลติ หรือขอ้ สรุปท่ไี ด้จากข้ันตอนท ่ี ๒ จัดทา� และเสนอขออนุมัตโิ ครงการฝกึ ซอ้ มฯ ตอ่ ผูม้ อี �านาจตามลา� ดบั ชนั้ รวมถงึ ลงนามในค�าสั่งแตง่ ตัง้ คณะ กรรมการและคณะท�างานต่าง ๆ โดยมีแนวทางการแต่งต้ังคณะกรรมการ/คณะท�างาน ตามลักษณะ ภารกิจดังนี้ ๑. คณะกรรมการอา� นวยการ จะประกอบดว้ ยหวั หนา้ สว่ นราชการ หวั หนา้ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง กับกจิ กรรมการฝกึ ซอ้ มฯ ในปีนี้ โดยมีอ�านาจหนา้ ท่ี ๑) อ�านวยการ กา� กับดูแล ประสาน การจัดการฝกึ ซอ้ มฯ ๒) สนับสนุนบุคลากร วสั ด ุ อุปกรณ ์ ยานพาหนะ สถานท ่ี ในการจดั การฝกึ ซ้อมฯ ๒. คณะทา� งานด้านวชิ าการ มีอ�านาจหนา้ ท่ี ๑) ใหข้ ้อเสนอแนะ/จดั ท�าประเดน็ ความเห็นทางเทคนคิ วชิ าการที่เกยี่ วข้องกับการฝกึ ฯ ๒) จดั ท�าสถานการณส์ มมต ิ ประเดน็ ค�าถาม สถานการณ์สอดแทรกส�าหรบั การฝกึ ฯ ๓) ตรวจสอบความเหมาะสม ความสมจริง หรือความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์การฝกึ ฯ ๓. คณะทา� งานออกแบบและควบคุมการฝึก มอี �านาจหนา้ ท่ี ๑) ออกแบบและปรับปรุงรูปแบบของสถานการณ์สมมติท่ีได้จากคณะท�างานด้านวิชาการ ใหเ้ หมาะสมกบั รูปแบบการฝึกฯ ๒) วางแผนการจดั กระบวนการฝึก และดา� เนินการควบคมุ การฝกึ ฯ ตามแผนการฝกึ ฯ ๔. คณะท�างานสนบั สนุนการฝกึ มีอา� นาจหน้าที่ ๑) ประสานการจัดการฝึกฯ กับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง ๒) จัดการสถานท่สี �าหรบั การฝึกฯ ๓) จัดหาวสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีเกีย่ วข้องในการฝกึ ฯ ๔) ด�าเนนิ ดา้ นงบประมาณ ธรุ การการฝกึ และพธิ กี าร ๕. คณะท�างานประเมินผลการฝกึ ฯ มอี �านาจหน้าท่ี ๑) จดั ระบบการประเมินผลการฝกึ ฯ จดั ท�าแนวทางการประเมินผลการฝกึ ฯ แบบประเมนิ การฝกึ ในแตล่ ะประเด็น ๒) ประเมินผลการฝึก และจดั ท�ารายงานการประเมินผล ๖. คณะท�างานอนื่ ๆ (แตง่ ตัง้ ตามความจา� เปน็ ) เร่ืองควรรู้ คูม่ ือนักปกครอง 45

สา� หรบั องคป์ ระกอบของคณะทา� งานตา่ ง ๆ ตาม ๒. ถงึ ๖. จะประกอบดว้ ยผแู้ ทนหนว่ ยงานใดบา้ ง หน่วยใดควรเปน็ หวั หน้าคณะท�างาน หนว่ ยใดควรเปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร จะขึ้นกับประเภทของภัยท่ีจะ ท�าการฝึกฯ พ้ืนท่ีเป้าหมาย ภารกิจ และระดับท่ีจะท�าการทดสอบ ซึ่งจะได้ข้อสรุปจากการประชุม หารอื รว่ มกันระหว่างหนว่ ยงานหลกั ที่เก่ียวขอ้ งในข้นั ตอนท ี่ ๒ ขนั้ ตอนท่ ี ๔ ประชมุ คณะท�างานดา้ นตา่ ง ๆ ชี้แจง/แบ่งมอบภารกิจ รว่ มกนั จดั ทา� แผนการฝกึ ฯฯ เมอ่ื ไดม้ คี า� สงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ/คณะทา� งานแลว้ การเรมิ่ ขบั เคลอ่ื นโครงการฝกึ ฯซอ้ มฯ จะ ตงั้ ตน้ จากการทฝี่ า่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการอา� นวยการ (ในกรณขี องจงั หวดั โดยทว่ั ไปจะเปน็ สา� นกั งาน ปภ.จังหวดั ) จัดใหม้ กี ารประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โดยเชญิ คณะท�างานต่าง ๆ เข้าร่วมประชุม (ข้นั ตอนน ี้ อาจยังไม่จ�าเป็นต้องประชุมคณะกรรมการอ�านวยการ) เพื่อชี้แจงให้ทราบถึง วัตถุประสงค์การฝึกฯ ขอบเขตการฝกึ ฯ ภารกจิ ประเดน็ และระดับทจ่ี ะท�าการฝกึ ฯหรือทดสอบ รวมถึงรา่ งปฏิทินการฝกึ ฯ และร่างสถานการณส์ มมติหลกั และภารกจิ ทีค่ ณะทา� งานต่าง ๆ จะไปเตรยี มดา� เนินการตอ่ ไป การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารน ี้ จะเปน็ เวทใี หค้ ณะทา� งานตา่ ง ๆ ไดร้ ว่ มกนั พจิ ารณากา� หนดกจิ กรรม ทคี่ วรตอ้ งมใี นการฝกึ ฯ เชน่ การใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน การใหค้ วามรแู้ กผ่ รู้ บั การฝกึ ฯเพอื่ ปรบั พนื้ ฐาน ก่อนการฝึกฯ การประชุมเตรียมการก่อนการฝึกฯ การประชุมประเมินผลการฝึกฯ และอื่น ๆ และ ก�าหนดห้วงเวลาท่ีชัดเจนข้ึนในการท�ากิจกรรมต่าง ๆ นั้น เพ่ือจัดท�าปฏิทินการฝึกฯ ซ่ึงจะเป็นส่วน ประกอบส�าคัญในแผนการฝึกฯที่จะน�าเสนอคณะกรรมการอ�านวยการ พิจารณาให้ความเห็นชอบใน ล�าดบั ตอ่ ไป ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอา� นวยการ จะท�าหนา้ ทปี่ ระสานการท�างานระหวา่ งคณะทา� งาน ต่าง ๆ (ซึ่งจะแยกไปเตรียมการ/จัดท�า รายละเอียดในส่วนของตน) และรวบรวมรายละเอียดของ ทกุ คณะทา� งาน จัดท�าเปน็ แผนการฝกึ ฯ โดยทัว่ ไปแผนการฝึกฯ จะมีเน้อื หาประกอบด้วย - วัตถุประสงคก์ ารฝึกฯ - ประเภทภัยท่จี ะทา� การฝึกฯ ภารกิจ/ประเดน็ /ระดบั ที่จะฝึกหรือทดสอบ - ปฏทิ นิ การฝกึ ฯ (ระบกุ จิ กรรมและห้วงเวลาที่จะด�าเนินการ) - สถานการณส์ มมติหลกั ในการฝกึ ฯ - สถานที่จดั กจิ กรรมในการฝึกฯ - หน่วยงานท่ีเข้าร่วมฝกึ ฯ / ทรัพยากรที่จะเข้าร่วมฝกึ ฯ / การใช้จ่ายงบประมาณ 46 เรอื่ งควรรู้ คู่มอื นกั ปกครอง

ขน้ั ตอนท่ี ๕ ประชมุ คณะกรรมการอา� นวยการ พิจารณา/ให้ความเหน็ ชอบแผนการฝกึ เม่ือคณะท�างานที่เกี่ยวข้องได้เตรียมการ/จัดท�ารายละเอียดในส่วนของตนเพียงพอต่อการ จดั ทา� แผนการฝกึ แลว้ ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมการอา� นวยการจะจดั ประชมุ คณะกรรมการอา� นวยการ เปดิ โอกาสใหค้ ณะทา� งานตา่ ง ๆ นา� เสนอและชแ้ี จงการเตรยี มการในสว่ นของตน เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการ อ�านวยการพจิ ารณาปรบั ปรงุ หรอื ให้ความเหน็ ชอบแผนการฝึกฯ ข้ันตอนที่ ๖ ด�าเนนิ กจิ กรรมตามแผนการฝึก เมื่อคณะกรรมการอ�านวยการให้ความเห็นชอบแผนการฝึก คณะท�างานต่าง ๆ ก็จะไป ดา� เนินการกิจกรรมตามทกี่ า� หนดไวใ้ นแผนการฝกึ ฯ ขน้ั ตอนที ่ ๗ ประชุมประเมนิ ผลการฝกึ ฯ (After Action Review : AAR) ข้นั ตอนนี ้ จะเปน็ การประชมุ ท่ีแยกออกจากการประชุมประเมินการฝึกฯ ทท่ี า� ทันทหี ลังสน้ิ สดุ การฝึกฯ (Hot Wash) โดยทว่ั ไป การประชุมประเมินการฝกึ ฯ จะมี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) การประชมุ ประเมนิ ทนั ทหี ลงั สนิ้ สดุ การฝกึ ฯ (Hot Wash) เปน็ การประชมุ เพอ่ื เปดิ โอกาส ให้ผคู้ วบคมุ การฝกึ ฯ ผรู้ ับการฝึกฯ ผู้สงั เกตการณ ์ รวมถึงวิทยากรกระบวนการ (ถ้าม)ี ได้แสดงความ เหน็ ตอ่ การปฏบิ ตั ใิ นการฝกึ ฯ กระบวนการจดั การฝกึ ฯ ขอ้ บกพรอ่ งหรอื จดุ ออ่ นทพ่ี บ ทงั้ น ้ี การประชมุ น้ ี เปน็ สว่ นหน่ึงของกิจกรรมการฝกึ ฯ ซึง่ อยูใ่ นข้ันตอนท่ี ๖ โดยคณะท�างานประเมนิ ผลการฝึกฯ จะนา� ความเห็นที่ได้มีการน�าเสนอในการประชุม ประมวลเป็นข้อมูลเพื่อประกอบในการประชุมประเมินผล การฝึกฯ (AAR) ๒) การประชุมประเมินผลการฝึกฯ (After Action Review : AAR) เป็นการประชุม คณะทา� งานประเมินผลการฝึกฯ เพื่อนา� ผลการประเมนิ ของผู้ทา� หนา้ ท่ีประเมนิ ผลการฝึกฯ และความ เห็นจากการประชุมประเมินทันทีหลังส้ินสุดการฝึกฯ (Hot Wash) มาพิจารณา เพื่อจัดท�ารายงาน การประเมนิ ผลการฝึกฯ ซึ่งต้องระบถุ งึ - การฝึกฯบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการฝึกฯ ตามท่ไี ด้ก�าหนดไว้หรือไม่ อย่างไร - ประเด็นท่ีพบจากการฝึกฯ เช่น จุดอ่อน ข้อบกพร่อง (ของแผน ระบบ เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ บุคลากร) ท่คี วรต้องปรับปรุง แกไ้ ข หรือจุดแขง็ ข้อเกื้อหนุน ท่ีสามารถน�าไปพฒั นาเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ - ขอ้ เสนอแนะสา� หรับการจัดการฝกึ ฯครงั้ ต่อ ๆ ไป ในการประชุมน้ี คณะท�างานประเมินผลการฝึกฯอาจเชิญบุคคลอื่น ๆ เช่น ผคู้ วบคมุ การฝกึ ฯ ผู้รับการฝึกฯ ผสู้ ังเกตการณ ์ เข้ารว่ มประชมุ เพอื่ ให้ความคิดเห็นเพิม่ เตมิ กไ็ ด้ เรื่องควรรู้ คมู่ ือนักปกครอง 47

ขนั้ ตอนท ่ี ๘ จัดท�าสรุปผลการด�าเนนิ งานโครงการฝึกฯ ข้ันตอนน ี้ เปน็ การสรุปผลการดา� เนนิ งานทง้ั หมดของโครงการ เพอ่ื เป็นเอกสารอา้ งอิงของการ ดา� เนนิ งานโครงการ และประกอบการรายงานผลการด�าเนินงานโครงการ ตามลา� ดับชั้นตอ่ ไป **************************************** กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 0-2637-3000 48 เร่อื งควรรู้ ค่มู อื นักปกครอง

ขัน้ ตอนกาขรั้นจตอัดนกการรจฝดั กึกาซรฝอ้ ึกมซกอ้ มากราปรป้ออ้ งกกนั นั แและลบะรบรเทรารสเาทธารสณาภธัยารณภยั เจ้าหน้าที่ ปภ. ๑. รับทราบ/วิเคราะห์ นโยบาย ขอ้ สัง่ การ การฝึกซอ้ ม เจา้ หน้าท่ี ปภ. และ ๒. ประชมุ หารือระดับผู้ปฏบิ ัติ - ประเภทภยั ท่ีจะทาการฝึก หนว่ ยงานเครอื ขา่ ยหลกั - ภารกิจ/ประเด็นทจ่ี ะทดสอบ/พฒั นา จัดทาร่างวัตถุประสงค/์ ขอบเขต - ทางเลอื กรปู แบบการฝึก การฝกึ - ร่างปฏทิ ินการฝึก - ร่างสถานการณ์สมมติหลัก เจา้ หนา้ ที่ ปภ. ๓. จัดทา/เสนอ ขออนุมัติโครงการ - ร่างองคป์ ระกอบคณะทางานตา่ งๆ ฝา่ ยเลขานุการ - คณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการ/ แตง่ ต้ังคณะกรรมการ/คณะทางาน - คณะทางานดา้ นวิชาการ คณะทางาน - คณะทางานออกแบบและควบคุมการฝึก ๔. ประชมุ คณะทางานด้านต่าง ๆ - คณะทางานสนบั สนุนการฝึก - คณะทางานประเมนิ ผลการฝกึ ชี้แจง/แบ่งมอบ ภารกจิ และ - คณะทางานอ่ืน ๆ ร่วมกันจดั ทาแผนการฝกึ - ประเภทภยั ทจี่ ะฝกึ ประเด็นท่จี ะทดสอบ - รปู แบบการฝึก - ปฏิทินการฝกึ - สถานการณ์สมมตหิ ลัก/สอดแทรก - สถานทีจ่ ัดกิจกรรมในการฝกึ - หน่วยร่วมฝกึ /ทรพั ยากร/งบประมาณ ฝ่ายเลขานกุ าร ๕. ประชุมคณะกรรมการอานวยการ - ประชุมทบทวนสถานการณฝ์ ึก/ปรบั คณะกรรมการอานวยการ พนื้ ฐานผู้รับการฝึก/ให้ความรปู้ ระชาชน เหน็ ชอบแผนการฝึก - ฝึกซ้อมแบบ - ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร คณะทางานดา้ นต่าง ๆ ๖. ดาเนนิ กจิ กรรมตามแผนการฝึก - ฝกึ ซ้อมบนโตะ๊ - ฝึกปฏบิ ัติ - ฝึกซ้อมเฉพาะหนา้ ท่ี - ฝกึ ซ้อมเตม็ รปู แบบ (เลอื กรูปแบบตามความเหมาะสม) - ประชุมประเมิน (รบั ฟังความเหน็ ) เม่อื เสรจ็ การฝึก (Hot Wash) คณะทางาน ๗. ประชุมประเมินผลการฝึก รายงานการประเมนิ ผลการฝึก ประเมนิ ผลการฝกึ ตามวตั ถปุ ระสงค์การฝึก After Action Review : AAR เจา้ หนา้ ที่ ปภ. ๘. จัดทาสรปุ ผลการดาเนนิ งาน รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกซ้อม โครงการฝกึ ซอ้ ม เรอื่ งควรรู้ คูม่ ือนักปกครอง 49