Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-13-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-2

64-08-13-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-2

Published by elibraryraja33, 2021-08-13 01:12:50

Description: 64-08-13-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-2

Search

Read the Text Version

หนว ยการเรียนรูที่ 5 เร่ือง วิถปี ระชาธปิ ไตย 673 ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง การเลอื กต้ัง ๓ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๕ เร่ือง วิถีประชาธปิ ไตย แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๙ เร่อื ง การเลือกตั้ง ๓ รายวิชาสงั คมศกึ ษา รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรยี นเขยี นลําดบั ขน้ั ตอนท่พี ึงควรปฏบิ ัตใิ นการเลือกต้งั ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ช่ือ-นามสกุล………………………………………………………..…………………………………..ช้นั ……………..เลขท่ี ……………..

674 คมู อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) เฉลยใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง การเลอื กต้งั ๓ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๕ เรื่อง วถิ ีประชาธปิ ไตย แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๙ เรือ่ ง การเลือกตง้ั ๓ รายวิชาสังคมศกึ ษา รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ คําชแี้ จง ใหนกั เรยี นเขยี นลาํ ดบั ข้นั ตอนท่ีพงึ ควรปฏบิ ตั ิในการเลอื กตงั้ ขัน้ กอ นวนั เลือกต้ัง ข้นั ในวนั เลอื กต้งั ขน้ั หลังวันเลือกตง้ั ๑. ติดตามขอมลู ขา วสาร ๑. เดนิ ทางไปสถานที่เลอื กตงั้ ๑. ติดตามขอมลู การนับ เกี่ยวกบั การหาเสยี งเลอื กตง้ั ภายในเวลาทีก่ าํ หนด พรอ ม คะแนน และการประกาศผล กันต้ังแตเ วลา ๐๘.๐๐ น. คะแนนของผูสมคั ร ๒. รบั ฟง นโยบาย แนวคดิ ของผสู มัครแตละคน ๒. ตรวจสอบรายชอ่ื ของตน ๒. ตดิ ตามการปฏบิ ัติงานของ รวมถงึ จําหมายเลขของตน ผูแทนวาทาํ นโยบายทีก่ าํ หนด ๓. ตรวจสอบรายช่ือผูม ีสิทธิ เพือ่ แจง เจา หนาทีป่ ระจํา ไวหรอื ไม เพอ่ื ใชประกอบใน ลงคะแนนเลอื กต้ัง หนว ย การตัดสินใจในการเลอื กต้งั ครง้ั ตอไป ๓. ตรวจสอบหมายเลขของ ผสู มคั รรบั เลือกต้ัง ๔. แจงเลขที่ของตนกับ เจา หนาที่พรอมบัตร ประจาํ ตัวประชาชน ๕. ลงช่ือพมิ พล ายน้ิวมือ พรอมรบั บัตรเลือกตั้ง ๖. เขาคหู า ทาํ เครื่องหมาย กากบาท ๗. พบั บัตรท่ลี งคะแนนแลว นําไปหยอนใสล งในหบี เลอื กต้ัง

หนวยการเรียนรทู ี่ 5 เรือ่ ง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย 675 แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู วนั ที.่ ......................เดอื น..........................................พ.ศ.................................. เกณฑก ารใหค ะแนน ลาํ ดบั ที่ ช่ือ–สกลุ ความต้ังใจ รวม ระดบั ในการเรียน (4) (16) คณุ ภาพ ความสนใจ และการซักถาม (4) การตอบ ํคาถาม (4) ีม สวนรวม ในกิจกรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ................................................................ผูประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก ารใหค ะแนนดังตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมนิ ในการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนรายบคุ คล ดงั น้ี ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก ารสรปุ ผลการประเมิน 13-16 ดีมาก นกั เรียนทีไ่ ดระดับคุณภาพพอใชขน้ึ ไป ถอื วา ผา น 9-12 ดี 5-8 พอใช 1-4 ปรบั ปรงุ

676 คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) เกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การประเมิน เกณฑก ารใหค ะแนน ตองปรบั ปรงุ (1) ดีมาก (4) ดี (3) พอใช (2) 1. ความตั้งใจใน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น ไมส นใจใน การเรียน ไมค ยุ หรือเลน กนั คุยกนั เลก็ นอย คยุ กันและเลน กัน การเรียน คยุ และ 2. ความสนใจและ การซกั ถาม ในขณะเรยี น ในขณะเรียน ในขณะเรียนเปน เลน กนั ในขณะ 3. การตอบคําถาม บางครง้ั เรยี น 4. มสี ว นรวมใน มีการถามในหวั ขอ มกี ารถามในหวั ขอ มกี ารถามในหวั ขอ ไมถามในหัวขอ ที่ กิจกรรม ท่ตี นไมเขา ใจทกุ ทีต่ นไมเ ขา ใจเปน ทต่ี นไมเ ขา ใจเปน ตนไมเ ขาใจและไม เรอ่ื งและกลา สว นมากและกลา บางคร้งั และไม กลาแสดงออก แสดงออก แสดงออก คอยกลาแสดงออก รวมตอบคําถามใน รวมตอบคาํ ถามใน รวมตอบคําถามใน ไมต อบคําถาม เร่ืองทคี่ รถู ามและ เรอ่ื งทค่ี รถู ามและ เร่ืองทีค่ รูถามเปน ตอบคาํ ถามถกู ทุก ตอบคาํ ถาม บางครง้ั และตอบ ขอ สว นมากถูก คาํ ถามถูกเปน บางครงั้ รวมมอื และ รวมมอื และ รวมมอื และ ไมมีความรว มมอื ชว ยเหลือเพอ่ื นใน ชว ยเหลือเพ่ือน ชวยเหลือเพื่อนใน ในขณะทํากจิ กรรม การทํากิจกรรม เปน สวนใหญใ น การทาํ กจิ กรรม การทาํ กจิ กรรม เปน บางคร้งั

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 5 เร่ือง วถิ ีประชาธปิ ไตย 677 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชแี้ จง ใหผ สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียนแลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มวี ินยั ๑.1 ปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอ บังคบั ของครอบครัว รบั ผดิ ชอบ และโรงเรยี น มคี วามตรงตอเวลาในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา ง ๆ ใน ๒. ใฝเ รยี นรู ชวี ิตประจําวัน มคี วามรับผิดชอบ 2.1 ตง้ั ใจเรยี น 3. มงุ มนั่ ใน การทาํ งาน 2.2 เอาใจใสในการเรยี นและมคี วามเพียรพยายามในการเรียน 2.3 เขารวมกจิ กรรมการเรียนรูต าง ๆ 2.4 ศกึ ษาคนควา หาความรจู ากหนงั สือ เอกสาร สิ่งพมิ พ สอ่ื เทคโนโลยตี า ง ๆ แหลง การเรยี นรูท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใชส อื่ ไดอยางเหมาะสม 2.5 บนั ทึกความรู วิเคราะห ตรวจสอบบางสง่ิ ที่เรียนรู สรุปเปน องค ความรู 2.6 แลกเปลย่ี นความรู ดว ยวิธกี ารตาง ๆ และนําไปใชใ น ชีวิตประจาํ วนั 3.1 มีความตง้ั ใจและพยายามในการทํางานท่ไี ดร บั มอบหมาย 3.2 มีความอดทนและไมท อแทตอ อุปสรรคเพ่อื ใหง านสําเร็จ เกณฑก ารใหค ะแนน ลงชือ่ ................................................................ผปู ระเมนิ ๓ คะแนน หมายถงึ ๒ คะแนน หมายถงึ ...................../..................../................... ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา งสมํา่ เสมอ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก ารใหค ะแนนดงั ตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ดังนี้ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑการสรปุ ผลการประเมนิ 19-27 ดี นกั เรยี นที่ไดร ะดับคณุ ภาพพอใชข ้นึ ไป ถือวา ผาน 10-18 1-9 พอใช ปรบั ปรงุ

678 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) แบบประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น คําชแี้ จง ใหผ สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว ขีด ลงในชองท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน รายการประเมนิ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถ ๑.1 มีความสามารถในการรบั –สง สาร ในการสื่อสาร 1.2 มคี วามสามารถในการถา ยทอดความรู ความคิด ความเขา ใจ ของตนเอง โดยใชภ าษาอยา งเหมาะสม 2. ความสามารถ 2.1 มีทกั ษะในการคิดนอกกรอบอยางสรางสรรค ในการคดิ 2.2 มคี วามสามารถในการคดิ อยา งมีระบบ 3. ความสามารถ 3.1 สามารถทาํ งานกลุม รวมกับผอู ่นื ได ในการแกป ญ หา 3.2 สามารถตดั สินใจไดเ หมาะสมตามวัย ลงชอ่ื ................................................................ผูประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก ารใหค ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสมาํ่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑก ารใหค ะแนนดังตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมินสมรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น ดงั น้ี ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก ารสรุปผลการประเมิน 13-18 ดี นกั เรยี นทไ่ี ดร ะดับคุณภาพพอใชขึ้นไป ถอื วา ผาน 7-12 1-6 พอใช ปรับปรงุ

หนวยการเรยี นรทู ่ี 5 เรอ่ื ง วิถีประชาธปิ ไตย 679 แบบประเมนิ ตนเอง ชื่อ : __________________สกลุ : _________________วนั ____ เดอื น____________ พ.ศ. _____ หนวยการเรียนรูท่ี ๕ เรอื่ ง วิถปี ระชาธิปไตย ๑. ประเมนิ การเรยี นรขู องตนเอง กาเคร่อื งหมาย / ในชองระดับความสามารถของแตล ะกจิ กรรมที่นกั เรียนคดิ วาทาํ ไดใ นระดบั การประเมนิ เหลา น้ี ระดบั ความสามารถ : ดมี าก คอนขา งดี ดี พอใช ปรบั ปรงุ ท่ี รายการ ระดบั ความสามารถ ปรบั ปรุง ดมี าก คอนขางดี ดี พอใช ๑. เปรียบเทียบบทบาทหนา ที่ขององคก ร ปกครองสว นทอ งถ่นิ และรัฐบาลได ๒. มสี ว นรว มในกจิ กรรมตาง ๆ ทส่ี ง เสรมิ ประชาธิปไตยในทอ งถ่นิ และประเทศ ๓. วเิ คราะหความสําคัญในการใชสิทธิออกเสยี ง เลือกตัง้ ตามระบอบประชาธิปไตยได 2. ส่ิงที่ฉนั ยังไมเขา ใจ/ยงั ทาํ ไมไ ดด คี อื .......... (อาจตอบไดมากกวา ๑ อยา ง)  ……………………………………………...................................................................................................... ..............................................................................................................................................................  …………………………………………….................................................................................................... ............................................................................................................................................................ 3. สิ่งท่ฉี นั จะทาํ ใหด ีขน้ึ ในการเรยี นหนว ยตอ ไป (อาจตอบไดม ากกวา ๑ อยา ง)  ……………………………………………...................................................................................................... ..............................................................................................................................................................  …………………………………………….................................................................................................... ............................................................................................................................................................

680 คูมอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) บันทกึ การเรียนรู (Learning logs) ชื่อ : ____________________ สกลุ : ___________________วนั ____ เดือน___________ พ.ศ. _____ สิง่ หน่งึ ทฉี่ ันไดเ รยี นรูจากการเรียนวชิ านีใ้ นปลายภาคเรยี น คอื ........................................... ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ฉันนาจะเรยี นรไู ดด ีกวานหี้ าก ............................................................................................ ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... สิ่งทฉ่ี ันอยากจะบอกคุณครู คอื .......................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... สิ่งท่ีฉนั ควรปรับปรงุ ตวั เองใหด ขี ้นึ คอื ............................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ปญหาในการเรยี นของฉนั คือ ........................................................................................... ......................................................................................................................................... .........................................................................................................................................

บรรณานกุ รม 681 บรรณานุกรม ผผู ลิต. สบื คน เมื่อ ๑๑ มถิ นุ ายน 256๓. จาก https://www.im2market.com แตง กาย. สบื คนเมื่อ ๑๑ มิถุนายน 256๓. จาก https://sites.google.com/site/kritlinna อาชีพ. สืบคนเมื่อ ๑๑ มิถุนายน 256๓. จาก http://katae2553.blogspot.com ภาพ ๓ หว ง ๒ เงื่อนไข. สืบคนเม่อื ๑๑ มถิ ุนายน 256๓. จาก https://www.topthaidaily.com ๓ หว ง ๒ เง่ือนไข. สืบคนเม่ือ ๑๑ มถิ ุนายน 256๓. จาก http://www.tupr.ac.th/sufficency3.php แตงกายอีสาน. สบื คนเม่ือ ๒๑ พฤษภาคม 256๓. จาก http://nanavagi.blogspot.com/2010/01/blog-post_1662.html อาหารอีสาน. สืบคน เมื่อ ๒๑ พฤษภาคม 256๓. จาก https://sites.google.com/site/xisanxxnsxn/xahar-phun-ban-xisan อาชพี ภาคอสี าน. สืบคน เมื่อ ๒๑ พฤษภาคม 256๓. จาก http://puypp501.blogspot.com/2010/01/blog-post.html อาหารภาคใต. สบื คน เมือ่ ๑๑ มิถุนายน 256๓. จาก https://sites.google.com/site/chumchonwatnoisikhiu ศาสนาภาคใต. สบื คนเม่อื ๒๓ พฤษภาคม 256๓. จาก https://sites.google.com/site/kikkiezsopida2540/home/dan-sasna อาชีพคนใต. สบื คนเมื่อ ๑๑ มิถนุ ายน 256๓. จาก https://beer0410.wordpress.com รปู แบบการปกครอง. สืบคนเมื่อ ๑ พฤษภาคม 256๓. จาก https://sites.google.com/site/30346mayyy/home/rabxb-karmeuxng-kar-pkkhrxng ประเภทของสหกรณ. สืบคนเม่ือ ๑๕ มถิ นุ ายน 256๓. จาก http://www.sahakornthai.com หนังสือเรยี นสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.6 สาํ นกั พิมพ อักษรเจริญทศั น หนงั สอื เรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒ สาํ นกั พิมพ อักษรเจริญทัศน

682 คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (สังคมศึกษา)

ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (สังคมศึกษา) 683 แบบประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน คําชแี้ จง ใหครผู สู อนประเมินผลชิน้ งานหรอื ภาระงานของนกั เรยี น แลว เขยี นเครื่องหมาย  ลงในชองทตี่ รงตาม หัวขอท่กี ําหนด รายการ รายการประเมนิ ดีมาก คะแนนรวม ดี พอใช ป ัรบป ุรง 4321 ๑6 1. รปู แบบชนิ้ งาน 2. ภาษา 3. เน้ือหา 4. เวลา เกณฑก ารประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน 1. รูปแบบ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรับปรงุ (๑) ชิ้นงาน รปู แบบช้ินงานถกู ตอ ง รปู แบบช้นิ งาน ครบถว นตามทกี่ ําหนด มี รูปแบบชนิ้ งานถูกตอ ง รปู แบบช้ินงาน ไมถูกตอ ง ตามที่ 2. ภาษา ความคดิ สรางสรรคแปลก กาํ หนด ผลงาน ใหม นาสนใจ ขนาด นา สนใจ ขนาด ถกู ตอ งเปนสว นมาก ไมเรียบรอ ย 3. เนอื้ หา เหมาะสม สวยงาม ใชภาษาถกู ตอง สะกดคาํ เหมาะสม สวยงาม นาสนใจ ขนาด ใชภ าษาและ 4. เวลา ถกู ตอ ง ลายมือสวยงาม สะกดคาํ ไม อานงา ย เหมาะสม สวยงาม ถูกตอ ง ลายมอื อา นยาก ขีดฆา เน้อื หาถกู ตอง สมบรู ณ ใชภาษาถกู ตอ ง สะกด ใชภาษาถกู ตอ ง เนือ้ หาไมถ กู ตอ ง มีความสอดคลอ งเช่อื มโยง คําถกู ตองลายมอื อา น สะกดคาํ มผี ดิ พลาด ไมค รอบคลุม กัน ตรงหวั ขอเรอื่ ง งาย บา งเลก็ นอ ย รายละเอยี ดครอบคลมุ สงช้นิ งานไมท นั สงชิน้ งานกอ นเวลาท่ี ลายมืออา นงา ย กําหนดตงั้ แต ๒ กําหนด วนั ข้ึนไป เนื้อหาถกู ตอง ตรง เนอื้ หาถกู ตอง แต หวั ขอ เร่อื ง รายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ดใน คอนขา งครอบคลมุ บางสว น สงช้นิ งานภายในเวลา สงช้ินงานไมท ัน กาํ หนด กาํ หนด ๑ วัน เกณฑก ารใหค ะแนน ดีมาก คะแนน ๑3-๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน 9-๑2 คะแนน หมายถงึ พอใช คะแนน 5-8 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน 1-4 คะแนน หมายถงึ เกณฑก ารผา น ตง้ั แตระดบั พอใช ข้ึนไป

684 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศึกษา ป.6) สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู คาํ ชแี้ จง ใหค รผู สู อนสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นของนกั เรยี น แลวเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในชอ งทต่ี รงกบั พฤตกิ รรมตามหวั ขอที่กาํ หนด รายการ เลขท่ี ชื่อ–สกลุ การรวม ิกจกรรม คะแนนรวม การ ัรบฟงความ ิคดเ ็หนของผู ่ือน ความรับผิดชอบ ขยันหมั่นเ ีพยร ตรงตอเวลา ๓๓ ๓๓๓ ๑๕ เกณฑก ารสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู ประเดน็ การประเมนิ คะแนน 3 21 1. การรวมกจิ กรรม มีความกระตอื รือรนใน มคี วามกระตือรือรน ใน ไมมคี วามกระตือรือรน การรว มกจิ กรรมอยา ง การรวมกจิ กรรม ในการรว มกจิ กรรม สมํ่าเสมอ บางคร้ัง 2. การรับฟง ความคดิ เห็น รับฟง ความคิดเห็นของ รบั ฟงความคิดเห็นของ ไมร บั ฟงความคิดเหน็ ของผอู ่ืน ผูอ น่ื สมํา่ เสมอ ผูอ่ืนเปนบางครั้ง ของผอู น่ื 3. ความรับผดิ ชอบ มีความรับผิดชอบใน มคี วามรับผดิ ชอบใน ไมม ีความรับผดิ ชอบใน งานทไ่ี ดร ับมอบหมาย งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย งานที่ไดร บั มอบหมาย อยางสมาํ่ เสมอ บางครง้ั 4. ขยนั หมนั่ เพียร มีความเพยี รพยายาม มคี วามเพยี รพยายาม ไมม ีความเพยี รพยายาม ทํางานใหส าํ เรจ็ อยา ง ทาํ งานใหส ําเร็จเปน ทาํ งานใหส ําเรจ็ สมํ่าเสมอ บางครง้ั 5. ตรงตอ เวลา สง ผลงานเสรจ็ สงผลงานเสร็จ สงผลงานไมเ รยี บรอ ย เรียบรอย เรียบรอย และชา กวา เวลาที่ ทันตามเวลาทีก่ าํ หนด แตช า กวาเวลาทกี่ ําหนด กาํ หนด

ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (สงั คมศกึ ษา) 685 แบบบนั ทึกการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค เด็กชาย/เดก็ หญงิ ...............................................................ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี.่ ......./........เลขที่......... รายการประเมนิ พฤตกิ รรมแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ 1. มีวินัย ๑. ปฏบิ ัตติ ามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บังคบั ของ 2. ใฝเ รียนใฝรู ครอบครวั โรงเรยี น และสังคม 3. มงุ มัน่ ในการ 2.1 ตง้ั ใจเพยี รพยายามในการเรยี นและเขา รว มกิจกรรม ทํางาน การเรยี นรู 2.2 แสวงหาความรจู ากแหลง เรยี นรูตา ง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ดวยการเลือกใชสอื่ อยางเหมาะสม สรปุ เปนองคค วามรู และสามารถนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจาํ วันได 3.1 ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในหนาทก่ี ารงาน 3.2 ทาํ งานดว ยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อใหงานสาํ เร็จ ตามเปา หมาย ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เกณฑก ารใหค ะแนน ๓ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ ยครัง้ ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก ารใหค ะแนนดงั ตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผเู รยี น ดงั น้ี ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 11-15 ดี 6-10 1-5 พอใช ปรบั ปรุง

686 คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) แบบประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น เดก็ ชาย/เด็กหญิง........................................................ช้ันประถมศึกษาปท ่ี......../........เลขท่ี......... รายการประเมนิ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มคี วามสามารถในการรบั –สงสาร การสอื่ สาร ๑.๒ มีความสามารถในการถายทอดความรู ความคิด ความ เขา ใจของตนเอง โดยใชภ าษาอยางเหมาะสม ๑.3 ใชวิธกี ารสอ่ื สารทีเ่ หมาะสม มปี ระสทิ ธิภาพ ๑.4 เจรจาตอรอง เพื่อขจดั และลดปญหาความขัดแยง ตา ง ๆ ได ๑.5 เลอื กรับและไมรับขอมลู ขา วสารดวยเหตผุ ลและถกู ตอง 2. ความสามารถ ๒.๑ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห สงั เคราะห ในการคดิ ๒.๒ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา งสรางสรรค ๒.๓ สามารถคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ ๒.๔ มคี วามสามารถในการคิดอยางมรี ะบบ ๒.๕ ตัดสนิ ใจแกป ญ หาเก่ยี วกบั ตนเองไดอยา งเหมาะสม 3. ความสามารถใน ๓.๑ สามารถแกปญหาและอปุ สรรคตาง ๆ ทเี่ ผชญิ ได การแกป ญ หา ๓.๒ ใชเหตุผลในการแกปญหา ๓.๓ เขา ใจความสมั พันธแ ละการเปล่ียนแปลงในสังคม ๓.๔ แสวงหาความรู ประยกุ ตค วามรมู าใชใ นการปองกนั และ แกไขปญหา ๓.๕ สามารถตดั สนิ ใจไดเ หมาะสมตามวัย ๔. ความสามารถ ๔.๑ เรยี นรูดวยตนเองไดเ หมาะสมตามวยั ในการใชทกั ษะชวี ติ ๔.๒ สามารถทาํ งานกลุม รว มกบั ผอู ่นื ได ๔.๓ นําความรทู ไี่ ดไปใชประโยชนในชีวิตประจาํ วัน ๔.๔ จดั การปญ หาและความขัดแยง ไดเหมาะสม ๔.๕ หลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคท ี่สงผลกระทบตอ ตนเอง เกณฑก ารใหค ะแนน ๓ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก ารประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน ดงั นี้ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 41-60 ดี 21-40 1-20 พอใช ปรบั ปรงุ

ตอนท่ี 2 วิชาประวตั ิศาสตร กลุมสาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 687 ตอนที่ 2 วชิ าประวัตศิ าสตร

688 คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ประวัติศาสตร ป.6) คําช้แี จง รายวชิ าประวตั ศิ าสตร กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑. แนวคดิ หลัก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดสาระการเรียนรู จํานวน ๘ กลุมสาระการเรยี นรู ครูผูสอนตองจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยนําความรูดานเนอื้ หาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝกทักษะใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค ๘ ประการ ดังนี้ สมรรถนะสาํ คัญของผูเ รียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสื่อสารเปนความสามารถในการรับสารและส่ือสารมีวัฒนธรรมในการใช ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพอ่ื ใชใ นการตัดสินใจ เกี่ยวกับตนเอง สงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกป ญหาและอปุ สรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตอง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณตาง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหา และความขดั แยงตา ง ๆ อยางเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเทคโนโลยี การ แกป ญหาอยา งสรางสรรคถูกตองเหมาะสม มคี ุณธรรมดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพฒั นาตนเอง สงั คมในดานการเรียนรู การสอ่ื สาร การทาํ งาน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมอยางมีความสุข ใน ฐานะเปน พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ดังน้ี ๑) รักชาติ ศาสน กษัตริย ๒) ซ่อื สตั ย สุจริต ๓) มวี ินยั ๔) ใฝเ รยี นรู ๕) อยูอ ยางพอเพยี ง ๖) มงุ มน่ั ในการทํางาน ๗) รักความเปนไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวาดวยการอยูรวมกันในสังคมท่ีมีความ เชือ่ มสมั พันธก ัน และมีความแตกตางอยางหลากหลาย เพ่อื ชว ยใหส ามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดลอม

คาํ ชแ้ี จง รายวชิ าประวัตศิ าสตร กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 689 เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม เปนวิชาที่ประกอบดวย หลายแขนงสาระ ทําใหมีลักษณะเปนสหวิทยาการ เปนการนําวิชาตาง ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตรเขาดวยกัน ไดแก ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร นิติศาสตร เศรษฐศาสตร รัฐศาสตร เปนตน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมประกอบดวย ๒ รายวิชา คือ วิชาสังคมศกึ ษาและวชิ าประวัติศาสตร วิชาประวัติศาสตร เปนสวนหนึ่งในกลุมสหวิทยาการของสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมชวยใหผูเรียนมีความรูความเขาใจการดํารงชีวิตของมนุษย ทั้งในฐานะปจเจกบุคคลและการอยู รวมกันในสังคม เขาใจการพัฒนาเปล่ียนแปลงตามยุคตามสมัย กาลเวลา ตามเหตุปจจัยตาง ๆ เกิดความ เขาใจในตนเองและผูอ่ืน มีความรักภาคภูมิใจในความเปนไทย มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกตาง และมีคุณธรรม สามารถนําความรูไปปรับใชในการดําเนินชีวิต เปนพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก เพ่ือใหเกิดคานิยมท่ีเหมาะสม มุงหวังใหผูเรียนเกิดความเจริญงอกงามดานความรู โดยการใหความรูแกผูเรียน ดานเน้อื หาสาระ ความคดิ รวบยอด และหลกั การสาํ คญั วชิ าประวตั ศิ าสตรมบี ทบาทสําคัญอยางยง่ิ ตอการเปน พลเมืองของประเทศ เพ่ือเสริมสรางสํานึกความเปนไทยและความเปนปกแผน ตลอดจนการอนุรักษสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมของคนในชาติใหคงอยูสืบไป จึงจําเปนอยางย่ิงตองปลุกจิตสํานึกใหเยาวชนชาติไทยมีความ เขาใจและตระหนักถึงความสําคัญ ความเปนมา ซึ่งนํามาประยุกตใชในการจัดการเรียนรูของครูผูสอน โดย เรียนรูจากการนําวิธีการทางประวัติศาสตรมาฝกใหผูเรียนมีทักษะในการใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการคิด วิเคราะห คดิ สงั เคราะห คิดแกปญหาในการตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานเหตุผลอยางมหี ลักการ เชน การใชประเดน็ ใกล ตัวผูเรียนไดเรียนรู และเขาใจเร่ืองใกลตัวของผูเรียนในการสืบคนชุมชนทองถ่ินท่ีตนอาศัยอยู เพื่อใหผูเรียนมี จติ สํานึกในความรกั ความภาคภมู ิใจในถิน่ ฐานของตน หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการดานคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรูท่ีคํานึงถึง คณุ ลักษณะท่ีมงุ เนน ใหผเู รยี นเกดิ การเรียนรู มีทกั ษะการพัฒนาคา นยิ ม และเจตคตทิ ี่ดีในการประพฤตปิ ฏิบัติตน ใหเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของสังคมหลังการเรียนรู สอดคลองตามเปาหมายของหนวย การเรียนรู มีเจตคติที่ดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย และมีจิตอาสา ครูผูสอนควรปลูกฝง คุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค และเปนคนดีของสังคม ๒. กระบวนการจดั การเรียนรู แนวคิดสําคัญของการจัดศกึ ษาทีเ่ นนผเู รียนเปนสาํ คัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสให ผูเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ การประเมินการเรียนรูจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียน เพราะสามารถทําใหผ สู อนประเมินระดับ พัฒนาการเรียนรูของผูเ รียน การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคญั ท่สี ุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสง เสรมิ ใหผ ูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ ใหความสําคัญของการบูรณาการความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสมของ ระดบั การศกึ ษา ไดระบุใหผูทเ่ี ก่ยี วของดําเนนิ การ ดงั น้ี ๑) สถานศึกษาและหนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย คาํ นึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

690 คูมือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวตั ิศาสตร ป.6) (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพอื่ ปอ งกันและแกไ ขปญ หา (๓) จัดกิจกรรมใหผ เู รียนไดเรียนรจู ากประสบการณจริง ฝกการปฏบิ ัติ ใหท ําไดคิดเปน ทาํ เปนรัก การอา น และเกิดการใฝร ูอ ยางตอเนอื่ ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรดู านตา ง ๆ อยางไดส ดั สว นสมดุลกนั รวมทัง้ ปลกู ฝงคณุ ธรรม คานยิ มทด่ี ีงาม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไ วในทกุ วิชา (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอํานวย ความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมท้ังสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรู ท้ังน้ีผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียน การสอน และแหลง วทิ ยาการประเภทตา ง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความ รวมมือกับพอแม ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทกุ ฝา ย เพื่อรวมกนั พัฒนาผูเรยี นตามศักยภาพ ๒) การจดั สภาพแวดลอ มสง เสริมการเรียนรู (๑) จัดสภาพแวดลอม หองเรียน หรือภายนอกหองเรียน ใหเอื้อตอการเรียนรู สะอาด มีความ เปนระเบียบ ตกแตง หอ งเรยี นใหน าอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรยี น มที ีเ่ ก็บวัสดอุ ุปกรณ และงายตอ การนํามาใช มี ปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืน และเหมาะกับกิจกรรม การเรียนรู ถกู สุขลักษณะ และปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดลอม หรือหอ งใหผ เู รียนไดฝก ปฏบิ ตั กิ าร (๓) จดั สอื่ อปุ กรณ ทเ่ี กยี่ วกบั การเรียนรูอยา งเพยี งพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู หรือชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดรับรูขอมูล ขา วสารท่ที นั สมัยปจ จุบันอยเู สมอ ๓) ครผู ูสอน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ังของ ผูเรียนและผูสอน กลาวคือลดบทบาทของครูผูสอน จากการเปนผูบอกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผนจัด กิจกรรมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู กิจกรรมตาง ๆ จะตองเนนท่ีบทบาทของผูเรียนตั้งแตเริ่ม คือ รวมวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และตองคํานึงวากิจกรรมการเรียนนั้น เนนการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน การสรางคําอธิบายเก่ียวกับขอมูลท่ีสืบคนได เพื่อ นําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ีตองพัฒนา ผเู รียนใหม พี ฒั นาการเหมาะสมตามวยั ท้งั ทางรา งกาย อารมณ สงั คม และสติปญ ญา เปาหมายของการจดั การเรียนรปู ระวตั ิศาสตร ๑. เพ่ือใหผ ูเรียนรูจ กั คิดอยางมวี ิจารณญาณ รูจ กั ใชเ หตผุ ลในการวิเคราะหแ ละตดั สินใจ ๒. เพ่ือจัดการเรียนรูใหผูเรียนมีความคิดโดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร เพื่อใหเขาใจอยาง คนคดิ เปน มีความรู และมีทกั ษะในการใชว ิธีการทางประวัติศาสตรเพื่อใหเขาถงึ ความจรงิ ๓. เพ่ือใหเขาใจถึงความเปนเหตุเปนผลในสังคมมนุษยวาเหตุการณในอดีตยอมมีอิทธิพลตอ ภาวะความเปน อยูข องสงั คมในปจจุบนั และส่งิ ทีเ่ ปน อยูใ นปจจุบนั ก็มีอิทธพิ ลตอ อนาคต

คําชี้แจง รายวชิ าประวัตศิ าสตร กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 691 ๔. ชวยใหผูเรียนเขาใจความเปนมาของชาติบานเมือง เห็นความเสียสละ ความมานะบากบั่น ความพยายามและความสามารถ อันกอ ใหเ กิดความรสู ึกรักชาตบิ า นเมืองของตนเอง ๕. ชว ยใหผ เู รยี นมคี วามคุนเคยกบั สิง่ ทเ่ี ปนความรทู างประวตั ิศาสตร และเกดิ ความสนุกสนาน สนใจในการสืบคนเรอื่ งราวในอดตี การจัดกระบวนการเรียนรูประวัติศาสตรจะชวยใหผูเรียนไดรับความรู ความเขาใจ และ ประสบการณเกี่ยวกับประวัติศาสตร รวมทั้งไดฝกฝนทักษะการคิดและพัฒนาเจตคติท่ีถูกตองโดยการเช่ือมโยง เร่ืองราวทางประวัติศาสตรกับการคิดวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐานท่ีเปนขอมูลที่เปนจริงในอดีต คิดวิพากษวิจารณ อยางมีเหตุผล และคิดตัดสินใจอยางมีวิจารณญาณ จากการโยงเขาหากับปญหาในปจจุบัน ซ่ึงหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใหความสําคัญกับการศึกษาแหลงเรียนรูในทองถ่ิน ประวัติความเปนมาในทองถ่ิน เพื่อใหนักเรียนเปนสวนหน่ึงของเรื่องราวซึ่งจะสรางแรงบันดาลใจและความ เขาใจใหกับผูเรียนไดมากยิ่งข้ึน ครูผูสอนสามารถนํามาจัดการเรียนรูใหผูเรียนปฏิบัติได แนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนรูประวัติศาสตรมีหลากหลายวิธีที่นาสนใจ เชน การจัดคายประวัติศาสตร โครงงาน ประวัตศิ าสตร การทัศนศึกษา การแสดงบทบาทสมมุติ การเรียนรูวิชาประวัติศาสตรท่แี ทจริงและมีประสทิ ธิภาพ คือ การปลูกฝงความรู ความเขา ใจ และเปดโอกาสใหผูเรียนไดสัมผัสและลงมือปฏิบัติกิจกรรมอยางหลากหลาย เปนการเรียนรูที่มีกระบวนการ เพราะการเรียนจะเร่ิมตนต้ังแตการวางแผนการเรียน การดําเนินการตามแผนท่ีกําหนด การนําขอมูลมา วิเคราะห การสรุปและการเรียบเรียงโดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร ซ่ึงผูเรียนจะตองลงมือสังเกต ปฏิบัติ ศึกษา คนควา และถกเถียงในสิ่งที่พบเห็น ทั้งน้ีครูตองดําเนินการจัดกิจกรรมในลักษณะที่ผูเรียนสามารถทําได ในระบบกลุม หรือรายบุคคล สงเสริมการปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลาเรียน ซ่ึงจะทําใหเกิดความหลากหลายใน กระบวนการเรียนรู และเกิดความรูใหมท่ีไดจากประสบการณตรง เปนความรูท่ีทันสมัยและใกลตัวซึ่งสามารถ นําไปใชในชีวิตจริง เพ่ือสรางสํานึกความเปนไทยและรักมาตุภูมิถ่ินฐานของตนเอง ตลอดจนการอนุรักษภูมิ ปญญาของประเทศ การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาประวัติศาสตรจะตองคํานึงถึงองคประกอบ ท้ังความรู ทักษะ และเจตคติเพ่ือใชในการปลูกฝงและสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดงั น้นั การจัดการเรียนรูตองเนน ผูเรยี นเปน สําคัญ และสงเสริมการจดั แหลง เรียนรทู ่หี ลากหลายอันเปน พ้ืนฐาน ของการเสรมิ สรางความรู ความคดิ ประสบการณ และปลกู ฝงเจตคติทด่ี ีในสงั คมอยางมคี ุณภาพ เรียนรูจากแหลงเรียนรู ไดแก การศึกษาคนควาดวยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรูจากหองสมุด แหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบาน งานวิเคราะหจากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะหแหลงขอมูล การสอนแบบใหผูเรียนเรียนรูโดยอิสระจากศูนยการเรียนรูและการเรียนรู ตามความสนใจ การสอนวิชาประวตั ิศาสตรไ มควรจาํ เจอยูใ นหอ งเรียนอยา งเดียว การเรียนรูโดยผูเรียนลงมือปฏิบัติ ไดแก เกม การศึกษาสถานการณจําลอง กรณีตัวอยาง บทบาทสมมุติ โครงงานการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการกลุม ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอย การแกปญ หากลมุ สบื คน ความรู กลมุ สัมพนั ธ การเรยี นรแู บบรวมมือ การอภปิ ราย การเรียนรูผานกระบวนการคิด ไดแก การแกสถานการณ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใชทักษะกระบวนการ การสอนโดยกระบวนการวิธีการทาง ประวัติศาสตร การสอนโดยใชวิธีการต้ังประเด็นคําถามผูเรียน การเรียนการสอนโดยใชแผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐

692 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวัตศิ าสตร ป.6) มิติ การคดิ เปรยี บเทียบ การคิดสังเคราะห การคดิ ประยกุ ต การคดิ สรางสรรค การคิดวิเคราะห การคิดกลยุทธ การคดิ บรู ณาการ การคิดมโนทศั น การคิดอนาคต การคดิ วพิ ากษ การเรียนรูผานสื่อเทคโนโลยี ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูป ชุดการสอน ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการสอนสําหรับการเรียนเปนกลุมยอย ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู คอมพิวเตอรชวยสอน และ การนําเสนอโดยวดี ทิ ศั น นอกจากนั้น ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความหมาย โดย การรวมมือระหวางครูกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน ครูตองลดบทบาทในการสอนโดยเปนผูชี้แนะ กระตุนให ผเู รียนกระตอื รือรนท่ีจะเรียนรู และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตาง ๆ มากขึ้นและอยา งหลากหลาย ดังน้ี ๑) ควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนให นักเรียนลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล เชน แบงกลุมใหอภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการดวยตนเอง โดยใชเ ทคนคิ ตาง ๆ ของการสอน เชน การนาํ เขา สูบทเรียน การใชค าํ ถาม การเสรมิ พลงั มาใชใ หเ ปน ประโยชน ท่จี ะทําใหก ารเรียนการสอนนา สนใจและมีชีวติ ชวี า ๒) ครูควรมีการวางแผนการใชคาํ ถามอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนาํ นักเรยี นเขาสูบทเรยี น และลงขอสรุปไดโ ดยทไี่ มใ ชเวลานานเกนิ ไป ครคู วรเลือกใชค ําถามทมี่ ีความยากงายพอเหมาะกบั ความสามารถ ของนกั เรยี น ๓) เมื่อนักเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบ ไดเอง ครูควรใหความสนใจตอคําถามของนักเรียนทุก ๆ คน แมวาคําถามน้ันอาจจะไมเก่ียวกับเรื่องท่ีกําลัง เรียนอยูก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสูเร่ืองที่กําลังอภิปรายอยู สําหรบั ปญ หาทนี่ ักเรยี นถามมานัน้ ควรจะไดหยิบยกมาอภิปรายในภายหลงั ๔) การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนส่ิงจําเปนเพ่ือใหไดขอมูลท่ีนาเชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการ เรยี นรูครูควรยา้ํ ใหนกั เรยี นไดสาํ รวจตรวจสอบซา้ํ เพื่อนาํ ไปสขู อสรปุ ทีถ่ กู ตอ งและเช่ือถอื ได ครูควรเลือกเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงหรือกําลังเกิดข้ึนกับสังคมมาเปนตัวอยางในการสอนวิชา ประวัติศาสตร นักเรียนจะไดเขาใจอยางถองแทถึงเหตุการณของคนท่ัวไปมาเกริ่นนําเพื่อโยงสัมพันธกับเร่ืองที่ สอน หรือนําเหตุการณที่เกิดข้ึนมาอภิปราย รวมกันกําหนดหัวขอใหครอบคลุมเร่ืองที่สอน นักเรียนไดปฏิบัติ จรงิ หรือสรางสถานการณจาํ ลองใหทดลองปฏิบัติ ๓. สอ่ื การจัดการเรียนรู/แหลง เรียนรู สื่อการจัดการเรียนรู เปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจดั กระบวนการเรียนรูใหนักเรียนไดร ับ ความรู ทักษะกระบวนการไดงายในระยะเวลาสั้นและชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็ว สือ่ ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรยี นรมู ดี งั น้ี ๑) ใบความรู ใบงาน แผนภาพนําเสนอขอ มูล ๒) บัตรภาพ ๓) เกม/เพลง/นิทาน ๔) คลปิ /วดี ทิ ศั น/ภาพขาวสถานการณป จ จุบนั ๕) สถานการณส มมุติ ๖) สื่อบคุ คล

คาํ ช้ีแจง รายวชิ าประวัตศิ าสตร กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 693 แหลง เรียนรู เปนเครื่องมือสรางคุณลกั ษณะการใฝเรียนรทู ท่ี กุ คนตอ งใฝรตู ลอดชีวติ ดังนี้ ๑) แหลง เรียนรภู ายในโรงเรยี น ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถิ่น พิพิธภัณฑ หนวยงานท่ีเกี่ยวของ หอ งสมุดประชาชน หองสมุดแหง ชาติ สถานท่ีสําคัญทางประวัตศิ าสตร หองสมุดเปนแหลงเรียนรูท่ีสําคัญและเปนหัวใจสําคัญของผูเรียนในการศึกษาคนควา โรงเรียน ควรจัดหองสมุดกลาง หองสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในหองเรียน หองสมุดเคล่ือนท่ี รถเคลื่อนท่ี หองสมุด ประชาชนลวนเปนแหลงเรียนรูจะทําใหผูเรียนไดเรียนรูและปลูกฝงลักษณะนิสัยที่ดีในการสงเสริมนิสัยรัก การอา น ๓) แหลง เรยี นรอู อนไลน - สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน - สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยตา ง ๆ - กระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ ๔. การวดั และประเมินผลการเรียนรู จุดประสงคสําคัญของการประเมินการเรียนรูคือการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ที่ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาท่ีพบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมาก ยังใหความสําคัญการเรียนรูแบบทองจําเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพื่อแขงขัน ซ่ึงถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผิน มากกวา การประเมินการเรียนรูระหวางเรียน การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเองซึ่งผลลัพธของการเรียนรูจะย่ังยืน กวา (กศุ ลิน มุสิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,ิ์ เพญ็ จันทร และวรรณทพิ า รอดแรงคา , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะดานตาง ๆ ของผูเรียนน้ันจําเปนตองมีการประเมิน การเรียนรูอยางตอเน่ือง ต้ังแตเริ่มตนระหวางและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบที่ หลากหลายสอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรูรูปแบบการประเมิน การเรียนรู ไดแก การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพื่อ พัฒนาการเรียนรูและการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมินใหผูเรียนรับทราบ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรูเพื่อใหสามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพ่ือชวยใหผูเรียนแตละคนเกิด การเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของตัวช้ีวัดตาง ๆ (กุศลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพ้ืนฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนและเพ่ือการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนให ประสบความสําเร็จน้ัน ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคข องผเู รียน ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและ ประเมนิ การเรยี นรใู นทกุ ระดับ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรูทปี่ รากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมิน พฤติกรรมการปฏิบัติ ดังน้ี

694 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 (ประวัติศาสตร ป.6) ๑) วิธกี ารประเมนิ (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรูขน้ั นาํ ) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนําเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรขู ั้นสอน) จุดมุงหมายของการประเมนิ ระหวางเรยี น มีดังน้ี (๒.๑) เพื่อคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหา มีทักษะความชํานาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัด กจิ กรรมการเรียนรูไ ดอ ยา งเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรยี นรขู องผเู รียนไดอยา งเต็มศกั ยภาพ (๒.๒) เพ่อื ใชเปนขอมูลปอ นกลบั ใหกับผเู รียนวา มีผลการเรยี นรอู ยางไร (๒.๓) เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดาน การเรยี นรขู องผเู รยี นแตละคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดท่ีผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และ เพ่ือตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทนี้ ใชประกอบการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือตัดสินใจวาผูเรียนคนใดควรจะไดรับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเมื่อสิน้ สดุ หนว ยการเรียนรู ดําเนินการ ดงั น้ี การประเมินโดยครูผูสอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวยการเรียนรู ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ หรือไม เชน การทําโครงงาน การนําความรูไปใช เพื่อพฒั นาสงั คมในรูปแบบตา ง ๆ การประเมินโดยผูเรียนแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรให ผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพื่อเปดโอกาสไดสะทอนคิดสิ่งที่เรียนรูท้ังที่ทําไดดีและยังตองพัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค.) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบการเรียนรูแต ละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ เลือกใชชดุ คําถามและจํานวนขอ ใหเ หมาะสมกับบรบิ ทของผเู รยี นชว งเวลาและธรรมชาติของแตละวิชา ท้งั นี้ใน ครั้งแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพ่ือแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานสิ่งที่นักเรียนบันทึก พรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมทั้งใชประโยชนจากขอมูลในแบบบันทึกเพ่ือ พฒั นาการสอนของตัวเองและชวยเหลือนกั เรียนเปนรายบคุ คลตอไป ๒) ผูประเมิน ไดแก เพ่ือนประเมินเพื่อน ครูประเมินผูเรียน ผูเรียนประเมินตนเอง และผูปกครอง รว มประเมนิ ๕. คําแนะนาํ บทบาทครูปลายทางในการจดั การเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนในทุก ขั้นตอนการสอน ดงั น้ี ๑) ขั้นเตรยี มตัวกอ นสอน (๑) ศึกษาทําความเขาใจคําช้ีแจงและทําความเขาใจเชื่อมโยง ทั้งเปาหมาย กิจกรรมและ การวดั ผลและประเมินผลระหวา งหนว ยการเรยี นรูก บั แผนการจดั การเรียนรรู ายช่วั โมง

คําชี้แจง รายวิชาประวัติศาสตร กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 695 (๒) ศึกษาคนควาความรูเพิ่มเติม จากแหลงเรียนรู หนวยงาน องคกรที่ใหความรูท่ีเช่ือถือได รวมทั้งเทคนคิ การจัดการเรยี นรเู พอ่ื พฒั นาความสามารถของผูเ รยี นอยางรอบดา น (๓) ปรับ/ประยุกตหรือเพิ่มเปาหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เปนจุดเนน และที่เปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู ตามศักยภาพของผูเรยี น และตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัปโหลดลวงหนาเพ่ือทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสอื่ ตาง ๆ ที่ครูใชป ระกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจดั กิจกรรมในข้นั ตอนชวงการปฏิบัติ ท้ังดานวิธีการ สื่อท่ีใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรมเพื่อนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ชวยเหลือ สงเสริม/อํานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของหองเรียนของตนใหสามารถเรียนรูได อยางมปี ระสิทธภิ าพและเตม็ ตามศกั ยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทง้ั การเตรยี มอุปกรณตามระบใุ นแผนฯ และ/หรอื ท่ีปรากฏในคลิป (ในกรณมี ีการปรบั เปล่ียนเพิ่มเติม) (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชวงการปฏิบัติตามกําหนดการสอนที่มี รายละเอยี ดของส่อื การสอน ใบงาน ใบความรู บนเว็บไซต www.dltv.ac.th ๒) ขัน้ การจดั การเรียนรู (๑) สรางการมีสวนรวมของนักเรียนในการทํากิจกรรม เชน กระตุนใหนักเรียนคิด ตอบคําถาม ของครูตนทาง ฟงเฉลยและชวยเสริม/อธิบาย/ในสิ่งที่นักเรียนยังไมเขาใจ ชมเชย/ใหกําลังใจหากนักเรียน ทําไดด ี (๒) ใหความชวยเหลือนักเรียนที่ตามไมทัน เชน อธิบายเพิ่มเติมเพ่ือใหนักเรียนสามารถเรียนรู ตอไปอยางมีประสิทธิภาพ (๓) กํากับดูแลใหมีวินัยในการเรียน เชน ไมเลนหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําส่ังในการทํา กจิ กรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรยี นรู เชน จดั เตรยี มสือ่ การเรียนรู/อุปกรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เชน คุณลักษณะผูเรียน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัดการ เรียนรู/การปฏิบัติงาน ความรูในบทเรียน และบันทึกขอ มูลตามแนวทางประเมินทแ่ี นะนําไวในแผนการจัดการ เรียนรู เพอ่ื นาํ ขอมูลไปพฒั นานกั เรยี นและใหค วามชว ยเหลอื นกั เรยี นท้งั ชน้ั /กลุม/รายบุคคลตามกรณี ๓) ขน้ั การปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทํากิจกรรมตามที่ครูตนทางแนะนํา และตามขอแนะนําการปฏิบัติที่ ระบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขาใจ และเตรียมนักเรียนกอ นทาํ กจิ กรรม (การแบงกลมุ ฯลฯ) (๒) กํากบั ใหการทาํ กจิ กรรมเปนไปตามลําดบั เวลาตามแนวทางทีร่ ะบุบน PowerPoint (๓) ใหค วามชวยเหลือนกั เรียนในระหวางการทํากิจกรรม (๔) เตรียมพรอมนักเรียนสําหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถามี) เชน การสรุปผล ปฏบิ ตั ิงานเพ่ือเทียบเคยี งกับผลงานทน่ี ักเรยี นตนทางจะนําเสนอ เปน ตน ๔) ขัน้ สรุป (๑) กํากบั นักเรยี นใหมสี วนรวมในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทํากิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสาํ คัญท่ีมกี ารสรปุ ทา ยชั่วโมง และงาน/ใบงานที่ครูตนทางมอบหมายใหทาํ เปนการบา น/หรอื ใบงานทคี่ รปู ลายทางไดเ ลือกมาใชกับช้ันเรียนของตน

696 คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ประวตั ศิ าสตร ป.6) (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะหลงั จบแตละหนวยการเรยี นรูแ ละคร่งึ /ปลายภาคเรียน) ๕) การบันทึกผลหลังสอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรูของตนเอง โดยใชขอมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผูเรียนระหวาง เรยี น และแบบประเมินตนเอง บนั ทึกการเรียนรูของนักเรยี นเพอื่ วิเคราะหเทคนิค หรือวิธกี ารใด ทที่ ําใหผ เู รยี น มีสว นรว ม มีความรู มีทักษะ และคุณลักษณะตามจดุ ประสงค (๒) บันทึกสาเหตุของความสําเร็จ อุปสรรค และ/หรือขอจํากัดที่เกิดข้ึน เชน เทคนิค หรือ วิธีการใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดลอมอยางไร ฯลฯ ท่ีทําใหผูเรียนมีสวนรวม มี ความรู มีทักษะ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ ประสงค โดยใชคําถามท่ใี หไวใน “คาํ ถามบันทกึ ผลหลงั สอนสาํ หรับครู ปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เปนแนวทางในการยอนคิด ไตรตรองส่ิงท่ีเกิดขึ้นและนําไปบันทึกผลหลังสอน ของชั่วโมงนนั้ ๆ (๓) วิเคราะหและสรุปผลจากขอมูลตามปญหา/ความสําเร็จท่ีเกิดข้ึน และเสนอแนวทางการ ปรับปรุง เพ่ือนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป รวมทั้งนําไปใชเปนขอ มลู เพอื่ พัฒนาเปน งานวจิ ัยในช้ันเรยี นตอ ไป

คําอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน รายวชิ าประวตั ิศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 697 คําอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๒ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ รวมเวลา 4๐ ช่วั โมง ศึกษา วิเคราะห อธิบาย นําเสนอ ความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเร่ืองราว ทางประวัติศาสตรอยางงาย ๆ ขอมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทําความเขาใจเร่ืองราวสําคัญในอดีต สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของประเทศเพ่ือนบานในปจจุบัน ความสัมพันธของกลุม อาเซียน พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร ปจจัยท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจและ การปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร ผลงานของบุคคลสําคัญดานตาง ๆ สมัยรัตนโกสินทร ภูมิปญญาไทยท่ี สําคัญสมยั รัตนโกสินทรทนี่ าภาคภมู ิใจและควรคาแกก ารอนุรกั ษ โดยใชกระบวนการสืบคนขอมูล วิธีการทางประวัติศาสตร กระบวนการคิด กระบวนการกลุม กระบวนการทางสงั คม เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางเปนระบบ ตระหนักถึงความสําคัญของเหตุการณตาง ๆ มีความรัก ความภูมิใจ และธํารงความเปนไทย สามารถดาํ เนินชวี ิตอยา งสันติสขุ ในสงั คมไทยและสังคมโลก รหัสตัวชวี้ ดั ส ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ส ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ส ๔.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมทง้ั หมด ๘ ตวั ชว้ี ัด

698 คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (ประวัตศิ าสตร ป.6) มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๒ รายวิชาประวตั ศิ าสตร กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ ภาคเรียนท่ี 1 รวมเวลา 2๐ ชวั่ โมง สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธี การทางประวตั ศิ าสตรม าวิเคราะหเหตุการณต าง ๆ อยางเปนระบบ ตัวชี้วัด ป.๖/๑ อธิบายความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรใ นการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร อยา งงา ย ๆ ป.๖/๒ นําเสนอขอ มลู จากหลกั ฐานทหี่ ลากหลายในการทาํ ความเขา ใจเรอ่ื งราวสาํ คญั ในอดีต สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบันในดานความสัมพันธและการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะห ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้น ตวั ช้วี ัด ป.๖/๑ อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งของประเทศเพอ่ื นบา นในปจจุบัน ป.๖/๒ บอกความสัมพนั ธข องกลุมอาเซียนโดยสังเขป

โครงสรางรายวชิ าประวัตศิ าสตร กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 699 โครงสรา งรายวชิ าประวตั ิศาสตร รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๒ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร กลุมสาระการเรียนรูส งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรียนที่ 1 รวมเวลา 18 ช่ัวโมง หนว ยท่ี ชอ่ื หนว ย มาตรฐานการ สาระสาํ คญั / ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ํ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน การเรยี นรู เรยี นรู/ ตวั ชี้วดั ๘ ๒๒ ๑ ยอนรอยไทย ส ๔.๑ : ป.๖/๑ การศกึ ษาเรอื่ งราวทาง ป.๖/๒ ประวัติศาสตรหรอื ความเปนมาของ ทองถิน่ โดยใชว ิธีการทางประวัต-ิ ศาสตรจะทาํ ใหขอมลู ทีไ่ ดม ีความ ถกู ตองและชดั เจน หลักฐานทาง ประวัติศาสตรเปน ส่ิงทช่ี วยยืนยนั เรือ่ งราวทางประวตั ศิ าสตร การนําเสนอเร่อื งราวทาง ประวตั ศิ าสตรจะตองเปนขอ มูลท่ี ผานการคน ควาโดยวธิ กี ารทาง ประวตั ิศาสตร และตองนําเสนอ อยา งยุตธิ รรมและเปน กลาง ๒ เพ่อื นบา น ส ๔.๒ : ป.๖/๑ - ประเทศเพอ่ื นบานที่มีอาณาเขต ๑๐ ๒๘ ของเรา ป.๖/๒ ตดิ ตอกับประเทศไทยเปนประเทศ เพื่อนบานของไทย การศึกษา เรื่องราวเกี่ยวกับประเทศเพอ่ื นบาน จะทาํ ใหเขา ใจความเปน มาของ ประเทศเพื่อนบา นที่ถกู ตอ งและ นําไปสูความสมั พนั ธทดี่ ีตอ กัน - ความเปนมาของกลุม อาเซียนและ ความสมั พนั ธข องกลมุ อาเซียนทาง เศรษฐกิจและสังคมในปจ จุบนั รวมตลอดภาคเรยี น ๑๘ ๕๐

700 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (ประวตั ิศาสตร ป.6) หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ ยอนรอยไทย

หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 เรอ่ื ง ยอ นรอยไทย 701 หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 ช่ือหนวยการเรยี นรู เรอ่ื ง ยอ นรอยไทย รหสั วชิ า ส๑๖๑๐2 รายวิชาประวตั ศิ าสตร กลุม สาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา 8 ชว่ั โมง ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้วี ดั สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา ใจความหมาย ความสาํ คญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถใชว ธิ ีการ ทางประวตั ศิ าสตรมาวเิ คราะหเหตกุ ารณตา ง ๆ อยา งเปนระบบ ตวั ชวี้ ดั ป.๖/๑ อธิบายความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรใ นการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร อยางงาย ๆ ป.๖/๒ นําเสนอขอ มูลจากหลกั ฐานทหี่ ลากหลายในการทําความเขาใจเรื่องราวสําคญั ในอดีต ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด การศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตรหรือความเปนมาของทองถิ่น โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรจะ ทําใหขอมูลที่ไดมีความถูกตองและชัดเจน หลักฐานทางประวัติศาสตรเปนสิ่งที่ชวยยืนยันเร่ืองราวทาง ประวัติศาสตร การนําเสนอเร่ืองราวทางประวัติศาสตรจะตองเปนขอมูลที่ผานการคนควาโดยวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร และตองนาํ เสนออยางยุตธิ รรมและเปน กลาง ๓. สาระการเรียนรู ความรู ๑. การสืบคน ของวิธีการทางประวตั ศิ าสตรได ๒. แหลง ขอมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร ๓. สืบคนขอมลู ประวตั ิความเปนมาของทอ งถิน่ ได ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. การคิดวิเคราะห เชื่อมโยงอยางเปน ระบบเกีย่ วกบั วิธกี ารทางประวัตศิ าสตรไ ด ๒. การทํางานรวมกับผอู ื่น และสามารถแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ได ๓. การเขียนสื่อสารเปนแผนภาพความคิดได ๔. การสบื คนขอ มลู และหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ ด เจตคติ ๑. ศึกษาใฝเรียนรคู วามเปน มาของทอ งถนิ่ โดยใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร ๒. อภิปรายถงึ ประโยชนของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรและความเปน มาของทอ งถ่ินไดอ ยาง ถูกตองและมเี หตุผล ๓. เห็นประโยชนของวิธีการทางประวัติศาสตร โดยใชหลักฐานทางประวัติศาสตรและการสืบคน การดํารงชีวิตของคนในอดีตและปจจุบันไดอยางถูกตองและมีเหตุผลโดยใชหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรในการสบื คน

702 คมู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวัติศาสตร ป.6) ๔. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชช วี ิต ๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ๕. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๒. ซอ่ื สัตย ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ รยี นรู ๕. มีจติ สาธารณะ ๖. มุงม่นั ในการทํางาน ๗. รกั ความเปน ไทย ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ๑. แผนผังความคดิ ๒. ใบงานท่ี 1 เรื่อง การสบื คนขอมลู โดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร ๓. ใบงานที่ 2 เรื่อง ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร ๔. ใบงานท่ี 3 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ิศาสตร ๕. ใบงานท่ี 4 เรื่อง แหลง ขอ มูลหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร ๖. ใบงานท่ี 5 เร่ือง ทองถิน่ ๗. ใบงานท่ี 6 เรื่อง การสืบคนความเปน มาของทองถน่ิ (1) 8. ใบงานที่ 7 เรื่อง การสบื คน ความเปน มาของทอ งถ่ิน (2)

หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 เรือ่ ง ยอนรอยไทย 703 เกณฑก ารประเมินผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรงุ ) การประเมนิ ๓ (ดี) ๒ (พอใช) 1. การบรรยาย บรรยายเกยี่ วกับ บรรยายเกี่ยวกบั บรรยายเก่ียวกับ บรรยายเกย่ี วกับ จุดประสงค จดุ ประสงคใ น จุดประสงคใน จุดประสงคใ น จุดประสงคใ น การสรางสรรค การสรางสรรค การสรา งสรรค การสรางสรรค ผลงานไดถกู ตอ ง ผลงานไดถ ูกตอ ง ผลงานไดถูกตอง ผลงานไดถ กู ตอ ง ชดั เจน เปนสวนใหญ เปน บางสวน เพยี งสว นนอ ย 2. ความครอบคลมุ การนาํ เสนอ การนําเสนอ การนาํ เสนอ การนําเสนอ ของเนอ้ื หา เปนไปตามลําดับ เปนไปตามลาํ ดับ เปนไปตามลําดับ เปนไปตามลาํ ดับ ขัน้ ตอนความ ขัน้ ตอนความ ขน้ั ตอนความ ข้นั ตอนความ ถูกตองของเน้ือหา ถูกตองของเน้ือหา ถูกตองของเน้ือหา ถูกตอ งของเน้ือหา ๑๐๐ % ๘๐ % ๗๐ % ๕๐ % 3. ความสวยงาม ใชเ ครอ่ื งหมาย ใชเคร่อื งหมาย ใชเครอ่ื งหมาย ใชเ ครื่องหมาย การตกแตงชิ้นงาน รปู ภาพ สมการ รูปภาพ สมการ รูปภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ สัญลักษณแทนกฎ สัญลักษณแทนกฎ สญั ลกั ษณแ ทนกฎ สญั ลักษณแทนกฎ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลกั การ นิยามตา ง ๆ ได นิยามตา งๆ ได นิยามตาง ๆ ได นิยามตา ง ๆ ได ถูกตอ งและ ถูกตอ งและ ถูกตอ ง ถกู ตอง ครบถวน ครบถวน 4. ความถกู ตอ ง ใชส ที ีช่ ว ยจดจาํ ใชส ีที่ชวยจดจํา ใชสีทช่ี วยจดจาํ ไมใชส ีทช่ี ว ยจดจํา เพลนิ ตา สีเดยี ว เพลินตา สีเดียว เพลินตา สีเดียว เพลินตา สีเดียว ตลอด แตละสไี ม ตลอด แตล ะสซี ้ํา ตลอด แตล ะสี ตลอด ซํา้ กัน กัน เดยี วกัน 5. ความตรงตอ เวลา สงงานครบถว น สงงานครบถว น สง งานครบถว น สงงานครบถวน ตรงตามเวลาท่ี ตรงตามเวลาที่ ตรงตามเวลาท่ี ตรงแตช า กวา กําหนด กาํ หนด ๑-๒ วนั กําหนด ๓-๔ วนั กําหนด ๕ วนั ขึ้น ไป เกณฑก ารตดั สิน คะแนน ๑๖–๒๐ หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๑1–๑๕ หมายถึง ดี คะแนน 6–๑0 หมายถงึ พอใช คะแนน 1–5 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑก ารผา น ตง้ั แตร ะดับ พอใช ขึ้นไปผา น

704 คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ประวตั ิศาสตร ป.6) แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เร่อื ง วธิ ีการทางประวัติศาสตร หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เร่อื ง ยอ นรอยไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาประวตั ิศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสาํ คัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร สามารถใชว ธิ ีการ ทางประวตั ิศาสตรม าวเิ คราะหเหตกุ ารณต า ง ๆ อยางเปนระบบ ตวั ชี้วัด ป.6/1 อธิบายความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร อยา งงาย ๆ 2. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด กระบวนการศึกษา คนควา เรื่องราวหรือเหตุการณทางประวัติศาสตร โดยใชหลักฐานทางประวัติ- ศาสตรท่ีมีความสัมพันธเช่ือมโยงกับการเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงในสังคม โดยศึกษาจากเอกสารท่ีเปนเอกสาร ชัน้ ตน และชนั้ รองเปนหลกั ประกอบการเก็บขอ มูลภาคสนาม 3. จดุ ประสงคการเรียนรู 3.1 ดา นความรู ความเขา ใจ (K) - บอกและเขยี นขั้นตอนวธิ ีการทางประวัตศิ าสตรแ ละหลักฐานในการศึกษาประวัตศิ าสตรไ ด 3.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (P) - มีทกั ษะในการคิดใชว ิธีการทางประวัติศาสตรใ นการสืบคน ขอมูล 3.3 ดานคณุ ลักษณะ เจตคติ คานิยม (A) - เห็นความสาํ คัญของการใชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร 4. สาระการเรียนรู วิธีการทางประวตั ศิ าสตร 5. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น 5.1 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ สรางสรรค - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห 5.2 ความสามารถในการแกปญหา - กระบวนการสืบคน ขอ มลู 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต - กระบวนการทํางานกลุม - กระบวนการปฏบิ ตั ิ

หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เร่ือง ยอนรอยไทย 705 6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มีวินยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ ม่นั ในการทํางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู

706 คมู ือค การจดั กิจกรรมการเรียน แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 1 เร รายวชิ าประวตั ศิ าสต ลําดบั ที่ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ข้นั ตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู ทใี่ ช กจิ กรรมค 1. ขั้นนาํ 10 1. ครตู ัง้ ประเดน็ คาํ นาที ยกตวั อยางสถานท่ีส เชน วดั พระศรีรัตน 2. ครใู ชค ําถาม 1) จากภาพท่นี ักเ นักเรยี นรหู รือไมว า ภาพอะไร (ใชเทคนิคบตั รการด 2) วดั น้ีมชี อ่ื อีกอย อะไร 3) นักเรียนรหู รอื พระศรรี ัตนศาสดาร ความสําคญั อยา งไร 4) นักเรียนทราบ วา นคี่ อื วัดพระศรีรตั ราม

ครูและแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวตั ศิ าสตร ป.6) นรู ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 รอ่ื ง วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร ตร จํานวน 1 ชวั่ โมง แนวการจดั การเรียนรู สือ่ การเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรู ครู กิจกรรมนกั เรยี น - ภาพวดั พระศรี รตั นศาสดาราม - การประเมนิ าถามโดย 1. นักเรยี นดภู าพ วดั พระ PowerPoint คําตอบ สําคัญ ศรีรัตนศาสดาราม - บัตรการด สี - การสังเกต นศาสดาราม บตั รการด สี เปน เทคนคิ การนําเขา 2. นกั เรียนตอบคําถาม สูบทเรยี น เพอื่ วดั เรยี นเหน็ 1) แนวคาํ ตอบ วดั ความรู ความ าภาพน้คี ือ พระศรรี ตั นศาสดาราม เขา ใจของผเู รยี น ผา นบตั รการด สี ดสี) 2) แนวคําตอบ วัด ตาง ๆ เชน ถา ยา งหน่ึงวา พระแกว นักเรยี นชูการด 3) แนวคําตอบ สีเขยี ว = อไมวาวัด นกั เรียนตอบรู/ไมร ู นักเรียนรูจกั ภาพ รามมี หรือสถานทนี่ นั้ ๆ ร 4) แนวคาํ ตอบ รจู าก สีเหลอื ง = บไดอ ยางไร การบอกเลา จากผูใ หญ นกั เรียนไมแนใจ ตนศาสดา หรือจากในขา ว

หนวยการเรียนรทู ่ี 1 เรื่อง ยอนรอยไทย ลาํ ดบั ท่ี จดุ ประสงคก ารเรียนรู ขนั้ ตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู ทใ่ี ช กจิ กรรมค 5) ถาตองการทรา ความเปน มาของวดั รัตนศาสดาราม นกั ศึกษาดวยวิธีการใด 2. 1. บอกและเขยี น ขัน้ สอน 25 1. ครใู หนกั เรยี นศึก ขัน้ ตอนวธิ กี ารทาง นาที วิธีการทางประวัตศิ ประวตั ศิ าสตรแ ละ หลักฐานในการศกึ ษา ใบความรู เรอ่ื ง วิธีก ประวัตศิ าสตรไ ด ประวัติศาสตร 2. ครูตั้งประเดน็ คํา 1) วธิ ีการทางประ จากในใบความรู ปร ดว ยก่ีขน้ั ตอน อะไร

707 แนวการจดั การเรียนรู สื่อการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรู ครู กิจกรรมนกั เรยี น สีแดง = นกั เรยี น ไมร จู กั าบประวัติ 5) แนวคําตอบ คน ควา ดพระศรี จากหนงั สือในหอ งสมดุ , กเรียนจะ สอบถามจากผรู ู ด กษา เร่ือง 1. นักเรียนศกึ ษา เร่อื ง - ใบความรทู ี่ 1 - การประเมิน ศาสตร จาก วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร เรอ่ื ง วิธีการทาง คาํ ตอบ การทาง จากใบความรู เรอื่ ง วธิ กี าร ประวตั ิศาสตร - การสังเกต ทางประวตั ิศาสตร าถาม 2. นักเรียนตอบคาํ ถาม ะวัตศิ าสตร 1) แนวคาํ ตอบ วิธกี าร ระกอบไป ทางประวัติศาสตร รบา ง ประกอบไปดวย 5 ข้ันตอน คือ 1. การกําหนดหวั ขอ ท่ี จะศกึ ษา 2. การรวบรวมขอ มูล และหลักฐาน 3. การตรวจสอบขอมลู และหลักฐาน 4. การสรุปความรู 5. การนําเสนอ

708 คูมอื ค ลําดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรยี นรู ข้นั ตอนการจดั เวลา แ การเรยี นรู ท่ีใช กจิ กรรมค 3. ครูใหดูวดิ โี อ เรอ่ื ทางประวตั ศิ าสตร- เพื่อศกึ ษารายละเอ ขนั้ ตอนวิธีทางประว 4. ครูต้ังประเดน็ คํา 1) การศกึ ษาวิธกี า ประวตั ศิ าสตรมคี วา อยา งไร 3. 2. ทกั ษะในการคิดใช ขั้นปฏบิ ตั ิ 10 5. ครูใหน กั เรยี นแบ วิธกี ารทางประวตั -ิ นาที กลุม ละ ๓ คน แลว ศาสตรในการสืบคน ขอ มลู สรปุ ประเดน็ ขน้ั ตอน ทางประวัตศิ าสตรเ ความคิด

ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวัติศาสตร ป.6) แนวการจดั การเรยี นรู สอ่ื การเรียนรู การประเมิน การเรียนรู ครู กจิ กรรมนกั เรยี น - วดิ ีโอ เรอ่ื ง วธิ กี ารทาง - การสังเกต อง วิธกี าร 3. นกั เรยี นดวู ดิ ีโอ เรื่อง ประวัติศาสตร -สงั คม ป.6 วิธีการทางประวัตศิ าสตร สังคม ป.6 อียดของ สังคม ป.6 วัติศาสตร าถาม 4. นกั เรยี นตอบคาํ ถาม ารทาง 1) วิธีการทาง ามสาํ คญั ประวัตศิ าสตรเปน กระบวนการที่ใชใน การศกึ ษาคน ควา เหตุการณท าง ประวตั ิศาสตร เพอื่ ใหไ ด ขอมลู ท่ถี กู ตอง และ นาเช่อื ถือมากทีส่ ดุ บง กลุม 5. นกั เรียนสรปุ ประเด็น - ตรวจแผนผงั วใหนกั เรียน ขั้นตอนวธิ ีการทาง ความคิด นวิธีการ ประวัติศาสตรเปน แผนผงั - การประเมิน เปนแผนผงั ความคิด - การสงั เกต พฤติกรรม

หนวยการเรียนรทู ี่ 1 เรือ่ ง ยอ นรอยไทย ลาํ ดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรียนรู ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู ทีใ่ ช กิจกรรมค 4. 3. เห็นความสาํ คัญ ขน้ั สรปุ 5 1. ครูใหนกั เรยี นรว ของการใชวิธกี ารทาง นาที ความรู เร่ือง วธิ ีการ ประวตั ิศาสตร ประวัตศิ าสตร 2. โดยใหนกั เรยี นย เร่อื งทีส่ นใจพรอ มศ โดยใชว ธิ ีการทางปร

แนวการจดั การเรียนรู ส่อื การเรยี นรู 709 ครู กจิ กรรมนกั เรยี น การประเมนิ การเรียนรู วมกันสรปุ ๑. นักเรยี นสรปุ ความรู รทาง เก่ยี วการศกึ ษาขอมลู โดย ใชว ธิ กี ารทาง ประวัตศิ าสตร ยกตวั อยาง ๒. นกั เรียนยกตวั อยาง ศึกษาขอมลู หวั ขอ ทีจ่ ะทําการศกึ ษา ระวัติศาสตร โดยใชวธิ ที างประวตั ิศาสตร

710 คูมอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 (ประวัติศาสตร ป.6) 8. สอ่ื การเรียนรู/แหลง การเรยี นรู ๑. หอ งสมุดโรงเรียน ๒. การคน ควา ขอมลู จากอนิ เทอรเ น็ต 3. สื่อวดิ โี อ เรื่อง วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร สังคม ป.6 4. ภาพวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 5. ส่อื PowerPoint ๖. บตั รการดสี 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชน้ิ งานหรือภาระงาน 1. แผนผงั ความคดิ 2. ความถูกตองของการทําแผนผงั ความคดิ เกณฑก ารประเมินผลชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ การวดั / วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมิน ประเมนิ ผล - ศึกษาใบความรูที่ 1 เรือ่ ง - ใบความรทู ่ี 1 เร่อื ง ผานเกณฑก ารประเมิน ความรู วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร รอ ยละ 80 ทกั ษะ - ตรวจแผนผงั ความคิด - แผนผังความคดิ ผานเกณฑการประเมนิ รอยละ 80 เจตคติ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ พฤติกรรม ผา นเกณฑประเมิน คณุ ลกั ษณะ - ประเมนิ ความมีวินัย - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพพอใชขน้ึ อันพงึ ประสงค ใฝเ รียนรู และมุง ม่นั ใน คณุ ลกั ษณะ ไป การทาํ งาน อนั พึงประสงค สมรรถนะสาํ คญั ผา นเกณฑประเมิน ของผเู รยี น - ประเมนิ ความสามารถ - แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดับคณุ ภาพพอใชขึน้ การคดิ การใชท ักษะชวี ติ สาํ คัญของผูเ รยี น ไป และการแกป ญ หา ผานเกณฑประเมนิ ระดับคณุ ภาพพอใชข ึ้น ไป

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เร่ือง ยอนรอยไทย 711 ๑๐. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญ หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอจํากดั การใชแ ผนการจดั การเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเหน็ /ขอ เสนอแนะของผบู รหิ ารหรอื ผูทไี่ ดร บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

712 คมู ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวัตศิ าสตร ป.6) ใบความรทู ี่ 1 เรื่อง วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เร่อื ง ยอนรอยไทย แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๑ เร่ือง วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร รายวชิ าประวตั ิศาสตร รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ วธิ ีการทางประวัติศาสตร ขน้ั ตอนที่ 1 การกาํ หนดเปา หมาย ข้ันตอนแรก นักประวัติศาสตรตองมีจุดประสงคชัดเจนวาจะศึกษาอะไร อดีตสวนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เปนการต้ังคําถามที่ตองการศึกษา นักประวัติศาสตรตองอาศัยการอาน การสังเกต และควร ตองมีความรูกวาง ๆ ทางประวัติศาสตรในเรื่องน้ัน ๆ มากอนบาง ซึ่งคําถามหลักที่นักประวัติศาสตรควรคํานึง อยตู ลอดเวลาก็คือทําไมและเกดิ ขนึ้ อยางไร ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมลู หลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีใหขอมูล มีทั้งหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรและหลักฐานที่ไมเปน ลายลักษณอักษร มีท้ังท่ีเปนหลักฐานช้ันตน (ปฐมภูมิ) และหลักฐานช้ันรอง (ทุติยภูมิ) การรวบรวมขอมูลน้ัน หลักฐานช้ันตนมีความสําคัญและความนาเชื่อถือมากกวาหลักฐานช้ันรอง แตหลักฐานช้ันรองอธิบายเรื่องราว ใหเขาใจไดงายกวาหลักฐานชั้นตน ในการรวบรวมขอมูลประเภทตาง ๆ ดังกลาวขางตน ควรเร่ิมตนจาก หลักฐานช้ันรองแลวจึงศึกษาหลักฐานช้ันตน ถาเปนหลักฐานประเภทไมเปนลายลักษณอักษรก็ควรเร่ิมตนจาก ผลการศึกษาของนักวิชาการที่เชี่ยวชาญในแตละดาน กอนไปศึกษาจากของจริงหรือสถานที่จริง การศึกษา ประวัติศาสตรท่ีดีควรใชขอมูลหลายประเภทข้ึนอยูกับวาผูศึกษาตองการศึกษาเร่ืองอะไร ดังนั้น การรวบรวม ขอมูลที่ดีจะตองจดบันทึกรายละเอียดตาง ๆ ท้ังขอมูลและแหลงขอมูลใหสมบูรณและถูกตองเพ่ือการอางอิงที่ นา เชื่อถอื ขัน้ ตอนที่ 3การประเมนิ คณุ คา ของหลกั ฐาน วิพากษ วิธีทางประวัติศาสตร คือ การตรวจสอบหลักฐานและขอมูลในหลักฐานเหลานั้นวา มี ความนาเช่ือถือหรือไม ประกอบดวยการวิพากษหลักฐานและวิพากษขอมลู โดยขัน้ ตอนทงั้ สองจะกระทําควบคู กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานตองพิจารณาจากเนื้อหา หรือขอมูลภายในหลักฐานน้ัน และในการ วิพากษขอมูลก็ตองอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบดวยการวิพากษหลักฐานหรือวิพากษ ภายนอก การวพิ ากษห ลกั ฐาน (external criticism) คอื การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานท่ีไดคัดเลอื กไวแตละ ช้ินวามีความนาเชอื่ ถือเพียงใด แตเปนเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิไดมุงที่ขอมลู ในหลักฐาน ดังน้ัน ขั้นตอน น้ีเปนการสกัดหลักฐานทไ่ี มนาเชื่อถอื ออกไปการวิพากษขอมูลหรอื วิพากษภายใน การวิพากษขอมูล (internal criticism) คือ การพิจารณาเนื้อหาหรือความหมายท่ีแสดงออกในหลักฐานเพ่ือประเมินวานาเชื่อถือเพียงใด โดยเนน ถึงความถูกตอง คุณคา ตลอดจนความหมายทแี่ ทจริง ซึ่งนบั วา มีความสําคัญตอการประเมินหลกั ฐานที่ เปนลายลักษณอักษร เพราะขอมูลในเอกสารมีท้ังที่คลาดเคล่ือน และมีอคติของผูบันทึกแฝงอยู หากนัก ประวตั ิศาสตรละเลยการวพิ ากษข อมลู ผลทอี่ อกมาอาจจะผิดพลาดจากความเปน จริง

หนวยการเรียนรูท่ี 1 เรือ่ ง ยอ นรอยไทย 713 ขน้ั ตอนที่ 4 การตคี วามหลกั ฐาน การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาขอมูลในหลักฐานวาผูสรางหลักฐานมีเจตนาที่แทจริง อยางไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผูบันทึกและรูปรางลักษณะโดยท่ัวไปของประดิษฐกรรมตาง ๆ เพ่ือใหได ความหมายที่แทจริงซ่ึงอาจแอบแฝงโดยเจตนาหรือไมก็ตาม ในการตีความหลักฐาน นักประวัติศาสตรจึงตอง พยายามจับความหมายจากสํานวนโวหาร ทัศนคติความเช่ือ ฯลฯ ของผูเขียนและสังคมในยุคสมัยน้ัน ประกอบดวย เพ่ือที่จะไดทราบวาถอยความน้ันนอกจากจะหมายความตามตัวอักษรแลวยังมีความหมายที่ แทจริงอะไรแฝงอยู ขนั้ ตอนท่ี 5 การสงั เคราะหแ ละการวเิ คราะหข อมูล จัดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการทางประวัติศาสตรซ่ึงผูศึกษาคนควาจะตองเรียบเรียงเรื่อง หรือ นําเสนอขอมูลในลักษณะที่เปนการตอบหรืออธิบายความอยากรู ขอสงสัยตลอดจนความรูใหม ความคิดใหมที่ ไดจากการศึกษาคนควานั้น ในข้ันตอนนี้ ผูศึกษาจะตองนําขอมูลท่ีผานการตีความมาวิเคราะหหรือแยกแยะ เพ่ือจัดแยกประเภทของเรื่องโดยเร่ืองเดียวกันควรจัดไวดวยกัน รวมท้ังเร่ืองท่ีเกี่ยวของหรือสัมพันธกัน เร่ืองท่ี เปนเหตุเปนผลซ่ึงกันและกัน จากนั้นจึงนําเร่ืองทั้งหมดมาสังเคราะหหรือรวมเขาดวยกัน คือ เปนการจําลอง ภาพบุคคลหรือเหตุการณในอดีตขึ้นมาใหม เพ่ือใหเห็นความสัมพันธและความตอเน่ือง โดยอธิบายถึงสาเหตุ ตาง ๆ ท่ีทําใหเกิดเหตุการณ เหตุการณท่ีเกิดขึ้น และผล ท้ังนี้ผูศึกษาอาจนําเสนอเปนเหตุการณพ้ืนฐานหรือ เปนเหตุการณเชงิ วเิ คราะหกไ็ ด ขึ้นอยกู ับจดุ มุง หมายของการศกึ ษา ในการนําเสนอคร้ังนี้เปนองคความรูของการศึกษาประวัติศาสตรมีความเกี่ยวของสัมพันธกับ หลักฐานทางประวัติศาสตร กาลเวลาและนักประวัติศาสตร ดังน้ัน จําเปนตองมีการรวบรวมคนควาหาขอมูล เพ่ือนํามาวิเคราะหหาเหตุผลและขอสรุป ซึ่งจะเปนขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรท่ีใกลเคียงกับความเปนจริง มากที่สุด โดยวิธีการทางประวัติศาสตร ในคร้ังตอไปจะนําวิธีการเหลานี้ นําไปใชในการปฏิบัติจริง และจะนํา ผลการปฏบิ ัติมาแลกเปลีย่ นกับพนี่ องเพอ่ื นครู แหลง ท่มี า/อางองิ https://sites.google.com/site/kruchuychay/home

714 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ประวตั ิศาสตร ป.6) แบบประเมินการนาํ เสนอหนา ชนั้ เรยี น เกณฑ ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ 1. การถา ยทอด ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรบั ปรงุ (๑) เน้อื หา ตดิ ขัด หยดุ ชะงัก คลองแคลว ไมต ดิ ขัด คลองแคลวไมต ิดขดั ไมค ลอ งแคลว มี ในหลายจงั หวะ 2. บคุ ลกิ ภาพ พดู เร็วหรือชา ทําใหเขาใจประเดน็ ได ทาํ ใหเ ขา ใจประเดน็ การหยุดชะงัก เกนิ ไป 3. การใชภ าษา กายในการสอื่ สาร งายและเรว็ การพดู มี ไดง า ย การพูดมี บา งบางครง้ั กม หนาไมส บตา และนํ้าเสยี งสน่ั 4. ความเหมาะสม การเวน จังหวะและ การเวน จังหวะอยาง จงั หวะพดู ชาจับ และเบา กบั เวลา เนนคาํ เนน สาระ เหมาะสมความเรว็ ประเด็นไมได ไมใชภาษากาย สื่อสาร สาํ คัญอยา งเหมาะสม ในการพดู อยูใน ใชเวลาใน เพอื่ ใหผ ูฟง ตดิ ตาม ระดับเหมาะสม การนําเสนอเกนิ เวลาทก่ี าํ หนด การนําเสนอ ความเร็ว มากกวา ๕ นาที ขน้ึ ไป ในการพูดอยูใ นระดับ เหมาะสม มคี วามม่นั ใจ สบ สบสายตาผฟู ง สบสายตาผฟู ง สายตาผฟู งตลอดเวลา พอสมควร นา้ํ เสียง นอ ย นํา้ เสยี งส่นั เพ่ือดึงดูดใหผูฟง สนใจ สะทอนถงึ ความ ขาดความมนั่ ใจ ในเนื้อหาท่ีถา ยทอด ม่นั ใจ เสยี งดงั เสยี งเบาและดัง เสยี งดงั พอเหมาะ พอเหมาะ สลับไป คลองแคลว เชน ยก แสดงกรยิ าทา ทาง ใชภ าษากาย มือ/ผายมอื แสดง ประกอบ ส่ือสารนอยครง้ั กรยิ าทาทาง การนาํ เสนอ ประกอบการนําเสนอ พอสมควร เพ่อื ดึงดูดความสนใจ ใชเวลาในการนําเสนอ ใชเ วลาใน ใชเ วลาใน เหมาะสม การนาํ เสนอเกิน การนาํ เสนอเกิน เวลาที่กาํ หนด เวลาที่กําหนด ๑-๓ นาที ๔-๕ นาที เกณฑก ารใหค ะแนน ดมี าก คะแนน 13-16 หมายถงึ ดี คะแนน 9-12 หมายถึง พอใช คะแนน 5-8 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 1-4 หมายถงึ เกณฑก ารผาน ต้งั แตระดบั พอใช ขึ้นไป

หนว ยการเรียนรูที่ 1 เรอ่ื ง ยอ นรอยไทย 715 แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู เกณฑก ารประเมนิ ดี (๓) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง (๑) 1. การรวมกิจกรรม มีความกระตือรือรนใน พอใช (๒) ไมมีความกระตอื รอื รน การรวมกจิ กรรมอยาง ในการรวมกิจกรรม สมํ่าเสมอ มีความกระตือรอื รนใน การรว มกจิ กรรมใน บางครงั้ 2. การรบั ฟง ความ รบั ฟงความคิดเหน็ ของ รบั ฟงความคดิ เห็นของ ไมร บั ฟงความคิดเหน็ คดิ เหน็ ของผอู นื่ ผอู น่ื อยางสม่าํ เสมอ ผอู ่ืนเปน บางคร้งั ของผูอน่ื 3. ความรบั ผดิ ชอบ มีความรับผดิ ชอบในงาน มีความรับผดิ ชอบในงาน ไมมคี วามรบั ผดิ ชอบใน ทไ่ี ดร บั มอบหมายอยาง ที่ไดรบั มอบหมายใน งานท่ไี ดรบั มอบหมาย สม่าํ เสมอ บางครงั้ 4. ขยนั หมนั่ เพยี ร มีความขยันหมนั่ เพยี ร มคี วามขยันหมน่ั เพียร ไมม ีความขยนั หมั่นเพยี ร พยายามทาํ งานใหสาํ เร็จ พยายามทาํ งานใหสําเร็จ พยายามทาํ งานใหสําเร็จ อยา งสมํ่าเสมอ เปน บางครั้ง 5. ตรงตอ เวลา สงชิ้นงานภายในเวลาท่ี สงผลงานเสรจ็ ตรงเวลา สง ผลงานชากวาเวลา กาํ หนด กําหนด เกณฑก ารใหค ะแนน หมายถงึ ดี คะแนน 11-15 หมายถึง พอใช คะแนน 6-10 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 1-5 เกณฑก ารผา น ตง้ั แตร ะดบั พอใช ขน้ึ ไป

716 คูมือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ประวัตศิ าสตร ป.6) แบบประเมินแผนผงั ความคดิ คําชีแ้ จง ใหค รผู สู อนประเมนิ แผนผังความคดิ ของนักเรียนแลว ใหท าํ เคร่ืองหมาย  ลงในชองทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ลาํ ดบั ท่ี ชอื่ -สกลุ การรว ม การรบั ฟง ความ ขยนั ตรงตอ รวม กจิ กรรม ความคิดเห็น รับผิดชอบ หมั่นเพียร เวลา 20 1 คะแนน 2 ของผอู น่ื 3 4 43214321432143214321 5 6 7 8 9 10 ลงชอ่ื ................................................................ผูประเมิน ...................../..................../................... เกณฑการใหค ะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ นกั เรียนท่ไี ดร ะดบั คณุ ภาพพอใชข ึ้นไป ถือวา ผา น ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 16-20 ดมี าก 11-15 ดี 6-10 1-5 พอใช ปรบั ปรงุ

หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง ยอ นรอยไทย 717 แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู วันที.่ ......................เดือน..........................................พ.ศ.................................. เกณฑก ารใหค ะแนน ลาํ ดบั ที่ ชอื่ –สกลุ ความต้ังใจ รวม ระดบั ในการเรียน (4) (16) คณุ ภาพ ความสนใจ และการซักถาม (4) การตอบ ํคาถาม (4) ีม สวนรวม ในกิจกรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอ่ื ................................................................ผปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก ารใหค ะแนนดงั ตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมนิ ในการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล ดงั น้ี ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก ารสรปุ ผลการประเมนิ 13-16 ดมี าก นักเรยี นที่ไดระดับคณุ ภาพพอใชข้นึ ไป ถอื วา ผา น 9-12 ดี 5-8 พอใช 1-4 ปรบั ปรุง

718 คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ประวัติศาสตร ป.6) เกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี นรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การประเมิน เกณฑก ารใหค ะแนน ตอ งปรบั ปรงุ (1) ดมี าก (4) ดี (3) พอใช (2) 1. ความตงั้ ใจใน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไมส นใจใน การเรยี น ไมคยุ หรือเลน กนั คยุ กันเล็กนอย คยุ กนั และเลน กนั การเรยี น คุยและ 2. ความสนใจและ การซกั ถาม ในขณะเรียน ในขณะเรียน ในขณะเรียนเปน เลนกันในขณะ 3. การตอบคาํ ถาม บางคร้ัง เรียน 4. มีสวนรว มใน มกี ารถามในหวั ขอ มีการถามในหวั ขอ มกี ารถามในหวั ขอ ไมถามในหัวขอ ท่ี กจิ กรรม ทตี่ นไมเขา ใจทกุ ทตี่ นไมเ ขาใจเปน ท่ีตนไมเ ขาใจเปน ตนไมเขาใจและไม เรื่องและกลา สวนมากและกลา บางครงั้ และไม กลา แสดงออก แสดงออก แสดงออก คอยกลา แสดงออก รวมตอบคําถามใน รวมตอบคําถามใน รว มตอบคาํ ถามใน ไมตอบคําถาม เรือ่ งท่ีครถู ามและ เรื่องทคี่ รูถามและ เรอ่ื งทีค่ รูถามเปน ตอบคาํ ถามถูกทกุ ตอบคาํ ถาม บางคร้งั และตอบ ขอ สว นมากถกู คําถามถกู เปน บางครง้ั รว มมือและ รวมมอื และ รว มมอื และ ไมมีความรว มมอื ชว ยเหลือเพ่อื นใน ชวยเหลือเพือ่ น ชว ยเหลอื เพอื่ นใน ในขณะทาํ กิจกรรม การทํากจิ กรรม เปน สว นใหญใ น การทาํ กจิ กรรม การทํากิจกรรม เปนบางคร้งั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook