Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-30-คู่มือครู ภาษาไทย ป.3-1

64-07-30-คู่มือครู ภาษาไทย ป.3-1

Published by elibraryraja33, 2021-07-30 02:20:15

Description: 64-07-30-คู่มือครู ภาษาไทย ป.3-1

Search

Read the Text Version

คูมอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู (สําหรบั ครูผูส อน) เพื่อการจัดการเรียนรูโ ดยใชการศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ (ฉบับปรับปรุงคร้งั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

คูมอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู (สําหรบั ครูผูส อน) เพื่อการจัดการเรียนรูโ ดยใชการศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ (ฉบับปรับปรุงคร้งั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ก คํานํา ดว ยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมงุ หมายใหการศึกษาบมเพาะ สมรรถนะใหแกผูเรียน เพ่ือสรางคุณลักษณะสําคัญ ๔ ประการใหกับคนไทย อันไดแก ๑) มีทัศนคติท่ีดี และถูกตอง ๒) มีพื้นฐานชีวิตท่ีม่ันคงเขมแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทํา ๔) เปนพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และ พระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาตอยอด โครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดานอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัดการศึกษา เพ่ือแกปญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรางโอกาส การเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมจํานวน ๑๕ ชองสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตาง ๆ และผูสนใจทั่วประเทศ เพ่ือใหประเทศไทยเปนสังคมแหงปญญา มีจิตอาสาในการสรรคส รางและพัฒนาประเทศใหม น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา เปนการสอนออกอากาศในแนวใหม บันทึกเทปการสอนจากหองเรียนตนทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผานทางเว็ปไซต www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมลู นธิ ิ และมีคมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรูร ายช่วั โมงครบทง้ั ๘ กลุม สาระการเรยี นรู ซง่ึ ครปู ลายทางสามารถปรับกจิ กรรมการเรียนรูใหเหมาะสมกบั ชุมชน ทองถนิ่ วัฒนธรรมและ บรบิ ทของแตละโรงเรยี น คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับน้ี เปนการปรับปรุงคร้ังท่ี ๒ ซ่ึงดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ โดยความรวมมือจากคณะทํางาน ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจากมหาวิทยาลยั ศกึ ษานิเทศก และครูผเู ชีย่ วชาญ ท้ัง ๘ กลุม สาระ การเรียนรู เพื่อใหครูปลายทางใชในการเตรียมการสอนลว งหนา รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเอกสาร ไดแก ใบงาน ใบความรู แบบฝกหัด เพื่อใหก ารจัดการเรียนการสอนเกดิ ประสิทธผิ ล นาํ ไปสูการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเล็กตอไป นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงม่ันพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทย ใหเขม แข็ง สมดงั พระราชปณิธาน “...การศกึ ษาคอื ความม่ันคงของประเทศ...” ขอพระองคท รงพระเจรญิ มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ



สารบญั ค คาํ นาํ หนา หนังสือรับรองความรวมมือการพฒั นาคมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ก เพือ่ การสอนออกอากาศทางไกลผา นดาวเทียม ข สารบัญ ค คาํ ชแี้ จงการรับชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทียม ช คาํ ชีแ้ จงรายวิชา กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ฌ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ด คาํ อธบิ ายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ต ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ท มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชว้ี ัด โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ๖ หนว ยการเรียนรูท่ี ๑ โรงเรยี นของเรา ๒๑ ๓๔ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑ เรอื่ ง การทักทาย ๔๕ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒ เรื่อง สระในภาษาไทย ๕๙ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๓ เรื่อง สระสรา งสรรค ๗๓ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๔ เรื่อง สระประสมชวนคดิ ๘๕ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๕ เรื่อง สระมหศั จรรย ๑๐๒ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๖ เรอื่ ง สระมหศั จรรย ๑๑๗ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๗ เรือ่ ง สระมหัศจรรย ๑๒๗ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ครบเครอื่ งเร่ืองสระ ๑๓๕ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๙ เรื่อง สรปุ ความรูส ระในภาษาไทย ๑๓๖ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑๐ เรื่อง สรางสรรคช้นิ งาน ๑๔๐ แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรูที่ ๑ ๑๕๑ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๒ ภาษาไทยพนื้ ฐาน ๑๖๑ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑ เรอ่ื ง มาตรา ก กา ๑๗๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรอื่ ง มาตรา กง ๑๘๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เร่อื ง มาตรา กม ๑๙๑ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๔ เรอ่ื ง มาตรา เกย ๒๐๑ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๕ เรอ่ื ง มาตรา เกอว ๒๑๐ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ เรอื่ ง ตัวสะกดนาจดจาํ ๒๑๙ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๗ เรอื่ ง คาํ คลองจอง ๒๒๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง ฝกแตง คาํ คลองจอง ๒๓๖ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๙ เรื่อง คาํ ขวัญ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๑๐ เรอ่ื ง แตง คาํ ขวัญ แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูท่ี ๒

ง หนวยการเรยี นรทู ่ี ๓ สื่อสารประทบั ใจ หนา แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑ เรือ่ ง มาตรา กก ๒๓๗ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒ เรอื่ ง มาตรา กบ ๒๔๒ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๓ เรอ่ื ง สรางสรรคชนิ้ งาน ๒๕๒ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๔ เร่อื ง มาตรา กน ๒๖๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรอื่ ง มาตรา กด ๒๗๐ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๖ เร่อื ง สรางสรรคชนิ้ งาน ๒๘๐ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๗ เรือ่ ง การอา นบทรอยกรองมาตราตัวสะกด ๒๙๐ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรอื่ ง ปริศนาคาํ ทาย ๒๙๘ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๙ เร่ือง ปรศิ นาคาํ ทายมาตราตวั สะกด ๓๑๐ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๐ เร่ือง สรา งสรรคช ิ้นงาน ๓๒๑ แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรยี นรูที่ ๓ ๓๔๑ ๓๔๙ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ ความกรณุ าพาสขุ ใจ ๓๕๐ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑ เร่ือง เรียงลําดับเหตุการณ (แมกาเหวารักลูก) ๓๕๕ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เรือ่ ง เรียงลําดับเหตุการณ (นกเขาเถื่อน) ๓๗๑ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๓ เรื่อง เขียนแผนภาพโครงเร่ือง (ดาวลกู ไก) ๓๘๒ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๔ เรือ่ ง ตอบคําถามเชิงเหตผุ ล (เด็กนอย) ๓๙๒ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๕ เรื่อง ตอบคําถามเชงิ เหตุผล (วิชาหนาเจา ) ๔๐๓ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๖ เรื่อง หลานยายกะตา (นิทานลกู โซ) ๔๑๔ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๗ เร่อื ง เขียนแผนภาพโครงเร่ือง (หลานยายกะตา) ๔๓๒ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๘ เร่ือง พระคุณนีม้ คี า ๔๔๒ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๙ เร่อื ง เรอื่ งเลา ของแม ๔๕๓ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๐ เรือ่ ง ผมู ีพระคุณของฉัน ๔๖๐ แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรยี นรูที่ ๔ ๔๗๐ ๔๗๑ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๕ อักษรหรรษา ๔๗๕ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑ เรือ่ ง อักษรควบกล้ํา (ร ควบ) ๔๘๖ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๒ เร่ือง อกั ษรควบกลาํ้ (ล ควบ) ๔๙๗ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๓ เร่ือง อักษรควบกลาํ้ (ว ควบ) ๕๐๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เร่ือง อกั ษรควบกลํา้ (ทร เปลี่ยนเปน ซ) ๕๒๐ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๕ เร่อื ง อักษรควบกลาํ้ ไมแท (จ ซ ศ ส ห ออกเสยี งเฉพาะตัวหนา) ๕๓๑ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ เรื่อง ควบกลํา้ นําไปใช ๕๔๒ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๗ เรือ่ ง อักษรสามหมู (อักษรสูง) ๕๕๕ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๘ เรอ่ื ง อักษรสามหมู (อักษรกลาง) ๕๖๘ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๙ เรื่อง อกั ษรสามหมู (อักษรตา่ํ ) ๕๘๒ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑๐ เรอื่ ง อกั ษรสรา งสรรค (สงู กลาง ตํา่ ) ๕๙๔ แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรียนรูท่ี ๕ ๕๙๕ แบบบนั ทกึ การเรียนรู (Learning Logs) กลางภาค

จ หนวยการเรียนรทู ่ี ๖ ศกึ ษาชนดิ คําไทย หนา แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑ เรือ่ ง อักษรนาํ (ออกเสยี งพยางคเดยี ว) ๕๙๖ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒ เร่อื ง อกั ษรนํา (อักษรสงู นําตาํ่ เด่ียว) ๖๐๐ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๓ เรอ่ื ง อักษรนาํ (อกั ษรกลางนาํ ตํ่าเดยี่ ว) ๖๑๒ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๔ เรอ่ื ง อักษรนาํ จาํ ไปใช (พีระมิดอกั ษรนํา) ๖๒๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรอื่ ง คํานาม ๖๓๕ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๖ เรื่อง คาํ สรรพนาม ๖๔๖ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๗ เรอ่ื ง คํากรยิ า ๖๕๘ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๘ เรอื่ ง สรา งสรรคช น้ิ งาน ๖๗๐ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๙ เรอื่ ง สญั ลกั ษณนา รู ๖๘๒ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๐ เร่อื ง สัญลกั ษณน า รู (ปา ยจราจร) ๖๙๔ แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรียนรูท่ี ๖ ๗๐๘ ๗๑๘ หนวยการเรยี นรูท่ี ๗ ส่ือสารผา นประโยค ๗๑๙ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑ เร่อื ง สว นประกอบของประโยค ๗๒๓ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ เร่อื ง ฝกแตงประโยค ๗๓๕ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๓ เร่อื ง ประโยคบอกเลา ๗๔๖ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๔ เร่อื ง ประโยคคําถาม ๗๕๖ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๕ เรื่อง ประโยคปฏเิ สธ ๗๖๗ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ เรื่อง ประโยคขอรอง ๗๗๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรอ่ื ง ประโยคคําส่ัง ๗๘๙ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๘ เรอ่ื ง ฝกเรยี งประโยค ๘๐๐ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๙ เรื่อง สรางสรรคช น้ิ งาน ๘๑๕ แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรยี นรูที่ ๗ ๘๒๓ ๘๒๔ หนวยการเรียนรทู ี่ ๘ ภาษาไทยถกู ใจไดหลกั การ ๘๒๘ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เร่อื ง คาํ ที่ประวสิ รรชนยี  ๘๓๙ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒ เรอ่ื ง คาํ ทปี่ ระวิสรรชนีย (อยพู ยางคหนา) ๘๕๐ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรอื่ ง คําที่ประวสิ รรชนีย (อยพู ยางคห ลัง) ๘๖๑ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๔ เร่ือง คาํ ท่ีไมประวสิ รรชนีย ๘๗๒ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรอ่ื ง ทบทวนชวนคิด (คําท่ปี ระวสิ รรชนียและไมป ระวสิ รรชนีย) ๘๘๖ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๖ เรื่อง คําที่อา นออกเสียงบนั ๘๙๖ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๗ เรื่อง ทบทวนชวนคดิ (คําที่อา นออกเสียงบนั ) ๙๐๗ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๘ เรื่อง รร (ร หัน) ๙๑๘ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๙ เร่อื ง ทบทวนชวนคดิ (รร หนั ) ๙๒๘ แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรยี นรูท่ี ๘

ฉ หนา ๙๒๙ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๙ เขียนสนกุ แสนสขุ สนั ต ๙๓๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เร่อื ง การเขียนบันทึกประจาํ วนั ๙๔๗ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒ เร่ือง การเขียนบันทึกความรู ๙๕๙ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๓ เรอื่ ง ทบทวนชวนคิด (มาตรา ก กา เขียนลาํ ดบั เรือ่ ง) ๙๗๑ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๔ เรือ่ ง ทบทวนชวนคิด (มาตรา กง เขยี นบรรยายภาพ) ๙๘๖ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๕ เรอ่ื ง ทบทวนชวนคิด (มาตรา กม ลาํ ดับเหตุการณ) ๑๐๐๒ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๖ เร่ือง ทบทวนชวนคิด (มาตรา เกย เขียนคาํ คลองจอง) ๑๐๑๕ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๗ เรอื่ ง ทบทวนชวนคดิ (มาตรา เกอว เขยี นเร่ืองจากภาพ) ๑๐๓๐ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๘ เรื่อง ทบทวนชวนคิด (มาตรา กก กบ เขยี นบนั ทึกการฟง ๑๐๔๗ และอาน) ๑๐๖๓ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๙ เรอื่ ง ทบทวนชวนคดิ (มาตรา กน กด เขียนบรรยายคน) ๑๐๖๔ แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรียนรูที่ ๙ ๑๐๖๙ ๑๐๘๔ หนวยการเรยี นรูท่ี ๑๐ เขยี นประโยคดว ยจนิ ตนาการ ๑๐๙๘ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑ เร่ือง การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ ๑๑๑๐ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๒ เร่อื ง การเขียนบรรยายภาพ ๑๑๒๑ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๓ เรื่อง ทบทวนชวนคดิ (สวนประกอบของประโยค) ๑๑๓๓ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๔ เรอ่ื ง ทบทวนชวนคิด (คํานาม) ๑๑๔๓ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๕ เรื่อง ทบทวนชวนคดิ (คําสรรพนาม) ๑๑๕๗ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๖ เร่อื ง ทบทวนชวนคดิ (คํากริยา) ๑๑๖๘ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๗ เรอื่ ง ทบทวนชวนคดิ (ประโยคบอกเลา คาํ ถาม) ๑๑๖๙ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๘ เรอื่ ง ทบทวนชวนคิด (ประโยคคําส่งั ขอรอง ปฏเิ สธ) ๑๑๗๐ แบบประเมินตนเอง หนวยการเรยี นรูท่ี ๑๐ ๑๑๗๑ แบบบันทึกการเรยี นรู (Learning Logs) ปลายภาค ๑๑๙๕ ๑๒๐๔ บรรณานุกรม ๑๒๑๑ ภาคผนวก ๑๒๑๓ ภาคผนวก ก แบบประเมินรวม ภาคผนวก ข แผนผังความคิด (Graphic Organizers) ภาคผนวก ค แบบบนั ทึกการเรียนรู (Learning Logs) คณะกรรมการปรับปรงุ คูมือครูและแผนการจัดการเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย ระดบั ประถมศกึ ษา (คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑) คณะกรรมการปรบั ปรุงคูมอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู กลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย ระดบั ประถมศกึ ษา (ครัง้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๓) คณะกรรมการตรวจตน ฉบับคมู อื ครู และแผนการจัดการเรยี นรูภ าษาไทย

ช คําชีแ้ จง การรบั ชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ ใหบริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จํานวน ๑๕ ชองรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการยอนหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผานชอ งทาง ตอ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา ท่ี Play Store/Google Play พมิ พคาํ วา DLTV - ระบบ iOS เขา ที่ App Store พมิ พคาํ วา DLTV หมายเลขชองออกอากาศสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ๑๕ ชอ งรายการ รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา ชอง (DLTV) ชอ ง (TRUE) (ชว งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.) (ชวงเวลา ๑๔.๓๐ น. – ๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ชอง ๑๘๖ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ สถาบันพระมหากษัตริย DLTV ๒ ชอ ง ๑๘๗ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๒ ความรูรอบตัว DLTV ๓ ชอ ง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ชอง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๔ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม DLTV ๕ ชอง ๑๙๐ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ ชอง ๑๙๑ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ หนาทพ่ี ลเมือง DLTV ๗ ชอง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร DLTV ๘ ชอ ง ๑๙๓ รายการสอนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๒ ภาษาตางประเทศ DLTV ๙ ชอ ง ๑๙๔ รายการสอนชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอง ๑๙๕ รายการสอนช้นั อนบุ าลปท ี่ ๑ รายการสาํ หรบั เด็ก-การเลยี้ งดลู ูก DLTV ๑๑ ชอ ง ๑๙๖ รายการสอนช้ันอนุบาลปที่ ๒ สขุ ภาพ การแพทย DLTV ๑๒ ชอ ง ๑๙๗ รายการสอนชัน้ อนุบาลปท ่ี ๓ รายการสําหรบั ผูสูงวัย DLTV ๑๓ ชอ ง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วังไกลกังวล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล DLTV ๑๔ ชอง ๑๙๙ รายการของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช DLTV ๑๕ ชอ ง ๒๐๐ รายการพัฒนาวิชาชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรียนระดับชั้นปฐมวัย ชวงเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.

ซ การติดตอรบั ขอมูลขาวสาร ๑. มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ เลขที่ ๒๑๔ ถนนนครสวรรค แขวงวดั โสมนัส เขตปอ มปราบศัตรูพา ย กรุงเทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ิทยุโทรทัศนการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาํ บลหัวหนิ อําเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ีขันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอเรื่องเวบ็ ไซต) dltv@dltv,ac.th (ติดตอ เร่ืองทวั่ ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ อาํ เภอหัวหิน จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชองทางการตดิ ตามขาวสาร Facebook : มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ฌ คําชแ้ี จง รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ๑. แนวคิดหลัก หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กําหนดสาระการเรียนรู จํานวน ๘ กลมุ สาระการเรียนรู ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนําความรูดานเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยการฝกทักษะใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๘ ประการ ดังนี้ สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสือ่ สารเปนความสามารถในการรับสารและสื่อสารมวี ัฒนธรรมในการใชภ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อใชใ นการตดั สนิ ใจ เกย่ี วกับตนเอง สงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญได อยางถูกตอง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหา และความขดั แยง ตา ง ๆ อยา งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลอื ก และใชเทคโนโลยี การแกปญหา อยา งสรา งสรรคถ ูกตองเหมาะสม มีคุณธรรมดานตาง ๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนา ตนเอง สังคมในดานการเรียนรู การสอื่ สาร การทาํ งาน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพ่ือใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๒) ซ่ือสตั ย สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝเ รยี นรู ๕) อยอู ยางพอเพียง ๖) มงุ ม่นั ในการทํางาน ๗) รกั ความเปน ไทย ๘) มีจติ สาธารณะ

ญ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เปนกลุมสาระการเรียนรูที่มีความสําคัญอยางยิ่ง เน่ืองจากภาษาไทย เปนเอกลักษณของความเปนชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพ ซ่ึงเยาวชนคนไทย ใชเปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร เพ่ือสรางความเขาใจ และความสัมพันธที่ดีตอกัน และเปนเคร่ืองมือ ในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงเรียนรตู าง ๆ เพ่ือพัฒนาความรูใหทันตอความเปล่ียนแปลงทาง สังคมความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนการนําไปใชในการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น และในการพัฒนาอาชีพ นอกจากนี้ภาษาไทยยังเปนส่ือแสดงถึงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม เปน สมบัตขิ องชาตซิ ่งึ คนรนุ หลงั ควรอนุรกั ษ จรรโลง และสบื สานตอ ไป แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เปนสาระการเรียนรูซ่ึงผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ หลักภาษา การใชภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เปน การพัฒนาทักษะการเรยี นรูในศตวรรษ ที่ ๒๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปนไทยและอัตลักษณไทย และหลักการ “สุ จิ ปุ ลิ” เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย จงึ เปน การพัฒนาผูเรยี นทุกคนตามองคความรู ไมจ าํ กดั อยูแตในหองเรยี นเทา นั้น ผเู รยี นสามารถเรยี นรดู วยสื่อ การเรยี นรูท่หี ลากหลายไดอยา งมคี วามสุข หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย มีการบูรณาการดานคุณลักษณะ ในแผน การจัดการเรียนรูท่ีคํานึงถึงคุณลักษณะ ท่ีมุงเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีทักษะดานภาษาหลังการเรียนรู สอดคลองตามเปาหมายของหนวยการเรียนรู มีเจตคติที่ดีตอสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย และมี จิตอาสา ครูผูสอนควรปลูกฝงคุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียน เกิดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคและเปน คนดขี องสงั คม ๒. กระบวนการจดั การเรยี นรู แนวคดิ สําคัญของการจัดการศึกษา ที่เนน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูทีเ่ ปดโอกาส ใหผูเรียน คิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ การประเมินการเรียนรูจงึ มีความสําคัญและจําเปนอยา งยงิ่ ตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรยี น เพราะสามารถทําใหผ สู อนประเมนิ ระดบั พัฒนาการเรยี นรขู องผูเรยี น การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ ใหความสําคัญของการบูรณาการความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสม ของระดบั การศกึ ษา ไดระบุใหผูท่เี กย่ี วของดําเนนิ การ ดงั น้ี ๑) สถานศกึ ษาและหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ ง (๑) จดั เน้ือหาสาระและกจิ กรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนดั ของผูเ รียน โดยคํานงึ ถึง ความแตกตางระหวา งบคุ คล (๒) ฝกทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณแ ละการประยุกตความรมู าใชเพื่อ ปองกันและแกไขปญหา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทําไดคิดเปนทําเปน รักการอา น และเกิดการใฝร อู ยา งตอเนือ่ ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลูกฝง คณุ ธรรม คา นิยมทดี่ ีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคไวในทุกวชิ า

ฎ (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอํานวย ความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู ทงั้ นผี้ ูสอนและผูเรยี นอาจเรยี นรูไปพรอมกนั จากสื่อการเรยี น การสอนและแหลงวทิ ยาการ ประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรยี นรใู หเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความรวมมือกับพอแม ผปู กครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝา ย เพอื่ รว มกนั พฒั นาผเู รียนตามศกั ยภาพ ๒) การจดั สภาพแวดลอมสงเสริมการเรยี นรู (๑) จัดสภาพแวดลอม หองเรียน หรือภายนอกหองเรยี น ใหเอื้อตอการเรียนรู สะอาด มีความเปน ระเบียบ ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรียน มีที่เก็บวัสดุอุปกรณ และงายตอการนํามาใช มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืนและเหมาะกับกิจกรรม การเรยี นรู ถูกสขุ ลักษณะและปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดลอม หรอื หองใหผ เู รยี นไดฝ ก ปฏบิ ัตกิ าร (๓) จดั สอื่ อุปกรณ ทีเ่ กยี่ วกบั การเรยี นรูอยา งเพยี งพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเคร่ืองมือแสวงหาความรู หรือ ชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพ่ือใหผูเรียนไดรับรูขอมูล ขา วสารทีท่ ันสมัยปจ จบุ นั อยูเสมอ ๓) ครูผสู อน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของ ผูเรียนและผูสอน กลาวคือลดบทบาทของครูผูสอน จากการเปนผูบอกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผน จัดกิจกรรมใหน ักเรยี นเกิดการเรียนรู กจิ กรรมตาง ๆ จะตองเนนท่ีบทบาทของผเู รียนตั้งแตเริ่ม คอื รว มวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และตองคํานึงวากิจกรรมการเรียนน้ัน เนนการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน การสรางคําอธิบายเกี่ยวกับขอมูลที่สืบคนได เพ่ือนําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรูเหลานี้ตอง พัฒนาผเู รียนใหม พี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้งั ทางรางกาย อารมณ สงั คม และสติปญญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษา มุงเนนให ผูเรียน ฝกทักษะทางภาษาตามมาตรฐานการเรียนรู และศึกษาคนควาดวยตนเอง นอกจากน้ีครูผูสอนควรใช กระบวนการจัดการเรียนรูอยางหลากหลาย เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Student Centered) และใหผูเรียนได ลงมือกระทาํ ไดใ ชก ระบวนการคดิ เกี่ยวกบั สิง่ ที่เขาไดกระทําลงไป (Active learning) โดยครผู ูสอนจดั กจิ กรรม การเรียนรูใหผูเรียนมีโอกาสลงมือกระทํามากกวาการฟงเพียงอยางเดียว โดยใหผูเรียนเรียนรูโดยการอาน การเขียน การโตตอบ การวิเคราะหปญหา อีกทั้งใหผูเรียนฝกกระบวนการคิดอยางหลากหลาย ไดแก การคิด วิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา นอกจากนั้นครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใหผูเรียนไดเรียนรู อยางมีความหมาย โดยการรวมมือระหวางครูกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน ครูตองลดบทบาทในการสอน โดยเปนผูชี้แนะ กระตุนใหผูเรียนกระตือรือรนท่ีจะเรียนรู และปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ มากข้ึนและอยาง หลากหลาย ดังน้ี (๑) ควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียน ลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การนําเขาสูบทเรียน การใชคําถาม ท่ีจะ ทาํ ใหการเรียนการสอนนาสนใจและมีชีวติ ชีวา

ฏ (๒) ครูควรมีการวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนํานักเรียนเขาสูบทเรียน และ นําสูขอสรุปไดโดยที่ไมใชเวลานานเกินไป ครูควรเลือกใชคําถามท่ีมีความยากงายพอเหมาะกับความสามารถ ของนกั เรยี น (๓) เมื่อนักเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําที่จะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดเอง ครูควรใหความสนใจตอคําถามของนกั เรียนทุก ๆ คน แมวาคําถามน้ัน ๆ อาจจะไมเก่ียวกับเรื่องท่ีกําลังเรียนอยู ก็ตาม ครูควรจะชี้แจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรยี นกลบั มาสเู ร่ืองที่กําลังอภิปรายอยู สําหรบั ปญหา ท่นี ักเรียนถามมานั้น ควรจะไดหยิบยกมาอภปิ รายในภายหลัง (๔) การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนส่ิงจําเปนเพ่ือใหไดขอมูลท่ีนาเช่ือถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู ครูควรยํ้าใหน ักเรยี นไดส าํ รวจตรวจสอบซํ้าเพ่ือนาํ ไปสูขอ สรุปท่ถี กู ตอ งและเชอ่ื ถือได ๔) กระบวนการเรยี นรูกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย (๑) การเรียนรูจากแหลงเรียนรู ไดแก การศึกษาคนควาดวยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรูจากหองสมุด แหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญชาวบาน งานวิเคราะหจากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะหแหลงขอมูล การสอนแบบใหผูเรียนเรียนรูโดยอิสระจากศูนยการเรียนรูและการเรียนรู ตามความสนใจ (๒) การเรียนรูโดยผูเรียนลงมือปฏิบัติ ไดแก เกม การศึกษาสถานการณจําลอง กรณีตัวอยาง บทบาทสมมุติ โครงงาน การทดลอง ศิลปส รางสรรคก ารสอน เขยี นบคุ ลาธิษฐาน คือ โวหารชนดิ หน่ึงในโวหาร ภาพพจนที่มีลักษณะการสมมุติใหส่ิงที่ไมใชมนุษยใหมีอากัปกิริยาทาทางความรูสึกเหมือนมนุษย การเรียน การสอนที่เนนกระบวนการกลุม ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอย การแกปญหากลุม สืบคนความรู กลมุ สัมพันธ การเรยี นรแู บบรว มมือ การอภิปราย การเรยี นการสอนโดยใชห ัวเรือ่ ง (๓) การเรียนรูผา นกระบวนการคิด ไดแ ก การแกส ถานการณ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิด รวบยอด การพฒั นากระบวนการคิด การใชท กั ษะกระบวนการ การสอนการอา นโดยใชวิธีการต้ังคาํ ถามผูเรียน การเรยี นการสอนโดยใชแผนผงั ความคดิ (Graphic Organizers) การเรียนการสอนดว ยกระบวนการคิดอยางมี วิจารณญาณ การคิดเปรียบเทียบ การคิดสังเคราะห การคิดประยุกต การคิดสรางสรรค การคิดวิเคราะห การคดิ กลยทุ ธ การคิดบรู ณาการ การคิดมโนทศั น และการคิดวพิ ากษ (๔) การเรียนรูผานสื่อเทคโนโลยี ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูป ชุดการสอน ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการสอนสําหรับการเรียนเปนกลุมยอย ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู คอมพิวเตอรชวยสอน และ การนําเสนอโดยวีดิทศั น ๓. สอ่ื การจดั การเรยี นร/ู แหลง เรยี นรู ส่อื การจัดการเรียนรู สอ่ื การจดั การเรียนรเู ปนเครื่องมือสง เสริมสนบั สนุนการจัดกระบวนการเรยี นรูใหนักเรียนไดร ับความรู ทักษะกระบวนการไดงายในระยะเวลาสั้นและชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็ว สื่อที่ ปรากฏในแผนการจดั การเรียนรมู ดี งั น้ี ๑) ใบความรู ใบงาน แผนภาพนําเสนอขอมูล ๒) คลปิ /วีดิทศั น/ภาพขาวสถานการณป จ จุบนั ๓) สถานการณสมมตุ ิ ๔) สอ่ื บุคคล

ฐ แหลงเรยี นรู แหลงเรียนรเู ปน เครื่องมือสรา งคณุ ลกั ษณะการใฝเ รียนรูท่ที ุกคนตองใฝรตู ลอดชีวิต ดังน้ี ๑) แหลง เรียนรภู ายในโรงเรียน ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถ่ิน พิพิธภัณฑ หนวยงานท่ีเก่ียวของ หองสมุด ประชาชน หองสมุดแหง ชาติ หองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญและเปน หวั ใจสาํ คัญของผูเรียนในการศึกษาคนควา โรงเรียนควรจัด หองสมุดกลาง หองสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในหองเรียน หองสมุดเคล่ือนที่ รถเคล่ือนท่ี หองสมุดประชาชน ลว นเปนแหลง เรียนรูจะทาํ ใหผเู รียนไดเ รียนรูแ ละปลูกฝง ลักษณะนสิ ัยท่ีดใี นการสง เสรมิ นสิ ยั รกั การอาน ๓) แหลง เรยี นรูอ อนไลน - สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน - สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั ตาง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวัด และประเมินผลการเรยี นรู จุดประสงคสําคัญของการประเมินการเรียนรูคือ การชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ท่ีผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาท่ีพบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมาก ยังใหความสําคัญการเรียนรูแบบทองจําเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขัน ซึ่งถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผิน มากกวา การประเมินการเรยี นรูระหวางเรียนการเรยี นรเู พ่ือพฒั นาตนเองซึ่งผลลัพธข องการเรียนรูจะย่ังยืนกวา (กศุ ลนิ มุสกิ ลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,์ิ เพญ็ จนั ทร และวรรณทพิ า รอดแรงคา, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะดานตาง ๆ ของผูเรียนน้ัน จําเปนตองมีการประเมิน การเรียนรูอยางตอเนื่อง ต้ังแตเร่ิมตนระหวางและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบ ที่หลากหลายสอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรูไดแก การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และ การประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมิน เพื่อพัฒนาการเรียนรู และการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมิน ใหผูเรียน รับทราบเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อทบทวนและ ปรับแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือใหสามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพื่อชวยใหผูเรียน แตละคนเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของตัวชี้วัดตาง ๆ (กศุ ลิน มุสกิ ุล, ๒๕๕๕) การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู องผูเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมิน เพอ่ื พัฒนาผูเรียนและการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรยี นใหป ระสบความสําเร็จนั้น ผเู รยี นจะตอ งไดรบั การพฒั นาและประเมินตามตวั ชีว้ ัด เพือ่ ใหบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู สะทอนสมรรถนะ สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู ในทุกระดบั (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

ฑ ๑) วิธกี ารประเมิน (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกิจกรรมการเรยี นรขู นั้ นํา) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจช้ินงาน การนําเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรูขนั้ สอน) จดุ มงุ หมายของการประเมนิ ระหวางเรียน มีดังนี้ (๒.๑) เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหา มีทักษะความชํานาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัด กจิ กรรมการเรียนรไู ดอ ยางเหมาะสม เพื่อพฒั นาการเรียนรูของผูเรยี นไดอ ยางเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพ่ือใชเ ปน ขอ มูลปอนกลับใหก ับผเู รยี นวา มีผลการเรียนรอู ยางไร (๒.๓) เพื่อใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดาน การเรยี นรขู องผเู รยี นแตล ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดท่ีผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมข้ันสรุป) และ เพ่ือตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทน้ี ใชป ระกอบการตดั สินผลการจดั การเรยี นการสอน หรอื ตัดสนิ ใจวา ผูเ รียนคนใดควรจะไดร ับระดับคะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเมื่อสนิ้ สดุ หนว ยการเรียนรู ดาํ เนนิ การดังน้ี การประเมินโดยครูผูสอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวย การเรียนรูตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และ เจตคติหรือไม เชน การทําโครงงาน การนํา ความรไู ปใชเ พื่อพฒั นาสังคมในรูปแบบตา ง ๆ การประเมินโดยผูเรียนแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรให ผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพ่ือเปดโอกาสไดสะทอนคิดสิ่งที่เรียนรูทั้งที่ทําไดดีและยังตองพัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค.) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ เลือกใชชุดคําถามและจํานวนขอใหเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน ชวงเวลาและธรรมชาติของแตละวิชา ทั้งน้ี ในคร้ังแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพื่อแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานส่ิงท่ีนักเรียนบันทึก พรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมท้ังใชประโยชนจากขอมูลในแบบบันทึก เพอื่ พัฒนาการสอนของตวั เองและชว ยเหลือนักเรยี นเปน รายบุคคลตอไป ๒) ผูประเมิน ไดแก เพ่ือนประเมินเพ่ือน ครูประเมนิ ผเู รียน ผเู รยี นประเมนิ ตนเอง และผปู กครองรวม ประเมนิ การวดั และประเมินผลการเรียนรดู า นภาษา การวัดและประเมินผลการเรียนรูดา นภาษา เปน งานท่ีตองการความเขา ใจที่ถูกตองเกี่ยวกบั พฒั นาการ ทางภาษา ดังนั้นครูผูสอนจะวัดผลการเรียนรูดานภาษาจําเปนตองเขาใจหลักการของการเรียนรูภาษาเพ่ือ การดําเนินการดงั นี้ ๑) ทักษะทางภาษาทั้งการอาน การเขียน การฟง ดูและการพูดมีความสําคัญเทา ๆ กัน และทักษะ เหลาน้ีครูผูสอนควรบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ไมควรฝกทักษะทีละอยางแตควรฝกทักษะไป พรอ ม ๆ กันซงึ่ ทกั ษะทางภาษาหนึ่งจะสง ผลตอ การพฒั นาทักษะทางภาษาอ่ืน ๆ ดว ย

ฒ ๒) ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพรอมกับการพัฒนาความคิดเพราะสื่อภาษา เปนสื่อของความคิดผูท่ีมีทักษะความสามารถในการใชภาษา มีคลังคํามากจะชวยใหผูเรียนมีความสามารถ ในการคิด ๓) ผูเรียนตองเรียนรูการใชภาษาพูดและภาษาเขียนอยางถูกตองดวยการใชภาษาไมใชเรียนรู กฎเกณฑทางภาษาอยางเดียว การเรียนภาษาตองเรียนรูไวยากรณหรือหลักภาษา การสะกดคํา การใช เคร่ืองหมายวรรคตอนและนําความรดู งั กลา วไปฝกฝน ๔) ผูเรียนทุกคนจะไดรับการพัฒนาทักษะทางภาษาเทากันแตพัฒนาทักษะทางภาษาไมเทากัน และ วิธีการเรียนรูตา งกนั ๕) ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด การจัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช ภาษาถนิ่ ของผูเรียนและชวยใหผ ูเ รยี นพฒั นาภาษาไทยของตนและพัฒนาความรสู ึกทีด่ ีเก่ยี วกับภาษาไทย ๖) ภาษาไทยเปนเครื่องมือของการเรียนรู ทุกกลุมสาระการเรียนรูตองใชภาษาไทยเปนเครื่องมือ การส่ือสาร ดงั นัน้ ครูผสู อนจะตองใชภาษาทเี่ ปน แบบแผนเปน ตัวอยา งทีด่ แี กผ ูเรียน ๕. คาํ แนะนาํ บทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนในทุก ขน้ั ตอนการสอน ดงั นี้ ๑) ข้นั เตรยี มตัวกอนสอน (๑) ศึกษาทาํ ความเขาใจคําชีแ้ จงและทําความเขาใจเช่ือมโยง ทัง้ เปาหมาย กจิ กรรมและการวัดผล และประเมนิ ผลระหวางหนว ยการเรียนรกู บั แผนการจัดการเรยี นรูรายชวั่ โมง (๒) ศกึ ษาคน ควา ความรเู พิ่มเติม จากแหลงเรยี นรู หนวยงาน องคกรท่ีใหค วามรทู ีเ่ ช่ือถือได รวมทัง้ เทคนิคการจัดการเรียนรเู พอ่ื พฒั นาความสามารถของผเู รียนอยา งรอบดา น (๓) ปรับ/ประยุกตหรือเพิ่ม เปาหมายท้ังเน้ือหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เปนจุดเนน และท่ีเปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู ตามศักยภาพของผเู รยี น และตามสภาพจริง (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดลวงหนาเพ่ือทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อตา ง ๆ ที่ครใู ชป ระกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในขนั้ ตอนชวงการปฏิบัติ ทง้ั ดา นวิธีการ ส่ือที่ใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรมเพ่ือนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ชวยเหลือ สงเสรมิ / อํานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของหอ งเรียนของตนใหสามารถเรียนรไู ดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และเตม็ ตามศักยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมท้ังการเตรียมอปุ กรณตามระบุในแผนฯและ/หรือทปี่ รากฏในคลิป (ในกรณีมีการปรับเปลย่ี นเพมิ่ เติม) (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชวงการปฏบิ ัตติ ามกําหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของสื่อการสอน ใบงาน ใบความรู บนเวบ็ ไซต www.dltv.ac.th ๒) ขนั้ การจดั การเรยี นรู (๑) สรา งการมสี ว นรวมของนักเรียนในการทาํ กิจกรรม เชน กระตุน ใหน กั เรยี นคิด ตอบคาํ ถามของ ครตู น ทาง ฟงเฉลยและชว ยเสรมิ /อธิบาย/ในสง่ิ ท่ีนักเรียนยังไมเขา ใจ ชมเชย/ใหก ําลงั ใจหากนกั เรยี นทาํ ไดดี (๒) ใหค วามชวยเหลือนักเรียนที่ตามไมทัน เชน อธิบายเพม่ิ เติมเพ่ือใหนักเรยี นสามารถเรยี นรูตอไป อยา งมีประสทิ ธภิ าพ

ณ (๓) กํากับดูแลใหมีวินัยในการเรียนเชน ไมเลนหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําส่ังในการทํากิจกรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรยี นรู เชน จัดเตรียมส่ือการเรียนร/ู อุปกรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียนเชน คุณลักษณะผูเรียน, สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัด การเรยี นรู/การปฏิบัติงาน ความรใู นบทเรยี น และบันทึกขอมูลตามแนวทางประเมนิ ท่ีแนะนําไวในแผนการจัด การเรยี นรู เพือ่ นาํ ขอมูลไปพัฒนานกั เรยี นและใหความชว ยเหลอื นกั เรยี นท้ังชนั้ /กลมุ /รายบคุ คลตามกรณี ๓) ขนั้ การปฏบิ ตั ิ (๑) ทบทวนข้ันตอนการทาํ กจิ กรรมตามท่คี รูตน ทางแนะนาํ และตามขอ แนะนําการปฏิบตั ิที่ระบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขาใจ และเตรียมนักเรยี นกอนทํากจิ กรรม (การแบงกลุม ฯลฯ) (๒) กํากับใหการทํากจิ กรรมเปน ไปตามลําดับเวลาตามแนวทางที่ระบบุ น PowerPoint (๓) ใหความชว ยเหลอื นักเรยี นในระหวา งการทํากจิ กรรม (๔) เตรียมพรอ มนักเรยี นสําหรับกจิ กรรมในข้นั ตอนสรปุ การเรยี น (ถา มี) เชน การสรปุ ผลปฏิบตั ิงาน เพือ่ เทยี บเคียงกบั ผลงานท่ีนักเรยี นตน ทางจะนาํ เสนอ เปน ตน ๔) ขั้นสรปุ (๑) กํากับนักเรียนใหม สี วนรวมในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทํากิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสาํ คัญทีม่ ีการสรุปทายชั่วโมง และงาน/ใบงานท่ีครูตน ทางมอบหมายใหทําเปน การบา น/หรอื ใบงานที่ครูปลายทางไดเลอื กมาใชกับชนั้ เรยี นของตน (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะ หลังจบแตละหนว ยการเรยี นรูและครงึ่ /ปลายภาคเรยี น) ๕) การบันทึกผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรยี นรูของตนเอง โดยใชข อ มลู จากแบบสงั เกตพฤติกรรมผูเรยี นระหวางเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรูของนักเรียนเพ่ือวิเคราะหเทคนิค หรือวิธีการใด ท่ีทําใหผูเรียนมี สว นรวม มคี วามรู มที ักษะ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ ประสงค (๒) บนั ทึกสาเหตขุ องความสําเรจ็ อุปสรรค และ/หรือขอ จาํ กดั ทเ่ี กดิ ขึน้ เชน เทคนิค หรอื วิธกี ารใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดลอมอยางไร ฯลฯ ท่ีทําใหผูเรียนมีสวนรวม มีความรู มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค โดยใชคําถามท่ีใหไวใน “คําถามบันทึกผลหลังสอนสําหรับครู ปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เปน แนวทางในการยอนคิด ไตรตรองสงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ และนาํ ไปบนั ทึกผลหลังสอนของ ช่วั โมงนัน้ ๆ (๓) วิเคราะหและสรุปผลจากขอมูลตามปญหา/ความสําเร็จที่เกิดข้ึน และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพ่ือนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป รวมทั้ง นําไปใชเ ปนขอ มูลเพือ่ พฒั นาเปน งานวิจัยในช้ันเรียนตอ ไป

ด คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ชอื่ วิชา ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง จาํ นวน ๕ หนว ยกิต ศึกษาและฝกอานออกเสียงและบอกความหมายของคําพื้นฐานคําท่ีใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรู อื่น คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ อานจับใจความจากส่ือตาง ๆ แลวสามารถต้ังคําถามและ ตอบคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณ โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและ ขอคิด จากเร่ืองที่อาน เพ่ือนําไปใชในชีวิตประจําวัน อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอและนําเสนอ เร่ืองที่อาน อานขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําส่ังหรือขอแนะนําอานขอมูลจากแผนภาพแผนที่ และแผนภูมิ และมีมารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนบรรยายเก่ียวกับลักษณะของคน สัตว ส่ิงของ สถานท่ี ไดอยางชัดเจน เขียนบันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตามจินตนาการจากคํา ภาพ และหัวขอที่กําหนด และมีมารยาทในการเขียน จับใจความจากเร่ืองที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง โดยสามารถเลารายละเอียดบอกสาระสําคัญ ต้ังคําถาม ตอบคําถาม พูดแสดงความคิดเห็น และความรูสึกจากเร่อื งท่ีฟงและดู พูดแนะนําตนเอง พูดแนะนํา สถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน พูดแนะนําเชิญชวนเก่ียวกับการปฏิบัติตนในดานตาง ๆ เลาประสบการณ ในชีวิตประจําวัน พูดในโอกาสตาง ๆ เชน ขอรอง ทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ ปฏิเสธ ซักถาม และมีมารยาท ในการฟง การดู และการพูด เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ใชพจนานุกรมคนหาความหมาย ของคํา ระบุชนิดและหนาที่ของคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยาในประโยค แตงประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม ประโยคขอรอง ประโยคคําสั่ง แตงคําคลองจองและ คําขวัญ และเลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุขอคิดท่ีไดจากการอาน วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อาน รูจักเพลง พื้นบานและเพลงกลอมเด็กเพื่อปลูกฝงความช่ืนชมวัฒนธรรมทองถิ่น และทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอ ยกรองทม่ี คี ณุ คาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการทางการเรียนรูแบบลงมือปฏิบัติ ไดแก กระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการฟง กระบวนการพูด และการดู การคิดวิเคราะห กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการกลุม คนควาหาความรูจากแหลงการเรยี นรูต าง ๆ อยางสมํ่าเสมอ ซักถามและสืบคนเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบ ในการทาํ งาน ใชภ าษาไทยไดอ ยา งถูกตอง เหมาะสม นาํ ความรทู ใ่ี หจากการศึกษาไปประยกุ ตใชในชีวิตจรงิ เพื่อใหผูเรียนเกิดความตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาไทย รักความเปนไทย ภูมิใจและช่ืนชม ในวรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย รักชาติ ศาสน กษัตริย มีวินัยใฝเรียนรู มุงมั่นใน การทํางาน ซ่ือสัตยสุจริต มีความสามัคคี อยูอยางพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนไดอยางเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทย อยรู วมกันในสังคมไดอ ยางมคี วามสขุ รหสั ตัวชวี้ ัด รวมทัง้ หมด ๓๑ ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ต มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชวี้ ดั กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๑๓๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชวี ิต และมนี ิสยั รกั การอาน ตวั ชว้ี ัด ป ๓/๑ อานออกเสยี งคํา ขอ ความ เรอ่ื งส้นั ๆ และบทรอ ยกรองงา ยๆ ไดถ กู ตอ ง ป ๓/๒ อธบิ ายความหมายของคาํ และขอความทอ่ี า น ป ๓/๓ ต้งั คาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ลเก่ียวกบั เร่ืองที่อาน ป ๓/๔ ลาํ ดับเหตุการณแ ละคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอานโดยระบเุ หตผุ ลประกอบ ป ๓/๕ สรุปความรแู ละขอคดิ จากเรอื่ งทีอ่ า นเพอื่ นาํ ไปใชในชวี ิตประจําวัน ป ๓/๖ อา นหนงั สือตามความสนใจอยา งสมํ่าเสมอและนําเสนอเรือ่ งที่อา น ป ๓/๗ อานขอเขยี นเชิงอธบิ ายและปฏิบตั ติ ามคําส่ังหรอื ขอแนะนํา ป ๓/๘ อธิบายความหมายของขอ มลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ ป ๓/๙ มีมารยาทในการอาน สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเร่ืองราว ในรูปแบบ ตาง ๆ เขยี นรายงานขอ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน ควา อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ช้วี ดั ป ๓/๑ คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ป ๓/๒ เขียนบรรยายเกีย่ วกับสง่ิ ใดส่งิ หนึ่งไดอ ยา งชดั เจน ป ๓/๓ เขยี นบนั ทึกประจาํ วัน ป ๓/๔ เขยี นจดหมายลาครู ป ๓/๕ เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ ป ๓/๖ มีมารยาทในการเขยี น สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึกใน โอกาสตาง ๆ อยา งมีวจิ ารณญาณ และสรา งสรรค ตัวชวี้ ดั ป ๓/๑ เลา รายละเอยี ดเก่ยี วกับเรือ่ งทฟ่ี ง และดทู ง้ั ทีเ่ ปนความรแู ละความบันเทงิ ป ๓/๒ บอกสาระสําคญั จากการฟงและดู ป ๓/๓ ตัง้ คําถามและตอบคาํ ถามเกย่ี วกับเรื่องที่ฟงและดู ป ๓/๔ พูดแสดงความคดิ เห็นและความรสู ึกจากเรื่องที่ฟงและดู ป ๓/๕ พูดส่ือสารไดช ดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงค ป ๓/๖ มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู

ถ สาระท่ี ๔ หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ิของชาติ ตวั ช้ีวดั ป ๓/๑ เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา ป ๓/๒ ระบุชนดิ และหนา ทีข่ องคาํ ในประโยค ป ๓/๓ ใชพจนานกุ รมคน หาความหมายของคาํ ป ๓/๔ แตง ประโยคงา ย ๆ ป ๓/๕ แตง คําคลองจองและคาํ ขวัญ ป ๓/๖ เลือกใชภ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และ นาํ มาประยุกตใชในชวี ิตจรงิ ตัวชวี้ ัด ป ๓/๑ ระบุขอ คดิ ที่ไดจ ากการอานวรรณกรรมเพื่อนาํ ไปใชในชวี ติ ประจาํ วัน ป ๓/๒ รจู กั เพลงพนื้ บานและเพลงกลอมเดก็ เพือ่ ปลกู ฝง ความชน่ื ชมวฒั นธรรมทอ งถน่ิ ป ๓/๓ แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั วรรณคดีทอ่ี าน ป ๓/๔ ทอ งจาํ บทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองทมี่ คี ุณคาตามความสนใจ

ท โครงสรางรายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๑๓๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ รวมเวลา ๙๕ ชวั่ โมง หนว ย ช่ือหนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั / ความคิดรวบยอด เวลา น้าํ หนกั ที่ การเรยี นรู เรยี นร/ู ตวั ช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ โรงเรียน มาตรฐาน ท ๑.๑ การเปลงเสียงออกมาในคร้ังหนึ่ง ๆ อาจจะ ๑๐ ๔ ของเรา ตัวชี้วดั ป ๓/๑ มีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได เรียกวา พยางค แตหากเปลง เสียงออกมาหลาย ๆ พยางค มาตรฐาน ท ๒.๑ จนมคี วามหมายเขา ใจได สื่อสารได เรียกวา คาํ ตวั ช้วี ัด ป ๓/๖ การเกิดขึ้นของพยางคแตละพยางค คํา แตละคํา จําเปนตองมีเสียงสระประสมอยูใน มาตรฐาน ท ๓.๑ พยางค ๆ นั้น หรือคํา ๆ น้ัน การใชสระใน ตวั ชว้ี ัด ป ๓/๖ ภาษาไทย เชน รูปสระในภาษาไทย สระเด่ียว สระประสม สระเปลย่ี นรูป สระลดรปู ใหถ ูกตอง มาตรฐาน ท ๔.๑ ตามหลักการใชภาษาท้ังการพูด การอาน หรือ ตัวชี้วดั ป ๓/๑ การเขียน ยอมทําใหผูเรียนสามารถสื่อสารทาง ภาษาไทยไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น ระบบการอา นและการเขียนภาษาไทย เปน ระบบที่ใชตัวอักษรแทนเสียง ๓ ประเภท คือ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต การเรียนรูเรื่อง สระในภาษาไทย โดยใหผูเรียนแลกเปลี่ยน เรยี นรูผลงาน แสดงความคิดเหน็ อภิปรายในกลุม เปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมซึ่งชวยฝกทักษะ การคดิ วิเคราะห การตง้ั คําถาม การตอบคําถาม การสอ่ื สารและการรับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ่นื การนําองคความรูจากการเรียนรูเรื่องสระ ในภาษาไทย นํามาสรางสรรคผลงานผาน จินตนาการของนักเรียน ทําใหสามารถจดจํา เน้อื หาจากบทเรยี นไดดีข้นึ และนําไปประยุกตใช ในชวี ติ ประจําวันได

ธ หนวย ชื่อหนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั / ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ํ หนัก ท่ี การเรียนรู เรียนร/ู ตัวชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๒ ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวสะกด หมายถึง พยัญชนะท่ีทําหนาท่ี ๑๐ ๔ พ้นื ฐาน ตวั ชี้วัด ป ๓/๙ บังคับเสียงทายคํา ใหม เี สียงและคําตามตอ งการ มาตราในภาษาไทยมีท้ังหมด ๙ มาตรา มาตรฐาน ท ๒.๑ และแบงเปนมาตราตัวสะกดตรงมาตรา และ ตวั ช้ีวดั ป ๓/๖ มาตราตวั สะกดท่ีไมต รงมาตรา มาตราแม ก กา เปนมาตราเดียวทไี่ มมพี ยญั ชนะเปน ตัวสะกดแต มาตรฐาน ท ๓.๑ มีสระอยูทายคําหรือพยางค ซึ่งมาตราตัวสะกด ตัวชี้วัด ป ๓/๖ ที่ตรงมาตรามีดวยกัน ๔ มาตรา ไดแก มาตรา ตวั สะกดแม กง มาตราตัวสะกดแม กม มาตรา มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวสะกดแม เกย และมาตราตัวสะกดแม เกอว ตัวชวี้ ัด ป ๓/๑ โดยมพี ยัญชนะเปนตวั สะกดเพียงตัวเดยี ว ป ๓/๕ คําคลองจอง คือ คําท่ีมีเสียงสระเดียวกัน และตัวสะกดในมาตราเดียวกัน แตพ ยญั ชนะตน ตางกัน และอาจมีเสียงวรรณยุกตตางกันได คําคลอ งจองเรียกอกี อยา งหนึง่ วา คาํ สัมผสั คําขวัญ เปนถอยคํา หรือขอความส้ัน ๆ ที่ แตงขน้ึ เปน คตสิ อนใจเตือนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใชสอนหรือชี้ใหเห็นส่ิงท่ีถูกตองดีงาม เพ่ือให เกิดกําลังใจ หรือเพื่อใหเปนสิริมงคล คําขวัญ อาจใชกับบุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันก็ได นอกจากนี้มักใชแทรกคํากลาวในโอกาสตาง ๆ เชน การใหโ อวาท การกลาวคําปราศรัย การแสดง ปาฐกถา หรอื การอภิปราย เปนตน ๓ สื่อสาร มาตรฐาน ท ๑.๑ มาตราตัวสะกดท่ีตรงมาตรามีดวยกัน ๑๐ ๔ ประทบั ใจ ตวั ชว้ี ดั ป ๓/๑ ๔ มาตรา ไดแก มาตราตวั สะกดแม กก มาตรา ป ๓/๕ ตัวสะกดแม กบ มาตราตัวสะกดแม กน และ ป ๓/๙ มาตราตัวสะกดแม กด โดยมีพยัญชนะเปน ตวั สะกดหลายตัว มาตรฐาน ท ๒.๑ การอานบทรอยกรองกาพยยานี ๑๑ ตวั ชี้วดั ป ๓/๖ เกี่ยวกับมาตราแมกก กบ กน และกด ซึ่งเปน การใชกระบวนการคิดในการวิเคราะหหาคํา มาตรฐาน ท ๓.๑ ท่ีอยูในมาตราแมกก กบ กน และกด ท้ังยัง ตวั ชว้ี ดั ป ๓/๖ สามารถฝกทักษะการอาน และการเขียนใหมี ค ว า ม ค ล อ ง แ ค ล ว จ น นํ า ไ ป สู ค ว า ม ชํ า น า ญ

น หนวย ชอ่ื หนวย มาตรฐานการ สาระสําคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา นํา้ หนกั ท่ี การเรียนรู เรยี นรู/ ตัวชี้วดั (ชัว่ โมง) คะแนน มาตรฐาน ท ๔.๑ สามารถนําความรูและทักษะการอา น การเขียน ตัวช้วี ัด ป ๓/๑ ไปใชในชีวิตประจาํ วนั ได มาตรฐาน ท ๕.๑ ปริศนาคําทาย เปนปญหาหรือคําถามซึ่ง ตวั ชี้วดั ป ๓/๑ ผูถ ามอาจจะถามตรง ๆ หรอื ถามทางออมก็ตาม ป ๓/๓ คําถามอาจจะใชถอยคาํ ธรรมดาเปน ภาษารอ ยแกว หรือจะมีสัมผัสแบบภาษารอยกรองก็ได ภาษา ที่ใชน้ันเปนภาษาสั้น ๆ งาย ๆ กระชับความ แตยากแกการตีความในตัวปริศนาอยูบาง ส ว น คํ า ต อ บ มั ก จ ะ เ ป น ส่ิ ง ท่ี พ บ เ ห็ น ใ น ชีวิตประจําวันในสมัยน้ัน ๆ และในบางคําถาม มั ก จ ะ มี เ ค า ห รื อ แ น ว ท า ง สํ า ห รั บ คํ า ต อ บ ซึ่งผูตอบจะตองใชความสังเกต ความคิดและ ไหวพริบในการคดิ หาคาํ ตอบ ๔ ๔ ความกรณุ า มาตรฐาน ท ๑.๑ การเรียงลําดับเหตุการณ คือ การอานท่ีมุง ๑๐ พาสขุ ใจ ตวั ชี้วดั ป ๓/๓ คนหาสาระของเร่ืองหรือของหนังสือแตละเลม ป ๓/๔ ท่ีเปนสวนใจความสําคัญ และสวนขยายใจความ ป ๓/๕ สําคัญของเร่ืองแลวนํามาเรียงเหตุการณตั้งแต ป ๓/๙ ตน จนจบเรอื่ งได การอานบทรอยแกวเรื่อง นกเขาเถ่ือน มาตรฐาน ท ๒.๑ แมร ักลูกจะ ดาวลกู ไก หลานยายกะตา ตวั ชี้วัด ป ๓/๒ การต้ังคําถาม เปนการแสวงหาความรูท่ีมี ป ๓/๖ ประสทิ ธิภาพ กอ ใหเกดิ การเรียนรูทพี่ ัฒนาทักษะ การคิด การตีความ การไตรตรอง การถายทอด มาตรฐาน ท ๓.๑ ความคิด สามารถนําไปสูการเปลี่ยนแปลง ตัวชว้ี ดั ป ๓/๑ การเรียนรู ซึ่งเมื่อมีการต้ังคําถามก็จะตองมี ป ๓/๒ การตอบคําถามโดยผานกระบวนการอาน หรือ ป ๓/๖ ฟงเร่ืองราวอยางตั้งใจและรายละเอียดตาง ๆ จะทาํ ใหตอบคําถามไดอยางมีประสทิ ธิภาพและ มาตรฐาน ท ๕.๑ มีเหตุผล ตัวช้วี ัด ป ๓/๑ การเขียนบรรยาย เปนการเขียนเลา ป ๓/๓ เหตุการณใดเหตุการณหนึ่งที่เกิดข้ึน เพ่ือให ผูอานเห็นภาพเหตุการณ ลําดับเวลา สถานที่ บคุ คล

บ หนวย ชือ่ หนวย มาตรฐานการ สาระสําคญั / ความคดิ รวบยอด เวลา น้ําหนัก ที่ การเรียนรู เรยี นรู/ ตัวชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน การเลารายละเอียดจากการฟงและดู ตอง อาศัยทักษะการฟงและดูผานกระบวนการ วิเคราะหสาระสําคัญเพ่ือใหทราบจุดมุงหมาย ๕ อกั ษร ของเร่อื งทีฟ่ งและดู ๑๐ ๔ หรรษา มาตรฐาน ท ๑.๑ อักษรควบกล้ําในภาษาไทยแบงออกเปน ตวั ช้ีวัด ป ๓/๙ ๓ ลกั ษณะคือ ๑) อักษรตวั หนา เปน ก ข ค ต ป ผ พ พยัญชนะตัวหลังเปน ร ล หรือ ว มาตรฐาน ท ๒.๑ เรียกวาอักษรควบกล้ําแท ๒) อักษรตัวหนาเปน ตวั ชี้วดั ป ๓/๖ จ ซ ศ ษ ส พยัญชนะตัวหลังเปน ร ออกเสียง เฉพาะพยัญชนะตัวหนาเพียงตัวเดียว และ มาตรฐาน ท ๓.๑ ๓) พยัญชนะตัวหนาเปน ท พยัญชนะตัวหลัง ตัวชว้ี ดั ป ๓/๖ เปน ร เปลย่ี นเสยี ง ทร เปน เสียง ซ ไตรยางศ คือ อักษรสามหมู เปนการแบง มาตรฐาน ท ๔.๑ พยัญชนะออกเปน ๓ หมู คือระบบการจัด ตวั ชี้วดั ป ๓/๑ หมวดหมูอักษรไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตาม ป ๓/๔ ลักษณะการผันวรรณยุกตของพยัญชนะแตละ หมวด ประโยค คือ การเรียบเรียงคําใหไดใจความ เปนถอยคําท่ีแสดงความคิด หรือเร่ืองราวที่ สมบูรณ โดยมีสวนประกอบ คือ ภาคประธาน (ประธาน) และ ภาคเเสดง (กริยาและกรรม) โดยการนําคําควบกลํ้ามาแตงเปนประโยคใหได ใจความที่สมบูรณ ๔ ๖ ศึกษาชนิด มาตรฐาน ท ๑.๑ อักษรนํา เปนการอานออกเสียงเปนพยางค ๑๐ คําไทย ตัวชี้วดั ป ๓/๗ เดียว เมื่อ ห นํา อักษรต่ําเด่ียว หรือ อ นํา ย ป ๓/๙ ไมอ อกเสียงตวั ห หรือ อ น้ัน แตเ สยี งวรรณยกุ ต ของพยางคเปนไปตามเสียงตัว ห หรือ อ นํา มาตรฐาน ท ๒.๑ มีท้งั แบบท่ีไมออกเสียงตวั นาํ ตวั ช้ีวดั ป ๓/๖ ชนิดและหนาท่ีของคําในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา มาตรฐาน ท ๓.๑ คําบุพบท คําวิเศษณ คําสันธาน คําอุทาน ตวั ชี้วัด ป ๓/๖ ผูเรยี นควรรูจกั สงั เกต รคู วามหมาย หนาท่ี และ ประเภทของคําในประโยค ดังน้ันในการสื่อสาร มาตรฐาน ท ๔.๑ ผูเรียนตองใชคําเรียบเรียงเปนประโยค การใช ตวั ชี้วดั ป ๓/๑ คําไดถูกตองจะเปนประโยชนในการสรางสรรค ป ๓/๒ ผลงานการเขยี นและประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน

ป หนวย ชอ่ื หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั / ความคิดรวบยอด เวลา น้ําหนัก ท่ี การเรยี นรู เรยี นรู/ ตัวชว้ี ดั (ชัว่ โมง) คะแนน ป ๓/๔ สัญลักษณ เปนสิ่งที่กําหนดนิยามกันขึ้น เพื่อใหใชหมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งมีหลาย รูปแบบ เชน ปายสัญลักษณ เครื่องหมาย สญั ลักษณตา ง ๆ เปน ตน ๙ ๔ ๗ สอื่ สารผา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ประโยค คือ คําหรือกลุมคําตาง ๆ มา ประโยค ตัวชวี้ ัด ป ๓/๙ เรียบเรียงแลวไดใจความท่ีสมบูรณ ประโยค ทุกประโยคประกอบดวย ๒ สวน ไดแก ภาค มาตรฐาน ท ๒.๑ ประธาน คือ ผูกระทําหรือแสดงกริยาอาการ ตัวช้วี ดั ป ๓/๖ ตาง ๆ เปนคํานามหรือคําสรรพนาม ภาคแสดง คอื สว นทเ่ี ปนกริยาและกรรม มาตรฐาน ท ๓.๑ ประโยคในภาษาไทย ๕ ชนิด ไดแก ประโยค ตัวชว้ี ดั ป ๓/๖ บอกเลา ประโยคคําถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคขอรอง ประโยคคําส่ัง มาตรฐาน ท ๔.๑ การสรางสรรคชิ้นงานเร่ืองประโยคตาง ๆ ตวั ช้ีวดั ป ๓/๔ เปนการนําความรูที่ไดเรียนรูมาประยุกตใชใน การสรางชิ้นงาน ทใี่ ชจ ินตนาการกบั ความรูดาน หลักการใชภาษา ทําใหนักเรียนใชภาษาไทย ไดด ีและถูกตอ ง ๘ ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๑.๑ วิสรรชนยี  เปนรูปสระ –ะ เปนรูปที่ใชเขียน ๙ ๓ ถูกใจได ตัวชวี้ ดั ป ๓/๙ แทนสระ /ะ/ และใชสระประสมกับรูปสระอื่น หลักการ เพื่อแสดงความเปนสระเสียงส้ัน เชน เ-ะ แ-ะ มาตรฐาน ท ๒.๑ เ-าะ อัวะ การออกเสยี งคําที่ประสมสระ /ะ/ ตวั ชว้ี ัด ป ๓/๖ คําท่ีประวิสรรชนีย หมายถึง คําที่อานออก เสียง อะ และมรี ปู วิสรรชนยี  ( - ะ ) ประสมอยู มาตรฐาน ท ๓.๑ คําที่ไมประวิสรรชนีย หมายถึง คําที่อาน ตวั ชี้วัด ป ๓/๖ ออกเสยี ง อะ แตไมม รี ปู วิสรรชนยี  (- ะ) ใหอ อก เสียง อะ คร่ึงเสียง แบงเปน ๒ ชนิด คือออก มาตรฐาน ท ๔.๑ เสียง อะ ที่พยางคหนาในคํา ออกเสียง อะ ที่ ตัวช้ีวดั ป ๓/๑ พยางคก ลางในคํา คําท่ีใช “บัน” เขียนนําหนาพยางค มี ๕ คํา คือ บันดาล บันได บันทึก บันเทิง และบันลือ คําที่ออกเสียง “บัน” อาจเขียนไดหลายอยาง ไดแก บัน บรร บัญ บณั บัล

ผ หนว ย ชอื่ หนวย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั / ความคดิ รวบยอด เวลา น้าํ หนัก ที่ การเรียนรู เรยี นร/ู ตัวชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน รร อานวา รอ-หัน เปนพยัญชนะตัว ร สองตัวเขียนติดกัน โดย ร ตัวแรกทําหนาท่ีเปน สระอะ สวน ร ตัวหลังทําหนาท่ีเปนตัวสะกดใน มาตราแม กน ๙ เขยี นสนุก มาตรฐาน ท ๑.๑ บันทึกประจําวัน เปนการเขียนเรื่องราว ๙ ๒ แสนสขุ สันต ตัวช้ีวัด ป ๓/๙ สวนตัวหรือเหตุการณที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวัน เพื่อเตือนความจํา หรือบรรยายความรูสึกหรือ มาตรฐาน ท ๒.๑ ความคดิ เหน็ ตอสงิ่ ท่ไี ดพบ ตัวชว้ี ดั ป ๓/๓ การบันทึกความรู เปนการเขียนบันทึก เรื่องราวจากการอานหนังสือ หรือจากการดู มาตรฐาน ท ๓.๑ หรือฟงส่ิงใดสิ่งหนึ่งท่ีเปนความรูที่ควรจํา เพ่ือ ตวั ชวี้ ดั ป ๓/๖ เปนการเตือนความจํา หรือใชอางอิงในวัน ขางหนา มาตรฐาน ท ๔.๑ การเขียนประโยคส้ัน ๆ การเขียนบรรยาย ตวั ช้ีวัด ป ๓/๑ ภาพ การเขียนคําคลองจอง และเรียบเรียง ประโยคเปนเรื่องราว เปนทักษะการเขียน เบอื้ งตนที่จะชว ยในการส่อื สารอยา งถูกตองและ สรางสรรค ๑๐ เขยี น มาตรฐาน ท ๑.๑ การเขียนเรื่องตามจินตนาการชวยพัฒนา ๘ ๒ ประโยค ตัวช้ีวัด ป ๓/๙ ความคิดสรางสรรค ทักษะการเขียน และ ดวย กอใหเกิดความสุขในการอานและเขียน สราง จินตนาการ มาตรฐาน ท ๒.๑ ความจรรโลงใจและเพื่อความบันเทิงอยาง ตัวชวี้ ัด ป ๓/๔ สรา งสรรค ป ๓/๕ การเขียนบรรยายภาพ เปนการเขียน ป ๓/๖ อธิบายเรื่องตามภาพที่ปรากฏ โดยใชความคิด ความเขาใจ ถายทอดความคิด และเขียนเปน มาตรฐาน ท ๓.๑ ประโยคใหเปนเรื่องราวที่สอดคลองกับภาพ ตวั ชีว้ ัด ป ๓/๖ และตอเนอื่ งเปน เรื่อง การทบทวนเร่ืองประโยคตาง ๆ ในภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ และชนิดของคําในภาษาไทย ตัวชว้ี ัด ป ๓/๒ ป ๓/๖ ๙๕ ๓๕ รวมตลอดภาคเรยี น

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรอื่ ง โรงเรยี นของเรา ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ๑ หนวยการเรยี นรูที่ ๑ โรงเรยี นของเรา

๒ คูม ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) ช่ือหนวยการเรยี นรู หนว ยการเรียนรูท ่ี ๑ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย รหสั วิชา ท๑๓๑๐๑ โรงเรียนของเรา เวลา ๑๐ ช่ัวโมง ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชี้วัด สาระที่ ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา ในการดําเนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รักการอา น ตัวชว้ี ดั ป ๓/๑ อานออกเสยี งคํา ขอความ เรือ่ งสัน้ ๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถ กู ตอง สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเร่ืองราว ในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควา อยางมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชว้ี ัด ป ๓/๖ มมี ารยาทในการเขียน สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรสู กึ ในโอกาสตาง ๆ อยางมวี จิ ารณญาณ และสรา งสรรค ตวั ช้วี ัด ป ๓/๖ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด สาระท่ี ๔ หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ ตวั ชี้วัด ป ๓/๑ เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา ๒. สาระสาํ คญั และความคดิ รวบยอด การเปลงเสียงออกมาในคร้ังหน่ึง ๆ อาจจะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได เรียกวา พยางค แตหากเปลงเสียงออกมาหลาย ๆ พยางค จนมีความหมายเขาใจได ส่ือสารได เรียกวา คํา การเกิดขึ้นของ พยางคแตล ะพยางค คาํ แตละคําจําเปน ตองมีเสียงสระประสมอยูในพยางค ๆ นั้น หรือคาํ ๆ น้นั การใชส ระใน ภาษาไทย เชน รูปสระในภาษาไทย สระเด่ียว สระประสม สระเปลี่ยนรูป สระลดรูปใหถูกตองตามหลักการใช ภาษาท้ังการพูด การอา น หรือการเขยี น ยอมทําใหผเู รยี นสามารถสื่อสารทางภาษาไทยไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ มากย่ิงข้ึน ระบบการอานและการเขียนภาษาไทย เปนระบบท่ีใชตัวอักษรแทนเสียง ๓ ประเภท คือ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต การเรยี นรูเร่อื งสระในภาษาไทย โดยใหผ ูเ รยี นแลกเปล่ยี นเรียนรูผลงาน แสดงความ คิดเห็น อภิปรายในกลุม เปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมซึ่งชวยฝกทักษะการคิดวิเคราะห การตั้งคําถาม

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง โรงเรยี นของเรา ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ๓ การตอบคําถาม การส่ือสารและการรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนโดยนํามาสรางสรรคผลงานผานจินตนาการ ของนักเรยี น ทําใหสามารถจดจําเนอื้ หาจากบทเรียนไดดขี ้นึ และนาํ ไปประยุกตใชใ นชวี ิตประจาํ วนั ได ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑ ความรู ๑) จํานวนพยางค ๒) ความหมายของคํา ๓) รูปสระและเสยี งสระเด่ยี ว ๔) รูปสระประสม ๕) สระในภาษาไทย ๖) หลักการเปลีย่ นสระอะเปน ไมหันอากาศ ๗) หลกั การเปลย่ี นสระเอะเปน ไมไ ตคู ๘) หลกั การเปลี่ยนสระแอะเปน แอไมไ ตค ู ๙) หลักการเปล่ยี นสระเออเปน เออิ ๑๐) หลกั การลดรูปของสระโอะ ๑๑) หลกั การลดรปู ของสระเออ ๑๒) หลักการลดรูปของสระอวั ๑๓) วิธีการสรา งโมบาย ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ ๑) การทกั ทาย แนะนําตนเองและโรงเรยี น ๒) การจําแนกพยางคของคาํ ๓) การเขียนคําทม่ี ี ๒-๔ พยางค ๔) การอาน เขยี นคาํ ที่มรี ปู สระและเสียงสระเดี่ยว ๕) การจัดกลุมคาํ ทมี่ ีสระเสียงส้ันและสระเสยี งยาว ๖) การเขยี นคาํ ทป่ี ระสมรูปสระตา ง ๆ ๗) การเขียนจําแนกคาํ ทม่ี ีสระประสม ๘) การเขยี นคําทม่ี สี ระอะเปล่ยี นรูป ๙) การเขยี นคําทมี่ ีสระเอะเปลี่ยนรปู ๑๐) การเขยี นคาํ ท่ีมีสระแอะเปลีย่ นรูป ๑๑) การเขียนคําท่ีมีสระเออเปลี่ยนรูป ๑๒) การเขียนคําท่ีมสี ระโอะลดรูป ๑๓) การเขียนคําท่ีมีสระเออลดรปู ๑๔) การเขียนคําทีม่ สี ระอวั ลดรูป ๑๕) การจําแนกความรูเร่อื งสระในภาษาไทย ๑๖) การสรา งแผนผงั ความคดิ เร่อื งสระในภาษาไทย ๑๗) การสรา งโมบายเรอ่ื งสระ ๓.๓ ดานคณุ ลกั ษณะ/เจตคต/ิ คานยิ ม ๑) มารยาทในการเขียน

๔ คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) ๒) มารยาทในการฟง ดู และพูด ๓) ความสําคัญในการใชส ระในภาษาไทย ๔. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน ๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด ๕. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๕.๑ ใฝเรยี นรู ๕.๒ มุงมั่นในการทาํ งาน ๖. การประเมินผลรวบยอด ๖.๑ ช้ินงานหรอื ภาระงาน ๑) ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง บอกจํานวนพยางค ๒) ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง เขียนคําที่ ๒-๔ พยางค ๓) ใบงานที่ ๓ เรื่อง จดั กลุมคาํ ทมี่ สี ระเสยี งสัน้ และสระเสยี งยาว ๔) ใบงานที่ ๔ เรอ่ื ง สระสรางสรรค ๕) ใบงานที่ ๕ เร่ือง จําแนกคําตามกลุมเสียงสระ ๖) ใบงานท่ี ๖ เรื่อง สระอะ (-ะ) เปลยี่ นรปู เปน ไมห ันอากาศ ( - ) ๗) ใบงานท่ี ๗ เรอ่ื ง สระเอะ (เ-ะ) เปล่ียนรปู เปนเอไมไตคู (เ -) ๘) ใบงานท่ี ๘ เรื่อง สระแอะ (แ-ะ) เปลีย่ นรปู เปนแอไมไ ตคู (แ - ) ๙) ใบงานท่ี ๙ เรื่อง สระเออ (เ-อ) เปลีย่ นรปู เปน เออิ (เ – ) ๑๐) ใบงานท่ี ๑๐ เรอื่ ง สระโอะลดรูป ๑๑) ใบงานที่ ๑๑ เร่อื ง สระเออลดรูป ๑๒) ใบงานท่ี ๑๒ เรื่อง สระอวั ลดรูป ๑๓) โมบายเรื่องสระในภาษาไทย

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง โรงเรียนของเรา ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๓ ๕ ๖.๒ เกณฑก ารประเมินผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ประเมิน ๔ (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรุง) ๑. การอานและ อา นและเขียน ๓ (ดี) ๒ (พอใช) อานและเขยี น เขียนพยางคแ ละ พยางคและ อา นและเขียน อา นและเขยี น พยางคและ ความหมายของคาํ ความหมายของคาํ พยางคและ พยางคและ ความหมายของคาํ ได ไดถ ูกตอ งทุกขอ ความหมายของคาํ ความหมายของคํา ไดถูกตอ ง ๔๐% ไดถ ูกตอ ง ๘๐% ไดถูกตอ ง ๖๐% ๒. การอา นและ อา นและเขยี นรูป อานและเขียนรูป อา นและเขยี นรปู อา นและเขยี นรปู เขียนรปู สระ และ สระและเสียงสระ สระและเสยี งสระ สระและเสยี งสระ สระและเสียงสระ เสียงสระใน ในภาษาไทยได ในภาษาไทยได ในภาษาไทยได ในภาษาไทยได ภาษาไทยได ถูกตองทุกขอ ถกู ตอง ๘๐% ถกู ตอง ๖๐% ถูกตอง ๔๐% ๓. การเขยี นสระ เขียนสระเปลีย่ น เขยี นสระเปลี่ยน เขยี นสระเปลีย่ น เขยี นสระเปล่ยี น เปลย่ี นรูปได รปู ไดถ ูกตอ งทุกขอ รูปไดถ ูกตอง ๘๐% รูปไดถูกตอง ๖๐% รูปไดถ ูกตอง ๔๐% ๔. การเขยี นสระ เขียนสระลดรปู ได เขียนสระลดรูปได เขยี นสระลดรปู ได เขยี นสระลดรูปได ลดรูปได ถูกตองทุกขอ ถูกตอง ๘๐% ถูกตอง ๖๐% ถูกตอง ๔๐% ๕. การสรางโมบาย สรา งโมบายเรือ่ ง สรา งโมบายเร่อื ง สรา งโมบายเร่อื ง สรา งโมบายเร่อื ง เร่อื งสระใน สระในภาษาไทยได สระในภาษาไทยได สระในภาษาไทยได สระในภาษาไทยได ภาษาไทยได ถูกตองทุกข้นั ตอน ถูกตอง ๘๐% ถูกตอง ๖๐% ถกู ตอง ๔๐% เกณฑก ารตัดสนิ การประเมิน ดมี าก ระดบั คณุ ภาพ ๔ หมายถงึ ดี ระดบั คณุ ภาพ ๓ หมายถงึ พอใช ระดับคณุ ภาพ ๒ หมายถึง ปรบั ปรุง ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง เกณฑการผา น ตัง้ แตระดับ พอใช ขึน้ ไป

๖ คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เรื่อง การทักทาย หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง โรงเรียนของเรา เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ดั สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจแกปญหาใน การดาํ เนินชีวิต และมนี สิ ัยรกั การอาน ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อา นออกเสียงคํา ขอ ความ เร่อื งสน้ั ๆ และบทรอยกรองงา ย ๆ ไดถ ูกตอง สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสกึ ในโอกาสตาง ๆ อยา งมวี จิ ารณญาณ และสรางสรรค ตวั ช้วี ัด ป.๓/๖ มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู ๒. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด การทกั ทายเปนธรรมเนียมของมนุษยหลายชาติหลายภาษา โดยเฉพาะคนไทยซ่ึงถือวาการพูดทักทาย เปนการผูกมิตรกับคนอื่นเมื่อพบกันครั้งแรก จะทําใหเกิดสัมพันธภาพอันดีตอกัน ทั้งนี้การทักทายยังแสดงถึง มารยาทอันดขี องคนไทยอกี ดวย การเปลงเสียงออกมาในคร้ังหน่ึง ๆ อาจจะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได เรียกวา พยางค แตห ากเปลงเสยี งออกมาหลาย ๆ พยางค จนมีความหมายเขา ใจได สอื่ สารได เรยี กวา คํา ๓. จุดประสงคก ารเรียนรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขา ใจ (K) ๑) บอกจํานวนพยางคไ ด ๒) อธบิ ายความหมายของคาํ ได ๓.๒ ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ๑) พูดทกั ทายแนะนําตนเองและโรงเรยี นได ๒) จาํ แนกพยางคข องคําได ๓) เขียนคาํ ท่ีมี ๒-๔ พยางคได ๓.๓ ดานคุณลักษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) - มมี ารยาทในการฟง ดู และพูด ๔. สาระการเรียนรู ๔.๑ การพดู แนะนาํ ตนเองและแนะนาํ โรงเรยี น ๔.๒ พยางคแ ละคาํ ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการสอ่ื สาร ๕.๒ ความสามารถในการคดิ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๖.๑ ใฝเ รยี นรู ๖.๒ มุงม่ันในการทาํ งาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง โรงเรยี นของเรา ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรยี นรทู รายวชิ า ภาษาไทย หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ ขอบเขตเน้ือหา/ ขนั้ ตอน ลาํ ดบั จุดประสงค การจดั เวลา แน ที่ การเรยี นรู การเรยี นรู ทีใ่ ช กจิ กรรมครู ๑ ขอบเขตเน้อื หา ข้ันนํา ๗ นาที ๑. ครกู ลาวทักทายนกั เรียนตนทา ๑. การอา น เขยี น ปลายทางท้งั หองเรียนดวย คําวา พยางคและคํา โดยครูพดู คําวา “สวัสดี” นําหนา ๒. การพดู ทกั ทาย เชน สวัสดณี รงค สวสั ดอี นชุ า สว แนะนําตนเอง ครู : สวัสดีครบั ..(พูดชือ่ นกั เรียน) และแนะนํา ครู : เมือ่ นักเรียนพบกันควรพูดค โรงเรียน ครู : คําวาสวสั ดเี ปน คาํ ท่ใี ชโ อกาส ๒. ครใู หส ถานการณแลว นักเรยี น บทบาทสมมติ ครู : ใหน ักเรยี นจับคู โดยสมมตุ วิ นกั เรียนตา งโรงเรยี นกนั มาพบกัน สถานที่ใดท่หี น่ึง เมื่อนักเรยี นพบเ กลา วคําทักทายกัน ครู : นักเรยี นรูสึกอยา งไรบางจาก การแสดงบทบาทสมมติ ครู : กลา วคาํ ชื่นชมนักเรียน

๗ รู ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ส่ือการเรยี นรู การประเมิน ที่ ๑ เร่ือง การทักทาย การเรียนรู เรื่อง โรงเรียนของเรา จํานวน ๑ ชวั่ โมง นวการจดั การเรยี นรู ๑. การสังเกต พฤติกรรม กิจกรรมนกั เรียน นกั เรียน างและ ๑.นักเรียนตน ทางและปลายทางท้งั า “สวสั ด”ี หองเรียนกลา วทักทายดว ย คําวา าเสมอ “สวัสดี” วัสดสี ธุ ดิ า ) นกั เรียน : สวัสดคี รับ/คะ คาํ วา อะไร นกั เรยี น : คําวา สวสั ดคี รบั /คะ สใด นกั เรียน : ใชเวลาท่เี ราทักทายกนั นแสดง ๒.นกั เรยี นแสดงบทบาทสมมติตาม สถานการณที่ครูกําหนดใหและกลา ว วา เปน ความรสู กึ และช่นื ชมการแสดงของ น ณ เพอื่ น เพื่อนให ก

๘ ลาํ ดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ขั้นตอน เวลา แน ที่ จดุ ประสงค การจัด ทใ่ี ช กจิ กรรมครู การเรียนรู การเรยี นรู ๒ จุดประสงค ขัน้ สอน ๓๐ นาที ๑. ครูพูดแนะนําตนเองกับนักเรีย การเรียนรู ครู : สวสั ดีครบั นกั เรียน ครชู ่อื ค ๑. พดู ทักทาย อนิ ทรพ วง ช่อื เลน ครูกนั ต ครูสอ แนะนาํ ตนเองและ ภาษาไทยชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ โรงเรียนได นักเรียนชื่ออะไรกนั บางครบั ๒. มมี ารยาทใน การฟง ดู และพูด ๒. ครใู หน ักเรียนจบั คพู ูดแนะนําต ครู : ครูใหน กั เรียนจบั คทู ํากจิ กรร “เธอกบั ฉันเรารจู ักกนั ” โดยใหน ัก พดู แนะนําตนเองและแนะนาํ สถา ทนี่ ักเรียนชนื่ ชอบในโรงเรียน พร เหตุผลประกอบ ๓. ครูสมุ นกั เรียน ๒ คู มาพูดแน ตนเองหนา ชั้นเรยี น ครู : จากการพดู ของเพื่อนทั้ง ๔ เปน อยา งไรบาง ๔. ครแู ละนกั เรยี นรวมอภปิ รายเก การพดู ของตนเอง โดยใหบอกขอ ขอเสยี ในการพดู ของตนเองและก

คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) นวการจัดการเรยี นรู สือ่ การเรียนรู การประเมิน การเรียนรู กจิ กรรมนักเรียน ยน ๑.นักเรยี นฟงครูแนะนําตนเอง ๒. การตอบ ครอู นุชา คาํ ถาม อนวชิ า ๓. การพดู แนะนําตนเอง ครับ ตนเอง ๒.นักเรยี นจบั คูทาํ กิจกรรม“เธอกับฉัน รม เรารูจกั กัน” กเรียน านที่ รอมบอก นะนาํ ๓.นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ คน มารยาทในการพูด (แนวคาํ ตอบ : ใช นํา้ เสียงนมุ นวล สภุ าพ พดู ชัดเจน ได กยี่ วกบั ยินท่ัวถึง ไมป ระหมา รอจังหวะใน อดแี ละ การพดู ) กลา ว ๔. นักเรยี น อภิปรายและประเมิน การพูดของตนเอง (ด/ี ปานกลาง/ ปรบั ปรุง)

หนว ยการเรยี นรูที่ ๑ เร่ือง โรงเรียนของเรา ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ลําดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอน เวลา แน ที่ จุดประสงค การจดั ทใ่ี ช กิจกรรมครู การเรยี นรู การเรยี นรู ชื่นชมนกั เรยี นทกุ คน และใหกาํ ล การพฒั นาการพูด ๓. จําแนกพยางค ๕. ครูอธบิ ายเรอ่ื ง พยางคและคํา และบอกจาํ นวน โดยนกั เรียนศึกษาจากใบความรูท พยางคของคําได ครู : นักเรียนสังเกตไหมวา ชื่อของ เพือ่ น ๆ มีความแตกตางกันอยา ง เพราะอะไร ๖. ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมเร่ืองเสียงท่เี ออกมา ๑ ครัง้ คอื ๑ พยางค พรอ ยกตัวอยางคํา ใหนักเรยี นสงั เกตว แตล ะคาํ มีก่ีพยางค และรว มกันว คําทกี่ ําหนดให ๑. โรงเรียน ๒. ชัยพฤกษ ๓. โรงอาหาร ๔. สหกรณ ๕. หอ งสมุด ๖. หองประชุม ๗. วังไกลกงั วล

๙ นวการจดั การเรยี นรู สอื่ การเรยี นรู การประเมิน การเรียนรู กิจกรรมนกั เรยี น ลังใจใน า ๕. นกั เรียนตอบคาํ ถาม (แนวคําตอบ : ๑. PowerPoint ๔. การอาน ท่ี ๑ ช่ือแตละคนแตกตา งกนั เชน ความสั้น เรอื่ งพยางค และการเขยี น องครแู ละ – ยาวของชอื่ ช่อื ผชู าย-ผูห ญิง เสยี งท่ี และคาํ ๕. การสงั เกต งไรบา ง เปลงออกมามีจาํ นวนแตกตางกัน/ไม ๒.ใบความรู พฤติกรรม เทา กนั ) ท่ี ๑ เร่อื ง พยางคและคํา เปลง ๖. นกั เรียน : ตอบคําถามไปพรอม ๆ อม กนั วา วิเคราะห โรงเรยี น ๒ พยางค ชยั พฤกษ ๓ พยางค โรงอาหาร ๓ พยางค สหกรณ ๓ พยางค หองสมดุ ๓ พยางค หองประชมุ ๓ พยางค วงั ไกลกังวล ๔ พยางค

๑๐ ลาํ ดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอน เวลา แน ท่ี จุดประสงค การจัด ทใี่ ช กจิ กรรมครู การเรียนรู การเรียนรู ๘. สนามเดก็ เลน ๙. สนามฟุตบอล ๑๐. สนุกสนาน ๔. อธิบาย ๗. ครูยกตัวอยางการวเิ คราะหคํา ความหมายของคํา คาํ วา สหกรณ (สะ-หะ-กอน) แต ได พยางคมีความหมายหรือไม อยา ง ๓. ๕. เขยี นคาํ ทม่ี ี ข้นั ปฏิบตั ิ ครู : พยางคแ ตล ะพยางคมีความห ๒-๔ พยางคไ ด หรอื ไมมคี วามหมายก็ได แตถารว ตอ งมีความหมายเสมอ ครู : ชื่นชมนักเรยี นดวยคาํ พูดทีส่ ๑๐ นาที ๑. ครชู แ้ี จงการทาํ ใบงานที่ ๑ เรื่อ จํานวนพยางค และใบงานที่ ๒ เร คํา ๒-๔ พยางค และครปู ลายทา นกั เรียนเพ่ิมเติมระหวางปฏบิ ตั ิ ครู : ครมู งี านท่ีทา ทายความสามา นกั เรียน คอื ใบงานที่ ๑ เรื่องบอก พยางคและคํา และใบงานท่ี ๒ เร

คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) นวการจัดการเรียนรู สือ่ การเรยี นรู การประเมนิ การเรยี นรู กจิ กรรมนักเรียน สนามเดก็ เลน ๔ พยางค สนามฟุตบอล ๔ พยางค สนกุ สนาน ๔ พยางค าไดแ ก ๗. นักเรยี นตอบตามประสบการณเดมิ ตล ะ (แนวคําตอบ : สะ-หะ ไมมคี วามหมาย งไร สว นคาํ วา กรณ มีความหมาย (กรณ (ก.) แปลวาทํา, (น.) แปลวา เคร่อื งทํา ผูชว ย เสมียน, (ว.) แปลวา ฉลาด ชาํ นาญ) หมาย วมเปนคํา สรา งสรรค องบอก ๑.นกั เรยี นทาํ ใบงานที่ ๑ เรื่องบอก ๓. ใบงานที่ ๑ ๖. ประเมนิ ผล ร่อื งเขียน จํานวนพยางคแ ละคํา และใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง บอก การทาํ ใบงาน างช้แี จง เรอื่ งเขยี นคําทม่ี ี ๒-๔ พยางค จาํ นวนพยางค ๔.ใบงานท่ี ๒ ารถของ เขียนคําที่ กจาํ นวน ๒-๔ พยางค รือ่ งเขยี น

หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง โรงเรียนของเรา ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ ลําดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขั้นตอน เวลา แน ท่ี จดุ ประสงค การจดั ทีใ่ ช กจิ กรรมครู การเรียนรู การเรียนรู คาํ ทีม่ ี ๒-๔ พยางค พรอมแลวห ครบั ใหแตล ะคนทําดวยตนเอง ห สอบถามครูไดครบั ๒.ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกา ใบงานท่ี ๑ และ ๒ ๔. ขัน้ สรปุ ๓ นาที ๑. ครูใชคําถามกระตนุ ความคดิ เก การหาความหมายของคํา ครู : พยางคแ ละคํามีความแตกต อยางไร (แนวคําตอบ:พยางคอาจ ความหมายหรือไมมคี วามหมายก แตค าํ ตองมีความหมายเสมอ) ครู : เราสามารถหาความหมายข อยา งไร/จากที่ใดบา ง (แนวคาํ ตอ หาความหมายของคาํ ไดหลายวธิ ี การถามผรู ู การคน ควา พจนานุกร ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ในหองสม สบื คนดวยพจนานุกรมอิเลก็ ทรอน ๒. นักเรยี นและครรู ว มกนั อภิปรา กิจกรรมท่ีไดทํา และรวมกนั อภิป มารยาทในการฟง และพูด

๑๑ นวการจัดการเรียนรู ส่อื การเรยี นรู การประเมนิ การเรียนรู กิจกรรมนักเรียน หรือยัง หากสงสัย ารทํา ๒.นักเรียนรว มกันเฉลยและตรวจแกไ ข ก่ยี วกับ การทําใบงานที่ ๑ และ ๒ ตางกัน ๑. นกั เรยี นตอบคาํ ถาม ๔. PowerPoint ๗. การสังเกต จจะมี เรื่องพยางค พฤติกรรม กไ็ ด และคํา ของคาํ ได ๕. พจนานกุ รม ๘. การตอบ อบ : ๖. หองสมุด คําถาม ไดแก ๗. อนิ เทอรเ นต็ รมไทย มดุ หรอื ๒. นักเรียนรวมกันพดู แสดงความคิด นิกส) เกีย่ วกบั การทาํ กจิ กรรม และตอบ าย คาํ ถาม ปรายถงึ

๑๒ ลําดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ขัน้ ตอน เวลา แน ที่ จุดประสงค การจัด ท่ใี ช กจิ กรรมครู การเรียนรู การเรยี นรู ครู : จากการพูดแนะนาํ ตนเองขอ นกั เรียนหนาหองเรียน นักเรยี นค ควรปฏิบตั ิตนอยา งไร เมื่อเพ่ือนพ นําเสนอผลงานอยหู นาหอง (แนวคําตอบ : มีมารยาทในการ พูด เชน ไมค ุย ตง้ั ใจฟง ตามองผพู พยายามจับความคิดหรือสิง่ ที่เปน ประโยชนท ีจ่ ะนาํ ไปใช ไมแสดงก เหมาะสม เปนตน ) ๓. ครแู ละนกั เรียนรวมกันสรุปมา ในการฟง ดู และพูด

คูม อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) นวการจัดการเรียนรู ส่ือการเรยี นรู การประเมิน การเรียนรู กจิ กรรมนกั เรยี น อง คิดวา เรา พดู หรือ รฟง และ พดู น กิริยาท่ีไม ารยาท ๓. นกั เรียนสรปุ เร่อื งมารยาทในการฟง ดแู ละพูด

หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เรื่อง โรงเรยี นของเรา ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ ๑๓ ๘. สอื่ การเรยี นรู/ แหลง เรยี นรู ๑) ใบความรทู ี่ ๑ เรือ่ ง พยางคและคํา ๒) โปรแกรมนําเสนอ PowerPoint เรอ่ื ง พยางคแ ละคาํ ๓) ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง บอกจาํ นวนพยางค ๔) ใบงานท่ี ๒ เขียนคําที่ ๒-๔ พยางค ๕) หองสมุด อนิ เทอรเ น็ต พจนานกุ รม ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑) ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง บอกจาํ นวนพยางค ๒) ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง เขียนคําท่ี ๒-๔ พยางค ประเด็นการวัดและ วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมิน ประเมินผล ความรู ๑. บอกจาํ นวนพยางค ๑. การถาม-ตอบ ๑. แบบประเมินการถาม- ผานเกณฑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ๒. การสงั เกตพฤตกิ รรม ตอบ การประเมนิ ๒. แบบสังเกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๖๐ ทักษะและกระบวนการ ๑. พดู ทกั ทายแนะนาํ ตนเอง ๑ การพดู ทักทาย ๑ แบบประเมนิ การพดู ผา นเกณฑ และโรงเรียน แนะนําตนเองและ ทกั ทายแนะนําตนเองและ การประเมนิ ๒. จาํ แนกพยางคของคาํ โรงเรียน โรงเรยี น รอ ยละ ๖๐ ๓. เขยี นคาํ ท่มี ี ๒-๔ พยางค ๒ การจาํ แนกพยางค ๒ แบบประเมนิ การจําแนก ของคํา พยางคของคํา ๓ การเขียนคําท่ี ๒-๔ ๓ แบบประเมนิ การเขยี น พยางค คําท่ี ๒-๔ พยางค คุณลกั ษณะ เจตคติ คานิยม - มารยาทในการฟง ดู และพูด - การสังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ การประเมิน รอยละ ๖๐ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑. ใฝเ รียนรู - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑการประเมิน ๒. มงุ มัน่ ในการทํางาน ระดบั คุณภาพ ผา น สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๑ การประเมิน ๑ แบบประเมิน เกณฑการประเมนิ ๒. ความสามารถในการคดิ ความสามารถใน ความสามารถในการส่ือสาร ระดบั คุณภาพ ผา น การส่อื สาร ๒ แบบประเมนิ ๒ การประเมนิ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคดิ

๑๔ คูมือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) ๙.๑ เกณฑการประเมนิ ผลช้ินงานหรอื ภาระงาน ประเด็น ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) ๑. บอกจํานวน บอกจาํ นวนพยางค บอกจาํ นวนพยางค บอกจาํ นวนพยางค บอกจาํ นวนพยางคได พยางคได ไดถูกตอ งทกุ ขอ ไดถ ูกตอ ง ๖-๗ ขอ ไดถูกตอ ง ๔-๕ ขอ ถกู ตองนอ ยกวา ๔ ขอ ๒. จําแนกพยางค จําแนกพยางคของ จําแนกพยางคของ จาํ แนกพยางคของ จาํ แนกพยางคของคํา ของคําได คาํ ตา ง ๆ ไดถูกตอง คาํ ตา ง ๆ ไดถูกตอง คาํ ตาง ๆ ไดถกู ตอง ตาง ๆ ไมถูกตอง ทุกคํา เปน สว นใหญ คอนขางนอ ย ๓. อธบิ าย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธิบายความหมาย ความหมายของคํา ของคาํ ไดชดั เจน ของคําไดคอ นขา ง ของคําไดคอ นขาง ของคาํ ไดไมถกู ตอง ได ดมี ากทุกคํา ชัดเจนทุกคํา ถูกตอง และไมชดั เจน ๔. เขยี นคาํ ทม่ี ี เขียนคําที่มี ๒-๔ เขยี นคําที่มี ๒-๔ เขยี นคําท่ีมี ๒-๔ เขียนคาํ ท่ีมี ๒-๔ ๒-๔ พยางคไ ด พยางคไดถ ูกตองทุก พยางคไดถ ูกตอง พยางคไดถ ูกตอง พยางคไดถ ูกตอง ขอ ๖-๗ ขอ ๔-๕ ขอ นอ ยกวา ๔ ขอ ๕. พดู ทักทาย - พดู ทักทายได - พูดทักทายได - พูดทักทายไมคอย - พดู ทกั ทายไม แนะนาํ ตนเองและ ถูกตองครบถวน ถกู ตองครบถวน ครบถวน ครบถว น โรงเรยี นได - แนะนาํ ตนเองและ - แนะนําตนเองและ - ขาดการแนะนํา - ขาดการแนะนาํ แนะนาํ โรงเรียน แนะนําโรงเรยี น ตนเองหรือการ ตนเองและ - ใชคาํ พูดถูกตอง - ใชค าํ พูดถูกตอง แนะนําโรงเรียน การแนะนําโรงเรยี น คลอ งแคลว พูดตดิ ขัดเลก็ นอ ย - ใชคาํ พดู คอนขางดี - พดู ผดิ พูดตดิ ขัด - เสยี งดงั ชดั เจน - เสยี งไมค อยดงั พดู ติดขัดเปนสว น - เสยี งไมดงั ใหญ - เสียงไมค อยดัง ๖. มมี ารยาทใน ตง้ั ใจฟง ไมเ ลน ตง้ั ใจฟง นง่ั เลน คอนขางไมม สี มาธิ ไมมสี มาธิ น่ังเลน การฟง ดู และพดู ขดั จงั หวะหรือพดู ขัดจงั หวะบางแตไ ม นงั่ เลนขัดจังหวะ ขดั จงั หวะ และพูด แทรก และตอบ พดู แทรก และตอบ และไมพ ูดแทรก แทรก ตอบคําถามครู คําถามไดดี คําถามไดดี ตอบคาํ ถามครูได ไมไ ด เล็กนอย เกณฑการตัดสิน หมายถึง ดมี าก คะแนน ๑๙-๒๔ คะแนน หมายถึง ดี คะแนน ๑๓-๑๘ คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน ๗-๑๒ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๖ คะแนน เกณฑก ารผา น ตงั้ แตร ะดบั พอใช

หนวยการเรียนรูท่ี ๑ เร่อื ง โรงเรยี นของเรา ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๑๕ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาํ เร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากดั การใชแผนการจัดการเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเหน็ /ขอ เสนอแนะของผบู รหิ ารหรือผทู ่ไี ดรบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๖ คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (ภาษาไทย ป.๓) ใบความรทู ี่ ๑ เรอื่ ง พยางคแ ละคาํ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง โรงเรยี นของเรา แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑ เรอ่ื ง การทักทาย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๓ พยางคแ ละคํา พยางค คือ สวนของคําท่ีเปลงออกมาครั้งหนึ่ง ๆ อาจมี ความหมายหรอื ไมม ีความหมายก็ได คํา คือ เสียงหรือลายลักษณอักษรท่ีประกอบดวยพยัญชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยุกต คาํ หนง่ึ คาํ อาจมพี ยางคเ ดียว หรือหลายพยางค “คาํ ” ถอื เปนหนว ยท่ีเล็กท่ีสุดที่มีความหมาย ตัวอยาง นา มี ๑ พยางค ๑ คํา นาที มี ๒ พยางค ๑ คาํ นาฬกิ า มี ๓ พยางค ๑ คํา นาฬกิ าทราย มี ๔ พยางค ๑ คาํ

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง โรงเรยี นของเรา ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๑๗ ใบงานที่ ๑ เรื่อง บอกพยางค หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่อื ง โรงเรยี นของเรา แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑ เร่อื ง การทกั ทาย รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๓๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ คําชีแ้ จง เขียนจํานวนพยางคจากคําทกี่ ําหนดให ๑. ครู ม…ี ………………………พยางค ๒. นักเรยี น ม…ี ………………………พยางค ๓. โรงเรียน ม…ี ………………………พยางค ๔. วงั ไกลกังวล ม…ี ………………………พยางค ๕. หองประชมุ ม…ี ………………………พยางค ๖. ชัยพฤกษ ม…ี ………………………พยางค ๗. หองสมุด มี…………………………พยางค ๘. เฉลิมพระเกียรติ มี…………………………พยางค ๙. อาคารหลวงปโู ตะ ม…ี ………………………พยางค ๑๐. สนามเดก็ เลน ม…ี ………………………พยางค ชื่อ ................................................ สกุล ............................. ชน้ั ............... เลขท่ี ............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook