Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Published by Chalermkiat Deesom, 2017-02-17 05:47:59

Description: The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Search

Read the Text Version

567government has felt keenly the necessity to enact new securities laws as a way to maintain itsregional stock market in an effective, safe manner and to vitalize investment. In June 2011, theLaos government officially asked for help from the Korean government. In response, Koreashared its experience and expertise to help Laos with the creation of new securities legislation.As a result, the new Laotian securities law was announced on January 17th, 2013, and has beenin effect since March 17th. The endeavour was expected to further boost the two countries’ friendly cooperationon legislative matters. Korea’s helping hand has now been extended to Belarus and Uzbekistan,both of which are in the process of amending their securities laws, and also to Myanmar andMongolia, which are amending their arbitration laws. According to the ministry of Justice, it willkeep working together with international organizations such as the Asia-Pacific Centre of the UNCommission on International Trade Law (UNCITRAL) to provide support and knowhow to anycountry that needs their securities or arbitration laws to be enacted or improved.17 - The Establishment of the International Judicial Cooperation Centre and the Judicial Training Programme The Supreme Court of Korea, mainly by the ‘International Judicial Cooperation Centre atthe Judicial Research Training Institute’ as a part of the Korean court system, is developingcontent for the education and training programmes. In the past, the training programmes wereon a basic level of introducing the Korean legal and court system, but with the start of Vietnam,it has been changed to a deeper content and more systematically organized system on theKorean law. The educating programme has been focused on Vietnam and other Mekong Rivercountries. For example, Vietnamese and Korean courts started their cooperation in 2002 and haveever since kept the relations going. In 2009, a 3 year plan was implemented to 1) aid in theconstruction of a law training centre, 2) dispatch a specialist to oversee the training courses inVietnam, and 3) dispatch IT specialists and offer other technical assistance. In 2013, anotherplan was implemented for the progression of the systems by 1) dispatching Korean judges andother specialists to Vietnam, 2) inviting Vietnamese judges for long, medium, and short termtraining, and 3) a collaborated open symposium.18 In 2008, 9 judges including the leader of the 17KOREA NET. [http://www.korea.net/NewsFocus/Policies/view?articleId=115200]. 2016.6.6. 18 In 2013, a medium term training programme facilitated a research on intellectual property forthe 3 month training period.

568group, head of the Office of Court Administration in the Supreme People’s Court in Laos,participated in this training for 16 days. The Judges took various activities like visiting institutions,having lectures, seminars, or experiencing Korean traditional cultures. In this training, lecturescomposed of 9 topics were held for them. The training programmes largely depend on the continuous cooperation and long-termprojects on the development of various training activities, overview of results, and overcomingthe barrier of language. IV. The future direction of the Korean Legal Exchange Support activities to the Mekong River Countries There are several ideas for the future direction of the Korean ODA in law as below; 1. Long-term education systems based on the experience of Korea Many Mekong River countries are still in the case of monopolization by the militarydictatorship in power or spread of corruption of public officials. Although they can be politicallysensitive parts of the countries, in the long run, the countries should be helped to overcomethese problems through the legal system and improve legal consciousness. Therefore, the lawexperts and government officials of these countries should find it necessary to sincerely carryout the rule of law training from the experience of Korea.19 In addition, there is corruptionthat acts as an obstacle to national development, and it is necessary to send analysis regardingthe types of methods and effective that is used on eradicating the chains of corruption. Thiseducational support project should sincerely convey the past experience of thedemocratization process, the jurist role, in addition to human rights suppression recovery fromsuccessful democratization process in Korea. In addition, there is a need to transfer specifically to the role of Korea's ConstitutionalCourt and the Court, the realization plan of salvation right of the people to the justice systemand the rule of law. In addition, due to current limited aspects of criminal procedure,prosecutions, court secretary, business registration, professional education limited and particulartechnical field, it is necessary to prepare the Administrative Procedure Act, the AdministrativeAppeals, Freedom of Information Act, Local Government and education support project for theinterchanged countries’ legal system of administrative areas that are closely related to securityand legal rights of citizens, and various finance-related legal systems, including the law sector. 19 In other words, including the interpretation and application of laws, effective relief of right way,etc., theory of state to administrative related theoretical and practical training is required.

569In the long term, it is necessary to build custom systems, considering the nature of theeducation system in transition, including through support to local legislation Korea. In order toattain this, there will be a need to identify and consider ways to take advantage of this andrelated personnel to oversee the Legislation and Legal half of Korea administrations. The Court has actively conducted exchanges and cooperation in Asia and the judiciary,particularly in developing countries in Asia to invite foreign judges through the Judicial TrainingProgramme by providing training programmes. The diversification and specialization of thetraining programme are required in accordance with international judicial exchange progresses.Lecture and seminar programmes, especially the target of a foreign judge will need to beconfigured to be more systematic and consistent. The description is also important for theoverall Korea’s judicial system, but developing teaching programmes specifically focused onthe characteristics of the Koreanlaw system, education target countries should be developed,especially for the topics of interest. Government Scholarship for foreign student Projectcurrently in force in the Republic of Korea has long-term judicial exchanges, as well as toachieve a positive effect even in the various parts of the political economy. 2. Development Programs to support Judicial Reform The issue of judiciary reform in the Mekong River Countries for the rule of law is a veryimportant issue and is also a difficult field where results are not immediately apparent. In thecase of Myanmar, a military dictatorshipgave a negative impact on the legal professionalism andthe independence of the courts. As it owns most of the military and economic power in thecountry under the authoritarian regime, a conflict or dispute between the private economicentities (such as companies) against the country was greatly reduced. Eventually,it was verydifficult to accumulate many cases (case laws) on the various disputes. The legal situations of many Mekong River Countries were similar to the situation inMyanmar. In other words, it is a fact that many of these countries have much room forimprovement in the application of the rule of law over and above the actual constitutionalprinciple. The core of Korean Legal Exchange Support work should be the ultimate support ofthe judicial reform of these countries and to create a situation in which the rule of law acts as areality and not the support of law technology. What is more important in the ODA work, is thatof ensuring the voluntary initiative support for these countries.

570 3. Market Economy Reform Legislation Support Many Mekong River Countries such as Vietnam, Cambodia, Laos, and Myanmar are thecountries that break from socialist economic systems and are socalled the transition economiesthat have introduced market economy systems. These transition countries have started topromote the most open economic policies since the late 1980s, and by the 1990s thesecountries earnestly transitioned from socialist economies to capitalist economies. Efforts andchanges in the economies of these reforms have resulted in counting the contents of the legalsystem and laws in many advanced capitalist countries. Previous legal framework of thetransition to a market economy, Vietnam, Cambodia, Laos and Myanmar were based oncommon law, colonial law and socialist legal systems. However, with the introduction of market economy, these countries govern the otherhand, foreign investment through the introduction of a new company legislation thatcommonly introduced a policy that provides incentives for foreign direct investment (FDI), andexplore the institutional changes for a business friendly environment that proposed rules ofprocedure. In accordance with the Western model, researches for new law regulations areprepared for the establishment and operation of such companies. Therefore, legal exchange activities for these countries need to focus on the goal ofbuilding a market economy legal system. With the help of various workshops, seminars as wellas training programs held by legal experts and policy makers, basic training on foreigninvestment law, business law, civil law, commercial law, maritime law, antitrust law, security(stock exchange) law will be provided. Also, improvement in law-making procedures willsupport economic related laws such as business law, real estate law, tax law and bankruptcylaw. Above all, in order to improve the justice sector reform and conflict resolution, it wouldrequire training for judicial officials, conflict resolution training plans, training administration ofjustice, and arbitrator training for judicial management. V. Final Remarks The Korean FTA policy is useful for improving or expanding the economic cooperationwith the Mekong River Countries. The Korea-ASEAN FTA provides more preferential tradeenvironments to the members than the normal WTO system. The partners will find more andbetter legal tools to the FTA environment for their goals. Recently, the establishment ofbilateral FTA (such as the Korea-Vietnam FTA) relations is one of the emerging approaches forthe purpose.

571 The FTA-ODA combined policy and norm is needed for the Korea-ASEAN relation. Theharmonization or strategic cooperation of the policies on ODA among the partners is alsouseful. The best use of FTA, the legal infrastructure, may make benefits for private and publicfields. Therefore, it is considerable to harmonize some elements involved in FTA andthe ODAprocess with the reinforcement and relevance of ODA-FTA norm. This concept is very useful tothe relations of the Korea-Mekong River Countries because many of the River countries aremajor Korean ODA work partners. As for Korean ODA projectsin the legal field,namely ‘Legal Exchange Support’is a goodexample. Korea has several cases on the legal ODA works mostly with the Mekong Rivercountries.Some of the countries still need more legal reforms to comply with internationalstandards. Therefore, the legal cooperation among the members with Korea is needed. Thelegal systems or information of Korea may be helpful. Specifically speaking, Korea’s experienceof economic and political development from its developing stage to now will be very helpfulto them in their developing stage. Based on the different situations of certain legal fields amongthe members, Korean legalODA projects can make more effective solutions to certain countries of the projects.Conclusively, the bilateral FTAs can play an important role in much cooperation of other fieldsincluding the ODA issue. ReferencesChoi, W. M. (2007). Legal Analysis of Korea-ASEAN Regional Trade Integration.Journal of World Trade Vol.41 Issue3.Kluwer Law International.Kim, B. C. (2007). Understanding Free Trade Agreemen. Seoul, Korea: Korea Corporate Legal Affairs Association.Kim, B. C. (2015). The evolution of the Korea-Southeast Asia FTA laws.Information Vol.18 No.11. International Information Institute.Shim, C. S. and Lee, H. L. (2015).The Korean Aid for Trade and its Implication to Developing Countries, Information Journal.Vol.18 No.1. International Information Institute.Vergano, P. (2009, 30 June). ASEAN Dispute Settlement Mechanism and its role in a rule-based community: Overview and Critical comparison. Asian International Economic Law Network (AIELN) Inaugural Conference.Winters, A. McCulloch, N. and Mckay, A. (2004). Trade Liberalization and Poverty: The Evidence So Far. Journal of Economic Literature Vol.42 No.1.

572Asia Regional Integration Center. Asian Development Bank, [http://aric.adb.org/FTAbyCountryAll.php]. 2016.5.26.Mekong River Commission.[http://www.mrcmekong.org/mekong-basin]. 2016.6.15.ODA KOREA. [http://www.odakorea.go.kr/index.jsp]. 2016.5.29.KOREA NET. [http://www.korea.net/NewsFocus/Policies/view?articleId=115200]. 2016.6.6.

573 A study on unusual imagination in Phra Aphai Mani: focusing on conjugal relations between Human and Non-human Beings การศึกษามโนภาพเหนือธรรมชาติในเรอ่ื ง พระอภัยมณี : ความสัมพนั ธฉนั ทส ามีภรรยาของมนษุ ยก ับอมนษุ ย* Keun-hye, Shin, Ph.D. **บทคัดยอ เร่ือง พระอภัยมณี ของสุนทรภูเปนวรรณคดีช้ินเอกและจินตนิยายอันโดงดังของไทย เรื่องราวการมีความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยอาจจะนับวาเปนสวนที่นาสนใจมากที่สุดสวนหนึ่งของวรรณคดีเร่ืองนี้ บทความนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือพิจารณาลักษณะความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยท ่อี าจเรียกวา มโนภาพเหนือธรรมชาติใหเปนจริงในเรื่อง พระอภัยมณี และวิเคราะหความหมายของความสมั พันธฉ นั ทส ามภี รรยาดังกลา ว เร่ืองราวเกี่ยวกับความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางพระอภัยมณีซึ่งเปนทั้งมนุษยและตัวเอกของเร่ืองกับนางผีเส้ือสมุทรและนางเงือกซึ่งเปนอมนุษยอยูตอนเริ่มเรื่องและเปนตัวกระตุนความสนใจของผูอาน และเปนเรื่องราวท่ีโยงไปสูการดําเนินตอนตาง ๆ จํานวนมากตลอดเร่ืองใหสมบูรณ ความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนษุ ยก บั อมนษุ ยใ นเร่ือง พระอภัยมณี เปนความสัมพันธที่ไมตอเนื่องไปตลอดและจบลงดวยความตายหรือการพลัดพรากท้ังสิ้น จึงแสดงใหเห็นขอเท็จจริงท่ีวาความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยนั้นเปนไปไมไดท ค่ี วามเหนือธรรมชาตแิ ละธรรมชาติจะกลมกลนื กนั และอยูรว มกันไดคําสําคัญ: พระอภัยมณี, มนษุ ยกบั อมนุษย, ความสมั พันธฉ นั ทส ามภี รรยา, มโนภาพเหนอื ธรรมชาติ * This paper is provisional. It is only for presentation in the seminar. ** Associate Professor, Department of Thai, Faculty of Oriental Languages, Hankuk University ofForeign Studies.

574Abstract Phra Aphai Mani, a poetic tale by Sunthon Phu is one of the great poetic tales andwell known fantasy stories of Thailand. The stories of conjugal relations between human andnon-human beings may be considered as the most attractive part of this literature. This articleaims to examine aspects of conjugal relations between human and non-human beings thatmight be called embodiment of unusual imagination in Phra Aphi Mani and to determine themeanings of those conjugal relations. Stories about conjugal relations between human and non-human beings, namely PhraAphai Mani who is a human and a protagonist and both a female Yak or ogress and a mermaidwhich are non-human beings, are located at the beginning of the literature and stimulate thereader's curiosity and then make the story of large volume can be completed by variousepisodes. Conjugal relations between human and non-human beings in Phra Aphai Mani do notlast all the way and end with the death or separation. This shows that harmony and co-existence of the supernatural and the natural is not possible.Keywords: Phra Aphai Mani, Human and Non-human Beings, conjugal relations, unusual imagination1. บทนํา เร่ือง พระอภัยมณี 1ของสุนทรภู กวีเอกของไทยเปนท้ังวรรณคดีชิ้นเอกและจินตนิยายอันโดงดังของไทยดวย โลกจินตนาการในเร่ือง พระอภัยมณี ประกอบดวยปจจัยเชิงวรรณคดีซ่ึงเปนส่ิงที่เหนือธรรมชาติและเทพนิยายและยังแสดงใหเห็นถึงมุมมองท่ีแตกตางเชิงยุคสมัยของยุคน้ันดวย โครงสรางของวรรณคดีเรื่องน้ีแหวกประเพณีของวรรณคดีไทยในยุคเกา มีเนื้อหาที่เปนจินตนาการซ่ึงล้ําสมัยและมีตัวละครมีมาจากหลากหลายชนชาติ ซึ่งเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับผูประพันธในยุคเดียวกันแลว จะแสดงใหเห็นถึงความมีวิสัยทัศนและความเปดกวาง ตลอดจนมีความเปนนักคิดยุคใหมดวย และย่ิงไปกวาน้ัน วรรณคดีเร่ืองน้ียังหลอมรวมเอาความเขาใจเก่ียวกับพาณิชย สภาพสังคมท่ีกําลังพัฒนาและเปลี่ยนแปลง และความรุงเรืองขึ้นจากการคาขายทางทะเลเขามาไวดวย เรอ่ื ง พระอภัยมณี เปนวรรณคดแี บบนิทานคํากลอนทม่ี ีความยาวมากถึง 94 เลมสมุดไทย เร่ืองราวหลัก ๆเปนการผจญภัยของพระอภัยมณีซ่ึงเปนตัวเอกของเรื่อง และผูกโครงเร่ืองยอย ๆ มากมายมาไวรวมกันตอนที่โดงดังมากที่สุดคือ “ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร” และ“ตอนกําเนิดสุดสาครและตอนสุดสาคร 1 บทความฉบับน้ีใชฉ บบั หอสมุดแหงชาติ (ไทยควอลิต้บี คุ ส (2006), 2555) ในการวเิ คราะหแสดงชือ่ วรรณคดโี ดยใชร ูปแบบ เรือ่ ง พระอภยั มณี และแสดง ชอ่ื ตัวเอกของเรือ่ งโดยใชร ูปแบบ พระอภัยมณี

575เขาเมืองการะเวก” เน่ืองจาก “ตอนกําเนิดสุดสาครและตอนสุดสาครเขาเมืองการะเวก” เปนตอนท่ีบรรจุอยูในหนังสือแบบเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4-6 และ “ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร\" เปนตอนที่บรรจุอยูในหนังสือแบบเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1-3 (ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ : 2553, 65) ดังน้ัน คนไทยทุกคนจึงมักจะนึกถึงทั้งสองตอนนี้เม่ือเอยถึงเร่ือง พระอภัยมณี จุดท่ีนาต่ืนเตนของตอนดังกลาวนี้คือ การมีตัวเอกของตอนเปนอมนุษย2 นั่นเอง นางผีเส้ือสมุทรซึ่งเปนยักษ เปนเมียคนแรกของพระอภัยมณี สุดสาครก็เปนลูกของพระอภัยมณีที่เกิดกับนางเงือกซึ่งเปนอมนุษย ดังน้ัน แมรูปลักษณภายนอกจะเปนมนุษย แตก็สามารถมองวาเปน อมนุษยไดเ ชน กัน ตัวละครอมนุษยท่ีโดดเดนที่สุดในเร่ือง พระอภัยมณี คือยักษและเงือกนํ้า ท้ังนางผีเสื้อสมุทรและนางเงือกน้ีเปนหญิงที่มีความสัมพันธฉันทสามีภรรยา3กับพระอภัยมณี ซึ่งเปนตัวเอกของเร่ือง เรื่องราวการมีความสมั พันธฉ นั ทสามีภรรยาระหวางมนษุ ยก บั อมนุษยน ี้อาจจะนับวา เปนสว นท่นี า สนใจมากที่สดุ สว นหนง่ึ ของวรรณคดีเรื่องนี้ก็วาได เน่ืองจากแมวาจะมีท่ีมาจากความอปกติและความเหนือจริงซึ่งหลุดพนออกไปจากความเปนจริงก็ตาม แตก็ยังใหอารมณความรูสึกที่เปนเหมือนมนุษยปกติท่ัวไป อาทิ อารมณความรูสึกฉันทสามีภรรยา หรืออารมณความรูสึกระหวางพอแมกับลูก นี่จึงอาจจะทําใหเร่ืองราวความสัมพันธฉันทสามภี รรยาระหวา งมนุษยก บั อมนษุ ยที่มาจากจินตนาการเหนือธรรมชาติถูกวางไวเ ปนตอนเริ่มเรื่องและชวนใหผ อู านอยากอานเร่ืองราวตอไปเรื่อย ๆ ในขณะเดียวกัน สินสมุทรกับสุดสาคร ซ่ึงเปนบุตรที่เกิดจากความสัมพันธฉนั ทสามีภรรยาระหวางมนุษยกบั อมนุษยก ็ยังเปน ตัวละครหลกั ของเรอ่ื งท่ีมีบทบาทสาํ คัญในการดําเนินเรอ่ื งราวของวรรณคดเี รอ่ื งนดี้ ว ย บทความนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือพิจารณาลักษณะความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยท่ีอาจเรียกวามโนภาพเหนือธรรมชาติใหเปนจริงในเรื่อง พระอภัยมณี ของสุนทรภู โดยมีความสัมพันธฉันทสามภี รรยาระหวางพระอภัยมณีซึ่งเปนตัวเอกของเรื่องกับนางผีเส้ือสมุทรและนางเงือกซ่ึงเปนอมนุษยเปนหลักและวเิ คราะหความหมายของความสมั พนั ธฉ นั ทสามีภรรยาดังกลา ว2. ลักษณะความสมั พันธฉ ันทสามภี รรยาระหวา งมนษุ ยกบั อมนษุ ยในเรื่อง พระอภัยมณี เร่อื ง พระอภัยมณี ของสุนทรภู เปนวรรณคดียอดเยี่ยมท่ีสุดของไทยเร่ืองหนึ่งซ่ึงมีผูอานเปนจํานวนมากจนถึงปจ จบุ นั นี้ ไมม บี นั ทกึ แนชดั วา เรม่ิ ประพันธข้ึนเมื่อใดแตสันนิษฐานวานาจะเริ่มประพันธขึ้นประมาณชวง ป1821-1823 โดยมีการแตง ๆ หยุด ๆ เรอื่ ยมาจนเสร็จสมบูรณประมาณป 1845 ซึ่งกินเวลามากกวา 20 ป เร่ืองพระอภัยมณี เปนวรรณคดีไทยที่เกิดข้ึนมาโดยรับอิทธิพลของวรรณคดีจีน วรรณคดีไทยในอดีตและ รวมสมัยเหตุการณเรื่องราวท่ีสุนทรภูไดยินไดฟงมา และจินตนาการของสุนทรภูเอง วรรณคดีตางชาติที่ไดรับอิทธิพลมานาจะเปนเร่ือง อาหรับราตรี และ เร่ือง ไซฮ่ัน (กุสุมา รักษมณี : 2557, รื่นฤทัย สัจจพันธุ : 2553, 2 อมนุษยในท่ีนี้หมายถึงตวั ละครเหนือธรรมชาติที่มาจากการจนิ ตนาการของมนุษยกลา วคือเปนส่ิงมีชีวิตท่ีไมมอี ยูจริงตาม ธรรมชาตหิ รือโลกปกติ 3 ความสัมพันธฉนั ทส ามภี รรยาในท่ีนีเ้ ปน การผูกสัมพันธฉันทคนรักระหวางหญิงชายและไปสูสมั พันธฉนั ทส ามภี รรยาในที่สดุ

576Srisurang Poolthupya : 2010) จึงเห็นไดวาเนื้อเร่ืองของเร่ือง พระอภัยมณี ไดรับอิทธิพลมาจากวรรณคดีตา งชาตแิ ละในขณะเดยี วกนั สนุ ทรภูก็บรรจงเติมจนิ ตนาการอันสรา งสรรคเ ปน อยางย่ิงของตนเองเขาไปอีกจนทําใหเกดิ เปน ผลงานอันยอดเย่ียมขนึ้ มา เคาโครงเร่ืองมีการผจญภัยของพระอภัยมณีเปนแกน ซึ่งสามารถวิเคราะหเคาโครงเร่ืองจากการเดินทางของพระอภัยมณีไดอยา งสรปุ ดังตอไปนี้ พระอภัยมณีและศรีสุวรรณเปนโอรสของทาวสุทัศนและประทุมเกสรแหงกรุงรัตนา ท้ังสองไปรํ่าเรียนวิชาการเปาปและกระบ่ีกระบองจนชํ่าชองเปนเลิศ แตทาวสุทัศนโกรธมากเพราะคิดวาสิ่งท่ีลูกท้ังสองเรียนมาไมมีประโยชนตอการปกครองบานเมืองจึงขับไลลูกทั้งสองออกจากเมือง ระหวางระเหเรรอนอยู ทั้งสองคนไดไปพบกับพราหมณ 3 คน ทันทีที่พระอภัยมณีเปาปใหฟง พราหมณท้ังสามคนก็เคล้ิมหลับไป ขณะนั้นเองนางผีเส้ือสมุทรมาเห็นพระอภัยมณีก็นึกรักจึงอุมพระอภัยมณีไปไวในถ้ําของตน เม่ือศรีสุวรรณกับพราหมณทงั้ สามต่นื ขึ้นมาไมเ ห็นพระอภัยมณกี อ็ อกตดิ ตามหาพระอภยั มณี นางผีเส้ือสมุทรกับพระอภัยมณีอยูกินกันเปนเวลา 8 ป และมีลูกชายดวยกันหนึ่งคนช่ือสินสมุทรพระอภัยมณีไดรับความชวยเหลือจากครอบครัวของนางเงือกจนหนีจากนางผีเส้ือสมุทรไปยังเกาะแกวพิสดารพรอมกับสนิ สมุทรได หลังจากน้ัน พระอภยั มณกี ็อยูกินกับนางเงอื กทเี่ กาะแกว พิสดารจนมีลูกชายดว ยกนั หน่ึงคนซึ่งตอมาคือสดุ สาคร ทเ่ี กาะแกว พิสดารมีพระฤๅษีทีค่ อยปอ งกนั ไมใหนางผีเสอ้ื สมทุ รเขามาในเกาะได อีกฟากหนึ่ง ที่เมืองผลึก ทาวสิลราชมีธิดาหน่ึงคนชื่อสุวรรณมาลีซ่ึงหมั้นหมายจะสมรสกับเจาชายอุศเรนแหงเมืองลังกา วันหนึ่งทาวสิลราชพาสุวรรณมาลีออกไปเที่ยวทะเลและเผชิญกับลมพายุจนเรือแตกทําใหพัดไปติดอยูบนเกาะแกวพิสดาร สุวรรณมาลีไดพบกับพระอภัยมณีและเกิดปกใจชอบ เมื่อทาวสิลราชจะเดินทางกลับเมืองก็ชวนพระอภัยมณีกลับไปดวย และพระอภัยมณีจึงฝากนางเงือกที่กําลังตั้งครรภใหพระฤๅษีดแู ล นางผีเส้ือสมุทรเห็นพระอภัยมณีขึ้นเรือออกจากเกาะก็ไลตามไปพังเรือจนเรือแตก ในท่ีสุดทาวสิลราชก็จมนํ้าตาย สวนพระอภัยมณีหนีขึ้นไปบนเกาะอ่ืนตามลําพัง พอเห็นนางผีเสื้อสมุทรไลตามมาทัน พระอภัยมณีก็เปาปฆานางผีเส้ือสมุทร ขณะน้ันเองอุศเรนผูเปนคูหม้ันของสุวรรณมาลีซ่ึงออกตามหาสุวรรณมาลีก็ไดมาพบพระอภัยมณี จึงไดพาพระอภัยมณีไปดวย ขณะนั้นแมวาสุวรรณมาลีกับสินสมุทรจะไดกลับมาพบกันอีกคร้ังแตสินสมุทรกลับไมยอมคืนสุวรรณมาลีใหกับอุสเรน จึงเกิดการทําสงครามขึ้น อุศเรนรบแพและส้ินชีวิตลงเมื่ออุศเรนสิ้นชีวิตก็ทําใหเกิดสงครามยืดเย้ือตอไปเปนเวลานาน นางละเวงผูเลอโฉมไดข้ึนเปนกษัตรีแหงเมืองลังกาและทําสงครามเพื่อแกแคนใหพี่ชาย แตเมื่อพบพระอภัยมณีก็หลงรักและทําใหสงครามส้ินสุดลงภายหลัง พระอภัยมณีปลงไดในความไมแนนอนของโลกมนุษยจึงออกบวช และเมียผูเลอโฉมท้ังสองคนคือสวุ รรณมาลแี ละนางละเวงก็ออกบวชพรอ มกนั ดว ย

577 ดังท่ีไดเห็นจากในเคาโครงเร่ืองดานบน พระอภัยมณีมีความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับตัวละครหญิงหลายคน โดยสามารถสรุปตัวละครหญิงทมี่ ีความสัมพนั ธฉ นั ทสามภี รรยากับพระอภัยมณไี ดต ามลําดับ ดังตอไปน้ี1 นางผีเสอื้ ยกั ษ อมนุษย สนิ สมุทร2 นางเงือก เงือก อมนษุ ย สดุ สาคร3 สวุ รรณมาลี เจาหญงิ แหง เมืองผลึก / ไทย มนษุ ย สรอยสวุ รรณ / จนั ทรส ดุ า4 นางวาลี ไมสวยแตฉลาด มนุษย5 นางละเวง เจาหญงิ แหงเมอื งลงั กา / ตะวันตก มนุษย มังคลาพระอภัยมณี ตัวเอกของเรื่องเปนคนจิตใจดี พูดจาออนหวานเสมอ ปฏิบัติตอผูอื่นอยางสุภาพ โดยเฉพาะกบั ผูห ญิง และมลี กั ษณะเดียวกับตัวเอกชายในวรรณคดีไทยโดยท่ัวไป คือ เจาชู (นิธิ เอียวศรีวงศ : 2538, 325)ทั้งเรื่อง พระอภัยมณีมีความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับผูหญิงมากมายทั้งนางผีเสื้อสมุทรและนางเงือกซ่ึงเปนอมนุษย นางสุวรรณมาลี เจาหญิงผูเลอโฉมแหงเมืองผลึก นางวาลีซ่ึงแมรูปรางหนาตาไมสวยงามแตแสดงปญญาและความสามารถขอใหพระอภัยมณีแตงงานดวย ไปจนถึงนางละเวง เจาหญิงแหงเมืองลังกาอันเปนสัญลักษณของเมืองทางฝงตะวันตก ท้ังน้ี บทความน้ีจะมุงวิเคราะหเก่ียวกับความสัมพันธฉันทสามีภรรยาของพระอภยั มณีกับอมนุษย อันไดแก นางผเี สื้อสมุทรและนางเงือกเทา น้นั2.1 ลักษณะความสัมพันธฉ นั ทส ามภี รรยาระวางพระอภัยมณกี ับนางผีเส้อื สมุทร ดังที่ไดกลาวไวกอนหนานี้แลววา พระอภัยมณีและศรีสุวรรณถูกขับไลออกจากกรุงรัตนาและระหวางเดินทางระเหเรรอนอยูนั้นก็ไดไปพบกับพราหมณ 3 คน ทันทีที่พระอภัยมณีเปาปใหฟง พราหมณท้ังสามคนก็เคล้ิมหลับไป ขณะนั้นเอง นางผีเสื้อสมุทรไดยินเสียงปของพระอภัยมณีก็ออกมาดูและเกิดหลงรักในรูปโฉมท่ีงดงามของพระอภัยมณี จึงลักพาตัวพระอภัยมณีไปขังไวในถํ้ากลางทะเลและคอยปรนนิบัติจนพระอภัยมณียอมอยูกนิ ฉันทสามภี รรยาดวยแมไมเ ต็มใจนกั นางแปลงกายเปนสาวงามและย่ัวยวนใหพระอภัยมณีหลงไหล พระอภัยมณีบอกวามนุษยกับยักษจะรักกันไมได แตน างก็เอาชนะดว ยกําลังอันตัวเราเปนมนษุ ยบ รุ ุษชาย เจาเปน ยักษอ ยใู นวนชลสายเขาอิงแอบแนบขางอยอู ยา งน้ี เจา คิดรา ยลกั พาเอามาไยมนษุ ยยกั ษร กั กันดวยอันใด หรือมวี า ขอ ประสงคท ่ีตรงไหน ผดิ วสิ ัยทจี่ ะอยเู ปนคคู วรฯ (หนา 112)

578พระอภัยมณีรูดีวา แมจะพยายามจนสุดแรงก็ไมสามารถออกไปจากถ้ําได จึงเกลี้ยกลอมนางผีเส้ือสมุทรใหสัญญาวาแมจะโกรธเพียงใดก็จะไมจับตนกิน หลังจากน้ัน พระอภัยมณีกับนางผีเส้ือสมุทรก็อยูกันอยางรักใครกลมเกลียว นางผีเส้ือสมุทรออกไปหาผลไมนอกถ้ํามาปรนนิบัติสามีอยางดีทุกวัน และแปลงรางเปนหญิงงามเสมอเม่ืออยูกับสามีในถ้ํา ทั้งสองอยูดวยกันเปนเวลา 8 ป และมีลูกชายดวยกันหนึ่งคนคือสินสมุทร เปนลูกทเี่ กดิ จากมนุษยแ ละอมนุษย มรี ปู โฉมงดงามและพละกาํ ลงั มหาศาลซ่ึงไดร ับการถา ยทอดมาจากพอและแม นางผีเสื้อสมุทรขังสามีกับลูกชายเอาไวในถํ้าและคอยหาอาหารมาปรนนิบัติเล้ียงดู แตสินสมุทรลักลอบออกไปพาครอบครัวเงือกมาชวยพาตนและพอหนี พระอภัยมณีออกอุบายหลอกนางผีเส้ือสมุทร เมื่อนางผีเสื้อสมุทรรูก็ออกไลตามไปและขอรองใหสามีและลูกกลับมาไปหาตน แตลูกชายปฏิเสธเพราะรูแลววาแมเปนยักษ และแลวพระอภัยมณีก็หนีไปถึงเกาะแกวพิสดารไดสําเร็จดวยความชวยเหลือของนางเงือกนางผีเส้ือสมุทรตองหนีลงไปในทะเลเพราะทนคาถาของพระฤๅษีไมได แตก็ไมไดกลับไปอยูที่ถํ้าของตนเองคอยเฝาอยูรอบ ๆ เกาะและเขาโจมตีเรือท่ีพระอภัยมณีและสินสมุทรขึ้นในภายหลัง ในท่ีสุดเรือก็แตกพระอภัยมณีหนีข้ึนไปอยูบนภูเขาสูง นางผีเส้ือสมุทรตามข้ึนไปไมได จึงไดแตคร่ําครวญออนวอนขอใหสามีกลับมาและอยาไดท อดทง้ิ ตน พระอภัยมณีขอใหนางผีเส้ือสมุทรกลับไปอยูถ้ําดังเดิม แตนางก็ไมยอม พระอภัยมณีซ่ึงไมเหลือเยื่อใยใหกับนางผีเสื้อสมุทรแลวบอกใหทุกคนอุดหูแลวก็เอาปออกมาเปา เม่ือนางผีเส้ือสมุทรฟงเสียงปก็อกแตกตายดังกลอนตอนหนึง่ ดงั น้ีแลว ทรงเปา ปแ ลวใหแจว เสียง สอดสาํ เนยี งนว้ิ เอกวเิ วกหวานพวกโยธผี ีสางทั้งนางมาร ใหเสียวซา นซับซาบวาบหวั ใจแตเ พลินฟงน่งั โยกจนโงกหงุบ ลงหมอบซบุ ซวนซบสลบไสลพอเสยี งปทแี่ หบหายลงไป ก็ขาดใจยักษร า ยวายชวี าฯ (หนา 317)2.2 ลกั ษณะความสัมพันธฉ ันทสามภี รรยาระวา งพระอภยั มณกี ับนางเงือก สินสมุทร ลูกชายซ่ึงเกิดกับผีเส้ือสมุทรไดรับถายทอดพละกําลังจากแมจึงออกมาจากจากถ้ําไดจนไปพบกับเงือกน้ํา เงือกซึ่งเขาใจภาษามนุษยจึงชวยเหลือพระอภัยมณีกับสินสมุทรใหหนีออกมาได เมื่อพระอภัยมณีไดพบกบั ครอบครัวของเงือก ก็ตกหลมุ รักในความงามของลกู สาวเงือกพงศกษัตรยิ ท ัศนานางเงือกนอย ดูแชม ชอยโฉมเฉลาทั้งเผา ผมประไฟพักตรลักษณล ํา้ ลวนขาํ คม ทง้ั เน้อื นมนวลเปลง ออกเตงทรวงขนงเนตรเกศกรออ นสะอาด ดงั สรุ างคนางนาฏในวงั หลวง (หนา 247) พระอภัยมณีเดินทางไปถึงเกาะแกวพิสดารไดดวยความชวยเหลือของครอบครัวเงือก แตตองแลกดวยชีวิตของสองสามีภรรยาเงือกดวย ท้ังสองถูกนางผีเส้ือสมุทรท่ีไลตามมาฆาตายดวยความโกรธที่ชวยพาสามี

579และลูกของนางหนี ความคับแคนใจตอสามีและลูกของนางผีเสื้อสมุทรมุงไปยังนางเงือก นางเงือกเห็นพอแมถูกนางผีเส้ือสมุทรฆาตายก็เสียใจและบอกวาจะยอมใหนางผีเสื้อสมุทรกินเปนอาหาร พระอภัยมณีปลอบใจนางและคอยอยูเคยี งขางจนในท่สี ดุ ก็สารภาพรกั นาง ขณะน้ัน นางเงือกไมทันไดตั้งตัวกับการเปนคูกับมนุษย แตพระอภัยมณีบอกวาสัตวทั้งมวลเปนสามีภรรยากันได และขึ้นอยูกับความรักและความกลมเกลียวกัน ทั้งสองจึงตกลงอยูกันฉันทสามีภรรยาเปนเวลา 7เดือนจนกระทั่งวันที่พระอภัยมณีออกจากเกาะไปกับเรือของสุวรรณมาลี ขณะที่ท้ังสองคนพลัดพรากกันน้ันนางเงือกกําลังต้ังครรภได 3 เดือน พระอภัยมณีไดใหธํามรงคครุฑบุษรากับกุณฑลทองแกนางเงือกเพ่ือมอบใหลกู ชายของตนและฝากฤๅษใี หชวยดูแลนางเงอื ก เม่ือนางเงือกต้ังครรภครบกําหนดก็ใหกําเนิดบุตรเปนเด็กผูชายซึ่งเปนมนุษยโดยสมบูรณ ท้ังรูปรางและหนาตาถอดแบบมาจากพระอภัยมณีทั้งหมด ทันทีท่ีคลอดออกมา ก็มีพละกําลังมหาศาล นั่งได คลานไดและวา ยน้าํ ไดเ องโดยท่ีไมตองหัดใหเลย พระฤๅษีต้ังช่ือใหเด็กคนนี้วา สุดสาคร เมื่อผานไป 10 เดือน สุดสาครก็เติบโตขึ้นอยางรวดเร็วจนเทากับมนุษยท่ัวไปท่ีอายุ 10 ขวบ นางเงือกสวมแหวนท่ีพระอภัยมณีมอบใหไวตางหนาที่นิ้วมือขางขวาของลูก สวนธํามรงคประดับศีรษะนั้นฝากไวกับพระฤๅษีเพ่ือเก็บไวใชในยามจําเปนพลางพูดวา “ในชาตนิ ี้วบิ ากจะจากกนั เพราะตางพนั ธุผดิ เพศสังเวชใจ” (หนา 491) กอนท่ีจะจากไปจงึ หยิบของสองสิง่ ซง่ึ ซอนไว เปนของพระอภยั ใหโอรสทาํ ขวญั ลกู ผกู ธาํ มรงครตั น ไวก ับหตั ถเ บ้ืองขวาใหปรากฏกุณฑลทองขององคพระทรงยศ ใหด าบสเกบ็ ไวใ หก ุมาร (491-2)3. ความหมายของความสมั พันธฉันทส ามภี รรยาระหวา งมนุษยกับอมนุษยใ นเรือ่ ง พระอภยั มณี พระอภัยมณีมีความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับตัวละครผูหญิงทั้งหมด 5 คน โดยในจํานวนนี้เปนความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับอมนุษยคือนางผีเสื้อสมุทรและนางเงือก สิ่งที่นาสนใจคือการท่ีมีความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับอมนุษยท้ังสองครั้งเกิดขึ้นกอนความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับมนุษย โดยนางผีเส้ือสมุทรเปนเมียคนแรกและนางเงือกเปนเมียคนทสี่ องท่อี อกมาตงั้ แตต อนเรมิ่ เร่ือง พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายของ ยกั ษ ไวดังตอไปน้ียักษ น. อมนุษยพวกหน่ึง ถือกันวามีรูปรางใหญโตนากลัว มีเขี้ยวงอก ใจดําอํามหิต ชอบกินมนุษย กินสัตว โดยมากมีฤทธ์เิ หาะไดจําแลงตัวได, บางทใี ชป ะปนกับคําวา อสูร รากษส และมาร ก็ม.ี (2556, หนา 943)ยักษเปนอมนุษยชนิดหนึ่งซึ่งปรากฏในวรรณคดีและศาสนา ยักษตามความเชื่อของคนไทยไดรับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธ และเรียกไดวาเปนสิ่งที่มาจากจินตนาการที่คุนเคย มีรูปแบบตายตัวดงั ทเี่ หน็ ไดจ ากความหมายตามพจนานกุ รม นางผีเส้ือสมุทรในเร่ือง พระอภัยมณี ก็เปนยักษ ยักษผูหญิงสามารถแปลงรางเปนสาวงามได และเมื่อออกไปลาสัตวเปนอาหารจะคืนรางเดิมเปนยักษ การลักพาตัวพระอภัยมณีซ่ึงเปนตัวเอกของเรื่องไปต้ังแต

580ตอนเร่ิมเรื่องเปนการเริ่มเขาสูการผจญภัยของพระอภัยมณี และในขณะเดียวกันก็ทําใหผูอานอยากรูวาเรือ่ งราวตอ ไปจะเปนอยา งไรอีกดวย นางผีเสื้อสมุทรอยูกินกับพระอภัยมณีเปนเวลา 8 ป และใหกําเนิดลูกชายคือสินสมุทร แมวาจะเปนยักษ แตนางผีเสื้อสมุทรก็ดูแลสามีในฐานะภรรยาและดูแลลูกเปนอยางดี จนในที่สุดก็ตองจบชีวิตลงเพราะความรักในฐานะผูหญิงท่ีรักสามีสุดหัวใจ แมวาผูหญิงโดยท่ัวไปจะรักลูกมากกวาสามีแตใ นเรอื่ งนี้จะเหน็ อยางชัดเจนวานางผเี ส้ือสมุทรรักสามมี ากกวาลูก ลูกชายท่ีเกิดจากความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางนางผีเสื้อสมุทรกับพระอภัยมณีคือสินสมุทรรปู รางของสินสมทุ รเหมือนมนุษยท่วั ไป แตด วยความท่เี ปน ลูกของยักษจึงมีพละกําลังความสามารถเหนือ มนุษยแมวา สินสมุทรจะเปน ลกู กตัญู แตเ มือ่ รูวาแมเปน ยกั ษและพอ เปนมนษุ ยก ็เลือกท่ีจะใชช วี ิตเปน มนุษยเหมือนพอดงั นั้น จงึ คอยอยเู คียงขา งและชวยเหลือพออยางเต็มกาํ ลงั เสมอท้งั เรอ่ื งความรักและการทํา สงครามตลอดทัง้ เร่ือง นางเงือกเปนอมนุษยชนิดหน่ึงที่ปรากฏในเทพนิยายท่ีเปนเรื่องราวท่ีเก่ียวของกับนํ้า เลาตอ ๆ กันมาวาเปนคร่ึงคนคร่ึงสัตว สวนบนเปนมนุษยและสวนลางเปนปลา ความหมายตามพจนานุกรมคือ “เงือก ๒ น.สัตวน้ําในนิยาย เลากันวาทอนบนเปนคน ทอนลางเปนปลา.”4 เปนลักษณะของการผสมผสานและความธรรมดาท่ีปนขึ้นโดยเอาเอกลักษณของคนและสัตวมาผสมผสานกัน แสดงใหถึงการปนจินตนาการเชิงสมมุติของมนุษยใหเปนจริง มีตํานานเก่ียวกับเงือกมากมายทั่วโลก ประเทศไทยเองก็มีเรื่องราวตาง ๆ เก่ียวกับเงือกท่ีเลาขานกันมาตั้งแตในอดีต แตเงือกท่ีเปนท่ีรูจักดีที่สุดคือครอบครัวเงือกในเรื่อง พระอภัยมณี ในเร่ืองพระอภัยมณี สินสมุทรออกไปเที่ยวเลน เมื่อเห็นเงือกเปนครั้งแรกก็จับเงือกมาใหพอดูและถามพอวา“เหน็ ฝูงเงือกเกลือกกลง้ิ มากลางชล คดิ วาคนมีหางเหมือนอยา งปลา … เชนนี้ปลาหรืออะไรจะใครรู” (หนา 240)ครอบครัวเงือกชวยพระอภัยมณีและสินสมุทรใหหนีออกมาจากนางผีเมื้อสมุทรได จากนั้นนางเงือกลกู สาวก็กลายเปนเมียของพระอภัยมณีและใหก าํ เนิดลูกชายคอื สดุ สาคร ในความคิดของสุนทรภูน้ัน เงือกอาศัยอยูกลางทะเลแตรูภาษาของมนุษยจึงสื่อสารกับพระอภัยมณีไดแมวาจะไมแนชัดวาสุนทรภูนําเร่ืองของเงือกมาจากที่ไหน แตลักษณะของเงือกในเร่ือง พระอภัยมณี คอนขางไปทางเงือกของตะวันตกมากกวาเงือกในวรรณคดีเดิมของไทย (ปยตา วนนันทน : 2542, 44-45) เงือกในวรรณคดีไทยปรากฏใหเห็นมาตั้งแตยุคธนบุรี แตสันนิษฐานวาเงือกท่ีปรากฏในเร่ือง พระอภัยมณี นาจะเปนจนิ ตนาการทีไ่ ดม าจากการที่สุนทรภไู ดต ดิ ตอ กับพอ คาชาวตา งชาตใิ นสมยั นนั้ (กาญจนาคพนั ธ,ุ 2540) นางเงือกในเร่ือง พระอภัยมณี เปนครึ่งคนครึ่งปลา นางเงือกมีความเปนแมและเปนเมียที่สมบูรณ รักลูกและจงรักภักดีตอสามี ท้ัง ๆ ที่สามีท้ิงจากไป เม่ือลูกเกิด นางไมสามารถเลี้ยงดูลูกในน้ําเหมือนเงือกไดจงึ ฝากลูกไวกับพระฤๅษี แตกค็ อยมาปอนนมลูกวนั ละหลายครง้ั โคลงตอนหนึง่ ดานลางนี้นางเงอื กนาํ้ คํารพอภิวาท ขาเปน ชาตเิ ชอ้ื สตั วเ หมอื นมจั ฉาจะกลอมเกล้ยี งเลยี้ งมนษุ ยสุดปญ ญา ขอฝากฝาบาทบงสพุ ระทรงธรรมชวยเล้ยี งดกู มุ ารเหมือนหลานเถดิ เสยี แรงเกดิ กายมาจะอาสญัอันขาน้ีวสิ ัยอยูไ กลกนั เชากลางวนั เยน็ ลงจะสงนมฯ (หนา 491)4 พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หนา 295.

581 ลกู ชายท่เี กดิ จากความสัมพนั ธฉันทส ามภี รรยาระหวางพระอภัยมณีกับนางเงือกซึ่งเปนอมนุษยคือสุดสาครแมวา สุดสาครจะมีพละกําลังเหนือมนุษยแตก็มีรูปรางเหมือนมุษยปกติท่ัวไปจึงนับเปนมนุษย มีความกลาหาญความเพียรพยายามและความกตัญูอันเปนคุณลักษณะของเด็กโตท่ีรูความ แตขณะเดียวกัน สุดสาครก็ยังมีความเปนเด็กเล็กวัยสามขวบ คิดถึงแม อยากกินนมแม ทําใหผูอานสงสารอารมณคิดถึงแมอยางเด็กนอยจึงเปนตอนท่ีสรางอารมณสะเทือนใจแกผูอาน (รื่นฤทัย สัจจพันธุ, 81) การผจญภัยของสุดสาครเม่ือออกจากเกาะแกว พสิ ดารเพ่อื ไปตามหาพอ เปนหนึง่ ในนิทานเด็กท่ีโดง ดังท่สี ุดในประเทศไทย ในความสัมพันธฉันทสามีภรรยาของพระอภัยมณีกับนางผีเสื้อสมุทรน้ัน พระอภัยมณีถูกลักพาตัวไปขังเอาไปในถํ้ากลางทะเล พระอภัยมณีปฏิเสธนางผีเสื้อสมุทรวา “มนุษยยักษรักกันดวยอันใด ผิดวิสัยที่จะอยูเปนคูควรฯ” (หนา 112) แตสุดทายก็มีสัมพันธฉันทสามีภรรยากันอยางเสียมิได ดังน้ัน จึงเปนความสัมพันธฉันทสามีภรรยาแบบบังคับในขณะท่ีพระอภัยมณีเปนผูถูกกระทํา อาจกลาวไดวานางผีเสื้อสมุทรเปนยักษที่แหกกฎของโลกและทําลายความแนนอนลง จึงเปนผูที่จะตองไดรับการลงโทษ พระอภัยมณีนําพระธรรมคาํ สอนมาพูดใหนางผเี สอื้ สมทุ รท่ไี ลต ามมาอยา งไมล ดละกลับไปยงั ท่ีเดิมของตนดังกลอนตอนหนง่ึ ดังตอไปนี้จงฟงธรรมคาํ นับดบั โมโห ใหโ ทโสสรางเสื่อมคอยเสือ่ มใส.....อยาฆา สตั วตัดชีวิตคิดอุบาย จะจําตายตกนรกอเวจีพแี่ บงบุญบรรพชาสถาผล สวนกศุ ลใหสุดามารศรีกลับไปอยูคหู าในวารี อยา ไดม ีหว งใยอาลัยลาญอันตัวของอาตมากบั สานุศษิ ย กไ็ มคดิ คืนประเทศเขตสถานจะจําศีลภาวนาสมาทาน หมายวมิ านเมอื งสวรรคจ นบรรลยั ฯ (หนา 315)ถึงอยา งไรกต็ าม นางผีเส้อื สมทุ รกย็ งั ปฏเิ สธอยา งหนกั แนนวา “ไมนบั ถือฤๅษีหนผี ูหญงิ จะทอดทงิ้ เมียไวชาง ไมขันเรงสึกหามาจะไดไปดวยกัน อยาเทศนธรรมเลยไมพอใจฟง” (หนา 315) ในที่สุดนางตองอกแตกตายเพราะเสียงปของพระอภัยมณี แมวาจะแปลงกายเปนสาวงามไดและรักสามีมากเพียงใด แตสุดทายก็ไมสามารถอยูรว มกบั มนุษยไดย นื ยาวเนอื่ งจากเปน ยกั ษซ ึง่ เปน อมนษุ ย ในทางตรงกันขาม ความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางพระอภัยมณีกับนางเงือกกลับเปนแบบสมัครใจและเปนผูกระทํา ตอนที่พระอภัยมณีขอความรักจากนางเงือก นางเปนผูปฏิเสธวามนุษยกับอมนุษยอยูรวมกันไมไ ด พระอภยั มณีจงึ เกลยี้ กลอมนางดว ยคําพูดดงั ตอไปนี้ถึงตา งชาติวาสนาไดม าพบ กค็ วรคบเคียงชมประสมสองเจาโฉมงามทรามสงวนนวลละออง อยา ขัดขอ งคดิ หมางระคางใจประเวณีมีทั่วทุกตัวสัตว ไมจํากดั หา มปรามตามวิสัยนาคมนุษยครุฑสุราลัย สุดแตใจปรองดองจะครองกนั (หนา 266)

582 ความสัมพันธฉันทสามีภรรยากับนางเงือกเปนผลมาจากการจินตนาการของมนุษย สามารถตีความไดวา เปน การแสดงใหเ หน็ ถงึ ความอยากรูอยากเห็นของมนษุ ยเ กย่ี วกับความงามและการยอมรบั การอยรู ว มกนั ของมนุษยกับอมนุษย แตพระอภัยมณีก็ทิ้งคําพูดเกี่ยวกับความสัมพันธอันนี้ที่วา “จะยากเย็นเปนตายวายชีวีตามแตที่ผลกรรมไดทํามา แมนบุญปลอดรอดไปถึงไตรจักร ไมนานนักจักมาโลมโฉมมัจฉา” (หนา 301-302)เอาไวกอนจะจบสัมพันธและจากไป นางเงือกก็เขาใจสถานภาพของตนเองในฐานะอมนุษยและยอมรับในการพลดั พราก ความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางนางผีเส้ือสมุทรกับพระอภัยมณีและระหวางนางเงือกกับพระอภัยมณีเปนความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษย ซ่ึงไมอาจรักษาไวไดยืนยาวเหมือนความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยดวยกันเอง ตองจบลงดวยความตายหรือการพลัดพราก ทั้งน้ี แสดงใหเห็นถึงคานิยมของคนไทยท่ีวามนุษยตองอยูกับมนุษยดวยกัน ถึงอยางไรก็ตาม การใหกําเนิดลูกท่ีมีรูปรางเปนมนุษยคือสินสมุทรและสุดสาครจากความสัมพันธฉันทสามีภรรยาทั้งสอง ก็อาจแสดงใหเห็นถึงมุมมองของโลกท่ีมีมนุษยเ ปน ศนู ยก ลางดว ย4. สรปุ ที่ระยองและเกาะเสม็ดซ่ึงเปนท่ีรูจักกันดีในฐานะบานเกิดของสุนทรภูและฉากของเร่ือง พระอภัยมณี มีรูปปนสุนทรภูและตัวละครเร่ืองพระอภัยมณี เชน พระอภัยมณี นางเงือก อยู และเร่ือง พระอภัยมณี ไดกลายมาเปนรอ ยแกว การตูน ภาพยนตร ละครโทรทัศนเ วอรช ัน่ ตา ง ๆ ทมี่ คี วามหลากหลาย เรื่อง สุดสาคร โดยเฉพาะ“ตอนกาํ เนิดสุดสาคร” ถอื เปน วรรณคดีเยาวชนที่โดงดังมากทส่ี ดุ โดยมกี ารนํามาสรางเปน ภาพยนตรการตูนในป2522 และสรางเปนภาพยนตรดรามาในป 2549 ดวย ภาพยนตรเร่ือง พระอภัยมณี ที่สรางขึ้นในป 2509และภาพยนตรเร่ือง พระอภัยมณี ที่สรางขึ้นในป 2545 ไมไดสรางข้ึนใหมีเนื้อหา ท้ังหมดของเร่ืองแตมีเร่ืองนางผเี ส้อื สมทุ รและเรื่องราวความรักของนางเงือกเปนแกนหลักซึ่งเมื่อดูแลวจะเห็นไดวาภาพยนตรทุกเรื่องเปนเร่อื งราวเก่ยี วกับ ความสมั พันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยและ เรื่องราวเกี่ยวกับลูกท่ีเกิดมาจากความสัมพันธฉันทสามีภรรยาน้ัน จึงอาจกลาวไดวาเร่ืองราวเหลาน้ีกระตุนจินตนาการไดมากกวาเรื่องราวของมนุษยธรรมดาและไดร ับความสนใจและความนยิ มจากคนดเู ปน อยางมาก เรื่องราวเก่ียวกับความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางพระอภัยมณีซึ่งเปนทั้งมนุษยและตัวเอกของเรื่องกับนางผีเสื้อสมทุ รและนางเงือกซ่ึงเปนอมนุษย อยูตอนเริ่มเร่ืองและเปนตัวกระตุนความสนใจของผูอาน และเปนเรื่องราวที่โยงไปสูการดําเนินตอนตาง ๆ จํานวนมากตลอดเร่ืองใหสมบูรณ ความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยกับอมนุษยในเรื่อง พระอภัยมณี ซึ่งไมวาจะเปนความสัมพันธแบบบังคับและเปนผูถูกกระทําหรือความสัมพันธแบบสมัครใจและเปนผูกระทํา ก็ตางเปนความสัมพันธท่ีไมตอเนื่องไปตลอดและจบลงดวยความตายหรือการพลัดพรากทั้งสิ้น จึงแสดงใหเห็นขอเท็จจริงที่วาความสัมพันธฉันทสามีภรรยาระหวางมนุษยก ับอมนุษยน ้นั เปนไปไมไดทคี่ วามเหนือธรรมชาตแิ ละธรรมชาติจะกลมกลืนกันและอยรู วมกนั ได

583 บรรณานุกรมกาญจนาคพนั ธ.ุ (2540). ภูมศิ าสตรสุนทรภ.ู กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท ตน ออ แกรมมี่ จาํ กดั .กุสุมา รักษมณี และคณะ. (2557). สุนทรภู: อาลักษณนักเลงทําเพลงยาว. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พสถาพรบคุ ส.นธิ ิ เอยี วศรีวงศ. (2538). ปากไกแ ละใบเรือ. กรงุ เทพฯ: แพรวสํานกั พิมพ.ปยตา วนนันทน, เรียบเรียง ; สุดาสมร นุตเวช, ธารทิพย สมบัติแกว, ภาพประกอบ. (2542). นางในวรรณคดี. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน .พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2556). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.พระสุนทรโวหาร (ภ)ู . (2555). พระอภยั มณี. กรุงเทพฯ: ไทยควอลติ บ้ี คุ ส (2006).รน่ื ฤทยั สจั จพันธุ. (2553). สืบสานสรา งสรรคว รรณศิลป. กรุงเทพฯ: สถาพรบุคส.Srisurang Poolthupya. (2010). Peace and Non-Violence in Phra Aphai Mani, Poetic Tale by Sunthon Phu. The Journal of the Royal Institute of Thailand, Vol. Ⅱ-2010, 27-36.

584 Patterns and beliefs from fine arts in Chinese religious places, Khet Din Daeng, Bangkok รปู แบบและคตคิ วามเชื่อจากศิลปกรรมในศาสนสถานจีน เขตดนิ แดง กรุงเทพมหานคร ดร.ธีระนนั ท วิชยั ดิษฐ1 Teeranun Vichaidit, Ph.D.บทคัดยอ งานวิจัยนี้เปนงานวิจัยท่ีศึกษารูปแบบและคติความเช่ือจากศิลปกรรมในศาสนสถานจีน เขตดินแดงกรงุ เทพมหานคร ไดแก ศาลเจาพอขวญั พฒั นา ศาลเจา เหลา ปงเถากง (สุทธสิ าร) ศาลเจาปงเถากงเลงเฮง ศาลเจาพอเจา แม และวดั คชิ ฌกฏู วหิ าร โดยมีวตั ถุประสงคคือ 1) เพื่อศกึ ษารปู แบบและคติความเชื่อจากศิลปกรรมในศาสนสถานจีน เขตดนิ แดง กรุงเทพมหานคร 2) เพ่ือเปรียบเทียบรูปแบบและคติความเช่ือจากศิลปกรรมในศาสนสถานจีนเขตดินแดงกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาพบวางานศิลปกรรมในศาสนสถานจีน เขตดินแดงกรุงเทพมหานคร มรี ปู แบบสว นใหญตามคตคิ วามเช่ือในการสรางศาสนสถานจีนดั้งเดิมท่ีตองแสดงออกถึงความศักดิ์สิทธิ์และความเปนมงคลตอผูที่เขามาสักการบูชาและประกอบพิธีกรรม งานศิลปกรรมในศาสนสถานจึงมีรูปแบบและสญั ลกั ษณมงคลตามคตคิ วามเชื่อจนี ทัง้ น้ี บางศาสนสถานจนี ในเขตดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร ก็มีการผสมผสานศิลปกรรมแบบสมยั นยิ มกับศิลปกรรมไทยประเพณี แสดงใหเหน็ ถงึ การผสมผสานคตคิ วามเชื่อจนี กบั คติความเชอื่ อืน่ ๆ ทส่ี ะทอ นผา นงานศลิ ปกรรมคาํ สําคญั : ศิลปกรรม, ศาสนสถานจีน, เขตดนิ แดงAbstract This research present patterns and beliefs from fine arts in Chinese religious places, KhetDin Daeng, Bangkok include Chaophokhwanpatthana shire, Laopuntaokong shire (Sutthisan),Puntaokonglengheng shire, Chaophochaomae shire, and Chichakoodvihan temple. Objectives ofthis research are 1) study patterns and beliefs from fine arts in Chinese religious places, KhetDin Daeng, Bangkok 2) compare patterns and beliefs from fine arts in Chinese religious places,Khet Din Daeng, Bangkok. The result of this research show fine arts in Chinese religious places inKhet Din Daeng has almost Chinese religious place’ s patterns follow Chinese traditional beliefs,that show sacred and felicitous for people who come to worship, fine arts in Chinese religious 1 อาจารยป ระจาํ ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

585places have Chinese traditional patterns and Chinese sacred symbols. However, Some Chinesereligious places, Khet Din Daeng, Bangkok appear Thai traditional art or modern art withtraditional Chinese art, that show the mixed of Chinese beliefs with another beliefs in fine arts.Keywords: Fine Art, Chinese Religious Place, Khet Din Daengความเปนมาและความสําคัญของปญ หา ในสมัยรัตนโกสนิ ทร เมอื่ ครงั้ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลก รชั กาลที่ 1 โปรดฯ ใหย า ยพระนครจากฝงธนบุรมี าอยูฝงตะวันออกของแมน้าํ เจาพระยา และโปรดฯ ใหสรางพระบรมมหาราชวังขึ้นใหมในบรเิ วณชุมชนชาวจีน ที่ไดตั้งรกรากอยูต ้งั แตสมยั อยธุ ยาแลว โดยโปรดฯ ใหชาวจีนเหลาน้ันยายไปตงั้ ชุมชนใหมท างทิศใต คอื ยานสําเพง็ ท่ีตอ มาไดพฒั นาเปนชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนท่ีใหญที่สุดในกรุงเทพมหานคร (กุลศิริ อรุณภาคย, 2553, หนา 8) ตอมาในสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2 ประเทศจีนไดประสบกับปญหาขาวยากหมากแพง และไทยก็ตองการแรงงานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ชาวจีนจํานวนมากจึงไดอพยพมายังแผน ดนิ ไทยเพอ่ื มาประกอบอาชพี สาขาตาง ๆ โดยเฉพาะแรงงานทคี่ นไทยเองไมนิยมประกอบอาชีพเหลาน้ีโดยสถิติของชาวจีนท่ีอพยพเขามาในสมัยรัชกาลท่ี 2 พบวามีจํานวนราวปละ 7,000 คน จนถึงปลาย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 ปรากฏวามีชาวจีนอพยพเขามาในแผนดินไทยถึงราว1,000,000 คน จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีชาวจีนท่ีอพยพเขามาราว1,500,000 คน และในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัว กม็ ีชาวจนี ท่ีอพยพเขามายังแผนดินไทยถึง3,000,000 คน (ชาญวิทย เกษตรศิริ (บรรณาธกิ าร), 2548, หนา 68) หลังรัชกาลท่ี 5 กย็ งั มีชาวจีนอพยพเขามาอยูในแผนดินไทยเรื่อยมา มีท้ังชาวจีนท่ีเขามาประกอบอาชีพตาง ๆ แลว สะสมทรพั ยสินไดจ ํานวนหนงึ่ แลว กลบั แผนดิน บางสวนก็สง ทรพั ยส ินกลับไปใหญาตทิ ่ีอยูในแผน ดนิ จนีแตชาวจนี สว นใหญม กั จะสะสมทรพั ยสนิ เพือ่ ประกอบกิจการของตนเอง จนในทีส่ ดุ ก็ตั้งรกรากและสืบเชอ้ื สายของตนจนกลายเปนคนไทยไปโดยปริยาย อยางไรก็ตาม แมจะกลายเปนคนไทยแลว แตชาวไทยเชื้อสายจีนเหลาน้ีก็ยังคงยึดม่ันในขนบธรรมเนยี มประเพณตี าง ๆ ของจีนสืบเนือ่ งมาจนถึงปจ จบุ นั ในปจจบุ นั ชาวไทยเชือ้ สายจนี ไดก ระจายตัวอยตู ามพื้นที่ตา ง ๆ ในกรุงเทพมหานคร รวมถึงเขตดินแดงอนั ถอื เปน เขตทม่ี ผี คู นหนาแนน และเปน ท่รี วมของคนหลายภมู ิภาคทัง้ เหนือ กลาง อีสาน และใต เพราะเปนยานเศรษฐกิจท่ีสําคัญแหงหน่ึงในกรุงเทพมหานคร ดังน้ันกลุมคนจึงคอนขางแตกตางกัน (มัณฑนา ชอุมผล, 2550)นอกจากน้ี ทางสํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ไดทําการสํารวจศาลเจาจีนที่ต้ังอยูในเขตตาง ๆ ของพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 ซึ่งจากการสํารวจในเขตดินแดง พบวาไมมีศาลเจาจีนต้ังอยู (สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร, 2555, หนา 13) อยา งไรกต็ าม จากการลงสํารวจพื้นท่ีในเบื้องตนของผูวิจัยพบวามีศาลเจาจีนและวัดพุทธศาสนานิกายมหายานจีนปรากฏอยูรวม 5 แหง ซึ่งแตละแหงก็ยังมีผูคนเขาไปสักการบูชาเทพตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook