Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2023-03-08 02:32:25

Description: 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขนึ้ มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมีประสทิ ธิผลเพมิ่ ขึ้น มีนิสัยใฝ่เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการน้ีเปน็ โครงการทมี่ ุ่งพัฒนาศักยภาพการวดั และประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นตามแนวทางการ ทดสอบระดับชาติ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน ปรับเปลี่ยนระบบการวัด และประเมินผลที่มีมาตรฐานเดียวกันกับระดับนานาชาติและสอดคล้องคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดย เร่มิ จากใหค้ รูผสู้ อนปรับเปลยี่ นรปู แบบของขอ้ สอบท่ใี ชใ้ นการทดสอบจากรปู แบบข้อสอบเลอื กตอบเพยี งอย่าง เดียวมาเป็นผสมผสานระหว่างข้อสอบเลือกตอบและเขียนตอบ การเน้นการประเมินภาคปฏิบัติ และการ เพิ่มเติมการประเมินสมรรถนะที่จำเป็นของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งผลที่ได้จากการวัดและ ประเมนิ ในรปู แบบใหมๆ่ จะสามารถสะท้อนความสามารถและทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รยี น นำไปสู่การ พัฒนาระบบการจัดกาเรยี นรูท้ ี่สามารถพัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่างแท้จริง ซึ่งส่งผลให้คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ย่างมีความสุข (3) ตัวชวี้ ดั 1. คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลีย่ ) 2. อันดับขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศด้านการศกึ ษา (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเมื่อเสร็จส้ินโครงการ 1. เฉลย่ี 470 คะแนน 2. อันดับที่ 45 แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิตดขี ้ึน (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคล้อง) โครงการนี้เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาศักยภาพการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางการ ทดสอบระดับชาติ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน ปรับเปลี่ยนระบบการวัด และประเมินผลที่มมี าตรฐานเดยี วกันกับระดับนานาชาติและสอดคล้องคณุ ภาพผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 โดยเริ่ม จากให้ครูผู้สอนปรับเปลี่ยนรูปแบบของข้อสอบที่ใช้ในการทดสอบจากรูปแบบข้อสอบเลือกตอบเพียงอย่าง เดียวมาเป็นผสมผสานระหว่างข้อสอบเลือกตอบและเขียนตอบ การเน้นการประเมินภาคปฏิบัติ และการ เพิ่มเติมการประเมินสมรรถนะที่จำเป็นของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งผลที่ได้จากการวัดและ ประเมนิ ในรูปแบบใหมๆ่ จะสามารถสะทอ้ นความสามารถและทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน นำไปสู่การ พัฒนาระบบการจัดกาเรยี นรูท้ ี่สามารถพัฒนาทักษะที่จำเป็นอยา่ งแทจ้ ริง ซึ่งส่งผลให้คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี สามารถดำรงชีวติ อยู่ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมคี วามสุข (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) การบริหารจัดการระบบการเรียนรู้ (120101V04) F (ปจั จยั ) การตดิ ตาม วัดและประเมินผลทางการศกึ ษา (120101F0405) [ 137 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (4) แนวทางการพฒั นา (2) พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นทุกระดับการศึกษา รวมถงึ จัดกิจกรรม เสริมทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากบั เนื้อหาและวิธีการสอน โดย ใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อการ เรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ควรมีคณุ ลักษณะทีม่ ชี วี ิต มีพลวัต มปี ฏิสมั พนั ธ์ การเชื่อมตอ่ และมีส่วนรว่ ม (5) ตัวชวี้ ัด 1. สดั สว่ นครูผ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลมุ่ โรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเขา้ เรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (6) Contribution ต่อเปา้ หมายเม่อื เสรจ็ ส้นิ โครงการ 1. รอ้ ยละ 50 2. ลดลงร้อยละ 20 3. ร้อยละ 80 2. ความสอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 1 เร่อื ง คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยทส่ี มบูรณ์ 2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนุษย์ - เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความ สามารถ เรียนรู้ ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง - แนวทางพฒั นา ขอ้ ที่ 3. ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต - พัฒนาระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผล คุณภาพผู้เรียนทั้งด้าน ทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตาม มาตรฐานการเรียนร้แู ตล่ ะระดบั การศึกษา 3. ความสอดคลอ้ งกับแผนความม่นั คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมั่นคงแหง่ ชาติ ข้อที่ - 2) ประเด็น ข้อท่ี - แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัตริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลัก หวั ขอ้ ลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา  นโยบายเรง่ ด่วน หัวข้อ การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษที่ 21 กฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ้ ง - มติ ครม.ที่เกย่ี วขอ้ ง - [ 138 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะสู่การ ปฏิบัติในชั้นเรียน เพื่อสร้างความฉลาดรู้ด้านการอ่าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคิดแบบ เปน็ เหตเุ ปน็ ผลใหน้ กั เรยี นไทยสามารถแขง่ ขนั ไดก้ บั นานาชาติ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 3. ด้านคณุ ภาพ 3.4 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้ นำไปสู่ การพัฒนาการเรียนรแู้ ละสมรรถนะของผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คล รวมท้ังส่งเสรมิ การนำระบบธนาคารหนว่ ยกิตมา ใชใ้ นการเทยี บโอนผลการเรียนรแู้ ละประสบการณ์ตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี นในสถานศึกษา นโยบายจังหวัด  ประเดน็ การพฒั นา การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตผุ ล ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กำหนดให้การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของประเทศไทย มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทยให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตนเอง มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสม เป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการดำรงชีวิต ในอนาคต มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย และมีคุณภาพ และส่งเสริมสนับสนุน การนำการทดสอบ NT, O-NET การประเมินของ PISA และระบบการทดสอบกลางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาใช้ในการ พัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดคุณภาพแก่ผู้เรียน อีกทั้งประกาศ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษามีการ ดำเนินงานอย่างเปน็ รปู ธรรมในการยกระดับคณุ ภาพนกั เรยี นการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานให้สามารถคดิ วิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 และการใช้ข้อสอบปลายปีของสถานศึกตามแนวทางที่สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด รวมทั้งให้มีข้อสอบเขียนตอบแบบสั้นหรือเขียนตอบแบบยาวร่วมด้วย สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบในการจัดการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เห็นความสำคัญของการวัดและประเมินผลดังกล่าว ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลสำคัญที่สะท้อน คุณภาพการดำเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อปรับปรงุ พัฒนาและการเตรียมความพรอ้ มของผู้เรียน และเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม กอปรกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ได้กำหนดนโยบาย มาตรการและแนวทาง การดำเนินงานขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ด้านมาตรการแนวทางในการส่งเสรมิ การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ตาม [ 139 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 มาตรการที่ 2 การปรับปรุงพัฒนาวิธีการประเมิน การทดสอบ และการวัดผล ข้อ 4 การฝึกทักษะการทำข้อสอบ เชิงคิดวิเคราะห์ กลุ่มงานวัดและประเมินการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา จึงได้จดั ทำ โครงการนี้ข้นึ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน 2.2 เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผลการจดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน และรายงานความก้าวหนา้ ดา้ นผลสมั ฤทธ์ขิ อง นกั เรียน เพือ่ ให้เกดิ การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.3 เพอื่ ใหม้ ขี ้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นสำหรบั ใช้ในการตดั สินใจ และกำหนดแผนพฒั นา คุณภาพการจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลิต (Output) นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศกึ ษา 2565 ในสงั กดั 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นมกี ารพัฒนาในระดบั ที่สูงขนึ้ 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ 4.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นมกี ารพฒั นาในระดบั ทสี่ งู ข้ึน 4.2 หนว่ ยงานในระดับต่าง ๆ ได้ข้อมลู ผลการประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียนตามหลกั สตู ร ซงึ่ เป็นตัวบ่งชี้เพื่อการประกนั คณุ ภาพผู้เรียนและเป็นข้อมูลสำหรับใช้ในกระบวนการตัดสินใจด้านนโยบาย และ แผนพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4.3 ข้อมลู สารสนเทศการประเมนิ จะเปน็ เครอ่ื งชน้ี ำในการตดั สินใจ เพือ่ กำหนดแผนงาน โครงการกจิ กรรม ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5. ดชั นีชีว้ ดั ความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2565 ในสงั กดั เขา้ รับการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ร้อยละ 90 5.2 ตัวช้วี ัดเชิงคณุ ภาพ 5.2.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียนมกี ารพฒั นาในระดบั ทส่ี งู ขึ้น 5.2.2 โรงเรยี นนำผลการทดสอบไปใช้ในการกำหนดแผนงาน โครงการ กจิ กรรมในการสง่ เสรมิ และ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 6. การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเสย่ี ง 6.1.1 ความกา้ วหนา้ ด้านผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั เรียน [ 140 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6.2 ผลกระทบความเสย่ี ง 6.2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียนลดลง 6.3 แผนรองรบั ความเสยี่ ง 6.3.1 กระตุ้น ส่งเสริม สถานศึกษา ให้มีการเตรียมพร้อมก่อนสอบการประเมินคุณภาพด้าน ผลสมั ฤทธ์ิกับนักเรียน 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณ เขต 1 8. พน้ื ท่ีการดำเนินการ อำเภอเมอื งสพุ รรณบุรี อำเภอศรีประจนั ต์ อำเภอบางปลาม้า 9. ระยะเวลาดำเนิน พฤศจิกายน 2565 - กนั ยายน 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ ไตรมาสท่ี 1 - กิจกรรมที่ 1 จัดทำคลงั ข้อสอบ 1 site -- (รองบ 1.1 รวบรวม ข้อสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ O-NET, สทศ.) NT, RT มาไวบ้ น Site -- 1.2 เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธแ์ กโ่ รงเรียน เพื่อการนำไปใช้ ร้อยละ ประโยชน์ 100 1.3 นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ความพงึ พอใจ รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสท่ี 1 ร้อยละ ไตรมาสท่ี 2 100 กิจกรรมที่ 2 การจัดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ ป.6 และ ม.3 ปกี ารศึกษา 2565 2.1 เผยแพร่ขา่ วสารเกี่ยวกับการสอบ 2.2 ประชมุ วางแผนคณะกรรมการระดบั ศูนยส์ อบ 2.3 ประชมุ ชี้แจงคณะกรรมการระดบั สนามสอบ 2.4 ดำเนนิ การสอบ 2.5 นิเทศ กำกบั ตดิ ตามตรวจเยย่ี มสนามสอบ กิจกรรมที่ 3 การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ของผเู้ รียน (RT) ช้นั ป.1 ปกี ารศกึ ษา 2565 3.1 เผยแพร่ข่าวสารเก่ียวกบั การประเมนิ ความสามารถ ดา้ นการอา่ น (RT) ชน้ั ป.1 ปกี ารศึกษา 2565 [ 141 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม 161,375 3.2 ประชมุ ปฏิบัติการเพ่อื ทำความเข้าใจถงึ แนวทางการ 15,000 ดำเนินการการประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ชั้น ป.1 (คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งดืม่ 1 มื้อ ๆ 25 บาท) 3.3 ดำเนนิ การจดั สอบ (พิมพ์ขอ้ สอบ 2193 ชุด ๆ ละ 20 บาท) 43,860 3.4 นเิ ทศ กำกบั ติดตามตรวจเยี่ยมสนามสอบ 8,000 (คา่ ชดเชยน้ำมนั กิโลเมตรละ 4 บาท) กิจกรรมท่ี 4 เตรยี มความพรอ้ มก่อนการประเมนิ ร้อยละ คุณภาพผเู้ รยี น (Pre NT) ชั้น ป.3 ปีการศึกษา 2565 100 4.1 เผยแพรข่ า่ วสารเกย่ี วกับการสอบ เช่น รูปแบบ ขอ้ สอบ ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานในการสอบ ฯลฯ 4.2 วางแผน จดั บรหิ ารการจดั สอบ จดั ทำต้นฉบับ 4.3 ดำเนนิ การสอบ (พมิ พ์กระดาษคำตอบพร้อม 11,245 วิเคราะห์ 2,249 แผ่น ๆ ละ 5 บาท) 4.4 รายงานผลและนำผลการทดสอบมาใช้ปรับปรงุ แกป้ ญั หา พฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบุคคล กจิ กรรมท่ี 5 การประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน (NT) ร้อยละ ช้นั ป.3 ปีการศึกษา 2565 100 5.1 เผยแพร่ขา่ วสารเกีย่ วกับการสอบ NT เช่น รูปแบบ ข้อสอบ ตัวช้วี ัดมาตรฐานในการสอบ ฯลฯ 5.2 ประชมุ ปฏบิ ัติการเพื่อทำความเขา้ ใจถงึ แนวทางการ 15,000 ดำเนินการการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ช้นั ป.3 (ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่มื 1 มื้อ ๆ 25 บาท) 5.3 ดำเนินการจัดสอบ (พมิ พ์ขอ้ สอบ 2,249 ชดุ ๆ ละ 30 บาท) 67,470 5.4 ประชุมปฏบิ ตั ิการตรวจขอ้ สอบเขียนตอบ การ ประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชั้น ป.3 (คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ละ 80 4,800 บาท คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม จำนวน 60 คน ๆ 3,000 ละ 2 มื้อ ๆ 25 บาท) 5.5 นเิ ทศ กำกบั ติดตามตรวจเยย่ี มสนามสอบ 8,000 (ค่าชดเชยนำ้ มันกิโลเมตรละ 4 บาท) รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 2 - - 161,375 - ไตรมาสที่ 3 กิจกรรมท่ี 2 การจดั สอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้น ป.6 และ ม.3 ปีการศกึ ษา 2565 [ 142 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ 13,750 1,250 - สรปุ รายงานผลการทดสอบและจัดทำรูปเลม่ เผยแพร่ 5 เล่ม 1,250 กิจกรรมที่ 3 การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น 1,250 ของผูเ้ รยี น (RT) ชนั้ ป.1 ปีการศกึ ษา 2565 5,000 1,500 - จัดทำรายงานสรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถด้าน 5 เล่ม 1,500 2,000 การอ่านของผู้เรยี น (RT) เผยแพร่ 8,750 5,000 กิจกรรมที่ 5 การประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ัน ป.3 ปกี ารศึกษา 2565 - จัดทำรายงานวิเคราะหส์ รปุ ผลการทดสอบ NT เผยแพร่ 5 เลม่ นำไปสกู่ ารนิเทศเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ปีการศึกษา 2566 กจิ กรรมท่ี 6 เตรยี มความพร้อมเพื่อรับการประเมนิ PISA 24 ร.ร. 6.1 เตรียมความพรอ้ มเพื่อรบั การประเมิน PISA - จดั ประชมุ วางแผนการเตรยี มความพร้อมในการ ประเมินระดบั นานาชาติ (PISA) - ค่าจดั ทำคูม่ อื สร้างความรูค้ วามเข้าใจแก่ผูบ้ รหิ าร ครู และนกั เรียนเพอ่ื เตรยี มความพร้อมรองรบั การ ประเมนิ PISA - คา่ จดั ทำเอกสารประกอบการอบรมแก่ผบู้ รหิ าร ครู และนักเรยี นเพ่ือเตรียมความพรอ้ มรองรับการ ประเมนิ PISA - คา่ จดั ทำเกยี รตบิ ตั ร ผู้บริหาร ครู โรงเรยี นขยาย โอกาสในสังกัด 6.2 นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามตรวจเย่ียม 6.3 การประเมนิ และรายงาน รวมงบประมาณท่ใี ช้ในไตรมาสท่ี 3 -- ไตรมาสท่ี 4 กจิ กรรมที่ 7 ยกย่องเชดิ ชเู กียรตผิ บู้ ริหารสถานศึกษา ครผู สู้ อน นกั เรียน และผู้เกยี่ วข้องท่ีมสี ว่ นรว่ ม สนบั สนุนและสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาจนประสบ ความสำเร็จด้านผลสัมฤทธิจ์ นทยี่ อมรบั 7.1 ประชาสัมพนั ธ์ ใหส้ าธารณชนทราบท่วั กัน 7.2 มอบเกียรติบตั ร ยกย่องเชิดชเู กยี รติ กจิ กรรมที่ 8 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ขบั เคลอื่ นการ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ O-NET, NT และ RT 8.1 เผยแพร่ขา่ วสารเกีย่ วกบั การผลประเมินระดับชาติ [ 143 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม 8.2 สอ่ื สาร สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการนำผลการประเมิน - 175,125 ระดับชาติมาใช้ในการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 8.3 ส่งไฟลเ์ อกสารตวั อยา่ งการจดั ทำแผนยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้โรงเรียนนำไปใช้เป็นแนวทาง 8.4 โรงเรียนจัดทำแผนยกระดบั คุณภาพการศึกษา 8.5 นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสที่ 4 -- - รวมงบประมาณท้ังส้ิน - 170,125 5,000 ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 175,125 บาท 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 - บาท 2) งบ สพฐ. บาท 3) งบ สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) รอจดั สรร บาท งบประมาณท้ังหมด - แหลง่ เงิน งบประมาณทห่ี นว่ ยงาน งบประมาณท่ีขอผา่ น เงินกู้ งบประมาณจากแหล่งอืน่ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หน่วยงานอน่ื ในประเทศ นอกประเทศ 175,125 บาท - -- 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 - บาท 161,375 บาท 13,750 บาท - บาท สว่ นที่ 6 : ขอ้ มลู ผปู้ ระสานงาน ชอ่ื -สกุล นางสาวเมทนิ ี ตาตะสมิต โทรศัพท์ 08 9030 0818 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 144 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 1 : ขอ้ มูลท่วั ไป 1. ชอ่ื โครงการ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ภายใต้แผนงาน พน้ื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ใี ช้งบประมาณ  โครงการที่ไม่ใช้งบประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหวา่ งดำเนนิ การ  ยงั ไมเ่ ร่มิ ดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ ส่วนที่ 2 : ความเชื่อมโยงกบั แผนในระดับต่างๆ แผนระดับที่ 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น การพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพมนุษย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคณุ ธรรม พร้อมสำหรบั วถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 1. การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ข้อย่อย 1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิต สาธารณะและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อส่วนรวม (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) การดำเนนิ งานตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคณุ ธรรม 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ความพอเพยี ง 2) ความกตัญญู 3) ความซื่อสัตย์สุจริต 4) ความรับผิดชอบ และ 5) อุดมการณ์คณุ ธรรม เป็นการบูรณาการเร่ืองความซื่อสัตย์ วินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ การตระหนักรู้ และเป็นการ บ่มเพาะปลูกฝงั คา่ นิยมและวฒั นธรรมท่ดี ใี หก้ บั เยาวชนได้อย่างเป็นรูปธรรม แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การปรบั เปล่ียนค่านิยมและวฒั นธรรม (1) เป้าหมายระดับประเดน็ (Y2) ข้อ 6. คนไทยมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ดี งี าม และมีความรัก และภูมิใจในความเป็นไทยมากขึ้น นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต สังคมไทย มีความสขุ และเปน็ ทีย่ อมรบั ของนานาประเทศมากขึน้ [ 145 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคล้อง) ผู้บริหาร ครู นักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และมีความรัก และภูมิใจในความ เป็นไทยมากขึ้น นำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต สังคมไทยมีความสุขและเป็น ทยี่ อมรับขององคก์ ร สงั คม ชุมชนมาก ขน้ึ (3) ตวั ชวี้ ดั ดชั นคี ณุ ธรรม 5 ประการ ประกอบดว้ ย ความซอ่ื สตั ย์สุจริตการมจี ิต สาธารณะ การเปน็ อยอู่ ยา่ งพอเพียง การกระทำอยา่ งรับผดิ ชอบ ความเปน็ ธรรมทางสังคม (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมอ่ื เสร็จสน้ิ โครงการ เพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 10 จากปีฐาน แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ แผนยอ่ ยการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และการเสรมิ สรา้ งจิต สาธารณะและการเปน็ พลเมืองท่ดี ี (1) เป้าหมายของแผนยอ่ ย (Y1) คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบรู ณม์ ีความพร้อมในทุกมิติตามมาตรฐาน และสมดุลท้ังด้านสติปัญญา คุณธรรมจริยธรรม มีจิต วิญญาณที่ดีเข้าใจในการปฏิบัติตนปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ มดขี นึ้ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคล้อง) ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีความพร้อมในทุกมิติตามมาตรฐานและสมดุลท้ังด้านสติปัญญา คุณธรรม จรยิ ธรรม มจี ิตวิญญาณทีด่ ีเขา้ ใจในการปฏิบตั ิตนปรับตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มดีขน้ึ (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) องค์กรส่งเสรมิ คณุ ธรรม (100101V05) F (ปจั จยั ) การสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรมในหน่วยงาน (100101F0501) (4) แนวทางการพฒั นา 5) การส่งเสริมให้คนไทยมจี ิตสาธารณะและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สว่ นรวม สร้างจิตสาธารณะและจิตอาสาโดยใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เพ่ือรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นำการ เปลี่ยนแปลง และต้นแบบที่ดีท้ังระดับบุคคลและองค์กร โดย การยกยอ่ งผู้นำท่มี จี ิตสาธารณะและจิตอาสา และมีความรับ ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สง่ เสริมสนับสนุนใหม้ กี ลไกการ ดำเนินงานในการสร้างเสริมการพัฒนาจิตสาธารณะและจิตอาสา เพื่อ สังคมและส่วนรวม โดยส่งเสริมและ สนบั สนนุ องค์กรสาธารณะที่ไม่หวงั ผลประโยชน์ (5) ตัวชี้วัด ประชากรอายุ13 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมการปฏิบัติตนท่ีสะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรม เพิ่มขน้ึ (รอ้ ยละต่อปี) (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ เพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 5 [ 146 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 1 เรอ่ื ง คนไทยมคี ณุ ลกั ษณะเปน็ คนไทยท่สี มบูรณ์ 2) ยุทธศาสตร์ที่ - - เป้าหมายที่ - - แนวทางพฒั นา ขอ้ ที่ - 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความมั่นคงแห่งชาติ 1) แผนความมั่นคงแหง่ ชาติ ข้อท่ี - 2) ประเดน็ ข้อท่ี - แผนระดบั ท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หัวข้อ มงุ่ เน้นการพฒั นาโรงเรียนควบค่กู บั การพัฒนาครู  นโยบายเร่งดว่ น หัวข้อ การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง - มติ ครม.ทเ่ี ก่ียวข้อง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 2. การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 2.2จัดการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาสมรรถนะผ้เู รียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มงุ่ เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ ถักทอความรู้ ทกั ษะคุณลกั ษณะผูเ้ รียน ทักษะคณุ ลักษณะผู้เรยี นเขา้ ด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบตั จิ ริง (Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รวมท้งั การพฒั นาระบบการวัดและประเมินผลเชิงสมรรถนะ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 3.ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถอกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการ และบริบท นโยบายจงั หวัด  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน [ 147 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดให้โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็น โครงการเพื่อสืบสานพระราชปณิธาน เดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 การเสริมสร้างระบบคุณธรรม จริยธรรมในรอบรั้วสถานศึกษา โดยมีกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม ที่ต้องช่วยกนั ปลูกฝังให้แก่ผู้บริหาร ครู และนักเรียน 5 ประการ ได้แก่ 1) ความพอเพียง 2) ความกตัญญู 3) ความซื่อสัตย์สุจริต 4) ความรับผิดชอบ และ 5) อดุ มการณค์ ุณธรรม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของการน้อมนำพระ ราชปณิธานดังกล่าวข้างตน้ จึงได้กำหนดจัดทำโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 ข้นึ 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถนำแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็นเครื่องมือใน การพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเ้ กิดขนึ้ ในตัวนักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3. เป้าหมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลติ (Output) โรงเรียนนำแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเ้ กดิ ขึน้ ในตัวนักเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาครบทุกโรงเรียน 3.2 เปา้ หมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมและจริยธรรม เป็น คนดีของสังคม มวี นิ ัย และภูมใิ จในชาติ 4. ผลทคี่ าดว่าจะเกดิ 4.1 โรงเรียนในสังกัด สามารถนำแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ไปปฏิบัติได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ 4.2 ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ได้รับการพัฒนาจิตใจ รู้บาป บุญ คุณ โทษ มีความคิด ความประพฤติ ถูกตอ้ งตามทำนองคลองธรรม 5. ดชั นีช้ีวดั ความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วดั เชิงปรมิ าณ [ 148 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 โรงเรียนในสังกดั ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 สามารถนำแนวทางการดำเนนิ งานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. เป็น เครื่องมอื ในการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหก้ บั นักเรียน ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผู้มสี ว่ นเก่ียวข้อง 5.2 ตัวชีว้ ัดเชงิ คุณภาพ โรงเรียนในสังกัดสามารถนำแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็นเครื่องมือในการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้กับผู้บริหาร ครู และนักเรียน ได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ทำให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาจิตใจ รู้บาป บุญ คุณ โทษ มีความคิด ความประพฤติถูกต้องตามทำนองคลองธรรม มีพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์ 6. การวเิ คราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเส่ียง 6.1.1 โรงเรยี นไม่ดำเนนิ งานโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. อยา่ งต่อเนือ่ ง 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง 6.2.1 การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ให้กับผ้บู รหิ าร ครู และนักเรยี นในโรงเรียน ขาดความตอ่ เนื่อง 6.3 แผนรองรบั ความเส่ยี ง 6.3.1 นิเทศติดตาม และรายงานผลเป็นระยะ ๆ 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณ เขต 1 8. พนื้ ทีก่ ารดำเนนิ การ อำเภอเมอื งสุพรรณบุรี อำเภอศรปี ระจนั ต์ อำเภอบางปลามา้ 9. ระยะเวลาดำเนนิ ธันวาคม 2565 - กันยายน 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม ไตรมาสที่ 1 1. กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้โครงการโรงเรยี นคุณธรรม 46,500 สพฐ. ระดับสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประจำปี 2565 46,500 รวมงบประมาณท่ใี ช้ในไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 - รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 [ 149 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม 1. การกำกบั ติดตามและตรวจสอบคุณภาพโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. ระดบั 2 ดาว และ 3 ดาว ประจำปี 2566 รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 1. การพิจารณาครุ ุชน คนคุณธรรม ประจำปี 2566 3,000 2. การพิจารณายวุ ชน คนคณุ ธรรม ประจำปี 2566 2,500 3. การคัดเลอื กนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี ประจำปี 2566 3,000 รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 4 8,500 รวมงบประมาณทัง้ สิ้น 55,000 สว่ นที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 55,000 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทั้งหมด 55,000 แหลง่ เงิน งบประมาณทห่ี น่วยงาน งบประมาณที่ขอผา่ น เงนิ กู้ งบประมาณจากแหล่งอน่ื ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หนว่ ยงานอืน่ ในประเทศ นอกประเทศ 55,000 บาท - -- 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 46,500 บาท - - 8,500 บาท ส่วนที่ 6 : ข้อมูลผู้ประสานงาน ชอ่ื -สกุล นางสาวเมทินี ตาตะสมติ โทรศพั ท์ 08 9030 0818 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 150 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มลู ทัว่ ไป 1. ชือ่ โครงการ พฒั นากรอบหลักสตู รทอ้ งถนิ่ และการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชงิ รุก ภายใต้แผนงาน พืน้ ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทใ่ี ช้งบประมาณ  โครงการท่ีไมใ่ ช้งบประมาณ 3. วิธกี ารดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การ  ยังไม่เรม่ิ ดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสร็จแลว้ ส่วนท่ี 2 : ความเชื่อมโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับที่ 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถชี ีวติ ในศตวรรษที่ 21 (2) ประเดน็ ขอ้ 4.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรูท้ ี่ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ข้อย่อย 4.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะสำหรับ ศตวรรษที่ 21 (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการพฒั นากรอบหลักสตู รท้องถิ่น และการจัดการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะเชิงรกุ เป็นโครงการที่จะ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์สนับสนนุ ส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษามีกรอบหลักสูตรทอ้ งถิน่ ในการ พัฒนาผู้เรียน ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เปน็ สำคญั และพัฒนาผู้เรียนให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานไดอ้ ยา่ ง เต็มศักยภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับ วิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ทั้งพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โดยการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะเชิงรุก ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือ ระหว่างผู้เรียนด้วยกันออกแบบการจัดการเรียนรู้เน้นที่กระบวนการ และกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรยี นเกิดความ กระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ โดยการพูด การเขยี น การอภิปรายกบั เพอื่ นๆ [ 151 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แผนระดบั ท่ี 2 1. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ ที่ 12 การพัฒนาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 2. คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะ ที่ จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มปี ระสิทธิผล มีนิสัยใฝเ่ รียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคล้อง) โครงการพฒั นากรอบหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ และการจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเชิงรกุ เป็นโครงการท่ีจะ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษามีกรอบหลักสูตรท้องถิ่นในการ พัฒนาผู้เรียน ให้ครูและผู้บริหารสถานศกึ ษาให้ปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญและพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างเต็ม ศักยภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิต ในศตวรรษที่ 21 ทั้งพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โดยการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก ซึ่งเป็นกระบวนการเรยี นรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกันออกแบบ การจัดการเรียนรู้เน้นที่กระบวนการ และกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรม ตา่ งๆ มากขนึ้ และอย่างหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปราย กบั เพอื่ นๆใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล มที กั ษะท่ีจำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรบั ตัว ส่อื สาร และทำงานรว่ มกับผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธผิ ล มีนิสัยใฝเ่ รยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ (3) ตัวชวี้ ัด 1. สัดสว่ นครผู ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุ่มโรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเข้าเรยี นสทุ ธิ ระดับมัธยมศกึ ษา ตอนตน้ (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอื่ เสร็จสิ้นโครงการ 1. คะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละ 10 2. ตวั ช้วี ดั เชิงปริมาณของโครงการ คือ 2.1. สถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนนำกรอบหลกั สูตรระดับทอ้ งถิ่น และหนว่ ยการบูรณาการ แหลง่ เรียนรู้ทอ้ งถ่นิ กับหลักสูตรสถานศึกษา ไปใชต้ ามบริบทของโรงเรียน 2.2. ครใู นสถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนใช้จดั การเรียนร้ฐู านสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning) ในการพฒั นาผู้เรยี น 2.3. ผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนไดร้ ับการสำรวจแววความสามารถพิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถพเิ ศษด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ของโรงเรียน 3. ตวั ช้วี ดั เชิงคณุ ภาพของโครงการ คอื 3.1. สถานศึกษาสามารถนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหน่วยการบูรณาการแหล่ง เรยี นร้ทู ้องถ่ินกับหลกั สตู รสถานศกึ ษา ไปใชต้ ามบรบิ ทของโรงเรียนอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 [ 152 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3.2. ครูใช้จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก(Active Learning) ในการพัฒนาผู้เรียน อย่าง น้อยรอ้ ยละ 80 3.3. ผู้เรียนได้รับการสำรวจแววความสามารถพิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถ พิเศษดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกสข์ องโรงเรยี น รอ้ ยละ 100 แผนย่อยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ 3.1 แผนย่อยการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงใน ศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษา ที่มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทักษะทจี่ ำเป็นของโลกศตวรรษ ท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ ดขี ึน้ (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการพัฒนากรอบหลักสูตรท้องถิ่น และการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุกเป็นโครงการ ที่จะพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษามีกรอบหลักสูตรท้องถิ่น ในการพัฒนาผู้เรียน ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญและพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่างเต็มศักยภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อม สำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ทั้งพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะเชิงรุก ซึ่งเป็นกระบวนการเรยี นรูท้ ี่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่าง ผู้เรียนด้วยกันออกแบบการจัดการเรียนรู้เน้นที่กระบวนการ และกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกับเพื่อนๆให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะ ที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีประสทิ ธผิ ล มีนสิ ยั ใฝเ่ รียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) V02 ผสู้ อน (ครู/อาจารย)์ F (ปัจจัย) F0202 กระบวนการหรือกิจกรรมพัฒนากรอบหลักสูตรท้องถิ่น และการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะเชงิ รุก (4) แนวทางการพัฒนา พัฒนากรอบหลักสูตรท้องถิ่นอิงฐานสมรรถนะ และพัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้น การลงมือปฏบิ ตั ิมกี ารสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเนน้ การเรยี นการสอนทเ่ี สรมิ สรา้ งทักษะชีวิต และ สามารถนำมาใช้ต่อยอดในการประกอบอาชีพได้จริง และพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถกำกับการ เรยี นรู้ของตนได้เพื่อใหส้ ามารถนำองค์ความรไู้ ปใชส้ ร้างรายได้รวมถึงมีทักษะดา้ นวชิ าชพี และทกั ษะชีวติ (5) ตัวชว้ี ัด 1. สดั ส่วนครผู ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแตล่ ะกลุ่มโรงเรยี นลดลง [ 153 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. อตั ราการเขา้ เรยี นสุทธิ ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอื่ เสร็จสิ้นโครงการ 1. คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 10 2. ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณของโครงการ คอื 2.1. สถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหน่วยการ บูรณาการแหลง่ เรยี นรู้ท้องถิ่นกับหลกั สตู รสถานศกึ ษา ไปใชต้ ามบรบิ ทของโรงเรยี น 2.2. ครูในสถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนใช้จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก(Active Learning) ในการพฒั นาผู้เรยี น 2.3. ผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนได้รับการสำรวจแววความสามารถ พิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถพเิ ศษด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ของโรงเรียน 3. ตัวช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพของโครงการ คือ 3.1. สถานศึกษาสามารถนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหน่วยการบูรณาการแหล่ง เรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ กับหลักสูตรสถานศึกษา ไปใช้ตามบรบิ ทของโรงเรยี นอย่างน้อยร้อยละ 80 3.2. ครูใช้จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก(Active Learning) ในการพัฒนาผู้เรียน อย่าง นอ้ ยรอ้ ยละ 80 3.3. ผู้เรียนได้รับการสำรวจแววความสามารถพิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถ พิเศษด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ สข์ องโรงเรียน รอ้ ยละ 100 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ข้อ ขอ้ 1 เรื่อง คนไทยมีคณุ ลักษณะเปน็ คนไทยท่สี มบูรณ์ 2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ - เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง - แนวทางพัฒนา ข้อที่ ข้อที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนา ระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ตล่ ะระดับการศกึ ษา 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแหง่ ชาติ 1) แผนความมัน่ คงแห่งชาติ ข้อที่ ระดับท่ี 3 ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560 2) ประเดน็ ข้อที่ 1. แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (2563-2565) ของสพฐ. 2. แผนปฏิบตั ิราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ สพฐ. แผนระดับท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบัตริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. [ 154 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ความสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลัก หวั ข้อ- ดา้ น พฒั นาโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ - หัวข้อยอ่ ยเรอ่ื ง ส่งเสรมิ ระบบธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการภาครัฐ  นโยบายเรง่ ด่วน หวั ข้อ- ดา้ น การเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 - ด้าน การพัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชน กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง - มติ ครม.ท่เี กีย่ วข้อง - นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจดุ เน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2566 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพ่อื สร้างสมรรถนะที่สำคญั จำเปน็ สำหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผูเ้ รียน นโยบายจังหวัด  ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 7 ระบุว่ากระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกบั การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้รักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ศิ รีความเปน็ มนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รูจ้ ักรักษาผลประโยชนส์ ่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬาภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ิปัญญาไทย และความรอู้ นั เป็นสากล ตลอดจนอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ความสามารถในการประกอบอาชพี รจู้ กั พึง่ ตนเอง มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และมาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตร ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชน และสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิก ท่ดี ีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จากพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 หน่วยงานที่เกยี่ วข้องในการจัดการศึกษา นอกจาก ต้องจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ คู่คุณธรรมแล้ว ยังต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น เพื่อให้ [ 155 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้เรียนได้เรียนรู้ชีวิตจริงของตนเองในท้องถิ่น เรียนรู้สภาพภูมิศาสตร์ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดำรงชีวิต ภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ตลอดจนให้มีความรักความผูกพัน และมีความภาคภูมิใจ ในท้องถ่ิน ของตนเอง รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตในสังคม สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกีย่ วข้องจึงตอ้ งตระหนักถึงความสำคัญตังกล่าวนี้ รวมทั้ง จะต้องดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผูส้ อน สามารถนำสาระ การเรียนรูท้ ้องถิน่ ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผูเ้ รียนเกิดสัมฤทธิ์ผล บรรลุตามมาตรฐานการเรียนร้อู ย่างแท้จริง สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 เปน็ หนว่ ยงานทมี่ ีบทบาทสำคัญในการเช่ือมโยง หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560 เข้ากบั ความต้องการของ ท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอีกทั้งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจ หลักในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาของโรงเรียนภายใต้การดูแลรับผิดชอบในเขตพื้นท่ีให้จัดการศึกษาได้อย่าง มีคุณภาพและประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาผู้เรียนไปสู่มาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกันใน ระดับชาติตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกจากนั้นจะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของ ชุมชนท้องถิ่น มีความรักความภาคภูมิใจในบ้านเกิดเมืองนอนและท้องถิ่นของตนเอง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนา กรอบหลักสูตรท้องถิ่นและการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุกขึ้น เพื่อจัดทำกรอบหลักสูตรท้องถิ่นให้ สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในเรื่องเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่น โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ฝ่ายต่างๆในการจดั ทำกรอบหลักสูตรระดบั ท้องถิ่น และการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning) มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่างๆ อย่าง เปน็ องค์รวมผา่ นการปฏิบัติงาน การแกป้ ัญหา และการใช้ชวี ิตเช่ือมโยงไดใ้ นสถานการณ์จริงอย่างมีคณุ ภาพ 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื พัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถ่ินสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ใหส้ ถานศึกษาใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรียนการสอนในเร่อื งเก่ยี วกับชุมชนท้องถิน่ 2.2 เพื่อจัดทำหน่วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 บนพื้นฐานของบริบทและการจัดการเรียนรู้ Active Learning กับ แหลง่ เรยี นรู้ 2.3 เพือ่ พัฒนาครใู หใ้ ชจ้ ดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning) ในการพฒั นาผเู้ รียน 2.4 เพ่ือสง่ เสริมการสำรวจแววความสามารถพิเศษและการจดั การศกึ ษาตามพหุปัญญา 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ผลผลติ (Output) 3.1.1 กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถนิ่ ท่สี อดคล้องตอ่ การนำไปใช้ 3.1.2 หน่วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษาบนพื้นฐานของบริบทและ การจัดการเรยี นรู้ Active Learning กบั แหล่งเรียนรู้ เหมาะสมต่อการนำไปใช้ [ 156 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.3 ครู จำนวน 405 คน ได้แก่ ครูปฐมวัย จำนวน 135 คน ครูช่วงชั้นที่ 1 ( ป.1 - ป.3) จำนวน 135 คน และครูช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4 - ป.6) จำนวน 135 คน สามารถพัฒนาผู้เรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 3.1.4 สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งสำรวจแววความสามารถพิเศษ และรายงานในระบบสำรวจแวว ความสามารถพเิ ศษด้วยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 สถานศึกษาสามารถนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นไปใช้ในการพัฒนานักเรียนได้อย่าง เหมาะสม 3.2.2 หน่วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษาบนพื้นฐานของบริบทและ การจัดการเรยี นรู้ Active Learning กบั แหลง่ เรยี นรู้ เหมาะสมตอ่ การนำไปใช้ 3.2.3 ครูสามารถพัฒนาผเู้ รยี นโดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) 3.2.4 ครู มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดทำรายงานในระบบสำรวจแววความสามารถพิเศษ ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ 4. ผลทค่ี าดวา่ จะเกิด 4.1 โรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 มกี รอบหลักสูตรระดบั ท้องถิ่นเพือ่ นำไปใช้ตามบรบิ ทของโรงเรียน 4.2 โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 มีหน่วยการบรู ณาการ แหลง่ เรียนรทู้ ้องถน่ิ กบั หลักสูตรสถานศึกษาบนพ้นื ฐานของบริบทและการจดั การเรียนรู้ Active Learning กับ แหล่งเรียนรู้ 4.3 ครใู นสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 สามารถพฒั นาผเู้ รยี นโดยใช้ รปู แบบการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) 4.4 ข้อมูลในระบบสำรวจแววความสามารถพิเศษด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 มคี วามถูกตอ้ งและเปน็ ปจั จุบนั 5. ดัชนชี ้ีวดั ความสำเรจ็ 5.1 ตัวช้ีวดั เชงิ ปริมาณ 5.1 สถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหน่วยการบูรณาการ แหลง่ เรยี นรทู้ อ้ งถิ่นกับหลกั สตู รสถานศึกษา ไปใช้ตามบริบทของโรงเรียน 5.2 ครูในสถานศกึ ษาจำนวน 135 โรงเรียนใช้จัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning) ในการพฒั นาผเู้ รยี น 5.3 ผเู้ รยี นทุกคนในสถานศึกษาจำนวน 135 โรงเรียนได้รบั การสำรวจแววความสามารถพเิ ศษ ผ่าน ระบบสำรวจแววความสามารถพเิ ศษด้วยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ของโรงเรยี น [ 157 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2 ตัวช้ีวัดเชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 สถานศึกษาสามารถนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และหน่วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ ทอ้ งถน่ิ กับหลักสูตรสถานศึกษา ไปใช้ตามบริบทของโรงเรยี นอยา่ งน้อยร้อยละ 80 5.2.2 ครูใช้จัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก(Active Learning) ในการพัฒนาผู้เรียน อย่างน้อย ร้อยละ 80 5.2.3. ผู้เรียนได้รับการสำรวจแววความสามารถพิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถพิเศษ ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ของโรงเรียน ร้อยละ 100 6. การวิเคราะหค์ วามเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเสีย่ ง 6.1.1 ผู้บริหารสถานศึกษา และครู ไม่มีความเข้าใจในการนำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และ หน่วยการบรู ณาการแหลง่ เรียนรู้ท้องถนิ่ กับหลักสตู รสถานศกึ ษาไปใชต้ ามบรบิ ทของโรงเรยี น 6.1.2 ครูไม่มีความรู้ความเข้าใจ และแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning) 6.1.3 ผู้บริหารสถานศึกษา และครู ไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการสำรวจแววความสามารถพิเศษ ผ่านระบบสำรวจแววความสามารถพเิ ศษดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6.2 ผลกระทบความเส่ยี ง 6.2.1 นักเรยี นไม่ได้รบั การจัดการศึกษาทสี่ อดคล้องกับบรบิ ทของท้องถนิ่ 6.2.2 นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา และการใช้ชีวิต เชือ่ มโยงได้ในสถานการณ์จรงิ 6.3 แผนรองรบั ความเสีย่ ง 6.3.1 พัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่นิ และหน่วยการบูรณาการแหล่งเรยี นรูท้ ้องถ่นิ กับหลักสูตร สถานศึกษา 6.3.2 จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูเกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning) 7. กลมุ่ เป้าหมาย/ผทู้ ี่ได้รับประโยชน์ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 8. พน้ื ทก่ี ารดำเนนิ การ อำเภอเมือง อำเภอศรีประจันต์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี 9. ระยะเวลาดำเนนิ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กนั ยายน 2566 [ 158 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย ตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ใช้สอย วัสดุ - 3,600 ไตรมาสท่ี 1 45 คน - 3,600 - 2,250 กจิ กรรมที่ 1 พัฒนาหนว่ ยการบรู ณาการแหล่ง 2,250 - เรียนรู้ทอ้ งถิ่นกบั หลักสตู รสถานศกึ ษาของ 45 คน - 5,850 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา 5,850 - สุพรรณบรุ ี เขต 1 13 กลุ่ม - 3,600 1.1 ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาหน่วยการบรู ณา โรงเรียน - 3,600 - 2,250 การแหล่งเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ กบั หลกั สตู รสถานศึกษา - 2,250 - 400 - 3,600 - คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 45 คน ๆ - - 2,250 ละ 1 มอ้ื ๆ ละ 80 บาท เป็นเงนิ - 400 400 3,600 - - ค่าอาหารว่างและเครอื่ งด่ืม จำนวน 45 คน ๆ 2,250 - ละ 2 มือ้ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ 400 - 1.2 จัดทำคลิปการถอดบทเรียนจากแหลง่ เรยี นรู้ บรู ณาการตวั ชี้วัดตามหลกั สูตรสถานศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา สพุ รรณบรุ ี เขต 1 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสท่ี 1 - ไตรมาสที่ 2 กจิ กรรมที่ 2 พฒั นากรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ 45 คน สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา 45 คน สพุ รรณบรุ ี เขต 1 จำนวน 1 วัน 2 เลม่ - คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 45 คน ๆ ละ 1 ม้อื ๆ ละ 80 บาท เป็นเงนิ - คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม จำนวน 45 คน ๆ ละ 2มอื้ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ -ค่าจดั ทำเล่มคู่มอื เล่มละ 200 บาท จำนวน 2 เลม่ กิจกรรมท่ี 3 จดั ทำแนวทางและคมู่ ือการสอนการ 45 คน จัดการเรียนร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) 45 คน 2 เล่ม - คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 45 คน ๆ ละ 1 ม้ือ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน - ค่าอาหารว่างและเครอ่ื งด่ืม จำนวน 45 คน ๆ ละ 2มอ้ื ๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ ค่าจดั ทำเล่มคู่มอื เลม่ ละ 200 บาท จำนวน 2 เลม่ [ 159 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 2 - 6,250 - 6,250 ไตรมาสท่ี 3 กจิ กรรมที่ 4 อบรมการจดั การเรยี นรฐู้ าน สมรรถนะเชิงรุก (Active Learning) แบง่ ตาม ชว่ งช้นั เป็นเวลา 3 วนั จำนวน 2 รนุ่ รุ่นละ 135 270 คน คน รวมท้ังส้นิ 405 คน - คา่ ตอบแทนวิทยากร 3 วัน ๆ ละ 6 ชว่ั โมง ๆ 21,600 - - 21,600 ละ 600 บาท 2 รนุ่ เปน็ เงิน - คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 270 คน ๆ ละ 3 - 64,800 - 64,800 มือ้ ๆ ละ 80 บาท เปน็ เงิน - ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื จำนวน 270 - 40,500 - 40,500 คน ๆ ละ 6 ม้ือ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ - คา่ เอกสาร คนละ 50 บาท จำนวน 270 คน - 20,250 - 20,250 เป็นเงิน กิจกรรมท่ี 5 การนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการ - - --- จดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเชงิ รกุ (Active Learning) กิจกรรมที่ 6 การสง่ เสริมการสำรวจแวว - - --- ความสามารถพิเศษ ผา่ นระบบสำรวจแวว ความสามารถพิเศษด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กจิ กรรมท่ี 7 การนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการ - - --- การจดั การศกึ ษาแบบพหุปัญญา รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสที่ 3 21,600 125,550 - 147,150 ไตรมาสท่ี 4 กิจกรรมท่ี 8 การคัดเลือกโรงเรียน และครทู ีม่ ีผลการ ปฏิบตั ิท่ดี ีดา้ นจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะเชงิ รุก โลร่ างวลั - ค่าโล่รางวัล 3 อนั ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3 รางวัล - 4,500 - 4,500 กิจกรรมที่ 9 สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน โครงการ และจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ 2 เลม่ - 500 - 500 จำนวน 6 เลม่ ๆ ละ 250 บาท เปน็ เงิน รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 4 - 5,000 - 5,000 รวมงบประมาณทัง้ ส้นิ 21,600 142,650 - 164,250 (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) [ 160 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 164,250 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณทง้ั หมด 164,250 แหล่งเงนิ เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ เงินรายไดข้ องหน่วยงาน เงนิ กู้ อ่นื ๆ ในประเทศ นอกประเทศ - 164,250 บาท (รองบประมาณ) - -- ไตรมาส 4 5,000 บาท 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ (รองบประมาณ) ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 6,250 บาท 147,150 บาท พ.ศ. 2566 5,850 บาท (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) ส่วนท่ี 6 : ขอ้ มลู ผู้ประสานงาน ชอ่ื -สกุล นางสาวพกิ ลุ ทำบญุ ตอบ โทรศพั ท์ 08 9997 8655 E-mail address [email protected] โทรสาร - [ 161 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 1 : ข้อมูลทว่ั ไป 1. ชือ่ โครงการ พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาปฐมวยั ภายใตแ้ ผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทใี่ ชง้ บประมาณ  โครงการทไ่ี มใ่ ช้งบประมาณ 3. วิธีการดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อย่รู ะหว่างดำเนนิ การ  ยังไมเ่ ริ่มดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเชอื่ มโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดบั ท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพผ้เู รียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (1) เป้าหมาย ส่งเสริม สนับสนุน การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (2) ประเด็นขอ้ – ขอ้ ยอ่ ย - (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติ (อธิบายความสอดคล้อง) ร้อยละของผู้เรียนของครูที่สามารถจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning) ใน การพัฒนาผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาปฐมวยั แผนระดับที่ 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถงึ บริการทม่ี คี ณุ ภาพมากข้ึน (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) ขอ้ 3) จัดใหม้ ีการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ พี ัฒนาการ สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะท่ีดีทส่ี มวัยทุกดา้ น โดย การพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เน้นการพัฒนาทักษะ สำคญั ดา้ นต่าง ๆ อาทิ ทกั ษะทางสมอง ทกั ษะดา้ นความคดิ ความจำ ทกั ษะการควบคมุ อารมณ์ ทักษะการวางแผนและ การจัดระบบ ทกั ษะการร้จู ักประเมนิ ตนเอง ควบค่กู ับการยกระดบั บคุ ลากรในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้มีความพร้อม ทัง้ ทกั ษะ ความรู้ จริยธรรม และความเปน็ มืออาชีพ ตลอดจน ผลกั ดนั ให้มกี ฎหมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหค้ รอบคลมุ [ 162 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพอนามัยให้มี พัฒนาการท่สี มวยั และการเตรียมทักษะการอย่ใู นสังคมใหม้ ีพฒั นาการอย่างรอบด้าน (3) ตัวช้วี ดั ดชั นีพฒั นาการเด็กสมวยั (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอื่ เสรจ็ สิน้ โครงการ มีการจัดทำโครงการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ระดับปฐมวัยในสถานศึกษา อนั จะส่งผลตอ่ การพฒั นาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 ของผูเ้ รียน สง่ ผลให้ผูเ้ รยี นเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรบั วิถชี ีวติ ในศตวรรษท่ี 21 แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้าน ร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อย่าง ตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ (1) เป้าหมายของแผนยอ่ ย (Y1)เด็กเกดิ อยา่ งมีคุณภาพ มพี ัฒนาการสมวัย สามารถเขา้ ถงึ บริการทมี่ ี คณุ ภาพมากข้ึน (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) - ดชั นพี ัฒนาการเดก็ สมวยั (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการสมวยั (110201V02) F (ปจั จัย) พฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย (110201F0202) (4) แนวทางการพัฒนา ข้อ 3) จัดให้มีการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนาการ สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะท่ีดี ที่สมวัยทกุ ด้าน โดยการพัฒนาหลกั สูตรการสอนและปรับปรงุ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีเน้น การพัฒนาทักษะสำคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากรในการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มคี วามพร้อมทงั้ ทกั ษะ ความรู้ จรยิ ธรรม และความเปน็ มืออาชีพ ตลอดจน ผลักดันใหม้ กี ฎหมายการพัฒนา เด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนา สขุ ภาพอนามัยให้มีพฒั นาการทส่ี มวัยและการเตรยี มทกั ษะการอย่ใู นสงั คมให้มีพัฒนาการอย่างรอบด้าน (5) ตัวชวี้ ดั ดัชนีการพฒั นามนุษย์ (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเม่ือเสรจ็ สน้ิ โครงการ มกี ารจัดทำโครงการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ปฐมวัย เพื่อส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวยั ในสถานศึกษา อันจะส่งผลต่อการ พัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อม สำหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 [ 163 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ ข้อ 1 เรือ่ ง คนไทยมคี ณุ ลักษณะเป็นคนไทยทสี่ มบูรณ์ 2) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรูแ้ ละความสามารถในการดำรงชีวิต อยา่ งมคี ณุ ค่า 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแหง่ ชาติ 1) แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ ขอ้ ที่ - 2) ประเดน็ ข้อที่ - แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัตริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หวั ข้อสง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยคำนึงถึงพหุปัญญาทห่ี ลากหลาย  นโยบายเรง่ ดว่ น หัวขอ้ การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง - มติ ครม.ท่เี ก่ยี วขอ้ ง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศกึ ษาธกิ าร - นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน - นโยบายจังหวัด  ประเด็นการพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน สว่ นท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช 2562 ได้กล่าวถึงการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อให้เกิดทักษะในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้อย่างสอดคล้องกับหลักการพัฒนา ศักยภาพของแตล่ ะบคุ คลและความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ ดังน้ันภารกจิ หลกั ของสถานศกึ ษาและครูคือมีหน้าที่ [ 164 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จัดการศึกษาให้แก่เด็กปฐมวัย ต้องจัดให้มีการอบรมเลี้ยงดู เพิ่มพูนประสบการณ์ ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ และจัดการศึกษาแก่เด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึง รวมทั้งจัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม ในช่วงรอยต่อตงั้ แตก่ อ่ นระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาอย่างต่อเน่ือง การศกึ ษาในระดับปฐมวัยถือเป็น การสร้างรากฐานคณุ ภาพชวี ติ ของเดก็ เนื่องจากพัฒนาการของเดก็ ในช่วงอายุ 0 – 6 ปี จะเปลีย่ นแปลง และ พัฒนาอยา่ งรวดเร็ว เด็กในช่วงวยั น้ถี ือวา่ เป็นช่วงโอกาสทองของการเรยี นรู้กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงประกาศใช้ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้สถานศึกษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทกุ สังกัดนำไปใช้ ใหเ้ หมาะสมกับเดก็ และสภาพท้องถ่ิน ม่งุ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา ท่เี หมาะสมกับวยั ความสามารถและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล โดยการจัดประสบการณเ์ น้นการจัดในรูปของ กิจกรรมบูรณาการผ่านการเลน่ เพื่อให้เด็กเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ตรง เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเกิดการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน ตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 12 ข้อ และคุณลักษณะตามวัยของ เด็กอายุ 3 – 6 ปี อันเป็นเป้าหมายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ครูผู้สอนต้องนำไปจัดประสบการณ์ใน ช้ันเรยี น การดำเนินการจดั การเรยี น การสอนเพอ่ื เสริมสรา้ งนกั เรยี นให้มีพฒั นาการทุกดา้ น เต็มตามวัยและเต็ม ศักยภาพ การพัฒนาการเรียนการสอนจะช่วยให้พัฒนาครู ให้มีประสบการณ์ในการสอนนักเรียนให้เป็นคนที่มี คุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพบรรลุจดุ มุ่งหมายของหลักสูตร สภาพ ปจั จบุ นั ทนั ตอ่ เหตุการณ์เพ่ือสนองนโยบาย การประกนั คุณภาพการศึกษา การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัยเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้เตม็ ตามศักยภาพและเหมาะสมกับพฒั นาการของเด็ก 2.2 เพื่อประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของนักเรียนระดับการศึกษา ปฐมวัย และมขี ้อมูลสารสนเทศในการวางแผนและพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวยั 2.3 เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย ระดับปฐมวัย 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ผลผลิต (Output) 3.1.1 โรงเรียนและครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาและนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับ ปฐมวัยทงั้ ทางตรงและทางอ้อม รอ้ ยละ 80 3.1.2 ทุกโรงเรยี นประเมินพัฒนาการนกั เรยี นทจ่ี บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 3.1.3 โรงเรียนในโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ผ่านการประเมินเพื่อรับตรา พระราชทาน \"บ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย\" รอ้ ยละ 80 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 ครูปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัยและครู ปฐมวยั สามารถนำไปจัดประสบการณ์การเรียนรใู้ นหอ้ งเรียนได้ [ 165 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3.2.2 นักเรียนได้รับการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้านและมีผลพัฒนาการ เป็นไปตามวัย 3.2.3 โรงเรียนในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย สามารถจัดกิจกรรมตามโครงการบ้าน นกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยได้ 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 ครูปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย และ สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในหอ้ งเรียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 4.2 นักเรียนได้รับการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้านและมีผลพัฒนาการเป็นไป ตามวยั 4.3 โรงเรียนในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย สามารถจัดกิจกรรมตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อยได้ และผ่านการประเมนิ เพอ่ื รบั ตราพระราชทาน “บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” 5. ดชั นีชวี้ ดั ความสำเร็จ จากข้อ (3) ดชั นีพัฒนาการเด็กสมวยั - ครูผู้สอนระดับปฐมวัยจำนวน 135 โรงเรียน เข้าร่วมอบรมและได้รับการนิเทศ ติดตามการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ระดบั ชนั้ ปฐมวัยและสามารถนำไปจดั ประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียนได้ - นกั เรียนระดบั ช้นั อนบุ าลไดร้ ับการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่ีสอดคล้องกับพัฒนาการทงั้ 4 ด้านและ มผี ลการประเมินพัฒนาการอยูใ่ นระดับดี รอ้ ยละ 85 - โรงเรียนในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ร้อยละ 80 สามารถจัดกิจกรรมตามโครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยและเข้ารับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน \"บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย\" 5.1 ตัวชีว้ ดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 โรงเรียนและครูปฐมวัยได้รับการนิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัยทั้ง ทางตรงและทางออ้ ม ร้อยละ 80 5.1.2 ทุกโรงเรียนประเมินพัฒนาการนกั เรียนที่จบหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย 5.1.3 โรงเรียนในโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ผ่านการประเมินเพื่อรับตรา พระราชทาน \"บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย\" ร้อยละ 80 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 ครูปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัยและครู ปฐมวัยสามารถนำไปจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ นห้องเรยี นได้ 5.2.2 นักเรียนได้รับการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้านและมีผลพัฒนาการ เป็นตามวัย [ 166 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.3 โรงเรียนในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย สามารถจัดกิจกรรมตามโครงการบ้าน นักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทยได้ 6. การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเสย่ี ง 6.1.1 ครไู มน่ ำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ให้กบั นักเรียน 6.1.2 การประเมนิ พฒั นาการนักเรยี นไมม่ ีความตรง 6.2 ผลกระทบความเส่ียง - 6.3 แผนรองรับความเสย่ี ง 6.3.1 นิเทศติดตาม และรายงานผลเป็นระยะ ๆ 6.3.2 ใหค้ วามรู้ในการประเมินพัฒนาการ และแนวทางประเมินทชี่ ัดเจน 7. กลมุ่ เป้าหมาย/ผู้ท่ีไดร้ บั ประโยชน์ โรงเรยี น นักเรียนระดับชั้นปฐมวัย และครปู ฐมวยั ในสงั กดั 8. พื้นที่การดำเนินการ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอบางปลาม้า และ อำเภอศรีประจนั ต์ 9. ระยะเวลาดำเนิน ตุลาคม พ.ศ. 2565 - มิถุนายน พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ - 5,000 ไตรมาสท่ี 1 -- 25,800 5,000 - รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 1 -- 30,800 20,800 5,000 ไตรมาสที่ 2 25,800 5,000 1. นเิ ทศการจัดกจิ กรรมตามโครงการบ้าน 77 - นักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย สำหรับโรงเรยี นท่ี โรงเรียน ขอรบั ตราพระราชทาน 2. การประเมินพัฒนาการนักเรยี นท่จี บหลกั สูตร 135 - การศกึ ษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรียน 2.1 ค่าอาหารกลางวัน อาหารวา่ ง จำนวน 160 คน 2.2 จดั ทำเอกสาร 2.3 จดั ซือ้ วสั ดุอปุ กรณ์ในการประเมิน รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 2 135 - [ 167 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ ไตรมาสท่ี 3 3. ประเมนิ โรงเรยี นในโครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย 77 - 5,200 - 5,200 ประเทศไทย ระดบั ปฐมวัย เพื่อขอรบั ตราพระราชทาน โรงเรยี น 4. การพัฒนาการจัดประสบการณก์ ารเรียนรูเ้ ชงิ รกุ 135 - 23,400 6,600 30,000 ระดับปฐมวัย โรงเรียน 4.1 ค่าอาหารกลางวัน อาหารวา่ ง 180 คน 23,400 4.2 ค่าเอกสาร 1,600 4.3 ค่าวสั ดุ 5,000 5. การพฒั นาการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรตู้ าม 135 งบ สพฐ. โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย โรงเรียน ระดบั ปฐมวัย 6. การพัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ตู าม 20 - -- - แนวคิดมอนเตสซอรี ระดับปฐมวยั โรงเรยี น 7.การนิเทศติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 135 - -- - ระดบั ปฐมวยั โรงเรียน รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 3 28,600 6,600 35,200 ไตรมาสที่ 4 8. แนวทางการจัดประสบการณ์การเช่อื มตอ่ ของ 150 เลม่ - 30,000 - 30,000 การศึกษาปฐมวยั กบั ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ด้าน ภาษาและการรหู้ นงั สอื ชน้ั อนุบาลปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 9. รายงานผลการดำเนินงานการจัดการศกึ ษาปฐมวยั 8 เลม่ - 2,000 - 2,000 9.1 รายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ 9.2 รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการบา้ น นักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ระดบั ปฐมวัย 9.3 รายงานผลการจดั ประสบการณต์ ามแนวคดิ มอนเตสซอรี ระดับปฐมวัย (ส่ง อบจ.) 9.4 รายงานผลการดำเนินกจิ กรรมเพ่มิ การ เตรยี มความพรอ้ มเด็กปฐมวัยอย่างมคี ณุ ภาพ รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 4 - 32,000 - 32,000 87,400 10,600 98.000 รวมงบประมาณท้งั สน้ิ (รองบประมาณ) [ 168 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 98,000 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณทั้งหมด 98,000 แหลง่ เงนิ งบประมาณที่หนว่ ยงาน งบประมาณท่ขี อผา่ น เงินกู้ งบประมาณจากแหลง่ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) อ่นื หน่วยงานอน่ื ในประเทศ นอกประเทศ - 98,000 บาท (รองบประมาณ) - -- 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 - บาท 30,800 บาท 35,200 บาท 32,000 บาท (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) (รองบประมาณ) สว่ นที่ 6 : ขอ้ มูลผปู้ ระสานงาน โทรศัพท์ 08 9454 7578 ชื่อ-สกุล นางดวงทพิ ย์ เพช็ รนิล โทรสาร E-mail address [email protected] [ 169 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1. ชือ่ โครงการ พฒั นาการจดั การเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม น้อมนำศาสตร์ พระราชาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ภายใต้แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ีใชง้ บประมาณ  โครงการทไี่ มใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยูร่ ะหว่างดำเนินการ  ยังไมเ่ ร่มิ ดำเนินการ  ดำเนินการเสรจ็ แลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเช่อื มโยงกบั แผนในระดบั ต่างๆ แผนระดบั ที่ 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เปา้ หมาย..คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพพร้อมสำหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.5การสร้างความตื่นตัวให้คนไทย ตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และ ประชาคมโลก (3) การบรรลุตามเปา้ หมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) จากการสร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ โดยการพัฒนาและ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ เพอ่ื ใหค้ นไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพพร้อมสำหรบั วถิ ชี วี ิตในศตวรรษ ท่ี 21 ต้องอาศยั การจดั การศกึ ษาในระดบั ขน้ั พื้นฐาน มคี รู/อาจารยเ์ ป็นผูข้ ับเคล่อื น โดยผา่ นกระบวนการฝกึ อบรม แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ เป้าหมาย: 1.คนไทยมกี ารศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล เพิม่ ข้นึ มีทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรบั ตวั สอ่ื สาร และทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลเพิ่มขน้ึ มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ [ 170 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) เพ่มิ ศกั ยภาพในการจดั การเรียนร้ใู ห้ผู้เรยี นได้รบั ความรู้ และเกิดทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรบั ตัว ส่ือสาร และทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ลเพม่ิ ข้ึน มีนสิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ (3) ตัวชีว้ ัด 1. คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉล่ีย) 2. อนั ดับขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศด้านการศกึ ษา (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมื่อเสรจ็ ส้นิ โครงการ 1. เฉล่ีย 480 คะแนน 2. อนั ดบั ที่ 40 แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรียนรู้ และทกั ษะทีจ่ ำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถงึ การเรยี นร้อู ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิตดีข้นึ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคล้อง) เพิ่มศักยภาพให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการเรียนรู้มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิตดขี ึ้น (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ผู้สอน (คร/ู อาจารย์) F (ปัจจัย) ผู้สอนยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประเทศ (ปรมิ าณ/คุณภาพ) (4) แนวทางการพัฒนา (4) จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและ พัฒนาการของประเทศเพอ่ื นบา้ นในสถานศึกษา และสำหรับประชาชน (5) ตัวชี้วัด 1. สดั สว่ นครูผ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแตล่ ะกลมุ่ โรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเข้าเรยี นสทุ ธริ ะดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (6) Contribution ต่อเป้าหมายเมอ่ื เสร็จสนิ้ โครงการ 1. รอ้ ยละ 100 2. ลดลงร้อยละ 20 3. ร้อยละ 90 [ 171 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 1 เร่ือง คนไทยมีลักษณะเปน็ คนไทยที่สมบรู ณ์ 2) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพมนุษย์ - เป้าหมายท่ี 1 คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคตแิ ละพฤติกรรมตามบรรทัดฐานทด่ี ีของสงั คม - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 1 ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่พี งึ ประสงค์ 3. ความสอดคล้องกบั แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมัน่ คงแห่งชาติ ขอ้ ท่ี 1 การเสริมสรา้ งความม่นั คงของมนษุ ย์ 2) ประเดน็ ขอ้ ที่ (1) ส่งเสริมให้คนไทยมีความสามัคคี สังคมมีความสงบสุข และประเทศมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตำบล หมู่บ้าน จังหวัด ภาค และประเทศชาติให้เป็นเครือข่าย สนบั สนนุ งานด้นความมนั่ คงและใหต้ ระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลประโยชนแ์ ห่งชาติ (5) ส่งเสรมิ การเรียนรปู้ ระวัติศาสตรช์ าติไทย ปลกู ฝงั วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ คา่ นยิ มท่ดี ีงาม ความภูมิใจในชาติ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยการเรียนการสอน ทั้งในระบบและนอกระบบ สถานศกึ ษา เพ่อื สนับสนนุ กิจกรรมในด้านความม่นั คง แผนระดับท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หวั ข้อ มงุ่ เน้นการพฒั นาโรงเรียนควบค่กู ับการพฒั นาครู  นโยบายเรง่ ดว่ น หวั ข้อ การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษที่ 21 กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง - มติ ครม.ท่เี กยี่ วข้อง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรมให้มีความ ทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการ เสริมสรา้ งวิถีชวี ติ ของความเปน็ พลเมอื งทเ่ี ข้มแขง็ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน - [ 172 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายจงั หวัด  ประเด็นการพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน สว่ นที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล ตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ฉบับลงวันท่ี 29 ต.ค. 2564 ขอ้ 5 เรื่อง การพัฒนาครู : หาแนวทางการขบั เคล่อื นการพัฒนาครูใหค้ รูสามารถปรับเปล่ียน วิธีการจัดการเรียนการสอน จากเดิมที่เป็นผู้ให้ความรู้ ให้เป็น Coaching ฯ ทั้งนี้เนื่องจากการเรียนรู้และ องคค์ วามร้ทู ่เี ปล่ียนแปลงไป เดก็ สามารถเรียนร้ไู ด้ดว้ ยตนเองจากส่ิงรอบตัว จากโทรศพั ท์มือถือ ทำอยา่ งไรให้ การพัฒนาครูสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป ควรเปลี่ยนกระบวนการคิดของครู (Mindset) ในการ พฒั นาเด็ก เพ่ือตอบโจทยใ์ นการดำเนินชวี ติ การประกอบอาชีพ สอดคล้องตามศตวรรษท่ี 21 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจในการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดอย่างชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีความเข้าใจถึงการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีคุณธรรม มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สามารถนำความรู้และทักษะ ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดี ของประเทศชาตแิ ละสงั คมโลก เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายเป็นไปตามภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ การเรง่ รดั การทำงานภาพรวมกระทรวงใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิเพื่อสรา้ งความเชอื่ มั่นใหก้ ับสงั คม และผลักดนั ให้การ จัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยน้อมนำศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ส่กู ารปฏบิ ตั ิ และทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ 21 สำหรับผู้เรียนมาบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และการจัดทำกรอบหลักสูตรรวมทั้งจัดกระบวนการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ หนา้ ที่พลเมอื งและศลี ธรรมของโรงเรียนในสงั กดั ทั้ง135 โรงเรยี น สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 อย่างเปน็ ระบบ และดำเนนิ การขบั เคลอ่ื นตามนโยบายต่อไป 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อขับเคลื่อนและดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม นอ้ มนำศาสตร์พระราชาสกู่ ารปฏิบัติ 2.2 เพื่อนิเทศ ติดตามการดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ [ 173 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลติ (Output) 3.1.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตาม การขบั เคล่อื นและดำเนนิ การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ นอ้ มนำศาสตร์พระราชาสกู่ ารปฏิบัติ รอ้ ยละ 80 3.1.2 ครกู ลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมไดร้ ับการพัฒนาใหค้ วามรใู้ นการสรา้ ง นวัตกรรมและสือ่ การจัดการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมอย่างนอ้ ย 1 สาระ 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการจดั การ เรียนรู้และสามารถขับเคลื่อนและดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารปฏิบัติ อยา่ งเปน็ ระบบ 3.2.2 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาการสร้างนวัตกรรม และสื่อในการจัดการเรียนรู้และมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรมอยา่ งนอ้ ย 1 สาระ 4. ผลทคี่ าดว่าจะเกิด 4.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ และสามารถขับเคลื่อนและดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม น้อมนำศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารปฏบิ ตั ิไปใช้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 4.2 ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมสามารถสร้างนวัตกรรมและสื่อในการจัดการ เรียนรู้และมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมอย่าง มีประสิทธิภาพ 5. ดชั นชี ้วี ัดความสำเรจ็ 5.1 ตัวช้วี ัดเชงิ ปริมาณ 5.1.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาและนิเทศ ติดตาม การขบั เคล่อื นและดำเนินการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ น้อมนำศาสตรพ์ ระราชาสู่การปฏิบัติ ร้อยละ 80 5.1.2 ครกู ลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมไดร้ บั การพฒั นาให้ความรใู้ นการสรา้ ง นวตั กรรมและสื่อการจัดการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอยา่ งน้อย 1 สาระ 5.2 ตัวชว้ี ัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการจดั การ เรียนรู้และสามารถขับเคลื่อนและดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม น้อมนำศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารปฏิบัติ อยา่ งเป็นระบบ [ 174 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.2 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาการสร้างนวัตกรรม และสื่อในการจัดการเรียนรู้และมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรมอย่างนอ้ ย 1 สาระ 6. การวิเคราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสย่ี ง 6.1.1 ครไู มน่ ำความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ไปขับเคลอ่ื นและดำเนนิ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 6.2 ผลกระทบความเสยี่ ง 6.2.1 การขับเคล่อื นและดำเนินการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ขาดความตอ่ เนอื่ ง 6.3 แผนรองรับความเส่ยี ง 6.3.1 นิเทศ ติดตามการขับเคลือ่ นและดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เป็นระยะ 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผทู้ ่ีได้รับประโยชน์ ครกู ล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 8. พื้นที่การดำเนินการ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอบางปลาม้า และ อำเภอศรปี ระจันต์ 9. ระยะเวลาดำเนิน มถิ ุนายน พ.ศ. 2566 - กนั ยายน พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม ไตรมาสท่ี 1 - รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสที่ 1 - - -- - ไตรมาสท่ี 2 - รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 2 - - -- - ไตรมาสที่ 3 1. จดั ทำ SITE กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ - - -- - วัฒนธรรม 2. จดั อบรมครูกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและ 135 วัฒนธรรมในการสรา้ งสื่อ นวัตกรรม โรงเรียน - ค่าเอกสารประกอบการอบรมจำนวน 150 ชดุ ๆ ละ 30 บาท - 4,500 - 4,500 - คา่ อาหารว่างจำนวน 150 คนๆละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท - 7,500 - 7,500 - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 150 คนๆ ละ 1 ม้ือๆ ละ 80 บาท - 12,000 - 12,000 [ 175 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 3 - - 24,000 - 24,000 ไตรมาสท่ี 4 1. นิเทศ ตดิ ตามการดำเนินการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ - - - - - กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม น้อมนำศาสตร์พระราชาสูก่ ารปฏิบตั ิ รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสท่ี 4 - - -- - รวมงบประมาณท้งั สน้ิ - 24,000 - 24,000 รองบประมาณ สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 24,000 บาท (รองบประมาณ) 2) งบ สพฐ. - บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณทง้ั หมด 24,000 บาท (รองบประมาณ) แหล่งเงิน งบประมาณทหี่ นว่ ยงาน งบประมาณที่ขอ เงนิ กู้ งบประมาณจากแหล่งอนื่ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - ผา่ นหนว่ ยงานอื่น ในประเทศ นอกประเทศ 24,000 บาท (รองบประมาณ) - -- 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พ.ศ. 2566 - บาท -.บาท 24,000บาท - บาท (รองบประมาณ) สว่ นท่ี 6 : ขอ้ มลู ผ้ปู ระสานงาน ชอ่ื -สกุล นางสาวสุกัลยา นยิ มทอง โทรศัพท์ 08 9761 5579 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 176 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ข้อมูลทวั่ ไป 1. ชอ่ื โครงการ ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR ภายใต้แผนงาน พืน้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ีใชง้ บประมาณ  โครงการท่ีไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยู่ระหวา่ งดำเนินการ  ยังไมเ่ รม่ิ ดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ สว่ นที่ 2 : ความเชื่อมโยงกับแผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ น ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวถิ ีชวี ิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเดน็ ขอ้ 3. การปฏิรปู การเรยี นรู้แบบพลกิ โฉม.ขอ้ ยอ่ ย 2 การเปล่ียนโฉมบทบาท‘ครู’ให้เป็น ครูยคุ ใหม่ (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคล้อง) ครูมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนที่ดีส่งผลให้นักเรียนเป็นคนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 แผนระดบั ท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดบั ประเดน็ (Y2) ขอ้ 1.คนไทยมกี ารศึกษาที่มีทค่ี ุณภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขนึ้ มีทักษะที่จำที่ เป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธผิ ลเพิ่มขนึ้ มีนสิ ยั ใฝ่เรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคล้อง) นักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีการศึกษาที่มี คุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำที่เป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ ปัญหา ปรบั ตวั สอื่ สาร และทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้อย่างมีประสิทธผิ ลเพ่ิมขึ้น มนี ิสยั ใฝเ่ รยี นร้อู ย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ [ 177 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3) ตัวช้ีวัด 1.คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลีย่ ) 2. อนั ดับขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศดา้ นการศึกษา (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอื่ เสรจ็ ส้ินโครงการ 1. เฉลย่ี ลี่ 470 คะแนน 2. อันดับที่ 45 แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ แผนย่อยการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ท่ีตอบสนอง ที่ ตอ่ การเปล่ียนแปลง ในศตวรรษ ท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มี ที่ คุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทกั ษะทีจ่ ำท่ี เปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถ ท่ี เข้าถงึ การเรยี นร้อู ย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ ดีข้นึ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) นักเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ไดร้ บั การศกึ ษา ที่มี คุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการ เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิตดีขึน้ (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) ผูส้ อน (คร/ู อาจารย)์ (120101V02) F (ปัจจัย) ผู้สอน ยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประเทศ (120101F0201) (4) แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมสนับสนุนระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทั้งเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอื่น ๆ ปฏิรูประบบการผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ โดยเป็น ผู้ที่มีใบประกอบวิชาชีพจะต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ในสาขาที่ตนเองสอน ที่ มีความรู้ทักษะ และสามารถสร้างสมรรถนะที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานและมาตรฐานอาชีพให้แก่ผู้เรียน และมีอัตรากำลังเพียงพอต่อความต้องการของสถานศึกษาตาม เกณฑม์ าตรฐาน อตั รากำลงั ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (5) ตวั ชว้ี ดั 1. สดั สว่ นครผู า่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเขา้ เรยี นสุทธิระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมื่อเสร็จสนิ้ โครงการ 1. ร้อยละ 50 2. ลดลงร้อยละ 20 3. รอ้ ยละ 80 [ 178 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 1) เปา้ หมายรวม ข้อ 1 เรอ่ื ง คนไทยมคี ุณลักษณะเปน็ คนไทยท่ีสมบรู ณ์ 2) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์ - เป้าหมายที่ 3 คนไทย ที่ มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถ เรียนรูด้ ้วยตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง - แนวทางพัฒนา ข้อที่ ส่งเสรมิ สนับสนุนระบบการพฒั นาศักยภาพและสมรรถนะครูอยา่ งต่อเน่อื ง ครอบคลุมทั้งเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอื่น ๆ ปฏิรูประบบการผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ โดยผู้ที่มี ใบประกอบวิชาชีพจะต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญและ ซึ่งมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการใน สาขาที่ตนเองสอน ที่ มีความรู้ทักษะและสามารถสร้างสมรรถนะที่สอดคล้อง กับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐานอาชพี ใหแ้ ก่ผู้เรียน และมอี ัตรากำลังเพยี งพอต่อความตอ้ งการของสถานศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน อตั รากำลังของสำนกั งานคณะกรรมการกาอาชวี ศึกษา 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความมนั่ คงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ ข้อท่ี - 2) ประเด็น ข้อท่ี – แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หวั ข้อ มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรยี นควบคูก่ บั การพัฒนาครู  นโยบายเร่งดว่ น หวั ข้อ…การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษ สู่ ที่ 21 กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง - มติ ครม.ท่เี กีย่ วข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 3.ด้านคณุ ภาพ นโยบายจงั หวัด  ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน [ 179 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตุผล ภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนไทย และคนทั่วโลก มนุษยชาติทุกวันนี้สื่อสารกันด้วย ภาษาอังกฤษ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารกันโดยตรง การใช้อินเตอร์เน็ต การดูทีวี การดูภาพยนตร์ การเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยให้ความสำคัญกับการเรียนภาษาอังกฤษโดยกำหนดให้เรียนใน ทุกระดับช้นั แต่ทำไมคนไทยถึงพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ นน่ั กเ็ พราะว่าหลักสตู รภาษาอังกฤษของกระทรวงศึกษาธิการ ยังไม่ได้เน้นการพูดภาษาอังกฤษ แต่จะเน้นแต่หลักไวยากรณ์ คำแปล และการอ่านเพื่อความเข้าใจและให้สอบเข้า มหาวิทยาลัยไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ สิ่งท่ีจะต้องปรบั ปรุงอย่างมากในระบบการเรียนภาษาอังกฤษของไทยคอื ปรับจุดเน้น การเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องการเรยี นรภู้ าษาโดยเน้นท่ีการสือ่ สาร ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงประกาศนโยบายปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และแนวปฏิบัติที่จะกำหนดออกมาจะเป็นการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ ซึ่งจะใช้กรอบการเรียนภาษาของประเทศในยุโรปแต่สาระที่สำคัญจะให้มีการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษตามกระบวนการเรียนภาษาตามธรรมชาติของมนุษย์ คือ เรียนจากการใช้ภาษาและเรียนเพื่อใช้ภาษา เรยี งลำดับจากการฟงั พูด อา่ น เขียนและเน้นการใช้ ทั้งนแ้ี นวปฏิบตั แิ บบนจี้ ะตอ้ งนำไปสู่การปรบั หลักสูตรการเรียน การสอน สอ่ื การเรียน หนงั สือ และการวดั ผลประเมินผลต้องเน้นการเรยี นการสอนเพื่อการสอ่ื สาร สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตระหนกั และเห็นความสำคัญดงั กล่าวจึงได้ จัดทำโครงการนข้ี ้นึ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพอ่ื พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นกลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามแนวการ สอนภาษาเพื่อการสอื่ สาร 2.2 เพือ่ เตรียมความพรอ้ มของครใู นการเข้ารบั การทดสอบ CEFR 2.3 เพ่อื พฒั นาทักษะภาษาองั กฤษในดา้ นการพดู การฟัง การอา่ นและการเขยี นสำหรับผเู้ รียนและเปดิ โอกาส และสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนแสดงออกทางทักษะภาษาองั กฤษ รวมถงึ สร้างเจตคติท่ดี ตี ่อการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นกล่มุ สาระภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามแนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร และมคี วามพรอ้ มต่อการทดสอบ CEFR 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนมีทักษะภาษาอังกฤษในด้านการพูด การฟัง การอ่าน และการเขยี น และมเี จตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ [ 180 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ 4.1 ครูมีความตระหนัก มีศักยภาพ และเกิดความมั่นใจในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาอังกฤษ 4.2 โรงเรียนนโยบายการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษสูก่ ารปฏิบัติ 5. ดชั นีช้ีวัดความสำเรจ็ 5.1 ตัวชวี้ ดั เชงิ ปริมาณ 5.1.1 ครูผู้สอนภาษาอังกฤษของทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 คน 5.1.2 นกั เรียนที่ได้รบั การจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร 5.2 ตัวชี้วดั เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไปของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษสามารถจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษพฒั นา ครูผู้สอนภาษาอังกฤษให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษเพื่อ ส่ือสารภาษาอังกฤษ 5.2.2 ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษมีความพร้อมตอ่ การทดสอบ CEFR 6. การวิเคราะห์ความเสยี่ งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเส่ียง 6.1.1 ครูจบตรงเอกภาษาองั กฤษมีไม่ครบทุกโรงเรียน 6.1.2 ครทู ่ไี ม่จบเอกภาษาอังกฤษไมม่ ีความม่ันใจในการออกเสียง 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง 6.2.1 จัดกจิ กรรมได้ไม่เต็มรปู แบบ 6.2.2 นกั เรยี นไม่ไดร้ ับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบที่กำหนดไว้ 6.3 แผนรองรบั ความเสยี่ ง 6.3.1 มอบหมายใหค้ รูเอกภาษาอังกฤษเปน็ ผชู้ ว่ ยใหแ้ ก่ครไู ม่จบเอก 6.3.2 ใหค้ รูจบไม่ตรงเอกศึกษาวธิ ีการจดั กิจกรรมจากส่อื เพิ่มเตมิ 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ไดร้ ับประโยชน์ ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษและนักเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 8. พนื้ ทก่ี ารดำเนนิ การ ห้องประชุมศรีสุพรรณ สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนิน .เดือน เมษายน พ.ศ. 2566 [ 181 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 41,000 41,000 ไตรมาสที่ 1 41,000 41,000 1,000 1. วางแผน จัดประชุม คณะทำงาน - 2. ศกึ ษาคำศัพท์พนื้ ฐาน จัดทำคำศพั ท์ POEM เติม 1500 ความรคู้ คู่ ำศัพท์ 12,800 8,000 3. .ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเนื้อหา และรูปแบบ 3,000 25,300 4.ปรบั ปรงุ รปู เล่มใหม้ ีความสมบรู ณ์พรอ้ มจัดทำเล่ม 135 - 820 เล่ม ๆ ละ 50 โรงเรียน - รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 1 1,000 1,000 ไตรมาสท่ี 2 67,300 1. .วางแผน สำรวจรายชอ่ื ครูจบเอกภาษาอังกฤษ (เม.ย.) - 2. ..จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพอ่ื วางแผนการ จัดกิจกรรม (เม.ย.) 1.2 ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 30 มอ้ื ๆ ละ 25 บาท เปน็ เงิน 3. จดั กจิ กรรมยกระดบั คุณภาพการจดั การเรียนการสอน ภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR (เม.ย.) 3.1 คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 160 คน ๆ ละ 1 มอื้ ๆ ละ 160 80 บาท เปน็ เวลา 1 วัน เป็นเงนิ 3.2 ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม จำนวน 160 คน ๆ ละ 2 160 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3.3 ค่าวัสดกุ ารจัดกิจกรรม รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 1. นิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษ - ตามรูปแบบ (พ.ค.) 2. ครสู ่งผลงานเข้าประกวด best (พ.ค.) - 3. ประกาศผลรางวัล (ม.ิ ย) 4. สรุปและจัดทำเลม่ รายงาน จำนวน 4 เลม่ ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 4 รวมงบประมาณทใี่ ชใ้ นไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 4 รวมงบประมาณทง้ั สน้ิ [ 182 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 67,300 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทง้ั หมด 67,300 แหล่งเงิน งบประมาณท่ีหน่วยงาน งบประมาณทีข่ อผ่าน เงนิ กู้ งบประมาณจากแหล่งอ่นื ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) หนว่ ยงานอน่ื ในประเทศ นอกประเทศ - - 67,300 บาท -- 2. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 25,300 บาท 1,000 บาท - บาท พ.ศ. 2566 41,000 บาท ส่วนที่ 6 : ข้อมูลผู้ประสานงาน โทรศัพท์ 06 21891914 ชือ่ -สกลุ นางณัชนันทน์ บตุ รดาวงษ์ โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 183 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ขอ้ มลู ท่วั ไป 1. ชอ่ื โครงการ พฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรยี นอ่านออกเขยี นได้ อ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภายใตแ้ ผนงาน พ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการท่ใี ช้งบประมาณ  โครงการท่ีไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการ  ยงั ไม่เรม่ิ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแล้ว สว่ นที่ 2 : ความเช่อื มโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดบั ท่ี 1 1.ยทุ ธศาสตรช์ าติ (หลัก) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพมนุษย์ (1) เป้าหมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเดน็ ขอ้ 3. การปฏริ ปู การเรียนรแู้ บบพลกิ โฉม ข้อย่อย 3.1 การปรบั เปลีย่ นระบบการเรียนรู้ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การพฒั นาทกั ษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง เพอ่ื ยกผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสาระภาษาไทย เป็นการพฒั นาครูผสู้ อนภาษาไทยใหม้ คี วามรู้ความ เข้าใจในการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พัฒนาทักษะการสอน เทคนิคการสอน การจัดทำ แผนการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้นักเรียน อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียน คล่อง และมีสมรรถนะการอ่านขั้นสูง เพื่อให้ผู้เรียนเป็น คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตใน ศตวรรษท่ี 21 เป็นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเด็น การพฒั นาการเรยี นรู้ (1) เปา้ หมายระดบั ประเดน็ (Y2) ขอ้ 1 คนไทยมกี ารศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมีประสิทธผิ ลเพ่มิ ขน้ึ มนี ิสัยใฝเ่ รียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวิต [ 184 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของแผนแม่บท ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้ ซ่ึงเปน็ การพฒั นาครูผสู้ อนภาษาไทยใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจในการจดั การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พัฒนาทักษะการสอน เทคนิคการสอน การจัดทำแผนการเรียนรู้ วิธีการจัดการ เรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้นักเรียน อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคลอ่ ง และมีสมรรถนะการอ่าน ขั้นสูง เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็น ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรบั ตวั สื่อสาร และทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธผิ ล เพิม่ ขึน้ มีนสิ ัยใฝ่ เรยี นรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิต (3) ตวั ช้วี ดั 1. คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉล่ยี ) 2. อนั ดับขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศด้านการศึกษา (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมื่อเสร็จสนิ้ โครงการ 1. เฉลย่ี 470 คะแนน โดย 1.1. ตวั ช้วี ดั เชิงปรมิ าณ คอื 1.1.1. รอ้ ยละ 90 ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 อา่ นออกเขยี นได้ 1.1.2. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษา ปที ี่ 4-6 อ่านคล่อง เขยี นคลอ่ ง 1.1.3. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ สามารถใชภ้ าษาไทยติดตอ่ ส่ือสารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 1.1.4. รอ้ ยละ 80 ของครผู ูส้ อนภาษาไทยทีม่ นี วัตกรรมหรือสอื่ ทพี่ ฒั นาการอ่านการเขียน 2. ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ คอื ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสาระภาษาไทย RT NT และ O-Net สูงขน้ึ ร้อยละ 3 3. อันดับท่ี 45 โดย 3.1. ตัวช้วี ดั เชิงปริมาณ คือ 3.1.1. รอ้ ยละ 90 ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท1่ี -3 อ่านออกเขยี นได้ 3.1.2. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษา ปที ่ี 4-6 อ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง 3.1.3. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ สามารถใช้ ภาษาไทยติดต่อสื่อสารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3.1.4 ร้อยละ 80 ของครผู สู้ อนภาษาไทยทม่ี นี วัตกรรมหรือสอ่ื ท่ีพัฒนาการอา่ นการเขยี น 3.2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย RT NT และ O-Net สงู ขึน้ ร้อยละ 3 แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนยอ่ ย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะการเรยี นรู้ และทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นร้อู ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวิตดีขึ้น (2) [ 185 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการมีกิจกรรมที่พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน ทำให้ผู้เรียน มีทักษะการอ่านการเขียน มี สมรรถนะการอ่านขั้นสูง มีทักษะการคิดวิเคราะห์ มีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่ จำเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเข้าถึง การเรียนรู้อย่าง ต่อเนือ่ ง ตลอดชีวติ ดีข้นึ (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ผสู้ อน (คร/ู อาจารย)์ (120101V02) F (ปจั จัย) ผู้สอนยุคใหมท่ ่ีมที กั ษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ตี อบสนองต่อความต้องการ ของประเทศ (ปริมาณ/คุณภาพ) (120101F0201) (4) แนวทางการพัฒนา (2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัด กิจกรรมเสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและ วิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรมีคุณลักษณะที่มีชีวิต มีพลวัต มีปฏิสัมพันธ์ การเชื่อมต่อและ มีส่วนร่วม (5) ตวั ชี้วดั 1. สัดส่วนครูผ่านการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุ่มโรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเข้าเรยี นสทุ ธริ ะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (6) Contribution ต่อเปา้ หมายเมือ่ เสรจ็ สน้ิ โครงการ 1. รอ้ ยละ 50 โดย 1.1. ตัวชี้วัดเชิงปรมิ าณ คอื 1.1.1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 อ่านออกเขยี นได้ 1.1.2. ร้อยละ 70 ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา ปที ่ี 4-6 อ่านคล่อง เขียนคล่อง 1.1.3. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ สามารถใช้ภาษาไทยตดิ ต่อส่ือสารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 1.1.4. ร้อยละ 80 ของครผู ู้สอนภาษาไทยทมี่ นี วัตกรรมหรือสื่อ ทีพ่ ัฒนาการอา่ นการเขยี น 1.2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย RT NT และ O-Net สงู ขนึ้ รอ้ ยละ 3 2. ลดลงร้อยละ 20 โดย 2.1. ตัวชว้ี ัดเชงิ ปริมาณ คอื 2.1.1. รอ้ ยละ 90 ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 อา่ นออกเขียนได้ 2.1.2. ร้อยละ 70 ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษา ปที ี่ 4-6 อา่ นคลอ่ ง เขยี นคล่อง 2.1.3. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ สามารถใช้ ภาษาไทยตดิ ต่อส่ือสารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.1.4 รอ้ ยละ 80 ของครผู สู้ อนภาษาไทยท่ีมีนวัตกรรมหรือส่อื ทพ่ี ัฒนาการอา่ นการเขยี น [ 186 ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook