Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2023-03-08 02:32:25

Description: 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6.3 แผนรองรบั ความเสย่ี ง 6.3.1 ให้ดำเนินการบริหารงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 นเิ ทศตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 7. กล่มุ เป้าหมาย/ผู้ที่ไดร้ ับประโยชน์ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทุกคน 8. พ้ืนทก่ี ารดำเนินการ สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 ร่วมกับ โรงเรยี นในสังกัด 9. ระยะเวลาดำเนนิ กรกฎาคม - กันยายน 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม ไตรมาสท่ี 1 120,000 40,000 - 5,000 165,000 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 1 165,000 ไตรมาสที่ 2 - รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 - รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 กิจกรรมท่ี 1 จัดกิจกรรมลูกเสอื ตา้ นภยั ยาเสพตดิ 24 โรงเรียน - 120,000 - ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 1.1 จดั สรรให้โรงเรยี น 24 โรงเรียน ๆ ละ 5,000 บาท 1.2 สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน กิจกรรมท่ี 2 จัดคา่ ยทกั ษะชีวิตและรณรงค์เหล้า/บุหรใ่ี น 24 โรงเรยี น - 40,000 - สถานศกึ ษา 2.1 แจง้ สถานศกึ ษาเขา้ รับการอบรม/ดำเนนิ การฝึกอบรม 2.2 สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งาน กิจกรรมที่ 3 นิเทศตดิ ตามส่ือ EF 24 โรงเรียน - 5,000 - ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 3.1 ออกแบบสำรวจการใช้สื่อ 3.2 รวบรวมและสรุปผล รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 4 165,000 รวมงบประมาณทั้งสิน้ 165,000 - [ 88 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 - บาท บาท 2) งบ สพฐ. 165,000 บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทงั้ หมด 165,000 แหล่งเงิน งบประมาณทห่ี นว่ ยงาน งบประมาณทข่ี อผ่าน เงินกู้ งบประมาณจากแหลง่ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) อืน่ หน่วยงานอ่ืน ในประเทศ นอกประเทศ - 165,000 บาท - -- 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 - บาท - บาท - บาท 165,000 บาท สว่ นท่ี 6 : ขอ้ มูลผปู้ ระสานงาน โทรศพั ท์ 09 2715 4194 ชอื่ -สกุล นางสาววราพร สนุ ทรวภิ าต โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 89 ]



แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ข้อมูลทวั่ ไป 1. ชื่อโครงการ โครงการ การดำเนนิ งานของศนู ย์แนะแนว สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 1 ภายใตแ้ ผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการที่ใชง้ บประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการ  ยังไมเ่ ร่ิมดำเนนิ การ  ดำเนินการเสรจ็ แลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเช่ือมโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลัก) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ น การสร้างความสามารถในการแข่งขนั (1) เป้าหมาย ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแข่งขนั สงู ขึน้ (2) ประเดน็ ข้อ พฒั นาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผ้ปู ระกอบการยคุ ใหม่ ขอ้ ย่อย สรา้ งโอกาสเขา้ ถึงตลาด (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธิบายความสอดคล้อง) ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนให้มีความสมบูรณ์มีทักษะ และจิตวิญญาณ มีความสามารถในการแข่งขัน มีความสามารถในการเข้าถึงตลาด เป็นผู้ประกอบการที่ “ผลิตเก่ง ขายเก่ง” หรือ “ซื้อเป็น ขายเป็น”รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนมีธรรมาภิบาลและความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย สตปิ ัญญา ความรคู้ วามสามารถ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนใหม้ ที ักษะในการดำรงชวี ิต แผนระดบั ท่ี 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแม่บทประเดน็ พฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อคนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมีประสิทธิผลเพ่มิ ข้ึน มีนสิ ัยใฝเ่ รยี นรู้อยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) - (3) ตวั ช้ีวดั - (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอื่ เสร็จสิน้ โครงการ - [ 91 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปฏิรปู กระบวนการเรียนรูท้ ่ตี อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลง ในศตวรรษที่ 21 (1) เปา้ หมายของแผนยอ่ ย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขนึ้ มีทกั ษะจำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรบั ตัวสื่อสารและทำงานร่วมกับผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) สถานศกึ ษาจดั ระบบการแนะแนวการศึกษาใหม้ คี ุณภาพ เปน็ ทกั ษะทจี่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษ ที่ 21 ทำให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อสายวิชาชีพและมีงานทำ ส่งผลให้นักเรียนสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้อย่างมีประสทิ ธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ือง โดยอาศัย ความร่วมมือจากภาคเี ครอื ข่ายในการเขา้ มามสี ่วนรว่ ม (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) - F (ปัจจัย) - (4) แนวทางการพฒั นา การสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และ ขนาดย่อมยุคใหม่ พัฒนาปัจจัยแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการสนับสนุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ โดย การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ ให้เป็นระบบที่เป็นปัจจุบัน บูรณาการ และต่อเนื่อง เพ่ือ ส่งเสริมการเข้าถึงและการใช้ ประโยชน์จากฐานข้อมูลในการสร้างโอกาสให้ภาคธุรกิจ รวมถึงสร้างความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และสถาบันวิชาการทั้งในและระหว่างประเทศ ในการ ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการร่วมกัน ยกระดับบริการและโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพให้เอื้อต่อการ ประกอบธรุ กจิ และการพฒั นานวัตกรรมและ ประยกุ ต์ใชท้ ้งั ในภาครัฐและเอกชน (5) ตัวชว้ี ดั สดั สว่ นประชากรไทยทงั้ หมดที่ไดร้ ับความคุ้มครองตามมาตรฐานคุ้มครองทางสงั คมอย่างนอ้ ย 9 กรณี ได้แก่ (1) เจ็บป่วย (2) คลอดบุตร (3) ตาย (4) ทุพพลภาพ/พิการ (5) เงินช่วยเหลือครอบครัว หรือ บุตร (6) ชราภาพ (7) ว่างงาน (8) ผอู้ ยู่ในอปุ การะ และ (9) การบาดเจบ็ จากการทำงาน (รอ้ ยละ) (6) Contribution ต่อเป้าหมายเมือ่ เสรจ็ สิน้ โครงการ สดั ส่วนเยาวชนคนไทยทงั้ หมดได้รับความคมุ้ ครองตามมาตรการการคุ้มครองทางสังคมร้อยละ 90 [ 92 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ - เรอื่ ง - 2) ยุทธศาสตร์ท่ี - - เปา้ หมายท่ี - - แนวทางพฒั นา ขอ้ ที่ - 3. ความสอดคล้องกบั แผนความมั่นคงแห่งชาติ 1) แผนความมน่ั คงแหง่ ชาติ ขอ้ ที่ - 2) ประเด็น ข้อที่ - แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หวั ขอ้ ลดความเหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษา  นโยบายเรง่ ด่วน หวั ข้อ การเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรต กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง  พ.ร.บ.ค้มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546  พ.ร.บ.การป้องกันและการแกไ้ ขการตัง้ ครรภ์ในวัยร่นุ พ.ศ. 2559  พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มติ ครม.ทเี่ กี่ยวขอ้ ง - นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร  ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน  ยทุ ธศาสตร์ สพฐ. ที่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่มี คี ณุ ภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา นโยบายจังหวดั  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน [ 93 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลักการและเหตุผล นโยบายรัฐบาลด้านการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อสร้างคุณภาพคนไทยให้สามารถเรียนรู้และ พฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ ประกอบอาชพี และดำรงชีวติ ได้โดยมีความใฝ่รูแ้ ละทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม ซึ่งมีเป้าหมายให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนากระบวนการคิด ทักษะความสามารถอย่างรอบด้าน ท้ังด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม สติปัญญา การปลูกฝังค่านยิ ม 12 ประการ การเรียนรปู้ ระสบการณ์จากการทำ กิจกรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิอยา่ งเหมาะสมแต่ละชว่ งวยั และการวางพ้นื ฐานเพ่ือการทำงานการศึกษาเพือ่ อาชีพ รวมทั้ง จุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการชีวิต การเพิ่มปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา 51 : 49 และยุทธศาสตร์ และตัวช้วี ดั สพฐ. มุ่งให้มีการแนะแนวผู้เรยี นเพื่อการเรยี นต่อและมีอาชพี สจุ ริตเพ่อื ความมั่นคงในชีวิตครูแนะ แนวสามารถจดั กิจกรรมแนะแนวเพอื่ การเรียนตอ่ และมอี าชีพสุจรติ และครแู นะแนวทไ่ี ด้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านการแนะแนวสามารถปฏิบัติงานแนะแนวและขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่ายได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื เสรมิ สร้างศกั ยภาพใหค้ รูแนะแนว มีการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ให้เป็นครแู นะแนวมอื อาชีพ และการจดั กิจกรรมแนะแนวและสง่ เสริมร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายตา่ ง ๆ 2.2 ประสานความร่วมมือ เพ่อื เพมิ่ ปริมาณผเู้ รยี นอาชีวศึกษาในลกั ษณะการประสานความร่วมมือ กบั ภาคีเครือขา่ ย เพอ่ื บรรลวุ ัตถุประสงคร์ ว่ มกัน 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลติ (Output) 3.1.1 ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่ได้รบั การแนะแนว 3.1.2 สถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง มีครแู นะแนวในการจดั กจิ กรรมแนะแนวแบบมอื อาชีพ 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 สถานศึกษาจัดระบบงานแนะแนวเป็นระบบมีคุณภาพ ที่ส่งผลให้ นักเรียน ผู้ปกครอง มีทัศนคตทิ ่ีดตี ่อการเรียนสายวิชาชีพและมงี านทำ 3.2.1 ภาคีเครือข่าย บุคคล กลุ่มบุคคล ทั้งภายในภายนอกสถานศึกษา เข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริม พัฒนา ป้องกนั แกป้ ญั หาสำหรบั ผเู้ รียนทัง้ ด้านการศกึ ษา อาชีพ สว่ นตัวและสงั คม 4. ผลทคี่ าดวา่ จะเกิด สถานศึกษาจดั ระบบแนะแนวมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน ครแู นะแนวได้รับการพฒั นาต่อเนื่องและนักเรียน ไดร้ บั บรกิ ารทว่ั ถงึ [ 94 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5. ดัชนชี ี้วดั ความสำเรจ็ 5.1 ตวั ชวี้ ดั เชิงปริมาณ 5.1.1 รอ้ ยละ 100 ของนกั เรยี นที่ไดร้ บั การแนะแนว 5.1.2 สถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง มีครแู นะแนวในการจัดกิจกรรมแนะแนวแบบมืออาชพี 5.1.3 สถานศึกษา จำนวน 135 โรงเรยี น มรี ะบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ 5.2 ตวั ชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ 5.2.1 สถานศึกษาจัดระบบงานแนะแนวเป็นระบบมีคุณภาพ ที่ส่งผลให้ นักเรียน ผู้ปกครอง มที ศั นคตทิ ด่ี ีต่อการเรียนสายวิชาชพี และมีงานทำ 5.2.2 ภาคีเครือข่าย บุคคล กลุ่มบุคคล ทั้งภายในภายนอกสถานศึกษา เข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริม พฒั นา ป้องกนั แก้ปญั หาสำหรับผ้เู รยี นทงั้ ด้านการศกึ ษา อาชพี สว่ นตวั และสงั คม 6. การวิเคราะห์ความเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเส่ียง ปฏิทินกิจกรรมของกลมุ่ งาน และหรือโครงการอื่น ๆ มคี วามซ้ำซ้อนกนั ทำใหบ้ คุ ลากรทไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ คณะทำงานไม่สามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างเต็มทีแ่ ละมปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 ผลกระทบความเส่ียง ประสานงาน หารอื กันภายในกลุ่ม และกลุ่มงานอืน่ ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง เพ่อื จดั สรรทรพั ยากร ทัง้ ดา้ นเวลาและด้านบุคลากรไม่ให้มีความซบั ซ้อนกนั โดยให้มีการทำปฏิทนิ กิจกรรมร่วมกัน 6.3 แผนรองรับความเสยี่ ง ตดิ ตามการทำงานอย่างใกลช้ ดิ มีขอ้ มูลเพอ่ื ดำเนนิ การอยา่ งเหมาะสม ประชาสมั พนั ธแ์ ละ เพิม่ ช่วงเวลา ในการดำเนินงาน 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผู้ทีไ่ ดร้ บั ประโยชน์ ครูแนะแนวและนักเรียน 8. พ้นื ทก่ี ารดำเนินการ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนนิ ตุลาคม 2565-กันยายน 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ - ไตรมาสที่ 1 -- - -- 1. ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน -- 2. แต่งตั้งคณะทำงาน /กำหนดบทบาทและภารกิจ - - สอ่ื สาร ประชาสมั พนั ธ์โครงการ รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 1 [ 95 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ - ไตรมาสท่ี 2 -- 5,000 5,000 1. รวบรวมข้อมลู พรอ้ มทัง้ จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศ -- 5,000 - - รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 2 5,000 - - 5,000 ไตรมาสที่ 3 -- -- 1.จดั ทำคู่มอื การแนะแนวและจัดกจิ กรรมบรกิ ารแนะแนว - - 5,000 ศกึ ษา รว่ มกับภาคเี ครือขา่ ยต่าง ๆ รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 3 -- ไตรมาสท่ี 4 1. สรปุ ผลการดำเนนิ งานฯ -- รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสท่ี 4 -- รวมงบประมาณทง้ั สนิ้ สว่ นที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 - บาท บาท 2) งบ สพฐ. 5,000 บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้ังหมด 5,000 แหลง่ เงิน เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายได้ของหนว่ ยงาน เงนิ กู้ อื่นๆ 5,000 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท - บาท 5,000 บาท ส่วนท่ี 6 : ข้อมลู ผ้ปู ระสานงาน ช่ือ-สกลุ นางเด่นดวง ขนั คำ โทรศพั ท์ 06 3223 3067 E-mail address - โทรสาร - [ 96 ]



แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 1 : ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1. ช่ือโครงการ ขับเคลือ่ นพัฒนาคณุ ภาพโดยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศ การศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) ภายใตแ้ ผนงาน พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการทใ่ี ชง้ บประมาณ  โครงการที่ไม่ใช้งบประมาณ 3. วิธกี ารดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหว่างดำเนนิ การ  ยงั ไม่เร่มิ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแลว้ ส่วนที่ 2 : ความเชือ่ มโยงกับแผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับที่ 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลัก) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ชี ีวิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.3 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ บริหารจดั การศกึ ษาในทกุ ระดับ ทกุ ประเภท (3) การบรรลุตามเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพโดยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา (ก.ต.ป.น.) เปน็ โครงการทพี่ ัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาและ ดำเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการบริหาร และการดำเนินการโดยมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิของ หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด และนำผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษามาใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้เรียนเป็น คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อม สำหรบั วถิ ีชีวติ ในศตวรรษที่ 21 เป็นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ แผนระดับท่ี 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรยี นรู้ [ 97 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลเพ่ิมขน้ึ มีนสิ ยั ใฝ่เรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพโดยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา (ก.ต.ป.น.) เป็นโครงการที่ พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา และดำเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบรหิ าร และการดำเนินการโดยมงุ่ เน้นผลสัมฤทธ์ิ ของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด และนำผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษามาใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในสังกัด และ พัฒนาครูให้นำความรู้ความสามารถไปพัฒนานักเรียนให้ มีทักษะในการศึกษาหาความรู้อย่างมีคุณภาพตาม มาตรฐานสากลเพ่ิมขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลเพิ่มขน้ึ มนี ิสัยใฝ่เรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิต (3) ตวั ช้วี ัด 1. คะแนน PISA ดา้ นการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลยี่ ) 2. อนั ดบั ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศดา้ นการศกึ ษา (4) Contribution ตอ่ เป้าหมายเมอื่ เสรจ็ สิ้นโครงการ 1. คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เฉลย่ี 470 คะแนน 2. อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศดา้ นการศึกษาอนั ดบั ท่ี 45 3. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณของโครงการ คือ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน โรงเรียนในสังกัด จำนวน 135 โรงเรียน ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในสังกัด และพัฒนาครูให้นำ ความรู้ความสามารถไปพัฒนานักเรียนและพัฒนาครูให้นำความรู้ความสามารถไปพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ ทีจ่ ำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 4. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของโครงการ คือ พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นิเทศการศึกษาและดำเนินการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการบริหาร และการดำเนินการโดย มงุ่ เน้นผลสมั ฤทธข์ิ องหนว่ ยงาน แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ การปฏิรูปกระบวนการเรยี นร้ทู ตี่ อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทักษะท่จี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวิตดขี น้ึ (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพโดยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) และยกระดบั คณุ ภาพวชิ าการ โดยการมสี ่วนรว่ มของผูม้ สี ่วนเกีย่ วข้องทเ่ี หมาะสมในการ [ 98 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อช่วยส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการนำ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมากำหนดเป็นแนวทางในการติดตามตรวจสอบ ประเมินล และนิเทศการ บริหารและการดำเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา กำหนดแนวทาง การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ี การศึกษา พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดำเนินการตามแผนที่กำหนด และให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง และสง่ เสรมิ ใหม้ ีการประสานการดำเนนิ การกับคณะกรรมการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป้าหมายคือนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มคี ุณภาพตามมาตรฐาน ของโลกในศตวรรษที่ 21 (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) การบริหารจดั การระบบการเรียนรู้ F (ปจั จัย) การตดิ ตาม วดั และประเมนิ ผลทางการศึกษา (4) แนวทางการพัฒนา จัดให้มีมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียนในทุกระดับ เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นทส่ี ูงข้ึนมกี ารกำหนดมาตรฐานข้ันตำ่ ของโรงเรยี นในทุกระดบั ทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศในดา้ นความ พร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์การเรียนการสอน การบริหารจัดกรโรงเรียน จำนวนครูที่ครบชั้น ครบ วชิ า จำนวนพนักงานสนับสนนุ งานบริหารจดั การโรงเรยี น (5) ตัวช้วี ัด 1. สดั สว่ นครผู า่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรียนลดลง 3. อัตราการเขา้ เรยี นสุทธริ ะดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสร็จสิ้นโครงการ 1. สดั ส่วนครผู ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สงู ตามมาตรฐานนานาชาติ รอ้ ยละ 50 2. อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรียนลดลงรอ้ ยละ 20 3. อัตราการเขา้ เรียนสทุ ธิระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ รอ้ ยละ 80 4. ตัวชี้วดั เชิงปริมาณของโครงการ คือ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน โรงเรียนในสังกัด จำนวน 135 โรงเรียน ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในสังกัด และพัฒนา ครูให้นำความรู้ความสามารถไปพัฒนานักเรียนและพัฒนาครูให้นำความรู้ความสามารถไปพัฒนา นักเรียนให้ มที ักษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 5. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของโครงการ คือ พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นเิ ทศการศกึ ษาและดำเนนิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการบริหาร และการดำเนินการ โดยมงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธ์ขิ องหนว่ ยงาน [ 99 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 1 เรอ่ื ง คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยสมบูรณ์ 2) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ - เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถ เรียนรู้ ดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาระบบ ประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรยี นรู้แต่ละระดบั การศกึ ษา 3. ความสอดคล้องกบั แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมน่ั คงแหง่ ชาติ ข้อท่ี - 2) ประเด็น ขอ้ ที่ - แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ✓ นโยบายหลัก หวั ขอ้ - พฒั นาโครงสรา้ งและระบบการบริหารจัดการภาครฐั สมัยใหม่ - สง่ เสริมระบบธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ✓ นโยบายเรง่ ดว่ น หัวขอ้ - การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาระบบการใหบ้ ริการประชาชน กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง - มติ ครม.ทเ่ี ก่ียวข้อง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน - นโยบายจังหวดั ✓ ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน [ 100 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 กำหนดให้สำนักงาน เขตพนื้ ที่การศึกษาทกุ เขตมคี ณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา โดยมบี ทบาทหนา้ ท่ีร่วมกับสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาในการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา การบริหาร และการดำเนินงานโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด เขตพนื้ ที่การศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื การปรบั ปรุงพฒั นาและเตรียมการรบั การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลจาก หน่วยงานภายนอก หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศกึ ษา ทั้ง 4 ด้าน คือ ดา้ นวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารท่วั ไป รวมทง้ั มีการสง่ เสริมใหค้ ณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) มียุทธศาสตร์ กระบวนยุทธ์ และมีเครือข่ายที่เข้มแข็งมีประสิทธิภาพสามารถเป็นกลไกสำคัญ และเร่งรัดผลกั ดันให้ การดำเนินงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ส่งผลต่อการดำเนินการยกระดับคุณภาพ การศึกษาในสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา ใหบ้ รรลเุ ขา้ หมายเกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่ในการ จัดทำนโยบายและแนวทางในการพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานและสถานศึกษา รวมถึงการกำกับ ดูแล นเิ ทศ ตดิ ตาม ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประเมนิ ผลสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และหนว่ ยงานในสงั กดั ให้สอดคลอ้ ง รองรับนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนโยบาย ของจังหวัดสุพรรณบุรี โดยให้อิสระสถานศึกษาในการบริหารจัดการศึกษา ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เป็นกลุ่มงานที่มีบทบาทหน้าที่ในการประสานงาน กับคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาของเขตพน้ื ที่ กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ตระหนักและให้ความสำคัญกับสภาพปัญหาการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด จึงจัดทำโครงการ พฒั นาและสง่ เสริมประสิทธภิ าพการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางใน การวางแผนพัฒนา และยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ใหส้ งู ข้นึ ตอ่ ไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือ่ ประชุมวางแผนการนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ วัดและประเมินผล สรุปงาน และรายงานผล 2.2 เพื่อพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของหน่วยงาน และสถานศึกษา ในสังกดั 2.3 เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหาร และการดำเนินการโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของ หนว่ ยงาน และสถานศกึ ษาในสงั กัด 2.4 เพื่อนำผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษามาใช้ในการปรับปรุง และพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่อื ง [ 101 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3. เป้าหมาย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ผลผลิต (Output) 3.1.1 ประชุมคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา จำนวน 3 คร้งั 3.1.2 ประชุมสัมมนาและศกึ ษาดงู าน คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา ของเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา และคณะศึกษานเิ ทศก์ จำนวน 1 ครงั้ 3.1.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน โรงเรียนในสังกัด จำนวน 135 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 คร้ัง 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 จัดทำแผนงานโครงการ แผนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาวางแผน โดยมี กระบวนการในการพฒั นางานที่มปี ระสทิ ธิภาพ และขบั เคลื่อนการดำเนินงานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทว่ี างไว้ 3.2.2 จัดทำวาระการประชุม จัดประชุม และสรุปรายงานการประชุมกลุม่ นิทศ ติดตามและประเมินผล การจดั การศึกษา 3.2.3 จดั ทำวาระการประชุม จัดประชมุ และสรปุ รายงานการประชุม ก.ต.ป.น. 3.2.4 จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ และจัดประชุมนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และคณะ ศกึ ษานิเทศก์ 3.2.5 พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน ภายในเขตพื้นที่ การศึกษา และนำไปใช้ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สรุป รายงานผล และนำผลไปใชพ้ ฒั นาคุณภาพตามเป้าหมายของการจัดการศกึ ษา 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ 4.1 ได้แนวทางในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาทมี่ ีประสิทธิภาพ 4.2 โรงเรียนได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาตามแผนทก่ี ำหนด 5. ดชั นีช้ีวดั ความสำเร็จ 5.1 ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมาณ 5.1.1 ร้อยละของการประชมุ สัมมนาและศกึ ษาดงู าน คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา และคณะศกึ ษานิเทศก์ 5.1.2 ร้อยละของสถานศกึ ษาทไ่ี ด้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาทงั้ 4 ดา้ น 5.2 ตวั ชวี้ ัดเชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 เขตพื้นที่การศึกษาประชุม คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล (กตปน.) พร้อม คณะศึกษานิเทศก์ และติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาสถานศึกษาในสังกัด และนำผล มาพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง 5.2.2 สถานศกึ ษาได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาทง้ั 4 ด้าน [ 102 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวิเคราะหค์ วามเสยี่ งของโครงการ 6.1 ปัจจยั ความเส่ยี ง 6.1.1 ความพร้อมตอ่ การดำเนินงานทง้ั 4 ด้านของสถานศกึ ษา 6.1.2 การเพ่มิ พนู ประสิทธภิ าพการดำเนินงาน และวิธีการดำเนินการให้เป็นไปตามกจิ กรรมในโครงการ 6.2 ผลกระทบความเส่ยี ง สถานศึกษา ไมม่ คี วามพร้อมต่อการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา ทค่ี รบทงั้ 4 ดา้ น 6.3 แผนรองรับความเส่ียง 6.3.1 กระตุ้น ส่งเสริม สถานศึกษา ให้มีการเตรียมพร้อมต่อการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา ทัง้ 4 ดา้ น 6.3.2 เตรียมการปรับรูปแบบ และวิธีการดำเนินการให้ครอบคลุมและยืดหยุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ และมคี ณุ ภาพ 7. กลุม่ เปา้ หมาย/ผู้ท่ไี ดร้ บั ประโยชน์ โรงเรียนไดร้ บั การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา ตามแผนทก่ี ำหนด 8. พ้นื ทีก่ ารดำเนนิ การ โรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 ทง้ั 3 อำเภอ คอื อำเภอเมอื งสพุ รรณบุรี อำเภอบางปลามา้ และอำเภอศรีประจันต์ 9. ระยะเวลาดำเนนิ ตุลาคม พ.ศ. 2565 - กันยายน พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม 178,125 ไตรมาสท่ี 1 178,125 10,000 กิจกรรมท่ี 1 ประชุมมอบนโยบายเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 135 รร. 0 41,625 136,500 10,000 5,000 สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 5,000 รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 1 41,625 136,500 ไตรมาสที่ 2 กจิ กรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ 1 ครง้ั 0 10,000 0 ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาของเขตพน้ื ที่การศึกษา รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสที่ 2 0 10,000 0 ไตรมาสที่ 3 กจิ กรรมท่ี 2 ประชมุ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ 1 ครง้ั 0 5,000 0 ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาของเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสที่ 3 0 5,000 0 [ 103 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ไตรมาสที่ 4 (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม กจิ กรรมที่ 3 ประชมุ สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ 10,375 ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา ทง้ั 4 ดา้ น เกบ็ รวบรวม 1 ครง้ั 0 10,375 0 ขอ้ มลู ประมวลผล สรปุ และรายงานผล และนำผลไปใช้ 10,375 พฒั นาคุณภาพ 0 10,375 0 203,500 รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 4 0 67,000 136,500 รวมงบประมาณทัง้ ส้ิน สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 203,500 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้งั หมด 203,500 แหลง่ เงนิ งบประมาณทห่ี น่วยงาน งบประมาณท่ขี อผ่าน เงินกู้ งบประมาณจาก ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) แหล่งอื่น หนว่ ยงานอ่ืน ในประเทศ นอกประเทศ - 203,500 บาท - -- ไตรมาส 4 10,375 บาท 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 178,125 บาท 10,000 บาท 5,000 บาท ส่วนท่ี 6 : ข้อมูลผูป้ ระสานงาน โทรศพั ท์ 09 8249 8914 ชื่อ-สกุล นางสาวภทั รัฒณ์ ศรีทองสุข โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 104 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ขอ้ มูลท่วั ไป 1. ชือ่ โครงการ นิเทศเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ภายใตแ้ ผนงาน แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ีใชง้ บประมาณ  โครงการทไี่ ม่ใชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยูร่ ะหวา่ งดำเนนิ การ  ยงั ไม่เรม่ิ ดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเชือ่ มโยงกบั แผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ น ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเดน็ ขอ้ 3 ขอ้ ย่อย 3.2 (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) การนิเทศการศึกษา จะส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาศักยภาพครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ เปลี่ยน โฉมบทบาท ครูใหเ้ ปน็ ครูยุคใหม่ เป็นผู้สนบั สนนุ อำนวยการเพอ่ื ให้เกดิ การเรียนรู้ แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1. คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้อยา่ ง มีประสทิ ธผิ ลเพ่มิ ข้ึน มนี ิสยั ใฝ่เรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธบิ ายความสอดคล้อง) การนิเทศการศึกษาจะส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ เปลี่ยนโฉมบทบาทครูให้เป็นครูยุคใหม่ เป็นผู้สนับสนุนอำนวยการเพื่อให้เกิดการเรียนรู้โดยมีเป้าหมายคือให้ คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถ [ 105 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่าง ตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต (3) ตวั ช้วี ัด คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลี่ย) อันดับ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศกึ ษา (4) Contribution ต่อเป้าหมายเม่อื เสร็จส้ินโครงการ 1. เฉลยี่ 470 คะแนน 2. ครผู สู้ อนผ้มู ีทกั ษะการจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 1. อนั ดับที่ 45 2. ครผู ู้สอน ผูม้ ที กั ษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษท่ี 21 (1) เปา้ หมายของแผนยอ่ ย (Y1) คนไทยได้รบั การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเรยี นรู้ และทักษะทจ่ี ำเป็นของโลก ศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ดีขึ้น (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคล้อง) การนิเทศการศึกษาจะส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้เปลี่ยนโฉม บทบาท ครูให้เป็นครูยุคใหม่ เป็นผู้สนับสนุนอำนวยการเพื่อให้เกิดการเรียนรู้โดยมีเป้าหมายคือให้คนไทย มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการ แก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชวี ิต (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) การบริหารจัดการระบบการเรยี นรู้ (120101V04) F (ปจั จัย) การตดิ ตาม วดั และประเมินผลทางการศึกษา (120101F0405) (4) แนวทางการพฒั นา (1) วางแผนการผลิต พฒั นาและปรบั บทบาท “ครู คณาจารยย์ ุคใหม”่ ให้เป็น “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและ มาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการใน สาขาทีต่ นเองสอน (5) ตวั ช้ีวดั สัดส่วนครูผา่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สูงตามมาตรฐานนานาชาติ อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรียนลดลง อัตราการเข้าเรียนสุทธริ ะดับมธั ยมศึกษาตอนต้น [ 106 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมือ่ เสรจ็ สนิ้ โครงการ 1.ร้อยละ 50 2. ครผู สู้ อน ผ้เู รียน มที กั ษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 1.ลดลงร้อยละ 20 2. ครผู ู้สอน ผู้เรยี น มีทกั ษะการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 1.ร้อยละ 80 2. ครูผ้สู อน ผเู้ รยี น มที กั ษะการจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 1 เรือ่ ง คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยทสี่ มบรู ณ์ 2) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ - เป้าหมายที่ 1 - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการ ดำรงชวี ติ อยา่ งมีคณุ ค่า 3. ความสอดคล้องกับแผนความมัน่ คงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแห่งชาติ - 2) ประเด็น ขอ้ ที่ - แผนระดับท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกับนโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หวั ข้อ ม่งุ เน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคูก่ ับการพฒั นาครู  นโยบายเรง่ ดว่ น หัวข้อ การเตรียมคนไทยสูศ่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายที่เกยี่ วข้อง - มติ ครม.ที่เกย่ี วข้อง - นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธกิ าร 1. การยกระดบั คุณภาพการศึกษา 1.1 จัดการเรียนร้เู พอ่ื พฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นสร้างความรดู้ ้วยตนเอง ม่งุ เนน้ กระบวนการเรียนรแู้ บบ ถกั ทอความรู้ ทกั ษะคุณลักษณะผู้เรียน ทักษะคณุ ลักษณะผเู้ รียนเข้าด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบตั ิจริง (Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รวมทงั้ การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลเชิงสมรรถนะ [ 107 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 3. ด้านคุณภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้น สมรรถนะไปใช้ตามศกั ยภาพของสถานศกึ ษา ให้สามารถอกแบบหลักสตู รทีเ่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการและบริบท นโยบายจงั หวดั  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล การนิเทศ (Supervision) เปน็ การให้ความช่วยเหลือ การใหค้ ำแนะนา และการปรับปรงุ เพ่อื ให้งานบรรลุตาม วัตถุประสงค์ เปา้ หมายทีก่ ำหนดไวแ้ ละการนเิ ทศการสอน (Supervision of Teaching) เปก็ ระบวนการของผนู้ ิเทศ ที่มุ่งให้คำแนะนำ และความช่วยเหลือครูผู้สอน ในการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้เกิด ผลดีต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งหลักการสำคัญของการนิเทศการศึกษายังคงเน้นอยู่ที่การให้ ความช่วยเหลือโดยตรงแก่ครู เพื่อพัฒนาให้เป็นครูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ อันจะส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพ ของตัวนักเรียน ซึ่งเป็นผลผลิตของการจัดการศึกษานั่นเองการนิเทศการศึกษาเป็กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพทันต่อสถานการณ์ นโยบายการศึกษา หลักสูตร และองค์ประกอบต่าง ๆ อันมีส่วน สำคัญยิ่งต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการของนักเรียน รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับโรงเรียน นอกจากการให้ คำแนะนำหรอื สาธิตวิธีการสอนใหม่ ๆแล้วยังรวมถึงการสร้างและการใช้อุปกรณใ์ ห้เหมาะสมกับกจิ กรรมการเรียน การสอน นอกจากนั้นยังมีขอบเขตและมีความหมายครอบคลุมถึงทุกองค์ประกอบทางการศึกษาที่จะทำให้การ จัดการเรียนการสอน มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะการนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการทำงาน ร่วมกนั ของครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหไ้ ด้มาซึ่งสัมฤทธิ์ผลสูงสุดของนกั เรียน โดยมีเป้าหมายสำคัญเพอ่ื พัฒนาคน พัฒนางาน สร้างประสานสัมพันธ์ และสร้างขวัญกำลังใจ จะเห็นได้ว่า การนิเทศการศึกษารวมทั้งการ นิเทศภายในโรงเรยี น เป็นการสนับสนุนส่งเสริม กระตุน้ ใหค้ รู และผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการศึกษาทุกฝ่าย เป็นรายบุคคล หรือหลายคน ร่วมมือ ร่วมใจกันปฏิรูปวิธีการจัดการเรียนการสอน วิธีการบริหารจัดการศึกษา ที่มุง่ สู่ความสำเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษาทก่ี ำหนดและรกั ษาไวไ้ ด้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา จึงไดจ้ ัดทำโครงการนิเทศติดตามเพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา โดยใช้วิธีการนิเทศที่หลากหลายทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน และ นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามนโยบายที่สำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดสุพรรณบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตระหนกั และเห็นความสำคัญดงั กลา่ วจึงได้จัดทำโครงการน้ีขึ้น [ 108 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพ่อื จัดทำแผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา 2.2 เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET/NT) ใหส้ ูงข้ึน 2.3 เพื่อนิเทศ ติดตามการดำเนินงานตามนโยบายที่สำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดสุพรรณบุรี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบรุ ี เขต 1 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลติ (Output) ครูผู้สอนร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศภายในให้มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) ครูผสู้ อนร้อยละ 80 ต้องมที กั ษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ สถานศึกษาในสังกัดมีระบบการนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพของ ผูเ้ รยี นท่เี ขม้ แขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ดัชนชี วี้ ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตัวชวี้ ดั เชงิ ปริมาณ โรงเรยี น 135 โรงเรียนไดร้ บั การนเิ ทศ 5.2 ตวั ชวี้ ัดเชิงคณุ ภาพ ครผู สู้ อน ผู้ มที กั ษะการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 6. การวิเคราะหค์ วามเสยี่ งของโครงการ 6.1 ปัจจยั ความเส่ียง 6.1.1 คณะกรรมการนิเทศ ไม่สามารถปฏิบัตกิ ารนเิ ทศไดต้ ามปฏทิ นิ ทก่ี ำหนด 6.1.2 โรงเรียนขาดแคลนครูตรงวชิ าเอกในการจัดการเรยี นการสอน 6.1.3 โรงเรียนไม่ดำเนินการตามแนวทาง มาตรการ การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 6.2 ผลกระทบความเสยี่ ง 6.2.1 ไมส่ ามารถปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศไดต้ ามปฏิทนิ ทีก่ ำหนด 6.2.2 การนเิ ทศไมบ่ รรลวุ ัตถุประสงค์ 6.3 แผนรองรับความเส่ียง 6.3.1 คณะกรรมการควรวางแผนจดั ตารางเวลาการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ ปน็ ไปตามปฏทิ ินการนิเทศ 6.3.2 จดั อบรมครูผู้สอนทไ่ี ม่ตรงวชิ าเอก และใหศ้ ึกษาเพิม่ เติมจากสือ่ ออนไลน์ [ 109 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6.3.2 นิเทศ ติดตามการใช้คู่มือนโยบาย มาตรการและแนวทางการดำเนินการการขับเคลื่อน คณุ ภาพการศึกษาของสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาไปสกู่ ารปฏิบัตอิ ย่างแท้จริง 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณเขต 1 8. พืน้ ที่การดำเนนิ การ อำเภอ เมอื ง, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอศรปี ระจันต์ 9. ระยะเวลาดำเนนิ พฤศจิกายน 2565 - กนั ยายน 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ใช้สอย วสั ดุ (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน รวม 2,400 ไตรมาสที่ 1 1,500 2,400 1,500 1. ประชุมจัดทำแผนการนิเทศและเครือ่ งมือการนเิ ทศ 15,600 1,000 15,600 1.1 คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มอ้ื ๆ 16,600 - 1,000 16,600 ละ 80 บาท เป็นเงิน 30 คน 15,600 1,000 15,600 1.2 ค่าอาหารวา่ งและเครือ่ งดมื่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 16,600 - 1,000 16,600 2 มือ้ ๆ ละ 25 บาท เปน็ เงิน 30 คน 15,600 15,600 2. การนเิ ทศ ตดิ ตามฯ โรงเรียนในสังกดั 2.1 ค่าชดเชยน้ำมนั 1 ครั้ง ๆ ละ 5 วนั ๆ ละ 60 135 กโิ ลเมตร ๆ ละ 4 บาท ผนู้ ิเทศ 13 คน เปน็ เงนิ โรงเรยี น 2.2 สรุปและจดั ทำเลม่ รายงานการนเิ ทศฯ จำนวน 4 เล่ม ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 4 เล่ม รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสท่ี 1 - ไตรมาสที่ 2 1. การนิเทศ ติดตามฯ โรงเรียนในสงั กัด 1.1 ค่าชดเชยนำ้ มัน 1 คร้ัง ๆ ละ 5 วนั ๆ ละ 60 135 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท ผนู้ ิเทศ 13 คน เปน็ เงิน โรงเรยี น 1.2 สรุปและจัดทำเลม่ รายงานการนิเทศฯ จำนวน 4 เล่ม ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 4 เล่ม รวมงบประมาณท่ใี ช้ในไตรมาสท่ี 2 - ไตรมาสที่ 3 1. การนเิ ทศ ตดิ ตามฯ โรงเรียนในสงั กดั 1.1 คา่ ชดเชยน้ำมนั 1 คร้งั ๆ ละ 5 วนั ๆ ละ 60 135 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท ผนู้ เิ ทศ 13 คน เปน็ เงนิ โรงเรยี น [ 110 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ 1,000 1.2 สรุปและจดั ทำเลม่ รายงานการนิเทศฯ จำนวน 4 1,000 16,600 เล่ม ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 4 เล่ม 16,600 - รวมงบประมาณทใี่ ชใ้ นไตรมาสท่ี 3 - 20,800 ไตรมาสท่ี 4 20,800 1,000 1. การนเิ ทศ ตดิ ตามฯ โรงเรียนในสังกัด 135 1,000 โรงเรียน 4,800 1.1 ค่าชดเชยน้ำมนั 1 คร้งั ๆ ละ 5 วนั ๆ ละ 60 4 เลม่ 3,000 กโิ ลเมตร ๆ ละ 4 บาท ผู้นิเทศ 13 คน เป็นเงนิ 800 25,200 1.2 สรุปและจัดทำเลม่ รายงานการนิเทศฯ จำนวน 4 75,000 เลม่ ๆ ละ 250 บาท เปน็ เงิน 2. ประชุมสรุป ประเมนิ ผลและรายงานผล 60 คน 4,800 2.1 คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มอื้ ๆ 60 คน 3,000 2 เล่ม 800 ละ 80 บาท เป็นเงิน 2.2 คา่ อาหารว่างและเครอื่ งดมื่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 ม้อื ๆ ละ 25 บาท เปน็ เงิน 2.3 สรปุ และจดั ทำเลม่ รายงานการปฏบิ ตั ิงานกลุ่ม นเิ ทศฯ จำนวน 2 เล่ม ๆ ละ 400 บาท เป็นเงนิ รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 4 - 25,200 - รวมงบประมาณทง้ั สน้ิ - 75,000 - ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 75,000 บาท - บาท 1. วงเงินงบประมาณ - บาท 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 2) งบ สพฐ. 75,000 บาท 3) งบ ................................................. งบประมาณทั้งหมด แหล่งเงนิ งบประมาณที่หน่วยงาน เงนิ รายได้ของหน่วยงาน เงนิ กู้ อ่ืนๆ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) ในประเทศ นอกประเทศ - 75,000 บาท - -- [ 111 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 16,600 บาท 16,600 บาท 16,600 บาท 25,200 บาท ส่วนท่ี 6 : ข้อมลู ผู้ประสานงาน ชือ่ -สกุล นายภทั รวตั ฐ์ ซ่อื ตรง โทรศพั ท์ 06 4546 1889 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 112 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ข้อมลู ทั่วไป 1. ชอ่ื โครงการ โครงการแก้ไขปญั หาและสง่ เสริมการพัฒนาทักษะด้านการอา่ น การเขียนและการใช้ภาษาไทย เพอื่ การสื่อสารสำหรับโรงเรียนขนาดเลก็ ภายใต้แผนงาน พื้นฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ใี ชง้ บประมาณ  โครงการที่ไม่ใชง้ บประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยู่ระหว่างดำเนนิ การ  ยังไม่เร่มิ ดำเนินการ  ดำเนินการเสรจ็ แล้ว สว่ นที่ 2 : ความเชื่อมโยงกับแผนในระดับต่างๆ แผนระดับที่ 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเดน็ ข้อ 4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต ข้อย่อย 4.2.2 ชว่ งวัยเรียน/วยั รนุ่ (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการแก้ไขปญั หาและส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะด้านการอ่าน การเขยี นและการใช้ภาษาไทย เพื่อการสื่อสารสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก มีการดำเนินกิจกรรมสนับสนุน สื่อ/เครื่องมือการจัดกิจกรรมการ เรียนร้สู ำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ของโรงเรยี นในสงั กัดเพ่อื สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ปฏิบัติการสอนสามารถพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา อันจะส่งผลต่อการ พัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับ วถิ ชี วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 แผนระดับท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1. คนไทยได้รับการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะ การ เรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงาน ร่วมกับผอู้ ื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพม่ิ ขึน้ มีนสิ ัยใฝ่เรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ [ 113 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) การสนับสนุนสื่อ/เครื่องในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของ ผู้เรียนให้มีกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการจดั การศึกษา (3) ตัวชว้ี ัด . คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลยี่ ) (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสร็จสน้ิ โครงการ เฉล่ีย 470 คะแนน แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษา ที่มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษ ท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ ดขี ้ึน (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคลอ้ ง) จัดทำนโยบายจุดเน้น 10 เพิ่ม SPB1 Plus10 บริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศและมอบนโยบาย ดังกล่าวให้กับผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูและบุคลาการทางการศึกษาในสังกัด ให้มีการพัฒนาการศึกษา และการเรียนรู้ในระบบให้ตอบตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และดำเนินกิจกรรมสนบั สนนุ สื่อ/เครื่องมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ของโรงเรียนในสังกัดเพ่ือ สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีปฏิบัติการสอนสามารถพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ในสถานศึกษา อนั จะส่งผลต่อการพฒั นาสมรรถนะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รียนเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) ผสู้ อน (คร/ู อาจารย)์ F (ปัจจัย) ผู้สอนยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความ ตอ้ งการของประเทศ (ปริมาณ/คณุ ภาพ) (4) แนวทางการพฒั นา พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียนทกุ ระดับการศึกษา รวมถึงจดั กิจกรรม เสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรมคี ุณลักษณะทมี่ ชี วี ติ มีพลวตั มปี ฏิสมั พนั ธ์ การเชอื่ มต่อและมสี ่วนร่วม (5) ตัวชว้ี ดั 1. สดั สว่ นครผู ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแตล่ ะกลุ่มโรงเรยี นลดลง 3. อตั ราการเข้าเรียนสุทธิระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ [ 114 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอื่ เสรจ็ ส้ินโครงการ 1. ร้อยละ 50 2. ลดลงร้อยละ 20 3. รอ้ ยละ 80 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 2 เร่ือง คนในสังคมไทยทกุ ช่วงวยั มที กั ษะ ความรู้ และความสามารถเพมิ่ ขน้ึ 2) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์ - เป้าหมายที่ 2 คนในสงั คมไทยทกุ ชว่ งวยั มีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิม่ ขึ้น - แนวทางพัฒนา ข้อที่ (2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถในการ ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทกั ษะการทำงานและการใช้ชวี ติ ทีพ่ ร้อมเขา้ ส่ตู ลาดงาน 1) ปรับกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงสอดคล้องกับ พัฒนาการของสมองแต่ละชว่ งวยั เนน้ พัฒนาทกั ษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวศิ วกรรมศาสตร์ ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นศิลปะ และด้านภาษาต่างประเทศ 2) สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตและ ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง อาทิ การอ่าน การบำเพ็ญประโยชน์ทางสังคม การดูแลสุขภาพ การทำงาน รว่ มกันเป็นกลมุ่ การวางแผนชวี ิต 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแหง่ ชาติ 1) แผนความมั่นคงแหง่ ชาติ ข้อที่ - 2) ประเดน็ ขอ้ ท่ี - แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาล  นโยบายหลัก หัวข้อ มงุ่ เนน้ การพฒั นาโรงเรียนควบคู่กบั การพัฒนาครู  นโยบายเร่งดว่ น หัวขอ้ การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง - มติ ครม.ทเี่ กี่ยวข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา [ 115 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 2 การสรา้ งโอกาสและการลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา 3 ดา้ นคณุ ภาพ นโยบายจังหวดั  ประเดน็ การพฒั นา การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน สว่ นท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตผุ ล ตามทแ่ี ผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติท่ี 12 ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้ ไดก้ ำหนดเปา้ หมายให้คนไทย มีการศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึน้ มีทักษะท่ีจำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถแก้ปญั หา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมปี ระสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และในแผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ได้กำหนด เป้าหมายของการพัฒนาไว้ว่า “คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และ ทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษ ท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง ตลอดชีวิตดีขึ้น” ทัง้ นส้ี ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ไวว้ ่า “เด็กไทยวิถใี หมอ่ ่านออกเขยี นไดท้ กุ คน” และเพ่อื ให้การจดั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน สอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาล นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งถือเป็น หน่วยงานหลักท่ีจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศ จึงมคี วามม่งุ มัน่ ในการพัฒนาการศกึ ษามาอย่างต่อเน่ือง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ได้กำหนดแนวทางการพัฒนา \"การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ\" ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาส ด้านคุณภาพ และด้านประสิทธิภาพ และเพื่อ เป็นการตอ่ ยอดพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหเ้ ปน็ \"วถิ ีอนาคต วถิ ีคุณภาพ\" จงึ กำหนดนโยบายและจดุ เนน้ ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด้านโอกาสและการลดความ เหลือ่ มลำ้ ทางการศึกษา โดยจดั การศึกษาใหผ้ ูเ้ รียนในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไดเ้ ข้าถงึ โอกาส ความเสมอภาค และได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 จึงกำหนดนโยบายและจุดเน้น มีการขับเคลื่อน งานไปสคู่ วามสำเรจ็ ดว้ ยกระบวนการยกระดบั คุณภาพการศึกษา SPB1 7Steps วิเคราะห์บรบิ ท กำหนดแนวทาง สร้างทีมงานเด่น เน้นการมีส่วนร่วม รวมพลังนิเทศติดตาม นำผลพัฒนาและพาช่ืนชมยินดีโดยเทคนิคการ วเิ คราะห์ S O A R วิเคราะหห์ าจุดแข็ง โอกาส แรงบันดาลใจและผลลพั ธเ์ ชิงบวก และกำหนดเปน็ จดุ เนน้ 10 เพมิ่ SPB1 Plus10 คือ 1) เพิ่มนักเรียนดีศรีสุพรรณ 2) เพิ่มคุณภาพของนักเรียน 3) เพิ่มศักยภาพของนักเรียน 4) เพิ่มการเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัย 5) เพิ่มความปลอดภัย โอกาส ความเสมอภาค 6) เพิ่มผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น 7) เพมิ่ การอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรมพืน้ บา้ น 8) เพ่มิ ความเขม้ แข็งระบบการนิเทศและการประกัน [ 116 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คุณภาพการศึกษา 9) เพิ่มการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม และ 10) เพิ่มขวัญกำลังใจและสวัสดิการ นอกจากน้ี ผลการทดสอบการอ่านออก เขยี นได้ อา่ นคลอ่ ง เขียนคล่อง ของนักเรียนในสงั กดั พบว่า มีนกั เรียน ท่ีมผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ ทตี่ อ้ งไดร้ บั การพัฒนาให้มที ักษะการอ่านการเขยี นใหส้ ูงขนึ้ ประกอบกบั ในยุคปัจจุบันเป็นยุคข้อมูลข่าวสาร ที่ต้องใช้ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ ในการแสวงหาความรู้ สร้างนิสัยรัก การอ่านและนำความรู้ที่ได้จากการอ่านมาประยุกต์ออกแบบผลงานเชิงสร้างสรรค์ และนำเสนอ เขียน สื่อสาร แนวคิดของตนเองใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นใน การสนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้เพื่อการอ่านออก เขียนได้ คิดเป็น เพื่อสร้างโอกาสทาง การศกึ ษาของโรงเรียนพืน้ ที่ขนาดเล็กให้มคี ณุ ภาพอย่างเท่าเทยี ม ตามมาตรฐานด้านคณุ ภาพผู้เรยี น มีสื่อการ เรียน การสอนและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียน และการจัดการเรียนการ สอนมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รวมถึงทักษะชีวิตนำไปต่อยอด พัฒนาอาชีพตามบริบทของพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการ แก้ไขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับ นักเรยี นในโรงเรียนขนาดเล็ก 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการ สือ่ สารสำหรับนักเรยี นในโรงเรยี นขนาดเล็ก 2.2 เพอ่ื ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครผู สู้ อนมีความรคู้ วามเข้าใจ มีเครื่องมือทเ่ี หมาะสมสำหรบั การนำไปใช้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ให้กับผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลติ (Output) ครูผู้สอนและนักเรียนในระดับตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 40 โรงเรียน มีเครื่องมือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพอื่ แกไ้ ขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทกั ษะดา้ นการอ่าน การเขียน และการใชภ้ าษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร 3.2 เปา้ หมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) นกั เรียนต้งั แตร่ ะดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 - 6 ได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพความพร้อม และความสามารถ พนื้ ฐานทักษะดา้ นการอา่ น การเขยี น และการใชภ้ าษาไทยเพ่อื การสือ่ สารให้กับผู้เรียนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 4. ลักษณะโครงการ โครงการที่มุ่งเน้นการส่งเสริมประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียน และสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา การศกึ ษาโรงเรียนขนาดเลก็ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ [ 117 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5. ดัชนีชวี้ ัดความสำเรจ็ 5.1 ตวั ช้วี ัดเชิงปรมิ าณ 5.5.1 โรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีเครื่องมือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร จำนวน 40 โรงเรียน 5.5.2 นักเรยี นในโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ร้อยละ 50 5.5.3 นักเรยี นในโรงเรยี นขนาดเลก็ สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติ เพิ่มขน้ึ ร้อยละ 3 5.2 ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ 5.2.1 นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 ไดร้ ับการแกไ้ ขปัญหาและส่งเสริมการพฒั นาทักษะด้านการอา่ น การเขยี น และการใชภ้ าษาไทยเพื่อการสอื่ สาร 5.2.2 ค่าคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ RT, NT, และ O-NET ของโรงเรียนขนาดเลก็ สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 เพิม่ ข้นึ 5.2.3 ครูผสู้ อนในโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 มีเครื่องมือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ แก้ไขปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขยี น และการใช้ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร 6. การวเิ คราะห์ความเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสยี่ ง การนำเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ ด้านการอา่ น การเขยี น และการใช้ภาษาไทยเพ่อื การสอ่ื สารใหก้ ับผูเ้ รียนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 6.2 ผลกระทบความเสีย่ ง นักเรียนที่ได้รับการแก้ไขปัญหาทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด ไม่มีพื้นฐาน การเรียนรู้ทดี่ ีในการศกึ ษาในระดับชัน้ ทส่ี งู ขึน้ ต่อไป 6.3 แผนรองรบั ความเสีย่ ง การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการนำเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้จัดกิจกรรมการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารให้กับผู้เรียนได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ [ 118 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผ้ทู ่ไี ด้รับประโยชน์ ครูผู้สอนและนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 40 โรงเรียน มีเครื่องมือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทกั ษะดา้ นการอา่ น การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารให้กบั ผเู้ รียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 8. พน้ื ทีก่ ารดำเนินการ โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนินการ พฤศจกิ ายน 2565 - มิถนุ ายน 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ สพฐ. (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม ไตรมาสที่ 1 1. จดั ประชุมมอบนโยบายและจุดเนน้ สำนักงานเขตพ้นื ท่ี 1200 คน การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 (งบประมาณเขต) 2. สำรวจความต้องการการสนับสนนุ ส่ือ/เครอ่ื งมอื จัด 87 โรงเรียน กิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื แก้ไขปัญหาและพัฒนาทกั ษะ ด้านการอ่าน การเขยี น และการใช้ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร ให้กับผ้เู รียนของโรงเรียนขนาดเลก็ ในสังกดั 3. แต่งตง้ั /ประชุมคณะกรรมการจดั ลำดับโรงเรียนในการรับ 1 ชดุ / การจัดสรรจดั ซ้ือ ส่อื /เครื่องมือจดั กจิ กรรมการเรียนการ 1 ครง้ั สอนเพือ่ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นาทกั ษะด้านการอ่าน การ เขียน และการใช้ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สารให้กับผู้เรยี น 4. จดั ทำโครงการเสนอ สพฐ. 1 โครงการ รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสท่ี 1 -- - - ไตรมาสที่ 2 1. จัดซือ้ สอ่ื /เครื่องมือจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพ่ือ 40 ชุด - - 4,000,000 4,000,000 แก้ไขปัญหาและพัฒนาทักษะดา้ นการอ่าน การเขียน และ การใชภ้ าษาไทยเพอ่ื การส่ือสารให้กับผเู้ รยี น 2. จดั สรร สอ่ื /เคร่อื งมอื จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่ือ 40 โรงเรยี น - - - - แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาทกั ษะด้านการอา่ น การเขียน และ การใชภ้ าษาไทยเพอื่ การส่ือสารให้กับผูเ้ รยี นชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 [ 119 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ สพฐ. (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม 3. จัดประชมุ ชแี้ จงครผู สู้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 148 คน - - - - โรงเรยี นละ 1 คน จำนวน 135 คน ศึกษานเิ ทศก์ 13 คน รวม 148 คน เพือ่ แก้ไขปัญหาและพัฒนาทักษะด้านการ อา่ น การเขยี น และการใชภ้ าษาไทยเพอ่ื การสอื่ สารให้กับ ผเู้ รียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ในโรงเรียนขนาดเล็ก รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสที่ 2 - - 4,000,000 4,000,000 ไตรมาสท่ี 3 1. นเิ ทศ ติดตาม การใชส้ ่อื /เครือ่ งมือจัดกิจกรรมการเรยี น 40 โรงเรยี น - - - - การสอนเพ่ือแก้ไขปญั หาและพฒั นาทกั ษะด้านการอา่ น การ เขยี น และการใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารให้กับผู้เรียน 2. รายงานความกา้ วหนา้ การแก้ไขปญั หาและพฒั นาทักษะ 40 โรงเรยี น - - - - ดา้ นการอ่าน การเขียน และการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ให้กบั ผเู้ รียน รวมงบประมาณท่ใี ช้ในไตรมาสท่ี 3 -- - - ไตรมาสที่ 4 1. ประเมินผลการใชส้ ่ือ/เคร่ืองมือจดั กิจกรรมการเรยี นการ 40 โรงเรียน - - - - สอนเพื่อแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาทักษะด้านการอ่าน การ เขียน และการใช้ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารใหก้ บั ผู้เรยี น 2. การสรุปและรายงานผลไปยัง สพฐ. 3. การรายงานผลในระบบ eMENSCR รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสที่ 4 -- - - รวมงบประมาณท้ังส้ิน - - 4,000,000 4,000,000 สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 - บาท 2) งบ สพฐ. 4,000,000 บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณทง้ั หมด 4,000,000 บาท [ 120 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แหลง่ เงิน เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายไดข้ องหนว่ ยงาน เงินกู้ อนื่ ๆ 4,000,000 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 - บาท 4,000,000 บาท พ.ศ. 2566 - บาท สว่ นที่ 6 : ข้อมลู ผปู้ ระสานงาน โทรศพั ท์ 09 6659 6496 ชอ่ื -สกุล นางสาวชบา พนั ธศุ์ ักด์ิ โทรสาร – E-mail address [email protected] [ 121 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ขอ้ มลู ทั่วไป 1. ช่อื โครงการ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรยี นรสู้ มู่ าตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21 ภายใต้แผนงาน พนื้ ฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทใี่ ชง้ บประมาณ  โครงการทีไ่ มใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหว่างดำเนนิ การ  ยังไมเ่ รมิ่ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแล้ว ส่วนที่ 2 : ความเชอ่ื มโยงกบั แผนในระดบั ต่างๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (1) เป้าหมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวิถชี วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเดน็ ขอ้ 2. การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต ข้อยอ่ ย 2.2 ชว่ งวยั เรยี น / วัยรุ่น (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ชาติ (อธิบายความสอดคล้อง) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากลในศตวรรษ ที่ 21 มีการจัดทำโครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา พฒั นากระบวนการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา อันจะส่งผล ต่อการพัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรับวิถชี ีวติ ในศตวรรษที่ 21 แผนระดับท่ี 2 1. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดบั ประเดน็ (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศกึ ษาทมี่ ี คุณภาพตามมาตรฐาน สากลเพ่ิมขึ้น มีทักษะที่จำเป็น ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมี ประสทิ ธผิ ลเพ่มิ ข้ึน มนี ิสยั ใฝ่ เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต [ 122 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีกิจกรรมเสริม ทักษะเพอ่ื พฒั นาทกั ษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 มกี ารนเิ ทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา (3) ตวั ช้ีวดั คะแนน PISA ดา้ นการอา่ น คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ (4) Contribution ต่อเป้าหมายเม่อื เสรจ็ สนิ้ โครงการ เฉลย่ี 470 คะแนน แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ตี อบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษา ที่มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการ เรียนรู้ และทกั ษะที่ จำเปน็ ของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเขา้ ถึง การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตลอดชีวิตดีขนึ้ (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) จัดทำนโยบายจุดเน้น 10 เพิ่ม SPB1 Plus10 บริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศและมอบนโยบาย ดังกล่าวให้กับผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู และบุคลาการทางการศึกษาในสังกัด ให้มีการพัฒนาการศึกษา และการเรียนรูใ้ นระบบใหต้ อบตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และจัดอบรม เชิงปฏิบัติการใน การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจดั การเรียนรู้ใหก้ ับผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู และบุคลาการ ทางการศึกษาในสังกัด เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และกระบวนการจัดการเรียนรู้ในระบบ มมี าตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ คุณธรรมและทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษ ที่ 21 (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ผสู้ อน (คร/ู อาจารย์) F (ปัจจัย) ผู้สอนยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของประเทศ (ปรมิ าณ/คณุ ภาพ) (4) แนวทางการพฒั นา พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทกุ ระดับการศกึ ษา รวมถงึ จัดกิจกรรม เสริมทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยี เพ่ือการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ควรมีคณุ ลกั ษณะท่ีมีชวี ติ มีพลวตั มีปฏสิ ัมพนั ธ์ การเชอื่ มตอ่ และมสี ว่ นร่วม (5) ตวั ชวี้ ดั 1. สัดส่วนครผู า่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกล่มุ โรงเรยี นลดลง 3. อตั ราการเขา้ เรยี นสทุ ธริ ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ [ 123 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเมื่อเสร็จส้นิ โครงการ 1. รอ้ ยละ 50 2. ลดลงรอ้ ยละ 20 3. ร้อยละ 80 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 1 เร่ือง คนไทยมคี ุณลกั ษณะเป็นคนไทยสมบรู ณ์ 2) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย์ - เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถ เรียนรู้ ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาระบบ ประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรยี นรู้แต่ละระดบั การศึกษา 3. ความสอดคล้องกบั แผนความมัน่ คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมนั่ คงแห่งชาติ ข้อท่ี - 2) ประเด็น ข้อท่ี - แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล ✓ นโยบายหลัก หัวข้อ - มุง่ เน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคกู่ ับการพฒั นาครู ✓ นโยบายเร่งดว่ น หวั ข้อ - การเตรยี มคนไทยส่ศู ตวรรษที่ 21 กฎหมายท่เี กี่ยวข้อง - มติ ครม.ทเี่ ก่ยี วข้อง - นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน - นโยบายจังหวดั ✓ ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน [ 124 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลักการและเหตุผล หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแม่บทสำคัญในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ที่กำหนด การพัฒนาหลักสูตรเป็นภารกิจสำคัญของสถานศึกษาที่จะต้องมีการดำเนินงานเป็นระเบียบแบบ แผนต่อเนื่องกันไป ซึ่งเริ่มจากการวางจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานนี้จะต้องคำนึงถึงหลักสูตรต่าง ๆ ที่สร้าง ขึ้นมาใหม่ต้องมีประสิทธิภาพมากกว่าหลักสูตรเดิม จะต้องสนองตอบความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น และนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา หลักสูตรจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเป้าหมายของการพัฒนา โดยคำนึงถึงประโยชน์ในด้านการ พัฒนาจิตใจและทัศนคติของนักเรียนด้วย การดำเนินงานจึงต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานจาก เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในทางด้านหลักสตู รทกุ ๆ ด้าน และต้องมีผูน้ ำทีช่ ำนาญมีความสามารถในหน้าที่การงาน เป็นอย่างดี การพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ จะเป็นเครือ่ งมอื สำคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม ผู้เรียน โรงเรียนจึงต้องพัฒนาหลักสูตรและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ไปพร้อมกัน ดังที่พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 27 ระบุให้สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่จัดทำสาระ ของหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิตและการประกอบ อาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์เพอ่ื เป็นสมาชกิ ท่ดี ขี องครอบครวั ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ การจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบันตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552: 25) ที่ได้นำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยเน้น “การจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายเป็นเครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่ เป้าหมายของหลักสูตร ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรยี นร้จู ากประสบการณจ์ ริง กระบวนการปฏบิ ัติ ลงมอื ทำจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง และกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสยั ซึ่งผู้สอนจำเป็นต้องศึกษาทำความเข้าใจใน กระบวนการเรียนรตู้ า่ งๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถเลอื กใชใ้ นการจัดกระบวนการเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้ จึงได้กำหนดจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และกระบวนการจดั การเรียนรสู้ มู่ าตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21 ขนึ้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้ผูบ้ รหิ าร ครูผสู้ อนและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรูค้ วามสามารถในการ จดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 [ 125 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2.2 เพอ่ื สง่ เสริมและพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน การลงมอื ปฏบิ ัติ และเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความตระหนักรู้ในการปอ้ งกันการทุจรติ ใหก้ บั นักเรยี น 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลิต (Output) 3.1.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยร้อยละ 80 มคี วามรู้ ความสามารถในพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาและกระบวนการจดั การเรียนรู้ 3.1.2 นักเรียนในสังกัดไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รยี น เป็นสำคัญและผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความตระหนักรู้ในการ ป้องกนั การทจุ ริตให้กับนักเรียน และได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 3.2 เปา้ หมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 นักเรียนในสงั กัดไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะและทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 3.2.2 นักเรียนในสังกัดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะ สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับการ เปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และมีความความตระหนักรใู้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ 4. ผลทคี่ าดว่าจะเกิด 4.1 ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 (RT) เพม่ิ ขึ้น 4.2 ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) เพิ่มขึน้ 4.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐานชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 (O-NET) เพิม่ ขึ้น 5. ดชั นีชว้ี ัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ร้อยละ 80 ของครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะ เทคนิคการสอน การจัดทำแผนการเรียนรู้ วิธีการในการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ ่านการลงมอื ปฏบิ ัติ 5.2 ตัวช้วี ดั เชงิ คุณภาพ 5.2.1 นักเรียนในสังกัดได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 5.2.2 นักเรียนในสังกัดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 [ 126 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเสี่ยง 6.1.1 ปฏิทินการปฏิบัติงานของกลุ่มงาน และหรือโครงการอื่น ๆ มคี วามซ้ำซ้อนกนั ทำให้บุคลากร ท่ีไดร้ บั การแตง่ ตั้งเปน็ คณะทำงาน ไมส่ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งเตม็ ทแ่ี ละมีประสทิ ธภิ าพ 6.2 ผลกระทบความเสย่ี ง 6.2.1 ไมส่ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างเตม็ ทีแ่ ละมีประสิทธภิ าพ 6.3 แผนรองรบั ความเส่ียง 6.3.1 ประสานงาน หารือกัน ภายในกลุ่ม และกลุ่มงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดสรรทรัพยากรทั้ง ด้านเวลาและด้านบุคลากรไม่ให้มีความซำ้ ซ้อนกนั โดยให้มกี ารทำปฏิทินกจิ กรรมร่วมกนั 7. กลมุ่ เป้าหมาย/ผทู้ ่ไี ดร้ ับประโยชน์ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา คณะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัด 8. พน้ื ท่ีการดำเนนิ การ โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ทง้ั 3 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสพุ รรณบุรี อำเภอบางปลาม้า และอำเภอศรปี ระจนั ต์ 9. ระยะเวลาดำเนิน ตลุ าคม พ.ศ. 2565 - กนั ยายน พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ 88,800 ไตรมาสที่ 1 88,800 1.กจิ กรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การพัฒนา 135 8,250 เทคนคิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 โรงเรยี น 8,250 13,200 25 พฤศจกิ ายน 2565 13,200 3,000 - คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่มื จำนวน 165 คน 3,000 8,250 คนละ 2 ม้อื ๆ ละ 25 บาท 8,250 13,200 - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 165 คน 13,200 คนละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท - ค่าสถานท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2565 - ค่าอาหารว่างและเคร่อื งดม่ื จำนวน 165 คน คนละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท - คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 165 คน คนละ 1 มือ้ ๆ ละ 80 บาท [ 127 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ 8,250 27 พฤศจกิ ายน 2565 13,200 - ค่าอาหารวา่ งและเครือ่ งด่มื จำนวน 165 คน 135 8,250 8,250 คนละ 2 ม้อื ๆ ละ 25 บาท โรงเรียน 13,200 - ค่าอาหารกลางวนั จำนวน 165 คน 88,800 คนละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท 13,200 28 พฤศจกิ ายน 2565 31,200 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม่ จำนวน 165 คน 8,250 คนละ 2 มอื้ ๆ ละ 25 บาท 13,200 (รองบสพฐ.) - คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 165 คน 88,800 (รองบสพฐ.) คนละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสท่ี 1 135 ร.ร 3,600 23,300 4,300 31,200 ไตรมาสท่ี 2 3,600 1. .............................................. 1,200 2. ................................................ 8,500 3. ................................................ 13,600 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสท่ี 2 4,300 ไตรมาสท่ี 3 1. กิจกรรมท่ี 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการพฒั นา 3,600 23,300 4,300 หลกั สูตรสถานศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 - คา่ วทิ ยากรภายนอก 1 วัน ๆ ละ 6 ชม. (1x 6 x 600= 3,600) - คา่ พาหนะ/เดนิ ทางวทิ ยากร เหมาจา่ ย - ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งดื่ม จำนวน 170 คน คนละ 2 ม้ือ ๆ ละ 25 บาท - คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 170 คน คนละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท - คา่ วัสดุและเอกสาร 2. กจิ กรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารการ ขับเคลื่อนหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา 3. กิจกรรมที่ 4 อัจฉรยิ ะเกษตรประณตี ใน โรงเรยี น (Science Technology innovation (STI) : Smart Intensive Farming) รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 3 [ 128 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ไตรมาสที่ 4 (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม 1. ........................................................ 2. ........................................................ 3,600 112,100 4,300 120,000 3. ........................................................ รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสที่ 4 รวมงบประมาณทั้งส้นิ สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 120,000 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้งั หมด 120,000 แหล่งเงิน งบประมาณท่หี น่วยงาน งบประมาณทขี่ อผา่ น เงนิ กู้ งบประมาณจากแหลง่ อื่น ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หนว่ ยงานอื่น ในประเทศ นอกประเทศ 120,000 บาท - -- 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 88,800 บาท - บาท 31,200 บาท - บาท สว่ นที่ 6 : ขอ้ มูลผู้ประสานงาน โทรศัพท์ 06 2545 1453 ช่ือ-สกุล นางสาวจิราภรณ์ โกพัฒน์ตา โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 129 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ข้อมลู ทว่ั ไป 1. ชอื่ โครงการ โครงการยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาสมู่ าตรฐานสากล ภายใต้แผนงาน ยุทธศาสตร์เพ่ือสนบั สนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการทใ่ี ชง้ บประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหว่างดำเนินการ  ยังไม่เร่ิมดำเนินการ  ดำเนินการเสรจ็ แล้ว ส่วนท่ี 2 : ความเช่ือมโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพมนุษย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรับวถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏริ ปู การเรยี นรู้แบบพลกิ โฉม ขอ้ ย่อย 3.1 การปรบั เปลี่ยนระบบการเรียนรู้ ใหเ้ อ้อื ต่อการพัฒนาทกั ษะสำหรับศตวรรษที่ 21 (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) โรงเรียนมีความพร้อมรับการประเมินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ OBECQA และ จัดการเรียนรู้สาระเพิ่ม วิชา IS ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียน สามารถเรียนรู้ตามหลักสูตรของโรงเรียน และพัฒนาตนเองได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ทำให้คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ พร้อมสำหรับวถิ ีชีวิตในศตวรรษที่ 21 แผนระดับท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเด็น แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขนึ้ มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลเพมิ่ ขึน้ มนี ิสัยใฝ่เรียนร้อู ย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ [ 130 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรบั ตัว สื่อสาร และทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธผิ ลเพ่ิมข้นึ มนี สิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ (3) ตัวชี้วดั 1. คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลี่ย) 2. อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศด้านการศึกษา (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอื่ เสรจ็ สิ้นโครงการ 1. โครงการของโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษา มีคะแนน PAIS ด้านการอ่านคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลยี่ 470 2. เป้าหมายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการของโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศึกษา ระดับ มธั ยมศึกษา มอี ันดบั ท่ี 45 แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรียนรู้ และทักษะทจ่ี ำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ ดขี น้ึ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคลอ้ ง) คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) รปู แบบและระบบการเรยี นรู้ (120101V03) F (ปัจจัย) ระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับคนทุกช่วงวัยเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (120101F0305) (4) แนวทางการพฒั นา พฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทกุ ระดับการศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรม เสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพ่ือ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ควรมคี ณุ ลักษณะที่มีชวี ติ มพี ลวตั มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ การเชื่อมตอ่ และมีสว่ นร่วม (5) ตัวชี้วัด 1. สัดส่วนครูผา่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกล่มุ โรงเรยี นลดลง [ 131 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (6) Contribution ต่อเป้าหมายเม่อื เสรจ็ ส้นิ โครงการ 1. โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา ในภาพรวมจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มคี รผู ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสงู ตามมาตรฐานนานาชาติ รอ้ ยละ 50 2. โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษามีอัตราความแตกต่างของ คะแนน PISA ในแต่ละกลมุ่ โรงเรียนลดลง รอ้ ยละ 20 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 2 เร่อื ง คนในสงั คมไทยทุกชว่ งวัยมที ักษะ ความรู้ และความสามารถเพมิ่ ขนึ้ 2) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1. การเสริมสรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ - เปา้ หมายที่ 2 คนในสงั คมไทยทกุ ชว่ งวัยมที กั ษะ ความรู้ และความสามารถเพ่ิมขึ้น - แนวทางพัฒนา ข้อท่ี 1) จดั ใหม้ กี ารพฒั นาทักษะท่สี อดรบั กับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะ ทกั ษะด้านการคดิ วิเคราะห์สงั เคราะห์ความสามารถในการแกป้ ัญหาท่ซี ับซอ้ น ความคิดสร้างสรรค์ การทำงาน รว่ มกับผอู้ ืน่ 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความมนั่ คงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ ขอ้ ท่ี 1 การเสริมสร้างความมน่ั คงของมนษุ ย์ 2) ประเดน็ ข้อท่ี (4) พฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ โดยเสริมสรา้ งองค์ความรู้ดา้ นความม่นั คงใหแ้ ก่ผบู้ ริหาร และผทู้ ี่ปฏิบตั งิ าน ทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศใหร้ ับรู้ถึงความสำคญั ของมิติความม่ันคงท่ีต้องประสาน และบูรณาการ การวางแผนและการปฏิบตั ิงานที่เกือ้ กลู กนั อยา่ งเปน็ เอกภาพ แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วันท่ี 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หวั ขอ้ 8. การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั  นโยบายเรง่ ดว่ น หวั ข้อ- กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง - มติ ครม.ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 3. ด้านคณุ ภาพ นโยบายจงั หวดั  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน [ 132 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตุผล กระแสโลกาภิวตั น์ และความเปลีย่ นแปลงของโลกที่เกดิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็ว ท้ังดา้ นวิทยาการและความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยู่โดยลำพัง ต้องร่วมมือและพึ่งพา อาศัยซึ่งกัน และกัน การดำรงชีวิตของคนในแต่ละประเทศมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันมากขึ้น มีความร่วมมือ ในการ ปฏิบัติภารกิจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น ในขณะเดียวกัน สังคมโลกในยุคปัจจุบัน เต็มไปด้วยข้อมูล ขา่ วสารทำให้คนตอ้ งคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีการตัดสินใจท่รี วดเร็ว เพือ่ ให้ทนั กับเหตกุ ารณ์ในสงั คมที่มีความ สลับซับซ้อนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้นำไปสู่สภาวการณ์ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมระหว่าง ประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นแรงผลักดันสำคัญที่ทำให้หลายประเทศต้องปฏิรูปการศึกษา คุณภาพของ การจัดการศึกษาจึงเป็นตวั บ่งช้ีสำคญั ประการหนึง่ สำหรบั ความพรอ้ มในการเข้าสศู่ ตวรรษที่ 21 ด้วยเหตุนี้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงมีความมุ่งหมายให้โรงเรียนใน สังกัดยกระดับคุณภาพการศึกษา เพื่อรองรับการแข่งขันที่จะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีทางการศึกษา การพัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความ เป็นสากล มีการพัฒนาทักษะการคิด และการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม มากขึน้ ตลอดจนการสอน ภาษาต่างประเทศทมี่ ีประสทิ ธิภาพ เพ่ือกา้ วเข้าไปสู่ประชาคมอาเซียนและก้าวสู่ความ เป็นสากลอย่างภาคภูมิใจ โดยจัดทำกิจกรรมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาสูม่ าตรฐานสากล ซึ่งมีกิจกรรมท่ี หลากหลายเพือ่ พฒั นา ผูเ้ รยี นอยา่ งยัง่ ยืนตอ่ ไป 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพอื่ พัฒนาหลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล 2.2 เพ่ือพฒั นาและจดั การเรยี นรสู้ าระเพ่มิ วชิ า IS ให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศึกษา 2.3 เพือ่ เตรียมความพร้อมรองรับการประเมนิ โครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดับ OBECQA 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) โรงเรียนที่อยู่ในโครงการ 7 โรงเรียน จัดการเรียนการสอนตาม หลกั สตู รมาตรฐานสากล 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) นกั เรียนไดร้ บั การศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการ เรียนรู้ และทักษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวิตดีขน้ึ 4. ผลท่คี าดวา่ จะเกดิ โรงเรียนมีความพร้อมรับการประเมินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ OBECQA และจัดการ เรียนรู้สาระเพิ่ม วิชา IS ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนสามารถ เรียนรู้ตามหลักสูตรของโรงเรียน และพัฒนาตนเองได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ทำให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวถิ ีชวี ิตในศตวรรษที่ 21 [ 133 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5. ดัชนีชี้วัดความสำเรจ็ 5.1 ตัวชี้วดั เชงิ ปริมาณ โรงเรียนในกลุ่มเปา้ หมายจำนวน 7 โรงเรียนจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตร โรงเรยี นมาตรฐานสากล 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ โรงเรียนมีความพร้อมรับการประเมินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ OBECQA และจัดการเรียนรู้สาระเพิ่ม วิชา IS ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ และนกั เรียนสามารถเรียนรู้ตามหลกั สตู รของโรงเรียน และพฒั นาตนเองไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ ทำให้คนไทย เปน็ คนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 6. การวิเคราะห์ความเส่ียงของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเส่ยี ง 6.1.1 ผู้รบั ผดิ ชอบไมส่ ามารถดำเนนิ โครงการได้ทันระยะเวลาที่กำหนด 6.1.2 โรงเรียนขาดครทู ่มี คี วามรูเ้ รื่องการจดั หลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง 6.2.1 เลม่ รายงานตอ่ สพฐ. เสรจ็ ไม่ทันตามกำหนด 6.2.2 การดำเนนิ การตามหลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลไม่บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 6.3 แผนรองรบั ความเสย่ี ง 6.3.1 คณะกรรมการดำเนินงานควรวางแผนจดั ตารางเวลาการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ป็นไปตามเวลาท่กี ำหนด 6.3.2 จดั ประชมุ สรา้ งความเขา้ ใจใหค้ รูทง้ั โรงเรยี นทอี่ ยใู่ นโครงการ 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณเขต 1 ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ 8. พื้นทกี่ ารดำเนินการ อำเภอ เมอื ง, อำเภอบางปลามา้ , อำเภอศรีประจันต์ 9. ระยะเวลาดำเนิน พฤศจกิ ายน 2565 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รายละเอียดกิจกรรม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม ไตรมาสที่ 1 ขั้นเตรยี มการ (P) 1.สำรวจโรงเรยี นท่ปี ระสงค์เข้ารว่ มโครงการ 2.ขออนุมตั กิ ารจัดทำโครงการ [ 134 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม 1,800 ขั้นดำเนินการ (D) ดำเนนิ กจิ กรรมดงั น้ี 1,250 ประชุม สร้างความเข้าใจในการดำเนินงานโรงเรียน 1 1,800 - มาตรฐานสากลกับโรงเรยี นทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 50 1,250 3,050 ขน้ั ตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผล (C) - นำผลการดำเนินงานมาสรุปและรายงานโครงการ 3 - ขั้นการนำผลการประเมินมาปรับปรงุ การดำเนินงาน (A) -นำผลการประเมนิ มาวเิ คราะห์เพื่อวางแผนในการดำเนนิ โครงการการพัฒนาและตดิ ตามโครงการคร้งั ตอ่ ไป 20 - รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสที่ 1 1,800 1,250 - รวมงบประมาณทง้ั ส้ิน สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 3,050 บาท 2) งบ สพฐ. - บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณทั้งหมด 3,050 บาท แหล่งเงิน งบประมาณทหี่ น่วยงาน เงินรายได้ของหนว่ ยงาน เงินกู้ อนื่ ๆ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - ในประเทศ นอกประเทศ - 3,050 บาท -- 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - บาท - บาท - บาท พ.ศ. 2566 3,050 บาท ส่วนที่ 6 : ขอ้ มูลผปู้ ระสานงาน โทรศัพท์ 06 2189 1914 ชอื่ -สกลุ นางณัชนนั ทน์ บุตรดาวงษ์ โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 135 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทวั่ ไป 1. ชือ่ โครงการ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ภายใตแ้ ผนงาน พ้นื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการทใ่ี ชง้ บประมาณ  โครงการทไี่ มใ่ ชง้ บประมาณ 3. วิธีการดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อย่รู ะหวา่ งดำเนนิ การ  ยังไม่เริ่มดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเชอื่ มโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ พร้อมสำหรับวถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.1การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การพัฒนาทักษะสำหรบั ศตวรรษท่ี 21 (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการนี้เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาศักยภาพการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางการ ทดสอบระดับชาติ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน ปรับเปลี่ยนระบบการวัดและ ประเมินผลทมี่ มี าตรฐานเดียวกนั กับระดับนานาชาติและสอดคลอ้ งคณุ ภาพผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 โดยเริ่มจากให้ ครูผู้สอนปรับเปลี่ยนรูปแบบของข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบจากรูปแบบข้อสอบเลือกตอบเพียงอย่างเดียวมา เป็นผสมผสานระหวา่ งข้อสอบเลือกตอบและเขยี นตอบ การเน้นการประเมินภาคปฏิบัติ และการเพิม่ เติมการ ประเมินสมรรถนะที่จำเป็นของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งผลที่ได้จากการวัดและประเมินใน รูปแบบใหม่ๆ จะสามารถสะท้อนความสามารถและทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน นำไปสู่การพัฒนา ระบบการจัดกาเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่างแท้จริง ซึ่งส่งผลให้คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข แผนระดับท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้ [ 136 ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook