Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Published by Chalermkiat Deesom, 2017-02-17 05:47:59

Description: The 3rd International Joint Conference on Korean Studies and Thai Studies

Search

Read the Text Version

486 Textual Theme Resources in Korean students’ narrative essays Thanwaporn Sereechaikul1Abstract This paper aims to examine the textual resources focusing on textual Theme byusing the Systemic Functional Grammar. The data utilized were 43 Korean students’ narrativeessays in topic “Who am I,” written by Korean students enrolled in the Thai language program.This study found that in terms of textual Theme, structural conjunctions (90.12%) are found mostoften in the texts, followed by relative elements (9.88%), respectively.Keywords: Systemic Functional Grammar, textual Theme, narrative essays1. Introduction This study aims to examine textual Theme resources by using the systemic functionalgrammar. Data employed in this study were obtained from Korean students’ narrative essaysbecause they reflect the students’s worldviews. Their thoughts are clearly expressedthrough language, including through the Thai grammatical systems that using by Koreanstudents in Thai program. This study can show how the students organized their texts toconstrue their experiences by using Thai. The choices of linguistic resources based on textualmeaning may reveal the linguistic features. The researcher adopted a systemic functional approach in the analysis of the study.This approach treated language as a resource of making meaning. The selection of a systemicfunctional approach was also based on the assumption that, fundamentally, languagecomponents can be expressed in accordance with their characteristics and functions. Theanalysis of language levels covers clauses, phrases, and words of some particular characteristicsin grammar. As a result, it was expected that the findings could extend knowledge to Thaidiscourse analyses. As for Thai, linguistic study based on systemic functional linguistics,particularly in Theme systems, is very rare. Patpong (2006) is only one completed work on Thaithat has been done using SFL as its frame work. However, she worked on texts that are the 1 Kasetsart University, Thailand [email protected]

487representations of the modern Thai language. This study is the first attempt to study Thailanguage as a second language of the users.2. Systemic Functional Linguistics (SFL) The theoretical framework of this study is based on systemic functional linguisticsdeveloped by Halliday (1985, 1994 and 2004). This theory indicates that a discourse or text isthe foundation of language analysis. Matthiessen and Halliday (1997: 2-3) stated that language is a resource for makingmeaning that is to say grammar is viewed as a resource for construing meaning by mean ofwording. Within this framework, in addition, text is a basic unit of language and organizedaccording to the context. Therefore, the clause is studied in its environment. Moreover,systemic functional grammar is designed to display the overall system of grammar instead of afragment of the sentence. Furthermore, systemic functional approach proposes that a languageshows three properties in communication simultaneously; namely, ideational, interpersonal andtextual functions or a language is a form of representation of the three properties. Theseproperties are as a result of different functions. A systemic functional approach also argues that alanguage is the system of selection in that it shows grammatical features that are related to the meaning itrepresents. In analyzing a language, systemic functional approach proposes that a language is agrammatical unit, which is called a lexicogrammar, and its analysis can be done with the use ofthe three modes of metafunction; namely, ideational, interpersonal and textual metafunctions. In this study, analysis was done primarily on a lexicogrammar in Korean students’narrative essays focusing only on textual Theme. A textual Theme is a part of the textualmetafunction that Matthiessen and Halliday (1997:12-14, 2004:58-59) defined this modes ofmeaning as follows: The Textual metafunction is concerned with the creation of text. It is thepresentation of ideational and interpersonal meaning. Information can be shared by speakerand listener in text that unfolds in context. One of the major textual systems is THEME. Aclause has meaning as a message, a quantum of information. The textual meaning – which views clause as message and shows how the text isorganized – is the main focus and an appropriate meaning suitable for exploring the particularwritten texts.

488 Exploring the textual meaning of language provides an understanding of how text isorganized, or places experimental and interpersonal meanings into a linear and coherent whole(Butt et al., 2000: 134). The system of THEME is the realization of this metafunction. Theme isthe point of departure of the clause and also the element the speaker uses to set the groundfor what is going to be said (Halliday & Matthiessen, 2004: 64). The structure of Theme is thecombination of Theme followed by Rheme. In other words, Theme is the point of departure,while Rheme is the rest of the clause.3. Data Collection The data for this study were drawn from 43 narrative essays in topic “Who am I,”written by Korean students enrolled in the Thai language program. The essays chosen werethose consisting of three paragraphs: the introduction, the essay body, and the conclusion.The 43 Korean students’ narrative essays were segmented into clause complexes and clausesimplexes. There are 260 clause complexes and 1,362 clause simplexes.4. Textual Them Resources in Korean Students’ Narrative Essays According to Halliday and Matthiessen (2004: 79), textual Theme can be acontinuative, a conjunction (structural Theme), and a conjunctive Adjunct. Korean students’narrative essays, the textual Theme is realized by two resources: (1) conjunctions (structuralconjunction) 90.12 %, and followed by (2) relative element9.88 %, respectively. Each choicewill be discussed in turn.4.1. Conjunction A conjunction or structural conjunction is a word or group that either a linker or abinder. A linker relates two independent clauses, while a binder relates a dependent clause toan independent clause. A conjunction is the most highly selected of the textual Themes. In all Koreanstudents’ narrative essays, a conjunction can be subdivided into structural conjunctions (linker)and structural conjunctions (binder) as follows:

4894.1.1 Structural conjunctions: linker A linker relates two independent clauses, and it can be categorized as a singleconjunction or a multiple conjunction. The single conjunction represents only one conjunction, while the multipleconjunction is the combination of two or three conjunctions. In addition, the conjunction canbe divided into three types based on its logical-relations: (i) elaborating, (ii) extending, and (iii)enhancing. Most conjunctions found in the essays are enhancing subtypes which expresssequences of time and place, as shown in Table 1.Table 1 Single structural conjunctions (linker) in Korean students’narrative essaysTypes Subtypes Conjunctions in Korean students’ narrative essayssingle elaborating เชน chên ‘for examples’ (1) appositiveextending และ lɛ: ‘and’(1) additive(2) varying หรอื r ̌ : ‘or’(3) adversative 1. แต tɛ̀: ‘but’enhancing 2. แตอ ยา งไรก็ตาม tɛ̀:jà:ŋrajkɔ:̂ ta:m ‘however’(1) spatio-temporal(a) following 1. หลงั จาก laŋ̌ cà:k ‘after’ 2. หลงั จากนั้น lǎŋcà:knán ‘after that’ mono-position 3. จากนน้ั cà:knań ‘after that’ 4. หลงั จากที่ lǎŋcà:kthî: ‘after that’(b) simultaneous 5. ตั้งแต tâŋtɛ̀: ‘since’ mono-position 6. แลว lɛ:́ w ‘then’ 7. ก็ kɔ:̂ ‘then’ 8. จงึ cɨŋ ‘then’ 9. กเ็ ลย kɔ:̂ lǝ:j‘then’ 10. กอ นท่ี kɔ:̀ nthi:̂ ‘before’ เม่อื mɨâ ‘when’

490Table 1 Single structural conjunctions (linker) in Korean students’ narrative essays (cont.)Types Subtypes Conjunctions in Korean students’ narrative essayssingle (c) terminal 1. จน con ‘till’ (2) causal - condition 2. จนถงึ conth ŋ̌ ‘till to’ (a) causal 1. เพราะ phrɔ́ ‘because’ 2. เพราะวา phrɔ́wâ: ‘because of’ (b) condition 3. เพราะฉะน้นั phrɔć hánán ‘therefore’ 4. เพราะเหตุน้ี phrɔ́hè:tní: ‘therefore’ 5. ดวยเหตนุ ้ี dûajhè:tní: ‘therefore’ 6. เน่อื งจาก n â ŋcà:k ‘since’ ถา thâ:‘ifTable 2 Multiple structural conjunctions (linker) in Korean students’ narrative essaysTypes Subtypes Conjunctions in Korean students’ narrative essaysmultiple (1) enhancing + 1. เพราะวา หลังจาก phrɔẃ â:lǎŋcà:kcontiguous enhancing ‘because of , after that’ 2. เพราะวาเมือ่ phrɔ́wâ:m â ‘because of, then’ (2) extending + 3. ดงั น้นั หลงั จาก daŋnánlǎŋcà:k ‘so, after that’ enhancing 1. แตเมือ่ tɛ:̀ m â ‘but, then’ 2. และก็ lɛ:kɔ̂: ‘and, then’ 3. และถา lɛ:tha:̂ ‘and, if’non- (1) enhancing + 4. แตถ า tɛ:̀ thâ: ‘and, if’contiguous enhancing 1. แลว...ก็ l́w:…kɔ̂: ‘and…then’ 2. เพอ่ื ...ท่ี ph â ...thî: ‘for…that’ 3. หลงั จากน้ัน...ก็ laŋ̌ cà:knań …kɔ̂: ‘after that…then’ 4. จาก...ถึง cà:k…thɨŋ ‘after…then’ 5. ดังนัน้ ...จงึ daŋnán…cɨŋ ‘so…then’ 6. นอกจากน.ี้ ..ก็ nɔ̂:kcà:kní: …kɔ̂: ‘moreover…then’ 7. แลวก.็ ..วา l́w:kɔ̂:…wâ: ‘and, then…that’

491 (2) extending + 1. และ...ก็ lɛ:…kɔ̂: ‘and…then’ enhancing 2. และ...ท่ี lɛ:...thi:̂ ‘and…that’ 3.ทั้ง...และ tháŋ…lɛ: ‘though…and’ 4. แต...ท่ี tɛ:̀ …thi:̂ ‘but…that’ In summary, the most frequency used textual Theme found in the essays is thesingle conjunction as shown in the example (1) – (3), followed next by multiple conjunctions asshown in the example (4) – (5).Example 1 A single conjunctive relation: Extending relationTheme Rheme กุลจริ าtextual topical: unmarkedและ (Ø:ดฉิ ัน) ช่ือ ไทย kunjìra:lɛ:́ (Ø:dǐchǎn) chɨˆ: thajand I Thai name KunjiraAnd my Thai name is Kunjira .Example 2 A single conjunctive relation: Enhancing relationspatio-temporal: following mono-positionTheme Rheme แลวtextual topical: unmarked สง การบา นหลงั จาก (Ø:ดฉิ ัน)lǎŋcà:k (Ø:dìchǎn) sòŋ ka:nbâ:n l́:wafter I send homework alreadyAfter, I sent my homework already.Example 3 A single conjunctive relation: Enhancing relationcausal – condition: causalTheme topical: unmarked Rhemetextual ผม ชอบ ประเทศไทยเนอื่ งจากn â ŋcà:k phǒm chɔ:̂ p pràthê:thajsince I like ThailandSince, I liked Thailand.

492Example 4 A mutiple conjunctive relation (contiguous) : Enhancing relation + Enhancing relationTheme topical: unmarked Rhemetextual (Ø:ดฉิ ัน) เรียน จบดงั น้ัน หลังจากdaŋnán lǎŋcà:k (Ø:dìchǎn) rian còpso after that I study finishAfter that, I have already graduated.Example 5 A mutiple conjunctive relation (non- contiguous) : Extending relation + Enhancing relationTheme topical: unmarked textual Rhemetextual คน ไทย ก็และ ใจดี kɔ:̂lɛ:́ khon thaj jajdi: thenand people Thai kindAnd then, Thai people are kind.4.1.2 Structural conjunctions: linker A binder conjunction relates a dependent clause to the independent clause. Moreover,the binders in the essays occurred with the following projecting clauses: (i) verbal clauses or (ii)mental clauses. Binder conjunctions are realized by: wâ: ‘that’, as shown in Table 3.Table 3 Structural conjunctions (a binder) in Korean students’ narrative essays Conjunctions in Korean students’ narrative essays wâ: ‘that’ (The projecting clause can be either verbal or mental clauses.) From the table above, there is only one realization of a binder, wâ:, as show in theexample 6 below.

493Example 6 A Structural conjunctions (a binder)(i)Theme Rhemetopical: unmarked คดิดิฉนัdìchaň khítI thinkI think…(ii) Rheme Theme ใจดี textual topical: unmarked วา คน ไทย jajdi: wâ: khon thaj kind that people Thai (I think) that Thai people are kind. Example 8 shows that the word wâ: ‘that’ is a structural conjunction which is called abinder. It marks a projected clause. The projecting clause in the given example is mental process .The word khít ‘think’ is a mental process.4.2 Relative element The relative element is related to the nominal antecedent in the Embedded clause(Halliday & Matthiessen, 2004: 429). The relative element functions both as textual Theme andas topical (ideational) Theme (Matthiessen, 1997: 24). There are two definite relative elements in this study. They are realized by relativepronouns: s ŋ̂ , and thi:̂ . These relative elements function both as subjects and objects. It wasfound that the majority of these relative pronouns functioned as the subjects of embeddedclauses, as shown in Table 4.

494Table 4 Number of relative elements found in Korean students’ narrative essaysRelative elements Meaning TotalRelative pronouns Function who whichs ŋ̂ subject   object  1 1thi:̂ subject 1 31 32 object 6 9 15 Total 7 41 48 In Table 4, the meanings of relative pronouns are ‘who’ and ‘which’. The mostfrequently selected relative element used in the essays is the relative element: thî: .as show inthe example 7 below.Example 7 A Relative element(i)Theme Rheme แรกtopical: unmarked เปน เทอมเทอม น้ี r̂:kthǝ:m ní: pen thǝ:m firstterm this is termThis is a first term.(ii) Rheme ภาษา ไทย Theme ผม เรยี น pha:sǎ: thaj textual/topical: unmarked (relative element) phom̌ rian language Thai ท่ี I study thi:̂ which Which I study Thai language.The relative element thî: ‘which’ in above functions as a object of an embedded clause (ii)meaning ‘which’.

4955. Conclusion and Discussion Based on the results of this study, some significant features of textual metafunctionprofiles in the Korean students’ narrative essays are concerned with the characteristics of textstructure. The Sukhothai historical texts in this study are the bibliography of the narrator. The textual Themes found in this study are conjunctions and relative elements. Theresult from this study shows that there are elaborating, extending and enhancing logico-semantic relationships of conjunction were found. The enhancing type is the most conjunctionsfound in this period. This result is related to the characteristics of the text that express thesequences of times and places in each essays. Therefore, the enhancing conjunctions (such astaŋ̂ tɛ:̀ ‘since’, lɛ:́ w ‘then’, etc.) are chosen more frequently than other ones. The binders in theessays occurred with the following projecting clauses: (i) verbal clauses or (ii) mental clauses.Binder conjunctions are realized by: wâ: ‘that’ and these relative elements function both assubjects and objects. It was found that the majority of these relative pronouns functioned asthe subjects of embedded clauses. ReferencesButt, D., Fahey, R., Feez, S., Spinks, S. & Yallop, C. (2000). Using functional grammaran explorer's guide. (2nd ed.). Australia: National Centre for English Language Teaching and Research, Macquari University.Halliday, M.A.K., Matthiessen, C. (2004). An introduction to functional grammar. (3rd ed.). New York: Oxford University Press Inc.Matthiessen, C., Halliday, M. A. K. (1997). Systemic Functional Grammar: A first step into the theory. Manuscript.Patpong, P. (2006). A Systemic Functional Interpretation of Thai Grammar: An exploration of Thai narrative discourse. Ph.D. Thesis, Macquarie University.Thompson, G. (2004). Introducing functional grammar (2nd ed.). London: Arnold.Ure, J. (1989). Text typology. Manuscript.

496 The Waterfalls in Thailand: Strategies and Create Words Value in the Name. \"นามน้ําตกในประเทศไทย: กลวิธกี ารสรางคําและคา นิยมในการตัง้ ช่ือ\" ปาราวตี โตสกลุ 1 Parawatee Tosakul บญุ เลิศ ววิ รรณ2 Boonlert Wiwanบทคดั ยอ นามของนํา้ ตกในประเทศไทยถอื วา เปนความหลากหลายทางดานท่ีมาของภาษา โดยมีลกั ษณะการใชคาํ 3ประเภท คือ 1) คําโดด แยกเปน 3 ชนิด คือ คาํ นาม คํากริยา คําคณุ ศพั ท 2) การรวมหนวยคําแบงไดเปน 2 ชนิดคอื การผสานคํา มหี นวยคําไมอสิ ระกบั หนว ยคาํ ไมอ สิ ระ หรือหนวยคําอสิ ระ กับหนวยคําไมอิสระมาประกอบกันและการผสมคํา มกี ารนาํ หนวยคําอสิ ระตั้งแต 2 หนว ยคาํ ขนึ้ ไปมาประกอบเขาดวยกัน การผสมคํา มี 3 ชนิด คือคําประสม คําซอ น คาํ ซํ้า 3) คาํ ยมื จากภาษาตางประเทศ ในนามของน้ําตกมคี วามสัมพันธกับคานิยมของทองถ่ินโดยยึดตามตาํ นาน นทิ าน และเหตุการณท ีเ่ กดิ ข้ึนในประวตั ิศาสตร, ชอื่ บคุ คลหรือชื่ออ่นื ๆ เพื่อความเปนสริ มิ งคล,ลักษณะทางภูมิศาสตร ตําแหนงท่ีตั้ง, ลักษณะการไหลของนํ้าตก, ช่ือพันธุไม ช่ือสัตว มาสรางเปน “นามของน้ําตก” อันเปนวิธีการบงบอกความแตกตางของนํ้าตกแตละแหงและสามารถสะทอนความคิด ความเช่ือ และวัฒนธรรมของทอ งถิ่นนัน้ ๆคําสาํ คญั : ชอ่ื นาํ้ ตก, กลวิธีการสรางคาํ , คานยิ มAbstract Behalf of the waterfalls in Thailand It is the diversity of the origin of language.Characterized by the use of three types: 1) a unique split into three types: nouns, verbs,adjectives, 2) the unit is divided into two kinds of merging the units are not independent units,not independence. Or an independent The unit does not come together and freely mix withthe introduction of an independent unit from two units to come together to mix the threetypes of compound words have stacked the three repeated) words borrowed from foreign 1 นางปาราวตี โตสกลุ . นิสิตระดบั บัณฑิตศึกษา หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร. 2 อาจารย ดร.บุญเลิศ ววิ รรณ. อาจารยป ระจําภาควชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรอาจารยท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธห ลัก.

497languages. On behalf of the falls are associated with the values of the district. Based on thelegend Tales and events in history, a person's name or other name for the prosperity,geography. The location, the flow characteristics of the falls, hickory animal to create a\"waterfall name\" as a way to tell the difference of a cascade of individual and reflect the beliefsand culture of the local community.Keywords: Waterfall, Create Words, Valuesบทนํา น้ําตกในประเทศไทยมีจํานวนมากและมกี ารกระจายตัวในภาคตา ง ๆ จึงเปนแหลงทอ งเที่ยวทไ่ี ดรับความนิยมจากนกั ทอ งเทีย่ ว หนงั สือกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ขอมูล แหลงทองเท่ียว ประเภทน้ําตก (2532: 3)ไดใหขอ มูลไววา น้ําตกเปนปรากฏการณธรรมชาติอยา งหน่งึ ทีเ่ กดิ จากธารน้ําท่ีไหลผานภูมิประเทศท่ีมีความลาดชัน ซงึ่ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงระดับหรือเกิดความแตกตางกันของระดับของธารน้าํ ทาํ ใหลกั ษณะการไหลของธารนํ้าน้ันเปล่ียนแปลงไป มีลักษณะท่ีไหลตกลงมาจากท่ีสูง หรือลดหลั่นมาเปนชั้นๆ ซึ่งกอใหเกิดความงามอันนามหัศจรรย ความต่ืนตาตื่นใจ และสามารถดึงดูดความสนใจของมนุษยไดเปนอยางดี และไดใหความสําคัญของนาํ้ ตกในธรรมชาตไิ ววา นํา้ ตกเปนสว นหนง่ึ ท่ีมีความสาํ คญั มากในดานนิเวศวิทยา คือนํ้าตกนั้นเปนแหลงตนนํ้าลําธารตา ง ๆ เปนแหลงน้าํ แหลงอาหาร และแหลงทีอ่ ยูอาศัยของสง่ิ มีชวี ิตนานาชนิด ซึ่งตัวนํ้าตกและธารน้ํานั้น ยังเปน แหลงทีส่ ามารถใหค วามรทู างดา นธรรมชาตวิ ทิ ยา แกผ ทู ่มี าทอ งเท่ยี วไดเปนอยางดี ทั้งในดานธรรมชาติปาไมสตั วป า ทรัพยากรธรรมชาติและอนุรักษ เปนตน ซ่ึงมนุษยสามารถเขาไปพัฒนาเพื่อใชประโยชนของธรรมชาติดงั กลาว เพอ่ื ใหบรรลวุ ตั ถุประสงคท่ไี ดวางไวท ง้ั ทางดา นการทอ งเท่ยี ว การพักผอนหยอนใจและการศึกษาไดเปนอยา งดี ชอ่ื ของนา้ํ ตกเปน ชอ่ื ที่มคี วามหลากหลายทางดานทีม่ าของภาษา ท่มี าของชอ่ื และความหมาย ทาํ ใหเหน็ วามคี วามนา สนใจในการศึกษา เชน ภาคเหนอื ของประเทศไทย นํ้าตกอาบนาง จังหวัดตาก คําวา “อาบนาง” เปนการผสมคาํ ในลกั ษณะคาํ ประสม ท่มี าของชื่อตามตาํ นานเลา วาเปนจุดท่ีพระนางจามเทวีหยุดพักและทรงลงสรงนา้ํ สระพระเกศาเพื่อความเปนสริ มิ งคล แตน ํ้าทม่ี ีอยูใ นบริเวณน้นั ไมส ะอาดและบริสุทธิ์ พระนางจงึ ตัง้ จติ อธิษฐานหากตนมีบุญญาธิการเพียงพอที่จะชวยทํานุบํารุง ฟนฟู เผยแผพระพุทธศาสนาใหรุงเรืองสืบไปแลว ขอเทวาอารักษโ ปรดประทานนาํ้ บรสิ ทุ ธ์สิ ะอาด ลงมาจากเบ้อื งบนเถดิ เมอ่ื สิน้ คาํ อธิษฐานก็มีสายนา้ํ ไหลเย็นตกลงมาจากภูผาเบ้ืองบนใหพระนางไดสรงตามความปรารถนา หนาผาแหงนั้นจึงไดช่ือวานํ้าตก”อาบนาง” ชื่อนํ้าตกแหงน้ีสะทอนใหเ ห็นวา ทองถิ่นนี้ใหค วามสาํ คัญกบั ตาํ นาน นทิ านและเหตุการณท ี่เกดิ ข้ึนในประวัตศิ าสตร ในภาคกลาง นํ้าตกผาหมาหอน จังหวัดประจวบคีรีขันธ คําวา “ผาหมาหอน”เปนการผสานคํา แบบคําประสม ทมี่ าของชอื่ ตามตาํ นานเลา วามีนายพรานคนหน่งึ ไดไปพบเห็นและไดป นขนึ้ ไปช้นั บนเพอ่ื สาํ รวจดคู วามงามของนาํ้ ตกขณะท่ีข้ึนไปเร่ือยๆจนถึงชั้นบนสุด ก็ไดยินเสียงสุนัขของตัวเองรอง เมื่อหันลงดูจึงรูวาสุนัขของเขาไม

498สามารถขึ้นมาได เลยตั้งชือ่ วา นํ้าตกผาหมาหอน และมาเลาใหพวกชาวบานฟง คนที่ไปดูตางก็เรียกชื่อนี้เชนกันเพราะนาํ้ ตกแหง นีม้ ลี ักษณะสงู ชันมาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ นาํ้ ตกไตรคีรี อยูใ นจังหวดั สรุ นิ ทร คาํ วา “ไตรคีร”ี เปนคําผสาน เกิดจากคําบาลีคือคําวา “ไตร” ประสมกับคาํ บาลี คือ คาํ วา “คีร”ี ดา นท่ีมาและความหมายของชื่อคือ น้ําตกแหงน้ีมีตนนํ้ามาจากภูเขา 3 ลูก ของเทือกเขาพนมดงรัก คือ เขาชาด เขานพและเขาพนมยาว แสดงวาคนในพ้ืนท่ีน้ันใหความสําคัญกบั ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร ในภาคใต เชน นํา้ ตกแมสุนนั ทา จงั หวัดนครศรธี รรมราช คําวา “สนุ ันทา”เปน คาํ ผสาน มาจากภาษาบาลีสันสกฤต ท่ีมาของชื่อมีเรอื่ งราวอยวู า นางนันทา เปน บุตรสาวของขุนนัน ไดอพยพล้ีภัยการเมืองเขามาอาศัยอยูณ ที่นํา้ ตกแหง นี้ และไดเสียชีวิตไป จึงไดมีช่ือเรียกน้ําตกแหงน้ีวา “นํ้าตกนันทา” ตอมาเพิ่มช่ือเปน “นํ้าตกแมสนุ นั ทา” สะทอนใหเห็นวา คนในทอ งถนิ่ นนั้ ใหความสาํ คญั กับชอื่ บคุ คล ผูเขียนบทความไดเล็งเห็นวา “ช่ือ” หรือ“นาม”ของนํา้ ตกน้ันมคี วามนาคน ควา แสดงใหเ ห็นถงึ กลวิธกี ารสรา งคําและความสัมพนั ธระหวา งนามท่สี อดคลอ งกบั คา นยิ มของผคู นในทอ งถนิ่ และเพ่อื เปนการรวบรวมรายนามของนํ้าตกใหเปนแหลงศึกษาเพ่ิมเติมของชนรุนหลังสืบตอไปการทบทวนวรรณกรรม ผูว จิ ัยไดศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวขอ งมาใชป ระกอบการวิเคราะหการสรางคําและคานิยมของนามน้ําตกดงั ตอไปน้ี พจนานกุ รมศัพทภ มู ศิ าสตร (2549: 324) กลาววา น้ําตก หมายถงึ นา้ํ ที่ไหลลงอยางทนั ทที นั ใดตามแนวท่ีมคี วามสงู ชนั หรอื เกอื บตัง้ ฉากกบั พืน้ ทอ งนํ้า โดยเปนไปในลักษณะถกู ตัดขาดหรือไมตอเนื่อง พบในบริเวณที่มีช้ันหินแขง็ ทบั อยบู นหินเน้อื ออนซ่งึ กรอ นไดงายและวางตัวในแนวเกือบราบ หรือบริเวณขอบดา นชันของที่ราบสงู หรอืตรงปลายสดุ ของหุบเขาลอยท่ีอยูบนลาดเขาของหุบเขาดวยตัวยู หรือดานผาชันของแนวรอยเล่ือน หรือบริเวณขอบหนา ผาชายฝง ยุพดี เสตพรรณ (ม.ป.ป.: 137-138) ไดกลาวถงึ การเกดิ ของน้าํ ตกไวว า น้าํ ตกจะเกดิ ขนึ้ ในที่ซึง่ ชั้นแผนหินแขง็ ซอ นอยบู นแผนหนิ ที่แข็งนอ ยกวา แผนหนิ ที่ออนน้ีจะคอยๆสกึ กรอ นไปทีละนอ ย ไวแ ตผ ิวหนาของแผน ดินเนื้อแข็ง ซงึ่ กระแสนํา้ จะไหลผานแผน หินน้ลี งสเู บอื้ งลา ง จากความหมายดังกลาว สรุปไดวา นํ้าตก หมายถึง ลําธารที่ไหลผานชั้นหินที่มีความตางระดับกันมักพบในท่ีสูงหรอื ภเู ขา หรือตอนตนของแมน้ํา เปรมจติ ชนะวงศ (2538: 112-147) ไดกลาวถึงการสรางคาํ ใหม สรปุ ไดดังน้ี คําสรางใหม หมายถึง คําท่ีเกดิ จากการสรางคาํ โดยการนาํ คาํ ที่มใี ชอ ยใู นภาษาไทยมาสรา งเปน คําใหมเพ่อื ส่ือความหมายใหม และเพื่อใหมีคําใชอ ยางเพียงพอกับสภาพสังคมที่เจริญข้ึน ภาษาไทยมีคําที่เกิดจากการสรางคําใหม 3 ประเภทไดแก คําประสมคาํ ซอน คําซํา้ ซงึ่ มีรายละเอียดดงั นี้ 1. คาํ ประสมเกดิ จากการนําคํามลู หรือคาํ อิสระที่มีความหมายตางกันหรือคําที่ไมมีความสัมพันธกันตงั้ แต 2 คําข้นึ ไปมาประกอบกนั เปน คาํ ใหมทม่ี คี วามหมายใหม โดยอาจมีเคาความหมายเดิมอยูดวยหรือคําท่ีมีคํา

4992 คําหรือมากกวา ประสมเขา เปน คาํ ใหมอ ีกคําหนง่ึ โดยความหมายสําคัญอยูท่คี ําตนสวนคาํ ทีต่ ามมาเปนสวนขยายหรอื หมายถงึ คาํ ท่เี กดิ จากคาํ ตงั้ แต 2 หนว ยมารวมเปน คาํ เดยี ว เชน กลว ยตาก ไกออ น ขันหมาก ลิ้นไก ลูกระเบิดเปน ตน 2. คําซอนคอื คําทเี่ กิดจากการนําคํามูลหรือคําอิสระ 2 คํา หรือมากกวา ที่มีความหมายเหมือนกันคลา ยคลึงกนั เปน ไปในทํานองเดียวกัน หรือตรงขามกันมาประกอบกันเปนคําใหมคําซึ่งเกิดจากการสรางคําในลักษณะน้จี ะเปน คาํ ทีม่ ีความหมายใหม แมจะตางจากคําเดิมมากนัก แตจะมีความหมายท่ีใชตางกันออกไป เชนค้ําจนุ เจ็บชาํ้ ใจคอ เท็จจรงิ เปนตน 3. คาํ ซ้าํ คอื คําทเ่ี กดิ จากนาํ คาํ มลู 2 คาํ หรอื ท่มี รี ปู คําเหมือนกนั มาประกอบเปนคําเดียวกันนบั เปนคําทม่ี ีความหมายใหม หรอื หมายถงึ การนําคํามูลคําเดียวมาออกเสยี งซ้ํา 2 ครง้ั เชน กลว ย ๆ แบน ๆ เพือ่ น ๆ ใกล ๆเปน ตน พระยาอุปกิตศิลปสาร (2539: 60-61) ไดกลาวถึงการสรางคํา สรุปไดวาคําในภาษาไทยจําแนกตามลกั ษณะและที่มาเปน สามจาํ พวก คือ 1. คาํ มูล หมายถงึ คาํ ที่มีในภาษามาแตเดิม และใชม าถึงปจ จบุ ัน มีทั้งคํามลู พยางคเ ดยี ว และคํามูลหลายพยางค 2. คําสรางใหมห มายถงึ คําท่ีเกดิ จาการสรา งคาํ โดยการนาํ คําที่มใี ชอยใู นภาษาไทยมาสรางเปนคําใหมเพ่อืส่อื ความหมายใหม ภาษาไทยมคี าํ ที่เกดิ จาการสรา งคาํ ใหม 3 ประเภท ไดแก 2.1 คําประสมเกดิ จากการนาํ คํามลู หรือคําอสิ ระทม่ี ีความหมายตางกนั มาประกอบเปนคําที่มคี วามหมายใหม โดยอาจมเี คาความหมายเดิมอยูดวย 2.2 คําซอน หมายถึง คําท่ีเกิดจากการนําคํามูลหรือคําอิสระ 2 คําหรือมากกวาท่ีมีความหมายเหมือนกัน คลา ยคลึงกัน หรือตรงกนั ขามกัน มาประกอบเปน คาํ ใหม 2.3 คาํ ซ้ํา คือ คาํ ทีเ่ กิดจากการนําคํามูล 2 คํา หรือท่ีมีรูปคําเหมือนกัน มาประกอบเปนคําเดียวกันนบั เปน คาํ ใหมทมี่ ีความหมายใหม หรอื หมายถึง การนาํ คํามูลคาํ เดยี วมาออกเสยี งซ้าํ สองครงั้ 3. คาํ ยืมคือ คาํ ที่มที ม่ี าจากภาษาอ่ืน เชน บาลี สนั สกฤต เขมร จีน เปนตน จากการลักษณะการสรางคําดงั กลาว สรุปไดวา ภาษาไทยมีคําท่ีเกิดจากการสรางคําใหม มี 4 ประเภทคอื คาํ ประสม คาํ ซอ น คําซํา้ คํายมื มนตรี ศรีราชเลา (2553: 241) ไดก ลา วถึงแนวนยิ มในการตง้ั บา นนามเมอื ง สรปุ ไดวา คนในทองถ่นิ ตัง้ ช่ือสถานทแ่ี หง หนงึ่ แหง ใดตามความรสู ึกนึกคิดของตน นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลง เพราะความเหมาะสมและความนิยมของทองถ่ินนั้น ซ่ึงอาจจะสัมพันธกับลักษณะภูมิประเทศหรือสัมพันธกับประวัติศาสตรทองถิ่น หรือสมั พนั ธก ับส่ิงอืน่ ใดที่มีอยูในทองถิน่ น้ัน เชน ต้ังตามลกั ษณะภูมิประเทศ ต้ังตามตํานาน ตั้งตามบุคคล ต้ังตามชื่อสัตว ต้ังตามพนั ธุไม และตงั้ ตามชื่อหวย หนอง คลอง บึง เปน ตน จากการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวของกับคานิยมในการต้ังช่ือ พบวา แนวนิยมมาจากหลายสาเหตุ เชนตั้งชื่อตามตํานาน ตั้งชื่อตามบุคคล ต้ังชื่อตามสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ตั้งชื่อตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในประวัตศิ าสตร แนวนิยมสามารถสะทอนความเปนอยู ความเชื่อและวฒั นธรรมของคนในทอ งถ่ินน้ัน

500วธิ ีการวจิ ยั การศึกษาวิจัยในครั้งน้ี ผูวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสรางคําและคานิยมการต้ังช่ือของน้ําตกในประเทศไทย ท้งั 4 ภาค ซึ่งมีข้นั ตอนในการวิจัย ดังนี้ 1. ศึกษาวรรณกรรมที่เกยี่ วของกับนํา้ ตกและนามของน้าํ ตก ทัง้ ท่เี ปน เอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับชื่อนํ้าตกในประเทศไทย จากหอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หอสมุดแหงชาติ สํานักงานวิทยทรัพยากรจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั หอสมุดมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร 2. รวบรวมขอ มูลเกย่ี วกบั นามนาํ้ ตกในประเทศไทย จากเอกสารกระทรวงการทอ งเทย่ี วและกีฬา จํานวน502 นาม และไดส ง แบบสอบถามเก่ียวกับประวัตทิ ีม่ าของน้ําตกในประเทศไทย ไปยังหนวยงานที่เก่ียวของท่ีดูแลน้าํ ตกแหง น้นั หากนา้ํ ตกแหงนั้นอยใู นพ้นื ท่ีทห่ี า งไกลในการลงพนื้ ทจี่ รงิ 3. นาํ รายชอ่ื น้ําตกทพ่ี บทัง้ หมดใน 4 ภาคของประเทศไทยมาวิเคราะหการต้ังนามน้ําตกตามเกณฑการสรางคําทัง้ ทีเ่ ปนคาํ ผสานและคาํ ประสม และวิเคราะหค านยิ มในการตง้ั ชอื่ 4. สรปุ และอภิปรายผลของการวิจยั เชิงพรรณนาวเิ คราะหผลการวิจยั บทความวิจยั เรื่อง \"นามน้ําตกในประเทศไทย : กลวิธีการสรางคําและคานิยมในการต้ังช่ือ\" ผูวิจัยไดศึกษาคนควาและวิจยั ชอ่ื นา้ํ ตก จากเอกสารกระทรวงการทอ งเทีย่ วและกีฬา จํานวน 502 นาม ซึ่งไดบันทึกนามนํา้ ตกในประเทศไทย โดยขอนําเสนอผลการวจิ ยั ตามวัตถปุ ระสงค จํานวน 2 ประเด็น ดังตอไปนี้ 1. กลวิธีการสรา งคําในช่ือนาํ้ ตกของประเทศไทย 2. คา นิยมของการต้งั ชื่อนาํ้ ตกในประเทศไทย 1. กลวิธกี ารสรา งคาํ ในช่ือน้ําตกของประเทศไทย นามนาํ้ ตกจากการบันทึกไวของกระทรวงการทอ งเทย่ี วและกีฬามีจาํ นวน 502 ชื่อ มีลักษณะการสรางคาํ ท่หี ลากหลายของผคู นในทองถิน่ จงึ ปรากฏมกี ารใชค ําไทย คาํ ภาษาบาลี คําภาษาสันสกฤต คําภาษากะเหร่ียงคําภาษามลายู และคําภาษาเขมร มาตั้งขนานนามนํ้าตก โดยมีคําโดด การรวมหนวยคํา คํายืมมาจากภาษาตางประเทศ ดงั น้ี 1.1 นามนาํ้ ตกท่ีสรางคําดว ยคาํ โดด นามของนาํ้ ตกในประเทศไทยทั้ง 4 ภาคน้ัน ผวู ิจยั พบวา มลี กั ษณะการใชค ําโดดในการต้ังช่ือนํ้าตกเพอื่ ใหเ รยี กหรือออกเสยี งงายหรืออาจเปน เพราะคํานั้นเปน คาํ ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ประวตั คิ วามเปน มา โดยสามารถแบงออกไดเปนชนิดของคํา 3 ชนิด ไดแก คาํ นาม คาํ กริยา คําคุณศัพท ดงั นี้

501 1.1.1. การใชค ําโดดทมี่ ชี นดิ ของคําเปน คํานาม การใชคําโดดท่ีมีชนิดของคําเปนคํานามในการต้ังช่ือนํ้าตกน้ัน ผูวิจัยพบวามีลกั ษณะการขนานนามของนํา้ ตก ดว ยการนําคําโดดท่เี ปน คํานามเรียกคน สัตว พืช หรือสถานที่ มาใชตั้งช่ือ ดังตวั อยา งดงั นี้ นาํ้ ตกกระทิง จังหวัดจนั ทบุรี นาํ้ ตกปาหนนั จังหวัดสตูล นาํ้ ตกเอราวัณ จังหวัดกาญจนบรุ ี จากนามนํา้ ตกขา งตนนั้น ผวู ิจัยพบวามีลักษณะการใชคํานาม คือ “กระทิง”หมายถึงช่อื สตั วชนดิ หน่งึ เหมอื นกระบอื แตอาศยั อยใู นปา , “ปาหนัน” หมายถงึ ดอกไม, “เอราวัณ” หมายถึง ชอ่ื ของชางในพระพุทธศาสนาท่ีเปน พาหนะของพระอินทร เปนตน การใชคําโดดที่เปนคํานามนี้เปนลักษณะการสรางนามน้ําตกทีพ่ บมากทส่ี ุด โดยพบจํานวน 19 ช่ือ คิดเปนรอยละ 3.78 คํานามที่ใชต้ังชื่อสวนใหญจะเปนชื่อพันธุไมและช่ือสัตว แสดงใหเห็นถึงคนในทองถิ่นน้ันใหความสําคัญกับการตั้งชื่อน้ําตกใหเปนชื่อเรียกของส่ิงแวดลอมรอบตัวมนษุ ย 1.1.2 การใชค ําโดดที่มีชนดิ ของคาํ เปน คํากรยิ า การใชคําโดดที่มีชนิดของคําเปนคํากริยาในการตั้งชื่อน้ําตกนั้น ผูวิจัยพบวา มีการขนานนามของน้ําตกในประเทศไทย โดยคาํ กริยาสว นใหญเ ปนคํากริยาท่ีแสดงลักษณะการไหลของนํา้ ตก เชน การไหลลงสูพ น้ื อยางชา ๆ หรือการไหลแบบฟงุ กระจายของสายนาํ้ ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี นาํ้ ตกพาน จงั หวัดตรัง นาํ้ ตกปลวิ จังหวดั นครศรธี รรมราช นาํ้ ตกโยง จังหวดั นครศรีธรรมราช จากนามน้ําตกขา งตนนนั้ คํากริยา คือ “พาน หมายถึง การกระจัดกระจายของน้ําตกเมอ่ื ไหลลงสูท ี่ตํา่ , ปลวิ หมายถึง สายนํา้ ทมี่ ลี ักษณะเบาลอยละลองตามลม, โยง หมายถึง น้าํ ตกทมี่ ลี กั ษณะไหลเหมอื นเกลียวเชือกผูกตดิ กันไปมา” เปน ตน การใชค าํ โดดทเ่ี ปนคํากรยิ านี้เปนลกั ษณะการสรา งนามนํ้าตก โดยพบจํานวน 5 ช่อื คิดเปนรอยละ0.99 กลวธิ ีการตง้ั ชื่อน้ําตกโดยใชคําโดดเปนคาํ กริยา สะทอนใหเห็นวา คนในทองถิ่นนั้นเห็นความสําคญั ของลักษณะการไหลลงสูทีต่ ํา่ ของนา้ํ จงึ ไดขนานนามเปน คาํ กรยิ า อันมลี ักษณะท่ีสั้น สามารถเรยี กใหติดปากงาย 1.1.3 การใชค ําโดดท่ีมชี นดิ ของคาํ เปนคําคณุ ศพั ท การใชค ําโดดทม่ี ชี นดิ ของคําเปน คําคุณศัพทใ นการต้งั ชอ่ื นาํ้ ตกนั้น ผวู จิ ยั พบวามกี ารสรางนามนํา้ ตกโดยใชคาํ โดดทเ่ี ปนคาํ คณุ ศพั ทเพ่ือขยายความวา นํ้าตกมีลกั ษณะอยางไร ดังตัวอยางตอ ไปนี้ นาํ้ ตกกะเปาะ จงั หวัดชมุ พร

502น้ําตกชะแนน จงั หวดั บึงกาฬนา้ํ ตกบษุ บากร จงั หวดั ชัยภูมิ จากนามนํา้ ตกขางตน นั้น ผูว ิจัยพบวามีลักษณะการใชค ําโดด คอื “กะเปาะ(กระเปาะ)หมายถึง รูปนูนกลม, ชะแนน หมายถึง สูงสุดยอด , บุษบากร หมายถึง เต็มไปดวยดอกไม เปนตน ซึ่งเปนคําวิเศษณหรือคําคุณศัพทในการต้ังชื่อนํ้าตก โดยพบวามีจํานวน 3 ช่ือ คิดเปนรอยละ 0.59 แสดงใหเห็นวา คนทองถิ่นนาํ คําคณุ ศพั ทซึง่ เปนคําทองถิ่น คาํ บาลสี ันสกฤตที่หมายถงึ ลักษณะทางกายภาพของนํ้าตกน้ัน ๆ มาตั้งชื่อเพื่อใหจดจาํ งาย 1.1.4 การใชค าํ ผสานในการตงั้ ช่ือ การใชคาํ ผสานหรือการผสานคําในการตง้ั ช่ือนาํ้ ตก หมายถึง กลวธิ กี ารตง้ั ชอ่ื น้ําตกโดยการนาํ คําผสานในลกั ษณะของรปู แบบหนว ยคาํ ไมอิสระกับหนว ยคําไมอิสระ หรอื หนวยคําอิสระกบั หนว ยคาํ ไมอสิ ระมาประกอบกัน มาใชต งั้ เปน ช่อื น้ําตก ตัวอยา งตอ ไปน้ีนา้ํ ตกดาวดึงส จงั หวัดแมฮ อ งสอนน้าํ ตกศรีดิษฐ จงั หวดั พิษณโุ ลก จากนามน้ําตกขางตนนั้น ผูวิจัยพบวามีลักษณะการใชคําผสานหรือการผสานคํา คือ“ดาวดงึ ส เกดิ จาก คําวา “ดาว”เปนหนวยคาํ อสิ ระ ผสานกับคาํ วา “ดงึ ส” เปน หนว ยคาํ ไมอสิ ระ เม่ือผสานกันจะหมายถงึ ช่อื สวรรคช นั้ ท่ี 2 แหงสวรรค 6 ชนั้ มีพระอินทรเ ปน ผูครอง, ศรีดษิ ฐ เกิดจากคําวา “ศรี”เปนหนวยคําอสิ ระ ผสานกบั คาํ วา “ดษิ ฐ” เปนหนว ยคําไมอิสระ เมอ่ื ผสานกนั จะหมายถงึ ทานํ้า เปนตน ซ่งึ เปนคําผสานอันไมสามารถปรากฏไดโดยลาํ พงั แตต อ งนํามาประกอบกับคําอ่ืน ๆ จึงจะทําใหไพเราะและมีความหมายท่ีดีมากข้ึนและสามารถนาํ มาใชในการตง้ั ช่ือนา้ํ ตก โดยพบวามจี ํานวน 33 ชอ่ื คดิ เปนรอ ยละ 6.57 คาํ ผสานที่พบมักเปน คําที่เก่ียวขอ งกบั ชื่อบุคคล สอื่ ความหมายใหเ หน็ วา คนในชุมชนน้ันใหความสําคัญกับมนุษยท่ีเปนผูคนพบหรือเขาไปอาศยั อยใู กล ๆ ตอ งการใหชื่อนํ้าตกมีความไพเราะ จึงสรางคําใหมีความเปนสิริมงคล อาจจะเปนช่ือผูคนพบหรือชอื่ บุคคลทมี่ สี ว นเกีย่ วของกบั นา้ํ ตกนัน้ 1.1.5 การใชคําประสมในการต้ังชอ่ื การใชค าํ ประสมในการต้งั ช่ือนํา้ ตกในประเทศไทย หมายถึง กลวิธีการต้ังชื่อนํ้าตกโดยการนาํ คําโดดมากกวา 2 คาํ มาประสมกัน เพือ่ สรา งใหเ ปนนามน้าํ ตก โดยมีตัวอยางของชื่อนํ้าตกดังตอไปนี้นาํ้ ตกกวางโตน จงั หวัดอบุ ลราชธานีน้าํ ตกผาเจ่ิน จงั หวัดมุกดาหารนํา้ ตกขาออ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ

503นาํ้ ตกหวยหก จงั หวัดเชยี งใหมนํา้ ตกทบั ลาน จงั หวดั ปราจนี บรุ ีน้ําตกชวนชม จงั หวดั ชยั ภมู ิน้ําตกมอ นหินไหล จังหวดั เชียงใหมนํ้าตกหนานน้ําฟุง จงั หวัดนครศรธี รรมราชจากนามน้ําตกขา งตน นั้น ผวู จิ ยั พบวา มีลักษณะการใชคําประสม คอื กวางโตนคําวา “โตน” เปนภาษาถ่นิ หมายถงึ นา้ํ ตก “กวางโตน” หมายถึง ในบริเวณน้ําตกนนั้ มกี วางอาศัยอยู, ผาเจิ่น คําวา “เจ่ิน” เปนภาษาถ่ินเหนือ หมายถึง ย่ืนออกมา “ผาเจ่ิน” หมายถึง หนาผาท่ีย่ืนออกมา, ขาออน หมายถึงอาการขาออนแรง, หวยหก หมายถึง การลําดับจํานวนลําหวยลําดับที่6, ทับลาน หมายถึง แหลงที่มีตนลานขนึ้ อยมู าก, ชวนชม หมายถึง ช่ือพันธุไมลมลุก, มอนหินไหล คําวา “มอน”เปนภาษาถ่ินเหนือ หมายถึง ดอย“มอ นหนิ ไหล”หมายถงึ หนิ ทไ่ี หลลงมาจากดอย, หนานน้าํ ฟงุ (นาํ้ ท่ไี หลลงมาจากผา มีลักษณะฟุงกระจาย)เปนตน ซ่งึ อาจจะมีลกั ษณะการประสมคาํ ระหวางคํานามกับคํากริยา, คํานามกับคําคุณศัพท, คํากริยากับคํานาม,และคํากริยากับคํากริยา, คํานาม คํานาม กับคํากริยา เปนตน โดยพบวามีจํานวน 423 ชื่อ คิดเปนรอยละ84.26 แสดงใหเห็นวา ลักษณะการตั้งช่ือน้ําตกน้ัน ก็จะอาศัยคําโดดเปนพ้ืนฐาน อาจจะเปนคํานาม คํากริยาหรอื คําคณุ ศพั ท เปน ตน มาประกอบกนั โดยเกิดเปนคาํ ประสม เพือ่ สรางช่อื นํา้ ตก ซึ่งลกั ษณะนี้ อาจจะอาศัยท่ีมาและประวัตขิ องน้ําตกมาประกอบดวย1.1.3 การใชค าํ ยืมภาษาตางประเทศมาต้งั ชื่อการใชคาํ ยมื ภาษาตางประเทศมาต้ังชือ่ นํ้าตกในประเทศไทย หมายถึง กลวิธีการตั้งช่ือน้ําตกในประเทศไทยโดยอาศัยคําที่มาจากภาษาประเทศเพ่ือนบาน คือ ภาษากะเหร่ียง, ภาษามลายู ภาษามอญ และภาษาเขมร มาต้ังช่อื นา้ํ ตกในประเทศไทย หรือนําภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาต้ังเปนช่ือนํ้าตกเพอ่ื ใหเ กิดความเปน สิรมิ งคล ดงั ตวั อยางของชอ่ื นํา้ ตกดังตอไปนี้น้ําตกเกริงกระเวีย จงั หวัดกาญจนบรุ ีนา้ํ ตกทลี อซู จังหวัดตากน้ําตกตะเพินค่ี จังหวดั สุพรรณบรุ ีน้ําตกซโี ป จังหวัดนราธวิ าสน้ําตกไอรซอื ดอ จังหวัดนราธวิ าสน้าํ ตกกระเต็งเจง็ จังหวัดกาญจนบุรีนาํ้ ตกรามญั จงั หวดั พังงา จากนามนํ้าตกขางตนนั้น ผูวิจัยพบวามีลักษณะการใชคํายืมภาษาตางประเทศ คือเกริงกระเวีย เปนคํายืมภาษากะเหรี่ยง แปลวา ชื่อพันธุไมชนิดหนึ่ง, ทีลอซู เปนคํายืมภาษากะเหรี่ยง แปลวาน้ําตก, ตะเพินค่ี เปนคํายืมภาษากะเหร่ียง แปลวา ตนนํ้า, ซีโป เปนคํายืมภาษามลายู แปลวา ช่ือพันธุไม,ไอรซ อื ดอ เปนคาํ ยืมภาษามลายู แปลวา ชาง, กระเตง็ เจ็ง เปนคาํ ยมื ภาษากะเหรย่ี ง แปลวา ปางชาง, รามญั เปน

504คํายืมภาษามอญ แปลวา ชาวมอญ เปนตน ซ่ึงมีลักษณะการใชคํายืมเปนหลักในการตั้งช่ือนํ้าตก โดยพบวามีจาํ นวน 33ชอื่ คิดเปน รอยละ6.57อันแสดงใหเหน็ วา ลักษณะการตัง้ ชอื่ นํ้าตกดวยการใชคํายืมน้ัน เนื่องจากที่ต้ังของนา้ํ ตกอาจจะอยูในพน้ื ทข่ี องชนกลุมนอย หรอื อยตู ิดกับประเทศเพื่อนบานที่คนในพ้ืนที่ใชภาษานั้นอยู และเขาใจกันในกลมุ ชนนั้น จึงไดใ ชค ํายืมภาษาตา งประเทศในการตัง้ ชอ่ื นาํ้ ตกน่นั เอง 2. คา นยิ มในการตัง้ ชือ่ น้าํ ตกในประเทศไทย คานิยมในการตั้งชื่อน้ําตกในประเทศไทยนั้น หมายถึง การท่ีคนในทองถ่ินและภาครัฐ ไดตั้งชื่อสถานที่แหงหนึ่งแหงใดโดยเฉพาะนํ้าตกข้ึนมาได ตามความรูสึกนึกคิดของตน นอกจากน้ียังมีการเปลี่ยนแปลงเพราะความเหมาะสมและความนิยมของทองถ่ินน้ัน ซึ่งอาจจะสัมพันธกับลักษณะภูมิประเทศหรือสัมพันธกับประวัติศาสตรทองถ่ิน หรือสัมพันธกับสิ่งอื่นใดที่มีอยูในทองถิ่นน้ัน เมื่อวิเคราะหโดยทําการจัดกลุมแลว แบงคา นิยมได 5 หมวด ดังน้ี 2.1 คา นิยมในการนําตาํ นาน นิทาน และเหตุการณทเี่ กิดข้ึนในประวตั ศิ าสตรใ นการตั้งช่ือมาใชตงั้ ช่อื น้ําตก คา นิยมในการตํานาน นทิ าน และเหตกุ ารณท ่เี กดิ ขึ้นในประวตั ิศาสตรม าใชต ้ังช่อื นาํ้ ตกในประเทศไทยนั้นชอ่ื นํา้ ตกบางแหง ถกู สรา งข้ึนจากคานยิ มของผูสรางชื่อน้ําตกทอ่ี าศยั ตํานาน นิทาน และเหตกุ ารณท่เี กิดขึน้ มาในประวตั ิศาสตร อนั เกี่ยวของกับนํา้ ตกแหงนน้ั มาตงั้ เปน ช่ือน้ําตก ดงั ตัวอยางตอ ไปนด้ี งั น้ีนํ้าตกทงุ นามอญ จังหวดั กาญจนบุรีนํ้าตกผานางคอย จังหวดั กาฬสนิ ธุน้ําตกทับพญาเสอื จังหวดั ขอนแกน จากนามนํ้าตกขา งตนน้ัน ผูว ิจัยพบวามีคานิยมในการตั้งชื่อน้ําตกโดยอาศัยตํานาน นิทาน และเหตกุ ารณท่ีเกดิ ขน้ึ ในประวัตศิ าสตร คือ ทงุ นามอญ,ผานางคอย และ ทบั พญาเสอื เปน ตน โดยคา นยิ มในการต้ังชื่อนํ้าตกในประเทศไทยลักษณะนี้ มีจํานวน 26 ช่ือ ผูวิจัยพบคิดเปนรอยละ5.15 ซ่ึงมีท่ีคานิยมโดยยึดที่มาดงั ตอไปน้ี “นาํ้ ตกทุงนามอญ” จงั หวัดกาญจนบรุ ี ในอดีตพ้ืนที่นี้มีการเลาขานสืบตอกันมาวา เคยมีชาวมอญมาอาศยั ทาํ กินและทําการปลกู ขา วเพราะเปนท่ีราบกลางหุบเขา เปนท่ีมาของช่อื “ทงุ นามอญ” “นา้ํ ตกผานางคอย” จังหวดั กาฬสนิ ธุ ความเปนมาของที่เทีย่ วนา้ํ ตกผานางคอยน้ี มีเรื่องเลาซ่ึงสอดคลอ งกับนิทานเร่ืองจันทโครพ โดยเชอื่ วา นางโมรา หลงั จากท่ถี ูกสาปใหเปนชะนีแลว ไดม ารอคอยจนั ทโครพอยทู น่ี จี่ นตาย เพราะชาวบา นไดยินเสยี งชะนีรองโหยหวนที่น่ีอยูเปนประจํา สวนเร่ืองเลาอีกเร่ืองหนึ่งเลากันวา มหี ญงิ สาวคนหนงึ่ มาน่งั รอคอยแฟนหนมุ ซงึ่ เขาท้งั สองน้นั เปน แฟนกันแลว นัดมาเจอกนั ทีห่ นาผาแหงน้ีแตฝา ยชายโดนกกั ตัวไวเพอื่ บังคับใหแตงงานกับสาวอกี นางหนึง่ ซง่ึ ตนไมไดร กั สาวนางนี้เลย สวนหญงิ สาวนัน้ มานั่ง

505รอแฟนของตนเองอยูเ ปนประจาํ จนรอคอยมานานแสนนาน แตแ ฟนหนมุ ของเธอน้นั ก็ไมม า จากน้ันหญิงสาวก็ไดรองไหไมห ยุดดวยความเศรา เสียใจที่ฝา ยชายหนมุ ไมมาตามนัด หญิงสาวจึงตัดสินใจกระโดดน้ําตกเพ่ือฆาตัวตายเปนการประชดรกั จนฝา ยชายพยายามดน้ั ดนเพือ่ จะมาท่นี ํา้ ตกตามทีไ่ ดน ัดจนได แตก ็สายไปเสียแลวเพราะวาฝายหญิงไดเ สียชวี ิตอยทู ี่ดา นลางของนํ้าตกเสียแลว สวนฝายชายเสียใจเชนเดียวกัน จึงตัดสินใจกระโดดหนาผาตายตามหญงิ สาวทตี่ นเองรักไป จงึ เปน ท่มี าของคําวา “ผานางคอย”“นํ้าตกทับพญาเสือ” จังหวัดขอนแกน ท่ีมาของชื่อน้ําตกแหงน้ีมาจากคําวา \"ทับ” หมายถึงกลุม นายพรานมาตง้ั ทัพพักแรมประกอบอาหารและหลบั นอนอยทู บ่ี รเิ วณน้ําตก กลมุ นายพรานเหลานั้นจงึ ยกยองตวั เองข้ึนวา เปนพญาเสือแหงปา บรเิ วณนั้นๆ จงึ เปนที่มาของชอื่ นํ้าตกแหง น้ี2.2 คา นยิ มโดยยดึ ตามช่อื บุคคลหรอื ชอื่ ลักษณะทางกายภาพของนา้ํ ตกชือ่ น้ําตกบางแหง ถูกสรางขน้ึ จากคา นยิ มของผสู รางช่อื นาํ้ ตกท่ีอาศยั ชือ่ บคุ คลหรอื ชือ่ลักษณะทางกายภาพของนํ้าตก เพื่อเปนการใหความสําคัญหรือยกยองวาเปนผูคนพบ หรือเปนบุคคลที่มีเหตุการณเกย่ี วของกับน้ําตก และลักษณะทางกายภาพทม่ี ีความพิเศษของนํ้าตกมาตั้งเปน ช่ือ ดังตวั อยางตอไปนี้น้ําตกวชริ ธาร จังหวดั เชียงใหมนํ้าตกหงสเวียงจนั ทร จังหวัดนานน้ําตกธารสวรรค จงั หวดั พะเยา จากนามน้าํ ตกขา งตน ผูวิจยั พบวา มคี า นิยมในการตั้งชอื่ นา้ํ ตกโดยอาศยั ช่อื บุคคลหรือช่อื อ่นื ๆ คอืวชิรธาร, หงสเวยี งจันทร, ธารสวรรค เปนตน โดยคา นยิ มในการตั้งช่อื น้ําตกในประเทศไทยลักษณะนี้มจี าํ นวน 44 ช่อื ผวู ิจยั พบคดิ เปน รอ ยละ 8.7 ซ่ึงมที ่ีคา นยิ มโดยยึดท่มี าดงั ตอไปน้ี “น้ําตกวชิรธาร” จังหวัดเชียงใหม เนื่องจากน้ําตกมีเสียงดังเหมือนการตีฆองขนาดใหญภายหลังไดมีการเปล่ยี นช่ือใหมต ามพระนามาภไิ ธยของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร จึงเปนทม่ี าของการตงั้ ชอ่ื “วชริ ธาร” “นา้ํ ตกหงสเ วยี งจนั ทร” จังหวัดนา น เมอ่ื มีการสาํ รวจพ้นื ท่ที างเจาหนาทอ่ี ุทยานแหงชาติไดใ หเ กยี รติกบั ผบู กุ เบกิ และสํารวจในครั้งแรก คอื นายวิทยา หงสเวียงจนั ทร จึงไดน าํ นามสกุลมาตัง้ ช่อื น้าํ ตก “น้าํ ตกธารสวรรค” จังหวัดพะเยา ชาวบานไดค นพบนาํ้ ตกแหง น้ีเปน เวลาไมต่ํากวา 40 ปนํา้ ตกนอ้ี ยบู นภเู ขาสูงมคี วามสูงเหนือระดบั น้าํ ทะเล 471 เมตร และมีนํา้ สเี ขียวมรกตสวยงาม มีมานน้ําตกในชวงฤดูฝน หลังจากฝนตกผานไปแลวหนึ่งวัน ทําใหเกิดปรากฏการณเสมือนเสนนํ้าตกที่ไหลมาจากสรวงสวรรค จึงกลายมาเปน ท่มี าของชอ่ื นํ้าตกธารสวรรค 2.3 คา นยิ มในการนําลกั ษณะทางภมู ิศาสตร ตาํ แหนงท่ตี ้ัง มาใชต ้งั ชื่อคา นยิ มโดยยึดตามลักษณะทางภูมิศาสตร ตาํ แหนงทต่ี ัง้ ในการตง้ั ชอื่ นํา้ ตกในประเทศไทยน้ัน หมายถึง ชื่อนํ้าตกบางแหง ถกู สรางขึ้นจากคานยิ มของผูสรางชือ่ นาํ้ ตกที่อาศยั ลักษณะทางภูมิศาสตร ตําแหนงที่ต้ังอันเก่ียวของกับนาํ้ ตกแหง น้ัน มาตั้งเปน ชื่อนาํ้ ตก ดงั ตัวอยางตอ ไปน้ีดงั นี้

506นาํ้ ตกปาหวาย จังหวดั ตากนา้ํ ตกกรงุ ชิง จงั หวดั นครศรีธรรมราชน้ําตกขางทางสายใหม จังหวดั พะเยา จากนามนํ้าตกขางตน ผวู ิจัยพบวามีคานิยมในการต้ังชื่อนํ้าตกโดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตรตําแหนง ทตี่ ้ัง คอื ปาหวาย, กรงุ ชงิ , ขา งทางสายใหมเปน ตน เปนตน โดยคานิยมในการต้ังช่ือนํ้าตกในประเทศไทยลักษณะน้ี มจี าํ นวน 314 ช่ือ ผูว ิจยั พบคดิ เปน รอยละ 62.54 ซ่ึงมที ีค่ า นิยมโดยยึดท่ีมาดงั ตอไปน้ี “นาํ้ ตกปาหวาย” จงั หวัดตาก น้ําตกน้ีตั้งชื่อตามลําหวยปาหวาย เพราะบริเวณรอบมีไมหวายเปนจํานวนมาก อยูในเขตรบั ผิดชอบของอทุ ยานแหง ชาตนิ ํา้ ตกพาเจรญิ “น้ําตกกรุงชงิ ” จงั หวัดนครศรีธรรมราชตั้งช่ือตามคลอง คลองกรุงชิง คําวา “กรุงชิง” เปนชื่อสถานทแ่ี หง หนงึ่ ในจังหวดั นครศรธี รรมราช เช่อื กันวาเคยเปนชมุ ชนมาแตส มัยโบราณ เปนพ้นื ที่ทีม่ ีประวตั ิการตอสูอันเกิดจากความขัดแยง ทางความคิด ในการปกครอง พื้นที่ผืนปากรุงชิง โดยพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยตัง้ แตป 2517 ตอ มาฝา ยรฐั บาลสามารถยึดพื้นท่ีได ทําใหพรรคคอมมิวนิสตท่ีกรุงชิงแตกในป 2524 คําวา “ชิง”เปนชอ่ื ของ ตน ชิง ซึ่งเปน พันธุไมในตระกูลปาลมชนดิ หนง่ึ ทม่ี ีมากในบรเิ วณน้ําตก จึงเปน ทม่ี าของชอ่ื “กรงุ ชงิ ” “นํา้ ตกขางทางสายใหม” จงั หวัดพะเยาเนือ่ งจากนา้ํ ตกตดิ กับเสน ทางสายใหม ซ่งึ เปนถนนทตี่ ัดใหมจงึ เปนที่มาของชื่อนํ้าตก “ขา งทางสายใหม”2.4 คา นยิ มในการนําลกั ษณะการไหลของนํ้าตกมาใชต งั้ ชือ่คานยิ มโดยยดึ ตามลักษณะการไหลของน้ําตกในการตง้ั ชื่อนา้ํ ตกในประเทศไทยน้นั หมายถึงชอ่ื นาํ้ ตกบางแหง ถูกสรางข้ึนจากคานิยมของผูสรางช่ือนํ้าตกที่อาศัยลักษณะการไหลของนํ้าตกอันเกี่ยวของกับนํา้ ตกแหงนนั้ มาต้ังเปน ช่ือนา้ํ ตก ดงั ตัวอยางตอไปน้ีดังนี้นา้ํ ตกตาดฮางริน จังหวดั ขอนแกนนาํ้ ตกสายรุง จงั หวดั ตรงัน้ําตกหนานน้ําฟุง จงั หวดั นครศรีธรรมราช จากนามนํ้าตกขางตน ผูวิจัยพบวามีคานิยมในการตั้งชื่อนํ้าตกโดยอาศัยลักษณะการไหลของนา้ํ ตก คือ ตาดฮางรนิ , สายรุง, หนานน้ําฟุงเปนตน โดยคานิยมในการต้ังชื่อนํ้าตกในประเทศไทยลักษณะนี้ มีจํานวน 51 ชอื่ ผูวิจยั พบคดิ เปน รอ ยละ 10.15 ซึ่งมีท่คี านิยมโดยยดึ ท่ีมาดังตอไปน้ี “นาํ้ ตกตาดฮางรนิ ” จังหวดั ขอนแกน คําวา “ตาด” ในภาษาอีสาน หมายถึง บริเวณที่เปนลานหนิ เปนทีร่ าบโลงมักจะมีน้ําตก “ฮางรนิ ” หมายถึง รางน้ําทที่ ําจากไมกลุมชาวบา นตดั ไมไผม าทาํ เปน รางน้ํา โดยนาํรางไมทที่ ําเปน รอ ง เอาไปรองนา้ํ ท่ดี า นใตนํ้าตก ทาํ เสาไมคํา้ ยันตอ เปน รางลงมาเปนชวงๆน้ําไหลตามรางน้ําลงไปยงั ทไ่ี รทน่ี าการเกษตร จงึ เปน ท่ีมาของการตัง้ นามน้าํ ตก “ตาดฮางรนิ ”

507 “น้ําตกสายรงุ ” จังหวัดตรัง เปนนํ้าตกชั้นเดียวท่ีตกลงมาจากหนาผาสูงใหญ จุดเดนที่สุดของนํา้ ตกแหง นี้คือ ทุกวนั เวลา 15.00-17.00 น. ละอองน้ําของนํ้าตกจะทํามุมกับแสงอาทิตยปรากฏเปนประกายรุงสวยงาม โดยเฉพาะฤดูที่มีนาํ้ มากจะเห็นไดเดน ชัดยง่ิ ขน้ึ เปนท่มี าของการชอ่ื “สายรุง” “นํ้าตกหนานนา้ํ ฟุง” จงั หวัดนครศรธี รรมราช นาํ้ ตกนต้ี ้งั ช่ือตามภาษาทอ งถน่ิ คําวา “หนาน”หมายถึง ผาหิน สวน คําวา “นํ้าฟุง” หมายถึงน้ําท่ีไหลตกลงมาจากที่สูงมาตกยังที่ตํ่า จึงทําใหเกิดน้ําฟุงเปนละออง ชาวบา นเม่ือกอนเลยตั้งนามวา “หนานนํา้ ฟงุ ”2.5 คา นิยมโดยยดึ ตามช่ือพนั ธไุ ม ชอ่ื สตั วคานยิ มโดยยดึ ตามช่อื พันธุไม ชื่อสัตวใ นการต้ังช่อื นํ้าตกในประเทศไทยนนั้ หมายถึงชอื่ นํ้าตกบางแหง ถูกสรางขน้ึ จากคานยิ มของผสู รา งช่ือนาํ้ ตกทอ่ี าศัยชอื่ พนั ธุไม ช่อื สัตวอันเกี่ยวของกับน้ําตกแหงนั้น มาต้ังเปนช่ือนา้ํ ตก ดังตัวอยา งตอ ไปนีด้ งั นี้น้ําตกสม ปอย จังหวดั ปราจนี บุรีนาํ้ ตกโตนเตย จงั หวัดพังงาน้ําตกนกรํา จงั หวดั ตรัง จากนามนํ้าตกขางตน ผูวิจัยพบวามีคานิยมในการต้ังชื่อนํ้าตกโดยอาศัยช่ือพันธุไม ช่ือสัตวคือสมปอย, โตนเตย, นกรําเปน ตน โดยคา นิยมในการต้ังชื่อนํ้าตกในประเทศไทยลักษณะน้ี ผูวิจัยพบคิดเปนรอยละ 13.34 ซ่งึ มีท่ีคา นยิ มโดยยึดทมี่ าดังตอ ไปนี้ “นํา้ ตกสม ปอย” จงั หวดั ปราจีนบุรี มีตนสมปอ ยขน้ึ บริเวณนาํ้ ตก จงึ เปนที่มาของนามนํ้าตก “น้าํ ตกโตนเตย” จังหวัดพังงา คําวา “โตน” หมายถึง น้ําตก บริเวณน้ําตกมีตนเตยขึ้นอยูเปนจาํ นวนมาก จึงเปน ทม่ี าของชือ่ นํ้าตก “โตนเตย” “นาํ้ ตกนกรํา” จงั หวัดตรงั ในสมยั กอนชาวบา นพบนกยูงและนกชนิดอนื่ ๆบรเิ วณน้ําตก เหลานกจะโยกตัวคลา ยๆกบั การรายรํา จึงเปนทม่ี าของชื่อ “นกราํ ”อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะการวิจัย ผลจากการวิจัยเร่ือง “นามนํ้าตกในประเทศไทย : กลวิธีการสรางคําและคานิยมในการต้ังช่ือ”มีวัตถุประสงคเ พอ่ื ศึกษากลวธิ กี ารสรา งคาํ และคานิยมในการตงั้ ชอื่ ดงั จะไดเ สนอเปน ประเด็นตอ ไปนี้ 1) กลวิธกี ารสรางคาํ ในชื่อนํา้ ตกในประเทศไทย เมอื่ ศึกษาการสรางคาํ ในชือ่ น้ําตกแลว สามารถแบง ไดเปน 3ประเภท ไดแก คําโดดทมี่ ีความหมายในตวั เอง แบง ออกเปนชนดิ ของคาํ ได 3 ชนิด คือ คํานาม คํากรยิ า คาํ ประสม ในสวนของการรวมหนวยคํา แบงไดเปน 2 ลกั ษณะ คือ การผสานคํา การผสมคํา การผสานคํามกี ารประกอบหนวยคําอยู 2 ชนิดคือ หนว ยคําไมอิสระกับหนว ยคาํ ไมอิสระ และหนวยคาํ ไมอ สิ ระกับหนวยคําอิสระ หนว ยคาํ เหลา น้สี ามารถวางเปน คาํ หลกั หรือคํารองก็ได การผสมคํา แบงไดเปน 3 ประเภทคือ คําประสม คําซอน คําซ้ํา และคํายืมท่ีมาจากภาษาตางประเทศ

508สอดคลองกบั เกณฑก ารสรางคําของ พระยาอุปกติ ศิลปสาร (2539: 60-61) ไดกลาวถงึ การสรางคาํ สรุปไดวา คําในภาษาไทยจาํ แนกตามลักษณะและท่มี าเปน สามจําพวก คือคํามูล คําสรางใหมคํายืม 3 ประเภท ไดแก คําประสมคาํ ซอน คําซํ้าและคํายมื 2) กลวธิ ีการสรางคาํ โดยใชภาษาไทยถิ่นเปน คําตนหรอื คําหลกั ภาษาถน่ิ เปนการแสดงเอกลักษณข องถิน่ ตน ลกั ษณะความเปนอยู และวถิ ีชีวติ ของผคู นในทองถ่ินของแตละภาคของประเทศไทย ภาษาถิ่นทุกภาษาเปนภาษาที่สําคัญในสังคมไทย เปนภาษาท่ีบันทึกเร่อื งราว ประสบการณ และวฒั นธรรมทุกแขนงของทอ งถนิ่ การสรางชอื่ นาํ้ ตกนพ้ี บคาํ โดดภาษาไทยถน่ิ เปนคําตนหรือคําหลักหลายแหง ไดแก ภาษาไทยถ่ินเหนือ, ภาษาไทยถิ่นอีสาน, ภาษาไทยถิ่นใต มีความสอดคลองกับงานวิจยั ของ พชั รัมพร ละลอกแกว (2540:318) ที่ศึกษาเรื่อง คําประสมในภาษาอีสาน ท่ีสรุปไดวา ที่มาของคําประสมในภาษาอีสานสามารถแบงได 5 ลักษณะคือ คําถ่ินอีสานกับคําถิ่นอีสาน คําถ่ินอีสานกับคําถิ่นอ่ืน คําถิ่นอสี านใชร ว มกับภาษาไทยกลางหับคําภาษาอนื่ คาํ ถิ่นอสี านใชรว มกับภาษาไทยกลาง หรือภาษาไทยกรุงเทพฯ คําภาษาอืน่ กบั คําภาษาอ่ืน ดังจะเสนอคาํ ตอไปนค้ี ําวา“โตน” เปนภาษาไทยถ่นิ อสี านและถ่ินใต หมายถึง นํ้าตกหรือน้าํ ที่ไหลลงมาจากทสี่ งู เชน โตนเพชร โตนกลอยโตนคลาน เปนตน,คําวา“ตาด” เปนภาษาไทยถ่ินเหนือและถิ่นอีสาน ในบางพื้นที่ ใหความหมายของคํานี้วาน้ําตก บางพ้ืนที่ใหความหมายวาลานหินเปนช้ันๆ บางพื้นท่ีใหความหมายวาลานหนิ ที่ราบโลง ทั้งนี้แมจะมีความหมายที่หลากหลาย แตก็มีความหมายสอดคลองกันเชน ตาดมะคา ตาดทอง เปนตน,คําวา “แม” บงบอกถงึ นามน้ําตกทางภาคเหนือ เนอื่ งจากนามนํ้าตกมกั สรางนามตามช่ือแมนาํ้ ชอ่ื หมูบาน คาํ นเี้ ปน การเนน ยาํ้ ความหมาย เพ่ือใหเห็นถึงความสําคัญของคําหลัก หรืออีกหน่ึงความหมายคาํ วา “แม” ยอ มาจากคําวา “แมน ํา้ ”ทไ่ี หลผานหมบู า นนัน่ เอง เชน แมเปยก แมมอญ เปนตน , คําวา“ขุน” คํานี้มาจากคําวา “ขุนเขา” มักจะเห็นในนามนํ้าตกทางภาคเหนือ เน่ืองจากน้ําตกต้ังนามตามชื่อขุนเขา จึงพบคําน้ีข้ึนตน เชน ขนุ หวย ขนุ กรณ ขุนแจ เปน ตน 3) การจดั กลุมคา นิยมของการสรา งนามของนาํ้ ตก เมือ่ ไดทาํ การวจิ ัยเร่ืองคานิยมแลว พบวา คา นิยมการตั้งชอื่ นํ้าตกในประเทศไทยสามารถจัดกลุมคานิยมได 5 หมวด ดังนี้คานิยมโดยยึดตํานาน นิทาน และเหตุการณที่เกิดข้ึนในประวัติศาสตร คานิยมโดยยึดตามช่ือบคุ คลหรอื ชื่ออื่นๆ คา นยิ มโดยยึดตามลักษณะทางภูมิศาสตร ตําแหนงท่ีตั้ง คานิยมโดยยึดตามลักษณะการไหลของนํ้าตก คานิยมโดยยึดตามช่ือพันธุไม ชื่อสัตว ซ่ึงสอดคลองกับวิจัยของ กฤษณา สินไชย (2545: 5-6) ไดพจิ ารณาคานยิ มการตงั้ ช่ือของสถานท่ีตาง ๆ ของไทย แลวพบวาการตั้งชื่อสถานท่ีนิยมนํามาจากนิทานพื้นบานปรมั ปรา ช่ือบุคคลผูสรางถิ่นฐานนั้น ชื่อบุคคลที่อยูในละแวกเดียวกันหรือบริเวณน้ันส่ิงแวดลอมตามธรรมชาติลักษณะภูมปิ ระเทศ หรอื ชอื่ ตนไม เหตุการณในประวัติศาสตร การทําสงคราม การรบกอใหเกิดชื่อสถานท่ีตาง ๆอาชีพตาง ๆกอใหเกิดนามทองถิ่นขึ้นและช่ือท่ีเปนคําภาษาตางประเทศ หรือคําเพ้ียนมาจากภาษาตางประเทศหรือคาํ เพย้ี นของชื่อของถ่นิ ตา ง ๆ ของไทย

509 4) การศึกษาคานิยมของการสรา งนามของนาํ้ ตก บง บอกถึงบทบาทของน้ําตกตอ สังคม นามนาํ้ ตกแตล ะแหง เมอื่ นํามารวบรวมแลว สามารถเปน ขอมูล เชน ขอมูลดานประวัติศาสตร ดานสังคมดานวถิ ีชีวิตของคนในทองถิน่ ได ซ่ึงสอดคลอ งกบั งานวิจัยของมนตรี ศรีราชเลา (2553: 241) ไดกลาวถึงแนวนิยมในการต้ังบานนามเมือง สรุปไดวา คนในทองถิ่นต้ังชื่อสถานที่แหงหน่ึงแหงใดตามความรูสึกนึกคิดของตนนอกจากน้ียงั มกี ารเปล่ยี นแปลง เพราะความเหมาะสมและความนยิ มของทอ งถ่นิ นน้ั ซงึ่ อาจจะสัมพันธก บั ลกั ษณะภูมิประเทศหรอื สมั พันธกบั ประวัติศาสตรทองถ่ิน หรือสัมพันธกับส่ิงอื่นใดที่มีอยูในทองถ่ินนั้น เชน นํ้าตกทุงนามอญท่มี ีตํานานวา ชาวมอญเคยมาทํามาหากินบริเวณท่รี าบกลางหุบเขา แสดงใหเห็นวาแตเดิมนั้นคนในประเทศเพอื่ นบา นเขา มาอาศยั ในพ้ืนทปี่ ระเทศไทย นํ้าตกตาํ หนงั นามน้ไี ดม าจากพิธีในสมัยกอนของทางถ่ินใตท่ีชื่อวา“โคลมตาย แลหนังโคขาย” เกดิ จากชาวบา นชว ยกันแลห นงั โคออก ซ่งึ ภาษาใตเ รียกวา “ตาํ หนงั ” บง บอกประเพณีของผูค นในชุมชน น้าํ ตกตาดฮางรนิ สะทอ นใหเหน็ คานิยมการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่นชาวบานไดตัดไมไผมาทําเปน รางนาํ้ เอาไปรองนา้ํ ที่ดา นใตนํา้ ตก ทาํ เสาไมค้าํ ยันตอ เปนรางลงมาเปนชว งๆ นํา้ ไหลตามรางน้ําลงไปยังท่ีไรที่นาการเกษตร ชาวบานตอ งอาศยั แหลง นํ้าจากน้าํ ตกแหง น้ี จึงนาํ วิถปี ฏิบตั ดิ ังกลา วมาตัง้ เปนช่ือน้ําตกขอเสนอแนะ จากการวิจยั เร่อื ง \"นามน้ําตกในประเทศไทย: กลวิธีการสรา งคาํ และคา นิยมในการต้งั ชอ่ื \"มีผวู ิจยั พบวา ยังมีขอ เสนอแนะตอการดาํ เนินการวจิ ยั ขั้นตอ ไปนี้ 1) ควรศึกษาความหมายของนามนาํ้ ตกในประเทศไทย เพ่ือใหเกดิ การรวบรวมแหลงขอ มลู ทีส่ มบูรณเพิม่ มาขน้ึ 2) ควรศึกษาสาเหตุการเปล่ียนจากนามเดิมเปน นามปจจบุ นั ของนามนาํ้ ตกในประเทศไทย เพือ่ ใหเหน็ คานิยมและการพฒั นาของชมุ ชนทองถ่นิ นน้ั บรรณานกุ รมกระทรวงการทองเที่ยวและกฬี า. (2532). ขอมูลแหลง ทองเท่ียวประเภทนํ้าตก. ม.ป.ท.กฤษณา สินไชย. (2545). แดนดินถนิ่ ไทย: ช่ือบา นนามเมอื ง. กรงุ เทพมหานคร: พิมพค าํ .กาํ ชัย ทองหลอ. (2533). หลักภาษาไทย (พมิ พครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ. เจนน่ี วดู .(ม.ป.ป). น้ําตก.กรงุ เทพมหานคร: ฟารอ ตี พับลิเกชน่ั .ชลธชิ า กลดั อยู และคณะ.(2517). การใชภ าษาไทย. กรงุ เทพมหานคร: เกล็ดไทย.ดวงพร หลมิ รตั น. (2547).ภาษาไทย.กรงุ เทพมหานคร: พงษว รินทร.เธยี รชัย เอย่ี มวรเมธ. (2544). พจนานุกรมไทยฉบบั ใหม (พมิ พค ร้งั ที่ 1). กรุงเทพมหานคร: รวมสาสน (1977).นฤมล ตงุ คะโหตร. (2547). การตงั้ ชื่อวัดในพทุ ธศาสนาในกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาศาสตร, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

510เนรมิต จาํ นง. (2554). ศพั ทสงิ่ แวดลอ มเชงิ ภมู ิศาสตร (พิมพค ร้งั ท่ี 1). กรงุ เทพมหานคร: ดวงกมลพบั ลิชชง่ิ .เปรมจติ ชนะวงศ. (2538). หลักภาษาไทย (พมิ พครง้ั ที่ 8). นครศรีธรรมราช: สถาบันราชภัฏนครศรธี รรมราช.ผะอบโปษกฤษณะ. (2538). ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย (พมิ พค รัง้ ท่ี 5). กรงุ เทพมหานคร: อกั ษรพิทยา.พชั รมั พร ละลอกแกว . (2540). คาํ ประสมในภาษาถ่นิ อสี าน. วทิ ยานิพนธศกึ ษาศาสตรหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าภาษาไทย, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.มนตรี ศรีราชเลา.(2553). “ชื่อบา นนามเมอื ง”: ความหมายการคงอยูและการเปลีย่ นแปลงช่อื หมบู า นในจงั หวัด มหาสารคาม.อีสานศกึ ษา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม, 7(16), 241.ราชบัณฑิตยสถาน.(2549).พจนานกุ รมศัพทภ ูมิศาสตร ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน (พมิ พค ร้ังท่ี 4). กรงุ เทพมหานคร: ชวนพมิ พ.วรชัย ทองไทย.(2553).“ความสําคญั ของช่อื ”. จดหมายขา วประชากรและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, 30(5), 8.วรางคณา สวางตระกลู . (2540). การศึกษาภาษาที่ใชในการต้งั ชอื่ ของคนไทยในกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.วนั เพญ็ เทพโสภา. (2539). หลกั ภาษาไทย ฉบับนักเรียน นกั ศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: วสิ ิทธพิ์ ฒั นา.วิชุตา ทองคํากัลยา. (2552). ลักษณะภาษาทใ่ี ชใ นการต้ังชือ่ เรอื หลวงไทย. วทิ ยานพิ นธศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ , สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.สพุ ัตรา จริ นนั ทนาภรณ และอัญชลี สิงหน อ ย.(2547). รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง ภมู ินามของหมบู านในเขตภาคเหนอื ตอนลา ง. สาขาวิชาภาษาศาสตร, มหาวิทยาลยั นเรศวร.เสนีย วิลาวรรณ และคณะ. (2551). ภาษาไทย ม.3. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช.อมรรตั น วนั ยาว. (2545). การตง้ั ชือ่ ของกลุมชาติพันธุผไู ทในเขตอําเภอเขาวง. จงั หวัดกาฬสนิ ธ.ุ วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.อปุ กิตศิลปสาร, พระยา.(2539). หลกั ภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช.โอฬาร รตั นภักดี และวิมลศริ ิ กลน่ิ บุบผา.(2551).รายงานการวิจยั เร่อื ง ภมู ินามของหมูบ านในจงั หวัดลาํ ปาง. วทิ ยาลัยสหวิทยาการ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ศูนยล ําปาง และภาควิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.

511 Substance and Cohesion Studies in the Sangkha Council of Rattanakosin Period Acts การศกึ ษาสาระและการเชอ่ื มโยงความในพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆส มยั รตั นโกสนิ ทร พรี ะพล ออ นลาํ เนาว1 Peerapol Onlumnaow ดวงเดน บญุ ปก, ดร.2 Duangden Boonpok, Ph.D.บทคัดยอ การศึกษาสาระและการเชื่อมโยงความในพระราชบัญญตั ิคณะสงฆส มัยรัตนโกสินทร มวี ตั ถุประสงคเพอื่ การศกึ ษาสาระในขอ พระราชบญั ญตั ิและการเชื่อมโยงความของการตราพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆใ นสมัยรตั นโกสินทร อนั เปนเครือ่ งมอื กาํ กบั บทบาทของพระสงฆใ นบรบิ ทสงั คมยคุ รัตนโกสนิ ทรต อนตนตราบจนถึงยคุ ปจ จุบัน ผลการศกึ ษาพบวา สาระสําคัญในขอพระราชบญั ญตั ิทพี่ บมี 4 ประเภท คอื สาระทเี่ ปน ขอ บงั คับหรอื คาํ สง่ัสาระที่เปน การแจง ใหท ราบ สาระทเ่ี ปน การอนุญาต และสาระทเ่ี ปนคาํ จาํ กัดความ โดยสาระทเี่ ปน ขอบงั คบั หรือคาํ สง่ัเปนสาระทม่ี กี ารพบมากท่ีสดุ รองลงมาคอื สาระทเ่ี ปน การอนญุ าต สวนสาระทเ่ี ปน การแจง ใหท ราบและสาระท่ีเปนคาํจาํ กัดความมคี วามถ่ใี นการพบไมแตกตา งกัน ในแตล ะสาระมโี ครงสรา งองคป ระกอบที่แตกตา งกัน สาระสาํ คญั ของขอพระราชบญั ญตั ิทาํ ใหท ราบเจตนาของผตู ราพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆใ นแตล ะยุคสมยั เพือ่ การปกครองคณะสงฆ และปกปองสถาบนั พระพทุ ธศาสนา สว นการศกึ ษาการเชอื่ มโยงความพบวา มกี ารเช่อื มโยงความในขอพระราชบญั ญตั ิ 3ประเภท คอื การเชื่อมโยงความดวยการอา งถึง การเชอื่ มโยงความดว ยการซํ้า และการเชอ่ื มโยงความโดยคาํ เชือ่ มการเชอ่ื มโยงความมีความสาํ คญั ในการสรา งความเขา ใจท่ชี ดั เจนในขอกฎหมายคาํ สําคญั : พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ, สาระสําคัญ, การเชือ่ มโยงความ 1พระมหา, นสิ ติ หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒPhramaha, Graduates in M.A. (Thai) program, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University. 2รองศาสตราจารยป ระจําภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒAssociate Professor, Department of Thai and Oriental languages, Faculty of Humanities,Srinakharinwirot University.

512Abstact The purpose of study is to represent the substance and cohesion of the SangkhaCouncil ofRattanakosin Period acts which was used by monks in the early Rattanakosin Period till the present. The study has found out that the substance of the SangkhaCouncil of RattanakosinPeriod Actsconsists of 4 characteristics: (1) command, (2) notifications, (3) permissions and (4) definitions. Inaddition to this, the commands had been mentioned mostly, the permissions, the notifications, andthe definitions respectively. Each one had difference in details. Regarding on cohesion, it has also found that there is cohesion of the Acts consisting of 3characteristics: (1) the cohesion by the process of reference, (2) the cohesion by the process ofrepetition, (3) the cohesion by the process of conjunction. The substance of the Acts illustrated usknow the intention of those who issued it: to promote the administration of the Sangha, to protectBuddhism. Furthermore, the cohesion helps us understand the Acts clearly.Keywords: The Sangkha Council of Rattanakosin Periods Acts, Substance, Cohesionบทนาํ กฎหมาย เปน กฎเกณฑทีผ่ มู ีอาํ นาจหนา ทตี่ ราข้นึ เพอื่ ใชบ งั คบั บุคคลใหปฏิบตั ติ าม เปนการกําหนดกฎระเบียบขอ ปฏบิ ัติ และการลงโทษ เพ่ือเปน หลกั เกณฑในการบริหารประเทศ สรางความเรียบรอย ความผาสุกระหวางบุคคลหรือระหวา งบุคคลกับรัฐ กฎหมายเปนสิ่งที่เกิดจากจารีตประเพณีอันเปนท่ียอมรับกันในสังคม ผูที่ไมปฏิบัติตามตองไดรับบทลงโทษ ซ่ึงในประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในสวนเสรีภาพของปวงชนชาวไทย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 กาํ หนดไววา “...ปวงชนชาวไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา นิกาย ลัทธิ ความเช่ือทางศาสนา และเสรภี าพในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของตน...” รัฐธรรมนูญระบุวาพระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และเปนอัครศาสนูปถัมภกในการดูแลอุปถมั ภทกุ ศาสนาที่ปวงชนชาวไทยนับถือ ในสวนของภาครัฐมีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 79 กําหนดไวอยางชัดเจนวารัฐมีหนาที่ในการอุปถัมภพระพุทธศาสนา ขอความในมาตราดงั กลาวจึงเปนการเนนย้ําความสาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนาซง่ึ เปนศาสนาหลักของประเทศไทยท่ีประชาชนไทยสว นใหญนับถือ ดังผลสํารวจจํานวนประชากรของสํานักงานสถิติแหงชาติ (2557) ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 พบวาประชาชนไทยอายุ 13 ปขนึ้ ไปนบั ถอื พระพุทธศาสนารอ ยละ 94 พุทธศาสนิกชนชาวไทยยึดมั่นตามหลักคําสอนของพระพุทธองคเคารพศรัทธาพระสงฆผูเผยแผพระธรรมของพระพุทธเจา กิจของพระสงฆจึงมีความสําคัญควบคูกับพระพุทธศาสนาเสมอมา ดังนั้นจึงมีการตรากฎหมายเกี่ยวกับพระสงฆเรียกวา “พระราชบัญญัติคณะสงฆ” เพ่ือใหอํานาจรัฐในการอุปถัมภดูแลพระพุทธศาสนา ในตนกรุงรัตนโกสนิ ทรรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ทรงตรา “กฎพระสงฆ” โดยมีเพียง 10 ขอ ตราบถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัว มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ตราพระราชบัญญัตเิ กยี่ วกับคณะสงฆ เรยี กวา “พระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองคณะสงฆ รตั นโกสนิ ทรศก 121” สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิร

513ญาณวโรรส (พระธรรมเจดีย, 2558, น.46, อางถึงใน สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส, 2457, น.36)ทรงนพิ นธเ กี่ยวกบั เร่ืองการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆไวในแถลงการณคณะสงฆวา “ภิกษุสงฆ แมจะมีพระวินัยเปนกฎหมายสําหรับตวั อยสู วนหน่ึงแลว กย็ งั จะตอ งอยใู นใตอาํ นาจแหงกฎหมายฝายอาณาจักรอีกสวนหนึ่ง ซึ่งตราไวเฉพาะหรอื เพ่อื คนทั่วไปและยงั ควรอนุวัตจารีตของบา นเมือง อนั ไมขัดตอกฎหมายสองประเภทน้ันอีก”พระนิพนธดังกลาว ทําใหทราบวาพระสงฆตองยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัดตามพระธรรมวินัย จารีตประเพณี และกฎหมายบานเมืองรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั อานันทมหดิ ล มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯใหชําระพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ จนนาํ ไปสูก ารตรากฎหมายพระสงฆที่เรียกวา “พระราชบัญญัติคณะสงฆ พุทธศักราช 2484” บังคับใชจนถึงรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช จึงมีการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆข้ึนใหมใน พ.ศ. 2505 เพ่ือปรับปรงุ และแกไขในส่ิงทเ่ี คยเปน ปญหา พระราชบญั ญัตฉิ บับนี้มีการแกไขอีกคร้ังในระยะตอมาเมื่อ พ.ศ. 2535 ซ่ึงเปนการแกไ ขใหมีความเหมาะสมมากยิง่ ข้ึนเรียกวา พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆฉบับ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆฉบับพ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติคณะสงฆมีความนาสนใจคือ เปน ภาษาทางกฎหมายที่ใชเฉพาะกลุมพระสงฆโดยมีความสัมพันธกบั บุคคลสวนมากในทางอํานาจการปกครอง มีการใชภาษาอยางระมัดระวัง ชัดเจน มีความสอดคลองกับพระธรรมวินัยจารีต จากการที่ผูวิจัยศึกษาขอมูลการศึกษาภาษาในกฎหมายโดยท่ัวไป เบื้องตนพบวา สวนมากจะศึกษาในเรอ่ื งของสาระ ศึกษาการเชือ่ มโยงความ ศึกษาโครงสรา งทางวากยสัมพันธ ศึกษาทางดานคําศัพท และจากการที่ผูวิจัยไดสํารวจงานวิจัยและวิทยานิพนธที่เกี่ยวของกับการศึกษาภาษาในกฎหมายทั้งในระดับคํา (Word) ระดับประโยค (Sentense)และระดับขอความ (Discourse) พบวา ยังไมมีผูวิจัยทานใดศึกษาพระราชบัญญัติคณะสงฆในมิติทางภาษา อาจเนื่องจากพระราชบัญญัติคณะสงฆเปนพระราชบัญญัติที่ตราขึ้นเฉพาะกลุม ซึ่งหมายถึงใชในการปกครองคณะสงฆเทานั้น แตเม่ือพิจารณาขอมูลของจํานวนพระภิกษุ-สามเณรในประเทศไทยแลวจะพบวามีจํานวนถึง 348,433 รูป(สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ, 2557) และในจํานวนสามแสนกวารูปนี้ยังไมนับรวมบรรพชิตนานาชาติที่เขามาศกึ ษาในประเทศไทยซึง่ ตอ งอยูภ ายใตพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆไ ทยเชน กัน พระสงฆม ีหนา ที่ทจ่ี ะตองรับรู เขาใจ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ อีกท้ังพระสงฆตองรูและปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองเชนเดียวกันกับประชาชนท่ัวไป ซึ่งสอดคลองกับท่ี ธานินทรกรัยวิเชียร (2543, น.1) ไดกลาววา“กฎหมายเปน ขอบังคับซึง่ ใชบังคับแกบุคคลท่ัวไปและบุคคลทั่วไปจําเปนตองอานและเขาใจกฎหมายนั้นๆดวย เพราะหลกั กฎหมายสําคัญมีอยูวาความไมรูกฎหมายไมเปนขอแกตัว”และการที่พุทธศาสนิกชนท่ัวไปตองเก่ียวของติดตอกับพระสงฆ ประชาชนจึงควรทราบเพอื่ ความเขา ใจ การเรียนรู ประพฤติปฏิบัติและแสดงออกอยางเหมาะสมกับพระภิกษ-ุสามเณร ในประเด็นดานการใชภาษาของพระราชบัญญัติคณะสงฆนอกจากจะเปนเรื่องภาษากฎหมายแลว ยังเปนลักษณะของการใชภาษาเฉพาะกลุม ภาษาในพระราชบัญญัติคณะสงฆนอกจากจะมีความกระชับ รัดกุม และตองสอดคลองกับพระธรรมวินัย การทําความเขาใจกับภาษาพระราชบัญญัติคณะสงฆน้ันตองอาศัยความรูทางภาษา การตีความทางภาษา ความรดู า นพระธรรมวินยั และความรูดานพระพุทธศาสนาประกอบกันดวย ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาภาษาในพระราชบัญญตั ิคณะสงฆส มัยรัตนโกสนิ ทร เพ่ือใหเ ขา ใจสาระในมาตราตา งๆ และศึกษาการเชื่อมโยงความใหเห็นความเปนเอกภาพของตัวบทพระราชบัญญัติคณะสงฆในแตละมาตรา นอกจากจะไดศึกษาลักษณะของภาษาใน

514พระราชบัญญัติคณะสงฆแลว ยังสามารถทําใหทราบถึงจุดมุงหมายของคณะผูบัญญัติพระราชบัญญัติคณะสงฆ การกําหนดบทบาทหนา ทขี่ องสมาชกิ ในสงั คมท่สี ะทอนออกมาจากขอกําหนดในตวั บทพระราชบญั ญัติคณะสงฆ และบทบาทของพระสงฆในบริบททางสังคมทเี่ ปลีย่ นแปลงอกี ดวยวตั ถปุ ระสงค 1. ศกึ ษาสาระในมาตราตางๆของพระราชบญั ญัติคณะสงฆสมัยรัตนโกสนิ ทร 2. ศึกษาการเช่อื มโยงความในพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆสมัยรตั นโกสนิ ทรทบทวนวรรณกรรม ในการศกึ ษาคร้ังน้ี ผวู ิจัยศึกษาสาระสาํ คัญของพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆในแตล ะมาตรา และศกึ ษาการเชือ่ มโยงความในพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ ซ่งึ จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเก่ียวของ เพ่ือเปนกรอบแนวทางในการศึกษา มีดงั นี้ 1. ความเปนมาพระราชบัญญตั ิคณะสงฆสมัยรตั นโกสนิ ทร ปล้มื โชติษฐยางกูร (2550, น.27) ไดกลาวถงึ ประวัติการตรากฎหมายเกี่ยวกับคณะสงฆวา “เกิดขึ้นเปนครั้งแรกในยุคตนกรุงรัตนโกสินทรรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช การตรากฎหมายดังกลา วเรียกวา “กฎพระสงฆ” รวมอยูในกฎหมายตราสามดวง ซึ่งทรงใหชําระรวบรวมขึ้นในปจุลศักราช 1166(พ.ศ. 2347)” การตรากฎพระสงฆมวี ตั ถปุ ระสงคใ นการควบคุมความประพฤติของพระสงฆใหเครงครัดตามพระธรรมวนิ ัย โดยมขี อกาํ หนดเพยี ง 10 ขอ ในสมยั รัชกาลที่ 3 มีนิกายสงฆใหมช่ือวา ธรรมยุติกนิกาย และพยายามแยกคณะเปน อิสระจากคณะทงั้ 4 แตถึงกระนั้น คณะสงฆธรรมยุติกนิกายยังรวมอยูภายใตการปกครองของเจาคณะกลางตลอดสมยั รัชกาลท่ี 3ในสมัยรชั กาลที่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั กย็ ังคงใชก ฎพระสงฆที่ตราขึ้นมาต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 1 เปนหลัก เพียงแตหากมีสิ่งใดเพิ่มเพิ่มเติมก็ใชวิธีออกประกาศเปนคร้ังคราวไปพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ขณะนั้นมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองในสวนราชอาณาจักรจนมีความเรียบรอยบริบูรณแลว พระองคจึงเห็นสมควรใหมีการเปล่ยี นแปลงรูปแบบการปกครองในฝายพุทธจักรดว ยเชนกัน เพ่อื ใหเ กดิ ความเรียบรอยในการปกครอง จึงมีพระบรมราชโองการใหต ราพระราชบญั ญัติเกยี่ วกับคณะสงฆขน้ึ เปน ฉบับแรกในสมยั รัตนโกสนิ ทร สอดคลองกับพระเมธีธรรมาภรณ (2539, น.33) ที่ไดกลาวถึงการปกครองคณะสงฆไทยวา“พระราชบญั ญัติคณะสงฆฉ บบั แรก เดมิ เรยี กวา พระราชบัญญตั ิลกั ษณะปกครองคณะสงฆ ร.ศ. 121 ประกาศใชเมอ่ื วนั ท่ี 16 มิถุนายน พ.ศ. 2445 (ร.ศ. 121) พระราชบัญญัติน้ีมีลักษณะเปนธรรมนูญการปกครองคณะสงฆท่ีกาํ หนดโครงสรา งการบรหิ ารและการจดั องคก รไวอยา งเปนระบบ นบั เปน ครงั้ แรกในประวตั ิการปกครองคณะสงฆไทยท่มี กี ฎหมายกําหนดระบบการปกครองคณะสงฆ” พระราชบญั ญัตนิ ้ีมบี ังคับใชม าถึงรัชกาลที่ 8ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลยสงคราม) ซง่ึ ตอ งการสรางความชอบธรรมใหกับการปกครองในระบบ“ประชาธิปไตย” อนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนพระประมขุ จงึ ไดเปลย่ี นแปลงการปกครองคณะสงฆใหมีรูปแบบ

515เปนประชาธิปไตยรัฐบาลจึงไดด าํ เนินการตราพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ พ.ศ. 2484 โดยคําแนะนาํ และยินยอมของรัฐสภาผูแทนราษฎร พระมหากษัตริยทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ผูดํารงตําแหนงสกลมหาสังฆปริณายกประมุขสังฆมณฑล แตสมเดจ็ พระสังฆราช ทรงบัญชาคณะสงฆโดยลําพังพระองคเองไมได ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 ดังน้ัน อํานาจการบรหิ ารและการปกครองคณะสงฆถูกแบงออกเปน 3 ฝา ย คือฝา ยสังฆสภาฝา ยสงั ฆมนตรี และฝา ยคณะวินัยธรสถานการณของคณะสงฆในชวงน้ีไดเดินมาถึงยุคของจอมพลสฤษด์ิธนะรัชตนายกรฐั มนตรี ไดท ําการเปล่ียนแปลงรปู แบบการปกครองคณะสงฆเพ่อื ใหส อดคลองกับรูปแบบการปกครองของประเทศ ซึ่งเหน็ วา การแยกการปกครองเปน 3 ฝายเปนระบบที่บนั่ ทอนประสทิ ธภิ าพ ทําใหม คี วามลาชา รัฐบาลจงึไดตราพระราชบญั ญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 ซึง่ พระราชบญั ญัติคณะสงฆฉบับน้ีเปนการรวมอํานาจคณะสงฆ ไวที่มหาเถรสมาคม โดยมีสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญชาการปกครองทั่วสังฆมณฑล เปนประธานสูงสุด ทรงปฏิบัติหนา ท่ที ง้ั ในสว นฝา ยนติ ิบัญญตั ิ ฝา ยบริหาร และฝายตลุ าการไปพรอ มกันพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 มีผลบงั คับใชมาเปน เวลานาน บทบญั ญัตบิ างมาตราไมชดั เจน ไมเหมาะสมสอดคลอ งกับสภาพการณปจจุบัน และในบางกรณมี ไิ ดมบี ญั ญตั ิไวทาํ ใหเกิดปญ หาในทางปฏบิ ัติ จึงเปนการสมควรท่ีจะตองมีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติใหม ีความเหมาะสม พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวภูมิพลอดลุ ยเดช จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศใชพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2535 โดยเพ่ิมเตมิ บทนยิ ามใหมีความชดั เจน สะดวกในการตีความ 2. ภาษากฎหมาย พัชรินทร เปยมสมบูรณ (2517) กลา วไวในวิทยานิพนธเ รอ่ื ง “การปฏิรูปกฎหมายของประเทศไทยตั้งแตพ.ศ. 2411 ถึง พ.ศ. 2478” วา “ภาษากฎหมายไทย มกี ารเปลีย่ นแปลงดานการใชคาํ วลี และถอยคําสํานวนทเ่ี กดิจากปจจยั ทางสงั คมและการปกครองมาตงั้ แตสมัยสุโขทยั กฎหมายในสมัยสุโขทัยนิยมใชคําไทยแทเปนสวนมากและไมมีการใชคําราชาศัพท ท้ังนี้เพราะสังคมในสมัยสุโขทัยไมมีความซับซอน การปกครองอยูในลักษณะพอปกครองลกู ” ภาษากฎหมายในสมัยน้ีจึงมีลักษณะเหมือนขอบังคับในครอบครัว น่ันคือ มีลักษณะเขาใจงาย ไมยุง ยากซบั ซอนในสมัยกรงุ รตั นโกสินทรตอนตน มกี ารประมวลกฎหมายจากสมัยอยุธยาโดยใชชื่อวา กฎหมายตราสามดวง ตอมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงเปนชวงท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีมีอิทธพิ ลของตางประเทศเขา มามีบทบาทตอคนในสังคมและสง ผลกระทบทางความคดิ แกคนในสงั คมเปนอยางมากภาษากฎหมายมกี ารเปลี่ยนแปลงจากสาํ นวนโวหารและถอ ยคําอยา งโบราณแท มาเปน ภาษาเรยี บงา ยทีป่ ระชาชนท่วั ไปเขา ใจไดม ากข้นึ การปฏริ ูประบบกฎหมายและการศาลไทยในสมยั รชั กาลท่ี 5 ทาํ ใหม กี ารปฏริ ปู ภาษากฎหมายตามไปดวย โวหาร สาํ นวน และถอ ยคําในภาษาจากลกั ษณะวรรณคดเี ปล่ียนมาเปน ลักษณะวิชาการ สอดคลอ งกับ ธานนิ ทรกรยั วเิ ชยี ร (2543, น.87-131) ที่ไดศึกษาความเปน มาและลกั ษณะเฉพาะของภาษากฎหมายไทยตง้ั แตส มัยสุโขทยั ถงึ ปจจุบันดังโดยไดกลาวในหนังสือภาษากฎหมายไทยวาภาษากฎหมายไทยเปนภาษาท่ีมลี ักษณะเฉพาะและมวี วิ ัฒนาการมาเปนลําดบั กลาวคอื ภาษากฎหมายในสมยั สุโขทยั นบั เปน ภาษาวรรณคดีไดเ พราะมคี วามไพเราะสละสลวยดงั ปรากฏในศลิ าจารกึ พอ ขนุ รามคาํ แหงเปน การใชสํานวนอยางงายๆสั้นๆใชคําไทยแทเปน สว นมากสว นในสมัยกรุงศรีอยุธยาและสมยั รัตนโกสินทรต อนตน ภาษากฎหมายแมจ ะไมด เี ดน เทา กบั สมยั

516สุโขทัยก็ยังนับเปนวรรณคดีรอยแกวของไทยที่สําคัญคร้ันเม่ือมีการปฏิรูประบบกฎหมายจากเดิมมาสูปจจุบันภาษาอังกฤษประเภทฟงช่ันเนิลอิงลิช (Functional English) มามีอิทธิพลตอภาษากฎหมายไทยทางดานวากยสมั พันธสว นทางดา นศัพทภาษากฎหมายไทยยงั มลี ักษณะคงเดมิ จนถึงปจ จบุ ันหากเปนภาษาทางวิชาการที่มีลักษณะเฉพาะแบบ ประกอบดว ยลักษณะสาํ คญั 6ประการ คือ แจง ชัดและปราศจากชอ งโหวส น้ั กะทดั รัดใชถอยคําในภาษากฎหมายใหเปนระเบียบเดียวกันโดยตลอดใชถอยคําที่ใชในตัวบทกฎหมายมีความสุภาพนุมนวลและสามารถจูงใจผูฟงผูอานใหคลอยตาม นอกจากลักษณะของภาษาที่ใชในกฎหมายแลว ยัง ไดแบงคําศัพททางกฎหมายไว 2 ชนดิ คือ ศพั ทก ฎหมาย และ คําศัพทท ีม่ ีความหมายจาํ เพาะ ดุลยการณกรณฑแสง(2537)ทําวิทยานิพนธเรื่อง“การวิเคราะหการนิยามคําศัพทภาษากฎหมาย:กฎหมายครอบครัวและมรดก”ผลการศกึ ษาพบวาการอธบิ ายความหมายของศัพทส ว นใหญใ นเอกสารกฎหมายมีความสมบูรณตามองคประกอบทางความหมายและเมื่อนํามาเปรียบเทียบคํานิยามศัพทในพจนานุกรมพบวาพจ นา นุ กร ม กฎ หม า ยบ า งเ ลม ไ มไ ด อธิ บา ย อง ค ปร ะ กอ บท า งค ว าม หม า ยที่ สํ าคั ญข อ งศั พ ทซ่ึ งมี ทั้ งก า ร ข า ดองคประกอบที่สําคัญทุกประการและการอธิบายความหมายไมชัดเจนพจนานุกรมกฎหมายบางเลมอธิบายความหมายของศพั ทแ คบกวา ความหมายท่วั ไปพจนานุกรมกฎหมายบางเลมใหความหมายทั่วไปและความหมายในทางกฎหมายพจนานกุ รมกฎหมายบางเลม ใชศัพทที่เขาใจยากและบางเลม กม็ ไิ ดอ ธบิ ายความหมายของศพั ทเ ปนเพียงการซ้ําศัพทท่ีตองการอธิบายนอกจากนี้ลักษณะการนิยามคําศัพทกฎหมายท่ีปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2525พบวาศัพทที่อธิบายความหมายในทางกฎหมายบางศัพทยังไมสามารถอธิบายความหมายไดช ัดเจนเนื่องจากความหมายไมครอบคลมุ ตามทกี่ ฎหมายประสงคมกี ารใชคําอธบิ ายอา งถึงซึ่งกันและกัน (Cross reference) และไมไ ดใหรายละเอยี ดทางความหมายของศัพทท ้ังนศ้ี ัพทท ี่มคี วามหมายทัว่ ไปบางศพั ทก็ไมสามารถนํามาอา งองิ ความหมายในทางกฎหมายไดเ นอื่ งจากความหมายกวางกวา ทีก่ ฎหมายประสงคด งั นนั้ การใชคาํ อธิบายอา งถึงซงึ่ กนั และกันก็ไมมีความหมายเหมอื นกนั ทุกประการ วิทยานิพนธของรัชนียญา กล่ินน้ําหอม (2546) เร่ือง“การศึกษาวิเคราะหภาษากฎหมายในประมวลกฎหมายอาญา”พบวา การบัญญตั ิศพั ทภ าษากฎหมายมีการประกอบคาํ ใหม 3 ชนดิ คอื คาํ ผสาน คาํ ประสม และคําซอน และจากการศกึ ษาเปรยี บเทยี บความหมายระหวางความหมายของคําศัพทเฉพาะและความหมายทั่วไปสามารถจําแนกได 3 ลักษณะ คือ ความหมายกวางออก ความหมายแคบเขา และความหมายคงเดิม และวทิ ยานิพนธช องสุกญั ญา สุวทิ ยะรตั น (2553) เรอ่ื ง “ภาษาในกฎหมายลกั ษณะอาญากับประมวลกฎหมายอาญา :การศกึ ษาเชงิ เปรียบเทยี บตา งสมัย”ไดค นพบวาการศึกษาคําศัพทใ นภาษากฎหมายมคี วามคงท่ใี นการใชคําและมีการใชคําศัพทเฉพาะทางกฎหมายมากกวากฎหมายลักษณะอาญา โดยปรากฏวามีการบัญญัติศัพทขึ้นใหมในประมวลกฎหมายอาญาและการเลิกใชศ ัพทก ฎหมายบางคําที่เคยปรากฏในกฎหมายลักษณะอาญา

517 3. กรอบแนวคิด ทฤษฎีในการวจิ ัย 3.1 แนวคิดเร่อื งวัจนกรรม อมราประสทิ ธร์ิ ฐั สินธุ(2532, น.90)ไดกลา วถึงวจั นกรรมวาหมายถึง“การกระทําโดยเจตนาของผูพูดซึง่ แสดงออกในรปู ของคาํ พดู เชนคาํ ส่งั ขอโทษขอรองเปนตน ประโยคทมี่ ีโครงสรางทางไวยากรณเหมือนกันทุกประการอาจเปน วัจนกรรมทีต่ างกันได”เชนประโยค “จานยงั ไมสะอาดเลย” ความหมายประจํารูปของประโยคนี้คือการใหเ นื้อความเกีย่ วกับเรื่องจานท่ียงั ไมส ะอาดวัจนกรรมตรงหรอื เจตนาท่สี อดคลอ งกับความหมายประจาํ รปู นี้คือการบอกใหผูฟงทราบวาจานมีสภาพเชนไรแตผูพูดอาจนําประโยคนี้ไปใชดวยวัจนกรรมที่ไมสอดคลองกับความหมายประจํารปู ประโยคไดคอื นําไปใชด ว ยวจั นกรรมออมใหเปน คําตําหนหิ รือเปน คาํ สง่ั ก็ได วัจนกรรมตามแนวคดิ ของออสติน มีองคประกอบ3ประการ (สุจริตลักษณ ดีผดุง,2552, น.85,อางอิงจาก John Austin, 1962)ไดแก(1) วัจนกรรมตรงตามคํา (Locutionary act) (2) วัจนกรรมปฏิบัติ(Illocutionary act) และ (3) ผลวจั นกรรม (Perlocutionary act) เซอรลแบงวัจนกรรมออกเปน 5 ประเภท (กฤษดาวรรณ หงศลดารมภ และธีรนุช โชคสุวณิช,2551, น. 103-105)ไดแก (1) วจั นกรรมบรรยายเหตกุ ารณ (Representative) (2) วัจนกรรมกําหนดใหทาํ (Directive) (3) วัจนกรรมผูกมดั (Commissive) (4) วัจนกรรมการแสดงอารมณค วามรูส ึก (Expressive) (5) วัจนกรรมประกาศ (Declaration) มลุลีพรโชคชัย (2538)ไดทําวิทยานิพนธเร่ือง“การศึกษาวัจนลีลาของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไ ทย”ผลการศึกษาพบวาประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไทยสามารถจําแนกชนิดของสาระได4ชนดิ ไดแ ก1 ) สาระที่เปน คําส่ังหรอื ขอ บังคับซงึ่ แบงออกเปน 2ชนิดยอ ยคอื แบบทม่ี เี ง่ือนไขและแบบทไ่ี มม เี งื่อนไขในการปฏบิ ัตติ าม2) สาระทเี่ ปนคาํ อนญุ าต3)สาระทเ่ี ปนคาํ จํากัดความ4) สาระท่ีเปน การแจงความใหทราบทง้ั นีผ้ ูว จิ ยัใชเกณฑว ัจนกรรม (Speech Act) ในการจําแนกโดยพจิ ารณาเจตนาของผรู างกฎหมาย สอดคลองกบั วทิ ยานิพนธของ กฤติกา ผลเกดิ (2546) เรือ่ ง “การศึกษาวัจนลีลาของประมวลกฎหมายอาญา” ซ่ึงก็ไดศึกษาและจําแนกชนิดของสาระในมาตราตา งๆ ในประมวลกฎหมายอาญาผลการศึกษาพบวา ประมวลกฎหมายอาญาประกอบดวยชนดิ ของสาระ4ชนิดไดแกสาระชนดิ ทเ่ี ปน ขอ บังคับสาระชนดิ ที่เปนคําอนุญาตสาระชนิดท่ีเปนคําจํากัดความและสาระชนดิ ท่ีเปนการแจงความใหทราบทงั้ น้สี าระชนิดท่ีเปนขอบงั คับยังสามารถแบงยอยได2แบบ คือสาระชนิดที่เปนขอ บังคับแบบไมมีเง่อื นไขกบั สาระชนิดทีเ่ ปน ขอ บังคบั แบบมีเงอื่ นไข 3.2 แนวคดิ เรื่องการเช่ือมโยงความ การวิเคราะหร ูปภาษาท่ปี รากฏในขอ ความน้ันจําเปนตองอาศัยคําอธิบายในแงของลักษณะทางโครงสรางและลกั ษณะทางไวยากรณข องภาษา โดยทั่วไปแลว เปนท่ีเห็นพองตองกันของนักภาษาศาสตรที่ศึกษาโครงสรา งของขอความวา ขอ ความเปนรูปภาษาทีป่ ระกอบดว ยประโยคหรอื ขอความยอยท่ีซอ นอยูภายในขอความ

518ใหญที่เหน็ ไดอ ยา งชดั เจนและการที่ขอความจะเปนขอความได จะตองอาศัยองคประกอบของขอความที่จะตองสมั พนั ธกัน กลา วคือ ขอ ความจะตอ งมเี อกภาพหรือมีการเช่ือมทางสาระ ดังทีเ่ พยี รศิริ วงศว ภิ านนท เรียกวา อรรถเอกภาพ หมายถงึ การกลา วถงึ เน้อื หาสาระเร่ืองเดียวกนั หรือกลา วอกี นยั หนง่ึ ก็คือ ขอ ความท้ังหนวยน้ันจะตองมีความโยงสอดคลอ งไปในทํานองเดียวกนั ดังน้นั ลักษณะกลไกสําคญั ที่จะทําใหภายในขอความมีการเช่ือมกันหรือเปน เอกภาพไดจ ึงตอ งมกี ารเชอื่ มโยงเกิดข้นึ โดยไดพ ิจารณาจากขอบเขตและการจัดการขอความในตัวบท และไดแบงระดับของการเช่ือมโยงความเปน 2 ระดับ ไดแกระดับจุลภาคและระดับมหัพภาค(จันทิมา อังคพณิชกิจ,2557,น.89อางองิ จาก เพยี รศริ ิ วงศว ภิ านนท, 2530) นววรรณ พันธเุ มธา (2527, น.215) ไดก ลา วถึงการเชอื่ มโยงความในลกั ษณะของประโยคสัมพนั ธโดยสรปุ ไดว า “ความคิดท่ีเราแสดงออกมาเปนถอยคํามักจะไมใชประโยคๆเดียว แตเปนประโยคหลายประโยคกลา วติดตอ กันไป ประโยคเหลานีบ้ างประโยคกเ็ ช่ือมตอกนั เปนประโยคความรวม บางประโยคก็ขยายความหมายกันเปนประโยคความซอ น บางประโยคเพยี งแตตอ เนอื่ งกนั ไมมเี ครอ่ื งเชอ่ื มแสดงความสมั พันธ แตก ม็ ักจะเกี่ยวของกันไมอ ยางใดกอ็ ยา งหนึง่ ” ซึ่งมีความสอดคลองกับท่ี สมทรงบุรุษพัฒน (2537, น.118)ไดกลาวถึงการเช่ือมโยงความหรือวจนะสัมพันธ สรุปไดวา “การเชื่อมโยงความหรือวจนะสัมพันธเปนลักษณะสําคัญของวจนะที่ทําใหขอความในวจนะเดียวกนั มีความเปน อนั หน่ึงอันเดยี วกนั การเช่อื มโยงความจะเกิดขนึ้ เม่อื ขอความตอนใดตอนหน่งึตองอา งองิ จากขอความอื่น จงึ จะเกดิ ความเขา ใจในขอ ความนั้น” กาญจนาโรจนพานิช (2539)ทําวิทยานิพนธเรื่อง“ภาษากฎหมายไทย: การศึกษาแนวภาษาศาสตรส งั คม”ผลการศกึ ษาพบวารปู แบบการเรยี บเรยี งสัมพนั ธสารในภาษากฎหมายไทยใชกลไกทางภาษา2ลักษณะคือการเชื่อมโยงความโดยการแทนทแ่ี ละการเชื่อมโยงความโดยการใชคําเช่ือมระหวางประโยคตางจากพิมพา จิตตประสาทศีล (2548) ทําวิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษาลักษณะภาษาในกฎหมายไทย: ประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย” ผลการศึกษาในเร่ืองการเช่ือมโยงความท่ีไดคือ พบการเช่ือมโยงความดว ยการซํ้ามากทสี่ ดุ รองลงมาคอื การใชคาํ เช่ือม และการอา งถงึ การเช่ือมโดยการอา งถึงปรากฏ 3 ประเภท คือ การอางถึงดวยสรรพนาม การอางถึงดวยการชี้เฉพาะ และการอางถึงดวยการเปรียบเทียบเชนเดียวกันกับ กฤติกา ผลเกิด ที่ศึกษาภาษาในประมวลกฎหมายอาญา โดยผลการวจิ ยั ในดานการเชื่อมโยงความ พบวา มี 3 ประเภท คือการอางอิง การใชคาํ เชอ่ื ม และการซา้ํ มีเพียงรัชนยี ญ า กลิน่ น้ําหอม ทศ่ี กึ ษาวิเคราะหภาษาในประมวลกฎหมายอาญาโดยผลการศึกษาพบวามกี ารเชอ่ื มโยงความ 5 ลกั ษณะ คอื การเช่ือมโยงความดวยการอางถึง การเช่ือมโยงความดวยการละ การเชื่อมโยงความดวยการซ้าํ การเชอ่ื มโยงความดว ยการใชคาํ ศพั ท และการเช่ือมโยงความดวยการใชหนวยเชอ่ื มขอความ

519วธิ ีการวิจัย 1. ศึกษารวบรวมขอมลู ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ งดังนี้ 1.1 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วของกับพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ 1.2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ งกับวัจนกรรมและการเชอื่ มโยงความ 2. วเิ คราะหข อมลู โดยใชแนวคิดและทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ ง 3. สรปุ ผลการวิจยั อภปิ รายผล แลว นาํ เสนอเชิงพรรณนาวิเคราะหผลการวิจยั 1.สาระสาํ คญั ในพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆส มยั รตั นโกสนิ ทร คําวา สาระ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2554) ใหความหมายไววา สวนสําคัญ, ขอใหญใจความ ทั้งนี้ในงานวิจัยนี้คําวา สาระ จึงหมายถึงสาระสําคัญที่เปนแกนหรือใจความในขอพระราชบัญญัติที่ผูตราพระราชบัญญัติตองการส่ือใหผูรับสารไดรับทราบ เนื่องจาก ในขอพระราชบัญญัติมีการแบงใจความเปนวรรค บางขอพระราชบัญญัติมีวรรคเดียวสามารถสื่อใจความสําคัญไดชัดเจน บางขอพระราชบัญญัติอาจมีหลายวรรคโดยในแตละวรรคมีใจความที่แตกตางกันซึ่งอาจจะสามารถนํามาเสนอได ท้ังนี้ขึ้นอยูกับบริบทในขอพระราชบัญญัตินั้น เมื่อไดวิเคราะหความหมายของภาษาในขอพระราชบัญญัติแลว พบวามีความแตกตางกัน เชนมุงเนนเพ่ือการส่ังใหปฏิบัติตาม มุงเนนวาเปนการแจงใหรับทราบ เปนตน และในแตละสาระสาํ คัญก็จะมีองคประกอบที่แตกตางกันไป โดยบทนี้ผูวิจัยมุงศึกษาจาํ แนกสาระในขอพระราชบัญญัติคณะสงฆในสมัยรัตนโกสินทรท้ัง 4 ฉบับ โดยมีผลการศึกษาตามลาํ ดับ ดังน้ี 1.1 สาระทเี่ ปนขอบงั คับหรอื คาํ ส่ัง (1) สาระทเ่ี ปนขอบงั คับหรือคําสง่ั แบบไมมีเงือ่ นไข (เรอ่ื งทบ่ี งั คบั หรือสงั่ ) + ขอบงั คบั หรือคําส่ังตวั อยา ง 1 มาตรา 8 วดั ใดรา งสงฆไ มอาศัยใหเจาพนักงานฝายพระราชอาณาจักรเปนผูปกครองรักษาวัด น้ัน ทั้งทธ่ี รณสี งฆซ งึ่ ข้นึ วัดนั้นดวย (พรบ.สงฆ ร.ศ. 121) (2) สาระท่ีเปน ขอบงั คับหรือคาํ ส่ังแบบมีเงื่อนไข (เรอ่ื งทบ่ี งั คับหรอื สง่ั ) + ขอ บงั คบั หรือคาํ สั่ง + เงือ่ นไข + (กรณียกเวน )

520ตวั อยา ง 2 มาตรา 23 ใหพระราชาคณะผูกํากับแขวงในจังหวัดกรุงเทพมหานคร มีฐานานุศักดิ์ตั้ง ฐานานุกรมตาํ แหนงพระสงั ฆรักษไดอีกรูปหนึ่งเวนแตถาพระราชาคณะรูปนั้นมีฐานานุศักด์ิควร ตั้งฐานานุกรมเกิน 3 รปู อยแู ลวก็ไมตองตัง้ (พรบ.สงฆ. ร.ศ. 121) 1.2 สาระทีเ่ ปนการแจงใหทราบ (เรอื่ งทีต่ อ งการแจง ใหท ราบ) + ขอความที่แจง ใหท ราบตัวอยาง 3 มาตรา 1 พระราชบัญญตั นิ ้ีใหมีนามวาพระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองคณะสงฆ รัตนโกสนิ ทรศก 121 และพระราชบัญญัตินี้จะโปรดใหใชในมณฑลเมื่อใด จะไดประกาศในหนังสือพิมพราช กิจจานเุ บกษาเปน สาํ คัญ (พรบ.สงฆ. ร.ศ. 121)ตวั อยา ง 4 มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้เี รยี กวา “พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ พ.ศ. 2505” (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2505) 1.3 สาระที่เปน การอนญุ าต (เรอ่ื งทจ่ี ะอนญุ าต) + (กรณีเฉพาะ) + คาํ อนุญาต + (เง่อื นไข)ตวั อยาง 5 มาตรา 12 ทุกคราวประชุมสมัยสามัญสมเด็จพระสังฆราชทรงต้ังสมาชิกในสังฆสภาตามมติ ของสงั ฆสภาใหเปน ประธานสภาหน่ึงรปู เปนรองประธานสภาหนึง่ รปู หรอื หลายรปู กไ็ ด … (พรบ.สงฆ. พ.ศ. 2484)ตัวอยาง 6 มาตรา 28 เจา คณะแขวงมฐี านานุศกั ดต์ิ ้งั ฐานานุกรมผูชวยการคณะได 2 รูป คือ พระสมุห 1 พระใบฎีกา 1ถาเจา คณะแขวงน้ันไดรับพระราชทานสัญญาบัตรเปนพระครูราชทินนาม ต้ังพระ ปลัดไดอกี รูป 1 (พรบ.สงฆ. ร.ศ. 121)

521ตัวอยาง 7 มาตรา 9 ในกรณีที่สมเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตําแหนงหรือพระมหากษัตริยทรงพระ กรุณาโปรดใหออกจากตําแหนง พระมหากษัตริยจะทรงแตงต้ังใหเปนท่ีปรึกษาของสมเด็จ พระสังฆราชหรอื ตําแหนงอน่ื ใดตามพระราชอธั ยาศัยก็ได (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2535) 1.4 สาระทีเ่ ปน คาํ จาํ กดั ความ คําศัพท + คํากริยา + ความหมายตัวอยาง 8 มาตรา 40 ที่วัดและทีซ่ ่งึ ขึ้นตอ วดั มดี ังนี้ (1) ทีว่ ดั คอื ทซี่ ึง่ ตั้งวดั ตลอดจนเขตวัดนั้น (2) ที่ธรณสี งฆค ือ ทซี่ ่ึงเปน สมบตั ขิ องวดั (3) ที่กลั ปนาคอื ท่ซี ่งึ มผี ูอุทศิ แตผ ลประโยชนใหว ัดหรือพระศาสนา (พรบ.สงฆ. พ.ศ. 2484) นอกจากการศึกษาขอพระราชบญั ญัติโดยจาํ แนกเปนสาระจาํ นวน 4 สาระ คอื สาระท่ีเปนขอบังคับหรือคําสง่ั สาระที่เปนการแจงใหทราบ สาระที่เปนการอนุญาต และสาระท่ีเปนคําจํากัดความ ผูวิจัยยังพบวา มีบางมาตราท่ีมีสาระตางกันอยูในมาตราเดียวกัน เน่ืองจากบางมาตรามีหลายวรรค ในแตละวรรคใหความหมายท่ีแตกตางกันออกไป โดยสาระสําคัญทีป่ รากฏรวมคอื 1. สาระที่เปนขอบังคับหรือคําส่ัง –สาระท่ีเปนการอนุญาต2. สาระทเ่ี ปนการอนญุ าต – สาระทเี่ ปน ขอบังคับหรือคําส่ัง และ 3. สาระท่ีเปนคําจํากัดความ – สาระที่เปนขอ บงั คบั หรือคาํ สั่งแผนภูมวิ งกลมเปรียบเทยี บจํานวนสาระทงั้ 4 สาระ 12.08% 4.35% สาระทเ่ี ปนขอ บงั คับหรอื คาํ สั่ง3.86% สาระที่เปน การแจง ใหทราบ สาระทีเ่ ปนการอนญุ าต 79.71% สาระทีเ่ ปนคําจาํ กัดความ จากแผนภมู แิ สดงใหเ ห็นวา เม่ือรวมพระราชบัญญัติคณะสงฆท้งั 4 ฉบับแลว พบวาสาระท่ีเปนขอบังคับหรอื คําส่ังมีมากท่ีสดุ รองลงมาคอื สาระท่เี ปนการอนุญาต สาระท่ีเปนการแจงใหทราบ และสาระท่ีเปนคําจํากัดความ ตามลําดบั จึงทําใหท ราบเจตนาของผูตราพระราชบัญญัติไดชัดเจนวาโดยสวนมากตราพระราชบัญญัติขึ้น

522เพื่อส่ังใหผูที่มีความเก่ยี วของปฏบิ ัตติ าม และเม่ือผูวิจัยไดพิจารณาในจากขอพระราชบัญญัติแลวพบวา สาระท่ีเปน ขอ บงั คบั หรอื คําส่ังสวนมากจะเปนเรอ่ื งการปกครองของคณะสงฆการสถาปนา การแตงตั้ง การลงโทษ เปนตน สาระท่เี ปนการอนุญาตพบในเรอ่ื งของการใหมอี ํานาจในทางปฏิบัติตามหนาที่ของตน สาระที่เปนการแจงใหทราบพบในเรอื่ งของการออกนามพระราชบัญญัติ การแจง กําหนด การบอกสถานะ และสาระที่เปน คําจํากดั ความเปน การใหความหมายของคาํ หรือคําศพั ท เม่อื ทราบเจตนาของผตู ราพระราชบญั ญตั ิแลว ผูวิจัยไดแยกพิจารณาสาระท้ัง 4 ในแตละชวงปของการพระราชบญั ญัติ เพอ่ื วเิ คราะหตามความเปล่ียนแปลงของเจตนาในการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆตามยุคสมัยขอ มลู ดังปรากฏในแผนภมู ิแผนภมู แิ ทง เปรยี บเทยี บจํานวนสาระทงั้ 4 ฉบับ 60 55 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 พรบ.สงฆ ร.ศ. 121 พรบ.สงฆ พ.ศ. 2484 พรบ.สงฆ พ.ศ. 2505 พรบ.สงฆ พ.ศ. 2535 จากแผนภูมแิ สดงใหเหน็ วา มขี อ พระราชบัญญตั ิทเี่ ปนขอ บังคับหรอื คาํ ส่ังมากท่สี ดุ เนอ่ื งจากสาเหตุของการตราพระราชบัญญัติเปนไปเพ่ือใหเกิดความเรียบรอยในคณะสงฆ ดังขอความที่ปรากฏในพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ ร.ศ. 121 ตอนหน่งึ วา “...การปกครองสงั ฆมณฑลยอ มเปนการสาํ คญั ทั้งในประโยชนแหงพระศาสนาและในประโยชนค วามเจริญของพระราชอาณาจกั รดวย ถาการปกครองสังฆมณฑลเปนไปตามแบบแผนอันเรียบรอยพระศาสนาก็จะเจรญิ รุง เรอื งถาวร...”(พระธรรมเจดีย, 2558, น.46, อางถึงใน สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชริญาณวโรรส, 2457,น.36) ดงั นัน้ ในพระราชบญั ญัติทงั้ 4 ฉบบั จึงพบสาระทเ่ี ปน ขอบังคบั หรือคําสั่งมากทส่ี ุด ซ่ึงเร่ืองที่บงั คับหรือส่งั สว นมากจะเกยี่ วของกับการปกครองคณะสงฆ เน่ืองจากรูปแบบการปกครองสงฆในพระธรรมวินัยไมครอบคลมุ ตามยุคสมัยท่เี ปลีย่ นไป ในสว นขอบงั คับหรอื คําสั่งทีเ่ ก่ียวของกับความประพฤติของสงฆปรากฏเพียงไมกี่มาตรา เนอ่ื งจากพระสงฆม ีพระธรรมวินัยเปน แนวทางในปฏิบัติโดยครอบคลุมถึงการลงโทษภิกษุที่ประพฤติผิดพระธรรมวินยั อยแู ลว แตพ บใน 2 ฉบับคือพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ พ.ศ. 2505 พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2535 โดยบญั ญตั เิ พม่ิ ขน้ึ มาเปน หมวดอีกหมวดหนึ่ง คือ นิคหกรรมและการสละสมณเพศ ท้ังน้ีก็เพ่ือใหมีการปฏิบัติตามพระธรรมวนิ ัยอยา งเครง ครัด จากแผนภมู ิผวู จิ ัยพบจดุ ทน่ี า สังเกตในพระราชบญั ญัตลิ กั ษณะปกครองคณะสงฆร .ศ.121 คอื การปรากฏของสาระทเ่ี ปนการอนุญาตมากกวา พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆฉบับอนื่ ๆ สบื เนอื่ งจากพระราชบญั ญตั ิลักษณะปกครองคณะสงฆ ร.ศ. 121 เปนพระราชบัญญตั ทิ เี่ กย่ี วขอ งกับการปกครองคณะสงฆเปนฉบับแรก ลักษณะการปกครองบา นเมืองในสมยั นั้นแบง ออกเปน หวั เมือง การปกครองสงฆจงึ ตองสอดคลองกบั ฝายอาณาจักร คือมอบใหหวั เมืองมีอํานาจปกครองไดเ ตม็ ท่ี อีกนยั หนึง่ หลังจากที่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (สา ปสุ สฺ เท

523โว) สมเดจ็ พระสังฆราชองคท ี่ 9 ทรงสิ้นพระชนมใ นป พ.ศ. 2442 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว มิไดทรงสถาปนาสมเด็จพระราชาคณะรปู ใดขน้ึ ดํารงตําแหนงสมเดจ็ พระสังฆราช แตพระองคทรงบัญชาการคณะสงฆ โดยมีมหาเถรสมาคมทาํ หนา ทคี่ ลา ยกบั คณะเสนาบดที ี่ทรงปรึกษาฝายการพระศาสนา เสนาบดกี ระทรวงธรรมการทาํ หนาท่ีเปนศนู ยก ลางประสานงานตดิ ตอระหวา งพระมหากษัตริยกบั มหาเถรสมาคม ดังน้ันการตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ ร.ศ. 121 จงึ เปนไปเพ่ือเออื้ ตอการบัญชาการคณะสงฆของพระมหากษัตรยิ  2. การเช่อื มโยงความในพระราชบัญญตั ิคณะสงฆสมัยรตั นโกสินทร การเชือ่ มโยงความ (Cohesion) หมายถึง กระบวนการแสดงความสมั พันธก นั ทางความหมายของประโยคและเน้อื ความของภาษาระดบั ขอ ความ โดยมีกลไกหลายประเภท เชน การอา งถึง การซา้ํ การละ เปนตน การศกึ ษาเร่ืองการเช่อื มโยงความในพระราชบัญญัติคณะสงฆสมัยรัตนโกสินทร ผูวิจัยไดศึกษาขอพระราชบัญญัติในแตละมาตรา การเชอ่ื มโยงความที่พบจงึ เปนการเชื่อมโยงความตามมาตรา ซง่ึ เปน การเชอื่ มโยงแบบจลุ ภาค จากการศกึ ษาการเช่อื มโยงความในพระราชบญั ญัติคณะสงฆสมยั รัตนโกสนิ ทร พบวามลี ักษณะการเชอ่ื มโยงความโดย การอา งถงึการซาํ้ การเชอื่ มดวยศัพท และการใชค าํ เช่ือม ดังน้ี 2.1 การอางถึง 2.1.1 การอา งถงึ โดยใชคําบงชเี้ ปน การใชค ําบงชี้ท่อี า งถึงคําหรือประโยคทก่ี ลาวมาแลวในขอ พระราชบัญญัตนิ นั้ ๆตวั อยา ง 1 มาตรา 2ตั้งแตวันที่ใชพระราชบัญญัตินี้ในท่ีใด ใหยกเลิกบรรดากฎหมาย แบบแผน ประเพณีท่ี ขดั ขวางตอ พระราชบญั ญตั นิ ้ี มิใหใ ชในที่นัน้ สบื ไป (พรบ.สงฆ ร.ศ. 121) จากตัวอยา ง 1 พบคาํ วา น้ี นั้น คาํ วา นี้ เปนการอา งถึง พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ ร.ศ. 121 และคําวา นนั้ เปน การอางถึงสถานทตี่ ามวรรคแรกของขอพระราชบัญญตั ิ 2.1.2 การอางถึงโดยการละการไมปรากฏรูปของรูปแทนท่ีมีความสัมพันธดวยการอา งอิงคาํ หรอื ประโยคขางตนทอี่ ยูในขอพระราชบญั ญตั นิ ้นั ๆ โดยผวู จิ ัยไดแ สดงการละดวย Øตวั อยา ง 2 มาตรา 4ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให Øมี อาํ นาจออกกฎกระทรวงเพือ่ ปฏบิ ัติการใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ... (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2484) จากตัวอยาง 2 เปนการอางถึงโดยละคําหรือขอความที่มีความสัมพันธอยูในขอพระราชบัญญัติน้นั ๆ ในตวั อยา ง การละทีป่ รากฏเปน การใชแ ทน รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ

524 2.1.3 การอางถึงดวยมาตราของกฎหมายเปนการอางอิงจากวรรคหรือมาตราในพระราชบัญญัติตัวอยา ง 3 มาตรา 44ผใู ดพน จากความเปน พระภกิ ษเุ พราะตอ งอาบตั ปิ าราชกิ มาแลว ไมว าจะมคี าํ วินิจฉัยตาม มาตรา 25 หรือไมก ต็ าม แตมารบั บรรพชาอปุ สมบทใหมโดยกลาวความเท็จหรือปดบังความจริง ตอพระอปุ ช ฌาย ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเ กินหน่งึ ป (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2535) 2.2 การซํ้าการใชรูปภาษาซํ้ากัน อาจจะมีมากกวาสองคร้ังในขอพระราชบัญญัติ โดยการซํ้าจันทิมา อังคพณิชกิจ ไดแบงไว 3 ลักษณะ คือ การซ้ํารูปภาษาท้ังหมด การซ้ํารูปภาษาบางสวน และการซ้ําโครงสรา งประโยค (การวิเคราะหข อความ, 2557,น.99-100) จากการศกึ ษาผูว ิจัยพบเพียงการซ้าํ รปูตวั อยาง 4 มาตรา 5 วัดกําหนดตามพระราชบัญญตั ิน้ีเปน 3 อยาง คือ พระอารามหลวงอยางหนึ่ง อาราม ราษฎรอยางหนงึ่ ท่สี ํานกั สงฆอยา งหน่ึง (พรบ.สงฆ ร.ศ.121) 2.3 การใชคําเช่ือม 2.3.1 แสดงเง่ือนไข การใชคําหรือกลุมคําเช่ือมประโยคเพื่อแสดงความสัมพันธวาเหตุการณใ นขอ พระราชบญั ญัติมีความเปนเง่อื นไขกัน โดยจะพบคําวา “ถา” “หาก” “ในกรณ”ี เปนตนตัวอยาง 5 มาตรา 28 เจาคณะแขวงมีฐานานุศกั ดติ์ ั้งฐานานกุ รมผชู วยการคณะได 2 รปู คอื พระสมุห 1 พระ ใบฎีกา 1 ถาเจาคณะแขวงนั้นไดร ับพระราชทานสัญญาบัตรเปนพระครรู าชทนิ นาม… (พรบ.สงฆ. ร.ศ. 121) 2.3.2 แสดงความสัมพันธแบบขัดแยงการใชคําหรือกลุมคําเชื่อมประโยคเพื่อแสดงความสัมพันธว าเหตุการณในขอพระราชบัญญตั ิตรงขามหรอื ขัดแยงกนั โดยจะพบคาํ วา “แต” “เวน แต” เปนคําท่ีแสดงความขัดแยงตัวอยาง 6 มาตรา 23 ใหพ ระราชาคณะผูก าํ กับแขวงในจงั หวัดกรุงเทพมหานคร มฐี านานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรม ตําแหนงพระสังฆรกั ษไ ดอกี รปู หนึ่ง เวนแตถ า พระราชาคณะรปู นนั้ มีฐานานุศักดคิ์ วรตั้งฐานานุกรม เกนิ 3 รปู อยูแลว กไ็ มต องตั้ง (พรบ.สงฆ. ร.ศ. 121)

525 2.3.3 แสดงการใหเลือกสิ่งใดส่ิงหนึ่ง การใชคําหรือกลุมคําเชื่อมประโยคเพื่อแสดงความสมั พันธว าสถานการณในขอพระราชบัญญัติตองเลือกอยางใดอยางหนึ่ง โดยจะพบคําวา “หรือ” เปนคําท่ีแสดงความใหเ ลือกสง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึตัวอยาง 7 มาตรา 9 ในกรณีที่สมเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตําแหนงหรือพระมหากษัตริยทรงพระ กรุณาโปรดใหออกจากตําแหนง ... (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2535) 2.3.4 แสดงการขยายความการใชคําหรือกลุมคําเชื่อมประโยคเพ่ือแสดงการขยายความ โดยการขอ ใหม ลู หรือรายละเอียดเพิ่มเติมจากขอความที่ปรากฏมากอนหนา โดยจะพบคําวา “ท่ี” “ซึ่ง”“ดงั น”ี้ “ไดแก” เปน ตนตวั อยาง 8 มาตรา 37 การตั้ง การถอน หรือโยกยายพระอุปชฌาย และพระภิกษุอันเก่ียวกับตําแหนงการ บริหารคณะสงฆ ใหกระทาํ ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารทก่ี าํ หนดไวใ นสงั ฆาณัติ (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2535) 2.3.5 แสดงเวลาและลําดับเหตุการณ การใชคําหรือกลุมคําเช่ือมประโยคเพ่ือแสดงลําดบั เวลา เวลา เหตุการณของขอความในขอพระราชบัญญัติน้ัน โดยจะพบคําวา “เมื่อ” “นับแต” “ตอเมื่อ”เปน ตนตัวอยา ง 9 มาตรา 24 พระภิกษุจะตองรับนิคหกรรม ก็ตอเม่ือกระทําการลวงละเมิดพระธรรมวินัย และ นิคหกรรมทจี่ ะลงแกพ ระภิกษุก็ตอ งเปน นิคหกรรมตามพระธรรมวนิ ัย (พรบ.สงฆ พ.ศ. 2505)อภิปรายผลการวจิ ัย จากการศึกษาสาระและการเชอ่ื มโยงความในพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆส มัยรตั นโกสินทร ทําใหท ราบไดวาเจตนาหลกั ของการตราพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆในสมยั รตั นโกสนิ ทรเ ปนไปเพือ่ การสั่งใหผ เู กี่ยวขอ งปฏิบัติตาม โดยมีเจตนาเพอ่ืสง เสริมการปกครองคณะสงฆใ นสงั ฆมณฑลใหมคี วามเรยี บรอ ย เอ้ือเฟอตอ หลกั พระธรรมวินยั ดงั ของผลการศกึ ษาสาระในพระราชบัญญัติคณะสงฆส มยั รตั นโกสนิ ทร ซ่งึ พบสาระที่เปน ขอบังคบั หรอื คําส่ังมากท่ีสุดโดยเปนเรื่องการปกครองของคณะสงฆการสถาปนา การแตงตั้ง การลงโทษ เปน ตน สาระที่เปน การอนุญาตพบในเรื่องของการใหมีอํานาจในทางปฏบิ ัตติ ามหนาท่ขี องตน สาระท่ีเปน การแจงใหทราบพบในเรือ่ งของการออกนามพระราชบัญญัติ การแจงกําหนด การบอกสถานะ และสาระที่เปนคําจํากัดความ เปนการใหความหมายของคําหรือคําศัพท ผูวิจัยมีความเห็นวา สาเหตุที่มีสาระท่ีเปนขอบังคับหรือคําส่ังมากท่ีสุดเน่ืองจากรูปแบบการปกครองสงฆในพระธรรมวินัยไม

526ครอบคลุมตามยุคสมัยทเ่ี ปลีย่ นไป ในสว นขอบงั คับหรอื คําสัง่ ท่ีเกยี่ วของกับความประพฤตขิ องสงฆปรากฏเพียงไมก ม่ี าตราเนอ่ื งจากพระสงฆมพี ระธรรมวินัยเปน แนวทางในปฏิบตั โิ ดยครอบคลุมถงึ การลงโทษภกิ ษทุ ี่ประพฤติผิดพระธรรมวินยั อยูแลวซึ่งถา พจิ ารณาในดานจํานวนสาระของขอพระราชบัญญัติก็จะพบวามีความสอดคลองกับงานวิจัยท่ีศึกษาภาษาในกฎหมาย เชน ผลการศกึ ษาสาระในประมวลกฎหมายอาญา ของกฤติกา ผลเกิด พบวามีสาระท่ีเปนคําสั่งหรือขอบังคับมากทีส่ ดุ รองลงมาคอื สาระทเ่ี ปน การอนุญาต สาระที่เปน การแจง ใหทราบและสาระทเ่ี ปนคําจํากัดความ (การศึกษาวจั นลลี าในประมวลกฎหมายอาญา, 2546, น.127-130) ดานการเช่ือมโยงความในพระราชบัญญัติคณะสงฆที่พบคือการเช่ือมโยงความดวยการอางถึงการเช่ือมโยงความดวยการซ้ํา และการเชื่อมโยงความโดยคําเชื่อม การเช่ือมโยงความทําใหเ สนอสาระสําคญั ของขอพระราชบัญญตั ิไดอยางเปน เอกภาพ เปนไปในทิศทางเดียวกัน ท้ังนี้เพราะกลไกของการเชือ่ มโยงความจึงทาํ ใหข อพระราชบญั ญตั ิมีความชัดเจน ตรงประเด็น ไมสามารถตีความเปนอยางอื่นไปได จึงทําใหสามารถกําหนดบทบาทหนาที่ของคนในสังคมทุกยุคสมัยต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบันไดอยางชัดเจน กลาวคือพระมหากษตั ริยทรงดาํ รงตนในฐานะองคเ อกอคั รศาสนปู ถมั ภก มรี ฐั บาลเปนผปู ระสานติดตอ ระหวางพระมหากษตั รยิ แ ละใหค วามอุปถัมภ มสี มเดจ็ พระสงั ฆราชบญั ชาการคณะสงฆ มีมหาเถรสมาคมเปนองคกรสูงสุดของคณะสงฆ มีพระสงฆผูปฏบิ ัตติ ามพระธรรมวนิ ยั อยูภายใตกรอบแหง พระราชบญั ญตั ิ และมพี ุทธศาสนิกชนอุปถัมภพระพุทธศาสนาใหพระสงฆสามารถดาํ รงอยใู นพระธรรมวินยั และกรอบแหง พระราชบญั ญตั ิขอเสนอแนะ 1. ควรศกึ ษาลักษณะภาษาในกฎหมายของกฎพระสงฆท ม่ี ีใชกอ นพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ เพือ่ ใหเ ห็นความแตกตางทางภาษาในยคุ ตางๆ 2.ควรศึกษาลักษณะภาษาของพระวินัยทม่ี าในพระปาตโิ มกข ซง่ึ เปน ขอวตั รปฏบิ ัติ เปรียบเสมอื นกฎหมายของพระสงฆซ ่งึ ถูกบญั ญัตมิ าตง้ั แตครั้งพุทธกาล 3.ควรศึกษาหรอื จัดทําอภธิ านศพั ทคาํ ศัพททางพระพทุ ธศาสนาท่ปี รากฏ เพื่อใหผสู นใจแตไมมพี ้นื ความรูทางพระพทุ ธศาสนาเกิดความเขา ใจไดอยางชัดเจนกิตตกิ รรมประกาศ บทความจากปริญญานิพนธ “การศึกษาสาระและการเช่ือมโยงความในพระราชบัญญัติคณะสงฆสมัยรัตนโกสนิ ทร” เสร็จสมบรู ณไดเ นื่องดว ยผูวิจัยไดรบั ความเมตตาอยา งสูงจาก รองศาสตราจารยด ร.ดวงเดน บญุ ปกทก่ี รุณารบั เปนผูควบคุมปริญญานิพนธโดยกรณุ าใหคําปรึกษาคาํ แนะนําอีกท้ังใหท ัศนคตใิ นการดําเนินชวี ติ ผูวจิ ัยรูซ้ึงในเมตตาและขอขอบพระคุณเปนอยา งยง่ิ ขอกราบขอบพระคุณ พระเทพสิทธโิ กศล (ใหญ ชวโน) พระศรธี รรมภาณี (วัลลพ โกวิโล) พระครูภทั รกิตติสุนทร (แถม กิตฺติภทฺโท) พระมหาปรีชา ปภงฺกโร ท่ีเมตตามอบทุนการศึกษา เมตตามอบท่ีพักพิง เมตตามอบความรู เมตตามอบประสบการณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูงย่ิง

527 ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภัค มหาวรากร และคณาจารยภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออกคณะมนุษยศาสตรม หาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒท่ใี หค วามเมตตาและถา ยทอดความรูอนั เปน ประโยชนตอ ผวู จิ ัย ขอขอบพระคุณ คุณพอกนกโกมล ออนลําเนาว คณุ แมไ พลิน วีระศักดิ์ คุณยาย คุณปา และครอบครัว ที่คอยใหกําลังใจ ขอขอบคณุ ครูตอ ม นองเกิล้ นองพลอย สหธรรมกิ รุน “ชางเผอื ก”พ่นี องชาวพิกุล ตลอดจนถึงสหธรรมิกเกา ทุกคน ที่เปน กําลังใจถามไถกันและกัน แมม ีหลายคนท่ไี ปไมถงึ ฝง แตท ุกคนเหลา นั้นสรางแรงผลกั ดันไดอยางดีเยยี่ ม สุดทาย ขอขอบคุณ ศูนยเกาหลีศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ใหโอกาสผูวจิ ัยไดน ําเสนอบทความวิชาการ บุญกุศลใดท่เี กดิ จากปรญิ ญานพิ นธ “การศึกษาสาระและการเชอื่ มโยงความในพระราชบัญญัติคณะสงฆสมยั รตั นโกสนิ ทร” ขา พเจา ขออุทิศให พระเทพสิทธิมงคล (พรหมา จนฺทโสภโณ) พระสุวรรณธีราจารย (มูลตรีมหพพฺ โล) ผเู ปน พระอปุ ช ฌาย พระครสู ริ ิวีราภรณ (บญุ มี วีรปุฺโญ) พระอาจารยผเู ปย มดวยเมตตา คุณยาทองพูนออ นลําเนาว ผูเปน ท่ีรกั ย่งิ ตลอดจนถึงผูม พี ระคณุ ทกุ ทา น บรรณานุกรมกาญจนา โรจนพานชิ . (2539). ภาษากฎหมายไทย : การศกึ ษาแนวภาษาศาสตรส งั คม. วิทยานพิ นธ อ.ม. (ภาษาไทย). กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.กฤตกิ า ผลเกดิ . (2546). การศกึ ษาวัจนลลี าของประมวลกฎหมายอาญา. วิทยานพิ นธ อ.ม. (ภาษาไทย). กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.กฤษดาวรรณ หงศล ดารมภ และธรี นชุ โชคสวุ ณิช. (2551). วจั นปฏิบตั ศิ าสตร. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พจฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย.คณาจารยม หาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. (2556). การปกครองคณะสงฆไ ทย.กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยัจนั ทมิ า องั คพณชิ กจิ . (2557). การวเิ คราะหข อความ. กรงุ เทพฯ: เอ็มแอนดเ อม็ เลเซอรพ รน้ิ ตชลธชิ าบาํ รงุ รักษ. (2539). การวิเคราะหภ าษาระดบั ขอ ความประเภทตางๆในภาษาไทยเลม1–2. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พม หาวิทยาลัยธรรมศาสตร.ดลุ ยการณ กรณฑแ สง. (2537). การวิเคราะหก ารนยิ ามคาํ ศพั ทภ าษากฎหมาย : กฎหมายครอบครัวและมรดก. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร) . กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.ธานนิ ทรกรยั วิเชียร. (2543). ภาษากฎหมายไทย (พิมพค รงั้ ท่ี 9). กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.ธานินทรก รัยวิเชียร และวิชา มหาคณุ . (2539). การตคี วามกฎหมาย (พมิ พครั้งท่ี 3). กรงุ เทพฯ: ชวนพมิ พ.นววรรรณ พันธเุ มธา. (2527). ไวยากรณไทย (พมิ พครงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: รุง เรอื งสาสนก ารพมิ พ.

528ปลมื้ โชตษิ ฐยางกรู . (2550). คําบรรยายกฎหมายคณะสงฆ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .พระธรรมเจดีย( ประกอบ). (2558). พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆแ ละกฎ ระเบียบ คาํ สงั่ มติ ประกาศมหาเถรสมาคม ตลอดถงึ กฎกระทรวงตางๆ ทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ. กรงุ เทพฯ: ประยรู สาสน ไทย.พระเมธธี รรมาภรณ (ประยรู ธมฺมจิตโฺ ต). (2539). ระเบยี บการปกครองคณะสงฆไ ทย (พมิ พค ร้ังท่ี 9). กรงุ เทพฯ: มูลนิธพิ ทุ ธธรรม.พิมพา จิตตประสาทศลี . (2548). การศกึ ษาลกั ษณะภาษาในกฎหมายไทย: ประมวลกฎหมายอาญาและประมวล กฎหมายแพง และพาณชิ ย. วิทยานิพนธ ศศ.ม.(ภาษาศาสตร) . กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. ถายเอกสาร.พัชรินทร เปย มสมบรู ณ. (2517). การปฏริ ปู กฎหมายของประเทศไทยตง้ั แต พ.ศ. 2411 ถงึ พ.ศ. 2478. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑติ (ประวัตศิ าสตร) . กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั .เพียรศิริ วงศวิภานนท. (2544).ความหมายในปรบิ ทของประโยค. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 3 หนว ย ท่ี 7 – 15 สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร. หนา 349 (พมิ พครง้ั ที่ 9). นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.มลลุ พี รโชคชยั . (2538). การศกึ ษาวจั นลลี าของประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยไ ทย.วิทยานิพนธ อ.ม. (ภาษาศาสตร) . กรุงเทพฯ: บณั ฑติ วทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั .รัชนียญา กลน่ิ น้าํ หอม. (2546). การศกึ ษาวิเคราะหภ าษาในประมวลกฎหมายอาญา. ปรญิ ญานิพนธ ศศ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. ถา ยเอกสาร.รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย. (2550, 24 สิงหาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม ที่ 124 ตอนท่ี 47 ก. หนา 3.รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย. (2550, 24 สงิ หาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลมท่ี 124 ตอนท่ี 47 ก. หนา 8.รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย. (2550, 24 สงิ หาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลมท่ี 124 ตอนที่ 47 ก. หนา 23.สมทรงบุรษุ พฒั น. (2537). วจนะวิเคราะหก ารวิเคราะหภ าษาระดบั ขอความ (พมิ พครงั้ ที่ 2). นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวฒั นธรรมเพ่ือพฒั นาชนบทมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.สกุ ญั ญา สวุ ทิ ยะรตั น. (2553). ภาษาในกฎหมายลักษณะอาญา กบั ประมวลกฎหมายอาญา : การศกึ ษาเชงิ เปรียบเทียบตางสมยั . วิทยานพิ นธ อ.ด. (ภาษาไทย). กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย.สจุ รติ ลกั ษณ ดผี ดงุ . (2552). วัจนปฏิบตั ิศาสตรเ บื้องตน (พิมพค รั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามลดา.สาํ นักงานสถิติแหง ชาต.ิ (2557). การสาํ รวจสภาวะทางสงั คม วฒั นธรรม และสขุ ภาพจิต (ความสขุ ของคนไทย พ.ศ. 2557. สืบคน เมอ่ื 19 ตลุ าคม 2558. จาก http://service.nso.go.th/สํานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาต.ิ (2557). รายงานจาํ นวนพระภิกษ-ุ สามเณร ประจําป พ.ศ. 2557. สบื คนเม่ือ 19 ตลุ าคม 2558. จาก http://www.onab.go.th/อมรา ประสทิ ธริ์ ฐั สนิ ธ.ุ (2532). คําจาํ กดั ความศัพทใ นภาษาศาสตรสงั คม. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั .

529 A Study of Ethnic Identity as Weapons to Resist Policy of Integration: Focused on Karen Tribe in Ban Lad Nai, Wiang Pa Pao district in Chiangrai Province อัตลกั ษณของชาตพิ นั ธทุ ่ีใชเ ปน เครอ่ื งมือในการตอ ตานนโยบายการรวมพวก: กรณศี ึกษาชาวกะเหร่ียงในบา นหวยหนิ ลาดใน ต.บา นโปง อ.เวยี งปาเปา จ.เชยี งราย Lee Jeong-Yoon*บทคดั ยอ ชาติพนั ธุตอตานนโยบายของรัฐบาลดวยวิธีความหลากหลาย การวิจัยครั้งน้ีจะศึกษาอัตลักษณของชาติพนั ธทุ ีใ่ ชเปนเครือ่ งมือในการตอ ตานนโยบายการรวมพวกของรัฐบาลไทยโดยกรณขี องชาวกะเหรี่ยงในบานหว ยหนิลาดใน ต.บานโปง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงรายการวิจัยครั้งนี้จึงมุงวิเคราะหชุมชนตอตานนโยบายรวมพวกของรัฐบาลไทยโดยใชอัตลกั ษณข องพวกเขาอยางไร และการพยายามของชุมชนเพอ่ื รกั ษาอัตลักษณของพวกเขาจะใหผลกระทบตอ นโยบายชาตพิ ันธุข องรัฐบาลไทยอยางไร ผลการวจิ ัยพบวา ชุมชนจัดเครือขายกะเหรี่ยงเพื่อตอตานกฎหมายอนุรกั ษท รัพยากรปาไม ซง่ึ เปนพน้ื ท่ีด้งั เดมิ ของชาวกะเหรีย่ ง และพยายามรกั ษาระบบไรหมุนเวยี นซง่ึ เปนระบบเกษตรกรรมดง้ั เดิม เพ่ือตอ ตานรฐั บาลหามระบบไรหมุนเวียน และบงั คบั ใหใชระบบการสง เสริมพืชพาณิชยเชงิ เดียว นอกจากนี้ยงั รักษา และสืบทอดภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมของชุมชนจากเครือขาย ครอบครัว หรือญาติพ่นี อ ง เพ่ือตอ ตานรฐั บาลบังคบั ใหใสความเปนไทยและใชภาษาไทยยังชาวกะเหรี่ยง และชุมชนสืบทอดพิธีด้งั เดิมเพอื่ ตอตา นรฐั บาลบังคับใหเ ชอื่ ศาสนาพุทธ สุดทายชุมชนจดั กลุมและกองทุน เพ่ือตอตา นการเสียอัตลกั ษณวิถีชีวติ และวัฒนธรรมของพวกเขา ผลการวจิ ัยคร้ังนีจ้ ะนาํ เสนอชาตพิ นั ธุอ ่นื ๆ วา วธิ ีการตอตา น และทิศทางตอนโยบายรวมพวกของรัฐบาลท่ีพวกเขาไมตอ งการ ชาติพันธุไทยจึงสามารถใชชีวิตโดยปองกันอัตลักษณของตัวเอง และไมตกตํ่าลงเปนคนชายขอบคําสาํ คัญ: ชาติพนั ธ,ุ ชาวกะเหร่ียง, อัตลกั ษณ, นโยบายรวมพวก * อาจารย ดร. ภาควชิ าการลามและการแปลภาษาไทย มหาวิทยาลัยฮันกุกภาษาและกิจการตางประเทศ












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook