Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21223 หน่วยที่ 1-8

21223 หน่วยที่ 1-8

Published by กฤษฎา ศรีสุวรรณ์, 2021-08-31 07:23:24

Description: 21223 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและหลักสูตรสำหรับเด็กปฐมวัย หน่วยที่ 1-8

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 1 มสธแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและ หลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย มสธ มสธ รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ผลโยธิน มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธช่ือ วุฒิ มสธต�ำแหน่ง หน่วยท่ีเขียน รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ผลโยธิน MS. Ed. (Early Childhood Education) The City University of New York Ph.D. (Early Childhood Development) University of Missouri-Columbia, U.S.A. ขา้ ราชการบ�ำนาญ สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช หน่วยที่ 1

1-2 การจดั การศกึ ษาและหลักสูตรสำ� หรับเด็กปฐมวยั แผนการสอนประจ�ำหน่วย มสธชุดวิชา การจัดการศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั มสธ มสธหน่วยท่ี 1 แนวคดิ เกี่ยวกับการจดั การศกึ ษาและหลักสูตรสำ� หรบั เด็กปฐมวัย ตอนที่ 1.1 ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกบั การจดั การศึกษาและหลักสตู รสำ� หรับเด็กปฐมวยั 1.2 แนวคิดพ้ืนฐานเกีย่ วกับการจัดการศกึ ษาปฐมวัย มสธ1.3 ความเคลือ่ นไหวในการจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั แนวคิด 1. ความรพู้ นื้ ฐานเกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ประกอบดว้ ยความรู้ มสธ มสธความเข้าใจในความหมายและความส�ำคัญของการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กวัย 3–6 ปี บริบูรณ์ รวมทงั้ จดุ ม่งุ หมายและองค์ประกอบสำ� คญั ของการจัดการศึกษาปฐมวัย 2. แ นวคิดพน้ื ฐานเกีย่ วกบั การจดั การศกึ ษาปฐมวัย ประกอบด้วยแนวคิดจากปรชั ญาการศกึ ษา กลมุ่ ตา่ งๆ แนวคดิ จากทฤษฎพี ฒั นาการและการเรยี นรู้ และแนวคดิ จากองคค์ วามรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง กับเดก็ ปฐมวยั 3. ค วามเคลื่อนไหวในการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย เป็นความเคลื่อนไหว ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และการจัด มสธประสบการณ์ที่มีอิทธพิ ลและส่งผลกระทบตอ่ เด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์ เมือ่ ศกึ ษาหนว่ ยที่ 1 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ มสธ มสธ1. อธบิ ายความร้พู ้นื ฐานเกีย่ วกบั การจัดการศึกษาและหลกั สูตรสำ� หรับเดก็ ปฐมวยั ได้ 2. อธิบายแนวคดิ พ้นื ฐานเกี่ยวกับการจดั การศึกษาปฐมวัยได้ มสธ3. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งความเคลอ่ื นไหวในการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ได้

แนวคิดเกยี่ วกบั การจัดการศกึ ษาและหลักสตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย 1-3 กิจกรรมระหว่างเรียน มสธ1. ทำ� แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียนหน่วยที่ 1 2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนท่ี 1.1–1.3 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายในเอกสารการสอน 4. ฟงั ซีดีเสยี งประจำ� ชุดวชิ า มสธ มสธ5. ชมดีวดี ีประกอบชุดวชิ า (ถ้ามี) 6. ทำ� แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนหนว่ ยที่ 1 ส่ือการสอน 1. เอกสารการสอน 2. แบบฝกึ ปฏิบตั ิ มสธ3. ซีดีเสียงประจำ� ชดุ วิชา 4. ดีวีดปี ระจำ� กอบชุดวิชา (ถ้ามี) การประเมินผล มสธ มสธ1. ประเมินผลจากแบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรยี นและหลังเรียน 2. ประเมนิ ผลจากกิจกรรมและแนวตอบทา้ ยเร่อื ง 3. ประเมนิ ผลจากการสอบไล่ประจำ� ภาคการศึกษา เม่ืออ่านแผนการสอนแล้ว ขอให้ท�ำแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน มสธ มมสสธธ มสธหน่วยท่ี 1 ในแบบฝึกปฏิบัติ แล้วจึงศึกษาเอกสารการสอนต่อไป

1-4 การจัดการศกึ ษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวยั ตอนที่ 1.1 มสธความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับ เด็กปฐมวัย มสธ มสธโปรดอ่านหัวเรือ่ ง แนวคดิ และวตั ถุประสงคข์ องตอนที่ 1.1 แลว้ จึงศึกษารายละเอยี ดต่อไป หัวเร่ือง 1.1.1 ความหมายและความสำ� คัญของการจดั การศึกษาและหลักสตู รสำ� หรบั เด็กปฐมวัย 1.1.2 จดุ มงุ่ หมายของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั 1.1.3 องค์ประกอบส�ำคญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั มสธแนวคิด 1. การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ การดำ� เนนิ การใหก้ ารศกึ ษา และจดั การเรยี นรู้ ประสบการณ์ หรอื กจิ กรรมทง้ั หลายใหแ้ กเ่ ดก็ ปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ มสธ มสธเพือ่ ให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย ซง่ึ มีความสำ� คัญทัง้ ตอ่ ตัวเด็ก ผู้เกย่ี วข้อง กับเด็ก และบุคคลต่างๆ ในสงั คม 2. ก ารจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัยท้ังด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา รวมท้ังมีทักษะต่างๆ เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโต อยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยแตล่ ะหนว่ ยงานและแตล่ ะบคุ คลจะมจี ดุ มงุ่ หมายในการจดั การศกึ ษา ท่เี หมอื นและตา่ งกัน มสธ3. อ งคป์ ระกอบสำ� คญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทชี่ ว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาการและการเรยี นรู้ ให้กับเด็กประกอบด้วย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับเด็ก หลักสูตร การจัดสภาพ- แวดล้อมและส่อื วสั ดอุ ุปกรณ์ และการประเมนิ วัตถุประสงค์ มสธ มสธเมื่อศกึ ษาตอนท่ี 1.1 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1. บอกความหมายของการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวัยได้ 2. บอกความส�ำคญั ของการจัดการศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั ได้ 3. บอกจุดมงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ได้ มสธ4. อธบิ ายและยกตัวอยา่ งองค์ประกอบสำ� คัญของการจดั การศึกษาปฐมวยั ได้

แนวคิดเกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรับเด็กปฐมวยั 1-5 เร่ืองที่ 1.1.1 มสธความหมายและความส�ำคัญของการจัดการศึกษาและ หลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย มสธ มสธการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั จำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เด็กปฐมวัย เพ่ือน�ำข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ ในเรื่องน้ี จึงน�ำเสนอประเด็นส�ำคัญเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและหลักสูตร ประกอบด้วย (1) ความหมายของการ จัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย และ (2) ความส�ำคัญของการจัดการศึกษาและหลักสูตร ส�ำหรบั เด็กปฐมวัย มสธความหมายของการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย การกลา่ วถงึ ความหมายของการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั จะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจ คำ� ว่า “การจัดการศึกษา” “หลักสตู ร” และ “เด็กปฐมวยั ” ก่อน “การจัดการศึกษา” มาจากค�ำในภาษาอังกฤษว่า “Education Management” หมายถึง มสธ มสธ“กระบวนการดำ� เนนิ การเพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการจดั การศกึ ษา” ทงั้ นี้ การศกึ ษา เปน็ กระบวนการอบรมบม่ นสิ ยั ใหม้ นษุ ยส์ ามารถประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นและทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การให้การศึกษาจึงต้องมีการจัดการ มีเป้าหมาย มีรูปแบบกระบวนการ มีการลงทุน มีงบประมาณและ ทรพั ยากรอนื่ ๆ เชน่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ เทคโนโลยี ฯลฯ และมผี รู้ บั ผดิ ชอบ เพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การใหเ้ กดิ ผล ตามเปา้ หมายทกี่ ำ� หนด กระบวนการทงั้ หมดนค้ี อื การจดั การ ซง่ึ ตอ้ งกระทำ� อยา่ งเปน็ ระบบ มแี ผน มเี ปา้ หมาย มผี รู้ บั ผดิ ชอบ และมเี ครอ่ื งมอื กลไกทน่ี ำ� ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ได้ ดงั นนั้ การจดั การศกึ ษากค็ อื ทำ� ทกุ อยา่ งอยา่ ง มสธเป็นระบบทท่ี กุ ส่วนมคี วามสมั พันธ์เชอื่ มโยงกัน (ปรชั ญา เวสารชั ช,์ 2545, น. 5-6) และส�ำหรบั ชดุ วิชาน้ี “การจดั การศกึ ษา” หมายถงึ การใหก้ ารศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบเพอื่ ใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษา “หลักสูตร” มาจากค�ำในภาษาอังกฤษว่า “Curriculum” หมายถึง “แผนการเรียนรู้และ ประสบการณห์ รอื กจิ กรรมทง้ั หลายทโี่ รงเรยี นจดั ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น” ความหมายดงั กลา่ วประกอบดว้ ยคำ� หลกั ๆ คือ แผนการเรียนรู้ ประสบการณ์ โรงเรียน และผู้เรียน ทั้งนี้ แผนการเรียนรู้ หมายถึง เน้ือหาสาระท่ี มสธ มสธกำ� หนดใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รยี นรู้ตลอดจนแผนกิจกรรมต่างๆ ส่วน ประสบการณ์ หมายถงึ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่าง ผเู้ รยี นกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ สงิ่ แวดลอ้ มในทน่ี ร้ี วมถงึ เนอื้ หาสาระทต่ี อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรโู้ ดยผา่ นทางกจิ กรรม ทโ่ี รงเรยี นหรอื ผสู้ อนจดั ให้ แตต่ อ้ งเปน็ กจิ กรรมทผ่ี เู้ รยี นเปน็ ผกู้ ระทำ� หรอื มสี ว่ นรว่ ม (ทวศี กั ด์ิ จนิ ดานรุ กั ษ,์ ธวชั ชยั ชยั จริ ะฉายากลุ , และปราณี สงั ขะตะวรรธน,์ 2550, น. 1-16) สำ� หรบั โรงเรยี น หมายถงึ สถานศกึ ษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยของรัฐหรือของเอกชนที่ท�ำหน้าท่ีหรือจัดการศึกษาหรือจัดการเรียนรู้ให้แก่ มสธผู้เรยี น สว่ น ผู้เรยี น หมายถงึ เด็กปฐมวัย หรอื นกั เรยี น หรอื ผเู้ รียนทม่ี ีชือ่ เรยี กเป็นอย่างอืน่

1-6 การจดั การศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั “เด็กปฐมวัย” มาจากค�ำในภาษาองั กฤษว่า “Young Children” หมายถึง เดก็ ท่อี ย่ใู นชว่ งวยั มสธแรกเกดิ ถงึ แปดปี หรอื ในชว่ งปฐมวยั (Early Childhood) ซงึ่ จะมชี อ่ื เรยี กแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะชว่ งอายุ ดงั นี้ (Copple & Bredekamp, 2009, p. xi) 1. ชว่ งวัยทารกและเตาะแตะ (The Infant and Toddler Years) คอื ชว่ งอายุ 0-3 ปี 2. ชว่ งวยั กอ่ นเข้าโรงเรียน (The Preschool Years) คอื ชว่ งอายุ 3-5 ปี มสธ มสธ3. ช่วงวยั อนบุ าล (The Kindergarten Years) คือ ช่วงอายุ 5-6 ปี 4. ช่วงชน้ั ประถม (The Primary Grades) คือ ช่วงอายุ 6-8 ปี ท้ังน้ี การแบ่งอายุในแต่ละช่วงวัยและการเรียกชื่อช่วงอายุและเด็กปฐมวัยของนักจิตวิทยา พัฒนาการและนักการศึกษามีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ส�ำหรับเด็กปฐมวัยในความหมายของชุดวิชานี้ หมายถึงเด็กวัย 3–6 ปี บริบูรณ์ หรือวัยก่อนเขา้ โรงเรียน และวยั อนบุ าลเทา่ น้นั จากความหมายของค�ำวา่ “การจดั การศึกษา” “หลกั สตู ร” และ “เด็กปฐมวัย” ดงั กล่าวข้างต้น มสธจงึ กลา่ วไดว้ า่ การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ การใหก้ ารศกึ ษาและจดั การเรยี นรู้ ประสบการณ์ หรอื กจิ กรรมทง้ั หลายใหแ้ กเ่ ดก็ ปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ มแี ผน มเี ปา้ หมาย และมผี รู้ บั ผดิ ชอบ คอื บคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สถานศกึ ษา เพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามจดุ มงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษา โดยมงี บประมาณ และทรพั ยากรอน่ื ๆ เชน่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ เทคโนโลยี สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การใหเ้ กดิ ผลตามเปา้ หมายทก่ี ำ� หนด มสธ มสธความส�ำคัญของการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย นกั การศกึ ษา นกั พฒั นาหลกั สตู ร นกั จติ วทิ ยา และบคุ คลตา่ งๆ ในหลากหลายอาชพี ตา่ งใหค้ วาม สำ� คัญกบั การจัดการศกึ ษาและหลกั สตู รส�ำหรับเด็กปฐมวยั ซึง่ สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. ความส�ำคัญต่อตัวเด็กปฐมวัย 1.1 ท�ำให้เด็กปฐมวัยพัฒนาตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตร การจดั การเป็นการนำ� นโยบายสูก่ ารปฏิบัติ รวมทง้ั น�ำหลักสูตรสู่การปฏบิ ตั ิ โดยพัฒนาเด็ก มสธปฐมวัยอย่างเต็มศักยภาพทุกด้านท้ังด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างสมดุลครบ ถ้วน ให้เด็กปฐมวัยได้รับการฝึกทักษะพ้ืนฐานที่เหมาะสมกับวัยและการเรียนรู้ของเด็ก มีผู้รับผิดชอบที่ จดั การศกึ ษาและหลักสตู รอย่างมคี ณุ ภาพ รวมทง้ั สร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งบ้าน สถานศกึ ษา และชมุ ชน การด�ำเนินการดังกล่าวย่อมเกิดผลต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการจดั การศกึ ษาและหลักสูตรส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั มสธ มสธ1.2 ช่วยสร้างรากฐานชีวิตให้กับเด็กปฐมวัย การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็ก ปฐมวยั ชว่ ยใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ไดร้ บั โอกาสทจ่ี ะถกู อบรมเลย้ี งดแู ละไดร้ บั การศกึ ษาทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานจำ� เปน็ สำ� หรบั การด�ำรงชีวิต เพราะช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาส�ำคัญท่ีสุดส�ำหรับการเรียนรู้ท่ีเป็นรากฐานส�ำคัญของชีวิต เด็กปฐมวัย ท้ังน้ีสภาพสังคมและความเป็นอยู่ของคนเรามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมายและรวดเร็ว การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัยจึงจ�ำเป็นต้องเริ่มต้ังแต่ช่วงวัยน้ีเพ่ือสร้างรากฐานชีวิตให้ มสธเด็กสามารถด�ำรงชีวิตที่ดแี ละสรา้ งสรรค์สงั คม

แนวคดิ เกีย่ วกับการจัดการศกึ ษาและหลักสตู รสำ� หรับเดก็ ปฐมวัย 1-7 2. ความส�ำคัญต่อครู มสธ2.1 ท�ำให้ครูทราบแนวคิดพ้ืนฐานในการจัดการศึกษาและหลักสูตร และน�ำไปใช้พัฒนา เด็กปฐมวัย การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัยช่วยท�ำให้ครูทราบถงึ หลกั การจดั การศกึ ษา แนวคดิ และปรชั ญาการศกึ ษา จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั วธิ ีการ จดั ประสบการณ์ กจิ กรรม และการประเมิน ซึ่งมีความแตกต่างจากการจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั มสธ มสธเด็กโตและผู้ใหญ่ ความรู้ความเข้าใจดังกล่าว ช่วยให้ครูสามารถน�ำมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ความ เหมาะสมของแนวการปฏิบัติเพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล 2.2 ท�ำให้สามารถก�ำหนดรูปแบบ จุดมุ่งหมาย ประสบการณ์ และกิจกรรมในการพัฒนา เด็กในแต่ละช่วงอายุ ทสี่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั เพราะ การจัดการศึกษาต้องมุ่งไปสู่เป้าหมายท่ีพึงประสงค์ร่วมกันของสังคม และต้องน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ของเดก็ ปฐมวยั อยา่ งแทจ้ รงิ รวมทง้ั ตอบสนองความตอ้ งการขนั้ พนื้ ฐาน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ มสธอยา่ งเต็มที่ และใช้ชีวติ อย่างมีคณุ คา่ ตอ่ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ 3. ความส�ำคัญต่อสังคม 3.1 ลดความเหลอื่ มลำ้� ทางการศกึ ษา การใหโ้ อกาสเดก็ ปฐมวยั ทกุ คนไดร้ บั การอบรมเลย้ี งดู และการศึกษาอย่างเหมาะสมกับวัยและเรียนรู้อย่างมีความสุข รวมทั้งท�ำให้ประชาชนในสังคมมีส่วนร่วม สนับสนนุ และส่งเสริมการจดั การศกึ ษาปฐมวยั หรอื ช่วยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและเดก็ ปฐมวัยไดอ้ ยา่ ง มสธ มสธเต็มทแ่ี ละตรงตามความตอ้ งการของสงั คม จะชว่ ยลดปญั หาความเหลอื่ มล�้ำทางการศึกษาลงได้ 3.2 ท�ำให้พลเมืองและสังคมมีคุณภาพและเกิดความมั่นคง การศึกษาส่งผลกระทบและมี อทิ ธพิ ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง วฒั นธรรม และการใชช้ วี ติ ของประชาชน การจดั การ ศึกษาและหลักสูตรที่มีคุณภาพให้กับเด็กปฐมวัยจึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนและ ดำ� เนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทพี่ งึ ประสงคร์ ว่ มกนั ของสงั คม เพราะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทจ่ี ะเตบิ โต เปน็ พลเมอื งทม่ี คี ณุ ภาพตอ่ ไป ซงึ่ จะทำ� ใหส้ งั คมมคี ณุ ภาพและเกดิ ความมนั่ คงตามไปดว้ ย เปน็ การปอ้ งกนั มสธปัญหาสงั คมในระยะยาว การจดั การศกึ ษาปฐมวัยจงึ ถอื เป็นการลงทุนทีค่ ุ้มค่า สรุปได้ว่า การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย มีความส�ำคัญต่อตัวเด็ก ท�ำให้เด็ก ปฐมวัยพัฒนาและสร้างรากฐานชีวิตให้เด็กสามารถด�ำรงชีวิตที่ดี ต่อครู ท�ำให้ครูทราบแนวคิดพื้นฐาน ในการจดั การศกึ ษาและหลกั สูตร สามารถน�ำไปใช้พัฒนาเดก็ รวมท้งั จัดประสบการณ์และกจิ กรรมพฒั นา เด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงอายุ และต่อสังคมคือลดความเหลื่อมล้�ำทางการศึกษา ท�ำให้พลเมืองและสังคมมี มสธ มสธ มสธคณุ ภาพ

1-8 การจดั การศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย กิจกรรม 1.1.1 มสธจงอธบิ ายความหมายและความสำ� คญั ของการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั มาพอ สงั เขป แนวตอบกิจกรรม 1.1.1 มสธ มสธการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ การดำ� เนนิ การใหก้ ารศกึ ษาและจดั การ เรียนรู้ ประสบการณ์ หรือกิจกรรมทั้งหลายให้แก่เด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ มีแผน มีเป้าหมายและมี ผู้รับผิดชอบเพ่อื ให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการจัดการศึกษาทก่ี �ำหนด ความส�ำคัญของการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ ความส�ำคัญต่อตัวเด็ก เชน่ สร้างรากฐานชีวติ ให้เด็กสามารถดำ� รงชวี ติ ท่ีดี ความส�ำคญั ต่อครู เชน่ ท�ำใหค้ รทู ราบแนวคดิ พื้นฐาน ทสี่ ามารถนำ� ไปใชจ้ ดั ประสบการณแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ความสำ� คญั ตอ่ สงั คม เชน่ ทำ� ใหพ้ ลเมอื ง มสธและสังคมมคี ุณภาพ เป็นตน้ มสธ มสธเร่ืองที่1.1.2 จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย การพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้เตบิ โตเป็นพลเมืองทมี่ คี ุณภาพ ตอ้ งอาศัยการจัดการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ มสธรวมท้ังการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โดยทั่วไปการจัดการศึกษาปฐมวัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา เด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการท่ีสมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา แต่มีจุดเน้นและ รายละเอียดที่เหมือนและต่างกันออกไป ในเรื่องน้ีจึงน�ำเสนอประเด็นส�ำคัญเก่ียวกับจุดมุ่งหมายของ การจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย (1) จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับประเทศ (2) จดุ มงุ่ หมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับหน่วยงาน และ (3) จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา มสธ มสธปฐมวยั ระดับบคุ คล ดังน้ี จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับประเทศ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับ ปรับปรุงแก้ไข) พ.ศ. 2554 ได้ระบุจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาไว้ในหมวด 1 มาตรา 6 ว่า “การ จัดการศกึ ษาตอ้ งเป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้เป็นมนุษยท์ ี่สมบรู ณท์ ้ังร่างกายและจติ ใจ สติปญั ญา ความรู้ มสธและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข”

แนวคิดเก่ียวกบั การจัดการศกึ ษาและหลักสูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั 1-9 เปน็ การกำ� หนดจดุ มงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษาของประเทศไทยอยา่ งกวา้ งๆ ครอบคลมุ การศกึ ษาหลาย มสธระดับ จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยต้องน�ำไปปฏิบัติให้ สอดคลอ้ งกับพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ (สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2554) เมอื่ มกี ารประกาศแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ไดป้ รากฏ รายละเอียดส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับประเทศ เน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ มสธ มสธจัดท�ำขึ้นในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและ เชอ่ื มโยงใกลช้ ดิ กนั มากขนึ้ โดยไดน้ อ้ มนำ� หลกั “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเปน็ ปรชั ญานำ� ทางใน การพัฒนาประเทศต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-11 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทย สามารถยืนหยดั อย่ไู ดอ้ ย่างมน่ั คง เกิดภมู ิคมุ้ กัน และมีการบรหิ ารจดั การความเสย่ี งอย่างเหมาะสม ส่งผล ใหก้ ารพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยงั่ ยนื ในการจดั ทำ� แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 สำ� นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ไดจ้ ดั ทำ� บนพนื้ ฐานของยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) มสธซงึ่ เปน็ แผนแมบ่ ทหลกั ของการพฒั นาประเทศ และเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Develop- ment Goals: SDGs) รวมทัง้ การปรับโครงสรา้ งประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเดน็ การ ปฏริ ปู ประเทศ นอกจากนน้ั ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การมสี ว่ นรว่ มของภาคกี ารพฒั นาทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ในระดบั กลมุ่ อาชพี ระดบั ภาค และระดบั ประเทศในทกุ ขน้ั ตอนของแผนพฒั นาฯ อยา่ งกวา้ งขวางและตอ่ เนอื่ ง เพอื่ รว่ มกันก�ำหนดวสิ ยั ทัศน์และทิศทางการพฒั นาประเทศ รวมทัง้ ร่วมจดั ทำ� รายละเอียดยุทธศาสตรข์ องแผน มสธ มสธพัฒนาฯ เพือ่ มุ่งสู่ “ความมัน่ คง ม่ังคง่ั และยัง่ ยนื ” การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 มี รายละเอยี ดสำ� คญั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การกำ� หนดจดุ มงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทคี่ วรนำ� มากลา่ วใน ประเด็นต่อไปน้ี (ส�ำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, 2559, น. 4-68) 1. หลักการส�ำคัญของแผนพัฒนาฯ มหี ลายประการ แตห่ ลกั การสำ� คญั ประการหนง่ึ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับเด็กปฐมวัยคือ หลักการที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” โดยมุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะ ทดี่ สี ำ� หรบั คนไทย พฒั นาคนใหม้ คี วามเปน็ คนทสี่ มบรู ณม์ วี นิ ยั ใฝร่ ู้ มคี วามรู้ มที กั ษะ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มสธมีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อม เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเก้ือกูล อนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟู ใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอย่างเหมาะสม 2. จุดเน้นและประเด็นหลัก ทเ่ี ปน็ หวั ใจของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ประการหนงึ่ คอื การเตรยี ม พร้อมด้านก�ำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนใน มสธ มสธทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทุนมนุษย์ที่มีศักยภาพสูง ภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคัญ เช่น คณุ ภาพคนยงั มปี ญั หาในทกุ ชว่ งวยั และสง่ ผลกระทบตอ่ เนอื่ งถงึ กนั ตลอดชว่ งชวี ติ ตงั้ แตพ่ ฒั นาการไมส่ มวยั ในเดก็ ปฐมวยั ผลลพั ธท์ างการศกึ ษาของเดก็ วยั เรยี นคอ่ นขา้ งตำ�่ ฯลฯ ดงั นน้ั จดุ เนน้ การพฒั นาคนทสี่ ำ� คญั ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 และเก่ยี วข้องกับเด็กปฐมวยั สรุปได้ดงั นี้ 2.1 การพัฒนากลุ่มเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการ มสธเรยี นรู้ ทกั ษะชีวติ และทักษะทางสงั คม เพื่อใหเ้ ติบโตอยา่ งมีคุณภาพ

1-10 การจดั การศึกษาและหลกั สูตรสำ� หรบั เด็กปฐมวยั 2.2 การหล่อหลอมให้คนไทยมีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม คนไทยในทุกช่วงวัย มสธเป็นคนดี มสี ขุ ภาวะทีด่ ี มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีระเบียบวนิ ยั มจี ติ สำ� นกึ ท่ดี ตี ่อสงั คมสว่ นรวม 2.3 การพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของคน มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะท่ีเหมาะสมใน แต่ละช่วงวัยเพ่ือวางรากฐานให้เป็นคนมีคุณภาพในอนาคต การพัฒนาทักษะสอดคล้องกับความต้องการ ในตลาดแรงงานและทักษะท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความ มสธ มสธเหมาะสม 2.4 การเตรยี มความพรอ้ มของกำ� ลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงโลกในอนาคตอยา่ งส�ำคญั 2.5 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาสคู่ วามเปน็ เลศิ ในทกุ ระดบั และยกระดบั การเรยี นรโู้ ดย เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานทง้ั การบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ปรบั ระบบการจดั การ เรียนการสอน และการพัฒนาคุณภาพครูทั้งระบบ เป็นตน้ นอกจากนี้ยังให้ความสำ� คญั กับการสร้างปัจจัย มสธแวดล้อมทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตทง้ั สอ่ื การเรียนรูแ้ ละแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย 2.6 การสร้างเสรมิ ใหค้ นมีสุขภาพดี เนน้ การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมทางสขุ ภาพและการลด ปจั จยั เสย่ี งดา้ นสภาพแวดลอ้ มทส่ี ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาความรใู้ นการดแู ลสขุ ภาพ การพัฒนารูปแบบการออกก�ำลังกายและโภชนาการที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย การใช้มาตรการทาง กฎหมายและภาษีในการควบคุมและส่งเสรมิ อาหารและผลิตภัณฑท์ ีส่ ง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพ เป็นต้น มสธ มสธ3. เป้าหมายการพัฒนา แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 กำ� หนดเปา้ หมายในชว่ งเวลา 5 ปี โดยคำ� นงึ ถึงการด�ำเนินการต่อยอดไปสู่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 14 และ 15 เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ทง้ั นี้ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ไดต้ ง้ั เปา้ หมายการพฒั นา คอื คนไทยทม่ี คี ณุ ลกั ษณะ เป็นคนไทยทส่ี มบูรณ์ มวี ินัย มที ศั นคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสงั คม มีความเป็นพลเมอื ง ตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบ และท�ำประโยชน์ต่อ สว่ นรวม มสี ขุ ภาพกายและใจทดี่ ี มคี วามเจรญิ งอกงามทางจติ วญิ ญาณ มวี ถิ ชี วี ติ ทพี่ อเพยี ง มคี วามเปน็ ไทย มสธนอกจากน้ี ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ระบวุ า่ คณุ ภาพคนไทยทกุ กลมุ่ วยั ยงั มปี ญั หา เชน่ กลมุ่ เดก็ ปฐมวยั (0-5 ป)ี ยงั มปี ญั หาพฒั นาการไมส่ มวยั จากประชากรทม่ี บี ตุ รลดลงสง่ ผลใหจ้ ำ� นวนเดก็ ปฐมวยั ลดลงอยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง และยงั มปี ญั หาพฒั นาการลา่ ชา้ กวา่ รอ้ ยละ 27.5 โดยพฒั นาการทล่ี า่ ชา้ สดุ คอื พฒั นาการดา้ นภาษา สาเหตสุ ว่ นใหญม่ าจากครอบครวั ไมม่ คี วามรแู้ ละเวลาในการเลยี้ งดู โดยทชี่ ว่ งวยั 0-3 ปี สมองจะมพี ฒั นาการ สูงสดุ และสง่ ผลตอ่ ระดับสตปิ ัญญา บคุ ลกิ ภาพ และความฉลาดทางอารมณ์ ซงึ่ การเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่จะ มสธ มสธเสริมสร้างการพัฒนาของสมองได้ร้อยละ 20-30 แต่มีแม่ที่เล้ียงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดอื น เพยี ง รอ้ ยละ 27.6 ขณะทเี่ ดก็ ชว่ งอายุ 3-5 ปี ตอ้ งเรมิ่ พฒั นาทกั ษะการอยใู่ นสงั คม พบวา่ กวา่ รอ้ ยละ 76.3 อยู่ใน สถานศึกษาเด็กปฐมวัยที่ยังมีปัญหาด้านคุณภาพมาตรฐาน โดยปัจจุบันมีมาตรฐานที่หลากหลายทั้ง กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สง่ ผลตอ่ รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนและครทู ม่ี ผี ลตอ่ พฒั นาการทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะชว่ งของเดก็ ปฐมวยั ดังนัน้ การพฒั นาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 จงึ กำ� หนดวตั ถุประสงค์และเป้าหมายรวมของ มสธการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย สรุปไดด้ ังนี้

แนวคดิ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั 1-11 เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ คือ ต้องพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มสธมที กั ษะทางสมอง เชน่ ความคดิ ความจำ� ทกั ษะการเรยี นรเู้ นน้ การเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา และทักษะชีวิต เช่น การเตรียมทักษะการอยู่ในสังคมให้มีพัฒนาการอย่างรอบด้าน ทักษะการควบคุม อารมณ์ ฯลฯ เพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มี สขุ ภาวะทด่ี ี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั มจี ติ สำ� นกึ ทดี่ ตี อ่ สงั คมสว่ นรวม มที กั ษะความรแู้ ละความ มสธ มสธสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่ เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนท่ีร่วมกัน พัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมส�ำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (สำ� นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต,ิ 2559, น. 65-68) จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับหน่วยงาน หนว่ ยงานทจ่ี ดั การศกึ ษาปฐมวยั ในประเทศมหี ลากหลายทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน แตล่ ะหนว่ ยงาน มสธท่ีจัดส่วนใหญ่ก�ำหนดจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยเพ่ือให้เด็กมีพัฒนาการรอบด้านทั้งร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา แตม่ จี ดุ เน้นท่ีแตกต่างกัน เช่น (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2546, น. 31; บงั อร เทพเทยี น และปิยฉตั ร ตระกูลวงษ,์ 2550, น. 124-125) 1. กระทรวงศึกษาธิการ ก�ำหนดจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีเด่นชัดในหลักสูตร มสธ มสธการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2546 สำ� หรบั เด็กอายุ 3-5 ปี โดยระบวุ ่า เป็นการจดั การศึกษาในลักษณะ การอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติ ปญั ญา ตามวยั และความสามารถของแตล่ ะบคุ คล โดยมจี ดุ มงุ่ หมายหรอื จดุ หมาย เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มคี ณุ ลกั ษณะ ที่พึงประสงค์ เช่น ด้านร่างกาย เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยท่ีดี ด้านอารมณ์-จิตใจ เดก็ มสี ขุ ภาพจติ ดี และมคี วามสขุ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทด่ี งี าม ดา้ นสงั คม เดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเอง ได้เหมาะสมกับวยั อยรู่ ว่ มกับผอู้ ื่นได้อย่างมคี วามสขุ ดา้ นสตปิ ญั ญา เด็กใชภ้ าษาส่อื สารได้เหมาะสมกบั มสธวัย มีความสามารถในการคิดและการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย มีความคิดสร้างสรรค์ มีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนรู้ เป็นต้น จุดมุ่งหมายหรือจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารดงั กลา่ ว เปน็ หลกั สตู รทกี่ ำ� หนดจดุ มงุ่ หมายหรอื จดุ หมายเปน็ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ บนพื้นฐานพัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั 2. กระทรวงมหาดไทย มีหน่วยงานที่ด�ำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย เช่น กรมส่งเสริมการ มสธ มสธปกครองส่วนท้องถ่ิน ด�ำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การ บริหารส่วนต�ำบล พัทยาและกรุงเทพมหานคร มีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่งเสริมให้เด็กในเขตพัฒนาได้รับการ เล้ียงดูอย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมให้ท้องถิ่นช่วยตนเองและมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน พัฒนาเดก็ โดยเผยแพรว่ ทิ ยาการแผนใหมไ่ ปสู่บิดา มารดา ผปู้ กครองเด็กและชุมชน 3. ส�ำนักนายกรัฐมนตรี มีส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ จัดการศึกษาปฐมวัยโดยมีกองบัญชาการ ต�ำรวจตระเวนชายแดน รับผิดชอบจัดในรูปศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ส�ำหรับเด็กอายุ 2 ขวบครึ่ง ถึง 3 ขวบ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่เด็กในท้องถิ่นห่างไกลให้ได้รับการอบรมเล้ียงดูอย่าง มสธเหมาะสมและรว่ มมอื กันพฒั นาเดก็ ให้พรอ้ มทจี่ ะเรียนในระดับตอ่ ไป

1-12 การจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั 4. กระทรวงสาธารณสุข มหี นว่ ยงานทดี่ ำ� เนนิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั โดยกรมอนามยั และกรม มสธการแพทย์ ในรูปแบบศูนย์สาธิตเด็กเล็ก มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เด็กได้พัฒนาเป็นประชากรที่มีคุณภาพ ได้ รับการเล้ียงดูให้มีพัฒนาการทุกด้านท้ังด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเหมาะสม และมีสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จัดบริการให้กับเด็กที่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาลโดยจัดให้มี หอ้ งเล่น และบริการเครือ่ งเลน่ ท่เี ตยี งโดยผสู้ อนเปน็ ทง้ั ครแู ละพยาบาล มสธ มสธจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยระดับบุคคล นกั การศกึ ษา และผทู้ รงคณุ วฒุ หิ ลายสาขาตา่ งใหค้ วามสำ� คญั กบั เดก็ ปฐมวยั และนำ� เสนอเปา้ หมาย การพัฒนาเด็ก ซ่ึงถือเป็นจุดหมายหรือจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยไว้ ท้ังนี้ นักการศึกษาที่ ควรกลา่ วถงึ คอื 1. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระผู้ได้รับสมัญญานามว่า เจ้าฟ้านัก มสธการศกึ ษาปฐมวยั ดว้ ยพระจรยิ วตั รแหง่ พระองคท์ างการศกึ ษาทท่ี รงเปน็ ตวั อยา่ งแหง่ การเปน็ ผใู้ ฝร่ ู้ ใสพ่ ระทยั ตอ่ การพฒั นาและสง่ เสรมิ การศกึ ษา เปน็ แบบอยา่ งของนกั การศกึ ษาทป่ี รารถนาดแู ลและเออื้ อาทรแกบ่ คุ คล ทุกเพศทุกวัยให้พัฒนาปัญญาด้วยการศึกษา และทรงแสดงให้เห็นว่าการศึกษาท่ีมีคุณค่าแท้จริงต้องเร่ิม มาตัง้ แต่เล็กจนเติบใหญ่ พระราชกรณยี กิจด้านการศกึ ษาจึงครอบคลุมถึงเด็กเลก็ ที่อยู่ในชว่ งปฐมวยั นบั แตแ่ รกเกิดจนถงึ วัยอนุบาล หรือทเ่ี รียกว่าการศึกษาปฐมวัย พระองคท์ รงเหน็ ว่า เดก็ ปฐมวยั เปน็ พน้ื ฐาน มสธ มสธสำ� คญั ของประเทศ หากเดก็ ปฐมวยั ไดร้ บั การเลย้ี งดู และใหก้ ารศกึ ษาอบรมอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ศึกษาแล้ว เด็กจะเจริญเติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา การศึกษา ปฐมวัยตามแนวพระราชด�ำริของพระองค์ ประมวลเป็นจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยได้ ดังน้ี (กลุ ยา ตันตผิ ลาชีวะ, 2550, น. 4-63) 1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก ให้เด็กปฐมวัยได้รับอาหารที่มีปริมาณเพียงพอ มีคุณค่าทาง โภชนาการ ให้เด็กมนี ิสยั การบริโภคท่ีดี ไดร้ บั การดูแลสุขภาพทด่ี ี และมีโอกาสทางการศึกษา มสธ2) สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ แบบองคร์ วม ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ไดพ้ ฒั นาทง้ั ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ ด้านสงั คม และด้านสติปัญญาอยา่ งถกู ตอ้ งเป็นรปู ธรรม 3) สร้างเสริมลักษณะนิสัย เด็กปฐมวัยต้องได้รับการพัฒนาคุณลักษณะที่สอดคล้องกับ คุณธรรม จรยิ ธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย 4) สรา้ งสำ� นึกความเป็นไทย ปลูกฝงั ความรักในความเปน็ ไทย ด้วยการให้เด็กซึมซับรบั รู้ มสธ มสธเพลงไทย ดนตรีไทย เรียนรวู้ ฒั นธรรมไทย และภมู ปิ ัญญาไทย ทัง้ น้ี การศกึ ษาส�ำหรบั เดก็ เล็ก ให้เนน้ การแบ่งเบาภาระผู้ปกครองในการดูแลเดก็ และเตรยี มเด็ก เขา้ ช้นั เรยี นอนุบาล ส่วนการศกึ ษาอนุบาลใหเ้ นน้ การเตรียมความพร้อมเข้าเรียนประถมศกึ ษาปีท่ี 1 และ พฒั นาการทางภาษาเปน็ สำ� คัญ 2. คุณหญิงเบญจา แสงมลิ เปน็ อกี หนงึ่ บคุ คลสำ� คญั แหง่ วงการปฐมวยั ศกึ ษาของประเทศไทย ที่ ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ คอื “ปรมาจารยด์ า้ นการอนบุ าลศกึ ษาไทย” เปน็ ผทู้ มี่ บี ทบาทสำ� คญั ในการวางรากฐาน มสธการสอนในโรงเรยี นอนบุ าลใหม้ น่ั คงและแพรห่ ลาย ทำ� ใหก้ ารจดั การศกึ ษาปฐมวยั เปน็ ระบบและมคี วามเปน็

แนวคดิ เกยี่ วกบั การจัดการศึกษาและหลักสูตรสำ� หรับเด็กปฐมวัย 1-13 สากลมากข้นึ โดยมโี รงเรียนอนบุ าลละอออทุ ศิ เป็นแหล่งเรียนรขู้ องครปู ฐมวยั ทว่ั ประเทศ และในปี พ.ศ. มสธ2486 คณุ หญงิ เบญจา แสงมลิ ทำ� หนา้ ทหี่ วั หนา้ แผนกฝกึ หดั ครอู นบุ าลเปน็ คนแรก ตอ่ มาไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ครใู หญโ่ รงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ อกี ตำ� แหนง่ หนง่ึ และคณุ หญงิ เบญจา แสงมลิ ไดก้ ำ� หนด จดุ มงุ่ หมายและวธิ อี บรมเดก็ ปฐมวยั อายรุ ะหวา่ ง 3 ปี 6 เดอื น ถงึ 6 ปี ในโรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ ไวด้ งั น้ี (วนิ ัย เกษมเศรษฐ, 2550, น. 16) มสธ มสธ1) เพอื่ เตรยี มสภาพจติ ใจของเดก็ ใหพ้ รอ้ มทจี่ ะรบั การศกึ ษาในชน้ั ตอ่ ไป หดั ใหใ้ ชเ้ ครอ่ื งมอื ต่างๆ ในการเรยี นและการเลน่ ประดิษฐข์ อง อบรมให้เป็นคนชา่ งคิด ชา่ งท�ำ ขยนั ไมอ่ ยู่นิง่ และเปน็ คน วอ่ งไว กระฉบั กระเฉง 2) เพื่ออบรมเด็กให้เป็นคนมีความสังเกต มีไหวพริบ เฉลียวฉลาด คิดหาเหตุผลให้เกิด ความเขา้ ใจด้วยตนเอง มีความพากเพียร พยายาม และอดทน ไม่จบั จด 3) เพอ่ื อบรมใหเ้ ปน็ คนพงึ่ ตนเอง สามารถทำ� หรอื ปฏบิ ตั อิ ะไรไดด้ ว้ ยตนเอง เดก็ ในโรงเรยี น มสธอนุบาลน้จี ะตอ้ งอบรมใหช้ ว่ ยตนเองไดม้ ากที่สดุ เชน่ หัดแต่งตัว ใสเ่ สอื้ ผา้ นงุ่ กางเกง หวผี ม รบั ประทาน อาหารเอง ทั้งจะตอ้ งท�ำให้เปน็ เวลาด้วย โดยไมม่ ีพ่เี ล้ียงคอยตกั เตอื นหรือคอยรับท�ำให้ ครูเปน็ แต่ผคู้ อยดู ควบคมุ อย่แู ต่หา่ งๆ เทา่ นัน้ 4) เพอ่ื หดั มารยาทและศลี ธรรมทง้ั ในสว่ นตวั และการปฏบิ ตั ติ อ่ สงั คม หดั มารยาทในการนง่ั นอน เดิน และรับประทานอาหาร ฯลฯ หัดให้เป็นคนสุภาพเรียบร้อย ฝึกนิสัยให้เป็นคนมีศีลธรรมอันดี มสธ มสธจิตใจเข้มแขง็ มีระเบียบ รักษาวินัย มีความสามัคคซี ง่ึ กนั และกนั 5) เพอ่ื ปลกู ฝงั นสิ ยั ทางสขุ ภาพอนามยั รจู้ กั ระวงั สขุ ภาพของตน เลน่ และรบั ประทานอาหาร เป็นเวลา รูจ้ กั รกั ษารา่ งกายใหส้ ะอาดและแข็งแรงอยเู่ สมอ 6) เพื่ออบรมให้เป็นคนร่าเริงต่อชีวิต มีการสอนร้องเพลง และการเล่นที่สนุกสนาน ท้ังน้ี เพ่ือจะไดเ้ ปน็ นกั สู้ ซ่ึงเต็มไปดว้ ยความร่ืนเริงเบกิ บาน และคดิ กา้ วหน้าเสมอ ในเร่ืองอาหารนอกจากครจู ะ ไดแ้ นะนำ� และอบรมใหร้ บั ประทานอาหารเปน็ เวลาแลว้ โรงเรยี นจะตอ้ งปรบั ปรงุ อาหารใหถ้ กู อนามยั เหมาะสม มสธกับเดก็ ดว้ ย จดุ มงุ่ หมายดงั กลา่ วขา้ งตน้ คณุ หญงิ เบญจา แสงมลิ ไดก้ ำ� หนดขนึ้ ดว้ ยความรอบคอบ เหมาะสม กบั ขนบธรรมเนียมทด่ี ขี องไทย วฒั นธรรมของชาติ และเหมาะกับสภาพความเป็นอย่ขู องคนไทย ให้เดก็ เรียนรู้จากการเล่น อบรมให้เด็กเป็นคนช่างคิด ช่างท�ำ ช่างสังเกต คิดหาเหตุผลให้เกิดความเข้าใจด้วย ตนเอง ทงั้ มีความพยายาม อดทน และมวี ินัย มสธ มสธต่อมาได้มีการก�ำหนดจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาข้ึนใหม่อีกครั้งในประมวลการสอนนักเรียน อนบุ าล โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ ทำ� ใหภ้ าพการศกึ ษาปฐมวยั ชดั เจนขน้ึ ดงั น้ี (โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ , 2517, น. 1) 1) เพื่อเตรยี มสภาพเด็กใหพ้ รอ้ มทจี่ ะชว่ ยเหลือตนเองได้ 2) เพอ่ื สง่ เสริมเด็กให้เจริญเติบโตทัง้ กาย อารมณ์ สมอง และสังคม มสธ3) เพื่อเตรยี มเดก็ ใหพ้ ร้อมที่จะเขา้ เรยี นในชัน้ ประถมศกึ ษาต่อไป

1-14 การจดั การศึกษาและหลักสูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวัย จดุ มงุ่ หมายทงั้ 3 ประการ แสดงใหเ้ หน็ วา่ คณุ หญงิ เบญจา แสงมลิ เนน้ พฒั นาเดก็ ใหเ้ จรญิ เตบิ โต มสธทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา เตรยี มสภาพจิตใจของเด็กใหพ้ รอ้ มเพือ่ เขา้ เรยี นในช้นั ต่อ ไป สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ ซง่ึ จดุ มงุ่ หมายดงั กลา่ วนบั เปน็ จดุ มงุ่ หมายรว่ มสมยั สำ� หรบั การจดั การศกึ ษา ปฐมวยั สรปุ ไดว้ า่ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ สี ขุ ภาพกายและใจทด่ี ี มสธ มสธมีพัฒนาการที่สมวัยอย่างรอบด้านท้ังด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา รวมท้ังมีทักษะ ด้านตา่ งๆ เชน่ ทกั ษะชวี ิต ทักษะการอยู่ในสังคม ทกั ษะการควบคมุ อารมณ์ ทักษะทางสมอง ทกั ษะการ เรยี นร้โู ดยเนน้ การเตรยี มความพร้อมเข้าส่รู ะบบการศกึ ษา เพอื่ ใหเ้ ด็กปฐมวัยเตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ ท้ังน้ี จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยจะมีจุดเน้นและรายละเอียดท่ีเหมือนและต่างกันออกไปในแต่ละ หน่วยงานและบุคคล มสธกิจกรรม 1.1.2 จงบอกจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยของหน่วยงานท่ีนักศึกษารู้จักมาอย่างน้อย 2 หน่วยงาน มสธ มสธแนวตอบกิจกรรม1.1.2 จดุ ม่งุ หมายของการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของหนว่ ยงานทีร่ จู้ ัก เชน่ 1. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั การศกึ ษาในลกั ษณะการอบรมเลย้ี งดแู ละใหก้ ารศกึ ษา มจี ดุ มงุ่ หมาย ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การพฒั นาทง้ั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ-์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ตามวยั และความสามารถของ แต่ละบคุ คล 2. กรมอนามัยและกรมการแพทย์ จัดในรูปแบบศูนย์สาธิตเด็กเล็ก มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เด็กได้ มสธพัฒนาเป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ ได้รับการเล้ียงดูให้มีพัฒนาการทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ มสธ มสธ มสธสังคม และสติปญั ญาอย่างเหมาะสม

แนวคดิ เกี่ยวกบั การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั 1-15 เรื่องที่ 1.1.3 มสธองค์ประกอบส�ำคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัย การจดั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั นนั้ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบในการจดั การศกึ ษา มสธ มสธหลายประการ เชน่ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ ลากรกบั เดก็ หลกั สตู ร ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ ลากรกบั ผปู้ กครอง คณุ สมบตั ขิ องบคุ ลากรและการพฒั นาบคุ ลากร การบรหิ ารงาน บคุ ลากร การจดั สภาพแวดลอ้ ม สขุ อนามยั และความปลอดภัย อาหารและการบรกิ าร การประเมินผล แต่ละองคป์ ระกอบส่งผลตอ่ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย ทัง้ ยังเป็นตวั ชว้ี ดั คุณภาพของการจดั การศึกษาปฐมวัยได้อีกด้วย ส�ำหรับเรื่องท่ี 1.1.3 นี้ จะกล่าว เฉพาะองค์ประกอบส�ำคัญบางประการท่ีช่วยส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย คือ 1) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับเด็ก 2) หลักสูตร 3) การจัดสภาพแวดล้อมและส่ือวัสดุอุปกรณ์ และ มสธ4) การประเมนิ ดังตอ่ ไปนี้ (Copple and Bredekamp, 2009, pp.110-253; Epstein, 2007, pp. 10-21; National Association for the Education of Young Children, 2016, pp. 1-32; กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2533) มสธ มสธปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับเด็ก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับเด็กเป็นองค์ประกอบส�ำคัญประการแรกที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย พัฒนาการทุกด้านของเด็กท้ังด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และ สติปัญญา มีความสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองกันและจะพัฒนาได้จากการท่ีบุคลากรให้การส่งเสริม สนับสนุนและ ปฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ แตล่ ะคนอยา่ งเหมาะสม รวมทงั้ ตอ้ งสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ ตอ่ เดก็ ดว้ ยเชน่ กนั วธิ กี าร ทบี่ คุ ลากรปฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ เปน็ ตวั บง่ ชถี้ งึ คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตอ่ ไปนเี้ ปน็ ตวั อยา่ งทบ่ี คุ ลากร มสธเช่น ครคู วรปฏิบัติเพือ่ ช่วยใหเ้ ด็กปฐมวยั รู้สกึ วา่ ตนมคี วามสำ� คัญและเปน็ สว่ นหน่งึ ของกลุม่ ซึง่ จะนำ� ไปสู่ การเรียนรู้และการสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็ก เช่น 1. สร้างปฏิสัมพันธ์กับเด็กให้มาก ท�ำความเข้าใจในเด็กแต่ละคนและครอบครัวของเด็ก มี ปฏิสัมพันธ์ด้วยความอบอุ่น อ่อนโยน เอ้ืออาทร ใส่ใจดูแลเด็กอย่างตั้งใจ สม่�ำเสมอ ท�ำให้เด็กสบายใจ สนับสนุนและค�ำนึงถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของเด็กแต่ละคน จะเป็นประโยชน์ต่อพัฒนาการและ มสธ มสธการเรยี นรู้ของเด็กมากกวา่ ใชค้ วามเกร้ียวกราด ต�ำหนิ หรือแยกเดก็ ออกจากผใู้ หญ่ 2. ตอบสนองความตอ้ งการทางรา่ งกาย เดก็ ทกุ คนมคี วามตอ้ งการพนื้ ฐานทางรา่ งกาย ทง้ั อาหาร และโภชนาการ การเข้าหอ้ งน้ำ� สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกทางรา่ งกายและจติ ใจ ความปลอดภยั และสขุ ภาพ ทง้ั นค้ี วามตอ้ งการพนื้ ฐานทจี่ ำ� เปน็ ของเดก็ จะเรม่ิ ตน้ ในวยั ทารกและสรา้ งเปน็ พนื้ ฐานความไวว้ างใจทมี่ นษุ ย์ ทุกคนจำ� เป็นต้องเตบิ โตและพฒั นา ดงั น้นั ความเอาใจใสใ่ นความตอ้ งการของเด็กสำ� หรบั ดูแลร่างกาย จะ มสธช่วยใหเ้ ด็กรู้สึกปลอดภยั

1-16 การจดั การศกึ ษาและหลักสตู รส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3. แสดงการยอมรับช่ืนชมในตัวเด็ก เชน่ ย้ิม สัมผัส โอบกอด และพูดคุย ควรยอ่ ตวั ลงอยใู่ น มสธระดับสายตาของเด็ก การปฏิบัตดิ ังกล่าวควรท�ำตลอดเวลาทบ่ี คุ ลากรอย่กู บั เด็ก โดยเฉพาะเมือ่ เดก็ มาถึง โรงเรียนและกอ่ นเด็กกลับบ้าน ควรปฏบิ ัตติ อ่ เด็กอยา่ งเทา่ เทยี มกนั เด็กทกุ คนมีความสำ� คญั ไมว่ ่าจะมา จากเชอื้ ชาติ ศาสนา หรอื วัฒนธรรมใด รวมทัง้ ใหโ้ อกาสเดก็ ทุกคนทัง้ ชายและหญิงเข้าร่วมกจิ กรรมอย่าง เท่าเทยี มกัน มสธ มสธ4. ท�ำให้เด็กรู้ว่าเป็นคนท่ีมีคุณค่า โดยให้ความสนใจกับเด็กในเชิงบวกและรับฟังเด็กด้วยความ ตัง้ ใจ ใชเ้ วลาส่วนใหญก่ บั เด็กและสง่ิ ทีเ่ ด็กก�ำลงั ทำ� มากกว่าจัดส่งิ ของวสั ดุตา่ งๆ ทำ� ความสะอาด หรือพดู คุยกับบุคคลอ่ืนแทนท่ีจะสนใจเด็ก ใช้น้�ำเสียงที่สงบ ไม่ตะโกน ท�ำให้เด็กอับอายหรือใช้ค�ำพูดและแสดง กริยาเกรยี้ วกราดกบั เด็ก 5. กระตุ้นให้เด็กได้สนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แสดงความคดิ เหน็ และความรู้สกึ ควรใช้ ค�ำถามปลายเปิดเพ่ือชว่ ยใหเ้ ด็กมีโอกาสคิดตอบค�ำถามได้ยาวกว่าคำ� ตอบ “ใช่” “ไม่ใช”่ และควรยอมรบั มสธความคิดเห็นของเดก็ ตอบสนองตอ่ เดก็ อย่างเหมาะสม เช่น พยกั หนา้ ให้ความม่นั ใจแก่เด็ก ท�ำให้เด็กเกิด ความคดิ ริเร่ิม สะทอ้ นส่งิ ทตี่ นคิดหรอื เรียนรู้ 6. สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เดก็ อน่ื โดยเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการสรา้ งความรสู้ กึ กบั เดก็ แบบเพอ่ื น ก่อน ให้ความเห็นอกเห็นใจและตอบสนองความรู้สึกของเด็ก จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เด็กสร้างความ สมั พนั ธท์ ดี่ กี บั เพอ่ื น การเลน่ ของเลน่ ของใชต้ า่ งๆ ทต่ี อ้ งรว่ มมอื กนั จะชว่ ยสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ เกดิ ปฏสิ มั พนั ธ์ มสธ มสธระหว่างเพอื่ น หลักสูตร หลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั อยบู่ นพน้ื ฐานวา่ เดก็ ปฐมวยั เรยี นรอู้ ยา่ งไร เรยี นรอู้ ะไร รวมทงั้ วธิ กี าร กลยุทธ์ และรปู แบบทค่ี รูใช้เพือ่ ชว่ ยใหเ้ ด็กพฒั นาและเกิดการเรียนรู้ หลกั สูตรจะชแี้ นะครใู นการออกแบบ และวางแผนการจัดประสบการณ์ที่ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร นอกจากน้ี มสธหลกั สตู รยงั รวมถงึ ตารางกจิ กรรมประจำ� วนั การจดั กจิ กรรมประจำ� วนั การใชส้ อื่ และอปุ กรณต์ า่ งๆ หลกั สตู ร ส�ำหรับเด็กปฐมวัยควรส่งเสริมให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และลงมือกระท�ำด้วยตัวของเด็กเอง จาก ประสบการณท์ ่หี ลากหลาย เหมาะกับวยั และพัฒนาการของเดก็ ตอ่ ไปนค้ี อื ลกั ษณะส�ำคญั บางประการของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ที่ช่วยใหเ้ ดก็ เกิดการเรยี นรู้ และเจริญเติบโต มสธ มสธ1. หลกั สตู รสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปรชั ญา เปา้ หมาย และจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร โดยปรชั ญา แสดง ให้เหน็ ถึงหลกั การ เจตคติ และความเชือ่ ในการจัดการเรียนรูใ้ ห้กบั เดก็ ส่วน เป้าหมาย ของหลกั สูตรคอื สงิ่ ทคี่ าดหวงั วา่ เดก็ จะไดร้ บั และจดุ มงุ่ หมาย ของหลกั สตู ร เพอื่ ใหเ้ ดก็ แตล่ ะคนเกดิ การพฒั นาดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยครูจะต้องออกแบบการจัดประสบการณ์ ใช้เทคนิคการสอนที่ เฉพาะเจาะจงเพือ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2. หลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการรอบด้าน ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ-์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา มสธโดยวางแผนการจัดประสบการณ์บนพ้ืนฐานของส่ิงท่ีเด็กรแู้ ลว้ และสามารถท�ำได้

แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การศึกษาและหลกั สูตรสำ� หรับเดก็ ปฐมวัย 1-17 3. หลักสูตรยึดเด็กเป็นส�ำคัญโดยค�ำนึงถึงวัย พัฒนาการ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และ มสธวัฒนธรรมของเด็ก รวมทง้ั คำ� นึงถงึ ประสบการณ์ ความสนใจ ทกั ษะ และความรขู้ องเดก็ จดั กจิ กรรมและ ส่อื วสั ดุท่สี นับสนนุ ความสนใจ ความสามารถ และให้โอกาสเด็กทุกคนได้เรยี นรู้ มีความก้าวหน้า 4. หลักสูตรบูรณาการเนือ้ หาวิชาตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกัน มีความหมายและสมั พันธ์กับชวี ติ ของเด็ก 5. หลักสตู รเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ได้เรียนรูโ้ ดยการลงมือกระทำ� ผ่านการเลน่ การสำ� รวจ การทดลอง มสธ มสธและการค้นพบด้วยตวั เด็กเอง 6. หลกั สตู รใหโ้ อกาสเด็กท�ำกจิ กรรมประเภทตา่ งๆ อย่างสมดุล โดยในแตล่ ะวันเด็กมโี อกาสท�ำ กจิ กรรมทัง้ ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน กิจกรรมสงบและเคลือ่ นไหว กจิ กรรมรายบคุ คล กลุ่มเลก็ และ กลุ่มใหญ่ กิจกรรมท่ีเด็กเป็นผู้ริเริ่มและครูเป็นผู้ริเริ่ม กิจกรรมท่ีต้องใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก ตารางกจิ กรรมประจ�ำวนั ท่ีจดั ข้ึนจงึ ควรครอบคลมุ กจิ กรรมประเภทตา่ งๆ ทร่ี ะบขุ า้ งตน้ 7. หลักสูตรเน้นการใช้ส่ือและอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก สอดคล้องกับ มสธสภาพสงั คมทมี่ คี วามแตกตา่ งของวฒั นธรรม ประเพณี สามารถสนองความหลากหลายของเดก็ รวมทงั้ ใช้ แหล่งการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลายเหมาะกบั พัฒนาการและการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวัย การจัดสภาพแวดล้อมและส่ือวัสดุอุปกรณ์ สภาพแวดล้อม และส่ือวัสดุอุปกรณ์ มีความส�ำคัญต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย มสธ มสธการจดั สภาพแวดลอ้ ม และสอ่ื วสั ดอุ ปุ กรณท์ เ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรจู้ ะตอ้ งทำ� อยา่ งรอบคอบ คำ� นงึ ถงึ พฒั นาการ ของเด็ก จุดมุ่งหมายของหลักสูตร และวิธีการจัดกิจกรรม สภาพแวดล้อม และส่ือวัสดุอุปกรณ์ไม่เพียง ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กเท่านั้น ยังท�ำให้เกิดบรรยากาศที่อบอุ่นและท�ำให้เด็กมีความสุขขณะเรียนรู้อีก ด้วย ทั้งน้ี พฤติกรรมท่ีเด็กแสดงออกสามารถช่วยครูประเมินความเหมาะสมของการจัดสภาพแวดล้อม และสอ่ื วสั ดอุ ปุ กรณไ์ ด้ เชน่ เดก็ วงิ่ ในหอ้ ง ไมย่ อมแบง่ ของเลน่ ใหเ้ พอ่ื น คลานใตโ้ ตะ๊ หรอื บนชนั้ วางของ ฯลฯ พฤตกิ รรมดงั กลา่ วเปน็ สญั ญาณเตอื นวา่ สภาพแวดลอ้ ม และสอื่ วสั ดอุ ปุ กรณก์ ำ� ลงั สรา้ งปญั หาและไมเ่ หมาะ มสธกับเด็ก ดังน้ัน การจัดสภาพแวดล้อม และส่ือวัสดุอุปกรณ์ จึงมีความส�ำคัญต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ ของเดก็ ปฐมวัย ต่อไปน้ีคือ ตัวอย่างของการจัดสภาพแวดล้อม และสื่อวัสดุอุปกรณ์ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก ปฐมวัย 1. จดั สภาพแวดลอ้ มทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี นทป่ี ลอดภยั สะอาด และถกู อนามยั การจดั สภาพ- มสธ มสธแวดล้อมในหอ้ งเรยี นของเดก็ ปฐมวยั จะต้องคำ� นึงถงึ สขุ อนามัย การถา่ ยเทอากาศ แสงสว่าง และอุณหภูมิ โดยเฉพาะความปลอดภัยท่ีครูต้องสามารถมองเห็นและได้ยินทุกส่ิงทุกอย่างที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะอยู่ใน บริเวณใดของหอ้ งเรยี นหรอื เม่ือพาเด็กออกไปนอกหอ้ ง นอกจากน้ี ควรมีพ้ืนท่กี ว้างขวางเพยี งพอสำ� หรบั การเคลื่อนไหวอยา่ งอสิ ระทง้ั ภายในหอ้ งเรยี นและพืน้ ทเี่ ลน่ กลางแจ้ง 2. จัดพ้นื ทเ่ี ปน็ มมุ เล่นหรอื มุมประสบการณ์หรือศนู ย์ต่างๆ พน้ื ทเี่ ลน่ ตา่ งๆ ชว่ ยใหเ้ กดิ ชนดิ ของ กจิ กรรมทตี่ า่ งกนั ทงั้ ยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ การตดั สนิ ใจขณะเดก็ สำ� รวจพน้ื ทเ่ี ลน่ และเลอื กวา่ จะเลน่ ทไ่ี หน กบั อะไร มสธและเลน่ กบั ใคร สำ� หรบั พนื้ ทใ่ี นหอ้ งเรยี น (ผเู้ ขยี นขอเรยี กวา่ “มมุ ”) เชน่ มมุ หนงั สอื (มหี นงั สอื สำ� หรบั เดก็

1-18 การจดั การศกึ ษาและหลักสูตรสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย เชน่ หนงั สอื นทิ าน และสอื่ อนื่ ๆ สำ� หรบั การอา่ น การเขยี น) มมุ บลอ็ ก (มไี มบ้ ลอ็ กและสอื่ อปุ กรณก์ ารสรา้ ง มสธต่างๆ) มุมบ้าน (มีตุ๊กตา โทรศัพท์ ของเล่นจ�ำลองเครื่องครัว) มุมศิลปะ (มีกระดาษส�ำหรับวาดรูป สีเทยี น ดนิ สอสี สีน้�ำ พกู่ นั ขนาดต่างๆ) มมุ วทิ ยาศาสตร์ (มีแว่นขยาย เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ช่ัง ตวง วัด วัสดุ ธรรมชาติ) มุมเล่นน�้ำหรือเล่นทราย (มีภาชนะบรรจุน�้ำหรือทราย อุปกรณ์และเคร่ืองมือส�ำหรับเติมหรือ เทออก เชน่ พลวั่ ทพั พี ทต่ี กั ) ฯลฯ พน้ื ทเ่ี ลน่ ดงั กลา่ วตอ้ งจดั ใหส้ ะดวกสำ� หรบั เดก็ เขา้ ไปทำ� กจิ กรรม ทง้ั น้ี มสธ มสธตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ระดบั การใชเ้ สยี งในแตล่ ะพน้ื ทเ่ี ลน่ เชน่ พนื้ ทเี่ ลน่ บลอ็ กซง่ึ มเี สยี งจากการเลน่ ตอ่ ไมบ้ ลอ็ กควร จัดแยกจากพน้ื ท่หี นงั สอื ที่ตอ้ งการความสงบ ฯลฯ 3. พื้นท่ีกลางแจ้งหรือพ้ืนท่ีนอกอาคาร ควรมพี น้ื ผิวหลายประเภท เชน่ ดนิ ทราย หญา้ เนิน ท่ีราบ และพื้นที่ส�ำหรับเล่นเครื่องเล่นท่ีมีล้อ พ้ืนที่นอกอาคารนี้ควรมีทั้งที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง ท่ีส�ำหรับขุด บอ่ ทราย และเครอื่ งเลน่ สนาม เชน่ ที่ปีนปา่ ย ทรงตัว ไมล้ ่ืน จักรยานสามล้อ ฯลฯ บริเวณน้จี ะต้องไม่ติด ถนนหรอื บรเิ วณทมี่ อี นั ตราย ต้องมีรั้วหรอื ตน้ ไม้ก้ันจากถนนหรือที่มอี ันตราย มสธ4. จัดสื่อวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอและหลากหลาย ควรจดั สอ่ื วสั ดอุ ปุ กรณป์ ระเภทปลายเปดิ คอื สอื่ ทเ่ี ปิดกวา้ งความคดิ ของเด็ก สามารถปรบั เปลย่ี นใช้ไดห้ ลากหลายแบบ เชน่ บลอ็ กไม้ ตวั ตอ่ แปง้ โดว์ ดนิ น้ำ� มนั ฯลฯ นอกจากน้ี การน�ำส่ือวัสดอุ ปุ กรณ์ทีเ่ ดก็ คุ้นเคยมาแนะนำ� อีกครั้งก็สามารถช่วยให้เด็กเกดิ ความคดิ แปลกใหมใ่ นการใช้ ทงั้ นี้ สอื่ วสั ดุอปุ กรณ์ทนี่ ำ� มาใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ใชน้ นั้ ไมเ่ พยี งแตด่ งึ ดดู สายตาเดก็ แตจ่ ะตอ้ งมผี วิ สมั ผสั กลนิ่ เสยี ง และรสชาตทิ แี่ ตกตา่ งกนั สอื่ วสั ดทุ ส่ี ามารถถอื จบั ตอ้ งสมั ผสั ได้ เชน่ บลอ็ ก มสธ มสธลูกปัด ตัวต่อ ฯลฯ เป็นสื่อที่เด็กสามารถส�ำรวจโดยใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ปรับเปล่ียนรูปร่าง และผสม ผสานโดยรวมเข้าด้วยกันหรือแยกออกจากกัน สื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ควรจัดเก็บและติดสัญลักษณ์ เช่น ภาพถา่ ย ภาพวาด ภาพโครงรา่ ง ฯลฯ หรอื ตดิ บตั รคำ� คกู่ บั สญั ลกั ษณอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ใหเ้ หน็ ชว่ ยใหเ้ ดก็ สามารถเข้าถึงส่ือวัสดุอุปกรณ์ได้ง่าย เป็นการกระตุ้นความคิดริเร่ิมเม่ือเด็กได้เห็น ได้ใช้ และสามารถน�ำ กลบั คืนทเ่ี กบ็ ดว้ ยตนเอง 5. จัดพื้นท่ีส�ำหรับแสดงผลงานท่ีสร้างสรรค์และมาจากความสนใจของเด็ก การท่ีเด็กเห็น มสธผลงานของตนเองและผลงานทท่ี ำ� กบั เพอ่ื นนน้ั เปน็ การเตอื นความจำ� สะทอ้ นสง่ิ ทตี่ นเองและเพอ่ื นๆ ไดท้ ำ� ทั้งยังชว่ ยขยายความคดิ และสิง่ สนใจทีจ่ ะท�ำในวนั ตอ่ ไป ดังนน้ั ผนังห้องและชัน้ วางของ สามารถใชเ้ ป็นที่ จัดแสดงผลงานของเด็ก ผลงานศิลปะ ผลงานการเขียน ผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์และการค้นพบ ตา่ งๆ กตกิ าขอ้ ตกลงการเลน่ เกมทเ่ี ดก็ ๆ ชว่ ยกนั คดิ ขน้ึ ภาพครอบครวั ของเดก็ หรอื ภาพหอ้ งเรยี น รายชอ่ื เด็กท่ีเลือกเพลงส�ำหรับร้องในแต่ละวัน และอื่นๆ การจัดแสดงควรเปลี่ยนไปตามช่วงเวลา เป็นผลงานที่ มสธ มสธเดก็ ท�ำเสร็จใหมๆ่ ไม่ควรแสดงผลงานไวเ้ ป็นเวลานานจนทำ� ให้เดก็ หมดความสนใจ นอกจากนี้ การแสดง ผลงานควรเน้นผลงานที่เกิดจากการท�ำกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก เป็นผลงานและความสนใจของเด็กไม่ใช่ มสธของผ้ใู หญ่ สว่ นขอ้ มลู ส�ำหรับพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครคู วรจดั แสดงท่ีอื่นมากกวา่ ในห้องเรยี น

แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั การศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรับเดก็ ปฐมวัย 1-19 การประเมิน มสธการประเมนิ (assessment) หมายถงึ กระบวนการพจิ ารณาและรวบรวมขอ้ มลู สภาพปญั หา และ เหตปุ จั จยั อยา่ งครบถว้ นรอบดา้ นทกุ มติ ิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งทพี่ จิ ารณา ซง่ึ จะนำ� ไปสกู่ ารประเมนิ คุณค่าโดยรวมเพื่อตัดสินใจและออกแบบแก้ไขจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้งปรับปรุงพัฒนาให้ดี ยงิ่ ขน้ึ (สำ� นกั งานราชบณั ฑติ ยสภา, 2559, น. 3) ในทางการศกึ ษาปฐมวยั การประเมนิ หมายถงึ กระบวนการ มสธ มสธพจิ ารณาและรวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั พฒั นาการทกุ ดา้ นทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ-์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา และการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื ตดั สนิ ใจและออกแบบการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และปรบั ปรงุ พฒั นา เด็กปฐมวยั และการจัดประสบการณ์ของครปู ฐมวัยใหด้ ยี ิง่ ขนึ้ การประเมินพัฒนาการและการเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวัยอยา่ งสม�ำ่ เสมอและจดั ท�ำอย่างมีระบบ เพอ่ื ปรับปรุงและรักษาคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นส่ิงจ�ำเป็นส�ำหรับการจัดการศึกษาปฐมวัย ทั้งน้ี การ ประเมนิ ขน้ึ อยกู่ บั เปา้ หมายของการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ซงึ่ ไดแ้ ก่ คณุ ภาพของเดก็ มสธปฐมวัย โดยเป็นการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก มีความส�ำคัญต่อการวางแผนการจัด ประสบการณ์ของครู ทั้งเป็นเคร่ืองมือติดตามการเจริญเติบโตและความก้าวหน้าของเด็กแต่ละคนว่าเป็น ไปตามเป้าหมายที่ต้องการตามหลักสูตรหรือไม่ การประเมินจึงเป็นสิ่งท่ีท้าทายครูปฐมวัยเพราะเด็กมี พฒั นาการและการเรยี นรทู้ แ่ี ตกตา่ งกนั รวมทงั้ บรบิ ททางภาษา และวฒั นธรรมทตี่ า่ งกนั อกี ดว้ ย การประเมนิ ท่ีดีที่สุดคือ การประเมินจากสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเหมาะกับเด็กขณะท�ำกิจกรรมในแต่ละวัน มสธ มสธเชน่ การสงั เกต การบนั ทกึ พฤตกิ รรม การสนทนา การเกบ็ ผลงานเดก็ ฯลฯ โดยเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ประเมนิ พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ เชน่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบบนั ทกึ พฤตกิ รรม ฯลฯ อยา่ งเปน็ ระบบ และจดบันทึกเพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ปฐมวัย รวมทั้งใชส้ ื่อสารกบั ผูเ้ ก่ียวขอ้ งและพัฒนาวิชาชีพของตนเอง สรุปได้ว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยมีองค์ประกอบส�ำคัญท่ีช่วยส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ให้แก่เด็กปฐมวัยคือ 1) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับเด็ก โดยบุคลากรปฏิบัติต่อเด็กแต่ละคนอย่าง มสธเหมาะสม เท่าเทียมกนั เขา้ ใจความตอ้ งการของเดก็ ช่วยให้เดก็ ร้สู กึ วา่ ตนมคี วามสำ� คัญและเป็นสว่ นหนง่ึ ของกลมุ่ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ ตอ่ เดก็ ดว้ ย 2) หลกั สตู ร สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปรชั ญา เปา้ หมาย และจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร ครอบคลมุ พฒั นาการทกุ ดา้ น สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรแู้ ละลงมอื กระทำ� ดว้ ยตวั ของเดก็ เองจากประสบการณ์ กจิ กรรม และแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ งๆ ทห่ี ลากหลายเหมาะกบั วยั และพัฒนาการของเด็ก 3) การจัดสภาพแวดล้อม และสื่อวัสดุอุปกรณ์ ต้องค�ำนึงถึงพัฒนาการของเด็ก มสธ มสธจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและวิธีการสอน สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนต้องส่งเสริม พัฒนาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ทำ� ใหเ้ กิดบรรยากาศทีอ่ บอนุ่ และชว่ ยใหเ้ ด็กมีความสขุ ขณะเรียนรู้ และ 4) การประเมนิ ควรประเมนิ จากสภาพจรงิ ขณะเดก็ ทำ� กจิ กรรมประจำ� วนั ดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย เชน่ การ สงั เกต การเกบ็ ผลงานเดก็ ฯลฯ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ สามารถ มสธน�ำไปใชว้ างแผนการจัดประสบการณ์ ส่ือสารกับผู้เกีย่ วขอ้ งและพฒั นาวชิ าชีพของตนเอง

1-20 การจัดการศึกษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เด็กปฐมวยั กิจกรรม 1.1.3 มสธองคป์ ระกอบสำ� คญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั มกี อ่ี งคป์ ระกอบ อะไรบา้ ง และองคป์ ระกอบใดที่ นักศึกษาเห็นว่าสำ� คญั ท่ีสุด เพราะเหตุใด แนวตอบกิจกรรม 1.1.3 มสธ มสธองค์ประกอบส�ำคัญของการจัดการศึกษาปฐมวัยมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บคุ ลากรกบั เด็ก 2) หลกั สูตร 3) การจัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื วัสดุอุปกรณ์ และ 4) การประเมนิ ส�ำหรับองคป์ ระกอบทนี่ กั ศกึ ษาเห็นว่าส�ำคัญท่ีสดุ ให้นักศึกษายกมา 1 องคป์ ระกอบ แล้วอธิบาย มมสสธธ มมมสสสธธธ มมสสธธพรอ้มทั้งให้เหตุผล

แนวคิดเกย่ี วกับการจดั การศึกษาและหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย 1-21 ตอนท่ี 1.2 มสธแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย โปรดอา่ นหัวเรือ่ ง แนวคดิ และวัตถุประสงคข์ องตอนที่ 1.2 แลว้ จงึ ศกึ ษารายละเอยี ดต่อไป มสธ มสธหัวเร่ือง 1.2.1 แนวคิดจากปรัชญาการศกึ ษา 1.2.2 แนวคิดจากทฤษฎีดา้ นพฒั นาการและการเรียนรู้ 1.2.3 แนวคิดจากองค์ความรทู้ เี่ ก่ียวข้อง มสธแนวคิด 1. ปรัชญาการศึกษาทไ่ี ดร้ ับการยอมรบั และมกี ารน�ำแนวคดิ ของปรชั ญานั้นๆ มาประยุกต์ ใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นแนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขามโนคตินิยม ประจักษ์นิยม และประสบการณน์ ิยม 2. แ นวคิดจากทฤษฎีด้านพัฒนาการและการเรียนรู้ สะท้อนให้เห็นถึงธรรมชาติ ความ มสธ มสธสามารถ และลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั 3. แ นวคดิ จากองคค์ วามรทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ความรเู้ กยี่ วกบั สมองทช่ี ใี้ หเ้ หน็ วา่ เดก็ ทกุ คน สามารถเรียนรู้ได้หากได้อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเรียนรู้ และความรู้ เกย่ี วกบั การเลน่ ทชี่ ใี้ หเ้ หน็ วา่ การเลน่ คอื การเรยี นรขู้ องเดก็ ทง้ั ยงั เปน็ เครอื่ งมอื สำ� คญั ในการชว่ ยให้เดก็ เขา้ ใจโลกท่ีแวดลอ้ ม และลักษณะการเลน่ ของเด็กจะมีหลากหลาย มสธวัตถุประสงค์ เม่ือศกึ ษาตอนที่ 1.2 จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ 1. อธิบายและยกตวั อย่างแนวคิดจากปรชั ญาการศึกษาได้ 2. อธบิ ายและยกตัวอย่างแนวคดิ จากทฤษฎีด้านพฒั นาการและการเรียนรไู้ ด้ มสธ มสธ มสธ3. อธบิ ายและยกตัวอยา่ งแนวคดิ จากองคค์ วามรู้ท่เี กี่ยวขอ้ งได้

1-22 การจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรับเด็กปฐมวยั เรื่องท่ี 1.2.1 มสธแนวคิดจากปรัชญาการศึกษา ปรชั ญาการศกึ ษามงุ่ ศกึ ษาวเิ คราะหส์ าระและธรรมชาตขิ องการศกึ ษา เพอ่ื กำ� หนดจดุ มงุ่ หมายและ มสธ มสธวิธีการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับคุณค่า และความหมายของชีวิตที่ดีตามอุดมการณ์ของสังคม แนวคิด ทางการศกึ ษาทสี่ ำ� คญั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การจดั การศกึ ษาเปน็ แนวคดิ ทไ่ี ดจ้ ากปรชั ญาการศกึ ษาหลายสาขาดว้ ย กนั สำ� หรบั ในเรอื่ งนจี้ ะกลา่ วเฉพาะบางแนวคดิ จากปรชั ญาการศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั และมกี ารนำ� แนวคดิ ของปรชั ญานน้ั ๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การศกึ ษาปฐมวยั คอื 1) แนวคดิ จากปรชั ญาการศกึ ษาสาขามโนคติ นิยม 2) แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขาประจักษ์นิยม และ 3) แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขา ประสบการณ์นิยม ดงั น้ี มสธแนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขามโนคตินิยม ปรัชญาการศึกษาสาขามโนคตินิยมหรือจิตนิยม (Idealism) ผู้ให้ก�ำเนิดปรัชญาสาขาน้ี คือ Plato เป็นชาวกรกี ทีม่ ีอายอุ ยใู่ นชว่ ง 427-347 ปี กอ่ นครสิ ตกาล โดย Plato เชอื่ ว่า ความร้ทู งั้ ปวงมา มสธ มสธจากแบบ ดังน้ัน สรีระ รูปร่าง และคุณสมบัติต่างๆ ของสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปรากฏแก่สายตา เป็นเพียง รูปลักษณะที่ได้จากการสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้าเท่านั้น ไม่ใช่ลักษณะที่แท้จริง แบบจึงเป็นเพียง ความจริงท่ีปรากฏที่รับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส เป็นอิสระจากจิต แบบของสรรพส่ิงท้ังหลายมีท้ังท่ีเป็น รปู ธรรม เชน่ แบบของตน้ ไม้ แบบของคน ฯลฯ และแบบทเี่ ปน็ คณุ สมบตั ิ เชน่ แบบของสี แบบของรส ฯลฯ การเข้าถึงความจริงแท้ของสรรพส่ิงท้ังหลายต้องบรรลุถึงความรู้ในแบบของสิ่งน้ันๆ ท้ังทางรูปธรรมและ คณุ สมบัติ ซงึ่ วิจิตร ศรีสะอ้าน (2545) ได้ชใี้ หเ้ ห็นถึงสาระส�ำคญั ของปรัชญาการศกึ ษาสาขามโนคตินยิ ม มสธหรือจิตนิยมว่า เป็นปรัชญาท่ีมองโลกในแง่จิตภาพ เน้นจิตมากกว่าวัตถุ มองว่าโลกน้ีเป็นโลกแห่งจิตใจ เป็นนามธรรม มีแบบท่ีเป็นสากล เป็นจริงในตัวเองไม่เปล่ียนแปลง ความรู้เป็นมโนคติไม่เปล่ียนแปลง อาศยั จติ ในการหยงั่ รู้ จรยิ ธรรมคอื การเลยี นแบบสงิ่ ทเี่ ปน็ อดุ มคติ ยดึ หลกั ความดคี วามงามตามอดุ มคติ ถา้ รแู้ บบคณุ ธรรมความดแี ลว้ จะไมป่ ระพฤตติ นใหผ้ ดิ จากหลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมนน้ั การพฒั นาความคดิ จติ ใจ จงึ เปน็ จดุ มงุ่ หมายของปรชั ญาสาขานี้ การศกึ ษาในทศั นะของนกั ปรชั ญาสาขามโนคตนิ ยิ มหรอื จติ นยิ ม คอื มสธ มสธการใหค้ วามเจรญิ เตบิ โต เนน้ การอบรมจติ ใจใหม้ รี ะเบยี บวนิ ยั และใหร้ จู้ กั ใชค้ วามคดิ อยา่ งมรี ะบบระเบยี บ รู้ว่าอะไรดี อะไรไม่ดี ท้ังนี้ จิตใจเจริญงอกงามได้ถ้ามีเครื่องบ�ำรุงจิตใจที่ดี ซึ่งได้แก่ การศึกษาและ สิง่ แวดล้อม การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาจิตใจจึงเป็นจุดม่งุ หมายสำ� คัญของการจัดการศกึ ษา การจัดการศึกษาตามแนวคิดของนักปรัชญาสาขามโนคตินิยมหรือจิตนิยม จึงมีลักษณะการจัด มสธดงั น้ี (วจิ ติ ร ศรสี ะอ้าน, 2545)

แนวคิดเกยี่ วกบั การจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั 1-23 1. สภาพแวดล้อม เนน้ การเสรมิ สรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มทางความคดิ ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นโดยมงุ่ พฒั นาคณุ ภาพ มสธของความคดิ และความเจรญิ งอกงามทางจติ ใจ หอ้ งเรยี นเปน็ สถานทท่ี คี่ รสู ามารถถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ตลอดจนอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ตา่ งๆ ใหแ้ ก่เดก็ 2. หลักสูตร เนอ่ื งจากโรงเรยี นตามแบบมโนคตนิ ิยมเนน้ การสร้างคนให้เป็นนกั ศลิ ปะและภาษา หลักสูตรจงึ ใหค้ วามสำ� คัญแกเ่ นอ้ื หาด้านการพฒั นาความคิดและจิตใจ เชน่ ภาษา คณติ ศาสตร์ วรรณคดี มสธ มสธศลิ ปะ ฯลฯ เพอ่ื สื่อใหเ้ ด็กฝึกคิด แสดงออก เป็นการพฒั นาจติ ใจ 3. การเรียนการสอน ใช้การฟัง การจดจ�ำจากการบรรยายของครู อภิปราย และค้นคว้าจาก หนงั สอื ตา่ งๆ มคี รเู ปน็ แบบอยา่ งทงั้ ความรแู้ ละความประพฤติ สอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั พงึ่ ตนเอง เนน้ ความมรี ะเบยี บ วนิ ยั ปลูกฝังค่านยิ มทางจรยิ ธรรมทด่ี ีงามใหแ้ กเ่ ดก็ แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทเี่ หน็ ชดั วา่ อยบู่ นฐานของปรชั ญาการศกึ ษาสาขามโนคตนิ ยิ มหรอื จติ นยิ ม (Idealism) คอื แนวคดิ ของ Friedrich Froebel (ค.ศ. 1782-1852) นักการศกึ ษาชาวเยอรมนั มสธท่ีทั่วโลกยอมรับว่าเป็นบิดาแห่งการอนุบาลศึกษา และเป็นผู้ให้ก�ำเนิดการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งเป็น นักปรัชญาสาขามโนคตนิ ยิ มหรือจติ นยิ มท่ีมีอิทธิพลโดดเด่นในชว่ งเวลาน้ัน (Curtis, 2017) Froebel ได้ ต้งั โรงเรยี นอนบุ าลแหง่ แรกขึ้นที่เมอื ง Bad Blankenburg ในประเทศเยอรมนี เมื่อปี ค.ศ. 1837 และให้ ช่ือว่า “Kindergarten” ซึ่งเป็นค�ำสากลท่ีถูกใช้อย่างกว้างขวางเป็นคำ� ในภาษาเยอรมันท่ีอธิบายถึงเด็ก (kinder) กับธรรมชาติ (garten) หมายถึง “สวนของเด็ก” หรือ “สวนส�ำหรับเด็ก” โดย Froebel ใช้ มสธ มสธความคดิ รวบยอดนเ้ี ปน็ สงิ่ ดลใจจดั สภาพแวดลอ้ มของเดก็ ใหเ้ ปน็ สวนสวรรคห์ รอื สวนทใ่ี หค้ วามสขุ (Pound, 2014, p. 148) Froebel ไดม้ องเหน็ คณุ คา่ ของความเปน็ เดก็ และเชอ่ื วา่ เดก็ ทกุ คนมคี ณุ คา่ และมคี วามภาคภมู ิ มาแตเ่ กดิ ดงั นน้ั สภาพแวดลอ้ มและการศกึ ษาทเี่ หมาะสมคอื สวนสำ� หรบั เดก็ ซงึ่ เปน็ สถานทกี่ ระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เจรญิ เตบิ โตและพัฒนาอยา่ งดที ีส่ ดุ แนวคิดท่ีส�ำคัญของ Froebel สะท้อนลักษณะการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาการศึกษาสาขา มโนคตินิยมหรอื จิตนยิ ม ดงั น้ี มสธ1. สภาพแวดล้อม จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสถานที่ส�ำหรับเด็ก ท่ีให้ความสุขและเป็นสถานท่ี กระต้นุ ให้เด็กเจริญเติบโตพัฒนาความคดิ และจติ ใจ 2. หลักสูตร ประกอบด้วยของเลน่ ชดุ ของขวัญ (gifts) เชน่ ลกู บอลไหมพรมสีตา่ งๆ ไมบ้ ลอ็ ก วสั ดุจากธรรมชาติ รูปทรงเรขาคณติ ฯลฯ และชดุ อาชพี (occupations) ประกอบด้วยกิจกรรมตา่ งๆ โดย ใชข้ องเล่นชุดของขวญั และสือ่ วัสดุตา่ งๆ เกย่ี วกบั ศลิ ปะ เช่น ดนิ น้�ำมัน สีสำ� หรบั ระบาย ฯลฯ เปน็ สอ่ื ให้ มสธ มสธเด็กแสดงออกถงึ ความคิดรวบยอดและความเจรญิ งอกงามที่เกิดภายในจิตใจของเด็ก 3. การเรียนการสอน จัดกิจกรรมทั้งในห้องและนอกห้องให้เด็กเล่น โดยถือว่าการเล่นเป็นการ น�ำธรรมชาติท่ีอยู่ภายในตัวเด็กออกมาภายนอก เป็นวิธีท่ีเด็กพยายามเลียนแบบบทบาทของผู้ใหญ่ และ มสธการเลน่ เป็นกระบวนการท่ีครเู ป็นผู้ชแ้ี นะในหน่วยการเรยี นทีค่ รกู �ำหนด

1-24 การจัดการศกึ ษาและหลกั สตู รสำ� หรับเดก็ ปฐมวยั แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขาประจักษ์นิยม มสธปรัชญาการศึกษาสาขาประจักษ์นิยมหรือวัตถุนิยม (Realism) มองโลกในแง่วัตถุหรือรูปธรรม มงุ่ ศกึ ษาความจรงิ ตามสภาวะทางธรรมชาตแิ ละสภาวะทางวตั ถุ โดยถอื วา่ วตั ถเุ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการเขา้ ถงึ ความจรงิ ของสงิ่ ทงั้ หลาย Aristotle เปน็ นกั ปรชั ญาชาวกรกี มชี วี ติ อยใู่ นชว่ ง 384-322 ปี กอ่ นครสิ ตกาล ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งลัทธิวัตถุนิยม เห็นว่าการใคร่ครวญหาเหตุผลด้วยจิตใจอย่างเดียวไม่พอ มสธ มสธต้องพิจารณาข้อเท็จจริงตามธรรมชาติ เป็นการมองโลกทางด้านวัตถุและเป็นการเร่ิมต้นวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร์ การศกึ ษาตามทศั นะของ Aristotle คอื กระบวนการทจ่ี ะชว่ ยฝกึ ฝนรา่ งกาย จติ ใจ ความคดิ และอุปนิสัยของคนเพื่อให้เป็นพลเมืองดี เป็นการเตรียมคนให้รู้จักแสวงหาความสุขด้วยวิธีการท่ีถูกต้อง คุณธรรมและความสุขจึงเป็นอุดมการณ์ของการศึกษา (วิจิตร ศรีสะอ้าน, 2545; อรุณี หรดาล, 2548, น. 2-7 ถึง 2-8) การจดั การศึกษาตามแนวคิดของนกั ปรัชญาสาขาประจักษ์นิยม มลี ักษณะการจัดสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อม จัดส่ิงแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ความจริงตามธรรมชาติ โดยอาศัยกฎ มสธธรรมชาตเิ ปน็ หลกั ใหเ้ ดก็ เขา้ ถงึ ความจรงิ ตามธรรมชาตขิ องสงิ่ แวดลอ้ ม เรยี นรสู้ ภาพแวดลอ้ มและปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับแบบอยา่ งสังคมทส่ี ืบทอดมา 2. หลกั สตู ร เนน้ เนอ้ื หาวชิ าทางกายภาพและวทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติ เนน้ วทิ ยาศาสตรส์ าขาตา่ งๆ และคณิตศาสตร์ มสธ มสธ3. การเรียนการสอน เรยี นจากของจรงิ ใชว้ ธิ กี ารสาธติ สงั เกต ศกึ ษานอกสถานที่ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ถงึ สภาพความรจู้ รงิ ตามธรรมชาติ จดั กจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมรี ะบบระเบยี บ ครเู ปน็ สอื่ กลางในการสอน ความ สามารถในการสาธติ การอธิบาย และการใชอ้ ุปกรณ์การสอนเปน็ เรื่องส�ำคญั แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยที่เห็นชัดว่าอยู่บนฐานของปรัชญาการศึกษาสาขาประจักษ์นิยม (Realism) เช่น แนวคิดของ Comenius แนวคิดของ Pestalozzi แนวคิดของ Montessori ดังตอ่ ไปน้ี แนวคิดของ John Comenius (1592-1670) Comenius เปน็ พระในนิกายโปรเตสแตนท์ เกิดท่ี มสธเมอื งโมเรเวยี ในประเทศเชคโกสโลวาเกยี เปน็ ผมู้ แี นวคดิ ลำ�้ หนา้ กวา่ ยคุ สมยั ของตน และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การ ศึกษาเร่ิมแรก ผลงานท่ีเก่ียวกับการศึกษาปฐมวัยของ Comenius เช่น เขียนหนังสือส�ำหรับเด็กโดยมี รูปภาพประกอบ หนังสือเล่มนี้มีช่ือว่า Orbis Sensualium Picture (โลกในรูปภาพ) นับเป็นหนังสือ ส�ำหรับเด็กเล่มแรกท่ีมีภาพประกอบ หนังสือเล่มนี้ใช้กันอย่างกว้างขวางท่ัวโลกและมีการแปลเป็นภาษา ตา่ งประเทศดว้ ย นอกจากนยี้ งั สง่ เสรมิ ใหม้ โี รงเรยี นสำ� หรบั ใหก้ ารศกึ ษาแกส่ ตรที เ่ี ปน็ แม่ ชอ่ื ของ Comenius มสธ มสธเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรบั จากนานาประเทศ ทง้ั น้ี ประภาพรรณ สุวรรณศุข (2543) ไดช้ ีใ้ หเ้ ห็นวา่ แนวคดิ ทีส่ ำ� คญั ของ Comenius สะทอ้ นใหเ้ หน็ ลักษณะการจัดการศกึ ษาตามแนวปรัชญาการศกึ ษาสาขา ประจกั ษ์นยิ ม คือ 1. สถานศึกษา ควรมีบรรยากาศร่าเริง และมีครูที่เข้าใจเด็ก ไม่ลงโทษด้วยการเฆ่ียนตีเมื่อเด็ก ทำ� ผดิ หรอื สอบตก 2. หลักสูตร ควรออกแบบใหเ้ หมาะสมกบั อายุ ความสนใจ และความสามารถของเดก็ สอนสง่ิ ที่ มคี ณุ คา่ ตอ่ เดก็ ทจ่ี ะนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้ เรยี งลำ� ดบั เนอ้ื หาตามความยากงา่ ย ตามลำ� ดบั ความสำ� คญั มสธก่อนหลัง เชน่ สอนภาษาแม่กอ่ นภาษาตา่ งประเทศ

แนวคิดเก่ยี วกับการจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวัย 1-25 3. การเรยี นการสอน ใชว้ ธิ สี อนโดยเลยี นแบบธรรมชาติ มวี สั ดอุ ปุ กรณ์ มแี บบเรยี นทมี่ ี ภาพประกอบ มสธและหาของจรงิ มาใหเ้ ดก็ ศึกษาประกอบการอธบิ าย แนวคิดของ Johann Heinrich Pestalozzi (1746-1827) นักการศึกษาชาวสวิส เห็นว่า การ ศกึ ษาควรสะทอ้ นความดงี ามตามธรรมชาตขิ องเดก็ การสอนคนใหม้ ใี จเมตตากรณุ าตอ่ กนั มคี า่ มากกวา่ การ สอนคนให้มีความรู้ ดังน้ัน จริยศึกษาและศาสนศึกษาจึงส�ำคัญกว่าพุทธิศึกษา Pestalozzi เชื่อว่า บ้าน มสธ มสธเปน็ รากฐานแห่งการศึกษา เปน็ ทอี่ บรมศีลธรรมอยา่ งดี ทงั้ นแี้ นวคิดของ Pestalozzi เป็นจดุ เรมิ่ ต้นของ ทฤษฎีทางการศึกษาและการปฏิบัติสมัยใหม่ท่ีเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญในการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย ศกึ ษา (Pound, 2014, p. 145) ทงั้ น้ี ประภาพรรณ สวุ รรณศุข (2543) ได้วิเคราะหใ์ ห้เห็นวา่ แนวคิดที่ สำ� คญั ของ Pestalozzi สะทอ้ นลกั ษณะการจดั การศกึ ษาตามแนวปรชั ญาการศกึ ษาสาขาประจกั ษน์ ยิ ม คอื 1. สถานศึกษา เปน็ สถานทเ่ี สริมสรา้ งใหเ้ ดก็ มีความรูส้ กึ ท่ดี ตี อ่ ตนเอง มบี รรยากาศดี ปกครอง ด้วยความรกั ครูและลูกศิษยม์ คี วามรกั ใคร่ซง่ึ กนั และกนั มสธ2. หลักสูตร เน้นการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ ค�ำนึงถึงธรรมชาติ ความพร้อม และความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของเด็ก ทัง้ นี้ การศกึ ษาธรรมชาติถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของหลกั สูตรการเรยี นการสอน 3. การเรียนการสอน สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม งา่ ยไปหายาก เหมาะกบั เด็กทั้งรา่ งกาย และจติ ใจ ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณต์ รง สอนใหร้ จู้ กั สงั เกต สำ� รวจสงิ่ ตา่ งๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั ลงมอื คน้ ควา้ หาความรู้ ด้วยตนเองผ่านประสาทสมั ผัสท้งั ห้า มสธ มสธแนวคิดของ Maria Montessori (1870-1952) แพทยส์ ตรีคนแรกของอติ าลี ใหค้ วามสำ� คญั กับ เดก็ โดยเชื่อว่า การศกึ ษาไม่ใชส่ ่ิงทค่ี รใู หก้ ับเด็กได้โดยการบอกเล่าเทา่ น้ัน แต่การศกึ ษาเป็นกระบวนการ ทางธรรมชาตทิ ค่ี อ่ ยๆ เกดิ ขน้ึ และสะสมมากขนึ้ ในมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน จากประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั ในสภาพแวดลอ้ ม ทม่ี นษุ ยอ์ าศยั อยู่ เดก็ แตล่ ะคนมจี ติ ทซ่ี มึ ซบั (Absorbent Mind) และมชี ว่ งวกิ ฤตโดยเดก็ จะสามารถซมึ ซบั ส่งิ ตา่ งๆ รอบตวั ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย เดก็ แต่ละคนแตกต่างกนั ดงั นนั้ หนา้ ท่ีของผ้ใู หญจ่ ึงควรสังเกตเดก็ และ ศกึ ษาสิ่งทีเ่ ดก็ ตอ้ งการ เพอ่ื ใหก้ ารเจรญิ เติบโตและพฒั นาการเป็นไปตามช่วงจังหวะและเวลาที่ควรจะเปน็ มสธของเดก็ แตล่ ะคนทแ่ี ตกตา่ งกนั (สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2550, น. 1-3) ทง้ั น้ี Mooney (2000) ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ แนวคดิ ทส่ี ำ� คญั ของ Montessori ซง่ึ เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ มลี กั ษณะการจดั การศกึ ษา ตามแนวปรัชญาการศึกษาสาขาประจกั ษน์ ิยม ดงั น้ี 1. สภาพแวดล้อม การท่ี Montessori ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างอิสระของเด็กและการสำ� รวจใน สงิ่ แวดลอ้ ม จดั หอ้ งเรยี นสวยงาม สงบ เปน็ ระเบยี บ ทำ� ใหเ้ ดก็ ไดซ้ มึ ซบั เรยี นรคู้ วามเปน็ ระเบยี บจากสภาพ มสธ มสธแวดล้อม และให้ความรู้สึกปลอดภัยภายใต้บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีความสุข อบอุ่นและสบายใจ มีโต๊ะ เก้าอ้ี ขนาดที่เหมาะกับตัวเด็ก มีส่ือวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ท่ีเหมาะสมจัดวางให้เด็กสามารถเข้าไป เลือก น�ำไปเลน่ และกลบั คนื ไดต้ ามตอ้ งการเม่อื เลน่ เสร็จแล้ว 2. หลักสูตร แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มประสบการณ์ชีวิต (practical life) เก่ียวข้องกับ ประสบการณใ์ นชีวิตประจำ� วนั ของเดก็ เชน่ กวาดบา้ น เย็บผา้ ท�ำสวน กลมุ่ ประสาทสมั ผัส (sensorial) เกยี่ วข้องกับการพฒั นาประสาทสัมผสั ของเด็ก และกลมุ่ ภาษาและคณติ ศาสตร์ (language and mathe- มสธmatics) เกีย่ วขอ้ งกบั การเตรยี มตวั ดา้ นการอา่ น การเขยี น คณติ ศาสตร์ และวชิ าการด้านอน่ื ๆ

1-26 การจดั การศึกษาและหลกั สตู รส�ำหรบั เด็กปฐมวัย 3. การเรียนการสอน ให้เสรภี าพเด็กในการเลือกทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ตามความสนใจของเด็ก แต่ มสธอย่ภู ายในขอบเขตทว่ี างไว้ เดก็ จะไดร้ บั โอกาสในการค้นพบส่งิ ตา่ งๆ ด้วยตนเอง โดยเนน้ การฝกึ ฝนดา้ น ประสาทสัมผัส ให้มือท้ังสองข้างของเด็กได้ถือจับต้อง บิดหรือหมุน สมองจะท�ำหน้าท่ีตอบสนอง การใช้ วัสดุอปุ กรณจ์ ึงเป็นหัวใจสำ� คัญของการสอน มสธ มสธแนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสาขาประสบการณ์นิยม ปรัชญาการศึกษาสาขาประสบการณ์นิยมหรือปฏิบัตินิยม (Pragmatism) มองโลกในแง่ ประสบการณ์ ความเป็นจริงข้ึนอยู่กับประสบการณ์ของมนุษย์ ซ่ึงนักปรัชญาสาขาน้ีปฏิเสธความเช่ือของ นักปรชั ญากลุ่มจติ นิยมและกลมุ่ วตั ถนุ ยิ มที่เช่อื วา่ ความจรงิ เปน็ ส่ิงทไ่ี มเ่ ปลี่ยนแปลง แต่นักปรัชญาสาขา ประสบการณน์ ยิ มเชอื่ วา่ ความจรงิ เปน็ สงิ่ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไดต้ ามประสบการณ์ ความรเู้ ปน็ ผลจากประสบการณ์ ของมนุษย์ เปลี่ยนแปลงได้ไม่คงที่ ความรู้ที่แท้จริงต้องใช้ประโยชน์ได้ และรู้โดยวิธีการแก้ปัญหาหรือ มสธวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ รวมทง้ั การเสรมิ สรา้ งประสบการณต์ อ่ เนอื่ ง จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาตามปรชั ญา สาขาน้ี คอื พฒั นาเดก็ ใหม้ คี วามสามารถในการปรบั ตวั และอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สำ� หรบั แนวทาง ในการจัดการศึกษาตามแนวคิดของนักปรัชญาสาขาประสบการณ์นิยม สรุปได้ดังน้ี (วิจิตร ศรีสะอ้าน, 2545) 1. สภาพแวดล้อม โรงเรียนเป็นสังคมย่อยท่ีจ�ำลองแบบสังคมใหญ่ สร้างสิ่งแวดล้อมเหมือน มสธ มสธชีวิตจริงในบา้ น ในสังคมเพอื่ ส่งเสรมิ ให้เกดิ ประสบการณ์ต่อเนอื่ ง 2. หลักสูตร เนน้ วชิ าทจี่ ะเสรมิ สรา้ งประสบการณข์ องสงั คมโดยเฉพาะสงั คมศกึ ษา ไมเ่ นน้ เนอื้ หา สาระ ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการศกึ ษาหาความรู้ 3. การเรียนการสอน ยึดผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง ใชว้ ิธกี ารแก้ปญั หาและการทดลองคน้ คว้า ใหท้ �ำ กิจกรรมเป็นหลัก ครูเป็นผู้ช่วยให้ผู้เรียนดำ� เนินกิจกรรม ฝึกให้รู้จักตัดสินใจและยึดถือความเห็นของคน ส่วนใหญ่โดยค�ำนึงถึงผลในทางปฏิบัติที่จะมีต่อส่วนรวม ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศิลปะเพ่ือให้เกิด มสธประสบการณ์ทเ่ี หมาะสม มคี วามหมายตอ่ ชีวติ จรงิ แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทเ่ี หน็ ชดั วา่ อยบู่ นฐานของปรชั ญาการศกึ ษาสาขาประสบการณน์ ยิ ม คือ แนวคิดของ John Dewey (1859-1952) นักปรัชญาประสบการณ์นิยมชาวอเมริกัน เป็นผู้น�ำของ แนวคดิ การศึกษาแบบก้าวหนา้ (Progressive Education) Dewey ต่อตา้ นการเรียนการสอนทเี่ นน้ การ ท่องจำ� และการควบคุมอย่างเข้มงวดของครู เมื่อสอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ มสธ มสธจดั ตง้ั โรงเรยี นทดลองขน้ึ ใน ค.ศ. 1896 เพอ่ื จดั การศกึ ษาตามแนวปรชั ญาประสบการณน์ ยิ ม จนเปน็ ทรี่ จู้ กั และแพรห่ ลายไปทวั่ โลก Dewey มแี นวคดิ วา่ โรงเรยี นตอ้ งเปน็ ผนู้ ำ� ความกา้ วหนา้ ทางสงั คม เปน็ หลกั ของ ชีวิตทางสังคม เป็นแหล่งของเสรีภาพที่เด็กสามารถเรียนรู้ความหมายของประชาธิปไตยและอิสรภาพ เรียนร้ทู ี่จะอยแู่ ละท�ำงานร่วมกนั ทัง้ น้ี ประสบการณข์ องเด็กจะเกิดขน้ึ ไดต้ อ้ งใชค้ วามคดิ และลงมอื ปฏิบตั ิ กจิ กรรมตา่ งๆ ทดลองและคน้ พบดว้ ยตนเอง ใหอ้ สิ ระเดก็ ไดส้ ำ� รวจ เลน่ ในสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ ตม็ ไปดว้ ยกจิ กรรม ท่จี ะนำ� ไปส่คู วามสนใจของเด็กเอง ดงั นน้ั แนวคดิ ทางการจัดการศึกษาปฐมวยั ของ Dewey ทอี่ ยูบ่ นฐาน มสธของปรัชญาการศึกษาสาขาประสบการณน์ ยิ ม จงึ มลี ักษณะการจดั ดังนี้ (นภเนตร ธรรมบวร, 2546)

แนวคดิ เก่ียวกับการจดั การศกึ ษาและหลักสูตรสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย 1-27 1. สภาพแวดล้อม ปรับเปลี่ยนการจัดห้องเรียนจากน่ังเรียนเป็นแถว เป็นการใช้โต๊ะ เก้าอี้ที่ มสธสามารถเคล่ือนไปตามท่ีต่างๆ ได้เพ่ือสะดวกต่อการท�ำงานกลุ่ม ครูมีบทบาทในการเตรียมประสบการณ์ สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ดก็ เรยี นรู้ คอยชว่ ยเหลอื แนะนำ� สง่ เสรมิ และวางแนวทางทเ่ี หมาะสมแกเ่ ดก็ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. หลกั สตู ร มลี กั ษณะยดื หยนุ่ ยดึ เดก็ เปน็ ศนู ยก์ ลาง เนอื้ หาหลกั สตู รเปน็ แบบบรู ณาการ มคี วาม สัมพันธ์กับชีวิตหรือเหตุการณ์ในชีวิตประจ�ำวันของเด็ก เน้นความส�ำคัญของความรับผิดชอบต่อสังคมใน มสธ มสธระบอบประชาธิปไตย ให้เด็กเรียนรู้ทจ่ี ะอยู่และทำ� งานรว่ มกัน 3. การเรียนการสอน ใหเ้ ดก็ เรยี นรผู้ ่านประสบการณ์ตรง จากการกระทำ� การสำ� รวจท้ังในและ นอกห้องเรยี น โดยใช้สอ่ื จริงตามธรรมชาตทิ ม่ี อี ยู่ สรปุ ไดว้ า่ ปรชั ญาการศกึ ษาสาขามโนคตนิ ยิ ม ประจกั ษน์ ยิ ม และประสบการณน์ ยิ ม ตา่ งมงุ่ ศกึ ษา วิเคราะห์สาระและธรรมชาติของการศึกษา โดยแนวคิดของปรัชญาการศึกษาแต่ละสาขาจะแตกต่างกัน และมีอิทธิพลต่อแนวคิดของบุคคลต่างๆ ในการจัดการศึกษาปฐมวัย เช่น แนวคิดของ Froebel อยู่บน มสธฐานของปรัชญาการศึกษาสาขามโนคตินิยมหรือจิตนิยม มองการเล่นเป็นการน�ำธรรมชาติท่ีอยู่ภายใน ตัวเด็กออกมาภายนอก และเป็นวิธีท่ีเด็กพยายามเลียนแบบบทบาทของผู้ใหญ่ แนวคิดของ Pestalozzi อยู่บนฐานของปรัชญาการศึกษาสาขาประจักษ์นิยม ค�ำนึงถึงธรรมชาติ ความพร้อม และความแตกต่าง ระหว่างบคุ คลของเด็ก สอนจากรปู ธรรมไปหานามธรรม งา่ ยไปหายาก แนวคิดของ Dewey อยู่บนฐาน ของปรัชญาการศึกษาสาขาประสบการณ์นิยมหรือปฏิบัตินิยม ต่อต้านการสอนให้เด็กท่องจ�ำ แต่เชื่อว่า มสธ มสธประสบการณ์ของเดก็ จะเกิดข้ึนได้ต้องใชค้ วามคดิ และลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่างๆ ทดลองและคน้ พบด้วย ตนเอง ใหอ้ สิ ระเดก็ ไดส้ ำ� รวจ และเลน่ ในสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ ตม็ ไปดว้ ยกจิ กรรมทจี่ ะนำ� ไปสคู่ วามสนใจของเดก็ เอง กิจกรรม 1.2.1 จงบอกช่ือนักปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาปฐมวัยมา 1 ชื่อ พร้อมท้ังระบุสาขาของ มสธปรชั ญาการศกึ ษา และอธบิ ายแนวคิดของปรัชญาการศกึ ษาทีน่ ักปรชั ญานัน้ มีความเช่อื พอสงั เขป แนวตอบกิจกรรม 1.2.1 นกั ปรชั ญาทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั มหี ลายคน เชน่ Pestalozzi นกั ปรชั ญาการศกึ ษา สาขาประจกั ษน์ ยิ มหรอื วตั ถนุ ยิ ม เชอื่ วา่ การศกึ ษาควรสะทอ้ นความดงี ามตามธรรมชาตขิ องเดก็ การสอนคน มสธ มสธให้มีใจเมตตากรุณาต่อกันมีค่ามากกว่าการสอนคนให้มีความรู้ แนวคิดของ Pestalozzi เป็นจุดเริ่มต้น ของทฤษฎีทางการศึกษาและการปฏิบัติสมัยใหม่ที่เป็นพื้นฐานส�ำคัญในการจัดการเรียนการสอนระดับ ปฐมวยั ศกึ ษา Pestalozzi เหน็ วา่ การสอนเดก็ ปฐมวยั ตอ้ งสอนจากรปู ธรรมไปหานามธรรม งา่ ยไปหายาก เหมาะกบั เดก็ ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณต์ รง สอนใหร้ จู้ กั สงั เกต สำ� รวจสง่ิ ตา่ งๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั มสธลงมอื คน้ คว้าหาความรดู้ ้วยตนเองผ่านประสาทสัมผสั ทัง้ ห้า

1-28 การจัดการศึกษาและหลักสูตรสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั เร่ืองท่ี 1.2.2 มสธแนวคิดจากทฤษฎีด้านพัฒนาการและการเรียนรู้ การจดั การศกึ ษาเพอื่ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั เกดิ พฒั นาการและการเรยี นรนู้ นั้ บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งตอ้ งเขา้ ใจ มสธ มสธวา่ เด็กปฐมวัยเรียนรอู้ ยา่ งไร เข้าใจธรรมชาติ วยั และพัฒนาการของเด็ก รวู้ ่าจะจัดการเรยี นการสอนหรอื จดั ประสบการณอ์ ยา่ งไรท่จี ะช่วยให้เด็กพฒั นาและเกดิ การเรียนรู้ตามทไ่ี ด้ตัง้ ความคาดหวงั ไว้ เดก็ ปฐมวัย มีพัฒนาการและลักษณะการเรียนรู้ที่แตกต่างจากช่วงวัยอ่ืน และยังมีข้อจ�ำกัดท้ังทางด้านวุฒิภาวะและ พัฒนาการ แต่ทฤษฎีด้านพัฒนาการและการเรียนรู้ได้สะท้อนให้เห็นถึงธรรมชาติ ความสามารถ และ ลักษณะการเรียนรูข้ องเดก็ ปฐมวัย เปน็ แนวทางสำ� หรับการจดั การศกึ ษาในแตล่ ะสงั คม ซ่ึงจะยดึ ทฤษฎีใด ทฤษฎีหนึ่ง หรือผสมผสานกันมากกว่าหน่ึงทฤษฎีก็ได้ ดังนั้น ในเรื่องนี้จึงน�ำเสนอแนวคิดจากทฤษฎีท่ี มสธเกย่ี วขอ้ งกบั เดก็ ปฐมวยั ดังนี้ 1) แนวคิดจากทฤษฎดี า้ นพฒั นาการของเด็กปฐมวยั และ 2) แนวคดิ จาก ทฤษฎดี ้านการเรยี นรขู้ องเด็กปฐมวยั แนวคิดจากทฤษฎีด้านพัฒนาการของเด็กปฐมวัย มสธ มสธนกั จติ วทิ ยาไดพ้ ยายามศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง เพอ่ื แสวงหาทฤษฎมี าอธบิ ายพฤตกิ รรมดา้ นตา่ งๆ ของมนุษย์ ท�ำให้รู้จักและเข้าใจข้ันตอนพัฒนาการมนุษย์ในแต่ละช่วงวัย ซ่ึงเป็นประโยชน์ในการจัดการ ศึกษา ส�ำหรับทฤษฎีส�ำคัญด้านพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่ควรน�ำมากล่าว ได้แก่ ทฤษฎีจิตสังคมของ Erikson ทฤษฎีวัฒนธรรมทางสังคมของ Vygotsky และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget ดงั นี้ 1. ทฤษฎีจิตสังคมของ Erikson (Erikson’s Psychosocial Theory) Erik Erikson (1902- มสธ1994) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเช่ือว่า บุคลิกภาพของเด็กจะพัฒนาไปในทางบวกหรือทางลบ ขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมของการตอบสนองจากสภาพแวดล้อมรอบตัวตามขั้นพัฒนาการในแต่ละวัย ถ้าเด็กได้รับ การตอบสนองต่อสงิ่ ทต่ี นพอใจในชว่ งอายนุ ัน้ เดก็ จะมพี ัฒนาการทางบคุ ลกิ ภาพท่ดี แี ละเหมาะสม ถ้าหาก เดก็ พบสภาพแวดลอ้ มทไ่ี มด่ เี ดก็ จะขาดความสขุ และมองโลกในแงร่ า้ ยได้ ดงั นนั้ ตลอดชว่ งชวี ติ ของมนษุ ย์ จงึ แบ่งการพฒั นาทางจิตสังคมออกเปน็ 8 ขน้ั ในแตล่ ะขั้นจะมปี มขัดแยง้ ซ่งึ เปน็ วิกฤต (crisis) ท่แี ตล่ ะ มสธ มสธบคุ คลตอ้ งประสบ วกิ ฤตขัดแยง้ น้ีจะแตกตา่ งกันไปตามขนั้ ของการพฒั นา และการพัฒนาทางจติ สงั คม ก็ คือ การผา่ นพ้นวิกฤตขดั แยง้ จากขัน้ หนึง่ ไปสูอ่ กี ขัน้ หน่งึ การพฒั นาทด่ี ีก็จะก่อใหเ้ กิดบคุ ลกิ ภาพทีด่ ี หาก แก้วิกฤตขัดแย้งไม่ได้ ก็จะมีพัฒนาการในวัยน้ันไม่สมบูรณ์ ความบกพร่องน้ันก็อาจติดอยู่ในบุคลิกภาพ (จติ ตินนั ท์ เดชะคุปต์, 2555) ส�ำหรบั เด็กอายุ 3-6 ปี จะอยใู่ น ขนั้ ท่ี 3 ความคิดริเรมิ่ กบั ความรสู้ ึกผดิ (initiative vs. guilt) เดก็ วยั นจ้ี ะเรมิ่ ทำ� สง่ิ ใหมๆ่ ตามความรสู้ กึ นกึ คดิ ของตนเอง ทง้ั ทางคำ� พดู และการกระทำ� จะซกั ถามและไม่ มสธอยู่เฉย ถ้าเด็กไม่ได้รับการยอมรับ ถูกห้ามปรามอย่างเข้มงวดและปราศจากเหตุผล เด็กจะเรียนรู้ว่า

แนวคิดเก่ยี วกับการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รส�ำหรับเด็กปฐมวยั 1-29 พฤตกิ รรมดงั กลา่ วเปน็ สงิ่ ทไ่ี มด่ ี ทำ� แลว้ ถกู ตำ� หนสิ ง่ ผลใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ผดิ และหยดุ ยงั้ เดก็ ไมใ่ หแ้ สดงความ มสธคดิ รเิ รม่ิ แตถ่ า้ เดก็ ไดร้ บั การยอมรบั ถกู ดแู ลประคบั ประคองใหแ้ สดงพฤตกิ รรมภายในขอบเขตทเี่ หมาะสม ฝึกให้รู้จักควบคุมตนเอง สามารถแก้วิกฤตขัดแย้งในข้ันน้ีได้ส�ำเร็จ ท�ำให้เด็กเริ่มม่ันใจและภาคภูมิใจใน ความสามารถของตนเอง สนใจทจ่ี ะแสดงออกถงึ ความคดิ รเิ รมิ่ เชอ่ื วา่ ตนจะสามารถวางแผนและทำ� งานได้ ส�ำเร็จดว้ ยตนเอง จะสามารถจดั การและเรียนรู้ความผิดพลาดส�ำหรับสง่ิ ท่ีไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ซ่งึ Erikson มสธ มสธได้แนะน�ำครใู ห้สนบั สนนุ พฒั นาการในข้นั นดี้ ้วยการปฏบิ ัติ ดงั น้ี (Mooney, 2000, pp. 53-56) 1) ใหอ้ สิ ระแกเ่ ดก็ ในการทำ� สง่ิ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเองเทา่ ทเ่ี ดก็ สามารถทำ� ได้ เชน่ หยบิ ของเลน่ จากชน้ั ทว่ี างและเกบ็ คนื เขา้ ทเ่ี มอื่ เลน่ เสรจ็ เมอ่ื จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ความสะอาดพน้ื ทตี่ นทำ� เลอะกท็ ราบวา่ จะหา ผา้ หรอื กระดาษเช็ดพน้ื จากทีใ่ ด 2) เน้นเด็กเรียนรู้มากกว่าความผิดพลาดของเด็ก ท้ังนี้ เด็กมักจะรับรู้ว่าครูยอมรับ ความคดิ รเิ รมิ่ ของตนหรอื ไม่ และเดก็ ตอ้ งการใหค้ รเู หน็ งานทต่ี นทำ� นนั้ มคี วามสำ� คญั มากกวา่ ความผดิ พลาด ท่ีเกิดขนึ้ จากการทำ� มสธ3) ให้พิจารณาว่าเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน แต่ความแตกต่างนั้นมิใช่จะพิจารณา เฉพาะขนั้ พฒั นาการของเด็กเทา่ นนั้ แต่ยงั มีปจั จยั ส่วนบคุ คลของเด็กแตล่ ะคนทีค่ วบคุมว่าเด็กจะสามารถ ทำ� สิ่งน้นั ๆ ได้หรือไมใ่ นวนั นน้ั 4) เนน้ หลกั สตู รใหเ้ ดก็ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ทง้ั นี้ Erikson เชอ่ื วา่ เดก็ ในขนั้ พฒั นาการนี้ ตอ้ งการ มสธ มสธใช้เครื่องมือจริง วัสดุอุปกรณ์จริง เพ่ือพัฒนาความสามารถของตน เช่น ครูวางแผนจัดกิจกรรมประกอบ อาหาร ถา้ ใหเ้ ดก็ ใชม้ ดี พลาสตกิ หนั่ แครอท เดก็ จะไมส่ ามารถหน่ั แครอทไดแ้ ละเดก็ จะเกดิ ความรสู้ กึ ลม้ เหลว ครจู งึ ใหเ้ ดก็ ใชม้ ดี จรงิ สอนใหเ้ ดก็ เรยี นรวู้ ธิ ใี ชม้ ดี อยา่ งปลอดภยั เมอ่ื เดก็ ลงมอื ทำ� ปรากฏวา่ เดก็ หนั่ แครอท ไดแ้ ละรู้สกึ ถงึ ความสามารถของตนเอง ทฤษฎีจิตสังคมของ Erikson แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางสังคมว่าสามารถสร้าง บุคลิกภาพของมนุษย์ได้ท้ังทางบวกและทางลบ อันเป็นผลจากความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวของความ มสธสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ซงึ่ ในแตล่ ะชว่ งของวยั เดก็ ตอ้ งปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม การจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น เปิดโอกาสให้เด็กริเริ่มท�ำ กิจกรรมต่างๆ สนบั สนุนใหเ้ ด็กประสบความสำ� เรจ็ ในงานท่ที �ำ ช่วยใหเ้ ดก็ รู้สึกว่าตนไดร้ บั การยอมรับและ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของสงั คม เกดิ ความภาคภมู ใิ จในตนเองและอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ซงึ่ เปน็ จดุ หมาย ของการจดั การศึกษาปฐมวยั มสธ มสธ2. ทฤษฎีวัฒนธรรมทางสังคมของ Vygotsky (Vygotsky’s Sociocultural Theory) Lev Vygotsky (1896-1934) นักจิตวิทยาชาวรัสเซีย ได้พัฒนาทฤษฎีวฒั นธรรมทางสงั คม โดยมคี วามเช่อื วา่ ความสามารถทางสติปัญญาของเด็กเป็นผลมาจากปฏสิ มั พันธท์ างสังคมและบริบทของสงั คม ถงึ แมแ้ ตล่ ะ สังคมจะมลี ักษณะแตกต่างกัน แตส่ ่งิ ทเ่ี ดก็ ไดเ้ รียนรจู้ ากสังคมเหมอื นกันหมด คือ การใช้ภาษา กฎกติกา ของสังคม วัฒนธรรมและประเพณี (Wardle, 2003, pp. 277-278 อ้างถงึ ใน อรณุ ี หรดาล, 2548, น. 2-12) ทงั้ นี้ เดก็ ทมี่ โี อกาสใช้ภาษาพูดคยุ ประสบการณใ์ นชีวติ ประจ�ำวนั กบั ผู้ใหญ่ทกุ วัน จะช่วยท�ำให้เดก็ ตระหนกั ในความคดิ และแปลความหมายของประสบการณท์ ต่ี นเองไดร้ บั ทำ� ใหเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรจู้ ากการ มสธติดต่อส่อื สารมากข้ึน

1-30 การจัดการศกึ ษาและหลักสูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวัย แนวคิดที่ส�ำคัญของทฤษฎี Vygotsky คือ สภาวะการเรียนรู้ของเด็ก (Zone of Proximal มสธDevelopment: ZPD) ซงึ่ เปน็ ระยะห่างระหวา่ งสงิ่ ท่เี ด็กสามารถท�ำไดด้ ว้ ยตนเองตามลำ� พงั กับการที่เด็ก สามารถท�ำได้โดยการช่วยเหลือจากผู้ท่ีมีทักษะและประสบการณ์มากกว่าตน อาจเป็นผู้ใหญ่หรือเด็กอื่น Vygotsky เชอ่ื ว่า ปัจจยั ส�ำคัญมใิ ชเ่ ดก็ เกดิ ความร้หู รือความเขา้ ใจเทา่ นั้น แตเ่ ปน็ ความสามารถของเดก็ ที่ จะเรียนรู้โดยได้รับการช่วยเหลือ เช่น เด็กสองคนมีความสามารถในระดับเดียวกัน แต่ระดับความส�ำเร็จ มสธ มสธตา่ งกนั เพราะความสามารถทจ่ี ะไดร้ บั ความสำ� เรจ็ จากการชว่ ยเหลอื หรอื การสอนจากผใู้ หญต่ า่ งกนั (Pound, 2005, p. 40) และ Vygotsky เรยี กการชว่ ยเหลอื ของครหู รอื ของเพอื่ นวา่ “Scaffolding” คอื “การเสรมิ ต่อการเรียนรู้” และเพ่ือให้สภาวะการเรียนรู้ด�ำเนินไปด้วยดี ครูต้องเป็นผู้สังเกตท่ีดี รู้ว่าเด็กก�ำลังอยู่ใน กระบวนการเรียนรู้ตรงท่ีใด จะพัฒนาอะไรต่อไปได้ เด็กต้องการอะไรรวมท้ังบริบททางสังคมที่แวดล้อม ขอ้ มลู จากการสงั เกตดงั กลา่ ว ชว่ ยใหค้ รสู ามารถสนบั สนนุ การเรยี นรขู้ องเดก็ ดงั นน้ั ครทู ตี่ อ้ งการประยกุ ต์ ใช้แนวคิด “ZPD” และ “Scaffolding” ของ Vygotsky ต้องสังเกตเด็กอย่างรอบคอบและวางแผน มสธหลกั สตู รท่ีกระตนุ้ ความสามารถของเด็ก และจบั ค่เู ด็กทส่ี ามารถเรยี นรูซ้ งึ่ กันและกนั ได้ (Mooney, 2000, p. 84) ทฤษฎวี ฒั นธรรมทางสงั คมของ Vygotsky ใหค้ วามสำ� คญั กบั การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั สิ่งแวดลอ้ มใน สงั คมของเดก็ พฒั นาการและการเรยี นรเู้ กยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั ตงั้ แตว่ นั แรกทเ่ี ดก็ เกดิ มา ดงั นนั้ ประสบการณ์ ส่วนตัวและประสบการณ์ทางสังคมไม่สามารถแยกกันได้ ทฤษฎีของ Vygotsky ส่งเสริมให้ครูวางแผน มสธ มสธหลกั สตู รทข่ี ยายความรใู้ หเ้ ดก็ และเสรมิ ตอ่ การเรยี นรโู้ ดยจดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นสถานการณท์ ท่ี ำ� ใหส้ มรรถนะหรอื ความสามารถของเด็กยดื ขยายออก 3. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget (Piaget’s Cognitive Development Theory) Jean Piaget (1896-1980) นกั จติ วทิ ยาพฒั นาการเชอื่ วา่ มนษุ ยเ์ กดิ มาพรอ้ มวฒุ ภิ าวะซง่ึ จะพฒั นาขนึ้ ตาม ระดับอายุ ประสบการณ์ท่ีได้รับ และค่านิยมท่ีถ่ายทอดมาจากสังคม ท้ังน้ี โครงสร้างความรู้ของมนุษย์ (Schema) มกี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา โดยรบั เอาความรใู้ หมเ่ ขา้ มาในโครงสรา้ ง (Assimilation) มสธและปรับโครงสรา้ งความรู้เดิมให้เขา้ กับความร้ใู หม่ (Accommodation) เพอ่ื ให้เกิดความสมดลุ (Equil- ibration) กระบวนการนี้จะน�ำไปสู่การพัฒนาทางสติปัญญาอย่างต่อเนื่องตามล�ำดับขั้น (อรุณี หรดาล, 2548) Piaget ไดน้ ำ� เสนอทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญาวา่ ประกอบดว้ ย 4 ขนั้ ตอน โดยเรมิ่ จากวยั ทารก จนถึงวัยรนุ่ ได้แก่ ขั้นประสาทสัมผสั และการเคล่อื นไหว (แรกเกดิ ถงึ 2 ปี) ขนั้ ความคิดก่อนปฏบิ ตั ิการ (อายุ 2-7 ป)ี ขั้นปฏบิ ัตกิ ารคดิ แบบรูปธรรม (อายุ 7-11 ป)ี และขั้นปฏิบัตกิ ารคิดแบบนามธรรม (อายุ 11 มสธ มสธปีข้ึนไป) แม้จะมีอายุก�ำหนดไว้ แต่ข้ันตอนของพัฒนาการมิได้ก�ำหนดตายตัวตามอายุ แต่ก�ำหนดตาม ลักษณะเฉพาะของพัฒนาการในแต่ละวัย ซึ่งเป็นไปตามล�ำดับข้ันเป็นส�ำคัญ ข้ันที่เกี่ยวข้องกับเด็กอายุ 2-7 ปี คอื ขนั้ ความคดิ กอ่ นปฏบิ ตั กิ าร (Preoperational Stage) แบง่ ลกั ษณะการเตรยี มการรคู้ ดิ ของเดก็ เป็น 2 ช่วง คือ (จติ ตินันท์ เดชะคปุ ต,์ 2555) ช่วงอายุ 2–4 ปี เรมิ่ ใช้ภาษาดขี ้ึน เรยี นร้กู ารใชส้ ัญลกั ษณ์ (ภาษา) หรือสัญญาณ (ทา่ ทาง) สื่อความหมายเพ่ิมมากขึ้น เลียนแบบบุคคลและสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ท�ำให้เกิดเป็นภาพในใจท่ีเด็ก มสธแสดงออกมาจากสง่ิ ทเ่ี ดก็ รบั รทู้ างกายภาพหรอื สงิ่ ทมี่ องเหน็ มากกวา่ การรคู้ ดิ ดว้ ยตนเอง เดก็ จงึ ไมส่ ามารถ

แนวคดิ เกยี่ วกบั การจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั 1-31 คิดอยา่ งมเี หตุผลหรอื คิดยอ้ นกลบั ได้ (Irreversibility) การทดลองท่แี พรห่ ลายของ Piaget ซง่ึ แสดงถึง มสธพัฒนาการทางความคิดของเด็กในวัยน้ีคือ การทดลองที่ใช้แก้ว 2 ใบ มีขนาดสูงเท่ากัน ใส่น�้ำปริมาณ เท่ากนั เหน็ ระดบั นำ้� ในแก้ว 2 ใบ เท่ากนั ดงั ภาพท่ี 1.1 (1) มสธ มสธ มสธ(1) ก ภาพท่ี 1.1 แสดงระดับน�้ำในแก้วขค(2) กขค มสธ มสธผู้ท�ำการทดลองถามเด็กวัยน้ี น้�ำในแกว้ 2 ใบ เทา่ กันไหม เดก็ จะตอบวา่ เทา่ กนั จากน้นั ผทู้ ดลองเทนำ�้ จากแกว้ ข ลงไปในแกว้ ค ซง่ึ มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางนอ้ ยกวา่ และสงู กวา่ แกว้ ก และ ข ดงั นน้ั น้ำ� ในแกว้ ค จะสงู กว่าน้�ำในแก้ว ก เสร็จแล้วผทู้ ดลองถามเดก็ ว่านำ้� ในแก้ว ก และ ค เท่ากนั หรือไม่ เดก็ จะตอบว่าไม่เท่ากัน น้�ำในแก้ว ค มากกว่าแก้ว ก ดังภาพท่ี 1.1 (2) แสดงให้เห็นว่าเด็กในวัยน้ีมีความ เข้าใจในสิ่งที่ตนมองเห็นและรับรู้ ไม่สามารถเข้าใจความคงตัวของน�้ำที่มีปริมาณเท่ากัน แม้ว่าจะเปล่ียน รูปร่าง แต่ปริมาณก็ยังเท่ากันอยู่ การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าเด็กวัยน้ียังไม่มีความเข้าใจท่ีจะคิดโดยใช้ มสธเหตุผลอยา่ งถูกตอ้ ง ความคิดความเขา้ ใจของเด็กขนึ้ อยูก่ บั สิง่ ทีเ่ ดก็ รับร้แู ละมองเหน็ ขณะนัน้ นอกจากน้ี เด็กยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งโดยมองโลกจากความคิดของตนเอง ครจู ะสังเกตได้บอ่ ยคร้งั จากการสนทนาของเด็ก เชน่ เด็กคนท่ี 1 รถของแมเ่ ราสีน�ำ้ เงนิ เด็กคนท่ี 2 รถของแม่เราเสยี มสธ มสธเด็กคนท่ี 3 ทีวขี องเราเสยี ครถู ามเด็กคนที่ 1 รถของแมห่ นสู นี ้ำ� เงนิ หรอื เด็กคนที่ 1 หนดู กู ารต์ ูนทีวีเรอื่ ง “โดเรมอน” การสนทนาของเด็กข้างต้นแสดงถึงขั้นพัฒนาการปกติของเด็ก ซงึ่ Piaget เรยี กว่า Ego- centrism หรอื การยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลาง เรอื่ งทสี่ นทนาไมเ่ หน็ ความเชอ่ื มโยงกนั มากไปกวา่ คำ� ทเี่ พอื่ น พดู ไปกระตนุ้ ความคดิ เกยี่ วกบั เหตกุ ารณข์ องตนเอง อกี ตวั อยา่ งหนง่ึ ทแ่ี สดงถงึ การยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลาง ของเด็กวัยนีค้ อื เด็กต้องการซ้อื ตุก๊ ตาให้เปน็ ของขวัญส�ำหรบั ตาและยายของตนเพราะตุ๊กตาคือของเลน่ ท่ี มสธเด็กชอบ เดก็ จึงคิดว่าตากับยายจะชอบดว้ ย

1-32 การจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั ช่วงอายุ 4–7 ปี เดก็ เรมิ่ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและวตั ถใุ นสภาพแวดลอ้ มไดด้ ขี น้ึ มสธรจู้ กั ใชส้ ง่ิ ทเ่ี ปน็ ตวั แทน (representation) สอื่ ความคดิ ภายในจากจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรคต์ า่ งๆ อนั นำ� ไปสกู่ ารทำ� ความเขา้ ใจในความหมายของสง่ิ ตา่ งๆ ตามความเปน็ จรงิ มากขน้ึ เดก็ จะเรยี นรแู้ ละจดจำ� สง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั ไดด้ ขี นึ้ สามารถเชอ่ื มโยงภาพในใจและคาดการณส์ ถานการณบ์ างอยา่ งลว่ งหนา้ (intuitive thought) จากประสบการณ์ซ้�ำๆ ท่ีเด็กได้รับแม้ว่าเหตุผลจะยังไม่สมจริงนัก รู้จักแยกประเภทและจัด มสธ มสธหมวดหมู่ส่ิงของ (classification) เร่ิมเข้าใจสภาพเดิมของสิ่งต่างๆ (transformation) เม่ืออายุมากข้ึน เด็กจะเรียนรู้และสามารถท�ำความเข้าใจต่อส่ิงต่างๆ ด้วยเหตุและผลตามหลักความเป็นจริงได้มากขึ้น ทีละเลก็ ละน้อย ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget แนะการจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กปฐมวัยว่า การ ใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ดก็ ชว่ งวยั น้ี ตอ้ งเปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องกระบวนการพฒั นาความคดิ และการเรยี นรขู้ อง เดก็ ปฐมวยั การจดั สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เดก็ อนื่ กบั ผใู้ หญ่ กบั วตั ถุ มสธส่ิงของในสภาพแวดล้อมโดยตรง กระตุ้นให้เด็กเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ส�ำรวจ เล่น ทดลอง คน้ หาค�ำตอบด้วยตนเอง จะชว่ ยพฒั นาการคิดของเด็กปฐมวยั แนวคิดจากทฤษฎีด้านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยมีขอบเขตที่จ�ำกัด เนื่องจากเด็กยังไม่สามารถคิดเชิงเหตุผลท่ีเป็น มสธ มสธนามธรรมได้ ดังน้ัน การเรียนรู้ของเด็กวัยนี้จึงเป็นการส�ำรวจ และทดลองกระท�ำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง การวิจัยของนักจิตวิทยาท่ีเก่ียวข้องกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กแสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้เป็น กระบวนการซับซ้อนที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความคิดของเด็กกับประสบการณ์และส่ิงแวดล้อม ภายนอก โดยมีวุฒิภาวะเป็นตัวช่วยสำ� คัญที่จะเอ้ืออ�ำนวยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้จึงเป็น ทฤษฎีที่อธิบายถึงองค์ประกอบต่างๆ ท่ีมีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ตลอดจนเง่ือนไขต่างๆ ท่ีท�ำให้เด็ก เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดประสบการณ์หรือกิจกรรมส�ำหรับเด็กปฐมวัยจึงอาศัยแนวคิดจาก มสธทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องนกั จติ วทิ ยากลมุ่ ตา่ งๆ โดยเฉพาะแนวคดิ จากทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ อง Thorndike และ ทฤษฎกี ารเรยี นรูข้ อง Skinner ที่เป็นประโยชนต์ ่อการเรียนการสอนหรือการจดั ประสบการณส์ �ำหรับเด็ก ปฐมวยั ดังน้ี (ประภาพรรณ เอย่ี มสภุ าษิต, 2550, น. 1-43; สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, 2522, น. 16-17) 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Thorndike Edward L. Thorndike (1874 -1949) นกั จิตวิทยาและ มสธ มสธนักการศึกษาชาวอเมริกันเป็นผู้สร้างทฤษฎีการเรียนรู้ที่เรียกว่า ทฤษฎี S-R bond หรือทฤษฎีความ สมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎนี เ้ี ชอ่ื ในการวางเงอ่ื นไขตอ่ ผเู้ รยี นเมอื่ มกี ารตอบสนอง เกิดขึ้น การตอบสนองจะมาเชื่อมต่อกับสิ่งเร้า ตัวเช่ือม (Bond หรือ Connection) นั้นเป็นผลของการ เปลีย่ นแปลงภายในระบบประสาท ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ เมอื่ เหน็ ความสมั พันธเ์ ชื่อมโยงระหวา่ งสิ่งเรา้ กับ การตอบสนองโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถกู ในข้นั ตน้ ส่งิ สำ� คัญในทฤษฎนี คี้ ือ กฎการเรยี นรู้ 3 กฎ ได้แก่ 1.1 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ดีถ้าผู้เรียนมีความ มสธพรอ้ มทัง้ ร่างกายและจติ ใจ

แนวคดิ เกย่ี วกับการจัดการศึกษาและหลกั สูตรสำ� หรบั เด็กปฐมวัย 1-33 1.2 กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การกระทำ� บอ่ ยๆ ดว้ ยความเข้าใจจะท�ำให้การ มสธเรยี นรู้คงทนถาวร ถา้ ไม่ได้กระทำ� ซ้ำ� การเรียนรนู้ ัน้ จะไมค่ งทนถาวรในที่สดุ อาจลืมได้ 1.3 กฎแห่งผล (Law of Effect) เม่ือผูเ้ รยี นไดร้ บั ผลท่ีพงึ พอใจยอ่ มอยากเรยี นรตู้ ่อไป ถา้ ได้รบั ผลทไ่ี มพ่ งึ พอใจจะไมอ่ ยากเรยี นรู้ ตามกฎทัง้ 3 ขอ้ ผู้เรียนจะเรยี นรู้ได้ตอ้ งอาศัยความพรอ้ มทางด้านระบบประสาททัง้ ทางรา่ งกาย มสธ มสธและจิตใจ การกระท�ำซ้�ำจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี และการตอบสนองจะมีก�ำลังขึ้นหากเกิดผลท�ำให้ ผู้เรยี นพงึ พอใจ และจะอ่อนลงหากเกดิ ผลทำ� ใหไ้ มพ่ ึงพอใจ การนำ� แนวคิดของ Thorndike ไปใชใ้ นการ เรยี นการสอนนน้ั เหมาะกบั เดก็ ปฐมวยั ในการจดั สงิ่ เรา้ กระตนุ้ ความสนใจเดก็ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การตอบสนอง การ สรา้ งแรงจงู ใจ การใหร้ างวลั เพอื่ ใหเ้ ดก็ พอใจในการเรยี น ครคู วรจดั หาสอื่ วสั ดอุ ปุ กรณท์ นี่ า่ สนใจเหมาะกบั วัยของเด็กมาใช้ให้เกิดประโยชน์ แต่กฎแห่งการฝึกหัดนั้นในบางกิจกรรมไม่เหมาะกับเด็กปฐมวัยและไม่ ทำ� ใหก้ ารเรยี นรขู้ องเดก็ กา้ วหนา้ เชน่ การทอ่ งจำ� บอ่ ยๆ จนคลอ่ งโดยไมเ่ ขา้ ใจในสงิ่ ทที่ อ่ งจำ� การเขยี นคำ� ผดิ มสธเป็นร้อยๆ คำ� กไ็ มส่ ามารถเปลี่ยนให้เขยี นถกู ได้ ฯลฯ การฝกึ หดั ทส่ี มบูรณน์ น้ั ต้องมรี ากฐานอยูท่ ่ผี ู้เรยี นมี ความตง้ั ใจ สนใจ มแี รงจงู ใจ เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าในสง่ิ ทีต่ นทำ� ซ้�ำๆ 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Skinner B.F. Skinner นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้สร้างทฤษฎี การวางเง่ือนไขแบบการกระท�ำ (Operant Conditioning Theory) โดย Skinner จ�ำแนกทฤษฎีทาง พฤตกิ รรมออกเป็น 2 ประเภท คือ มสธ มสธ2.1 พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้แบบ Type S. (Respondent Behavior) มสี ิง่ เร้าเป็น ตัวก�ำหนดหรือดึงออกมา เช่น น้�ำลายไหลเนื่องจากน�ำอาหารเข้าไปในปาก สะดุ้งเพราะถูกเคาะท่ีหัวเข่า หรต่ี าเม่ือถกู แสงไฟ ฯลฯ พฤตกิ รรมดงั กล่าวเป็นการตอบสนองโดยอัตโนมตั ิ 2.2 พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type R. (Operant Behavior) พฤตกิ รรมหรอื การตอบสนองขนึ้ อยกู่ บั การเสรมิ แรง (Reinforcement) ซงึ่ ตา่ งจากแบบแรก เพราะอนิ ทรยี เ์ ปน็ ตวั กำ� หนด หรอื เปน็ ผสู้ งั่ ใหก้ ระทำ� ตอ่ สงิ่ เรา้ ไมใ่ ชใ่ หส้ ง่ิ เรา้ มาเปน็ ตวั กำ� หนดพฤตกิ รรมของอนิ ทรยี ์ เชน่ การขบั รถ การ มสธเขยี นหนงั สือ เป็นต้น Skinner มคี วามเชอื่ วา่ พฤตกิ รรมใดๆ ทม่ี นษุ ยก์ ระทำ� ในสง่ิ แวดลอ้ ม มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเพม่ิ ขน้ึ คงที่ หรอื ลดลง เนอ่ื งจากผลกรรมของพฤตกิ รรมนนั้ ถา้ ผลกรรมของพฤตกิ รรมเปน็ สง่ิ ทม่ี นษุ ยพ์ งึ พอใจพฤตกิ รรม นั้นก็มีแนวโน้มท่ีจะอยู่คงท่ีหรือเพ่ิมขึ้น ในขณะเดียวกันถ้าพฤติกรรมนั้นได้รับผลกรรมที่ไม่พึงพอใจ พฤตกิ รรมนนั้ จะมแี นวโนม้ ทจี่ ะลดลง ดงั นน้ั แนวคดิ ทส่ี ำ� คญั ของ Skinner คอื การเรยี นรเู้ ปน็ ตวั การสำ� คญั มสธ มสธที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการตอบสนองและการเปล่ียนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดข้ึนได้ต่อเมื่อมี การเสริมแรง (Reinforcement) สิง่ เรา้ ที่ทำ� ให้อัตราการตอบสนองเปล่ยี นแปลงเรยี กว่า ตวั เสรมิ แรง ซงึ่ แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1) ตวั เสรมิ แรงบวก คอื สงิ่ เรา้ ทไ่ี ดร้ บั แลว้ มผี ลใหอ้ ตั ราการตอบสนองเปลย่ี นแปลง ไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เช่น อาหาร ค�ำชมเชย ฯลฯ ตัวอย่างผู้เรียนเก็บของเล่นเข้าที่เมื่อเล่นเสร็จ (พฤติกรรม) แล้วผู้สอนชมเชย (ผลกรรม) ผลปรากฏว่าผู้เรียนเก็บของเล่นเข้าที่บ่อยครั้งขึ้น แสดงว่า ค�ำชมเชยของผู้สอนเป็นตัวเสริมแรงบวก และ 2) ตัวเสริมแรงลบ คือ ส่ิงเร้าท่ีไม่พึงพอใจเม่ือตัดออกไป มสธจากสถานการณน์ น้ั แลว้ มผี ลใหอ้ ตั ราการตอบสนองเปลยี่ นไปในลกั ษณะเขม้ ขน้ ขนึ้ เชน่ เสยี งดงั คำ� ตำ� หนิ

1-34 การจดั การศึกษาและหลักสตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย ฯลฯ ตวั อยา่ งผเู้ รยี นไมต่ อ้ งการถกู ตำ� หนจิ ากผสู้ อน (สง่ิ เรา้ ทไี่ มพ่ งึ พอใจ) จงึ ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกบ็ ของเลน่ เขา้ ที่ มสธเมือ่ เลน่ เสร็จ (พฤตกิ รรม) แสดงว่าค�ำต�ำหนเิ ป็นตัวเสรมิ แรงลบ ทั้งนี้ การน�ำแนวคิดของ Skinner ไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพนั้น ควรจัดให้สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนแต่ละ บคุ คล ใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวกเปน็ หลกั และมกี ารใชข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั ทเี่ หมาะสม ทงั้ น้ี Skinner ไดเ้ สนอแนะ หลักการ 4 ประการ ในการน�ำแนวคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ดังนี้ (ประภาพรรณ มสธ มสธเอ่ยี มสภุ าษิต, 2550, น. 1-43) 1) ต้องมีความชัดเจนว่าจะสอนอะไร และเมื่อสอนไปแล้วผู้เรียนจะได้เรียนรู้อะไร การก�ำหนด เปา้ หมายทชี่ ดั เจนชว่ ยใหผ้ สู้ อนไดร้ วู้ า่ ผเู้ รยี นไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายแลว้ หรอื ไม่ เพอ่ื จะไดใ้ หก้ ารเสรมิ แรงอยา่ ง เหมาะสม 2) สอนสิ่งท่ีจ�ำเป็นพื้นฐานก่อน เพื่อน�ำไปสู่การเรียนรู้ในขั้นที่สูงต่อไป เน่ืองจากพบว่าการ เรียนรหู้ ลายอย่างนั้น ผู้เรยี นไม่สามารถประสบความสำ� เรจ็ เพราะขาดทักษะหรือความสามารถพ้ืนฐาน 3) ให้ผู้เรียนแตล่ ะคนเรียนรตู้ ามอัตราความสามารถของตนเอง เน่อื งจากผู้เรยี นแต่ละคนมคี วาม มสธสามารถไมเ่ ทา่ กนั 4) จัดเน้ือหาให้ผ้เู รยี นได้เรียนไปตามขั้นตอนและศักยภาพของตน สรุปได้ว่า แนวคิดที่ส�ำคัญจากทฤษฎีด้านพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เช่น ทฤษฎีจิตสังคมของ Erikson แสดงให้เห็นวา่ บุคลิกภาพของเดก็ จะพฒั นาไปในทางบวกหรอื ทางลบ ขึน้ อยูก่ ับการตอบสนอง มสธ มสธจากสภาพแวดลอ้ มรอบตัวตามขน้ั พัฒนาการในแต่ละวยั ทฤษฎวี ฒั นธรรมทางสังคมของ Vygotsky ให้ ความส�ำคัญกับการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมในสังคมของเด็ก ท�ำให้เด็กเรียนรู้การใช้ภาษา กฎกติกา วฒั นธรรมและประเพณที แ่ี ตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะสงั คม ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของ Piaget เชอื่ วา่ เดก็ เกดิ มาพร้อมวฒุ ิภาวะซง่ึ จะพัฒนาขึน้ ตามระดับอายุ ประสบการณท์ ่ไี ดร้ ับ และคา่ นยิ มที่ถ่ายทอดจาก สังคม สำ� หรบั แนวคดิ ที่ส�ำคัญจากทฤษฎีด้านการเรียนรไู้ ด้อธบิ ายถึงองคป์ ระกอบต่างๆ ตลอดจนเง่ือนไข ทท่ี ำ� ให้เด็กเรียนรอู้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ เช่น ทฤษฎีการเรียนรูข้ อง Thorndike เดก็ จะเรียนรูไ้ ด้ต้องอาศยั มสธความพรอ้ มทางรา่ งกายและจติ ใจ การกระทำ� ซำ�้ จะชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรไู้ ดด้ ี และการตอบสนองจะมมี ากขน้ึ ถา้ เดก็ ไดร้ บั ผลทพ่ี งึ พอใจ สว่ นทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู อง Skinner พฤตกิ รรมหรอื การตอบสนองจะข้นึ อยู่กับ การเสริมแรง ดังน้ัน การน�ำแนวคิดจากทฤษฎีพัฒนาการและการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการศึกษา จึงต้องค�ำนงึ ถงึ สภาพแวดล้อมทางสงั คม ปฏิสมั พนั ธก์ บั สงิ่ แวดล้อมของเด็ก พัฒนาการและความสามารถ ของเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั รวมทง้ั ตอ้ งจดั สง่ิ เรา้ กระตนุ้ ความสนใจเดก็ เพอื่ ใหเ้ กดิ การตอบสนองและใชก้ ารเสรมิ แรง มสธ มสธทเี่หมาะสมกับเด็ก กิจกรรม 1.2.2 ใหน้ กั ศกึ ษายกตวั อยา่ งทฤษฎดี า้ นพฒั นาการและทฤษฎดี า้ นการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั มาดา้ นละ มสธ1 ทฤษฎี พร้อมทั้งอธิบายแนวคิดของทฤษฎมี าพอสังเขป

แนวคดิ เก่ียวกบั การจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั 1-35 แนวตอบกิจกรรม 1.2.2 มสธนักศึกษาสามารถยกตัวอย่างทฤษฎีด้านพัฒนาการ เช่น ทฤษฎีของ Erikson และทฤษฎีด้าน การเรยี นรู้ เช่น ทฤษฎขี อง Thorndike แล้วอธบิ ายแนวคดิ ของทฤษฎดี ังกลา่ ว เชน่ ทฤษฎีของ Erikson มีแนวคิดว่าบุคลิกภาพของเด็กจะพัฒนาไปในทางบวกหรือทางลบ ข้ึนอยู่ กบั ความเหมาะสมของการตอบสนองจากสภาพแวดลอ้ มรอบตวั ตลอดชว่ งชวี ติ ของมนษุ ยจ์ งึ แบง่ การพฒั นา มสธ มสธทางจิตสังคมออกเป็นขั้นๆ ในแต่ละข้ันจะมีปมขัดแย้ง ซ่ึงเป็นวิกฤตที่แต่ละบุคคลต้องประสบ วิกฤต ขัดแยง้ น้ีจะแตกต่างกนั ไปตามขนั้ ของการพัฒนา ส่วนทฤษฎีของ Thorndike มีแนวคิดในการวางเงื่อนไขต่อผู้เรียน เม่ือมีการตอบสนองเกิดข้ึน การตอบสนองจะมาเช่ือมต่อกับส่ิงเร้า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เมื่อเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนองโดยใชก้ ารลองผิดลองถูกในขั้นต้น มสธเรื่องที่ 1.2.3 มสธ มสธแนวคิดจากองค์ความรู้ที่เก่ียวข้อง การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้เป็นพลเมอื งทส่ี มบูรณม์ คี ณุ ภาพ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูตอ้ งใสใ่ จ ให้ เวลา และก้าวให้ทันกับความเปล่ียนแปลงของโลก ทั้งน้ี องค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาและ หลักสูตรสำ� หรับเดก็ ปฐมวยั นน้ั มหี ลากหลายท่จี ะชว่ ยใหพ้ ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครเู กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ มสธในตัวเด็ก และเชื่อมโยงไปสู่การจัดการศึกษาและหลักสูตรท่ีสถานพัฒนาเด็กหรือสถานศึกษาต้องจัดให้ เหมาะกับเด็กปฐมวัย ส�ำหรับเร่ืองนี้จะน�ำเสนอแนวคิดจากองค์ความรู้ส�ำคัญท่ีส่งผลต่อการจัดการศึกษา ปฐมวยั ไดแ้ ก่ องคค์ วามรู้เก่ียวกบั สมอง และองคค์ วามรเู้ กี่ยวกับการเลน่ องค์ความรู้เกี่ยวกับสมอง มสธ มสธความรู้เกี่ยวกับสมองเกิดจากการค้นคว้าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ด้านประสาทวิทยาและด้าน แพทยศาสตร์ ซง่ึ ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งทางสมองในหลายดา้ น และมกี ารนำ� ความรทู้ ค่ี น้ พบเกย่ี วกบั สมองไปประยกุ ต์ ใชใ้ นการจดั การศกึ ษาแตล่ ะระดบั อยา่ งหลากหลาย ทงั้ น้ี ความรเู้ กย่ี วกบั สมองทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั การ ศึกษาและการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัยมีจ�ำนวนมากท่ีควรน�ำมากล่าว เช่น (อารี สัณหฉวี, 2550) 1. สมองเจรญิ เตบิ โตตลอดเวลาทม่ี กี ารเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ และเดก็ ทกุ คนสามารถเรยี นรไู้ ด้ มสธหากได้อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเรียนรู้ โดยนักประสาทวิทยาได้ทดลองกับหนูสองกลุ่ม

1-36 การจัดการศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรับเด็กปฐมวยั กลมุ่ หนง่ึ ใหอ้ ยใู่ นกรงใหญ่ มอี ปุ กรณข์ องเลน่ และใหห้ นอู ยดู่ ว้ ยกนั เปน็ กลมุ่ 12 ตวั อกี กลมุ่ มี 12 ตวั เชน่ กนั มสธแต่ใหแ้ ยกอย่กู รงละตวั ในกรงเล็กๆ ไม่มอี ุปกรณ์ของเล่น (การที่นกั ประสาทวิทยาตอ้ งทดลองศกึ ษาเรอื่ ง สมองจากสัตว์ เช่น หนู แมว สุนัข ลิง เพราะสัตว์เหล่านี้มีเซลล์สมองคล้ายของมนุษย์มาก การทดลอง บางอยา่ งไมส่ ามารถทดลองกบั มนษุ ยไ์ ด)้ ผทู้ ดลองไดเ้ ลย้ี งดหู นสู องกลมุ่ ชว่ งเวลาหนง่ึ เมอื่ หนโู ตพอสมควร ได้น�ำหนูสองกลุ่มไปทดลองความสามารถ ปรากฏว่ากลุ่มแรกฉลาดสามารถแก้ปัญหาในการวิ่งหาทางได้ มสธ มสธและเม่ือมีการศึกษาสมองของหนูกลุ่มนี้จะมีใยประสาทมากกว่าและหนากว่าหนูกลุ่มท่ีสอง ซึ่งเมื่อทดลอง จะเชอื่ งชา้ ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาได้ ผลการทดลองนแี้ ละการทดลองซำ�้ ทมี่ หาวทิ ยาลยั อนื่ ทำ� ใหน้ กั ประสาท วทิ ยามีความเชื่อวา่ การให้ประสบการณ์และสรา้ งส่ิงแวดลอ้ มที่เหมาะสมจะชว่ ยพัฒนาสมองได้ 2. การจะให้สมองพัฒนาขึ้น ตอ้ งให้เดก็ ลงมอื ทำ� กจิ กรรม การมองดูเฉยๆ ไมท่ ำ� ให้สมองพัฒนา ความรู้น้ีได้จากนกั ประสาทวิทยา ทดลองให้หนตู า่ งวยั ได้อยู่ในกรงท่มี อี ปุ กรณเ์ ครือ่ งเล่น ปรากฏวา่ หนแู ก่ จะเล่นของเล่น ไม่ยอมใหห้ นเู ด็กเลน่ หนเู ด็กจงึ ไดแ้ ตด่ ูหนแู ก่เล่น เมอื่ น�ำสมองของหนทู ั้งสองวัยมาศึกษา มสธปรากฏวา่ สมองของหนแู กม่ ใี ยประสาทเพม่ิ ขนึ้ และหนกั ขน้ึ ในขณะทสี่ มองของหนเู ดก็ ไมเ่ พม่ิ ผลการทดลอง นที้ ำ� ใหส้ รปุ วา่ สมองจะพฒั นาขนึ้ ถา้ ไดล้ งมอื ทำ� กจิ กรรมดว้ ยตนเอง เพราะฉะนน้ั การเปน็ ผดู้ ู เชน่ ดโู ทรทศั น์ ดกู ารแสดง กจ็ ะไดแ้ ต่ความบนั เทิงแตไ่ ม่ชว่ ยใหส้ มองเตบิ โต 3. สมองท�ำงานเต็มที่เม่ือเด็กมีความสนใจ อยากรู้ อยากเรียน ความรู้ที่ให้จะต้องสอดคล้อง เหมาะสม ถกู ตอ้ ง ไมเ่ กนิ พลงั การเรยี นรขู้ องสมองเดก็ ซงึ่ ประเสรฐิ บญุ เกดิ และคณะ (2556) ระบวุ า่ การ มสธ มสธเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการดา้ นโครงสรา้ งและการทำ� งานของสมองนนั้ ตอ้ งใหเ้ ดก็ รเิ รม่ิ ลงมอื เลน่ หรอื กระทำ� ด้วยตนเอง จากประสบการณต์ รง จากของจริงไปส่สู ญั ลักษณ์ เชน่ เข้าใจ “จำ� นวน” ของคน สตั ว์ สงิ่ ของ อยา่ งชัดเจนจากของจรงิ กอ่ นทจี่ ะใหเ้ รยี นรสู้ ญั ลกั ษณค์ ณิตศาสตรท์ ี่เปน็ ตวั เลข ...1 2 3 ... เปน็ ตน้ เดก็ จงึ จะเรยี นรดู้ ว้ ยความเขา้ ใจมากกวา่ ความจำ� และผลทเี่ กดิ ขน้ึ คอื เดก็ ไดอ้ งคค์ วามรทู้ ถี่ กู ตอ้ ง เหมาะสม พรอ้ มกับความสขุ ความสนกุ ความสนใจ ความใฝร่ ู้ 4. การท�ำงานของสมองสัมพันธ์กับการเคล่ือนไหวร่างกาย โดยท่ีการเคล่ือนไหวหรือการ มสธออกก�ำลังกายจะช่วยท�ำให้จิตใจของเด็กผ่อนคลาย เป็นการเพ่ิมพลังงานโดยการเพ่ิมปริมาณออกซิเจน ชว่ ยสรา้ งสารเคมที เ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้ ประสานการทำ� งานของรา่ งกายและสมอง ดงั นน้ั การรกั ษา สภาวะให้สมองพร้อมสมบูรณ์โดยใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหวหรือออกก�ำลังกายอย่างเหมาะสม สม่�ำเสมอ ในชว่ งเวลาทเี่ หมาะจะชว่ ยผอ่ นคลายปลดปลอ่ ยความเครยี ดของเดก็ นอกจากนน้ั การเคลอื่ นไหวบางอยา่ ง เช่น การเคล่ือนไหวบริหารสมองที่เรียกว่า Brain Gym เป็นโปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อช่วย มสธ มสธพัฒนาการเรียนรู้ในทุกๆ ด้าน โดยมีแบบแผนการเคล่ือนไหว สามารถสร้างสมดุลของร่างกายและสมอง ก่อให้เกิดผลดีต่อเด็ก เชน่ ทำ� ให้เดก็ มีสมาธมิ ากขึน้ ลดความเครียดจากการเรียน เปน็ ต้น 5. การรวบรวมผลวจิ ยั ทางดา้ นสมองจากตา่ งประเทศของศนู ยว์ จิ ยั ประสาทวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ชีววทิ ยาศาสตรโ์ มเลกุล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พบว่า เดก็ ทีม่ ี EF (Executive Functions) หรือ “การคิด เชิงบรหิ าร” ดี จะมคี วามพร้อมทางการเรยี นมากกว่าเดก็ ที่ EF ไมด่ ี Executive Functions หรอื การ คิดเชิงบรหิ าร คือ การท�ำงานระดับสงู ของสมองทีค่ วบคมุ ความคดิ การตดั สนิ ใจและการกระท�ำ จนส่งผล มสธใหเ้ รม่ิ ลงมอื ทำ� ตามแผนงานทวี่ างไวแ้ ละมงุ่ มน่ั ทำ� จนงานนนั้ สำ� เรจ็ ตามเปา้ หมาย ทง้ั นี้ ทกั ษะสำ� คญั ทเี่ ปน็

แนวคิดเกีย่ วกบั การจัดการศึกษาและหลกั สตู รสำ� หรับเดก็ ปฐมวยั 1-37 องค์ประกอบหลักของ EF คือ ความจ�ำขณะท�ำงาน (working memory) การยับยั้งความคิดและ มสธพฤติกรรม (inhibitory control) การควบคุมอารมณ์ (emotional control) การเปล่ียนความคิดเมื่อ เงอื่ นไขเปลี่ยนไป/ความยืดหยุน่ ทางความคิด (shift/cognitive flexibility) ทักษะเหลา่ นมี้ ีความสำ� คัญ สำ� หรบั บคุ คลในการทำ� สง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ บคุ คลทม่ี ที กั ษะในการคดิ เชงิ บรหิ ารทดี่ จี ะประสบ ความสำ� เรจ็ ทัง้ ในดา้ นการเรยี น การท�ำงาน และการอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืน โดยช่วงวยั 3-6 ปี เป็นชว่ งเวลาทด่ี ี มสธ มสธท่ีสุดในการพัฒนาทักษะ EF ด้านต่างๆ ให้กับเด็ก เพราะเป็นช่วงที่สมองส่วนหน้าพัฒนา มากที่สุด (นวลจนั ทร์ จฑุ าภกั ดกี ุล, 2559, น. 18-26) ตวั อยา่ งองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั สมองดงั กลา่ ว ชว่ ยใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครอง และครเู กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ว่าสมองเกิดการเรียนรู้เม่ือมีประสบการณ์และส่ิงแวดล้อมท่ีใหม่ โดยสมองเจริญเติบโตตลอดเวลาท่ีมีการ เรียนรู้จากประสบการณ์ การท่ีจะให้สมองพัฒนาข้ึน เด็กต้องลงมือท�ำกิจกรรมด้วยตนเอง ได้เคล่ือนไหว ออกกำ� ลงั กายอยา่ งเหมาะสม และช่วงวยั 3-6 ปี คือช่วงเวลาท่ดี ีทสี่ ุดส�ำหรบั การพฒั นาทักษะ EF ด้าน มสธต่างๆ องค์ความรู้เก่ียวกับการเล่น เด็กทุกคนต้องการเล่น การเล่นเป็นส่วนส�ำคัญในชีวิตของเด็ก เป็นพฤติกรรมท่ีเด่นชัดและเป็น ธรรมชาติที่เป็นสากลของเด็กทุกชาติ ทุกภาษา ซ่ึงนักการศึกษา นักจิตวิทยา และนักทฤษฎีพัฒนาการ มสธ มสธตา่ งใหค้ วามส�ำคญั กบั การเลน่ ของเดก็ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัยด้านการเลน่ ของบุคคลดังกล่าว ทำ� ใหไ้ ด้ ความรู้เก่ียวกับการเล่นที่เป็นประโยชน์ต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู ทั้งนี้ ความรู้เกี่ยวกับการเล่นท่ีควร น�ำมากลา่ ว เชน่ (Nell and Drew with Bush, 2013, pp. 11-22, 108) 1. การเล่น คือ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย การเล่นของเดก็ ในแต่ละชว่ งวยั มีรปู แบบและวธิ ีการ เลน่ ทแี่ ตกตา่ งกนั และการเลน่ กบั ของเลน่ ทมี่ ลี กั ษณะแตกตา่ งกนั สง่ ผลใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการและการเรยี นรทู้ ่ี แตกตา่ งกนั ออกไปดว้ ย เชน่ การเลน่ กอ่ สรา้ งดว้ ยไมบ้ ลอ็ กชว่ ยใหเ้ ดก็ พฒั นาสตปิ ญั ญา ความคดิ สรา้ งสรรค์ มสธการเลน่ สมมติในมุมบ้านชว่ ยให้เด็กพัฒนาภาษาและเรียนรู้บทบาทของบคุ คลต่างๆ ทีแ่ วดลอ้ ม 2. การเล่นเป็นการระบายพลังงานที่เหลือใช้ของเด็ก ท�ำให้เด็กมีความสุข อารมณ์ดี รู้สึก สนุกสนานเพลิดเพลิน ท้ังยังช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ส่ิงต่างๆ ที่อยู่รอบตัว ได้เข้าใจส่ิงแวดล้อม เรียนรู้ท่ีจะ ปรับตวั และชว่ ยเสรมิ สร้างพัฒนาการด้านตา่ งๆ ของเด็ก 3. การเล่นท�ำให้เห็นชีวิตภายในตัวตนของเด็ก Froebel นกั การศกึ ษาชาวเยอรมนั ซง่ึ เปน็ บดิ า มสธ มสธของการอนบุ าลศกึ ษา กระตนุ้ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครใู หเ้ ลน่ กบั เดก็ ดว้ ยเพราะการเลน่ เปน็ การสรา้ งความ ผูกพันระหว่างกันและกัน ท�ำให้ครูเรียนรู้จากเด็กและสามารถค้นพบว่าจะสอนอะไรให้กับเด็กและจะสอน เด็กอย่างไรอกี ดว้ ย 4. การเล่นเป็นทางออกให้เด็กแสดงความรู้สึกต่างๆ ออกมา Freud นักจติ วิทยามองการเลน่ ใน แงข่ องพฤติกรรม การเลน่ เกดิ จากการท่เี ด็กต้องการความพงึ พอใจ ซึ่งการทเ่ี ดก็ จะบรรลถุ งึ ความพงึ พอใจ มสธได้นั้นจะต้องสนองด้วยการเล่น และเมื่อเด็กเผชิญกับสถานการณ์ท่ียากเกินควบคุม เด็กจะสร้างเรื่องราว

1-38 การจัดการศกึ ษาและหลักสตู รส�ำหรบั เด็กปฐมวยั สมมตขิ น้ึ โดยการเลน่ ทใ่ี ชจ้ นิ ตนาการ ความคดิ ฝนั และเลน่ ซำ�้ ๆ หลายครง้ั การเลน่ จงึ เปน็ การเกบ็ รวบรวม มสธกระบวนการทตี่ ้องเผชิญกบั ความคับข้องใจ ความกังวล ความผิดหวงั ที่เกดิ ขึ้นในชวี ิตประจ�ำวัน 5. การเล่นเป็นกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญา ซึ่งกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญาและ ลกั ษณะของการเล่นน้นั จะเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั ท้ังน้ี Piaget นกั ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ัญญามอง การเลน่ ของเดก็ วา่ เรม่ิ จากการเลน่ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั หรอื การเลน่ ซำ้� ๆ (sensorimotor play or practice มสธ มสธplay) เดก็ จะมพี ฤตกิ รรมในลกั ษณะทเี่ ปน็ การสำ� รวจ จบั ตอ้ งวตั ถุ เปน็ การฝกึ เลน่ และพฒั นาการเลน่ ควบคู่ ไปกับการพัฒนาสติปัญญา การเล่นแบบนี้จะยุติลงเม่ือเด็กอายุประมาณ 2 ขวบ ต่อมาเด็กจะเล่นโดยใช้ สัญลกั ษณ์ (symbolic play) เปน็ การเล่นที่เดก็ ใช้ส่งิ ของสิ่งหนึ่งแทนสง่ิ ของอกี ส่ิงหนงึ่ จะเกดิ ขึ้นในช่วง ทเี่ ดก็ มอี ายไุ ดป้ ระมาณ 3-4 ขวบ และเดก็ จะเลน่ โดยใชส้ ญั ลกั ษณน์ ไ้ี ดก้ ต็ อ่ เมอื่ สตปิ ญั ญาของเดก็ ไดพ้ ฒั นา อย่างเป็นระบบระเบียบแล้ว โดยท่ีเด็กจะสามารถใช้สัญลักษณ์และอ้างถึงวัตถุท่ีไม่มีอยู่ในขณะนั้นได้ด้วย การใชภ้ าษาและทา่ ทางในการแสดงออกถงึ ความคดิ นนั้ ๆ และการเลน่ โดยใชส้ ญั ลกั ษณก์ ค็ อื แบบของการ มสธพดู เป็นการนำ� เดก็ ไปสกู่ ารพฒั นาของภาษาเขยี นโดยตรง 6. เด็กท่ีมีโอกาสได้เล่น จะมีความสุขและร่าเริง มีทักษะในการเรียนดี เนื่องจากลักษณะ การเล่นของเด็กปฐมวัย ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ทางสติปัญญาและสังคม อีกทั้งช่วยพัฒนาร่างกาย อารมณ์จิตใจของเดก็ ซง่ึ ลกั ษณะการเล่นของเดก็ ปฐมวัยแบง่ ออกเป็น 3 หมวด คือ (Lloyd and Howe, 2003, อา้ งถงึ ใน ศศิลกั ษณ์ ขยนั กิจ และบุษบง ตันติวงศ์, 2559, น. 190-191) มสธ มสธ6.1 หมวดการเล่นเชิงสติปัญญา (cognitive play) ได้แก่ 1) การเล่นตามหน้าที่ (functional play) เป็นการเล่นท่ีเด็กแสดงออกอย่างเรียบ ง่าย เคลอ่ื นไหวซำ้� ๆ กบั วตั ถหุ รือไมม่ วี ัตถกุ ไ็ ด้ 2) การเล่นสร้าง (constructive play) เป็นการเล่นที่เด็กจัดกระท�ำกับวัตถุโดยมี จุดประสงคใ์ นการสร้างบางสง่ิ บางอยา่ ง 3) การเลน่ บทบาทสมมติ (dramatic play) เปน็ การเล่นท่ีเดก็ มีส่วนรว่ มในการสวม มสธบทบาทหรอื สมมตวิ ัตถุเป็นสิง่ อ่นื หรอื สมมตสิ ถานการณอ์ น่ื ขน้ึ มา 4) การเลน่ ท่ีมกี ฎกตกิ ากำ� กับ (games-with-rules) เปน็ การเล่นเกมทม่ี ีกฎกตกิ า 6.2 หมวดการเล่นเชิงสังคม (social play) ไดแ้ ก่ 1) การเลน่ คนเดียว (solitary play) เปน็ การเล่นตามลำ� พงั กบั วัตถุสิง่ ของ โดยของ ทีเ่ ลน่ แตกต่างจากทเ่ี ดก็ อื่นเลน่ และไม่มกี ารสือ่ สารกบั ใคร มสธ มสธ2) การเลน่ คูข่ นาน (parallel play) เปน็ การเลน่ เฉพาะของตนเองท่ามกลางเด็กอ่ืน โดยใชข้ องเลน่ เหมอื นกนั หรอื คลา้ ยกนั แมใ้ หค้ วามสนใจคนอน่ื แตไ่ มม่ กี ารแบง่ ปนั หรอื ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง กัน 3) การเล่นเป็นกลุ่ม (group play) เป็นการเล่นกับคนอื่นโดยมีเป้าหมายหรือ มสธจุดประสงคเ์ ดยี วกนั ในการเลน่

แนวคิดเกีย่ วกับการจดั การศกึ ษาและหลกั สตู รส�ำหรับเดก็ ปฐมวัย 1-39 6.3 หมวดท่ีไม่ใช่การเล่น (non-play) ได้แก่ มสธ1) การเล่นต่อสู้ (rough and tumble) เด็กมีส่วนร่วมกับการมีปฏิสัมพันธ์ทาง ร่างกายอย่างสนกุ สนานกับเด็กอีกคนหนงึ่ แกลง้ ท�ำเปน็ ตอ่ สู้ หรือมพี ฤติกรรมไล่ปล้�ำต่อสู้กนั 2) การเป็นผู้ชม (onlooker) เด็กมองเดก็ อน่ื เลน่ แตไ่ มม่ สี ่วนรว่ ม 3) การอยู่เฉยๆ (unoccupied) เด็กไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเล่นใดๆ หรือมี มสธ มสธเจตนาสงั เกตการเล่นของเดก็ อืน่ 4) การมสี ว่ นรว่ มกบั รอยเชอ่ื มตอ่ กจิ กรรม (transition) เดก็ อยใู่ นชว่ งเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง กิจกรรม การเก็บของท�ำความสะอาด หรือเตรียมของส�ำหรับกิจกรรมต่อไป หรือเคลื่อนตัวจากกิจกรรม หนง่ึ ไปอีกกิจกรรมหน่ึง 5) การส�ำรวจ (exploratory) เด็กส�ำรวจสิ่งของ สถานการณ์หรือเหตุการณ์โดยมี จุดประสงคเ์ พ่ือรับข้อมลู มสธ6) การอา่ น (reading) เด็กอา่ นหนงั สือหรือเปิดดหู นังสอื 7) การสนทนา (conversation) เดก็ มสี ว่ นรว่ มในการสอื่ สารดว้ ยคำ� พดู กบั เดก็ ดว้ ยกนั หรือกับผใู้ หญ่ 8) การเดนิ ไปทว่ั ๆ (wandering) เดก็ เดินไปทั่วๆ หอ้ งอยา่ งไม่มีจดุ หมาย สรุปได้วา่ การเล่นคือ การเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัย เปน็ การระบายพลงั งานทีเ่ หลอื มาใชใ้ นการเล่น มสธ มสธหรือเพื่อสนองความต้องการท่ีจะผ่อนคลาย หรือเป็นทางออกให้เด็กแสดงความรู้สึกต่างๆ ออกมา หรือ เป็นกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญา การเล่นของเด็กปฐมวัยจึงเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการพัฒนาเด็ก ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม สตปิ ัญญา ภาษาและการรหู้ นังสือ ทั้งนี้ ลักษณะการเลน่ ของเด็ก ปฐมวัยแบ่งออกเป็น 3 หมวด ไดแ้ ก่ หมวดการเลน่ เชิงสตปิ ญั ญา เชน่ การเลน่ ตามหนา้ ที่ การเลน่ สรา้ ง หมวดการเล่นเชิงสังคม เช่น การเล่นคนเดียว การเล่นคู่ขนาน และหมวดที่ไม่ใช่การเล่น เช่น การเป็น ผชู้ ม การเดนิ ไปทั่วๆ เป็นต้น ลกั ษณะการเลน่ ดังกลา่ วช่วยให้พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครเู ขา้ ใจการเลน่ ของ มสธเด็กย่ิงขึ้น และสามารถใช้การเล่นเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ปฐมวัย ซ่ึงการจัดการศึกษาและหลักสูตรท่ีเหมาะส�ำหรับเด็กปฐมวัยจะยึดการเล่นเพ่ือพัฒนาเด็กท้ังด้าน รา่ งกาย อารมณ-์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา โดยจดั กจิ กรรมผา่ นการเลน่ ทเี่ หมาะสมกบั วยั ความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คล และบรบิ ทของสงั คมและวฒั นธรรม ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นการเลน่ ทหี่ ลากหลายทงั้ รายบคุ คล กลุ่มย่อย และกลมุ่ ใหญ่ เดก็ ได้เล่นทง้ั ในรม่ และกลางแจ้ง รวมท้ังการเลน่ ท่ีเด็กรเิ ริม่ และครรู เิ รมิ่ มสธ มสธ กิจกรรม 1.2.3 ให้นักศึกษายกตัวอย่างองค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยมา 1 ตัวอย่าง และ มสธอธิบายมาพอสงั เขป

1-40 การจัดการศกึ ษาและหลักสตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย แนวตอบกิจกรรม 1.2.3 มสธนกั ศกึ ษาสามารถยกตัวอยา่ งองค์ความรู้ทเี่ ก่ยี วข้อง เชน่ องค์ความรเู้ กย่ี วกับสมองว่าสมองเจริญ เติบโตตลอดเวลาท่ีมีการเรียนรู้จากประสบการณ์ การที่จะให้สมองพัฒนาเด็กต้องลงมือท�ำกิจกรรมด้วย ตนเอง และช่วงวัย 3-6 ขวบ เป็นช่วงท่ีสมองส่วนหน้าพัฒนามากที่สุด จึงเป็นช่วงเวลาส�ำหรับการ พฒั นาการคดิ เชงิ บรหิ าร หรอื EF ดา้ นตา่ งๆ ใหก้ บั เดก็ เชน่ ความจำ� ขณะทำ� งาน การยบั ยง้ั ความคดิ และ มสธ มสธพฤตกิ รรม การควบคุมอารมณ์ ซ่งึ ทกั ษะเหลา่ น้ีมคี วามสำ� คญั สำ� หรบั เด็กในการท�ำสิ่งใดส่ิงหนงึ่ ใหป้ ระสบ ความส�ำเรจ็ เด็กทม่ี ีทกั ษะในการคิดเชงิ บริหารจะประสบความสำ� เรจ็ ทง้ั ในด้านการเรียน การท�ำงาน และ มมสสธธ มมมสสสธธธ มมสสธธการอยรู่ว่มกับผู้อ่นื

แนวคิดเก่ียวกับการจดั การศกึ ษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เด็กปฐมวยั 1-41 ตอนที่ 1.3 มสธความเคลื่อนไหวในการจัดการศึกษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวัย โปรดอา่ นหัวเร่อื ง แนวคดิ และวตั ถุประสงคข์ องตอนท่ี 1.3 แล้วจึงศกึ ษารายละเอยี ดต่อไป มสธ มสธหัวเร่ือง 1.3.1 ความเคลื่อนไหวเกย่ี วกับการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย 1.3.2 ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับหลักสูตรปฐมวัยศึกษา 1.3.3 ความเคลอ่ื นไหวเกย่ี วกับการจัดประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย มสธแนวคิด 1. งานวิจัยทางด้านสมองท�ำให้เกิดความเคล่ือนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ที่ มงุ่ เนน้ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาภาษาและการรหู้ นงั สอื แรกเรม่ิ ใหก้ บั เดก็ ปฐมวยั รวม ท้ังพัฒนาอารมณ์ให้เด็กมองตนเองในทางบวก รับรู้อารมณ์ของตนเอง และความรู้สึก เห็นอกเห็นใจผู้อื่น มสธ มสธ2. ม ุมมองหน่ึงของความเคล่ือนไหวเกี่ยวกับหลักสูตรปฐมวัยศึกษาที่ส�ำคัญคือ การน�ำ หลักสูตรอื่นมาใช้เป็นทางเลือกในการจัดการศึกษาปฐมวัย หรือน�ำมาบูรณาการกับ หลกั สูตรปฐมวัยศึกษาปกตใิ นสถานศึกษาหรอื สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย 3. ก ารจัดประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัยมีความหลากหลายและเคลื่อนไหวปรับเปล่ียน เนื่องจากผลการวิจัยเก่ียวกับสมองหรือสภาพปัญหาของเด็กปฐมวัย ประกอบกับ สถานการณข์ องโลกและสงั คมทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงในดา้ นเทคโนโลยอี ยา่ งรวดเรว็ ทำ� ให้ มสธเกดิ ผลกระทบตอ่ วธิ กี ารจดั ประสบการณเ์ พอ่ื พฒั นาใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ดำ� รงชวี ติ ในศตวรรษ ใหมไ่ ด้ วัตถุประสงค์ เมอื่ ศกึ ษาตอนที่ 1.3 จบแล้ว นกั ศึกษาสามารถ มสธ มสธ1. อธิบายและยกตัวอย่างความเคลือ่ นไหวเกีย่ วกบั การพัฒนาเด็กปฐมวยั ได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างความเคลื่อนไหวเกยี่ วกับหลกั สตู รปฐมวยั ศึกษาได้ มสธ3. อ ธบิ ายและยกตวั อยา่ งความเคลอื่ นไหวเกย่ี วกบั การจดั ประสบการณส์ ำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ได้

1-42 การจดั การศึกษาและหลักสตู รสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย เรื่องท่ี 1.3.1 มสธความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย การพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นงานที่ท้าทายส�ำหรับการจัดการศึกษาปฐมวัย เน่ืองจากเป็นงานที่ มสธ มสธเกยี่ วกบั คณุ ภาพของคนหรอื คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั และนโยบายการจดั การศกึ ษาในประเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก ต่างให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเด็กในช่วงปฐมวัย และถือว่าการพัฒนาเด็กปฐมวัยไม่ใช่เร่ืองของคนใด คนหนงึ่ หรอื หนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหนง่ึ เทา่ นน้ั แตเ่ ปน็ เรอื่ งทที่ กุ คนในสงั คมจะตอ้ งรว่ มมอื กนั ชว่ ยพฒั นา เด็กปฐมวัยให้เติบโตข้ึนเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพในประเทศของตน ทั้งน้ี จุดเปลี่ยนส�ำคัญท่ีกระตุ้นให้ ทุกคนสนใจการพัฒนาเด็กปฐมวัยย่ิงขึ้นคือ ผลการวิจัยเก่ียวกับสมองโดยเฉพาะเรื่องการเรียนรู้ที่ระบุว่า สมองของมนุษย์เรียนรู้ต้ังแต่คลอดจนกระท่ังตาย หรือที่พูดว่าเรียนรู้ตลอดชีวิต (เกษม วัฒนชัย, 2548) มสธสมองจะเปล่ียนแปลงและปรับตัวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวบนฐานของต้นทุนทางพันธุกรรมของ มนุษย์ แตพ่ ฒั นาการของสมองมคี วามยดื หยนุ่ มาก เนอื่ งจากองคป์ ระกอบในสมองมมี ากมายหลายระบบท่ี แตกตา่ งกนั แต่ละระบบจะมีพัฒนาการแตกต่างกันไป ตามสภาพการท�ำหน้าท่ีตลอดช่วงชีวิตของมนุษย์ และชว่ งเวลาทส่ี ำ� คญั มากทถี่ อื เปน็ การวางรากฐานใหก้ บั สมองของเดก็ คอื ชว่ ง 6 ปแี รกของชวี ติ ซง่ึ เหมอื น มสธ มสธกบั การปลกู บา้ นทต่ี อ้ งวางเสาเขม็ ใหด้ ี เดก็ กจ็ ะเตบิ โตเปน็ เดก็ ทมี่ ศี กั ยภาพสงู ชว่ งหกปแี รกของชวี ติ จงึ เปน็ ชว่ งเวลาทสี่ มองของเดก็ จะเรยี นรฝู้ กึ ฝนทงั้ ดา้ นกลา้ มเนอ้ื ภาษา สตปิ ญั ญา การรบั รู้ และพฤตกิ รรมพน้ื ฐาน ต่างๆ หลังจากนั้นก็จะเป็นการกล่อมเกลาปรับให้ดีขึ้น ช�ำนาญการข้ึน การพัฒนาเด็กในช่วงปฐมวัยที่ สำ� คัญๆ ที่พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครตู ้องชว่ ยกนั กระตนุ้ คือ พัฒนาการทางภาษา สตปิ ัญญา พฒั นาการ ทางอารมณ์ โดยเฉพาะความเห็นอกเห็นใจ ฝกึ ให้เดก็ รับร้คู วามรู้สกึ ของคนอนื่ การทเี่ ดก็ สามารถสงั เกต และรับรูอ้ ารมณ์คนอนื่ เป็นกระบวนการทำ� งานในสมอง ซึ่งมสี ว่ นสำ� คัญยง่ิ ต่อการอยู่ร่วมกัน โดยเฉพาะใน มสธสงั คมมนุษย์ (จนั ทร์เพญ็ ชปู ระภาวรรณ, 2548) งานวิจัยของสมองจึงมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย และท�ำให้นักการศึกษาและบุคลากรที่ เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยน�ำแนวคิดเกี่ยวกับสมองไปใช้เป็นฐานในการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างกว้างขวาง หลายดา้ น ส�ำหรบั ในเร่อื งน้จี ะนำ� เสนอเฉพาะการพัฒนาเด็กปฐมวัย 2 ด้าน คือ 1) การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ด้านภาษาและการรูห้ นงั สอื และ 2) การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ดา้ นอารมณ์ ดังนี้ มสธ มสธการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านภาษาและการรู้หนังสือ งานวิจัยของสมองท�ำให้เกิดความรู้และความเข้าใจว่า การเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัยนั้นจะมี สมองสว่ นทร่ี บั ผดิ ชอบในเรอ่ื งของภาษาทพ่ี ดู ออกมา คอื สมองสว่ นทเี่ รยี กวา่ Broca’s Area ซงึ่ อยทู่ สี่ มอง ส่วนหนา้ ด้านซ้าย และสมองสว่ นเดียวกันน้จี ะทำ� หนา้ ทเี่ ม่อื พูดภาษาทห่ี นึ่งหรือภาษาท่ีสอง ทั้งนี้ การพูด ของมนุษย์เราเกิดจากการท�ำงานของกลุ่มเซลล์ประสาทที่ติดต่อถึงกันเพ่ือสร้างค�ำพูดข้ึนมา จึงทำ� ให้เกิด มสธการเรียนรู้ภาษาข้ึน และการเรียนรู้ภาษาเป็นความสามารถอย่างหน่ึงของเด็ก เพราะสมองก�ำลังสร้าง

แนวคิดเก่ียวกับการจดั การศึกษาและหลกั สูตรส�ำหรบั เดก็ ปฐมวัย 1-43 เครือข่ายเส้นใยประสาทส�ำหรับการเรียนรู้ภาษา จึงท�ำให้เด็กเรียนรู้ภาษาได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่ นอกจากน้ี มสธความรู้เรื่องสมองมสี องซกี แต่ละซกี มสี ี่ส่วน แต่ละส่วนบรรลุวฒุ ิภาวะในเวลาที่ตา่ งกนั สารเคมีจะกระตุน้ การพัฒนาเป็นผลให้แต่ละส่วนของสมองมีช่วงโอกาสส�ำคัญของการพัฒนา ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าช่วง เวลาใดส�ำคัญส�ำหรบั การเรียนรแู้ ละควรพฒั นาส่งิ ใดในชวี ิต ทง้ั น้ชี ว่ งโอกาสแหง่ การเรยี นรู้ (windows of opportunity) ที่เกิดข้ึนในแต่ละช่วงวัย คือโอกาสทองส�ำหรับการวางพื้นฐานการเรียนรู้แต่ละเร่ืองท่ี มสธ มสธแตกต่างกนั ไป และจากการศึกษาสมองของเดก็ ท�ำใหม้ องเห็นช่วงวัยท่ีชดั เจนของการพัฒนาทกั ษะภาษา และการรหู้ นงั สอื ชว่ งเวลานจี้ ะอยใู่ นสบิ ปแี รกของชวี ติ คอื 1) การมองเหน็ และการไดย้ นิ (visual & audi- tory acuity) ระหว่างขวบปแี รกของชีวิต 2) ภาษา/คำ� ศพั ท์ (language/ vocabulary) ระหว่างอายุ 9 เดือน-4 ปี 3) ภาษาทส่ี อง (second language) ชว่ งอายุ 1-10 ปี 4) การอ่าน (reading) ช่วงอายุ 5-9 ปี และ 5) ทกั ษะกลา้ มเน้ือเล็ก (fine motor skills) ชว่ งอายุ 5-10 ปี อย่างไรกต็ ามสมองของมนษุ ย์ แต่ละคนยังแตกตา่ งกนั อกี ดว้ ย บางคนอาจถงึ ชว่ งโอกาสนเ้ี รว็ บางคนอาจถงึ ชา้ ตา่ งกนั ไป (Erlauer, 2003, pp. 86-92) มสธความเคล่ือนไหวในประเทศไทยเร่ืองการสอนภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษาไทยให้ กับเด็กปฐมวัย อาจมีผลเนื่องมาจากการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านสมองโดยเฉพาะช่วงโอกาสแห่งการ เรียนรู้ของภาษาและการรู้หนังสือ และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ท�ำให้ประเทศไทยเกิดการสอนภาษา อังกฤษหรือภาษาอืน่ ในสถานศกึ ษาทกุ ระดับ แม้แตร่ ะดบั ปฐมวัย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูต่างคาดหวงั มสธ มสธให้เด็กสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ตั้งแต่ระดับปฐมวัย และเกิดความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนระหว่างภาษา ที่สองกับภาษาต่างประเทศ ท้ังที่ภาษาที่สองกับภาษาต่างประเทศมีความหมายต่างกัน ภาษาที่สอง หมายถึง ภาษาอนื่ ทีไ่ ม่ใช่ภาษาแม่ แตเ่ ป็นภาษาหลักทใ่ี ช้สอื่ สารในสังคมทั่วไปในประเทศ เช่น เด็กไทย ทอ่ี าศยั อยใู่ นประเทศองั กฤษ จะเรยี นรภู้ าษาองั กฤษตลอดเวลา สามารถฝกึ ฝนทง้ั ในหอ้ งเรยี น นอกหอ้ งเรยี น และในสงั คมทใ่ี ชภ้ าษาองั กฤษในชวี ติ ประจำ� วนั สว่ นภาษาตา่ งประเทศ หมายถงึ ภาษาอนื่ ทไี่ มใ่ ชภ่ าษาแม่ และมใิ ชภ่ าษาทใี่ ชส้ อื่ สารกนั ในสงั คม เชน่ เดก็ ไทยในประเทศไทย เรยี นรภู้ าษาองั กฤษเฉพาะในหอ้ งเรยี น มสธแต่ไม่สามารถน�ำภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตจริงหรือในชีวิตประจ�ำวันภายในสังคมไทยท่ีตนอาศัยอยู่ เน่ืองจากประเทศไทยไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาอ่ืนในการสื่อสารยกเว้นภาษาไทยเท่าน้ัน จึงถือ เป็นการเรียนภาษาต่างประเทศ ดังน้ัน การเรียนการสอนหรือการจัดประสบการณ์ภาษาต่างประเทศที่ เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยไทยจึงมีความส�ำคัญยิ่ง แนวการสอนหรือการจัดประสบการณ์ทางภาษาต่าง ประเทศทเ่ี หมาะกบั เดก็ ปฐมวยั ควรน�ำมากลา่ ว เชน่ มสธ มสธ1. แนวภาษาแบบธรรมชาติ (natural approach) เป็นแนวการสอนภาษาที่ให้ความสำ� คัญกับ ทักษะการสื่อสาร เริ่มจากการฟังและการพูดก่อน เช่นเดียวกับการเรียนรู้ภาษาแม่ที่เด็กเรียนรู้อย่างเป็น ธรรมชาติ จากนัน้ จงึ พัฒนาการอา่ นและการเขยี น (Krashen & Terrell, 1983) 2. แนวการสอนพูดหรือการสอนภาษาโดยใช้สถานการณ์ (oral approach or situational language teaching) เน้นการฝกึ พดู และการใชภ้ าษาตามสถานการณ์ทก่ี �ำหนด เด็กจะเรียนร้คู ำ� ศัพทแ์ ละ โครงสรา้ งทางภาษาจากบทสนทนาในสถานการณ์ เปน็ การใหค้ วามส�ำคญั กบั การฟงั และการพดู สว่ นการ อ่านและเขียนจะสอนเมื่อเด็กมีความรู้พ้ืนฐานอย่างเพียงพอด้านค�ำศัพท์ โครงสร้างภาษา และไวยากรณ์ มสธ(Teaching English as a Foreign Language to Children, 2010)

1-44 การจัดการศกึ ษาและหลักสูตรส�ำหรับเด็กปฐมวยั การพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านภาษาและการรู้หนังสือนั้น พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูเป็นกลุ่มบุคคล มสธผมู้ บี ทบาทสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ ทกั ษะภาษาและการรหู้ นงั สอื แรกเรม่ิ ใหแ้ กเ่ ดก็ ปฐมวยั และวธิ กี ารทด่ี ที ส่ี ดุ ในการช่วยให้เด็กเรียนรู้ทักษะภาษาคือ การสอนท่ีเชื่อมโยงกับชีวิตประจ�ำวัน ส่งเสริมให้เด็กมีโอกาสพูด มีปฏสิ มั พันธก์ ับบคุ คลและส่งิ ตา่ งๆ ท่ีแวดล้อมและสื่อความหมายกับตัวเดก็ และจะเรยี นรู้ภาษาได้ดยี ิ่งข้ึน ตอ้ งใหเ้ ดก็ เรยี นรดู้ ว้ ยความพงึ พอใจและมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นรู้ ทงั้ นไ้ี ดม้ งี านวจิ ยั จำ� นวนมากทเี่ ปน็ ขอ้ มลู มสธ มสธที่มปี ระโยชน์ตอ่ การพัฒนาภาษาและการรู้หนงั สอื ในเด็กปฐมวยั สรปุ ไดด้ งั น้ี (Ranweiler, 2004, cited in Epstein, 2007, p. 24) 1. ภาษาและการรู้หนังสือน้ัน ถูกเชื่อมโยงตั้งแต่วัยทารกเป็นต้นมา การพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน พัฒนาไปพร้อมกันไม่ใช่เกดิ ข้นึ ตามล�ำดบั 2. เด็กเรยี นรูต้ า่ งกนั บางคนเกิดทักษะไดง้ า่ ยและรวดเร็ว บางคนต้องช่วยเหลือและใช้เวลา 3. การเรียนรู้ภาษาและการรู้หนังสือของเด็ก บางครั้งเกิดขึ้นโดยบังเอิญอย่างเป็นธรรมชาติ มสธระหว่างการเล่นและท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน และยังเกิดขึ้นได้ระหว่างการสอนอย่างเป็นทางการในห้องเรียน ดังน้ัน แม้เด็กจะสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง แต่เด็กก็ยังต้องการการสนับสนุนจากผู้ใหญ่เพื่อการพัฒนา ต่อไป 4. เดก็ ไดม้ าซง่ึ ทกั ษะภาษาและการรหู้ นงั สอื ขณะมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลตา่ งๆ เรยี นรทู้ จี่ ะพดู อา่ น และเขียนในสังคมท่ีอยู่ เด็กต้องการส่ือสารกับผู้ใหญ่และเพ่ือน ท้ังท่ีบ้าน ท่ีโรงเรียน และสถานที่คุ้นเคย มสธ มสธอน่ื ๆ 5. เดก็ เรยี นรไู้ ดด้ ีท่ีสดุ เม่ือการสอนเกี่ยวข้องและมีความหมายกบั ตน เมื่อใดกต็ ามที่เด็กสามารถ น�ำการเรียนรู้ภาษาและการรู้หนังสือไปใช้ประโยชน์ทุกวันและในกิจกรรมต่างๆ การเรียนรู้น้ันจะเป็นการ เรยี นรทู้ ี่แท้จรงิ ลึกและคงทน 6. การเรยี นรภู้ าษาและการรหู้ นงั สอื เกดิ ขน้ึ ผา่ นกจิ กรรมทเี่ ดก็ อาจเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ เชน่ การเลน่ บทบาท สมมติ การสำ� รวจสง่ิ พมิ พต์ า่ งๆ และการเขยี นทเี่ ดก็ คดิ ขนึ้ เอง ทง้ั ยงั เกดิ ขนึ้ จากการสอนอกี ดว้ ย เชน่ ขณะ มสธอ่านหนงั สือ ฝึกเขยี นจดหมาย รอ้ งเพลง หรอื แตง่ เพลงและคำ� คล้องจองทต่ี ้องเล่นสมั ผัสอกั ษรหรอื คำ� 7. ความแตกต่างของวัฒนธรรมและภาษาที่บ้านของเด็กแต่ละคน สามารถส่งผลต่อพัฒนาการ ทางภาษาและการรหู้ นงั สอื ของเดก็ ดงั นน้ั การสอนและการชว่ ยเหลอื ใดๆ ตอ้ งพจิ ารณาในความแตกตา่ งนี้ ดว้ ย สรุปได้ว่า ความเคลื่อนไหวในการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ส�ำคัญ เป็นจุดเปล่ียนท่ีท�ำให้บุคคลที่ มสธ มสธเกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาภาษาและการรหู้ นงั สอื ในเดก็ ปฐมวยั ยงิ่ ขน้ึ นน้ั เกิดจากงานวิจัยทางดา้ นสมองท่ีพบวา่ ชว่ งโอกาสสำ� คญั สูงสดุ ของการพัฒนาภาษาและการรหู้ นังสือ จะอยใู่ นชว่ งสบิ ปแี รกของชวี ติ ซง่ึ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครเู ปน็ บคุ คลทม่ี บี ทบาทสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ ทกั ษะ ภาษาและการรหู้ นงั สอื แรกเรม่ิ ใหแ้ กเ่ ดก็ ปฐมวยั ดว้ ยการสอนทต่ี อ้ งเชอื่ มโยงกบั ความสนใจและกจิ กรรมใน ชวี ติ ประจำ� วนั ของเดก็ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลและสงิ่ ตา่ งๆ ทแี่ วดลอ้ ม สอ่ื ความหมาย มสธกับตวั เดก็ และเด็กจะเรียนรู้ได้ดยี งิ่ ข้ึนถ้ามีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อการเรียนรู้

แนวคดิ เกยี่ วกบั การจัดการศกึ ษาและหลกั สูตรสำ� หรับเดก็ ปฐมวัย 1-45 การพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านอารมณ์ มสธการค้นพบเร่ืองการท�ำงานของสมองท�ำให้ทราบถึงความส�ำคัญของอารมณ์ว่าก่อนท่ีสมองจะ เรยี นรไู้ ด้ อารมณจ์ ะตอ้ งมลี กั ษณะเปน็ บวก (Given, 2000, อา้ งถงึ ใน อารี สณั หฉว,ี 2550, น. 63) เมอ่ื เกดิ อารมณจ์ ะมกี ารหลงั่ สารเคมใี นสมอง และมผี ลทางกายภาพตอ่ การเชอ่ื มตอ่ ของเซลลส์ มองและความสามารถ ในการเรยี นรู้ ดังนน้ั อารมณก์ บั การเรียนรจู้ งึ เก่ยี วพนั กนั การเรยี นรตู้ ้องอาศัยสภาพอารมณ์ทด่ี ี (พรพิไล มสธ มสธเลศิ วิชา และอคั รภมู ิ จารุภากร, 2550) นอกจากนี้ Bruce Perry จิตแพทยท์ ม่ี หาวทิ ยาลัย Baylor ในประเทศสหรฐั อเมริกา ไดท้ �ำการ วจิ ยั โดยถา่ ยภาพสมองของเดก็ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การเอาใจใส่ ถกู ละทง้ิ เปน็ เดก็ ทไ่ี มม่ พี ฒั นาการทางอารมณ์ พบ ว่าสมองส่วนท่ีดูแลเก่ียวกับอารมณ์ไม่เคยมีการพัฒนาอย่างถูกต้อง และมีขนาดเล็กกว่าปกติ ซ่ึง Perry กล่าววา่ เดก็ ทีไ่ มไ่ ด้รับการเล้ียงดูท่อี บอนุ่ ไมไ่ ด้ความรัก การเอาใจใส่ในระยะแรกของชีวติ จะท�ำให้ไม่มี เครือขา่ ยเสน้ ใยประสาทในสมองส่วนที่จะท�ำใหเ้ กิดพฒั นาการทางอารมณท์ ่ีดี และยงั ไดพ้ บอีกว่าเด็กทถ่ี กู มสธทำ� รา้ ยหรอื ไมไ่ ดร้ บั ความสนใจจากคนเลย้ี ง จะเกดิ ความเครยี ดทยี่ าวนานและเปน็ คนโกรธงา่ ยแมไ้ มม่ สี าเหตุ ทั้งน้ีความเครียดจะก่อให้เกิดฮอร์โมน Cortisol ซึ่งมีผลต่อภูมิคุ้มกันและสมอง เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่ อบอุน่ จะมฮี อรโ์ มนตวั น้ีนอ้ ย ทำ� ใหส้ ามารถควบคุมสถานการณไ์ ด้ เพราะถา้ ฮอรโ์ มน Cortisol สูงจะมผี ล ทำ� ลายเซลลป์ ระสาท และลดจำ� นวนเครอื ขา่ ยเสน้ ใยประสาทดว้ ย ขอ้ มลู การวจิ ยั ขา้ งตน้ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก Bonnie Klimes-Dougan นกั จิตวทิ ยาสถาบนั สขุ ภาพจติ ของสหรัฐอเมริกาท่ีท�ำการวิจัยและพบว่า มสธ มสธเดก็ อายุ 2-3 ขวบ ทถี่ กู ทำ� รา้ ย เมอ่ื โตขนึ้ กม็ กั เปน็ คนทช่ี อบทำ� รา้ ยคนอนื่ ทำ� ใหเ้ พอ่ื นรอ้ งไหเ้ สมอ ในขณะ ท่ี Alan Sroufe และคณะ จากมหาวทิ ยาลยั Minnesota พบวา่ เดก็ ทไี่ ดร้ บั การเลย้ี งดอู ยา่ งอบอนุ่ มกี าร ตอบสนองที่ถูกต้อง และมีความผูกพันใกลช้ ดิ กับคนเล้ยี งจะมีความสามารถในการปรบั ตวั กบั สถานการณ์ ท่ีเป็นปัญหา สามารถเข้ากับเด็กอ่ืนได้ดีและสามารถเรียนรู้ได้ดีกว่าเด็กที่ไม่ได้รับความอบอุ่น (ศันสนีย์ ฉตั รคปุ ต,์ 2542, น. 130, 201-202) ดังนนั้ การพัฒนาเดก็ ปฐมวัยด้านอารมณจ์ ึงมคี วามสำ� คัญอย่างมาก และควรเร่มิ ต้นพฒั นาต้งั แต่ มสธเดก็ ยงั อยใู่ นชว่ งปฐมวยั ทกั ษะทางอารมณท์ ส่ี ำ� คญั และตอ้ งชว่ ยใหเ้ ดก็ พฒั นา ไดแ้ ก่ (Epstein, 2007, pp. 71-73; อารี สัณหฉว,ี 2550, น. 65) 1. การมองตนเองในทางบวก คอื การทค่ี นคนหนง่ึ ใหค้ ำ� จำ� กดั ความและความรสู้ กึ เกยี่ วกบั ตนเอง ในฐานะบุคคลหนึ่ง เมื่อเด็กพัฒนาความรู้สึกว่าตนเป็นใครและมองตนเองในแง่บวก หมายถึงเด็กจดจ�ำ ยอมรับในช่ือของตนเอง เพศ ลักษณะต่างๆ เช่น รูปร่างหน้าตา ภาษา ความสามารถและขีดจ�ำกัด มสธ มสธของตน ฯลฯ ครูสามารถช่วยเด็กพัฒนาการมองตนเองในทางบวก โดยให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน จากบ้านของเด็กมาสู่สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็ก จัดให้มีป้ายช่ือเพื่อให้เด็กรู้จักตนเอง และสร้าง บรรยากาศของหอ้ งเรียนใหเ้ ดก็ ร้สู กึ วา่ ตนมีคุณค่า 2. การรับรู้อารมณ์ของตน คือ การท่ีเด็กรู้ว่าขณะนี้ตนมีความรู้สึกอย่างไร ครูสามารถช่วยให้ เดก็ จดจำ� และเรยี กอารมณต์ ่างๆ โดยใชค้ �ำง่ายๆ เช่น โกรธ มีความสุข เศร้า ฯลฯ สนับสนนุ ให้เดก็ เรียก ช่ืออารมณ์ของตนเอง สนทนาเกี่ยวกับอารมณ์ที่เด็กแสดงออกในระหว่างวัน วางแผนกิจกรรมกลุ่มเล็กท่ี มสธเนน้ เรอื่ งความรสู้ กึ เดก็ ปฐมวยั จะไมพ่ ดู เกยี่ วกบั อารมณท์ เ่ี ปน็ นามธรรมบอ่ ยครงั้ นกั แตเ่ ดก็ สามารถทำ� ได้

1-46 การจัดการศกึ ษาและหลักสตู รส�ำหรบั เด็กปฐมวัย โดยการอ่านหนังสือ หรือสร้างสรรค์และอภิปรายงานศิลปะเก่ียวกับคนและเหตุการณ์ท่ีท�ำให้เกิดอารมณ์ มสธเช่น การสูญเสียสัตวเ์ ลย้ี ง ญาตพิ นี่ ้องมาเย่ยี มทบี่ า้ น ฯลฯ 3. ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น คือ ความเข้าใจในความรู้สึกของผู้อ่ืน เอาใจเขามาใส่ใจเรา เช่น ห่วงใย ไม่เห็นแก่ตัว ความเห็นอกเห็นใจน้ีมีทั้งส่วนท่ีเป็นสติปัญญาและส่วนท่ีเป็นอารมณ์ เพราะเด็กจะ แสดงความเห็นอกเห็นใจรับรู้ความรู้สึกของคนอื่นได้ เด็กต้องเห็นสถานการณ์จากมุมมองของผู้อ่ืน ซ่ึง มสธ มสธPiaget เรยี กว่า “decentering” ความสามารถน้ีเรม่ิ ปรากฏในชว่ งกอ่ นวัยเรียน (preschool year) ทั้งนี้ การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ (feeling empathy) คือ การเป็นแบบอย่างหรือการ ทำ� ใหเ้ ดก็ เหน็ โดยใชค้ ำ� พดู แสดงสหี นา้ และภาษาทา่ ทาง อธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าและการกระทำ� นอกจากน้ี ตอ้ ง ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ แสดงความรสู้ กึ ท�ำให้เด็กตระหนักถึงผ้อู ืน่ เมอ่ื อย่ใู นสถานการณ์ท่คี ล้ายกัน สรุปได้ว่า ความเคล่ือนไหวในการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ท�ำให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องให้ความส�ำคัญกับ การพฒั นาอารมณใ์ นเดก็ ปฐมวยั นนั้ เกดิ จากงานวจิ ยั ทางดา้ นสมองทพี่ บความสำ� คญั ของอารมณท์ เ่ี ชอื่ มโยง มสธไปยงั การเรยี นรู้ และการพฒั นาอารมณใ์ นเดก็ ปฐมวยั ตอ้ งพฒั นาการมองตนเองในทางบวก การรบั รอู้ ารมณ์ ของตนเอง และการรบั รคู้ วามรสู้ กึ ของผอู้ ื่นหรือความเห็นอกเหน็ ใจ กิจกรรม 1.3.1 มสธ มสธใหน้ กั ศกึ ษายกตวั อยา่ งความเคลอ่ื นไหวในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทส่ี ำ� คญั มาอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั อยา่ ง พร้อมอธบิ ายมาพอสงั เขป แนวตอบกิจกรรม 1.3.1 นกั ศกึ ษาสามารถยกตวั อยา่ งความเคลอื่ นไหวในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทเ่ี กดิ จากงานวจิ ยั ทางดา้ น สมองที่ท�ำให้บุคคลที่เก่ียวข้องกับเด็กให้ความสนใจกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านภาษาและการรู้หนังสือ มสธและดา้ นอารมณใ์ นเด็กปฐมวัย โดยนักศึกษาเลือกอธบิ ายเพยี งด้านใดดา้ นหน่งึ เชน่ ด้านภาษาและการรู้ หนงั สอื งานวจิ ยั สมองแสดงใหเ้ หน็ วา่ สมองของเดก็ แตล่ ะสว่ นมกี ารพฒั นาทหี่ ลากหลายตา่ งกนั ทำ� ใหม้ อง เห็นช่วงวัยที่ชัดเจนของการพัฒนาทักษะภาษาและการรู้หนังสือ ว่าเป็นช่วงโอกาสส�ำคัญสูงสุดของการ พัฒนาภาษาและการรู้หนงั สอื เช่น การมองเห็นและการได้ยิน ระหว่างขวบปแี รกของชีวิต ภาษา/คำ� ศพั ท์ มสธ มสธ มสธระหว่างอายุ 9 เดอื น-4 ปี การอา่ น ชว่ งอายุ 5-9 ปี ฯลฯ

แนวคิดเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาและหลักสูตรสำ� หรับเด็กปฐมวัย 1-47 เร่ืองที่ 1.3.2 มสธความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับหลักสูตรปฐมวัยศึกษา เด็กวัย 3-6 ปี เป็นวัยท่ีพ่อแม่ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักนำ� บุตรหลานของตนไปเข้าเรียนในสถาน มสธ มสธศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ประสบการณท์ เี่ ดก็ ไดร้ บั จงึ มที งั้ ความเหมอื นและความตา่ ง ขนึ้ อยกู่ บั หลกั สตู ร ที่สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กน้ันๆ น�ำมาใช้จัดการศึกษา ท�ำให้เด็กมีพัฒนาการและการเรียนรู้ท่ี แตกต่างกันไปด้วย ส�ำหรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของประเทศไทย ท่ีเป็นหลักสูตรแกนกลางให้ทุก หนว่ ยงานใช้ร่วมกัน คือ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซง่ึ มีการพฒั นาปรบั เปลีย่ น มาเปน็ ระยะ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและไดม้ าตรฐาน เดก็ มคี วามสขุ กับการเรียนรู้ โดยมีหลักการส�ำคัญในการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมทุกด้านอย่างสมดุล ท้ังด้านร่างกาย มสธอารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ผา่ นการเลน่ และกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับวยั พฒั นาการ เป็นการยดึ เดก็ เป็นส�ำคญั คำ� นึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล และวถิ ีชีวิตของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคมและ วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ รวมทั้งประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการ พัฒนาเดก็ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2546, น. 5) มสธ มสธหลักการของหลักสูตรแกนกลางดังกล่าวข้างต้น เป็นหลักการส�ำคัญกว้างๆ ที่ก�ำหนดให้สถาน- ศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กยึดถือปฏิบัติ แต่ยังมีสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กบางแห่งเรียกตนเองว่า เปน็ สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ทางเลอื ก ใชห้ ลกั สตู รตามแนวคดิ หรอื บนพนื้ ฐานความเชอื่ ตา่ งๆ เตม็ รูปแบบ นอกจากน้ี สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กหลายแห่งใช้หลักสูตรแกนกลางของกระทรวง ศึกษาธิการ แต่บูรณาการหลักสูตรอื่นเข้าไว้ด้วย เนื่องจากต้องการเน้นพัฒนาเด็กโดยเฉพาะในบางด้าน นบั เปน็ ความเคลอ่ื นไหวของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ดา้ นหลกั สตู รในประเทศไทย เชน่ เดยี วกบั ตา่ งประเทศ มสธที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ต่างกันที่ช่วงเวลาของการน�ำหลักสูตรมาใช้ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และการ บริหารจัดการหลักสูตร ท้ังน้ี หลักสูตรท่ีสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยน�ำมาใช้เป็นทางเลือก อยา่ งเต็มรปู แบบ หรือน�ำมาบรู ณาการกบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยปกตินน้ั มหี ลากหลาย ในเรอ่ื งน้ีจะยก ตวั อย่างเฉพาะหลักสูตรตามแนวคดิ ของ Montessori และหลักสูตร High/Scope ดงั นี้ มสธ มสธหลักสูตรตามแนวคิดของ Montessori Maria Montessori (1870-1952) แพทยห์ ญิงคนแรกของอติ าลี ไดพ้ ัฒนาหลกั สตู รทีถ่ ูกนำ� มาใช้ อยา่ งแพรห่ ลายในระดบั อนบุ าลของประเทศไทยและตา่ งประเทศ โดย Montessori มแี นวคดิ และหลกั การ ของหลักสูตร ดังนี้ (Morrison, 1998, pp. 96-101 อ้างถึงใน จีระพันธุ์ พูลพัฒน์, 2542, น. 42-44; มสธจีระพันธ์ุ พูลพัฒน,์ 2555, น. 36-37)

1-48 การจดั การศึกษาและหลักสูตรสำ� หรับเด็กปฐมวัย 1. แนวคิด Montessori มแี นวคดิ ทีเ่ ปน็ ความเช่ือเกยี่ วกับเดก็ คือ มสธ1.1 เดก็ มีความอยากร้อู ยากเห็นตามธรรมชาติ และความรกั ในการใฝห่ าความรู้ 1.2 เด็กมีสิทธิ์ในการพัฒนาบุคลิกภาพในการเรียน ส�ำรวจโลก และเรียกร้องสิทธิในการมี สภาพการทำ� งานทเ่ี หมาะสม 1.3 จดุ ประสงคข์ องการศึกษาในระยะแรก ไมใ่ ช่เอาความรูไ้ ปบอกเด็ก แต่เนน้ การปลกู ฝงั มสธ มสธใหเ้ ด็กไดเ้ จริญเติบโตไปตามความตอ้ งการตามธรรมชาติของเด็ก 1.4 จติ ของเดก็ เปรยี บเหมอื นฟองนำ�้ ทซี่ มึ ซบั ขอ้ มลู จากสงิ่ แวดลอ้ ม เดก็ ใชจ้ ติ ในการแสวงหา ความรู้ ซึมซับเอาสง่ิ ต่างๆ เขา้ ไปในจิตของตน 1.5 ช่วงอายุต้ังแต่เกิดจนถึงหกปี เป็นช่วงส�ำคัญที่สุดในชีวิตของเด็ก เป็นช่วงเวลาท่ีสติ ปญั ญาพัฒนาและพลงั อ�ำนาจทางจิตก็พัฒนาดว้ ย 1.6 เดก็ เรยี นไดด้ ที สี่ ดุ ในสภาพแวดลอ้ มทไี่ ดต้ ระเตรยี มไวอ้ ยา่ งมจี ดุ มงุ่ หมาย และจดั เตรยี ม มสธสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื ให้เดก็ ไดม้ ีอสิ ระจากการควบคมุ ของผู้ใหญ่ 1.7 เดก็ เรยี นรูไ้ ด้ดีทส่ี ุดโดยการค้นพบสงิ่ ต่างๆ ดว้ ยตนเอง 2. หลักการ ตามแนวคดิ ของ Montessori คอื 2.1 การยอมรับนับถือเด็ก (respect for the child) เดก็ แตล่ ะคนมลี กั ษณะเฉพาะของตน ดังนั้น การจัดการศึกษาควรจะเหมาะกับเด็กแต่ละคน ชีวิตของเด็กต้องได้รับการดูแลที่แตกต่างไปจาก มสธ มสธผูใ้ หญ่ ไมจ่ ัดการศึกษาใหแ้ ก่เดก็ ตามที่ผ้ใู หญ่ต้องการให้เป็น 2.2 จิตที่ซึมซับได้ (absorbent mind) เดก็ คือผู้ให้การศึกษาแกต่ นเอง เด็กซมึ ซบั ข้อมลู ตา่ งๆ เขา้ ไปในจิตของตนเองได้ เหน็ ได้ชดั จากการทเ่ี ดก็ เรียนภาษาแมไ่ ด้เอง ส่งิ ทีเ่ ดก็ เรยี นรู้ส่วนใหญ่จะ ขน้ึ อยู่กับคนที่อยรู่ อบตวั ส่ิงทคี่ นเหล่านนั้ พูดและท�ำ และปฏกิ ริ ิยาของคนเหลา่ นนั้ 2.3 ชว่ งเวลาหลกั ของชวี ติ (sensitive periods) ชว่ งวยั 3-6 ปี เดก็ จะรบั รไู้ ดไ้ วและเรยี นรู้ ทกั ษะเฉพาะอยา่ งไดด้ ี ครจู งึ ตอ้ งสังเกตเดก็ เพือ่ จัดการเรยี นการสอนให้แกเ่ ดก็ ไดส้ มบูรณ์ทส่ี ดุ การสังเกต มสธจงึ มคี วามสำ� คัญ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตถูกตอ้ งมากกวา่ การใช้แบบสอบ 2.4 การตระเตรียมส่ิงแวดล้อม (the prepared environment) เด็กจะเรียนรู้ได้ดีในสิ่ง- แวดล้อมทไี่ ดต้ ระเตรยี มเอาไว้ ในสถานที่ใดกต็ าม ไมว่ า่ จะเปน็ หอ้ งเรียน บา้ น สนามเดก็ เลน่ จดุ มงุ่ หมาย เพื่อให้เด็กมีอิสระจากการควบคุมของผู้ใหญ่ เด็กจะได้ท�ำส่ิงต่างๆ ด้วยตนเอง ห้องเรียนในอุดมคติของ Montessori คอื หอ้ งเรียนท่ีเด็กเป็นศนู ย์กลางและมสี ่วนร่วมในการเรยี น มสธ มสธ2.5 การศึกษาด้วยตนเอง (self or auto-education) เดก็ สามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง จาก การทเ่ี ดก็ มอี สิ ระในสง่ิ แวดลอ้ มทจี่ ดั เตรยี มไวอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ การมอี สิ ระนไี้ มใ่ ชส่ ญั ลกั ษณข์ องเสรภี าพเทา่ นน้ั แตห่ มายถงึ เสน้ ทางไปสกู่ ารศกึ ษา เดก็ มสี ทิ ธท์ิ จ่ี ะเรยี นรรู้ ะเบยี บวนิ ยั ของชวี ติ ไดม้ โี อกาสแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง ของตน สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ แนวคิดและหลักการดังกล่าวข้างต้น เป็นรากฐานส�ำคัญท่ีน�ำไปสู่การจัดการเรียนการสอนให้แก่ เดก็ ท้ังน้ี หลกั สูตรที่น�ำมาสอนเด็กวัย 3-6 ปี แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดงั น้ี (จีระพันธุ์ พูลพฒั น,์ 2542; นภเนตร มสธธรรมบวร, 2546)

แนวคิดเกย่ี วกับการจดั การศกึ ษาและหลักสูตรสำ� หรับเด็กปฐมวยั 1-49 1) กลุ่มประสบการณ์ชีวิต (practical life) มจี ดุ มงุ่ หมาย เน้อื หา และอุปกรณ์ทีใ่ ช้ ดังนี้ มสธจดุ มงุ่ หมาย เพอ่ื พฒั นาความเปน็ ตวั ของตวั เอง สมาธิ การประสานสมั พนั ธแ์ ละระเบยี บ วินยั ในตัวเดก็ เน้ือหา ประกอบด้วย การฝึกกลุ่มประสบการณ์ชีวิต ได้แก่ การดแู ลกจิ สว่ นตน เชน่ ล้างมอื ขัดรองเทา้ อาบนำ้� ต๊กุ ตา ฯลฯ การดูแลส่ิงแวดลอ้ ม เช่น เก็บของ ดูแลพืชสัตว์ ฯลฯ ทักษะทาง มสธ มสธสงั คม เช่น กิริยามารยาททเ่ี หมาะสม การช่วยเหลือผู้อื่น การรจู้ ักรอโอกาสของตน ฯลฯ การควบคุมการ เคลื่อนไหวของร่างกาย เชน่ การเดิน การถอื อปุ กรณ์ การฝกึ ความสมดลุ ของรา่ งกาย ฯลฯ อุปกรณ์ท่ีใช้ เช่น กรอบไม้ชุดเคร่ืองแต่งกาย อุปกรณ์ท�ำความสะอาดส่วนตนและ ส่วนรวม อปุ กรณ์ทางด้านพลศกึ ษา ฯลฯ 2) กลุ่มประสาทสัมผัส (the senses) มจี ดุ ม่งุ หมาย เนื้อหา และอปุ กรณท์ ่ใี ช้ ดังนี้ จุดมุ่งหมาย เพ่ือฝึกประสาทสัมผัสของเด็ก ให้จิตมุ่งไปท่ีคุณสมบัติของวัสดุท่ีปรากฏ มสธเหน็ ชดั เจน ฝึกใหร้ จู้ ักสังเกตรายละเอียดของส่ิงตา่ งๆ ช่วยเพ่ิมความสามารถของเด็กในการคิด การเห็น ความแตกต่าง จุดเด่น การรวมกล่มุ การจดั ระเบียบหรอื ล�ำดับได้ เน้อื หา ประกอบดว้ ย การฝกึ สังเกตสี ขนาด มิติ รูปร่าง เสียง กลิ่น สัมผสั ชิมรส อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น ทรงกระบอกมีจุก ชุดรูปสามเหล่ียมสร้างสรรค์ แถบไม้สี 3 ชุด กระดาษทรายเรียงลำ� ดับหยาบ-เรียบ รปู ทรงเรขาคณติ ทึบ ฯลฯ มสธ มสธ3) กลุ่มวิชาการ (academic) มจี ุดมงุ่ หมาย เนอื้ หา และอุปกรณ์ทใ่ี ช้ ดังนี้ จุดมุ่งหมาย เพื่อการเตรียมตัวไปสู่ระบบการศึกษาสามัญต่อไป เป็นการเตรียมตัว ส�ำหรบั การอา่ น การเขียน คณิตศาสตร์ และวิชาการอนื่ ๆ เน้ือหา ประกอบด้วย การเตรียมตัวส�ำหรับการอ่าน การเขียน การน�ำไปสู่การเรียน คณติ ศาสตร์ การศึกษาทางดา้ นพฤกษศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ดนตรี อุปกรณ์ท่ีใช้ เช่น อักษรกระดาษทราย กล่องนับแท่งไม้ ชุดกรอบไม้ส�ำหรับศึกษา มสธรูปทรงของใบ ดอกไม้ และต้นไม้ แผนทีข่ องทวปี ตา่ งๆ ชดุ ของแผ่นไม้ส�ำหรับศกึ ษาตัวโนต้ ฯลฯ หลกั สตู รตามแนวคดิ ของ Montessori ไดร้ บั การยอมรบั นำ� ไปใชท้ ว่ั โลกมาเปน็ เวลานานมากกวา่ 100 ปี งานวจิ ัยท้ังในและต่างประเทศได้น�ำเสนอจดุ เดน่ ของการน�ำหลกั สูตรตามแนวคดิ ของ Montessori ไปใช้ ทงั้ ความคดิ เหน็ ของนกั การศกึ ษา ครู และผปู้ กครอง พบวา่ อสิ ระแบบมขี อบเขตกำ� หนดของ Mon- tessori ทำ� ใหเ้ ดก็ รจู้ กั เคารพขอ้ ตกลง กฎ ระเบยี บ มวี นิ ยั ในตนเอง สามารถตดั สนิ ใจเลอื กงานทจี่ ะทำ� และ มสธ มสธมุ่งมั่นต้ังใจรับผิดชอบในการท�ำงาน ตัดสินใจแก้ปัญหา แก้ไขการท�ำงานจนส�ำเร็จ ขณะท�ำงานเด็กจะมี สมาธิ สงบ จติ ใจจดจอ่ กับงานที่ท�ำ (จีระพันธุ์ พลู พฒั น,์ 2555) แต่นกั การศกึ ษาบางกลมุ่ มองจุดด้อยหรอื ข้อจำ� กัดของหลักสตู รตามแนวคิดของ Montessori ว่าเด็กขาดปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คมกับเด็กอน่ื และกับครู ขาดโอกาสท่ีจะพูดคุยหรือพัฒนาภาษา เพราะส่วนใหญ่เด็กท�ำงานเป็นรายบุคคล นอกจากน้ีเด็กยังขาด การเล่นเชิงสร้างสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ เน่อื งจากต้องสังเกตการสาธติ อุปกรณข์ องครแู ลว้ ท�ำตามแบบ ไมม่ ี โอกาสสำ� รวจและทดลองดว้ ยวธิ กี ารของตน รวมทง้ั ขาดอปุ กรณท์ เี่ นน้ การใชก้ ลา้ มเนอื้ ใหญ่ เพราะอปุ กรณ์ มสธส่วนใหญข่ อง Montessori เน้นทกั ษะกลา้ มเน้ือเล็ก การเล่นกลางแจ้งมไิ ดเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของหลกั สูตรตาม

1-50 การจดั การศึกษาและหลกั สตู รส�ำหรบั เด็กปฐมวยั แนวคิดของ Montessori (Gordon, 1995, pp. 53-54) ดังนนั้ หลักสูตรตามแนวคดิ ของ Montessori มสธจงึ มีทั้งจุดเดน่ และจุดดอ้ ย ทัง้ นค้ี วามเคล่ือนไหวในการน�ำหลักสูตรตามแนวคดิ ของ Montessori ไปใชใ้ น ประเทศไทยและตา่ งประเทศ มีการประยุกต์ใช้อยา่ งหลากหลาย เชน่ เพ่มิ เตมิ ดา้ นศิลปะ การเลน่ บทบาท สมมติ การพฒั นากลา้ มเนอื้ ใหญ่ และคอมพวิ เตอร์ รวมทงั้ การสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คมไวใ้ นหลกั สตู ร มสธ มสธหลักสูตรHigh/Scope David Weikart นักการศึกษาชาวอเมริกัน ผ้กู อ่ ตัง้ มูลนิธวิ ิจัยการศกึ ษา High/Scope (High/ Scope Educational Research Foundation) ร่วมกับคณะนักวิชาการและนักวิจัยได้พัฒนาหลักสูตร High/Scope ข้นึ จากโครงการ Perry Preschool ตงั้ แต่ ค.ศ. 1962 ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในโครงการ Head Start เพอื่ ชว่ ยเหลอื เดก็ ดอ้ ยโอกาสใหม้ กี ารศกึ ษาทเ่ี หมาะสมและประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ มลู นธิ วิ จิ ยั การศกึ ษา High/Scope ได้ศึกษาและติดตามเด็กตัง้ แต่ระดับปฐมวัยจนถึงอายุ 29 ปี พิสจู นไ์ ด้ว่าหลกั สตู ร High/ มสธScope ชว่ ยปอ้ งกนั อาชญากรรรม เพม่ิ พนู ความสำ� เรจ็ ทางการศกึ ษาและผลผลติ ตลอดชวี ติ (Weikart and others, 1978 อา้ งถงึ ใน สำ� นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550, น. 1-2) ในระยะแรกหลกั สูตร High/Scope ใช้ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญาของ Piaget เปน็ พ้นื ฐาน โดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียนซึ่งเน้นการเรียนรู้แบบลงมือกระท�ำ (active learning) ระยะ ต่อมามีการผสมผสานทฤษฎีและแนวคิดอื่นๆ เช่น ทฤษฎีของ Erikson ในการให้โอกาสเด็กเป็นผู้ริเร่ิม มสธ มสธการเล่นหรอื กจิ กรรมต่างๆ อยา่ งอิสระ และทฤษฎีของ Vygotsky ในการปฏิสัมพันธแ์ ละการใช้ภาษา หลักการ หลกั สตู ร High/Scope มหี ลกั การส�ำคญั 5 ประการ ตาม “วงลอ้ แหง่ การเรียนรู้” (High/Scope Wheel of Learning) สำ� หรบั ครแู ละผปู้ ฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (Hohmann and Weikart, 2002, pp.5-7; สำ� นกั งาน มสธ มมสสธธ มสธเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2550)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook