Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Published by Chalermkiat Deesom, 2017-02-17 05:47:59

Description: The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Search

Read the Text Version

3373.1. 한국산 K-뷰티 산업의 태국 진출 태국시장에서 한국 화장품의 첫 등장은 2004년 한국 화장품인 “Laneige”가 화장품 편집숍에납품된 것이 계기였다. 이는 태국 여성들에게서 큰 인기를 얻었고 2016년 기준으로 태국 전역에 34개매장을 열었다. 이어서 2005년, “Etude House”, “Skin Food”(2016년 기준 전국 매장 40개), “The FaceShop”(2014년 기준 전국 매장 20개)가 진출했다. 태국 사회 내에서 한류의 전성기는 2011년이라고 볼 수있는데, 태국의 한국 화장품 시장도 이 때를 기점으로 크게 확산되었다. 그리고 2012년에는 “설화수”,“Tony moly”, “The Saem”, “Bisous Bisous”, “닥터자르트”, “미샤”, “마몽드” 등 다양한 한국 화장품 브랜드가태국에서 흔하게 볼 수 있는 상품으로 인식되는 수준에 이르렀다. 그리고 2016년에 들어서는 무려 22 개 <표 5> 한국 화장품의 태국 수출금액: 한국 관세청 수출입무역통계단위금액:천달러 112500 70,848 79,646 86,982 90000 61,089 67500 45,045 45000 22500 881 1,162 1,558 2,511 3,636 3,887 6,544 13,597 0 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 수출금액 2011 2012 2013 2014이상의 한국 화장품 브랜드가 태국에 진출하였다. 한국 관세청에 따르면 한국 화장품의 태국수출은 더욱 증가하고 있는 것으로 나타났다. 2010년태국으로의 화장품 수출 성장률은 2009년보다 급격하게 증가해 그 증가율이 231.29%에 달했다.2002년의 태국수출금액은 80만 달러였지만 2012년에는 5,870만 달러에 이르렀다. 2015년 한국 화장품의

338최대 수출시장은 동남아시아 국가 중에는 태국이 9300만 달러로 가장 많이 수출되었다.11 이러한 결과는태국 내에서의 ‘K-뷰티’ 열풍이 어느 정도인지를 실감할 수 있게 해준다. <표 5> 태국 화장품브랜드의 한류스타 광고모델로 등장6 33 55 2012 1 1 2010 광고편 1 14 2008 2009 2011 2013 20143110 2007 태국에 진출한 ‘K-뷰티’ 산업은 화장품뿐만 아니라 미용 성형산업에까지 확장되어 최근 2-3년 간한-태 성형외과 간의 협동으로 쥬얼리성형외과, 강남클리닉, 제이준성형외과12 등 한국식 미용성형산업이 태국에 지점을 열기까지 하였다. 이른바 ‘성형 관광’으로 태국인이 성형을 목적으로 한국을방문하던 것에서 나아가 이제는 한국 성형외과가 직접 태국에 진출하기까지 한 것이다. 한편, 일반인대상으로 신청자를 받아 성형 시술을 해주는 프로그램 tvN ‘렛미인’시리즈가 한국과 해외에서 큰 인기를끈 바 있는데, 이는 프로그램 포맷 판매로 이어져 한국과 태국 공동 의료진이 꾸려지기에 이르렀다. 이에2016년에는 태국판 ‘렛미인’ 시즌 1-4가 태국의 지상파 채널 ‘워크포인트’ 를 통해 태국 전역에 방송되면서인기를 얻었다. 이처럼 ‘K-뷰티’ 산업은 일반적인 화장품을 넘어서 성형분야까지 그 외연을 넓혔다. 3.2. 태국 로컬 화장품 브랜드의 한류 이미지 활용 K-POP 열풍과 관련되어 가장 가시적인 성공을 거둔 산업분야는 단연 화장품이라고 할 수 있다. 한국화장품의 큰 인기에 위기를 느낀 태국 로컬 화장품 브랜드 업체는 한국 아이돌(Boy band, Girl group)을활용해 광고 모델로 섭외하여 제품을 홍보하기 시작했다. 젊은 여성들을 위한 태국 대표 화장품인“12plus”는 2007년부터 슈퍼주니어(데오드란트, 향수, 파우더 등), 이민호(2012, 샤워크림), 소녀시대의티파니((2012,BB Powder), (2013, 아이라이너) 등), 김태희(2014, 메이크업 라인) 등을 대거 섭외했다.태국에서 가장 인기가 많은 저가 화장품인 “Mistine”은 KARA(2010)를 메이크업 라인의 모델로 섭외했다.그리고 빅뱅(2010), FTisland의 이홍기(2011), 2PM(2012) 등 남성 아이돌들도 태국 화장픔 모델로 활동한바 있다. 한류의 인기에 힘입어 한국 아이돌은 화장품 모델뿐만 아니라 유명 피부관리 체인기업의모델로까지 활동하게 되었다. 예를 들어 한국 아이돌인 T-Max(2010), B1A4(2012)는 Wuttisak 클리닉의모델로 활동하였다. 한국 아이돌이나 스타들이 태국에서 한국산 화장품 모델에 그치지 않고 태국산 화장품 및 피부클리닉의 모델로까지 진출한 것은 한류가 단순히 한국산 콘텐츠 및 상품의 판매를 촉진한 데 머물지않고 태국인의 소비 전반에 영향을 미쳤음을 알 수 있다. 태국인들은 한국 드라마나 K-POP 뮤직비디오에 11 최종복. (2016). 킨텍스, 한국최초로 해외진출K-뷰티엑스포방콕개최. Retrieved June 2, 2016 fromhttp://www.ajunews.com/view/20160306175623708 12 Retrieved June 5, 2016 from http://www.jewelrypsthailand.com/,www.gangnamclinicthailand.com/, http://www.jayjunthailand.com/, http://www.ssagencykorea.com/,http://thekoreabeauty.com/

339나타난 한국 아이돌이나 배우의 외모를 ‘이상적인 미’로 상정하고 이를 닮고 싶다는 느낌으로 소비하게된 것이다. 태국 TV방송을 통해 대거 방영된 한류 드라마나 뮤직비디오는 태국인 소비자 특히 태국여성들의 ‘뷰티’ 개념을 변화시켜 광의의 ‘K-뷰티’ 즉 한국식 미적 기준을 차용하게 된 것으로 보인다.결론 세계화 시대에 들어서 각 국가 간의 경계를 넘어 경제적. 문화적 교류가 활발해지면서 각지의관계도 더욱 밀접해졌다. ‘K-뷰티’는 초국적 문화흐름인 한류가 낳은 자본주의적 산물로서 태국에서뿐만아니라 한류 영향권 내 전 지역에서 주목하고 있는 하나의 현상이다. 한국 화장품 업체들이 다양한제품개발에 나서고 해외 시장 진출을 적극적으로 추진하고 있는 가운데, 한국 정부 또한 제도개선과수출지원 등을 통해 K-뷰티의 확산을 지원하고 있다(한국 식품의약품안전처, 2016). 한국산 화장품은 현재한국 정부의 주도 아래 한국 국가브랜드 주력 상품으로서 적극 지원을 받고 있다. 한국이 2015년아세안경제공동체에 출범하면서 태국-한∙ASEAN FTA(상품무역협정) 협정을 통해 한국산 화장품의 인기는다른 동남아시아 시장에까지 더욱 확장되고 있다. 태국은 한류의 영향으로 인해 한국에 대해 긍정적이고 친밀한 느낌을 가지게 되었고 한국문화에 관심도도 더욱 높아졌다. 여기에 ‘K-뷰티’는 선순환 기능하며 한국 이미지에 대한 긍정적 효과를촉발하는 주요 요소로 자리잡을 것으로 보인다. 본 연구에서는 태국 사회에 한류 문화상품이 어떠한영향을 미치고 어떤 식으로 활용되었는지를 태국의 ‘K-뷰티’ 의 전반적인 고찰을 통해 살펴보았다.태국에서의 한류는 단순히 한국산 문화 콘텐츠의 향유를 넘어서 한국의 이미지를 소비하는 단계에있음을 확인하였다. 본 글에서는 ‘K-뷰티’가 한류와 결합해서 한국산 화장품의 소비를 촉진하고 나아가태국의 뷰티 산업에까지 한류 이미지가 활용되고 있는 상황을 조명하였다. 이러한 상황은 한류가태국인의 미의식에까지 변화를 추동하고 있는 것이라고 볼 수 있겠다. ‘K-뷰티’는 한류의 원인이자 결과로서 태국인의 미적 기준의 변화를 불러올 정도로 큰 영향력을행사하고 있다. 그러나 태국은 한류를 단순히 수용하는 수동적 주체가 아니라 이를 자국 뷰티산업에활용하는 적극적인 행위자이기도 하다. 태국의 강점은 허브와 자연원료가 풍부하기 때문에 다양한상품을 개발하는 데 유리하다는 것이다. 이처럼 태국산 화장품과 뷰티산업은 향후 발전될 가능성이 높다.국경을 넘나든 문화와 문화가 만나 다채롭게 뒤섞여 새로운 문화를 창조해내듯, 태국의 뷰티산업 또한태국이 본래 가진 잠재력에 한류로부터의 수혈을 통해 새로운 발전의 기점을 맞을 수 있을 것이다. ReferencesStorey, J., & (1994).스토리, 존., 박모, 현실문화연구. 문화연구와 문화이론. 서울: 현실문화연구.(2013). 13(3), 1-10.김경진, & 오대원. 한류 문화가 중국 소비자의 한국 저가화장품 인식에 미치는 영향. 문화산업연구,(2009).김성섭, & 김미주. 태국사회에서 한류 대중문화 상품이 한국의 국가이미지 인식과 한국 방문의향에 미치는 영향. 觀光硏究,23(4), 101-125.(2012). (K-pop)노순규. 과 강남스타일. 서울: 한국기업경영연구원. 한류열풍(2014).배혜진. 현대 한류문화 이미지를 활용한 인포그래픽 디자인 연구 (국내석사학위논문).(2011). 2011 kocca윤호진, 노준석, 이기현, 박영일, & 한국콘텐츠진흥원 전략정책본부. 년 포커스. 서울: 한국콘텐츠진흥원.

340이운영. (2006). 중국에서의 한류가 한국의 국가이미지와 제품구매의사에 미친 영향. 국제경영리뷰, 10(2), 107-136.(2014).주인혁. 전시회 참가기업의 참가활동에 따른 참가성과 및 재참가 의도에 미치는 영향 (국내석사학위논문).하수경, & 신철호. (2011). 국가 이미지가 제품 구매태도에 미치는 영향. 국제경영리뷰, 15(1), 147-170.한충민, 진희, & 이상엽. (2011). 한류가 한국 화장품 브랜드의 이미지에 미치는 영향. 經營學硏究, 40(4), 1055-1074. 웹사이트관세청. http://www.customs.go.kr/kcshome/index.jsp대한화장품산업연구원. https://www.kcii.re.kr한국관광공사. http://kto.visitkorea.or.kr/kor.kto태국 한국관광공사. http://kto.or.th/K-뷰티 Expo, https://www.k-beautyexpo.co.kr:469/K-뷰티 Academy, http://www.khidi.or.kr/site?siteId=SITE00008 전자매체김정아. (2015). ‘K-뷰티’의 힘… 서경배 회장, 한국 두 번째 '10조 주식부호' .됐다 Retrieved June 14, 2016, fromhttp://www.viva100.com/main/view.php?key=20150514010002070대한화장품산업연구원. (2014). 해외 화장품 소비자 심층조사. Retrieved June 5, 2016 fromhttps://www.kcii.re.kr/_Document/Center/center01_INFO.asp문화체육관광부. (2015). 2015 콘텐츠산업통계 보고서. Retrieved June 5, 2016, fromhttp://www.kocca.kr/cop/bbs/view/B0000148/1829842.do?menuNo=200907(2014). Retrieved June서울관광마케팅 사이트의 관리자. 서울글로벌문화체험센터 K-뷰티 한류 메이크업 체험 프로그램 진행.5,2016, from http://www.seoulwelcome.com/kr/?p=5775신동훈. (2014). 충북, 제3회 K-뷰티 포럼, 화장품 미래전략 모색. Retrieved June 5, 2016, fromhttp://www.cosinkorea.com/?cname=news&sname=news_01_01_03&dcode=11057이준문. (2016). 태국 뷰티 시장, 국내 화장품 기업 진출 활발. Retrieved June 5, 2016, fromhttp://www.newstap.co.kr/news/articleView.html?idxno=33995이성민. (2016). 국내 화장품 생산실적 10조원 돌파, 무역 흑자 1조원 넘어서. Retrieved June 6, 2016, fromhttp://www.mfds.go.kr/index.do?mid=675&seq=31987유명식. (2016). 킨텍스 9월 방콕서’K-뷰티엑스포’개최. Retrieved June 1, 2016, fromhttp://hankookilbo.com/v/37d287c907c5403f95de99c490b734c8한국보건산업진흥원. (2015). K-뷰티란?. Retrieved June 1, 2016, fromhttp://www.khidi.or.kr/board?menuId=MENU00689

341한상희. (2015). 아시아를 넘어 미국까지 인정받은 K-뷰티 라네즈. Retrieved June 6, 2016, from http://www.ekn.kr/news/article.html?no=137978황순욱. (2012). ‘K-뷰티’ 세계가 열광하다. Retrieved June 12, 2016, from 매일경제 칼럼 Luxmen 제24호 http://luxmen.mk.co.kr/view.php?sc=51100004&cm=Column&year=2012&no=573870&rel atedcode=&sID=300코스인코리아닷컴 정부재 기자. (2015). K-뷰티 화장품 수출전략 공유. Retrieved June 6, 2016, from http://www.etnews.com/20150527000058최종복. (2016). 킨텍스, 한국최초로 해외진출K-뷰티엑스포방콕개최. Retrieved June 2, 2016, from http://www.ajunews.com/view/20160306175623708Beauty. Retrieved June 5, 2016 from http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/beauty.“뷰티”. Retrieved June 7, 2016 from http://dic.naver.com/search.nhn?dicQuery=%EB%B7%B0%ED%8B%B0&x=0&y=0&query= %EB%B7%B0%ED%8B%B0&target=dic&ie=utf8&query_utf=&isOnlyViewEE=Sutthiporn Bunchuay. (2015). ‘K-뷰티’ เทรนดใหมดังไกลในตา งประเทศ. Retrived June 2, 2016 from http://news.voicetv.co.th/business/156681.htmlWalailak Noypayak. (2008). Korean Wave. Retrieved June 5, 2016 from http://www.etatjournal.com/upload/239/3_Korean_Wave.pdf

342 A Caterpillar Eats A Caterpillar: The Representation of Autistic Children in Korean Social โลกใบเลก็ ของเดก็ ชายหนอน : การนาํ เสนอภาพเดก็ ออทิสตกิ ในสังคมเกาหลี สหะโรจน กติ ติมหาเจรญิ , อ.ด.* Saharot Kittimahacharoen, Ph.Dบทคัดยอ บทความน้ีมุงศึกษาวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีเร่ือง โลกของเด็กชายหนอน หรือ A Caterpillar Eats ACaterpillar ซึ่งเปน ผลงานของ ลี ซัง กวอน วรรณกรรมเยาวชนเลมนี้กลาวถึงการนําเสนอภาพของเด็กท่ีมีความผิดปกตขิ องสมองหรือทเ่ี รียกวา เดก็ ออทสิ ติก ผลจากการศกึ ษาวรรณกรรมเยาวชนเลมน้ีพบวา ลี ซัง กวอน เปนนกั เขยี นผมู คี วามเขา ใจความรูสึกตอเดก็ ออทสิ ตกิ ไดอ ยา งลึกซึง้ การนาํ เสนอภาพตวั ละครอยา ง ซึง จนุ ในโลกของเดก็ ออทสิ ติกเปนสงิ่ ที่สดใสและปราศจากการคิดมุงรา ยตอใคร หากแตลักษณะและพฤติกรรมของ ซึง จุน ทําใหเขากลายเปนคนประหลาด และไมมเี พอ่ื นมาคบดวย ลี ซัง กวอน สรางตัวละครเด็กออทสิ ติกใหใ ชช วี ติ อยโู รงเรียนปกติเหมือนเด็กปกติทั่วไปเพราะตองการชใ้ี หเหน็ วาเด็กท่ีเปน ออทิสติกสามารถใชช ีวิตเหมือนคนปกติท่ัวไปได ซึงจนุ มคี วามสามารถพิเศษคอื เขาสามารถจดจําลกั ษณะและพฤติกรรมของหนอนได ทง้ั น้คี วามทรงจําสวนหน่ึงของซึง จุน ผูกพันอยูกับยา หนอนจึงกลายเปนสวนหนึ่งของชีวิต ซึง จุน นอกจากการสรางตัวละครใหผูอานมีความรูส กึ สงสารและเห็นใจเดก็ ออทิสตกิ แลว ในวรรณกรรมเลมนย้ี งั ไดบ อกเลาถงึ การปฏิบัติตนของครอบครัวตอเด็กออทสิ ตกิ ดวย ทาํ ใหผูอานไมเพียงแตจะเขาใจหลักและการปฏิบัติตอเด็กออทิสติกตามคําแนะนําของแพทยหากแตยังไดเ ห็นภาพแทนสวนหนงึ่ ของการปฏบิ ตั ิตอเด็กออทิสตกิ ผานโลกวรรณกรรมอกี ทางหนงึ่ ดว ยคาํ สาํ คัญ: เด็กออทิสตกิ วรรณกรรมเยาวชน เยาวชนเกาหลีAbstract This article aims to study a Korean youth literature named A Caterpillar Eats A Caterpillar,which is authored by Lee Sang Kwon. This youth literature represents a child with brainabnormalities or so-called autism. According to the result from studying this literature, it wasfound that Lee Sang Kwon was the author who deeply understood the feeling of child withautism. The character of Seung Jun in the world of autistic child was presented in the brightand positive way but his characteristics and behaviors made him look weird and no one wantedto be friends with him. Lee Sang Kwon created this character of autistic child who went to a * ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. ประจําภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง

343normal school like other children because he wanted to present that child with autism couldlive like a normal people as well. Seung Jun had the special talent of rememberingcharacteristics and behaviors of caterpillars. A part of memories of Seung Jun was hisgrandmother so a caterpillar became a part of his life. Apart from creating a character whichmakes the readers feel sympathized with autistic child, this literature also represents thepractice of the family towards autistic child. Readers not only understand principles andpractices towards autistic child according to physician’s suggestions, but also realize a part ofpractices towards autistic through the literature.Keywords: Autistic child, Youth literature, Korean youthบทนาํ วรรณกรรมเยาวชนเกาหลเี รอ่ื ง โลกใบเลก็ ของเด็กชายหนอน (A Caterpillar Eats A Caterpillar) ของ ลีซงั กวอน แปลเปน ภาษาไทยโดยอันตน เปนวรรณกรรมที่ไดรับรางวัลวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีประจําป พ.ศ.๒๕๔๖ วรรณกรรมเรือ่ งน้ีมคี วามโดดเดน คือผูเขียนหรือ ลี ซัง กวอน ไดถายทอดภาพของเด็กผูมีอาการของโรคเดก็ ออทิสตกิ ไดอ ยา งนารักและนา เห็นใจในเวลาเดยี วกนั โดยผเู ขียนวรรณกรรมเร่ืองน้ีไมไ ดมุง นาํ เสนอภาพวาเด็กท่ีมีอาการของโรคนีจ้ ะไมส ามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมได หากแตนําเสนอภาพของเด็กออทิสติก อยางซึง จุนสามารถอยรู วมกับสงั คมได ถาสังคมเปด ใจใหก บั เดก็ ทมี่ ีอาการออทิสติกสามารถใชชวี ติ อยูรวมกันในสงั คม ลี ซงั กวอน จดั เปน นกั เขียนวรรณกรรมเยาวชนผูมผี ลงานดานวรรณกรรมเยาวชนอยูหลายเรื่อง เชน อึไปไหนเอย เปดบานเหินฟา ไปดีนะเจากระตาย คิดถึงแม เปนตน สําหรับวรรณกรรมเยาวชนเร่ืองนี้จึงเปนวรรณกรรมทมี่ ีความนาสนใจและนา ศกึ ษาวาสังคมเกาหลีใหค วามใสใจหรอื ตระหนกั ถึงเยาวชนท่ีมีอาการของโรคนี้อยา งไร และภาพของเด็กออทิสติกที่นําเสนอในวรรณกรรมเร่ืองนี้มีลักษณะอยางไร บทความน้ีจึงมุงศึกษาการกลาวถึงภาพของเด็กออทิสติกโดยศึกษาจากภาพแทนวรรณกรรมเรื่อง โลกของเด็กชายหนอน เพ่ือวิเคราะหลักษณะการเลาเรื่อง การสรางตัวละครและวิธีการเอาใจใสดูแลเยาวชนผูมีอาการของเด็กออทิสติกผานจากวรรณกรรมเยาวชนเลมน้ี เพ่อื เขา ใจวา เด็กผูมีความผิดปกตแิ ทท จ่ี รงิ แลวไมใชเด็กที่มีความผิดปกติ แตบุคคลที่อยูในสงั คมแวดลอมของเดก็ ก็ดี หรอื ผอู ยูใกลช ดิ เด็กกด็ ีกลับมีความผดิ ปกติเสียเองเพราะดวยความคิดที่วาสรางเด็กออทิสตกิ ใหม คี วามแตกตางจากคนธรรมดากลายเปน คนชายขอบไปโลกใบเลก็ ของเดก็ ชายหนอน: สถานะตัวบทและเรือ่ งเลาของเด็กชายออทสิ ติก ในคาํ นาํ ของวรรณกรรมเรอ่ื ง โลกใบเลก็ ของเด็กชายหนอน สํานักพิมพผูจัดพิมพวรรณกรรมเลมน้ีในฉบับภาษาไทยไดกลาวไวอยางนาสนใจตอนหนึ่งวา “...เร่ืองของเด็กออทิสติกไดรับการเผยแพรผานสื่อตาง ๆพอสมควร ทั้งทางโทรทัศน นิตยสาร การกอต้ังชมรมหรือกลุมของผูปกครองท่ีมีลูกเปนออทิสติก ทําใหความรูความเขา ใจในเร่ืองนม้ี มี ากข้ึน แตส ําหรบั คนท่ีไมไ ดเก่ียวขอ งโดยตรงกค็ งไมเ ขาใจลึกซึง้ อยดู ”ี (ลี ซงั กวอน, 2548:

344คํานําสํานักพิมพ) การที่สํานักพิมพฉบับตีพิมพเปนภาษาไทยไดโปรยคํานําเชนน้ีเปรียบเสมือนตองการจะบอกผูอานวา ผทู เี่ ขา ใจลักษณะและพฤติกรรมของเด็กออทิสตกิ มากทส่ี ุดคอื ครอบครวั สว นบุคคลในสังคมแวดลอ มจะไมเขา ใจหรอื ไมร ับรลู กั ษณะและพฤติกรรม ทง้ั นกี้ ารตพี มิ พว รรณกรรมของเด็กออทิสติกในสงั คมไทยยังมนี อย เพราะวรรณกรรมเยาวชนของไทยมักนําเสนอภาพของเยาวชนที่เปนอุดมคติมากกวาเยาวชนท่ีมีปญหาโดยเฉพาะเด็กออทสิ ตกิ การตพี ิมพวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีเลมนี้จึงเปนการเปดประตูนักอานคนไทยไปสูการทําความเขาใจเดก็ ออทิสตกิ ไดอ ยางชดั เจนมากขนึ้ จดุ เริม่ ตนของการเขยี นวรรณกรรมเลมนี้ ลี ซัง กวอน กลาววามาจากการที่เขาไดเห็นตัวบุงอวนมีแถบสีดําขางลําตวั กําลงั ถกู ตวั ตอ ขนาดใหญตอ ยอยู ลี ซัง กวอน จงึ ชวยเหลอื ตัวบงุ ตวั น้นั ดว ยการนําไปเลย้ี ง ตอมาตัวบุงตัวนั้นไดชักใยพนั รอบเพ่อื เขาสกู ารเปน ดักแด กวา ตัวบงุ จะหลดุ ออกจากดกั แดก ็เปนเวลาทช่ี ามาก จงึ ใหช ่ือใหมวา คุณสาย คุณสายกลายเปนผีเสื้อกลางคืนที่สวยงาม จากความประทับใจในตัวบุงนี้เอง จึงทําให ลี ซัง กวอนเห็นวา“ผมไดคยุ เลน กบั ตัวบงุ และตอนทล่ี ูกสาวของผมเรยี กใหด ูตัวบุง กินตัวบงุ ผมบอกวา “น่ีแหละ ใชเลย!” แลวก็ลงมอื เขยี นเรือ่ งน้ี” (ลี ซงั กวอน, 2548: คาํ นาํ ผเู ขียน) แมคํานาํ ของผเู ขียนจะไมเก่ยี วขอ งกบั การช้ีนําถึงภูมิหลังของวรรณกรรมเร่อื งน้ี แตจากตีความของผูเ ขียนบทความพบวา ลี ซัง กวอน ตองการจะชี้ใหเหน็ วาตัวบุงหรอื หนอนคอืท่มี าของฉายา ซงึ จุน ผูหลงใหลตัวหนอน หรือที่เพื่อน ๆ ของเขามักเรียนวา “ยางหนอน” ซ่ึงตัวหนอนกวาจะกลายเปน ผเี ส้อื จะมีโลกสวนตวั อยูในดกั แด เปรยี บไดกับซงึ จุน เขามีโลกสวนตัวคือการสะสมหนอน หนอนอยูในดกั แดกค็ ลายกับการทซี่ งึ จุนปลอยใหต ัวเองอยใู นโลกของความเปน เดก็ ออทสิ ตกิ ของเขาน่ันเอง วรรณกรรมเยาวชนเกาหลเี รอ่ื ง โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน กลาวถึง ยาง ซึง จุน หรือซึง จุนเด็กชายที่มีความผดิ ปกตใิ นสมอง ไมส ามารถพัฒนาสติปญญาใหสมบูรณเหมือนเด็กทั่ว ๆ ไป ซึง จุนตองมาเรียนหนังสือในโรงเรียนสาํ หรับเด็กปกติ เพราะในชมุ ชนท่ี ซงึ จนุ อาศยั ยังไมมีโรงเรียนสําหรับเด็กพิเศษเฉพาะ ซึง จุนไมคอยมีเพื่อน มแี ต โค เจเด็กหญงิ ผมู นี ิสัยและลกั ษณะคลา ยเดก็ ผูชายซึง่ มาคบกบั ซึง จุนเทานั้น ซึง จุนไดพา โค เจมาที่บานของเด็กชาย ทําให โค เจไดเ หน็ ของท่ีเดก็ ชายสะสมคอื หนอนและบุง นอกจากน้ัน โค เจยังทราบจากแมของซึง จุนที่เลาใหฟงวา ซึง จุนเปนเด็กท่ีปดกั้นความรูสึก เขามามีอาการท่ีดีข้ึนในตอนที่ไปพักอาศัยกับยาที่ตางจงั หวัด แตพ อหลงั จากยาของ ซึง จนุ จากไป ซึง จุนกย็ งิ่ ปดกัน้ ตวั เองใหอ อกหา งจากสังคมมากขึน้ การทีโ่ ค เจคบซึง จนุ เปนเพอ่ื นกลายเปน ภาพที่ตลกขบขันในกลุมเพ่ือน ๆ ของเด็กท้ังสอง โดยเฉพาะ ฮิมชนั ซ่ึงมคี วามรูสึกที่ดี ๆ กับโค เจย่ิงไมชอบซึง จุนมากข้ึน โค เจไดจัดงานวันเกิดขึ้น โดยเธอมีจุดมุงหมายจะใหเพ่อื น ๆ ทุกคนรูวา ทาํ ไม โค เจถึงไดม าสนิทกับซงึ จนุ แตแลวซึง จุนกลับทําใหโค เจเสียหนาเพื่อน ๆ เพราะ ซึงจนุ นาํ กรงนกทมี่ ีโอเอซิสสาํ หรบั ปกดอกไม มีกิง่ ไมส ีเขียวเสียบอยู บนกงิ่ ไมม ีหนอนบุงทม่ี ชี ่ือวา “ยายหัวโหนก” ซงึ่เปน ฉายาประจาํ ตวั ของโค เจมาใหเปนของขวัญในวนั เกิด ทาํ ใหเ พ่อื น ๆ ทุกคนรูสึกวาซึง จุนมีความแตกตางจากพวกเขาจงึ ไมอยรู วมในงานวนั เกิดของโค เจตอ ฮิม ชันแกลง โค เจดวยการเขียนขอความลอเลียน โค เจจึงเปนเหตใุ ห โค เจทา แขง บอลกับฮมิ ชัน ผลคอื ฮิม ชนั ไดอัดลกู บอลใสหนา ทองโค เจจนทาํ ใหโค เจตัดสนิ ใจวา จะไมเ ปนเพือ่ นกับซมิ ฮนั อีกตอ ไปแลว

345 การท่ีโค เจไมสามารถเปนเพื่อนกับซึง จุนไดอยางสนิทใจ อาจเปนเพราะวาโค เจมีความรูสึกวาเธอไมสามารถจับหนอนไดเ หมอื นกบั ซงึ จุน การจับหนอนไมไดจึงเหมือนเปนการปดกั้นมิตรภาพระหวางโค เจ กับซึงจุน แตแลวเหตุการณที่ทําให โค เจ มีความกลาท่ีจะจับหนอนมาจากการท่ีฮิม ชันทาแขงบอลกับโค เจแลวหลงั จากนนั้ ฮิม ชนั ไดไปท่ีบา นซึง จุนเอาไมเขยี่ กิง่ ไมที่มีพวกตวั บงุ ออกมาพรอมใชเทาย้ําลงตัวบุงจนตาย เปนเหตุใหซึง จุนชักและเขา โรงพยาบาล ตอ มาครอบครัวของโค เจกับฮมิ ชนั ไดไปเที่ยวเขาบุกฮัน จุดมุงหมายของการไปเท่ยี วครั้งน้ีครอบครัวของโค เจตองการใหโค เจคนื ดีกบั ฮมิ ชนั ฮมิ ชนั พยายามเลา เร่อื งการเลยี้ งหนอนใหโค เจฟงและยังแสดงความกลาที่จะจับหนอนใหโค เจ ดู จึงทําใหโค เจรูวาซิม ฮันก็อยากเปนเพื่อนกับซึง จุนเชนกันและฮิม ชันก็สามารถเปดหัวใจของเขาใหเขากับซึง จุน ไดแลว เปนคร้ังแรกท่ีโค เจยอมใหตัวบุงไตขามมาท่ีนิ้ววนิ าทีนัน้ โค เจไดจ ับตวั บงุ เธอรูท นั ทีวา เธอไดเปนเพอ่ื นแทกับซงึ จุนแลว จากเร่อื งเลาของซงึ จุนเด็กออทสิ ติกท่ีผูเขียนบทความไดส รปุ ยอมาขางตน น้ี ผูอานคงจะตระหนักไดวาโลกของเดก็ ชายผมู ีความผดิ ปกติอยา งซึง จนุ น้ีแทท ่ีจรงิ แลว เขามคี วามปกติแกเชนคนท่ัวไปในสงั คม หากแตการขดี คน่ัและแบงแยกของคนทั่วไปทม่ี ีตอ เด็กออทิสติก ทําใหซึง จุนมีความรูสึกวาตัวเองมีความประหลาดหรือมีลักษณะเปนอน่ื ตา งจากคนทว่ั ไป ในวรรณกรรมเยาวชนเลมนี้นอกจากจะชใี้ หเ หน็ ถงึ ปญหาของคนทัว่ ไปทไี่ มเขา ใจลักษณะและความประพฤติของเดก็ ออทิสตกิ แลว ในอกี ดา นหนง่ึ ยังทําใหผ ูอานมองเห็นความนารักและสดใสของเด็กออทิสตกิ และการสรางความรสู ึกใหเ กดิ ความเขา ใจกบั เดก็ กลมุ นี้ จงึ นับวา วรรณกรรมเลมน้ีมีความนาสนใจไมแตกตางวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีอกี เรื่องหนงึ่ ที่กลา วถงึ เด็กออทสิ ตกิ เชนเดยี วกนั นนั่ กค็ อื แบบ ฮยอง จิน ออทิสติกนองทอง (Run,Run Hyung-Jin for Children) ซ่งึ มีผูเขียนคือ อี ฮยอน โอ ซง่ึ ผูเขียนบทความจะกลา วเปรียบเทยี บในบทความเร่ืองตอไป ดังน้ันในบทความนี้ผูเขียนจะศึกษาเฉพาะ วรรณกรรมเยาวชนเกาหลีเรื่อง โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน เพ่อื เปน พื้นฐานความเขา ใจภาพเดก็ ออทสิ ตกิ ในลาํ ดบั แรกความหมายของ “หนอน” กับภาพของเดก็ ชายซงึ จุน เมอ่ื พจิ ารณาชอื่ เรือ่ ง โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน หรือ A Caterpillar Eats A Caterpillar ท่ี ลี ซงั กวอนไดต ้งั ขึน้ มา คาํ สาํ คญั อยูท ่ี a caterpillar ซึง่ สื่อความหมายถงึ หนอนหรือตวั บงุ การท่ี ลี ซัง กวอน ตอ งการเปรยี บตัวละครเด็กออทิสติกหรือ ซึง จนุ วา คอื หนอนนัน้ นา จะมาจากจดุ มุงหมายของผูเขียนวรรณกรรมเลม นี้ตองการสอื่ใหผ อู านเห็นวา ซึง จุนมีฉายาวายางหนอน ซงึ่ หนอนเปนสงิ่ ทน่ี า รังเกียจ นาขยะแขยง ก็ไมแตกตางจากซึง จุน ที่ถูกสังคมผลักใหเ ปนคนชายขอบหรือคนที่สงั คมละเลยไมส นใจ นอกจากนค้ี าํ วา “หนอน” ทป่ี รากฏในวรรณกรรมเลม นถ้ี า พจิ ารณาจากพฤติกรรมของหนอนตอ มากจ็ ะชักใยเปนดักแด และจากดักแดก็จะกลายเปนผีเส้ือที่งดงามในระดบั คํา “หนอน” นอกจากจะเปนภาพแทนของ ซึง จนุ ทีเ่ ปน สิง่ นารังเกยี จ ไมมีใครอยากเขาใกล เพราะกลัววา “ไอย างหนอนนี่นะ ถาใครไปทําดีดวยนดิ เดยี ว มนั กจ็ ะนึกวา ชอบมัน ทนี ้มี ันก็จะเกาะติดตลอดเลย ไมวาจะไปโรงเรยี น กลับบาน หรอื เขาหองนา้ํ ก็ตามเกาะแจไมยอมหา ง” (ลี ซงั กวอน, 2548: 27) “หนอน” ยงั มีความหมายของการซอนอยูในที่หลบภัยหรือการมีโลกสว นตวั ดังจะเหน็ ไดจ ากท่ี ลี ซงั กวอนเลาวาหนอนหรือตัวบุงที่เขาจับมาตอมาฟกตัวเปนดักแดและกลายเปนผีเส้ือในท่ีสุด สิ่งที่ ซึง จุน ดําเนินชีวิตก็คลายกบั หนอนท่ีเด็กชายสะสม กลาวคอื โลกภายนอก ซึง จนุ ถูกมองวา “เด็กเออ ” “ไมใ ชเ ดก็ ปกต”ิ “เขาเปนโรค

346ออทิสติก” แตโ ลกของหนอน ซึง จุน เปนผรู อบรเู กี่ยวกับหนอนทุกประเภท ดังจะเห็นไดจากการต้ังฉายาหนอนสอดคลองกบั บุคลกิ และพฤติกรรมของเพื่อนและอาจารย รวมทัง้ ยังเปน เด็กชา งพดู แตกตางจากตอนอยทู ี่โรงเรียนซงึ่ มักไมคอ ยพูด ความสามารถพเิ ศษนี้ของ ซึง จุน แมแ ต โค เจ ยังรูสึกวา “ซึง จนุ ซ่ึงยืนอยูขาง ๆ ฉันตอนนี้ ดูไมเหน็ จะมีอะไรแตกตา งไปจากเด็กคนอน่ื เลยสกั นิดเดยี ว” (ลี ซงั กวอน, 2548: 17) การท่ี โค เจ ไดม าเห็นโลกอกี ใบของ ซงึ จุน จึงทาํ ใหเธอเขาใจวา ซึง จนุ ไมไ ดมคี วามแตกตา งจากคนรอบขา งเด็กชายเลย เธอจึงพยายามบอกกับคนอื่นวา “ซงึ จนุ ไมเหมอื นกบั ทเี่ หน็ หรอก เขาไมใ ชเดก็ เออ สกั หนอย รเู รอ่ื งเก่ียวกับหนอนตั้งเยอะแยะ พูดก็เกง”(ลี ซงั กวอน, 2548: 28) โลกของหนอนจึงเปนเหมือนบานหลังที่สองที่ ซึง จุน สามารถหลบภัยหรือแสดงความความสามารถในสงิ่ ทคี่ นขา งนอกไมรไู ด อยา งไรกต็ ามลกั ษณะและพฤติกรรมที่ ซึง จุน ปฏิบัตินี้ ในพ้ืนท่ีโลกขางนอกไมม ีใครรูถ า ไมไ ดเปด หวั ใจเขามาสัมผสั ซึง จุน ในโลกอกี ใบหน่งึ ความทรงจาํ ของ ซึง จนุ ที่มตี อหนอนหรือตวั บงุ ทเี่ ขาเล้ยี งไมเพยี งแตจ ะเปนโลกอกี ใบหนงึ่ ทเี่ ด็กชายไดหลีกหนอี อกจากโลกแหงความเปนจรงิ หากแตความทรงจาํ สวนหนงึ่ ของ ซึง จุน กลับรูสกึ ผูกพนั กบั หนอนก็ดว ยสาเหตุมาจากหนอนคือส่ิงเช่ือมโยงระหวางเด็กชายกับยาผูเล้ียงดู ซึง จุน เพราะยาเปนผูต้ังฉายาใหกับ ซึง จุน วา“หนอนพรกิ ” เพราะ ซึง จุน ทานอาหารรสเผ็ดมากได หลงั จากท่ียาไดเสียชีวิต ซึง จุน จึงรูสึกวาโลกของเขากับโลกภายนอกถูกตัดขาดออกจากกนั เดก็ ชายจึงปดกั้นตัวเองมากขึ้น และยึดเอาความผูกพันสิ่งเดียวที่เขามีตอยาของเขาคอื หนอนเปน ตัวแทนใหซึง จุนระลกึ รูไดว าเขายังมียา คอยดูแลอยขู าง ๆ เขา การท่ี ซึง จุน ผูกพันกับหนอนมากมายถึงเพยี งนี้ ไมม ใี ครทราบยกเวนแมของ ซึง จุน และโค เจ ซึ่งไดกาวเขามาในโลกสวนตัวของ ซึง จุน ในวันทโี่ ค เจไดม าทีบ่ า นของ ซงึ จนุ โค เจ จึงไดรูว า การทีเ่ พ่ือนรอบขา งมอง ซงึ จุน วา “เขายังเคยใสหนอนมาเต็มกลองดนิ สอเลย” “...ชอบใหใครตอใครเรยี กวา ‘ยางหนอน’ มากกวา ‘ยาง ซงึ จนุ ’ เสยี อกี ” คือความผูกพันไมใชความผดิ ปกติแตอ ยา งใด นอกจากนีห้ นอนยงั เปน สะพานเชื่อมไปสกู ารมมี ิตรภาพอีกดวย ซ่ึงผูเขียนบทความจะไดกลา วตอ ไปความสมั พนั ธระหวา งเดก็ ออทสิ ติกกับเพอ่ื น โรงเรียนและครอบครวั โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน นับเปนวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีท่ีพยายามนําภาพของเด็กออทิสติกมานําเสนอในสงั คมวงกวา ง เพ่ือใหผูอานมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตอเด็กเหลาน้ีไดอยางถูกตองออทิสตกิ (Autistic Disorder) หรือเรยี กอีกอยา งหนึ่งวาออทซิ ึม่ (Autism) หมายถึงการอยใู นโลกของตนเองหรือการหนไี ปจากความเปนจรงิ ซึ่งผปู วยดว ยโรคนม้ี กั จะไมสนใจผคู นรอบขาง แตจะมีเพียงโลกสวนตัวของเขาเพียงเทาน้ัน นอกจากนเ้ี ดก็ ท่ีเปนออทสิ ตกิ กม็ ักพบในเด็กผชู ายมากกวาเด็กผูหญิงดวย (อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2550: 3และ 8) จากคาํ นิยามของโรคดงั กลา วเมื่อมาพิจารณาเนือ้ เรื่องใน โลกใบเล็กของเดก็ ชายหนอน จะพบวาสอดคลองกับนิยามเบ้อื งตน กลา วคอื ตวั ละครสําคัญในเรื่องคือซึง จุน เปนเด็กออทิสติก มีโลกสวนตัวคือใหความสนใจตอหนอนและไมส นใจผคู นแวดลอ ม การหลีกหนีและคลุกอยกู ับการเลีย้ งหนอนเปน สิง่ ที่ซึง จนุ ใหความสาํ คญั การไปโรงเรียนของ ซึง จุน เปนเพียงการทําตามหนาท่ีของเด็กผูชายที่ตองมาเรียนหนังสือ หากแตวาโรงเรียนก็ไมไดชวยเหลอื ซงึ จุนอยา งพอสมควร อาจเปน เพราะวา สงั คมเกาหลียังไมไ ดตระหนักถงึ หรอื ใหค วามสําคัญตอเด็กออทิ

347สตกิ อยางมากนกั ดังที่ ฮิม ชัน หนง่ึ ในตวั ละครในวรรณกรรมเยาวชนเรื่องน้ีไดกลาววา “...ท่ีจริงตองไปโรงเรียนพิเศษ แตเ ขาบอกวาโรงเรยี นเดก็ เออ ในบา นเรายังมนี อย เลยใหเ ขาโรงเรยี นปกติแทน” (ลี ซัง กวอน, 2548: 10) การไมเ ขา ใจวา เด็กออทสิ ตกิ มลี กั ษณะและพฤตกิ รรมอยา งไร รวมทง้ั สงั คมรอบขา งไมไ ดใ หความสําคัญหรือจะจัดระบบการดแู ลเดก็ ทีป่ วยเปน โรคน้ีอยา งไร ผูเขียนวรรณกรรมเร่ืองนี้จึงไดนําเสนอทัศนะเก่ียวกับระบบการดูแล ตลอดจนสิง่ แวดลอมรอบขาง เชน เพอ่ื น โรงเรยี นในลักษณะของภาพอันบิดเบ้ียว เพ่ือชี้ใหเห็นวาเม่ือสังคมรอบขางเดก็ ออทิสตกิ ไมตระหนกั ถึงหรือทาํ ความเขาใจเก่ยี วกับการดแู ล การใหความสําคัญตอผูปวยโรคน้ี ทัศนะในทางลบของผูคนท่แี วดลอ มจะปรากฏเปน ภาพอยางไรในสายตาของผเู ขยี นและผอู าน ในหัวขอ นี้ผเู ขยี นบทความจะกลาวถงึ สงั คมและส่งิ แวดลอ มทม่ี กี ารดําเนินชวี ิตของเดก็ ออทสิ ตกิ โดยผานภาพแทนของผูปว ยโรคดงั กลา วหรือซงึ จนุ 1. เพอื่ น ลี ซัง กวอน ไดกลาวถึงเพ่ือนของ ซึง จุน ซึ่งเปนตัวละครสําคัญ ๆ เพียงไมกี่ตัว คือ คิม นา รี มูน จี มันฮิม ชัน โค เจ แตเพื่อนทีม่ ีบทบาทมากท่ีสุดในวรรณกรรมเรือ่ งนี้ คือ โค เจ กับ ฮิม ชัน โค เจ มาสนิทสนมกบั ซึงจุน เปนเหตใุ ห ฮิม ชนั ซึง่ มีความรูสกึ ท่ีดกี บั โค เจ ไมพ อใจ และพยายามหาทางแกลง ซึง จนุ รวมทง้ั โค เจ หลายครั้ง เชน เดยี วกบั คมิ นา รี และ มนู จี มัน เขามักจะชอบลอเลยี น โค เจ เวลาไปมคี วามสนทิ สนมกับ ซงึ จุน เชนซงึ จนุ วาดรปู หนอนมาใหโค เจ และบอกใหเก็บรปู นไี้ ว คมิ นา รี เห็น จึงบอกเพ่ือนวา “เพื่อน ๆ เจายางหนอนวาดรปู หนอนใหโค เจดว ยละ” (ลี ซงั กวอน, 2548: 22) โค เจ พยายามจะชแ้ี จงกับเพือ่ นหลายตอ หลายครั้งวา ซงึจนุ เปน เดก็ ธรรมดา ๆ คนหน่ึงไมไดมอี าการผดิ ปกติทางสมอง เชน ในตอนที่โค เจ มาขอโทษ ฮิม ชัน ที่ไมไดมาตามนัด โค เจ กลาววา “...ซึงจุนไมเหมือนกับท่ีเห็นหรอก เขาไมใชเด็กเออสักหนอย รูเร่ืองเกี่ยวกับหนอนต้ังเยอะแยะ พูดกเ็ กง ” (ลี ซงั กวอน, 2548: 28) แตก ไ็ มมใี ครฟง เพราะภาพของ ซงึ จุนท่ีปรากฏต้ังแตแรกเห็นที่วา“ซึง จุนวาดหนอนอีกตามเคย ท้ังในเวลาเรียนและตอนพัก เขาวาดมันไมหยุดมือ ในสมุดของเขามีแตรูปหนอนอยางเดียวเต็มไปหมด แตค ุณครูกไ็ มไดว า อะไรเขา คณุ ครูไมสั่งการบา น และไมจัดเวรทําความสะอาดใหเขาเลย”(ลี ซัง กวอน, 2548: 8) เม่ือเพื่อนไดปด กนั้ มติ รภาพระหวางเดก็ ปกติกบั เดก็ ออทสิ ตกิ ประกอบกับเด็กออทิสตกิ มักจะมลี กั ษณะไมมีการตอบสนองทางสงั คม ไมส ามารถสรางความสมั พนั ธท ด่ี ีกบั เพื่อน ชอบอยูคนเดียวมากกวาอยูกับเพ่ือน รวมทั้งสนใจส่งิ ของมากกวา เพ่ือนหรอื ผูคน ตลอดจนแมแตก ารเรียกช่ือกไ็ มต อบสนอง (อมุ าพร ตรังคสมบัติ, 2550: 3-4)ผูเขียนวรรณกรรมเร่ืองนี้ไดศึกษาขอมูลเกี่ยวกับเด็กที่มีอาการปวยเปนออทิสติกและนําเสนอภาพของ ซึง จุนมักจะชอบอยคู นเดียว ไมมเี พ่ือนสนิท และสนใจส่งิ ของอยเู พียงส่ิงเดยี วคอื หนอนหรือตวั บงุ การปลีกตัวออกมาไมมีปฏิสัมพันธกับเพ่ือน จึงทําให ซึง จุน ดูมีลักษณะ “เปนอ่ืน” ตางจากเพ่ือนในวัยเดียวกัน ซึง จุน กลายเปนตัวประหลาดและเปน ตวั ตลก เพ่อื นมักจะลอ และเม่ือเด็กออทสิ ตกิ ไมคอยกลาสคู นหรือไมค อ ยมองหนาคน ก็ทาํ ใหม กัเกิดเหตกุ ารณท ี่วา เพือ่ นชอบแกลง ดงั เชน ตอนทฮ่ี มิ ชนั กับมนู จี มนั และเด็กผูช ายคนอ่ืน ๆ รวมตัวกันท่ีปาโอกเพอ่ื แกลง ซึง จุน ดว ยการใหซงึ จนุ คลานแบบหนอน หรือเหตุการณในตอนท่ีฮิม ชันปสสาวะรดออกมาเพราะไมสามารถไปหองนํ้าไดทันเวลา คิม นา รกี ลบั คิดวา ซึง จุนเปนผูท่ีถายปสสาวะออกมา เพราะ “ซึง จุนเปนเด็กเออ

348เปนออทิสติก จึงนาจะเปนคนฉ่ีราด” (ลี ซัง กวอน, 2548: 96) ทั้งน้ีเปนเพราะเด็กออทิสติกไมสามารถสรางความสมั พนั ธท่ีดกี ับเด็กอน่ื ได จึงทาํ ใหเ ดก็ คนอ่นื มองวา เดก็ ออทสิ ติกเปนเด็กผิดปกติ เปนฝา ยตรงขามกบั ตน หรือในตอนท่โี ค เจเดนิ ตามซงึ จุนเขา มาในปา โอก โค เจตะโกนเรียกช่ือซึง จุนหลายคร้ัง แตซึง จุนกลับไมแสดงทีทาเขาใจตามเสียงที่เรยี ก หากพดู พมึ พาํ สนใจแตความรูสึกตัวเอง เปน ตน ดานอารมณค วามรูสกึ เด็กออทสิ ติกจะมีการแสดงอารมณทไ่ี มสมํ่าเสมอ เชน ชอบทําอะไรซํา้ ๆ มีประสาทท่ีไวตอ การสมั ผัส มีการแสดงออกทางอารมณท รี่ ุนแรงเกนิ ไป บางรายถึงข้ันชักก็มี ขณะเดียวกันก็ชอบแยกตัวอยูคนเดียว เลน คนเดยี ว ไมส นใจความรสู ึกคนรอบขาง (อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2550: 5) ใน โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน ผเู ขียน ลี ซงั กวอนก็ไดถ า ยทอดภาพของ ซึง จุนสอดคลองกับภาพดังกลาว กลาวคือซึง จุน ถาอารมณดีซึง จนุ กจ็ ะปฏบิ ัติพฤติกรรมน้ันอยา งซํ้า ๆ หรอื มีการแสดงอารมณท ี่ต่ืนเตน มากเกินไป ดงั ที่ซึง จนุ สังเกตเหน็ ตัวบงุกนิ ตัวบงุ ดวยกัน ซงึ จุนจะแสดงอาการตื่นเตนออกมามาก ตัวบทกลาวถึงการแสดงออกทางคําพูดของซึง จุนที่ความรูสกึ ต่ืนเตนมากวา “ดูสิ ดสู ิ ตวั บุง ตวั บงุ กนิ กิน เพิ่ง เพ่ิงเคยเห็น ตัวบุงกิน ตัวบุง...” (ลี ซัง กวอน, 2548:17) การพดู ของเดก็ ออทสิ ติกกจ็ ะมลี กั ษณะการพดู คาํ ซ้ํา ๆ หรืออกี เหตกุ ารณห นงึ่ ตอนท่ีโค เจจดั งานวนั เกิด โค เจชวนเพื่อนมารวมในงาน รวมทั้งซึง จุน ซึง จุนนําของขวัญมาใหโค เจ ในวันเกิดดวยแตเปนกรงนกท่ีมีโอเอซิสสําหรบั ปกดอกไม มกี ง่ิ ไมส ีเขียวท่ีมหี นอนบุงอยู เปนเหตใุ หเพื่อน ๆ ทม่ี ารวมในงานวันเกดิ ตา งตองกระจดั กระจายไป โค เจเสยี ใจว่งิ เขา หองน้ําวักนา้ํ ลา งหนาท่ีกําลังจะมนี า้ํ ตาไหลออกมา พอออกมาเห็นซึง จุนน่ังทานขนมเคกอยูคนเดียว การแสดงออกทางอารมณอ ยางรุนแรงของเด็กออทสิ ติกอนั เกดิ มาจากสงิ่ เราขางนอก นับวา เปน ความนา กลวัและมีความนาสงสารอยางมาก ดวยเพราะเด็กท่ีเปนออทิสติกเขาไมสามารถเก็บอารมณความรูสึกได เขารูสึกอยางไรก็จะแสดงออกมา เหตกุ ารณนใ้ี นตวั บทวรรณกรรมกลาวไวในตอนที่หลังจากฮิม ชันทาแขงบอลกับโค เจและไมส ามารถทจ่ี ะทําใหโ ค เจ หันกลับมาสนใจฮมิ ชนั ไดต อ ฮมิ ชนั ไปทบ่ี า นของซึง จุน และใชไ มเ ขย่ี กิ่งไมที่มีตัวบงุ อยอู อกมาวางท่ีกระถางพรอมกับใชเ ทา ยาํ่ ลงไปที่ตัวบุง สวนซึง จุนหลังจากไปเปดประตูระเบียง พบวาตัวบุงหายไป กไ็ ดแ สดงอารมณท ร่ี ุนแรงออกมาคอื ลมตัวขาดสติพรอ มกับชัก ผูเขียนวรรณกรรมไมไดกลาววาซึง จุนจะเหน็ ภาพที่โหดรา ยตอ ความรูสกึ หรือไม เพราะผเู ขยี นวรรณกรรมละไว อยางไรก็ตามสามารถอนุมานไดวาซึง จุนอาจจะเหน็ ภาพทฮ่ี มิ ชนั กําลงั เหยียบลงบนตวั บงุ ทีซ่ งึ จนุ ใหความสาํ คัญวา เปน เพ่ือนก็ได จึงทําใหซึง จุนลมตัวลงและชกั เหตกุ ารณทีเ่ กิดขน้ึ นท้ี ําใหแ มของซึง จนุ ไมพ อใจฮมิ ชัน แตแ มข องซึง จุนกลาวกับโค เจในวันที่โค เจพอทราบขา ววาซึง จุนเขา โรงพยาบาลวา “...เมือ่ วานนา โมโหมาก เกอื บจะไปบานของฮิม ชันอยูแลว แตคิดไปคิดมาเห็นวา เปนเรื่องของเด็ก เลยเฉยเสีย” อยางไรก็ดแี มของซงึ จุนฝากใหโค เจไปพูดขอรองกับฮิม ชันไมใหแกลงซึงจนุ ประโยคหนึง่ ท่ีแมข องซงึ จนุ กลาวขนึ้ มาวา “...ถานา ไปพูดกบั เขาเอง เดี๋ยวเพื่อนจะยิ่งไมยอมคบกับซึง จุนไปใหญ” (ลี ซงั กวอน, 2548: 89 และ 92) ถา พจิ ารณาในเชิงการดูแลเด็กออทิสตกิ จะเหน็ วา แมข องซึง จนุ พยายามท่ีจะใหซึง จุนสามารถปรับตวั เองใหเขากับเพ่อื นมากทสี่ ดุ ซงึ จนุ จะตองเรยี นรูการใชชวี ติ ในสังคมไดอยางปกติสุขทสี่ ุด โดยท่ผี ใู หญจะไมเขา ไปยุงหรือกาวกายในเร่อื งของเด็ก ๆ ถา ไมร ายแรงเกนิ ไป

349 ดังนน้ั เพื่อนจงึ มอี ิทธพิ ลตอ เด็กออทสิ ติกและมีสวนชว ยเหลือใหเด็กออทิสติกสามารถดําเนินชีวิตไดเหมือนเด็กปกติ ถาเพ่ือนของเด็กออทิสตกิ ใหความรว มมือและไมไดมองวา เดก็ ออทิสติกผิดปกติไปจากพวกเขาแตอ ยา งใดทัง้ นกี้ ต็ อ งอาศยั ความรว มมอื จากโรงเรยี นและครอบครวั ดว ย 2. โรงเรยี น โรงเรยี นคอื สถานท่ีสําคัญในการอบรมขดั เกลาและใหการดแู ลเดก็ ผปู กครองมักเขาใจวาการนําเด็กมาไวที่โรงเรยี นยอ มทาํ ใหผูปกครองสบายใจเพราะโรงเรียนจะตอ งเปนฝายดูแลเดก็ แตสาํ หรับเดก็ ออทิสติกจะมโี รงเรยี นพิเศษสําหรับเดก็ กลมุ นีเ้ ฉพาะ อยา งไรก็ตามโรงเรียนสําหรับเด็กออทิสติกยังมีไมมากนัก หรือในบางประเทศก็มีนอ ย ผูปกครองจะตองนําเดก็ ออทิสตกิ ไปเรียนในโรงเรียนปกติ เรียนและทํากิจกรรมกับเด็กปกติท่ัวไป ปญหาที่เกดิ ขนึ้ มกั จะเปนเร่อื งของความพรอมในการสื่อสารกบั เพ่ือนและสงั คมของเด็กออทิสติก เนื่องจากถาเด็กมีความแปลกแยกจากเพ่ือนรวมชั้นมากเขาจะมีปญหาทางอารมณตลอดจนมีปมดอยข้ึนได (อุมาพร ตรังคสมบัติ,2550: 229-230) ในสังคมเกาหลีก็ประสบปญหาการขาดแคลนโรงเรียนพิเศษสําหรับเด็กออทิสติก ดังจะเห็นไดจาก ลี ซังกวอน ไดถา ยทอดภาพของซงึ จุนตองมาเขาเรียนในชั้นเด็กปกติ เพราะ “...เขาบอกวา โรงเรียนเด็กเออในบา นเรามีนอ ย เลยใหเขา โรงเรยี นปกติแทน” (ลี ซงั กวอน, 2548: 10) แตเน่ืองจากโรงเรยี นไมไ ดเ ตรยี มความพรอมในเร่ืองของการดแู ลเด็กพเิ ศษประเภทนี้ จงึ ทําใหค รไู มร ูวาจะจัดการอยางไรกบั การเรียนการสอนเดก็ ออทสิ ติก ทางเดยี วที่ทาํ ไดค ือปลอ ยใหเด็กออทิสติกทํากิจกรรมในส่ิงที่ตนเองชอบ รวมไปถึง “คุณครูไมสั่งการบาน และไมจัดเวรทําความสะอาดใหเ ขาเลย” (ลี ซัง กวอน, 2548: 8) การดําเนินการเรียนการสอนเชนน้ีจึงไมไดทําใหเด็กออทิสติกไดมาเรียนรูการใชชวี ิตแบบเด็กปกติ แตกลับสรา งความแปลกแยกแตกตา งใหเขามากย่งิ ขน้ึ ไปอีก เพราะแมแ ตค รกู ็ยังไมสามารถทําความเขาใจกับพฤติกรรมของเด็กพิเศษน้ี กลับผลักไปเปนปญหาของเด็ก ออทิสติกไปแทนตวั อยา งเชน เหตกุ ารณท ค่ี รเู รยี กนักเรียนมารวมตวั กันในวชิ าสาํ รวจธรรมชาติ พรอมกับกลาวถึงพฤติกรรมของบุงรวมทงั้ แมลงอื่น ซึง จนุ มีความรูสกึ ที่ขดั แยง กบั ครใู นประเด็นท่ีวาตวั บุงชอบกนิ ใบไม เพราะซึง จุนเห็นวาตวั บุง บางตัวก็กนิ ตัวบงุ ดว ยกันเอง ครูเห็นซึง จนุ หนา แดงและเกาสีขางบอ ย ๆ เปน เหตใุ หครูถามวาซึง จุนตองการสิ่งใด โคเจรูว าซึง จนุ จะบอกวาบงุ กินบุง ดวยกัน บุงไมไดก ินแตใ บไม โค เจรบั อาสาบอกเรือ่ งน้ีกับครูและเพื่อน ๆ แทน แตส่ิงทค่ี รตู อบกลบั มาคอื “ฮนั โค เจ ในโลกนีม้ บี ุงท่ีไหนมันกนิ บุงดวยกัน เธอเคยเห็นแพะกินแพะดวยกันเหรอ ตัวบุงมนั กต็ องกินใบไมส ิ” (ลี ซัง กวอน, 2548: 53) จะเห็นวาโรงเรียนซ่ึงถือวาเปนสถานท่ีที่จะตองใกลชิดกับเด็กมากทส่ี ดุ และตอ งรับรรู บั ฟง ปญหารวมทงั้ ขัดเกลาในสง่ิ ที่ถูกตอ งกลบั ใหค วามรูส กึ ทบ่ี ิดเบี้ยวกบั ซึง จุนแทน การนาํ เสนอภาพของครูท่ีขาดการเอาใจใสเดก็ นกั เรียนออทิสติกและโรงเรียนท่ีขาดการจัดระบบการเรียนการสอนเฉพาะแกเ ด็กออทสิ ติก เปน ปญ หาท่ีสาํ คัญย่ิง เพราะถาครูไมเขาใจพฤตกิ รรมท่ีผิดปกติหรือแปลกไปจากที่เคยเห็น นนั่ หมายถึงวา ครยู อ มไมรเู ลยวา ทา ทางที่เด็กออทสิ ตกิ แสดงออกมานน้ั กาํ ลังช้ใี หเ ห็นวา เด็กกาํ ลงั เกิดภาวะความเครยี ดหรอื กงั วล (อมุ าพร ตรังคสมบตั ิ, 2550: 234) ดังที่ซงึ จุนหนาแดงและพยายามเกาสีขางบอย ๆ เพื่อระบายความรูสึกอะไรบางอยางออกมาผานพฤติกรรมที่ผิดปกติไป แตครูกลับเขาใจวา “ซึง จุนเปนอะไร จะไปหองนํ้าหรือเปลา” (ลี ซัง กวอน, 2548: 51) อยา งไรก็ดเี นื่องจากโรงเรียนสําหรับนักเรียนออทิสติกยังไมมี พอที่

350ผูปกครองจะสงเดก็ ที่มีปญหาเหลานีม้ าทีโ่ รงเรยี นเฉพาะ จงึ ทาํ ใหครทู ีส่ อนอยใู นโรงเรยี นปกติตองรับภาระเปน สองเทานอกจากจะตองดูแลเด็กปกติแลวก็ตองดูแลเด็กออทิสติกดวย การนําเสนอภาพของครูตามท่ี ลี ซัง กวอนกลาวไวในวรรณกรรมเลมนี้เปนเสมือนทัศนะของนักเขียนที่ตองการฝากใหโรงเรียนมีการจัดอบรมหรือใหคาํ แนะนําแกค รูทจี่ ะตองรับผดิ ชอบเดก็ ออทิสติก จะเปน ทางออกทด่ี ีใหก บั ครแู ละนกั เรยี นออทสิ ตกิ ดว ย 3. ครอบครัว ครอบครวั คือหนว ยท่ีเล็กท่ีสุดในสังคมและเปนหนวยที่ใกลชิดกับเด็กมากท่ีสุด สังคมเกาหลีเปนสังคมท่ีมีคานิยมสําคัญประการหนึ่งคือการใหความสําคัญกับการมีลูกชายไวสืบสกุล คานิยมดังกลาวนี้ไมไดหมายถึงครอบครัวจะตอ งมลี ูกชายมาก ๆ แตอยางนอยครอบครัวหน่ึงมีลูกชายหนึ่งคนก็เปนสิ่งที่ดี ท้ังนี้คานิยมการมีลูกชายของสงั คมเกาหลีถูกอธิบายดวยความคิดที่วานอกจากจะทําหนาที่สืบทอดสกุลแลวยังตองทําหนาท่ีเซนไหวบรรพบุรุษดวย (Ki-Soo Eun, 2559: 125) นอกจากน้ีสังคมเกาหลียังใหความสําคัญกับการมีหัวหนาครอบครัวเปนหลักใหก บั ครอบครัว แตใ น โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน กลับนาํ เสนอภาพท่ีเปนคูตรงขามกัน ทั้งน้ีอาจเปนเพราะผลมาจากยุคโลกาภิวตั นทมี่ ีอทิ ธิพลตอครอบครัวชาวเกาหลใี นแงท วี่ า ท้งั หญิงและชายตา งออกไปทาํ งานนอกบานมากขึน้ รวมไปถึงการหยา รา งหรอื บางครอบครวั เหลอื เพียงแมทําหนา ทีเ่ ปนแมบา น เพราะพอตองออกไปคาแรงงานในทไี่ กล ดงั เชน ครอบครัวของซงึ จนุ ทีม่ แี ตแ มเปน ผูดาํ เนินเรอื่ งเทาน้นั ลี ซงั กวอนไมไ ดกลา วถึงบทบาทของพอ ในครอบครวั ของซงึ จุน มเี พยี งแตก ลา วถงึ แมของซึง จุนท่ีโค เจไดมองเห็นครัง้ แรกกเ็ กดิ ความรูสึกวา “แมข องเขาสวยทส่ี ุดในบรรดาแมของเพื่อน ๆ ทีฉ่ นั เคยเห็นมา” (ลี ซงั กวอน,2548: 32) แมทาํ หนา ท่ีดแู ลซงึ จนุ ตามลาํ พัง แมเ ลา ใหโ ค เจฟงวา “เม่อื กอ นน้ี ซึง จุนก็เคยมเี พ่อื นอยูสองสามคน...ซึง จนุ มโี รคประจาํ ตัว เปนโรคทางจิตใจนะ เขาปดใจตัวเองเอาไวแนน ทําใหรักษาไดยากมาก” (ลี ซัง กวอน,2548: 32) การทแี่ มไ ดเลาใหโค เจฟงนั้นอาจเปนเพราะวาแมสังเกตเห็นซึง จุนมีความรูสึกดีใจท่ีไดคบกับโค เจจนถงึ กับพาโค เจมาทีบ่ า น นั่นหมายถึงโค เจอาจเปนคนพเิ ศษสําหรบั ซึง จนุ กเ็ ปน ได แมจ งึ อยากถา ยทอดเรอื่ งของซงึ จงุ ใหโค เจรับทราบ การปดก้นั จิตใจของซึง จุนน้ันอาจจะมาจากการทเ่ี ขาเปนเดก็ ออทิสตกิ ดว ยพฤตกิ รรมของเดก็ ออทสิ ติกทม่ี ีโลกสวนตัว และไมชอบยงุ เกีย่ วกบั ใคร จงึ ทาํ ใหไ มม ใี ครทจ่ี ะเปนเพอ่ื นสนิทหรืออยูเคียงขางซึง จุนได โค เจไดฟ ง เรือ่ งราวของซึง จนุ กย็ ่งิ มีความรสู ึกวาเธออยากเปน เพอื่ นกบั ซึง จนุ มากข้ึน การนําเสนอภาพของแมใ นวรรณกรรมเยาวชนเลม นี้ ลี ซัง กวอนไมไดนําเสนอใหเห็นภูมิหลังหรือบทบาทของแมอยางเดน ชัด จึงทําใหผูอานอาจมองเห็นไดแตเพียงบทบาทของแมที่ทําหนาที่ดูแลเอาใจใสซึง จุนไมไดมีบทบาทอื่นใด สง่ิ ท่ีเปน ขอ สังเกตคือแมแมของซึง จุนจะไมไ ดม บี ทบาทมาก แตจากการศกึ ษาตวั บทวรรณกรรมเลมน้ี ผูเขียนบทความพอมองเห็นวาแมของซึง จุนเปนผูหญิงท่ีดูแลเอาใจใสซึง จุน นับต้ังแตการสงเขาเรียนในโรงเรียนทีเ่ ปน โรงเรยี นสอนเดก็ ปกตทิ วั่ ไป และเปน โรงเรียนท่ีไมไดด แู ลเดก็ ออทิสติก เพราะแมแตการบานหรือเวรทําความสะอาดที่ครูจะตองมอบใหกับซึง จุน เพื่อใหซึง จุนไดเรียนรูการมีความสัมพันธกับเพื่อนรวมช้ันก็ไมมีขณะเดียวกันแมข องซงึ จุนยงั เปน แมท ่รี จู ักแนวคดิ การสรา งความสัมพันธข องเด็ก ๆ กลา วคอื หลงั จากท่ีซึง จุนตอ งเขา โรงพยาบาลเพราะตวั บงุ ที่เขาเล้ยี งหายไป และอาจรวมไปถึงการไดเ ห็นฮิม ชันกําลงั ฆา บุงอยู แมข องซงึ จนุ รมู าวาเปนฝมือของฮมิ ชนั แตแ มก็ไมเขาไปยงุ เกี่ยว หากกลบั ใหโค เจเปนฝายไปพูดกับฮิม ชัน ท้ังน้ีเปนเพราะวาแม

351ของซงึ จุนรูว า ถา ผใู หญเ ขาไปวา กลาว เด็กกจ็ ะไมช อบและอาจจะเขา ใจวาซงึ จุนไปฟอง แตถาใหเ ด็กวัยเดยี วกนั ไปพูดคยุ เดก็ จะเรียนรูการประนีประนอมและสรางความสัมพนั ธระหวา งเพ่ือนใหเ ขาใจซึ่งกนั และกนั ได อาจจะกลา วไดวา ในการดแู ลเอาใจใสเด็กออทิสติก องคประกอบสําคัญท่ีสุดท่ีนักออทิสติก (2550: 81)ไดกลาววา บคุ คลทม่ี สี ว นสาํ คัญในการท่ีจะชว ยเหลอื เดก็ ออทสิ ตกิ ใหเ ติบโตและพฒั นาไปอยา งเหมาะสม นอกจากครูสอนหนังสือ เพ่อื น ๆ ของ เดก็ พอแมแ ลว ยงั มแี พทย ครูฝก พดู นักกายภาพบําบัด นกั อาชีวบําบดั ญาติ ๆ พ่ีนองของเดก็ และพ่เี ล้ียงของเด็กนน่ั เองความรัก มติ รภาพ และธรรมชาตคิ ือสิ่งบาํ บัด การที่จะทําความเขาใจเด็กออทิสติกไดนอกเหนือจากผูคนรอบขางจะตองเรียนรูพฤติกรรม ตลอดจนใหโอกาสกบั เด็กออทิสติกปฏิบตั ติ นเหมือนกับเด็กปกติทวั่ ไปแลว ในดานของความรัก มิตรภาพและธรรมชาติก็เปนเสมอื นยารักษาเดก็ ออทสิ ติกได กรณตี วั อยางเชนซงึ จุน ตัวละครเอกในวรรณกรรมเร่ือง โลกใบเล็กของเด็กชายหนอน ผเู ขียนหรือลี ซัง กวอนไดสรางเรอ่ื งราวใหโค เจซงึ่ จากเดิมปฏเิ สธการคบซงึ จุนเปนเพ่อื น เพยี งเพราะเกรงตอสายตาของเพื่อนคนอ่นื ที่มองวา โค เจเปน เดก็ ออทสิ ติกตามซงึ จนุ ไปดว ย ดงั ทีโ่ ค เจรูสึกวา “พวกเพื่อน ๆ มองฉันแปลก ๆ ขนาดเพอื่ นผหู ญงิ ทเี่ คยสนิทกบั ฉนั ยงั ไมยอมพดู กับฉันเลย ฉันจึงอึดอัดใจมาก อยากจะคุยใหใครสักคนฟง แตก ็ไมมใี ครยอมรับฟง เลย” (ลี ซัง กวอน, 2548: 45) โค เจเห็นซึง จนุ เปน เหมอื นเด็กปกติทว่ั ๆ ไปเชนคนอ่นื เพราะซึง จุนท้ังพดู ไดแ ละมีความรูเก่ยี วกบั หนอน การเขาใจของโค เจอาจมองในระดับสตปิ ญ ญาของเดก็ นนั่ ก็คือโค เจคงคดิ วา เดก็ ออทิสตกิ จะตอ งนัง่ นิ่ง ๆ ไมพดู กับใคร ไมม คี วามรู อยา งไรก็ดีส่ิงที่โค เจสามารถสัมผัสไดถึงเด็กออทิสตกิ อยางซึง จนุ กค็ อื ซึง จนุ ไมค อ ยมเี พอื่ นสนทิ รวมทั้งมักตกเปนฝายถูกเพ่ือนคนอ่ืนอ่ืนแกลง โค เจจึงอยากเปนเพอื่ นทค่ี อยชวยเหลอื ซึง จนุ ความรกั อนั เกิดจากความเหน็ อกเหน็ ใจนาํ ไปสกู ารสรา งมติ รภาพใหเกิดข้นึ ระหวา งโค เจกบั ซงึ จนุ ตวั บทเลาถึงการท่ีโค เจเขา มาในวงโคจรชวี ติ ของซึง จุนไดนัน้ ก็เพราะโค เจไดประจักษว า แทจ ริงแลว ซงึ จุนท่ีใคร ๆ ตางพากนั บอกวา เปน เดก็ ออทสิ ตกิ ความจรงิ เขาคือเดก็ ปกติทเ่ี ก็บตัวเงยี บอยใู นโลกสวนตัวคนเดียว ซงึ จุนพูดไดและมีความรู โค เจจึงเร่ิมเปดใจยอมรบั ความเปน เพื่อนกบั ซงึ จุน แตหลาย ๆ เหตุการณกท็ าํ ใหโ ค เจรูสึกไขวเขวไมนอยไมม ่นั ใจวา ตกลงแลว ซงึ จนุ เปน เดก็ ออทสิ ติกหรือเดก็ ปกตกิ นั แน ไมว า จะเปน เหตุการณในงานวนั เกดิ การทีถ่ ูกครูกลา ววา ไมตองกลาวอะไรผิด ๆ แทนซึง จุนเกี่ยวกับบุงกินบุง ดังที่โค เจรําพึงขึ้นในใจระหวางจดบันทึกในสมุดสว นตวั วา “ซึง จุนเปนเด็กออทสิ ตกิ เหรอ ฉนั ไมเหน็ วาจะเปนอยา งนนั้ สักหนอย ฉันแคอยากเปนเพ่ือนกับซึง จุนแคอยากเปน เฉย ๆ...ยงั ไงกันแน หรือวาท่ฉี นั อยากเปนเพ่อื นกบั เขา เกิดมาจากความเหน็ ใจกันแน” (ลี ซัง กวอน,2548: 85-86)แตส ิ่งท่ียงั ปดใจไมใ หโค เจเปนเพ่อื นไดอยางสนิทใจกับซึง จุนคือเธอไมสามารถจับตัวบุงไดดวยมือของตัวเอง การจับหนอนหรอื ตัวบงุ ดวยมือของตนเองถอื เปนการพสิ จู นวา เธอคือเพ่ือนที่แทจ ริงของซึง จนุ เพราะซงึ จนุเองก็เฝา รอวาโค เจจะมคี วามกลาที่จะจับหนอนหรือไม เชน ตอนท่ีโค เจมาที่บานซึง จุนและไดเห็นหนอน “ยายหัวโหนก” ซง่ึ เปนฉายาทซี่ งึ จุนตั้งใหกับหนอนท่ีมีลักษณะคลายกับโค เจ โค เจอุทานวาหนอนมีสีสวย โดยที่ซึงจุนยิ้มกวางและบอกโค เจวาจบั หนอนได หรือเหตกุ ารณท ซี่ งึ จนุ ชกั และเขาโรงพยาบาล วนั รุงข้ึนโค เจจึงมาเยี่ยม

352ซึง จุนที่บานพรอมกลาวขอโทษแทนฮิม ชันที่มาแกลงซึง จุน แตซึง จุนกลับไมไดคิดอะไรและยังพูดซ้ํา ๆ ดวยความดีใจทีไ่ ดเจอโค เจ โค เจมคี วามรูสกึ ในเวลานัน้ วา “ย่งิ เขาจับมอื ฉัน ฉนั ยง่ิ อยากจะชกั มอื หนี ฉันคดิ วา ในเม่ือฉนั ยงั เกลยี ดหนอน กลัวหนอน ฉันก็ยังไมสมควรเปนเพื่อนกับเขา ซึง จุนเปดประตูใจออกแลว แตฉันสิ ฉันเองตา งหากทยี่ งั ไมยอมเปด...” (ลี ซงั กวอน, 2548: 93) โค เจพยายามอยางยง่ิ ทจี่ ะจับบงุ สีเขียวดว ยมอื เธอ แตพอนึกถงึ ความรสู กึ ท่ตี อ งสัมผสั ก็ทําใหโค เจตวั สั่นทุกครั้ง จึงรูสึกวา “ฉันอึดอัด เหมือนกับฉันปดใจเอาไวแนน” (ลี ซังกวอน, 2548: 99) การไมจับหนอนจึงเปน สัญลักษณอ ยางหนึ่งการปฏิเสธที่จะสรางมิตรภาพใหแกกันโดยเฉพาะกับซึง จนุ หากในทสี่ ดุ มิตรภาพท่ีโค เจตองการมอบใหก ับซงึ จุนก็ประสบความสําเร็จ ดวยเหตุที่ฮิม ชันปสสาวะราดและเพื่อนเขาใจวาซึง จุนเปนคนกระทําเอง โค เจเปนคนเห็นเหตุการณท้ังหมด แตไมไดพูด ทําใหฮิม ชันมาขอบคณุ ทีโ่ ค เจเก็บความลบั น้ีไว โค เจจึงไดขอรองใหฮมิ ชันไปขอโทษซงึ จนุ ฮมิ ชันรบั ปากและจะไมแกลงโค เจกับซึง จนุ อีก ตอ มาทัง้ สองครอบครวั ไปเที่ยวทเี่ ขาบุกฮัน ฮมิ ชนั ไดพ สิ ูจนใ หโค เจเหน็ คือเขาไดจ ับบุงสีเหลืองที่อยูบนกง่ิ ตน ซากุระแลวยื่นมาใหโ ค เจ โค เจตกใจเพราะไมคิดวาฮิม ชันจะกลาจับ ฮิม ชัน บอกความรูสึกตอนนี้วา“...แรก ๆ กข็ ยะแขยง เดยี๋ วนีจ้ บั ไดส บาย...” (ลี ซัง กวอน, 2548: 108) คาํ กลาวของฮมิ ชนั เปรียบเสมือนการเปดใจยอมรับมิตรภาพกับซงึ จุนแลวนัน่ เอง เมือ่ โค เจเห็นดงั นนั้ จงึ ตดั สนิ ใจยอมจับตัวบุงเปนครั้งแรก ความรูสึกที่โคเจเผยออกมาผา นทัศนะของผเู ขียนวรรณกรรมคือ “แตทีฉ่ ันดใี จมาก ๆ ก็คอื ฉันกลา จับบงุ แลว เพ่งิ จะตอนนี้นี่เองทีฉ่ นั คิดวา ฉันเปนเพอ่ื นแทข องซงึ จนุ ไดแ ลว” (ลี ซงั กวอน, 2548: 109) การดูแลเด็กออทิสติกนั้นนอกจากการจะใหความรักและมิตรภาพความจริงใจแลว เด็กออทิสติกจะมีลกั ษณะท่พี เิ ศษอยางหน่งึ คอื เปนผูทีเ่ กบ็ ตวั อยโู ลกสวนตัวคอนขา งสงู เดก็ จะมีพื้นท่ีสวนตัวโดยในบางครั้งผูใหญก็ไมสามารถเขา ไปถึงได ลักษณะพฤติกรรมเชนน้ีถาพิจารณาจากตัวบทวรรณกรรมสอดคลองกับท่ีแมของซึง จุนบอกวา “ซงึ จุนมโี รคประจาํ ตวั เปน โรคทางจิตใจนะ เขาปดใจตัวเองเอาไวแนน ทําใหรักษาไดยากมาก” (ลี ซังกวอน, 2548: 39) แมไมสามารถทจ่ี ะทลายกําแพงขวางก้นั ในจติ ใจของซึง จุนได การเขาใจวาซึง จุนปวยและพาซึง จนุ ไปพบแพทยตามโรงพยาบาลกลับไมใ ชส งิ่ ท่ีดี เพราะทําใหซึง จุนมีอาการแยลง ดังท่ีตัวบทกลาววา “ทานพยายามพาเขาไปรกั ษาตัวตามโรงพยาบาลตา ง ๆ จนทัว่ ประเทศ แตว า อาการของเขากลับแยลง ในที่สุดก็เลิกลมความต้ังใจที่จะรักษา” (ลี ซัง กวอน, 2548: 40) ในทายที่สุดแมจึงนําซึง จุนไปฝากไวกับยาที่ตางจังหวัด และบรรยากาศของตา งจงั หวัดน้ีเอง ทําให “อาการของซึง จุนกลับดขี ึ้นอยางคาดไมถงึ ” (ลี ซงั กวอน, 2548: 40) การไดไปตางจังหวัดของซึง จุนน้ีเองกลับเปนยารักษาอาการหายปวยของซึง จุนเปนอยางดี อาจเปนเพราะวา ซงึ จุนมยี า ท่คี อยดูแลและช้แี นะเรือ่ งตาง ๆ รวมไปถึงยา ยงั คอยสอนใหซงึ จุนไดหัดอานหนังสือและบวกเลขดวย ประกอบกบั การไดส ัมผัสกับกลิ่นไอของธรรมชาตทิ าํ ใหซึง จุนมีความรสู กึ วา โลกใบเล็กของเขาเต็มไปดวยการนา คน หาทไี่ มไดจาํ กัดเฉพาะโลกใบเล็ก ๆ ของเขาเทา นน้ั หากแตโ ลกใบใหญท่ีกวางขึ้น ดังที่ตัวบทบรรยายวา“ทกุ วนั ซึง จุนจะไปเดินเลนตามทุงหญาหรอื เนินเขากบั คุณยา ” (ลี ซงั กวอน, 2548: 40) การไดอ อกไปสูดอากาศธรรมชาติและการไดมผี ูด แู ลอยางใกลช ดิ ทาํ ใหซ งึ จนุ เขา ใจวถิ ชี วี ิตคนปกตมิ ากข้ึน ซงึ จนุ ไดเ รียนรโู ลกที่กวางใหญเขาเปด รบั ประสบการณใ หม ๆ และพรอมท่ีจะเปน เด็กปกติมากขน้ึ ซึง่ สอดคลอ งวิธีการบําบดั ผูป ว ยออทิสติกทีเ่ นน

353ใหเ ดก็ ไดทาํ กิจกรรมทเ่ี ปนระบบ มกี ารเรยี นรูการสรา งความสัมพันธทางสังคม อยางไรก็ตามหลงั จากที่ยาไดจ ากซงึจุนไป ซึง จุนมีความรูสึกวาโลกใบใหญของเขากลับปดลง เขาไมมีผูท่ีจะคอยช้ีแนะหรืออยูใกลชิดอีกตอไปความรูสึกเดิมที่ตอกยํ้าวาเขาคือเด็กผิดปกติก็กลับคืนมาสูซึง จุนอีกคร้ัง แมเด็กชายจะยังมีแมที่คอยดูแล แตความรูส กึ ระหวางยา กับแมกเ็ ปน ความรสู กึ ท่แี ตกตา งกนั เพราะถงึ แมวา แมจะทําหนาท่ีสอดคลองกับบทบาทของแมใ นสังคมเกาหลีที่วาแมจะตองมหี นาที่เลย้ี งดูลูกวัยทารกและวัยกอ นเขาเรยี น แมย ังจะตอ งทําหนาที่เปนแมผูใหการศกึ ษา เชน การว่งิ หาโรงเรียนเพอื่ ใหล ูกไดเรียน เปนตน (เอะมิโกะ โอะชิอะอิ , คะโยะโกะ อุเอะโนะ, 2554:50) แตแ มก ลับไมคอยไดใ กลชิดเทา กบั ยา แมท ําหนา ท่เี ฝา ดูซึง จุนอยูหาง ๆ ตางจากยาท่ีใกลชิด และเขาหรือซึงจุนกไ็ ดไปทาํ กจิ กรรมบอ ยคร้งั กับยา ท่ที ุงหญา หรือไมก เ็ นนิ เขา จะเห็นวา อาการของเด็กออทิสติกอาจจะดีขึ้นหรือบางรายอาจหายปวยไดถาไดร บั การดแู ลหรอื ใกลชดิ เปน อยา งดี อกี ประการหนึ่งทสี่ าํ คญั คือนอกจากนอกจากความรกั และมติ รภาพแลว การทเี่ ด็กออทิสตกิ ไดส มั ผัสกบั ธรรมชาตกิ อ็ าจชว ยจิตใจของผูปวยรวมท้ังลักษณะการแสดงพฤติกรรมมีแนวโนม ทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงไปในทางทีด่ ขี ึน้ กไ็ ดความเปน จริงทไ่ี มไ ดกลา วไวใ นวรรณกรรม โลกใบเลก็ ของเด็กชายหนอน ถาหากมองตวั บทวรรณกรรมเรื่องนี้ ผเู ขยี นวรรณกรรมมีน้ําเสียงการมุงเสนอใหผูอานไดเรียนรูและเขาใจพฤตกิ รรมของเดก็ ออทสิ ติก สามารถใชชีวติ อยรู วมกนั อยา งปกติสุข เปนแนวการเขียนในเชิงความเปนสังคมอุดมคตทิ ่มี กั เกิดข้นึ ในวรรณกรรมเยาวชนอยเู สมอ แตถา มาพิจารณาอกี ดานหน่ึงในตัวบทวรรณกรรมเร่ืองน้ีจะเขาใจถงึ มติ ขิ องสงั คมเกาหลีอีกดานหนง่ึ อยา งนาสนใจ กลาวคือผเู ขียนมลี กั ษณะการวพิ ากษส งั คมเกาหลีทง้ั ในเรื่องสิทธิมนษุ ยชน ความเจรญิ ของเมอื งเศรษฐกจิ ทด่ี มู ่งั คั่ง และเปนประเทศที่ประสบความสําเร็จในเรื่องเศรษฐกิจขนาดใหญเปนลาํ ดบั ท่ี 10 ของโลก (ดวงธิดา ราเมศร, ม.ป.ป.: 187-188) หากแตสวนทางกับวิถีการดําเนินชีวิตของคนในสังคมเกาหลีท่ีบางสวนถูกรัฐทอดทิ้งใหผจญกับความแรนแคนหรือการไรที่พึ่งพิงใหสะดวกสบาย กรณีตัวอยา งเชน รัฐไมไดใ หค วามสนใจตอ การใชชีวติ และการศึกษาของกลุมเดก็ ออทิสติก จึงยังไมมีการจัดตั้งโรงเรียนพิเศษโดยเฉพาะ จําตอ งใหเ รยี นอยูกบั นักเรียนปกติ นอกจากน้ีความเจริญถงึ ขีดสดุ ของสงั คมเกาหลียงั แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในเรื่องบทบาทชายหญงิ ดว ย อยางเชนแมของซึง จนุ ทเ่ี ลย้ี งลกู ตามลาํ พัง มองในดา นหนึ่งสงั คมเกาหลีชนช้นั ระดับชาวบานจะเปนแรงงานท่ีสาํ คญั ชายหญิงในภาคอุตสาหกรรมคอื กาํ ลงั สาํ คญั ในการขับเคลอื่ นใหประเทศเดินหนาตอไป รวมท้ังยังมีบทบาททส่ี ําคัญในครอบครวั ดว ย แตก ารท่ตี วั บทวรรณกรรมกลาวเพยี งแมข องซึง จุนแตไมไดกลาวถึงพอของซึงจนุ นน้ั ทําใหส ามารถคิดได 2 ประการคือ ประการที่ 1. ครอบครัวของซึง จุน พอคือกําลังแรงงานสําคัญสําคัญท่ีตองออกไปทาํ งานในแดนไกล ซ่งึ เปน คานิยมหน่งึ ของผชู ายเกาหลีท่ีนิยมไปเสี่ยงโชคในแดนไกล เพื่อใหไดรายไดตอบแทนกลับมาสูค รอบครวั จึงทาํ ใหต วั บทไมไดก ลาวถงึ พอ ของซึง จุนมากนัก กับอีกประการหน่ึงคือครอบครัวของซงึ จนุ ไมมีพอ เปน ผูน ําครอบครวั พอของซงึ จนุ อาจแยกทางกับแมของซึง จุนหรือถึงแกชีวิต ทําใหแมของซึงจุนจึงกลายมามสี ภาพของแมเ ลยี้ งเด่ียวหรอื แมที่เล้ียงลูกโดยตามลําพงั การดําเนินชีวิตของผูหญิงเกาหลีอยางแมของซงึ จนุ น้ีคอ นขา งมีกลาวถึงในวรรณกรรมเยาวชนเกาหลีนอยมาก จึงเปนประเด็นที่นาสนใจอยางมากวาแมเลย้ี งเด่ียวหรือผูหญงิ ที่ดลู กู ตามลาํ พังในสังคมเกาหลี ผูค นรอบขางจะมคี วามเหน็ หรือความรูส กึ อยา งไร แตผูเขียน

354วรรณกรรมเรื่องน้กี ็ไมไดก ลาวถึง “เสียง” ของสังคมท่ีมองถึงการเปนแมเลี้ยงเดี่ยว กลับใหน้ําหนักไปท่ีบทบาทและหนา ทขี่ องแมในการเล้ยี งดูเดก็ ออทสิ ตกิ แตกตางจากบทบาทของแมใ นวรรณกรรมเยาวชนเกาหลเี ลม อน่ื ๆ ท่ีผูเขียนบทความเคยวิเคราะหวรรณกรรมเยาวชนมา เชน แม ๆ ของเด็ก ๆ แหงหมูบานเควง-อีบุรีหรือแมในวรรณกรรมเร่ืองโลกใบเล็กของเด็กเกาขวบกลับนําเสนอภาพของแมท่ีมีพออยูเคียงขาง หรือถามีเพียงแมก็ยังกลา วถึงพอตองออกไปทํางานในที่อื่น หรอื พออาจประสบอบุ ตั ิเหตุ จึงทาํ ใหแ มตองเลย้ี งดูลูกตามลําพัง แตในโลกของเด็กชายหนอน ลี ซัง กวอนกลบั ไมไ ดก ลาวถึงภมู ิหลงั ของการดําเนินชีวติ ชายหญิงในสังคมเกาหลีมากนัก อาจเปนเพราะวาเขาตองการนําเสนอเพียงแตภาพของเด็กออทิสติก จึงทําใหการสรางองคประกอบดานอ่ืนของวรรณกรรมไมค อยกระจางมากนัก วรรณกรรมเยาวชนเกาหลีเรื่องโลกของเด็กชายหนอนจึงกลายเปนคูมือสําหรับครอบครัวท่ีจะใชอานประกอบ แตสง่ิ ทีไ่ มไดก ลาวไวในวรรณกรรม เชน การใหความเอาใจใสของรัฐในกรณีเด็กเหลาเหลานี้หรือการใชชีวติ ของชายหญงิ ในสังคมเกาหลที ีแ่ มจ ะไมไดพูดถงึ ชัดเจนแตกท็ ําใหนาสนใจวาภายใตคูมือการดูแลเด็กออทิสติกเลม นี้โดยผา นรปู แบบวรรณกรรม ลี ซงั กวอนอาจตองการสะทอนใหเห็นวาภาพของกลุมเด็กออทิสติกท่ีรัฐไมใหความสําคัญซึ่งดูสวนทางกับความเจริญรุงเรือง การสงเสริมใหประเทศมีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ แตประชากรในประเทศสวนหน่ึงยังขาดการเหลียวแลจากรัฐ อีกความคิดหน่ึงคือคานิยมของคนเกาหลีสงเสริมใหครอบครัวเปนพ้ืนฐานสําคัญท่ีจะผลักดันใหเปนพลเมืองที่ดีได ดังจะเห็นไดวาครอบครัวตองมีพอเปนผูนําครอบครัว การมลี กู ชายเปน ของขวญั ทปี่ ระเสริฐสุดสําหรับครอบครัวนั้น ๆ แตใ นวรรณกรรมเรื่องนไ้ี ดน าํ เสนอภาพคานิยมความแตกตางไปคือกลาวถึงภาพของแมเล้ียงเด่ียว ซ่ึงลี ซัง กวอนอาจตองการจะบอกอะไรแกผูอานวาสงั คมเกาหลเี ร่ิมใหความสําคญั ตอภาพของแมเ ลย้ี งเด่ียวก็ได หากแตไ มไ ดกลา วถึงในตวั บทมากนกับทสรปุ จากการศกึ ษา โลกใบเลก็ ของเด็กชายหนอน การนําเสนอภาพของเดก็ ออทิสตกิ ผา นฝม อื การเขียนของ ลี ซงักวอน ไดข อสรุปดงั นี้ วรรณกรรมเยาวชนเกาหลีเรอื่ งนีเ้ ปน วรรณกรรมทีม่ งุ เสนอภาพของชีวิตเด็ก ออทิสติกที่ชื่อวายาง ซึง จุน ซึง จุนเปนตัวละครที่เปนภาพแทนของเยาวชนเกาหลีผูมีความผิดปกติเรื่องของสมอง ลี ซังกวอนไดสรางตัวละครซึง จุนเพื่อบอกเลาถึงปญหาท่ีพบในเด็กออทิสติก นับต้ังแตการเขาเรียนในโรงเรียน ซ่ึงโรงเรยี นเฉพาะหรอื โรงเรียนสาํ หรบั เด็กออทสิ ติกนั้นยงั ไมมี จงึ ทําใหเดก็ ออทสิ ตกิ จะตอ งเขาเรียนในโรงเรียนปกติทงั้ น้ยี อมประสบกับปญหาคือครูทีอ่ ยใู นโรงเรียนไมมคี วามรูใ นการดูแลเดก็ ออทิสติก ทําใหเ ด็กทม่ี ีอาการปวยไมไดรบั การดูแลอยา งถกู ตอง สงิ่ ท่สี าํ คัญคือซงึ จุนกลายเปนเดก็ แปลกประหลาดในกลมุ เพอ่ื นวยั เดยี วกนั และเดก็ ชายก็ไมไ ดเ รยี นรกู ารมีปฏิสมั พันธก บั เพอื่ น การดแู ลเด็กออทิสตกิ น้ี ผเู ขยี นวรรณกรรมเรอื่ งนพี้ ยายามเสนอแนะวา สิง่ สําคัญที่จะชวยใหซึง จุนสามารถดําเนนิ ชวี ติ ไดอ ยางปกติสขุ คือเพอื่ น ครอบครัวและโรงเรยี น เพ่อื นมสี วนสาํ คญั คอื ถา เพือ่ นเขาใจในความบกพรองของเด็กออทิสติกและมีครูใหความรูหรือจัดกิจกรรมใหเด็กปกติและเด็กออทิสติกไดทํากิจกรรมรวมกัน การมีปฏสิ มั พันธห รือมีความสมั พันธทางสงั คมระหวางเดก็ ปกตแิ ละเด็กออทสิ ติกจะเปน ไปอยา งราบรนื่ ขณะทคี่ รอบครวักเ็ ปนองคป ระกอบสาํ คัญทีจ่ ะชว ยใหเดก็ ออทสิ ตกิ มคี วามกลา เกิดการเรยี นรแู ละมผี ูท่เี ขา ใจพฤติกรรมของเขา ไม

355ทาํ ใหเขารูสึกความเครียดหรือกังวล แตในบางครอบครัวอาจมีเพียงแมที่รับหนาที่ดูแลเหมือนซึง จุนท่ีมีแมเปนผดู ูแลเทานัน้ แมข องซึง จุนไมไ ดมีความรเู กยี่ วกับการดูแลเด็กออทิสติก เพราะในตัวบทกลาวถึงการที่แมของซึงจุนไดพ าซงึ จนุ ไปพบแพทยเพ่ือท่จี ะรักษาอาการปว ยหลายโรงพยาบาล แตซึง จุนก็ไมมีวันหายปวยจากการเปนเดก็ ออทสิ ตกิ ดงั นนั้ แมเขาใจวา ซงึ จุนปว ย ถาไปหมอแลว จะสามารถหายปวยได แตสง่ิ หน่งึ ท่ีแมมีใหซ งึ จนุ คือการเปดใจกวาง ๆ ยอมรับสิง่ ที่เหน็ เปนอยูข องซึง จนุ และทส่ี าํ คญั คือไมเพียงแตซึง จุนจะมีแมท่ีพยายามจะทําความเขา ใจในพฤติกรรมความเปน เด็กออทสิ ตกิ ในตวั เขา ยา ของซึง จนุ ก็เปน อกี ทานหนึง่ ที่เปน กาํ ลังใจใหกับซงึ จุน ดงั ที่ลี ซงั กวอนไดเขยี นเลาถึงแมไดสงซึง จุนไปกบั ยาทตี่ า งจังหวดั ความเปน ทอ งทงุ ธรรมชาตกิ ลายเปนสงิ่ บาํ บดั ใหซึงจุนมีความรูสึกสดช่ืน และมีอาการดีข้ึนจากการเก็บตัวอยูในโลกสวนตัว การที่ซึง จุนไดไปอยูกับยาทําใหเขามีโอกาสไดเรยี นรูอะไรหลายอยา ง เชน การฝก อานหนังสอื การบวกเลข จากโลกสวนตัวท่ซี งึ จนุ คดิ วา มีเพยี งเขาเทา นัน้ กลบั กลายเปน วาเขามยี าซ่ึงคอยเปนกําลังใจใหเขา ทําใหซึงจุนมีความรูสกึ วา เขาเหมือนเปน เด็กปกติ ไมไดม อี าการของเดก็ ออทสิ ติกเลย การท่ีเขาเปดใจใหกวาง ยอมรับกับสภาพท่ีเปน อยูและใชชวี ิตกบั ความสงบธรรมชาตทิ ่ตี างจังหวดั ทาํ ใหซ ึง จุนกําลังจะหายจากการปวย แตแลวเม่ือยาของซงึ จุนไดจ ากไป ทาํ ใหซ ึง จุนมคี วามรสู ึกเหมอื นสูญเสียความเปนตวั ตน สญู เสียกําลังใจ เหลา น้ยี ิง่ ตอกยา้ํ ใหซงึ จุนย่ิงปด ประตหู ัวใจมากขึ้น จนในท่สี ดุ เขาก็กลบั มาเปน เหมือนซึง จุนคนเดมิ คืออยูในโลกสวนตัว กระทําหรือพดู อะไรซํา้ ๆ ซาก ๆ ซึง่ ลี ซงั กวอนไดเขียนวรรณกรรมเยาวชนเลมนี้ไดอยางนาสงสารในชะตาชีวิตของซึง จุนมาก แมว าในตัวบทจะพยายามกลาวยํา้ หลายคร้งั โดยผา นมมุ มองของโค เจวาซึง จุนไมใชเด็กออทิสติก ซึง จุงคือเดก็ ปกติ แตก ารแสดงออกของพฤตกิ รรมตลอดจนเรื่องราวของซงึ จุงทําใหผ อู านอดคดิ ไมไ ดว าแทท จี่ ริงแลวสิง่ ท่ี ลีซัง กวอนตองการจะบอกกับคนอานก็คือใหมองเด็กออทิสติกเหมือนกับเด็กปกติท่ัว ๆ ไป แมวาบทสรุปของวรรณกรรมเลมนี้จะจบลงอยางมีความสุขคือในทายท่ีสุดโค เจกลาจับตัวบุง และเธอก็มีความรูสึกวาเธอเปดใจใหกับซึง จุนแลว เธอพรอ มท่ีจะเปนเพ่ือนไดแลว การทจ่ี ับหนอนไดคือการท่ีทลายเอากําแพงสงิ่ ขวางกนั้ ความรูสึกออกไปไดน น่ั เอง หากแตวรรณกรรมเลมน้ีเปนเพียงภาพแทนสว นหนึ่งของเยาวชนเกาหลีทเ่ี ปน เดก็ ออทสิ ตกิ ยังคงมีเยาวชนเกาหลอี กี จาํ นวนมากทปี่ วยเปน โรคน้ี และแนน อนความสุขหรือโลกของพวกเขาเหลานั้นคงจะไมจบลงดวยความสุขหรืองดงามดังเชน ซงึ จุน

356 บรรณานุกรมคี ซู อึน. (2559). คานยิ มของชาวเกาหลีใต (พรรณนิภา ซอง, ผูแ ปล). กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพจฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย.ดวงธดิ า ราเมศร. (ม.ป.ป.). ประวตั ิอารยธรรมอาเซียเกาหลี. กรุงเทพฯ: แพรธรรมสํานักพมิ พ.ลี ซงั กวอน. (2548). โลกใบเลก็ ของเด็กชายหนอน A Caterpillar Eats A Caterpillar. (อนั ตน, ผูแปล). กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยเู คชน่ั .เอะมิโกะ โอะชิอะอิ, คะโยะโกะ อุเอะโนะ. (บรรณาธิการ). (2550). วิถีครอบครัวชาวเอเชียในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย.อุมาพร ตรงั คสมบตั ิ. (2550). ชว ยลกู ออทิสตกิ คูมอื สาํ หรับพอแมผ ูไมยอมแพ. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจยั และพฒั นา ครอบครัว.

357The Tale of Arang’s Ghost, Focus on Intertextuality Psychology and Reproduction เร่ืองเลาผอี ารัง (Arang) มมุ มองดา นสัมพันธบท จิตวิทยาและการผลติ ซ้ํา สายวรณุ สนุ ทโรทก1 Saiwaroon SoontherotokeAbstract The Tale of Arang’s ghost is a well-known Korean folk tale. Arang was the daughter of amagistrate in Miryang during the Joseon Dynasty. Her servant conspired to have a rape her. Arangresisted, so she was killed. Her father thought that she eloped; therefore, he resigned from hisposition in shame. When other magistrates took the position, they were haunted by the ghost ofArang. One day, Yi Sang Sa came to the town. He promised Arang’s ghost that he would find thekiller and had him punished for his crime. Yi Sang Sa did what he promised, and thereafter theghost of Arang never appeared. This well-known folk tale inspires the film, Arang Parte, which tellsa story of a female police officer. While she is investigating an unknown victim’s murder, more andmore people are found dead and all of them appeared to be friends. Therefore, she has to solvethe case urgently. At last, she finds that ghosts didn’t commit this crime, but human beings did asthey are much more brutal. In the next year, Arang and Magistrate, a television drama, wasproduced. This fantasy drama is based on the tale of the ghost of Arang. The reproduction of filmsinspired by the ghost folk tale in Korea reflects popularity of horrific stories, women’s rightsmovement, and a terror of gang rapes. A study of folk tales reveals binary oppositions andcultural codes which enable us to better understand Korean society.Key words: Arang’sGhost,Intertextuality, reproduction , Korean Movie. 1ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. ประจาํ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลัยรามคําแหงAsist.Prof. Dr. Department of Thai and Oriental Languages Humanities Faculty Ramkhamhaeng [email protected]

358บทคดั ยอ ตํานานผีอารงั (Arang) เปนนทิ านพ้นื บานทม่ี ีชือ่ เสียงของประเทศเกาหลี อารังเปนลกู ของผูพ ิพากษาเมืองมรี ยางในสมัยราชวงศโชซอน คนรับใชจ ะขมขืนเธอตอ สูจึงถกู ฆาตาย พอ เขาใจวาลูกสาวหนตี ามผูชายไปก็อับอายจึงลาออก ตอมาเมื่อมีผูพ พิ ากษาคนใหม ก็จะถูกผีอารงั หลอกหลอนเสมอ จนกระทง่ั นายย่ีซางซา ซง่ึ สื่อกับวิญญาณไดม าเปนผูพิพากษา จึงสัญญาวาจะหาคนผิดมาลงโทษ และทําไดสําเร็จ ผีอารังก็ไมมาอีก จากตํานานนี้ มาเปนภาพยนตรเ รอ่ื งอารัง ผที วงแคน (Arang Parte) กลาวถงึ ตาํ รวจสาวทําคดีชายตายปรศิ นา พบวา มีคนตายเพม่ิ ขนึ้ และทกุ คนเปนเพ่อื นกัน ในที่สุดรูวามิใชผ ีทท่ี าํ ราย แตเ ปนมนุษยดว ยกันเอง ในปต อมามีละครโทรทัศนเ รอื่ งอารงั ภูติสาวรักนิรนั ดร (Arang and Magistrate) ไดรบั ความนิยมมาก การผลิตซ้าํ ไดตอบสนองความนิยมเรื่องลึกลับสยองขวัญการเรียกรองสทิ ธเิ สรภี าพ และปญ หาการถูกลวงละเมิดทางเพศในสังคมปจ จบุ นั เร่อื งเลายงั แสดงใหเห็นภาพแทนท่ีเปน คตู รงขา มและรหัสทางวฒั นธรรมทชี่ วยใหเ ขา ใจสงั คมเกาหลีมากข้นึคําสําคัญ: ผอี ารงั , ภาพยนตรผเี กาหลี ,สมั พันธบท , การผลติ ซ้าํบทนาํ เร่ืองราวเกีย่ วกับภูตผิ ีปศาจจัดเปนองคประกอบทางวัฒนธรรม แตล ะสังคมมีความเช่ือวามีวิญญาณอยูตามพืช สัตว ธรรมชาติหรอื แมแ ตวัตถุทม่ี นษุ ยส รางขึน้ มนุษยเ ช่ือวา วิญญาณจะยังคงอยูหลังจากทร่ี างกายตายไปแลววญิ ญาณบางดวงจะไปในภพภูมิที่ดีกวาเกา หรอื ไปในโลกของวิญญาณ แตบ างดวงยังอยูใ นลักษณะทเี่ ปนผเี รร อ นอยูในโลกของคนเปน เพราะมภี ารกจิ บางอยา งที่ยงั ทําไมส าํ เร็จในชวงเวลาทม่ี ีชีวติ อยู หรอื อาจตองอยูเพื่อจะทําบางสิ่งบางอยา งทค่ี างไว ดวงวิญญาณจึงไมอ าจปลดปลอ ยไปจากโลกมนุษยไ ด คนเกาหลีมคี วามเช่อื เก่ยี วกับภตู ิผีปศาจมาชา นาน คนเกาหลีเชอ่ื วาไมใชมนุษยเ ทานั้นท่มี ดี วงวญิ ญาณ ในพลงัธรรมชาตแิ ละวัตถสุ ง่ิ ของกม็ ีดวงวญิ ญาณเชนกนั มูดังหรอื คนทรงเจา ทําหนา ที่เปน สอ่ื กลางระหวา งโลกมนษุ ยกับโลกวญิ ญาณและเช่อื วาสามารถเปล่ียนโชครา ยใหก ลายเปนดี มดู งั ยังสามารถรกั ษาความเจ็บไข รวมทัง้ ใหค วามมน่ั ใจวาเมือ่ ถงึ เวลาจะละจากโลกนไ้ี ปแลว ก็จะไปสโู ลกหนาไดด ดี ว ย (วลยั พรรณ พะลายานนท, 2556 : 13) ในนทิ านพ้นื บา นเกาหลมี ีเรอ่ื งวญิ ญาณของหญิงสาวคนหนึ่งถูกกระทําใหเกิดความแคนจนไมย อมเปลี่ยนภพชาติ เรื่องราวของเธอกลายเปน ตาํ นานผอี ารงั ซงึ่ รจู ักกันอยา งแพรหลาย เมอื่ ส่ีรอยกวาปมาแลว อารังเปนลูกสาวของผูพิพากษาเมืองมีรยางในชวงสมัยราชวงศโจซอน พี่เล้ียงของเธอสมคบคิดกับ แบกกา คนรับใชเขาหาและพยายามจะขม ขืน แตเธอขดั ขืนจึงถูกทํารายจนเสียชีวติ ดวงวญิ ญาณของอารงั จะยังไมไปไหนจนกวาจะหาผกู ระทําผดิ มาลงโทษใหได ความคดิ ทวี่ นเวยี นอยูก บั การลางแคน ทาํ ใหตาํ นานเร่ืองนเ้ี กิดเปน ความนาสะพรึงกลวั มีเร่อื งเลาตอๆ กันมาวา ผีสาวอารังมักหลอกหลอนผูพิพากษาท่ีมารับตําแหนงใหมคนแลวคนเลา จนกวาจะไดพบกับคนท่ีสามารถสื่อกบั วิญญาณ และตามหาคนท่ฆี า เธอมาลงโทษใหไ ด เมอ่ื นัน้ เธอจึงจะยอมไปจากโลกนี้

359 ตอมาในป 2006 (2549) มีภาพยนตรสยองขวญั เรื่อง อารัง ผีทวงแคน (아랑) และในป 2012 (2555) จองยุนจองไดเ ขียนบทละครโทรทศั นเรอ่ื งอารงั ซาโตจอน ( )아랑사또전 หรือชื่อไทยวาอารัง ภตู สิ าวรกั นิรันดร สรางเปนละครโทรทศั น 20 ตอน ออกอากาศทางสถานโี ทรทศั น MBC ซ่ึงในปถ ดั มาไดร บั รางวัลบทละครโทรทัศนยอดเย่ียมและยัง ทําสถิตลิ ะครทไ่ี ดคา ลิขสิทธิอ์ อกฉายในประเทศญป่ี ุนสงู ทส่ี ุดถงึ 105 ลานบาทอกี ดวย2วัตถปุ ระสงคข องการศึกษา บทความนีม้ วี ตั ถปุ ระสงคเพ่อื ศกึ ษาความเชอ่ื มโยงระหวา งนทิ านพนื้ บา นอารงั กบั ภาพยนตรเ ร่อื งอารัง ผที วงแคน และละครโทรทศั นเรอ่ื งอารัง ภตู สิ าวรกั นริ นั ดรเ พ่ือใหเหน็ วา ตวั บททงั้ สามมคี วามเชอื่ มโยงความหมายของเรือ่ งเลา และนาํ เสนอดวยรูปแบบของส่อื ทแ่ี ตกตางกันทง้ั นผ้ี ูเ ขียนจะใชแ นวคิดเรือ่ งสัมพันธบท (intertextuality) ศาสตรของเรอื่ งเลา (Narratology) และแนวคดิ จติ วิทยาเปน กรอบของการวิเคราะหค รงั้ น้ีประเภทของผีเกาหลี 3 คนเกาหลีเรยี กผีท่ัวๆไปวา กวซี นิ 4 (귀신) เชื่อกนั วาพอคนตายไปแลวกจ็ ะกลายเปนวญิ ญาณอยูใ นท่ีที่คุนเคยหรอื อยากอยกู ใ็ ชเ วลานาน 49 วัน แลวถึงจะถกู ยมทูต หรือจอซึงซาจา ( )저승사자 พาตัวไป อาจจะเปนสวรรค (천국)หรือนรก (지옥) แลว แตค วามดีความช่ัวท่ีคนนั้นตอนมีชีวิตอยูทําไวจอซึงซาจาซึ่งมี ใบหนาขาวโพลน ใสชุดดํา สวมหมวกแบบเกาหลี พอไดเ วลาครบก็จะพาดวงวิญญาณไป ผเี กาหลีสว นใหญจ ะเปนผูห ญิงสวมชดุ ฮันบกขาว ปลอ ยผมยาวๆ มีเลอื ดทตี่ รงปากออกมาเลก็ นอย มกั จะเปนผูหญิงที่ตายเพราะถูกท้ิงแลวมาแกแคน ไมมีขา เคลื่อนท่ีดวยการลอยไปมา กลุมนี้สวนใหญจะเปนผีที่ยังไมมีครอบครัว เรียกวา ชอนยอกวซี ิน ( )처녀귀신 ผีโบราณอีกชนิดหนึง่ ของเกาหลคี ือผหี วั ไข หรือท่เี รยี กวา ดัลคยัง กวีซนิ ( )달걀귀신 ผเี กาหลีตนน้ี มีผูใหภาพวาเปน ผที ่มี รี ูปรางเหมือนคนทัว่ ไป แตค วามนากลวั คอื ใบหนาท่เี กลี้ยงโลน วา งเปลา ไมม คี ิ้ว ตา จมูก หรอื กระท่งั ปากกไ็ มมี มกั จะใสช ดุ ผาสขี าวบางในตํานานกลาววา เปน ผีมลี ักษณะเหมือนไข คือไมมีแขน ขา หัว อีกท้ังตา จมูก ปากก็ไมมีเหมอื นไขเ กลี้ยงๆสีขาว วา กนั วาหากใครไดเ ห็นผหี วั ไขแลวจะถกู ดูดเอาวิญญาณไป ทําใหค นนั้นปว ยตาย นักวชิ าการบางคนตีความวา ผีหวั ไขคอื วญิ ญาณของคนท่ีไมม ลี ูกหลานคอยกราบไหวบ ูชาหรอื ระลึกถงึ พวกเขา ใบหนาหรอื รูปรางของพวกเขาจงึ คอยๆเลอื นหายไป กลายเปนใบหนาเกลีย้ งๆเหมือนไขน ั่นเอง 2“กวีชนิ ” ผีสาวตามตํานานพืน้ บานของเกาหลีhttp://news.thaipbs.or.th/content/109932 เขา ถึงเมอ่ื 10 กมุ ภาพันธ2559 3 ชมรม Horror World ตํานานผีเกาหลีhttps://www.facebook.com/SmakhmChmrmKhnHawLukHaengPrathesthiy/posts/196683517136440 เขาถึงขอมูลเมื่อ10 กุมภาพันธ 2559 4Gwisinhttps://en.wikipedia.org/wiki/Gwisin เขาถึงเม่อื 15 มนี าคม 2559

360 ผอี ีกประเภทหนึ่งคนเกาหลเี รียกวา โดเกบิ (도깨비) ซ่งึ ท่ีจริงแลว เปนยักษท่มี ีท้ังนิสยั ดแี ละไมดี คนสมัยกอนเลา วาโดเกบิ มีความนากลัวมากจนคนโบราณไมก ลา จะวาดเปนภาพ ดังนัน้ จงึ ไมม ใี ครรูวาทจ่ี ริงแลว หนาตาของโดเกบิเปนอยางไร ชว งหน่ึงที่เกาหลีแพสงครามแกญ ่ีปนุ และตอ งอยูในการปกครอง ของญ่ปี ุน มีเร่ืองราวของยักษญ่ีปุนท่ีเรียกวาโอนิ คลายกับโดเกบิ ของเกาหลี เกาหลีจึงก็รับเอาลักษณะโอนิ ของญ่ีปุนมาและเช่ือวาโดเกบิ ก็มีรูปรางลักษณะเชน เดียวกนั กบั โอนิ คนเกาหลีมศี ัพทเ รียกอาการผเี ขา วา บงิ อยึ (빙의) คนทีถ่ กู บงิ อึยมักจะแสดงอาการตางๆ โดยไมรูตัว ตองใหคนทรงเจาชวยตดิ ตอ สื่อสารกบั ผี ใหร ูว าผีตองการส่ือความอะไร สว นคนทีจ่ ะสามารถพดู คยุ ตดิ ตอ กบั ผีได หรอื พวกท่ีมีองค หมอดู ซงึ่ เรียกวา ทเวมาซา (퇴마사) พวกนเ้ี ดิมกเ็ หมือนคนธรรมดาท่ัวไป แตตอมาจะรูสกึ ไดวามีองค แลว ก็ตองรบั เขามาอยใู นตวั เรยี กวา ซินเนริม (신내림) และเชื่อกนั วาคนทเี่ พ่งิ รับเขามาในตัวใหมๆ จะดดู วงแมนมาก ทเวมาซาจะเปน ผทู ค่ี อยตดิ ตอพูดคยุ กับผี แกป ญ หาใหผ ที ่ียงั วนเวยี นอยบู นโลกแลว มารบกวนผคู นวา ตอ งการอะไร ถา แกไ ขใหไ ดผกี ็จะไปที่ชอบๆ แตบางทีแกไมไดผีก็จะโกรธ ทเวมาซา ก็ตองหาวิธีไลไป บางคนมีอาชีพหมอดูที่เหมือนมีพลังบางอยางในตวั เรยี กวา ยอกซุลอนิ (역술인) เปนคําสภุ าพ แตคนทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั เรือ่ งการทํานายโชคชะตา อาจจะต้ังโตะ ตามถนน เปน การดแู บบคราวๆ เรียกวา จองเจงอี (점쟁이) นอกจากผีประเภทตางๆ แลว ในความเชือ่ ของคนเกาหลียังมีความเชื่อเกี่ยวกับมูดังหรือคนทรงเจาอีกดวยคนทรงเปน ผูประกอบพธิ ีคุซ5 และทาํ นายอนาคต ซง่ึ สบื เนอ่ื งจากความเช่ือดัง้ เดิมทีค่ นเกาหลนี ยิ มการบชู าเทพเจา มูดงั จงึ เปนบคุ คลสําคัญทจี่ ะกาํ หนดพธิ กี รรมทีจ่ ะรับอาํ นาจจากสิ่งศักด์ิสทิ ธ์ิ มดู ังมีบทบาทในการเปนผนู ําในการกระทาํพิธีทางศาสนา เปนหมอรกั ษาผูปว ย ซงึ่ สามารถสอ่ื สารกับเทพเจาบนสวรรคไ ด เพอื่ ใหเ ทพเจาชวยเหลือใหหายจากอาการปวย ทําหนาทเี่ ปนผทู ํานายอนาคต และยงั รวมถึงการเปนผนู าํ ความสนกุ สนาน ผานการรองเพลงและเตนรําอีกดวย สําหรับผอี ารงั เรยี กไดวาเปน กวีซิน ในภาพยนตรและในละครโทรทศั นมีลกั ษณะตางกัน ในภาพยนตรเปนผีแมลูก เพราะหญิงนีถ้ กู ขมขนื ตั้งครรภแ ละถกู ฆา ตาย สว นในละครโทรทัศนเ ปน ผีสาวพรหมจรรยทถ่ี กู ฆาตายเปนแบบซอนยอกวซี ิน 5พธิ คี ุซ หมายถึงพธิ ที ่สี มั พันธกับความเช่อื ของคนในสังคม จาํ แนกไดเปน 2 ลักษณะคือ พิธีท่ีทําใหคนที่ยังมีชีวิตอยู เชน การอธิษฐานขอลกู หรือขอใหล ูกมสี ขุ ภาพแข็งแรง ขอใหหายจากโรคภัยไขเจ็บ หรือการอวยพรแตงงาน การยายเขาบานหลังใหม หรือแมแตก ารเรมิ่ ทําการเกษตร การออกเรอื หาปลา ก็มีพิธบี วงสรวงไหวเ จา อีกลักษณะหน่งึ คอื การทาํ พิธีใหค นตาย ไดแกการจัดงานศพการสง ดวงวญิ ญาณไปยงั โลกหนา และพิธเี ชิญดวงวิญญาณคนที่ตกน้าํ ตายไปโลกหนา เปนตน (วลัยพรรณ พะลายานนท 2556 :13)

361แนวคดิ เรื่องสมั พันธบท (intertextuality) สมั พนั ธบทเปนการศกึ ษาตัวบทท่สี รา งสรรคข นึ้ ใหม นพพร ประชากุล (2543: 175-177) เรยี กตวั บทใหมน้วี าตวั บทปลายทาง (secondary text) ซงึ่ มรี องรอยจากเนื้อหาเดิม หรือทีเ่ รียกวาตัวบทตนทาง (primary text) การนําตัวบทตน ทางมาสรางสรรคมักมีการดัดแปลงหรือปรับใหเหมาะสมกับรูปแบบของสื่อการนําเสนอดวย และการสื่อความหมายมักปรากฏเชือ่ มโยงระหวางตวั บทดวยกนั เอง ซง่ึ อาจเกิดเปนความหมายใหมห รอื ไมก ไ็ ด ความสัมพันธร ะหวางตัวบทตนทางและตัวบทปลายทาง อาจมีแบบแผนวามีอะไรหายไปบาง มีอะไรเพ่ิมเตมิ เขามา มีอะไรทีถ่ ูกสับเปล่ียนไป เพราะเหตุใด ซึ่งอาจมีกลวิธดี ังน้ี 1. การขยายความ (Extension) หมายถึงวาตัวบทปลายทางมกี ารเพ่ิมเติมเนื้อหาอะไรซ่ึงในตวั บทตนทางไมม ี สว นทีเ่ พิม่ เขามาน้นั เชอ่ื มโยงสมั พนั ธก บั ตวั บททมี่ ีมาแลวอยางไร การขยายความมีผลทําใหความหมายทั้งหมดเปลี่ยนแปลงไปหรือไม 2.การตัดทอน (reduction)พจิ ารณาวา ในตวั บทปลายทางมกี ารตัดทอนเนื้อหาอะไรจากตัวบทตนทางบา ง มคี วามเปนเหตเุ ปน ผลใดของการตัดทอน และการตัดทอนนี้สงผลถึงความหมายของตัวบทหรอื ไม 3.การปรับเปล่ียน (modification) พิจารณาตัวบทปลายทางวามกี ารปรับเปลย่ี นเนอ้ื หาอะไร จนทําใหตวั บทปลายทางมรี ูปลักษณทไ่ี มเ หมอื นตวั บทตน ทาง M.Bakhtin (อางถึงใน นิชธนาวิน จุลละพราหมณ, 2554:21) ไดเสนอทัศนะเกี่ยวกับสัมพันธบทไววาปจจุบันนตี้ ัวบทตางๆ ไดถอยหางออกจากบริบท แตกลับสนใจที่จะอางอิงหรือเช่ือมโยงระหวางตัวบทดวยกันเองเชน เดียวกับทแี่ ฟรด นิ อง เดอโซซรู ไ ดเสนอวา การสรา งตัวบทใหมๆนั้นจะเกิดจาก 2 หลักการที่ทํางานควบคูกันไปหลักการแรกคอื “กฎแหง การเลือกสรร” (Law of selection) หลักการท่ี 2 คือ”กฎแหงการผสมผสาน” (Law ofcombination) หมายถึงการเลือกหยบิ วัตถดุ บิ มาผสมผสานใหเ ขากนั และสามารถส่อื ความหมายรวมกันได (กาญจนาแกว เทพ, 2552: 5-9)อารัง ผีทวงแคน เคา โครงจากเรอื่ งจรงิ ในภาพยนตรอารัง ผีทวงแคน เปนภาพยนตรแนวลึกลับนาสะพรึงกลัว มีขอความกอนจะเริ่มเรื่องวาภาพยนตรเ รื่องนี้สรา งจากเรื่องจริง (Based on True Story) ทําใหผูชมเขาใจวาภาพยนตรเร่ืองนี้มีที่มาหรือมีเคาโครงเรอื่ งจากเหตกุ ารณที่เกดิ ขึ้นจริง กลา วถึงผีแมลูกทโ่ี รงเกลือแหงหนง่ึ ใครท่ีผานไปละแวกนั้นมักจะถูกผีหลอกเสมอ โซยูเปน ตาํ รวจสาวทม่ี ปี มจากการถูกลว งละเมดิ ทางเพศ ทาํ ใหเธอกลายเปนคนอารมณรา ยและยงิ่ รุนแรงเมื่อไดท ําคดีขม ขนื หลายครง้ั ท่ีขาดสตจิ นไมส ามารถควบคุมอารมณไ ดต อ งลงมอื ทํารา ยผตู อ งหาคดีขม ขนื เสมอ เมื่อเธอมาทําคดีชายตายปริศนาคนหน่ึงที่ไมพบสาเหตุการตาย มีเพียงเบาะแสเดียวคือ กอนตายเขาจะไดรับไปรษณียอิเลก็ ทรอนิกส (E-mail) สงภาพในโรงเกลอื เกาๆ พรอ มกับเสยี งจากกลองดนตรีทช่ี วนขนหวั ลุก สะกดใหเธอสงบนิง่พยายามคน หาความจรงิ ใหได ตอมากม็ ชี ายตายในลกั ษณะเดยี วกันนี้อกี กอ นตายทุกคนไดรับอเี มลเหมือนกนั ทส่ี าํ คญั กวา นนั้ ชายทกุ คนที่ตายลว นเปน เพื่อนกัน เธอสบื คดนี รี้ ว มกับ ยนุ กี คูห ูชายหนมุ คนใหมทีเ่ พ่ิงเรยี นจบมาไดไ มน าน การทาํ งานยังไมคอยเขา ขากนั เทา ไรนกั โซยพู บวา เมอ่ื ชายเหลา นเ้ี ปด อเี มลจะมีเงาผหู ญิงดาํ ๆ ปรากฏข้ึน เคลอื่ นเขาหาและฆาชายเหลา น้นั


















































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook