Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2023-03-08 02:32:25

Description: 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2.2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย RT NT และ O-Net สูงขน้ึ ร้อยละ 3 3. รอ้ ยละ 80 โดย 3.1. ตวั ชว้ี ดั เชงิ ปริมาณ คอื 3.1.1. ร้อยละ 90 ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 อา่ นออกเขียนได้ 3.2.1. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี 4-6 อา่ นคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง 3.1.3. ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และ สามารถใช้ ภาษาไทยติดต่อสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3.1.4. รอ้ ยละ 80 ของครผู สู้ อนภาษาไทยท่ีมีนวัตกรรมหรือสื่อ ท่พี ัฒนาการอ่านการเขียน 3.2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระภาษาไทย RT NT และ O-Net สงู ขึ้นร้อยละ 3 2. ความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 2 เรอื่ ง คนในสงั คมไทยทกุ ช่วงวยั มีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น 2) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนษุ ย์ - เปา้ หมายท่ี 2 คนในสังคมไทยทกุ ช่วงวยั มที ักษะ ความรู้ และความสามารถเพ่ิมข้นึ - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการ ดำรงชวี ติ อย่างมีคุณคา่ - พัฒนาเด็กวยั เรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทักษะการทำงานและการใช้ชวี ิตทีพ่ ร้อมเขา้ สูต่ ลาดงาน 3. ความสอดคล้องกบั แผนความมนั่ คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมนั่ คงแหง่ ชาติ ข้อที่ - 2) ประเดน็ ขอ้ ท่ี - แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลัก หัวข้อ มุง่ เนน้ การพัฒนาโรงเรยี นควบคู่กับการพัฒนาครู  นโยบายเรง่ ด่วน หัวขอ้ การเตรียมคนไทยสูศ่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง - มติ ครม.ทเ่ี กย่ี วข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธิการ - [ 187 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน - นโยบายจงั หวดั  ประเดน็ การพฒั นา การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ส่วนท่ี 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล ตามทีแ่ ผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติท่ี 12 ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้ ไดก้ ำหนด เป้าหมายให้คนไทย มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็น ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการ แก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต และในแผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ได้ กำหนดเปา้ หมายของการพฒั นาไว้วา่ “คนไทยได้รับการศึกษาทมี่ คี ุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการเรยี นรู้ และ ทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตดีขึ้น” ทั้งนี้สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดเป้าหมายของการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยไวว้ า่ “ปีการศึกษา 2564 เด็กไทยวิถีใหม่อ่านออกเขียนได้ทุกคน” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 จงึ กำหนดนโยบายการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาให้นักเรียนอ่านออก เขยี นได้ อา่ นคล่อง เขยี น คล่อง สื่อสารได้ มีทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ ตามช่วงวัย และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และจากผลการ ทดสอบการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ของนักเรียนในเขตพื้นที่การศกึ ษา พบว่ายงั มกี ลุ่มนักเรียน ทีม่ ีผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับปรบั ปรุง ทีต่ อ้ งได้รับการพฒั นาให้มีทกั ษะการอ่านการเขยี นให้สูงขึ้น ประกอบกับ ในยุคปจั จบุ นั เป็นยุคข้อมลู ขา่ วสาร ที่ต้องใช้ทกั ษะการอ่าน คดิ วิเคราะห์ ในการแสวงหาความรู้ สร้างนิสัยรักการ อา่ นและนำความรูท้ ีไ่ ด้จากการอ่านมาประยุกต์ออกแบบผลงานเชงิ สรา้ งสรรค์ และนำเสนอ เขียน สื่อสารแนวคิด ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจ เพื่อให้สอดคล้องกับความสำคัญจำเป็นดังกล่าว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรียน อา่ นออกเขยี นได้ อ่านคลอ่ งเขยี นคลอ่ งเพ่อื ยกผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสาระภาษาไทย ขนึ้ 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาให้ครูผู้สอนภาษาไทยมีความรู้ ทักษะ เทคนิคการสอน การจัดทำแผนการเรียนรู้ วิธีการใน การจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้นักเรียน อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง และมี สมรรถนะการอ่านข้นั สงู 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 3.1.1 ร้อยละ 90 ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 อ่านออกเขียนได้ 3.1.2 รอ้ ยละ 70 ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษา ปที ่ี 4-6 อ่านคล่อง เขียนคล่อง 3.1.3 ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสามารถใช้ ภาษาไทยตดิ ต่อสอ่ื สารได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.1.4 รอ้ ยละ 80 ของครผู ู้สอนภาษาไทยที่มีนวัตกรรมหรือส่อื ทีพ่ ัฒนาการอา่ นการเขียน [ 188 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome 3.2.1 ผลการประเมินระดับชาติ RT ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สูงกวา่ คา่ เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 3.2.2 ผลการประเมินระดบั ชาติ NT ดา้ นภาษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 สงู กวา่ ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3.2.3 ผลการประเมินระดับชาติ O-Net วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าค่าเฉล่ีย ระดบั ประเทศ 4 . ผลที่คาดวา่ จะเกดิ 4.1 นักเรยี นมนี สิ ัยรกั การอ่าน 4.2 นกั เรยี นมสี มรรถนะการอา่ นสงู ขึน้ 5. ดชั นชี ้วี ัดความสำเร็จ 5.1 ตัวช้ีวดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 ร้อยละ 90 ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 -3 ในสงั กดั อ่านออกเขยี นได้ 5.1.2 รอ้ ยละ 70 ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษา ปที ี่ 4-6 ที่อา่ นคล่อง เขยี นคล่อง 5.1.3 ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 ที่อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสามารถใช้ ภาษาไทยติดตอ่ ส่อื สารได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5) ร้อยละ 80 ของครทู มี่ นี วตั กรรม/ส่ือ ที่พัฒนาการอา่ นการเขียน 5.2 ตัวช้ีวดั เชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละ 70 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 ที่อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสามารถใช้ ภาษาไทยติดต่อสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5.2.2 รอ้ ยละ 80 ของครูที่มนี วัตกรรม/สื่อ ทพี่ ัฒนาการอา่ นการเขียน 6. การวเิ คราะห์ความเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเส่ยี ง - 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง - 6.3 แผนรองรบั ความเสี่ยง - 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ 1) ครูผู้สอนสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ทุกคน 2) นักเรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ทุกคน 8. พ้นื ทกี่ ารดำเนนิ การ โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรยี น (อำเภอเมืองสพุ รรณบุรี อำเภอบางปลามา้ และอำเภอศรปี ระจนั ต)์ 9. ระยะเวลาดำเนิน ตลุ าคม พ.ศ. 2565 – กันยายน 2566 [ 189 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ - ไตรมาสที่ 1 -- – -- - -- - -- รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสที่ 1 -- ไตรมาสที่ 2 กิจกรรมเพิม่ ศักยภาพการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทย 135 ร.ร. - 1. คัดกรองความสามารถในการอ่านเขียนของนกั เรยี น เพอื่ พ้ืนฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน Learning Loss รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 2 - -- - ไตรมาสที่ 3 กจิ กรรมเพ่ิมศักยภาพการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทย 135 ร.ร. - 20,000 5,000 25,000 1. ประชุมปฏิบัติการเทคนคิ การจัดการเรยี นรเู้ พ่ือให้ นกั เรยี นอ่านออกเขยี นได้ การอา่ นจับใจความสำคัญ และ พฒั นาสมรรถนะการอ่านขัน้ สงู 2. สนบั สนุนและพัฒนาสือ่ เพื่อเพมิ่ ศกั ยภาพการอ่านการ เขยี นภาษาไทย 2.1 สร้างและพฒั นาแบบฝกึ คัดลายมือ 5,000 เล่ม - - - 2..2จัดทำบทอาขยาน 1 ชดุ - - - - 5,000 2.3 จัดส่งส่ือให้โรงเรยี น - 20,000 3. กจิ กรรมแขง่ ขันทกั ษะภาษาไทย ชนั้ ป. 1- ม.3 เนอื่ ง 135 ร.ร. 25,000 ในสปั ดาหว์ ันภาษาไทยแห่งชาติ 4.นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม 135 ร.ร. - -- - รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 3 40,000 10,000 50,000 ไตรมาสที่ 4 1. รายงานผลการดำเนนิ งาน 3 เล่ม 0 00 0 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 4 รวมงบประมาณท้งั สิ้น 40,000 10,000 50,000 (รองบประมาณ) [ 190 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 50,000 บาท (รองบประมาณ) 2) งบ สพฐ. - บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณท้ังหมด 50,000 บาท (รองบประมาณ) แหลง่ เงิน เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ เงินรายได้ของหนว่ ยงาน เงนิ กู้ อนื่ ๆ ในประเทศ นอกประเทศ - 50,000 บาท - -- ไตรมาส 4 - บาท (รองบประมาณ) 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท - บาท 50,000 บาท (รองบประมาณ) ส่วนที่ 6 : ขอ้ มูลผปู้ ระสานงาน ชื่อ-สกุล นางเกสรา อารยะจารุ โทรศพั ท์ 08 1736 8561 E-mail address kesaraya2210@gmail.com โทรสาร - [ 191 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มูลท่วั ไป 1. ชอ่ื โครงการ พัฒนาการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและส่งเสรมิ ครูตน้ แบบการจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการทักษะชีวิต ภายใตแ้ ผนงาน พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทใี่ ชง้ บประมาณ  โครงการท่ไี ม่ใช้งบประมาณ 3.วิธีการดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4.สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนินการ  ยงั ไม่เริม่ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ สว่ นที่ 2 : ความเชอ่ื มโยงกับแผนในระดับต่างๆ แผนระดบั ท่ี 1 1.ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนษุ ย์ (1) เป้าหมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรบั วถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 2. การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต ข้อยอ่ ย 2.2 ชว่ งวัยเรยี น / วยั รุ่น (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติ (อธิบายความสอดคลอ้ ง) สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ขบั เคลือ่ นพัฒนาการจัดกจิ กรรมพัฒนา ผู้เรยี นและสง่ เสรมิ ครตู ้นแบบการจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการทักษะชีวติ เพื่อพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ และให้ ผ้เู รียนในสังกดั เปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 แผนระดบั ท่ี 2 1. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิม่ ข้ึน มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลเพิ่มขึน้ มนี สิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มุ่งเน้นพัฒนาการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน และส่งเสริมครูต้นแบบการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต ให้ผู้เรียนในสังกัดมีการศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากลเพิม่ ขึ้น มีทักษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรบั ตัว สือ่ สาร และ ทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ลเพิ่มขึน้ มนี ิสยั ใฝ่เรียนร้อู ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ [ 192 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3) ตัวชวี้ ดั 1. คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ (คะแนนเฉล่ยี ) 2. อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศด้านการศกึ ษา (4) Contribution ตอ่ เป้าหมายเม่อื เสรจ็ สน้ิ โครงการ 1. คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เฉล่ยี 470 คะแนน 2. อันดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศดา้ นการศกึ ษาอนั ดับท่ี 45 แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทักษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ ดีขึน้ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคลอ้ ง) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณนรี เขต 1 มุ่งเน้นพัฒนาการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมครตู ้นแบบการจดั กรีเรยี นรู้บรู ณาการทักษะชวี ิต ให้ผู้เรียนในสั่งกัดได้รับการศกึ ษาท่มี ี คณุ ภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะท่จี ำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้ อย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิตดขี น้ึ (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) ผสู้ อน (คร/ู อาจารย์) F (ปัจจัย) ผู้สอนยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประเทศ (ปรมิ าณ/คณุ ภาพ) (4) แนวทางการพัฒนา พัฒนากระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนทกุ ระดบั การศึกษา รวมถงึ จดั กิจกรรม เสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทกั ษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพ่ือ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรมีคณุ ลกั ษณะท่ีมีชีวติ มีพลวตั มีปฏสิ มั พนั ธ์ การเชื่อมตอ่ และมีส่วนร่วม (5) ตวั ชว้ี ดั 1. สดั สว่ นครูผา่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สูงตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกลุม่ โรงเรยี นลดลง 3. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสรจ็ ส้นิ โครงการ 1. สัดสว่ นครผู า่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดบั สงู ตามมาตรฐานนานาชาติ รอ้ ยละ 50 2. อัตราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลมุ่ โรงเรยี นลดลงรอ้ ยละ 20 3. อัตราการเข้าเรียนสทุ ธริ ะดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ร้อยละ 80 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 1 เรอื่ ง คนไทยมคี ุณลกั ษณะเปน็ คนไทยสมบูรณ์ 2) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ [ 193 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปา้ หมายท่ี 3 คนไทยมกี ารศกึ ษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานสากลและมคี วามสามารถ เรียนรู้ ด้วย ตนเองอย่างต่อเนือ่ ง - แนวทางพัฒนา ข้อท่ี 3. ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต พฒั นาระบบ ประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ต่ละระดบั การศึกษา 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแห่งชาติ 1) แผนความมนั่ คงแหง่ ชาติ ข้อท่ี - 2) ประเด็น ขอ้ ท่ี – แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาล ✓ นโยบายหลกั หัวขอ้ - มุง่ เนน้ การพัฒนาโรงเรยี นควบคกู่ บั การพฒั นาครู ✓ นโยบายเร่งด่วน หัวข้อ - การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง - มติ ครม.ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธิการ - นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน - นโยบายจังหวดั ✓ ประเดน็ การพฒั นา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตุผล ตามนโยบายหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ พฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8 ประการ ใหเ้ กิดขึ้นกับ ผู้เรยี นทกุ คน และต้องกรให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้อยา่ งมี ความสุข ป้องกันตัวเองจากยาเสพตดิ เห็นคณุ ค่าในตวั เอง มีมนุษยสมั พนั ธท์ ีด่ ี เอือ้ อาธรผ้อู นื่ ยอมรับความคิด ความแตกตา่ ง รู้คุณค่าส่งิ แวดลอ้ ม เรยี นรู้ร่วมกนั เป็นกลุ่ม วางแผนการทำงาน ทำงานอยา่ งมีความสุข ทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้ ดังนั้นโรงเรียน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมและตอบสนอง ให้รู้จักและใช้ประโยชน์จากแหล่ง เรียนรู้ ให้มีกิจกรรมเสริมในหลักสูตร เช่น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ -ยุวกาชาด กิจกรรมชุมนุม [ 194 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเสริมนอกหลักสูตร เช่น กิจกรรมเสริมสร้างวินัย กิจกรรม ส่งเสริมความสามารถด้านดนตรี กีฬาและศลิ ปะ การจัดกิจกรรมเสริมทงั้ หมดน้ี เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้รับการพัฒนา ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่ เข้มแข็ง เพื่อให้นักเรียนได้รับการดูแล ช่วยเหลือ พิทักษ์ ปกป้อง และคุ้มครองในทุกมิติอย่างครบถ้วน เหมาะสม ทั่วถึง และทันเหตุการณ์ โดยคาดหวังให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีวิต สามารถประกอบอาชีพและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและปลอดภัยซึ่งสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานได้สนับสนนุ และส่งเสรมิ การดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น โดยมีสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา นิเทศ กำกับติดตาม และเร่งรัดให้เกิดการขับเคลื่อน เรื่องดังกล่าวอย่างเข้มแข็ง ต่อเนื่อง และยั่งยืน สำหรับด้านวิชาชีวิต หรือ “ทักษะชีวิต” เป็นความสามารถของบุคคลที่จะจัดการกับปัญหาต่างๆ รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมความพร้อมสำหรับการปรับตัวในอนาคตในกรณีที่อาจจะประสบ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในชีวิต จึงถือได้ว่าเป็นกลไกสำคัญในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันภัยทางสังคมให้แก่เด็ก และเยาวชนได้เป็นอย่างดียิ่ง ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดทักษะชีวิตไว้ 4 องค์ประกอบ คือ การตระหนักรู้และเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อื่น การคดิ วิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหา อยา่ งสรา้ งสรรค์ การจดั การกับอารมณ์และความเครียด และการสร้างสมั พนั ธภาพทดี่ ีกบั ผอู้ ืน่ เพ่ือใช้ในการบรู ณาการ ในการจัดการเรยี นการสอนและเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ใหก้ ับนักเรียน เดก็ ทุกคนมคี วามสำคญั ต่อการพัฒนาประเทศชาติ ถ้าเดก็ มีวนิ ัย มคี ณุ ธรรม มีสติปญั ญาจะเป็นประชากร ทม่ี คี ณุ ภาพในอนาคต เป็นกำลังสำคญั ในการพัฒนาทกุ ๆ ดา้ นของประเทศชาตใิ ห้มีความเจริญก้าวหน้าอย่าง มนั่ คงและถาวรด้วยเหตุผลดงั กลา่ วจงึ ได้จัดทำโครงการนี้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพอื่ พัฒนาบุคลากรให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจที่ถกู ตอ้ งเกี่ยวกับการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในโรงเรียน และรองรบั การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 2.2 เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการบรู ณาการทกั ษะชวี ิตในการจดั การเรียนร้แู ละจดั กจิ กรรมเพ่ือการเสรมิ สรา้ งทักษะ ชีวติ นกั เรยี นสูก่ ารปฏิบตั ิของครูให้บังเกดิ ผลเป็นรปู ธรรมและตอ่ เนื่องส่คู วามยั่งยนื 2.3 เพ่อื ยกยอ่ งครูท่ปี ฏบิ ตั งิ านด้านการเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตให้นักเรียนเปน็ ทป่ี ระจักษ์ 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลติ (Output) 3.1.1 ผู้บริหารโรงเรียน หรือหัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความ เขา้ ใจ สามารถจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ในโรงเรียนได้ 3.1.2 ครูผู้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ การบูรณาการ ทกั ษะชวี ิตในการจัดการเรียนรแู้ ละจดั กจิ กรรมเพือ่ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิตใหก้ บั นกั เรยี นได้ [ 195 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 โรงเรียนในสังกัด สามารถกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ 3.2.2 ครูผู้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนในสังกัด สามารถจัดกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้าง ทักษะชีวติ ใหก้ ับนกั เรยี นได้ 3.2.3 ครูผู้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนในสังกัดส่งผลงานเข้าร่วมการคัดเลือกครูต้นแบบ การจัดการเรยี นรบู้ รู ณาการทกั ษะชวี ติ ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 4. ผลท่คี าดวา่ จะเกดิ 4.1 ผ้บู ริหาร หรือหัวหน้ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน มีความรูค้ วามเขา้ ใจ สามารถจดั กจิ กรรมกจิ กรรมพฒั นา ผเู้ รียนในโรงเรียนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและมปี ระสทิ ธิภาพ 4.2 ครูผ้จู ัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นของโรงเรยี นในสังกัดผ่านการคดั เลือกเป็นครตู ้นแบบการจัดการเรียนรู้ บูรณาการทกั ษะชีวิตของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 5. ดัชนีช้วี ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตวั ชี้วดั เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 ร้อยละของสถานศึกษา ที่สามารถจัดกิจกรรมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในโรงเรียนได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 5.1.2 ร้อยละครูผู้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนในสังกัด ท่ีจัดกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้าง ทกั ษะชีวิตให้กับนกั เรยี นได้ 5.2 ตวั ช้ีวดั เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ 5.2.2 ครูผู้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรมเพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต ให้กบั นกั เรยี นได้ 6. การวิเคราะห์ความเสยี่ งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเสี่ยง 6.1.1 ความพรอ้ มในการจดั กิจกรรมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 6.1.2 ความพร้อมในการจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตใหก้ ับนักเรยี น 6.2 ผลกระทบความเสย่ี ง 6.2.1 สถานศึกษาจัดกิจกรรมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไม่เป็นไปตามแนวทางของหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนด 6.2.2 สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนไม่เป็นไปตามแนวทางที่สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (สพฐ.) กำหนด [ 196 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6.3 แผนรองรบั ความเส่ียง 6.3.1 กระตุ้น ส่งเสริม สถานศึกษาให้จัดกิจกรรมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง และมีประสทิ ธภิ าพ 6.3.2 เตรียมการปรับรูปแบบ และวิธีการดำเนินการให้ครอบคลุมและยืดหยุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ผู้บริหาร หรือหัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและครูผู้จัดกิจกรรม พัฒนาผเู้ รียนเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ ให้กบั นกั เรยี นของโรงเรียนในสังกัด 8. พ้นื ทีก่ ารดำเนินการ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทั้ง 3 อำเภอ คือ อำเภอ เมอื งสพุ รรณบุรี อำเภอบางปลาม้า และอำเภอศรปี ระจนั ต์ 9. ระยะเวลาดำเนนิ ตุลาคม พ.ศ. 2565 - กนั ยายน พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รายละเอียดกจิ กรรม - 135 โรงเรียน - -- - ไตรมาสท่ี 1 135 โรงเรยี น - -- - - -- - รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 1 - - 5,000 ไตรมาสท่ี 2 135 โรงเรยี น. - - รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 กจิ กรรมที่ 1 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น และส่งเสริมครตู ้นแบบการ จดั การเรยี นรู้บูรณาการทกั ษะชวี ติ ของสำนกั งานเขต พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 กจิ กรรมท่ี 2 นเิ ทศ กำกับ ติดตามการจดั กิจกรรม พัฒนาผ้เู รียน และการจดั การเรียนรู้บูรณาการทกั ษะ ชวี ติ รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4 กิจกรรมที่ 2 นเิ ทศ กำกับ ติดตามการจัดกจิ กรรม พฒั นาผ้เู รียน และการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการทกั ษะ ชวี ติ [ 197 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ - กิจกรรมที่ 3 สรุปและรายงานผลการพัฒนาการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น และส่งเสริมครตู น้ แบบการ 20 เล่ม - - 5,000 จัดการเรยี นรูบ้ รู ณาการทักษะชีวติ ของสำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 - - 10,000 10,000 รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 4 - - 10,000 10,000 รวมงบประมาณทง้ั ส้นิ รองบประมาณ ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 10,000 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้งั หมด 10,000 แหล่งเงนิ งบประมาณทีห่ นว่ ยงาน งบประมาณทขี่ อผา่ น เงินกู้ งบประมาณจากแหลง่ อืน่ ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หนว่ ยงานอ่ืน ในประเทศ นอกประเทศ 10,000 บาท (รองบประมาณ) - -- 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - - 10,000 บาท พ.ศ. 2566 - (รองบประมาณ) สว่ นที่ 6 : ข้อมลู ผู้ประสานงาน โทรศพั ท์ 09 8249 8914 ช่ือ-สกุล นางสาวภัทรฒั ณ์ ศรีทองสขุ โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address puttarut.sp1@gmail.com [ 198 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ขอ้ มูลทว่ั ไป 1. ชื่อโครงการ พฒั นากลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา (สง่ เสรมิ การจดั กระบวนการเรียนร้เู พศวถิ ีศึกษา) ภายใต้แผนงาน พนื้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทีใ่ ชง้ บประมาณ  โครงการที่ไม่ใช้งบประมาณ 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยู่ระหวา่ งดำเนนิ การ  ยงั ไมเ่ ริ่มดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสร็จแล้ว ส่วนที่ 2 : ความเช่ือมโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1.ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์ (1) เป้าหมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรบั วถิ ชี วี ิตในศตวรรษท่ี 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.1การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ ใหเ้ อือ้ ต่อการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพศวิถีศึกษา) เพ่ือ ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาการจัดกระบวนการ เรยี นรู้เพศวิถีศึกษาในสถานศึกษา ในการ ดำเนนิ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศวิถศี ึกษา ตลอดจนการปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น อันจะส่งผลต่อ การพัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ของผูเ้ รียนพรอ้ มสำหรบั วิถชี ีวิตในศตวรรษท่ี 21 แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1.คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ อย่างมีประสิทธผิ ลเพ่ิมขนึ้ มีนสิ ยั ใฝ่เรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต [ 199 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพศวิถีศึกษา) เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาการจัดกระบวนการ เรียนรู้เพศวิถีศึกษาในสถานศึกษา ในการ ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา ตลอดจนการป้องกัน และแก้ไขปญั หาการตั้งครรภใ์ นวยั รุ่น อันจะส่งผลต่อ การพัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผูเ้ รียนพรอ้ มสำหรับวถิ ชี วี ิตในศตวรรษที่ 21 สามารถในการแกป้ ญั หา ปรับตวั สือ่ สาร และทำงานร่วมกับ ผู้อนื่ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิผลเพ่ิมขนึ้ มีนสิ ยั ใฝเ่ รียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต (3) ตัวช้วี ัด 1. คะแนน PISA ดา้ นการอ่าน คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (คะแนนเฉลยี่ ) 2. อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศดา้ นการศกึ ษา (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเม่อื เสร็จส้ินโครงการ 1. เฉลยี่ 470 คะแนน 2. อนั ดับที่ 45 แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้และทกั ษะท่จี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่21 สามารถ เข้าถงึ การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิตดขี ้ึน (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคล้อง) นักเรียนได้รับการปลูกฝังศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามทุกช่วงวัย มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น และมีทักษะการดำเนินชีวิต สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข ทำให้มีสมาธิในการเรียนไม่มีปัญหามารบกวนจิตใจ นกั เรยี นสามารถใหค้ วามสนใจ ใสใ่ จในการเรยี นได้อย่าง เต็มทีม่ ีความพร้อมท้ังกาย ใจ สตปิ ญั ญา มีพัฒนาการ ทีด่ ีรอบด้าน มหี ลักคิดท่ที ถ่ี กู ตอ้ ง และมีทักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) การบริหารจดั การระบบการเรียนรู้ (12010 1V04) F (ปจั จยั ) การติดตาม วัดและประเมินผลทางการศกึ ษา (120101F0405) (4) แนวทางการพัฒนา - (5) ตัวชว้ี ดั - (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเมือ่ เสรจ็ สิน้ โครงการ - 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 1 เรื่อง คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ 2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ - เป้าหมายท่ี 1 คนไทยสว่ นใหญ่มีทศั นคติและพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานท่ดี ขี อง สงั คม [ 200 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - แนวทางพัฒนา ขอ้ ท่ี 1. ปรับเปลีย่ นคา่ นิยมคนไทยใหม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม มวี ินัย จิตสาธารณะ และ พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ - ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรยี นการสอนท้ังในและนอกห้องเรียนท่สี อด แทรก คณุ ธรรมจริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ 4. ความสอดคล้องกบั แผนความม่ันคงแห่งชาติ 1) แผนความมั่นคงแห่งชาติ ขอ้ ท่ี - 2) ประเด็น ขอ้ ท่ี - แผนระดับท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หัวขอ้ มุ่งเนน้ การพัฒนาโรงเรยี นควบคกู่ ับการพัฒนาครู  นโยบายเร่งดว่ น หัวข้อ การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - มติ ครม.ท่เี กย่ี วข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. การจัดการศกึ ษาเพือ่ ความปลอดภยั 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวก และสรา้ งสรรค์ พร้อมทง้ั หาแนวทางวธิ ีการปกปอ้ งคมุ้ ครองต่อสถานการณ์ทเี่ กดิ ข้นึ กับผเู้ รยี น ครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 1. ดา้ นความปลอดภยั 1.1 พฒั นาสถานศกึ ษาให้เปน็ พนื้ ทป่ี ลอดภยั ของผูเ้ รยี นทุกคน พรอ้ มเสรมิ สรา้ งระบบและกลไกในการดแู ล ความปลอดภัยอยา่ งเขม้ ขน้ ใหก้ ับผ้เู รยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา จากโรคภัยตา่ ง ๆ ภัยพบิ ัติและภยั คุกคาม ทุกรูปแบบ นโยบายจงั หวดั  ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน [ 201 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ มาตรา 54 บัญญัติว่า “รัฐต้อง ดำเนินการให้เด็ก ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคับอย่างมี คณุ ภาพโดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ ่าย” ตลอดจนสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ของยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการ วางรากฐานการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็น ระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคน ในทุกมิติและในทุกช่วงวัย ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดีเก่งและมีคุณภาพ พร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไปข้างหน้าได้อย่างเต็ม ศักยภาพ ซ่ึง “คนไทยในอนาคต จะต้องมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการ ที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์อดออม โอบออ้ มอารีมีวินัย รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติมีหลักคดิ ที่ถกู ตอ้ ง มที ักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่นมีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนา เพ่ือ สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นโยบายท่ี 3 ด้านการพัฒนา และสร้างเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรีเขต 1 เปน็ หน่วยงานตน้ สังกัด มีเขตพ้ืนทรี่ ับผดิ ชอบโรงเรยี นในจงั หวัดสุพรรณบุรีจำนวน 3 อำเภอ (อำเภอเมือง อำเภอบางปลาม้า อำเภอศรีประจันต์) จำนวน 135 โรงเรียน ได้แก่อำเภออำเภอเมือง จำนวน 57 โรงเรียน อำเภอบางปลาม้า จำนวน 47 โรงเรียน และอำเภอศรีประจันต์ จำนวน 31 โรงเรียน จึงมีความ จำเป็นท่ีจะต้องดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล จัดการสุขภาวะในสถานศึกษา กิจกรรมการ เรยี นการสอนที่เกี่ยวข้องเหมาะสม การประสานความร่วมมือกบั เครือขา่ ย รวมถงึ การจดั ทำขอ้ มูล สารสนเทศ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมลี ักษณะนิสัย มีความรักในสุขภาพและพลานามยั และพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความ เป็นเลิศ ตลอดจน การพัฒนาส่งเสริม แก้ไขปัญหา ในการดูแลช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษา ซ่ึงตั้งครรภ์อันไม่พึงประสงค์รวมทั้งประสานงานและร่วมมือ กับแพทย์นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกระบวนการ ยตุ ิธรรม หรือผูซ้ งึ่ เก่ียวขอ้ ง เพ่ือให้การดูแลชว่ ยเหลือ และคุ้มครองนกั เรียนหรือ นกั ศึกษาซง่ึ ต้ังครรภ์ให้เปน็ ไปตาม นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อสง่ เสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้เพศวิถศี ึกษาในสถานศกึ ษา ในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 2.2 นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมนิ ผล สถานศกึ ษาในการดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศวถิ ี ศกึ ษา ตลอดจนการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น [ 202 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.3 จัดทำและดูแลฐานข้อมูลครูที่ลงทะเบียนเรียนผ่านโปรแกรมพัฒนาครูเพศวิถีศึกษาแบบออนไลน์ และโรงเรียนทจี่ ัดการเรยี นการสอนเพศวิถีศึกษา 3. เป้าหมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลติ (Output) ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ผ่านโปรแกรม พฒั นาครูเพศวถิ ศี ึกษาแบบออนไลน์ รอ้ ยละ 80 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) นักเรียนทุกชว่ งวยั มคี วามรู้ความสามารถ และทักษะในการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการต้ังครรภ์ใน วยั รุ่นได้ 4. ผลท่ีคาดว่าจะเกดิ 4.1 ครูกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา มคี วามรู้ความสามารถ มที ักษะ เทคนิคการสอน การ จดั ทำแผนการเรียนรู้ วธิ ีการในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศวถิ ีศึกษา 4.2 นักเรียนมีทักษะ การดำเนินชีวิต สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข รู้จักการ ป้องกันตนเองและปลอดภยั จากการตดิ โรคจากการมเี พศสัมพนั ธไ์ ด้ 4.3 โรงเรียนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพศวิถีศกึ ษา 6 มติ ไิ ด้ 5. ดัชนชี ว้ี ัดความสำเร็จ 5.1 ตวั ช้ีวัดเชิงปริมาณ ครูและบุคลากรทางการศึกษาการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา ตลอดจนการป้องกนั และแก้ไขปัญหา การต้ังครรภใ์ นวัยรุ่น ในสถานศกึ ษาไดค้ รบทุกโรงเรียน 5.2 ตัวชีว้ ดั เชงิ คณุ ภาพ นักเรียนมีความรู้ความสามารถ และทักษะในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภใ์ นวยั รุ่นได้ 6. การวเิ คราะหค์ วามเสีย่ งของโครงการ 6.1 ปัจจยั ความเส่ียง 6.1.1 ครไู มน่ ำความรทู้ ่ีได้รบั ไปจัดการเรยี นรู้ใหก้ ับนกั เรียน 6.2 ผลกระทบความเสยี่ ง 6.2.1 นกั เรียนขาดความร้คู วามสามารถ และทกั ษะในการป้องกันและแก้ไขปญั หาการต้ังครรภ์ในวยั รนุ่ 6.3 แผนรองรบั ความเสยี่ ง 6.3.1 นเิ ทศติดตาม และรายงานผลเป็นระยะ ๆ [ 203 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณ เขต 1 8. พ้นื ทก่ี ารดำเนินการ อำเภอเมอื งสุพรรณบรุ ี อำเภอศรปี ระจนั ต์ อำเภอบางปลาม้า 9. ระยะเวลาดำเนนิ เมษายน 2566 - กนั ยายน 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ - - ไตรมาสที่ 1 -- 4,000 4,000 - -- 1,000 4,000 รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสที่ 1 - 4,000 1,000 1,000 5,000 ไตรมาสที่ 2 1,000 - 5,000 รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 2 - ไตรมาสท่ี 3 ประชมุ ปฏบิ ัติการ สรา้ งความรู้ความเข้าใจในการจดั การ เรียนรู้เพศวิถศี ึกษาแก่ครกู ลุ่มสาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและ พลศกึ ษา รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 1. นเิ ทศกำกบั และติดตามการจัดการเรียนรู้เพศวิถศี กึ ษา ของโรงเรียน 2. จดั ทำและดูแลฐานข้อมูลครูทลี่ งทะเบยี นเรยี นผ่าน โปรแกรมพัฒนาครเู พศวิถีศกึ ษาแบบออนไลน์และโรงเรียน ท่ีจดั การเรียนการสอนเพศวิถีศกึ ษา 3. สรปุ รายงานผล รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสท่ี 4 รวมงบประมาณทัง้ สน้ิ [ 204 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ - บาท 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 5,000 บาท 2) งบ สพฐ. บาท 3) งบ ................................................ - บาท งบประมาณท้งั หมด 5,000 แหลง่ เงนิ งบประมาณทีห่ น่วยงาน งบประมาณท่ีขอผ่าน เงนิ กู้ งบประมาณจากแหลง่ อน่ื ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หนว่ ยงานอ่ืน ในประเทศ นอกประเทศ 5,000 บาท - -- 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - บาท 4,000 บาท 1,000 บาท พ.ศ. 2566 - บาท ส่วนที่ 6 : ขอ้ มลู ผ้ปู ระสานงาน ชื่อ-สกลุ นางสาวเมทนิ ี ตาตะสมิต โทรศพั ท์ 08 9030 0818 E-mail address spb1maytinee@esdc.go.th โทรสาร 0 3552 1191 [ 205 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 1 : ข้อมลู ท่วั ไป 1. ชือ่ โครงการ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใตแ้ ผนงาน พน้ื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ใี ชง้ บประมาณ  โครงการทไ่ี ม่ใชง้ บประมาณ 3. วิธีการดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนนิ การ  ยงั ไมเ่ ริม่ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสรจ็ แล้ว ส่วนที่ 2 : ความเชอื่ มโยงกบั แผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ (1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวถิ ีชวี ิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็นข้อ การปฏิรูปการเรียนรูปแบบพลิกโฉม ข้อย่อย การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหาร จดั การศกึ ษาในทกุ ระดับ ทกุ ประเภท (3) การบรรลุตามเปา้ หมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ กำกบั ติดตามและประเมินผลของสถานศึกษา ในการจัดกระบวนการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ครู และผเู้ รียน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่มี นุษย์สรา้ งสรรค์ขึ้น พฒั นาคนให้มีความเป็นคน ที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้มีความรู้ มีทักษะ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรม และจรยิ ธรรมอันจะส่งผลตอ่ การพฒั นาสมรรถนะและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 แผนระดบั ท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้ อย่างมปี ระสิทธผิ ลเพม่ิ ขึน้ มีนสิ ยั ใฝ่ เรยี นร้อู ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ [ 206 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) ประเทศไทยมีระบบข้อมลู เพื่อการสง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพตาม พหุปัญญา เพื่อประโยชนใ์ น การพัฒนาและการส่งต่อการพฒั นาใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพเพ่มิ ขนึ้ (3) ตัวชี้วัด สัดส่วนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนที่สร้างสมดุลทุกด้านและมีการจัด การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาพหปุ ญั ญารายบคุ คล (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอ่ื เสรจ็ ส้นิ โครงการ โรงเรียนในสังกัดได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและมี ทักษะทจ่ี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 (เฉล่ยี รอ้ ยละ 80) แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษท่ี 21 (1) เปา้ หมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21 (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพื่อ สง่ เสริม สนับสนุนนิเทศ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผลของสถานศกึ ษาในการจดั กระบวนการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตลอดจน ยกผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อท่ีจะมีความรู้ความ เข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยที ่ีมนุษยส์ รา้ งสรรค์ขึ้นพฒั นาคนให้มคี วามเป็นคนทีส่ มบูรณ์ มวี ินยั ใฝ่รู้มีความรู้ มีทักษะ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรมอันจะส่งผลต่อการ พัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) การบรหิ ารจัดการระบบการเรียนรู้ F (ปจั จยั ) การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (4) แนวทางการพฒั นา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ดำเนินการพัฒนาสถานศึกษาในการจัด กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น พัฒนาคนใหม้ ีความเป็นคนทีส่ มบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้มคี วามรู้ มีทักษะ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบ ตอ่ สังคม มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมอันจะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (5) ตัวชี้วัด สัดส่วนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนที่สร้างสมดุลทุกด้านและมีการจัด การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาพหปุ ญั ญารายบุคคล (6) Contribution ต่อเป้าหมายเมอ่ื เสรจ็ ส้นิ โครงการ โรงเรียนในสังกัดได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและมี ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 (เฉล่ยี ร้อยละ 80) [ 207 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 1 เร่อื ง คนไทยมคี ุณลกั ษณะเปน็ คนไทยทีส่ มบรู ณ์ 2) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์ - เปา้ หมายที่ 1 - แนวทางพัฒนา ขอ้ ท่ี 2. พฒั นาศักยภาพคนให้มที กั ษะความรู้และความสามารถในการ ดำรงชวี ิตอยา่ งมคี ุณคา่ 3. ความสอดคล้องกบั แผนความม่ันคงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแห่งชาติ - 2) ประเด็น ข้อท่ี - แผนระดบั ท่ี 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หวั ขอ้ ม่งุ เนน้ การพัฒนาโรงเรียนควบค่กู บั การพฒั นาครู  นโยบายเร่งดว่ น หวั ข้อ การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง - มติ ครม.ท่ีเกี่ยวขอ้ ง - นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธกิ าร การยกระดับคุณภาพการศึกษา  จดั การเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนสรา้ งความร้ดู ว้ ยตนเอง มุง่ เนน้ กระบวนการเรียนรู้แบบ ถักทอความรู้ ทักษะคุณลักษณะผู้เรยี น ทักษะคุณลกั ษณะผเู้ รียนเขา้ ดว้ ยกนั ด้วยการลงมือปฏิบตั จิ ริง (Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ รวมทัง้ การพัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลเชิงสมรรถนะ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 3. ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้น สมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศกึ ษา ให้สามารถอกแบบหลักสตู รท่ีเหมาะสมกับความตอ้ งการและบรบิ ท นโยบายจงั หวัด  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน [ 208 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตุผล ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580 ) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กำหนดใหม้ ีการพัฒนาเด็ก ให้มสี มรรถนะและคณุ ลกั ษณะท่ีดี สมวยั ทุกดา้ น โดยการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนุษย์ทห่ี ลากหลายมเี ป้าหมายให้ ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผล เป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (co - construction) การรู้คิด (meta - cognition) และการเรียนรู้ผ่านโครงงาน (project approach) ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งจะสามารถช่วย พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ทั้งยังส่งเสริมกระบวนการคิดให้กับ นักเรียนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 โดยกลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การ จัดการศึกษาจึงดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ในการพฒั นาสมรรถนะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีและมกี ารพัฒนาสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 2.2 พัฒนาครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามปรัชญาการเรียนรู้ของโครงการซึ่งได้แก่การเรียนรู้ร่วมกัน (Co - Construction) และ การรูค้ ิด (Meta - Cognition) 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลติ (Output) 3.1.1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3.1.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 135 คน สามารถจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี [ 209 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 โรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ทุกแห่งไดร้ ับการ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3.2.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ผลที่คาดว่าจะเกดิ 1. โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แหง่ ได้รับการพัฒนา คุณภาพการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ดชั นชี ีว้ ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตวั ชี้วัดเชงิ ปรมิ าณ 5.1.1. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ เรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5.1.2. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 135 คน สามารถจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 5.2 ตวั ชว้ี ัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 โรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ทุกแห่งไดร้ ับการ พฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 5.2.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้สามารถจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงปฏิบตั กิ าร (Hands - on) ตามหลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 6. การวิเคราะห์ความเส่ียงของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสีย่ ง 6.1.1 โรงเรยี นขาดแคลนครูตรงวิชาเอกในการจดั การเรยี นการสอน [ 210 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6.2 ผลกระทบความเส่ยี ง 6.2.1 การนเิ ทศไมบ่ รรลุวัตถปุ ระสงค์ 6.3 แผนรองรับความเส่ียง 6.3.1 จัดอบรมครผู ู้สอนทไี่ ม่ตรงวิชาเอก และใหศ้ ึกษาเพิ่มเตมิ จากสือ่ ออนไลน์ 7. กล่มุ เปา้ หมาย/ผู้ทไี่ ดร้ ับประโยชน์ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. พน้ื ท่กี ารดำเนนิ การ อำเภอเมอื ง อำเภอศรปี ระจนั ต์ อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 9. ระยะเวลาดำเนนิ 1 ตลุ าคม 2565 – 30 กนั ยายน 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ - ไตรมาสที่ 1 -- - - -- 3,600 รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสที่ 1 -- 1,200 1,200 6,000 6,000 ไตรมาสที่ 2 9,600 9,600 10,000 - 10,000 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสท่ี 2 -- ไตรมาสที่ 3 กิจกรรมท่ี 1 พฒั นาการจดั การเรยี นร้วู ทิ ยาการคำนวณ โรงเรยี น ขน้ั ตอนการดำเนินงาน ขนาดเลก็ จัดอบรมเชิงปฏบิ ัติการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ (87 - ค่าวทิ ยากร 1 วัน ๆ ละ 6 ช่ัวโมง (1x6x600=3,600) โรงเรียน) 3,600 - ค่าพาหนะ/เดนิ ทางวิทยากรเหมาจ่าย - ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืมจำนวน 120 คน ๆ ละ 2 มือ้ ๆ 25 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 120 คน ๆ ละ 1 มอ้ื ๆ 80 บาท - คา่ วสั ดุและเอกสาร [ 211 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รองบ สพฐ. กิจกรรมที่ 2 พฒั นาการจดั การจดั การเรยี นรแู้ บบ STEM ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 1.1 จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการจัดการเรียนรู้แบบ STEM 1.2 นเิ ทศโรงเรยี นในโครงการการจัดการเรยี นรแู้ บบ STEM 1.3 ประเมนิ โครงการการจัดการเรยี นรู้แบบ STEM 1.4 สรุป/รายงานผลการดำเนนิ งาน รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 3 - 3,600 16,800 10,000 30,400 รองบ สพฐ. ไตรมาสท่ี 4 กิจกรรมที่ 1 พัฒนาโรงเรยี นในโครงการวทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี น พลังสบิ ระดบั ประถมศึกษา กลุม่ เปา้ ข้ันตอนการดำเนนิ งาน หมาย 1.1 จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารครูโรงเรียนในโครงการ วทิ ยาศาสตรพ์ ลงั สบิ ระดับประถมศึกษา 1.2 นิเทศโรงเรยี นในโครงการวิทยาศาสตรพ์ ลังสบิ ระดับ ประถมศึกษา 1.3 ประเมนิ โครงการวทิ ยาศาสตรพ์ ลังสบิ ระดับประถมศึกษา 1.4 สรปุ /รายงานผลการดำเนินงาน กิจกรรมท่ี 2 พัฒนาโรงเรียนในโครงการบ้านวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียน รองบ สพฐ. น้อย ประเทศไทย ระดับประถมศึกษา กลุ่มเป้า 2.1 จัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการครโู รงเรียนในโครงการ หมาย บา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทยระดบั ประถมศกึ ษา กิจกรรมการจดั ทำแผนบูรณาการและการสบื เสาะอิสระ 2.2 นเิ ทศโรงเรียนในโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา 2.3 ประเมินกิจกรรมบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย เพ่ือขอรบั ตราสัญลักษณ์ 2.4 พิธรี ับตราพระทาน “บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” ระดับประถมศึกษา 2.5 สรปุ /รายงานผลการดำเนนิ งาน รวมงบประมาณท่ใี ช้ในไตรมาสที่ 4 -- -- - รวมงบประมาณทง้ั สิ้น 30,400 (รองบประมาณ) [ 212 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 30,400 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณทงั้ หมด 30,400 แหลง่ เงนิ งบประมาณทห่ี นว่ ยงาน งบประมาณทีข่ อผา่ น เงนิ กู้ งบประมาณจากแหล่งอื่น ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - หน่วยงานอืน่ ในประเทศ นอกประเทศ 30,400 บาท (รองบประมาณ) - -- 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - บาท 30,400 บาท - บาท พ.ศ. 2566 - บาท (รองบประมาณ) ส่วนท่ี 6 : ข้อมูลผปู้ ระสานงาน โทรศัพท์ 08 1995 3961 ชอ่ื -สกุล นายอนชุ า คะชาชยั โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address kachachai55@gmail.com [ 213 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มลู ทั่วไป 1. ชอ่ื โครงการ ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ภายใต้แผนงาน พืน้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการที่ใชง้ บประมาณ  โครงการทีไ่ มใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อย่รู ะหว่างดำเนินการ  ยังไม่เร่มิ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแลว้ สว่ นที่ 2 : ความเชอื่ มโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยุทธศาสตรช์ าติ (หลัก) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์ (1) เป้าหมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการ เรยี นร้ใู หเ้ อ้อื ต่อการพัฒนาทกั ษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคล้อง) การประกนั คณุ ภาพการศึกษาเป็นการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาดำเนนิ การให้ผู้เรียนเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรบั วถิ ชี วี ิตในศตวรรษที่ 21 เปน็ การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ แผนระดับที่ 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ (1) เปา้ หมายระดับประเดน็ (Y2) ขอ้ 1 คนไทยมีการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานสากลเพม่ิ ข้นึ มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลเพ่ิมขน้ึ มนี สิ ยั ใฝ่เรียนรอู้ ย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) การประกันคุณภาพการาศึกษา เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ตาม มาตรฐานสากลเพมิ่ ข้ึน มที กั ษะท่ีจำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมี ประสิทธิผลเพ่มิ ขน้ึ มีนิสยั ใฝ่ เรียนรู้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ [ 214 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (3) ตวั ชีว้ ดั 1. คะแนน PISA ด้านการอา่ น คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ (คะแนนเฉลี่ย) 2. อนั ดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศกึ ษา (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสร็จสนิ้ โครงการ 1. เฉลยี่ 470 คะแนน โดย 1.1. ตัวชวี้ ัดเชิงปรมิ าณ คอื 1.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯ ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพการศึกษา 1.1.2. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง ไดร้ บั การพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา 1.1.3. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง จัดทำรายงานผลประจำปีของสถานศึกษาที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ที่สมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการ ประเมินใหม่และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. อันดับที่ 45 โดย 2.1. ตวั ชีว้ ัดเชงิ ปริมาณ คือ 2.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯ ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพการศึกษา 2.12. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ทุก แห่ง ไดร้ บั การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา 2.1.3. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง จัดทำรายงานผลประจำปีของสถานศึกษาที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ที่สมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการ ประเมินใหม่และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนา อยา่ งตอ่ เนื่อง แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ แผนยอ่ ยการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลง ในศตวรรษท่ี 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทักษะทีจ่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ ดขี น้ึ (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคล้อง) โครงการมีกิจกรรมที่พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน ทำให้ [ 215 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผู้เรียน มที กั ษะการอ่านการเขยี น มีสมรรถนะการอา่ นขน้ั สงู มีทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ มนี ิสยั รักการอ่าน ได้รับ การศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพตาม มาตรฐาน มที ักษะการเรยี นรู้ และทักษะที่ จำเปน็ ของโลกศตวรรษ ท่ี 21 สามารถ เขา้ ถึง การเรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ ง ตลอดชีวิตดีข้ึน (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) ผูส้ อน (คร/ู อาจารย)์ (120101V02) F (ปัจจัย) ผู้สอนยุคใหม่ที่มีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ตอบสนองต่อความ ตอ้ งการของประเทศ (ปรมิ าณ/คณุ ภาพ) (120101F0201) (4) แนวทางการพัฒนา (2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดบั การศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรม เสริมทกั ษะเพอื่ พัฒนาทกั ษะสำหรับศตวรรษท่ี 21 มกี ารผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเน้อื หาและวธิ กี ารสอน โดยใช้ เทคโนโลยีสนบั สนุนทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบใหมใ่ นการพัฒนาเนอ้ื หาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยเี พื่อการเรยี นรใู้ น ศตวรรษท่ี 21 ควรมคี ุณลกั ษณะทม่ี ีชวี ติ มพี ลวัต มีปฏิสัมพนั ธ์ การเชอ่ื มตอ่ และมสี ่วนร่วม (5) ตวั ชวี้ ดั 1. สัดสว่ นครูผา่ นการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสงู ตามมาตรฐานนานาชาติ 2. อตั ราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแต่ละกล่มุ โรงเรียนลดลง 3. อตั ราการเขา้ เรียนสทุ ธิระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (6) Contribution ต่อเป้าหมายเมอ่ื เสร็จสิน้ โครงการ 1. รอ้ ยละ 50 โดย 1.1. ตัวช้ีวดั เชงิ ปรมิ าณ คอื 1.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯ ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา 1.1.2. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแหง่ ไดร้ ับการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 1.1.3. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง จดั ทำรายงานผลประจำปีของสถานศึกษาท่ีเป็นรายงานการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ที่สมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชนต์ ่อการนำไปพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง 2. ลดลงร้อยละ 20 โดย 2.1. ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปริมาณ คอื 2.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯ ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1.2. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แห่ง ไดร้ ับการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา 2.1.3. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง จดั ทำรายงานผลประจำปขี องสถานศกึ ษาท่เี ป็นรายงานการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) [ 216 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ทีส่ มบรู ณ์ มีขอ้ มลู ครบถว้ น ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินใหมแ่ ละ กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชน์ต่อการนำไปพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง 3. ร้อยละ 80 โดย 3.1. ตัวชี้วัดเชงิ ปรมิ าณ คอื 3.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯ ได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 3.1.2. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แห่ง ได้รบั การพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา 3.1.3. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แห่ง จัดทำรายงานผลประจำปขี องสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ รายงานการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ที่สมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชนต์ อ่ การนำไปพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ 2 เรือ่ ง คนในสงั คมไทยทกุ ช่วงวัยมที ักษะ ความรู้ และความสามารถเพิม่ ขนึ้ 2) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ - เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทกุ ชว่ งวยั มีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพมิ่ ข้ึน - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการ ดำรงชีวติ อยา่ งมคี ณุ คา่ - พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะการทำงานและการใชช้ ีวิตท่พี รอ้ มเขา้ สู่ตลาดงาน 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแห่งชาติ 1) แผนความมั่นคงแหง่ ชาติ ข้อท่ี – 2) ประเด็น ขอ้ ที่ - แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หัวขอ้ มุง่ เน้นการพฒั นาโรงเรยี นควบคู่กับการพัฒนาครู  นโยบายเรง่ ดว่ น หัวข้อ การเตรยี มคนไทยสูศ่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง - [ 217 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 มติ ครม.ท่เี กย่ี วขอ้ ง - นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ - นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน - นโยบายจงั หวัด  ประเดน็ การพัฒนา การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน สว่ นที่ 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลักการและเหตผุ ล ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในฐานะหนว่ ยงานต้นสงั กัด มีบทบาทสำคญั ในการสง่ เสริมสนับสนนุ สถานศกึ ษาในการดำเนนิ งานจัดการศึกษาให้เป็นไปตามความในมาตรา 48 ของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ซึ่งกำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและดำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาตามข้ันตอนระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตามที่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มนี โยบายให้ปฏริ ูประบบการประเมินและประกันคณุ ภาพ การศกึ ษาทั้งภายใน และภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป โดยให้มี การปรับปรุงมาตรฐานและ ตวั ชี้วดั ให้น้อยลง กระชับ และสะท้อนถงึ คณุ ภาพอยา่ งแท้จรงิ เนน้ การประเมนิ สภาพจริง ไมย่ งุ่ ยากลดภาระการ จัดเก็บข้อมูล ลดการจัดทำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ปรับกระบวนทัศน์ ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อการ พัฒนาบนพน้ื ฐานบรบิ ทของสถานศึกษา นน้ั กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กําหนดให้การประกนั คุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาท่ี สถานศกึ ษาจดั ข้ึน เพอื่ ใหเ้ กิดการพัฒนาและสร้างความเชือ่ มั่นให้แกผ่ มู้ สี ่วนเกย่ี วข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษา นั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานทีก่ ำกับดูแล จากการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดดังกล่าวนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดให้จัดทำแนว ปฏิบัติสำหรับ การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาและกรอบมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของ สถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งกบั นโยบายและกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 [ 218 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา กำหนดการสร้างระบบข้อมูลและสารสนเทศที่บูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายในและการ ประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการรายงานต่อสาธารณชน เพอื่ การปรบั ประสทิ ธิภาพ ของการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผู้เรียน ผ่านระบบการกำกับ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ดังนั้น เพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาในสังกัดให้ เข้มแข็ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษานี้ขึ้น เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึง ประโยชน์ของการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างชัดเจนและถูกต้อง และสามารถพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบยและกลไกการประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ครอบคลุมการพัฒนาคุณภาพ การตรวจสอบคณุ ภาพ และการประเมินคุณภาพ ให้มปี ระสิทธภิ าพอย่างต่อเนื่อง 2.2 เพอ่ื ให้สถานศึกษาในสงั กดั ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ี มคี วามพรอ้ มรับการประเมนิ คุณภาพการศึกษา 2.3 เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปีของสถานศึกษาที่เป็นรายงาน การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ทีส่ มบูรณ์ ครบถ้วน 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ผลผลติ (Output) (1) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ การศึกษา (2) โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง ได้รับการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา (3) โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทุกแห่ง จัดทำ รายงานผลประจำปีของสถานศึกษาที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ที่สมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมิน ใหม่และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชน์ต่อการนำไปพัฒนาอย่าง ตอ่ เนื่อง 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome โรงเรยี นในสังกดั 135 โรงเรียนผ่านการประเมินคณุ ภาพภายนอกทุกโรงเรยี น 4. ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ โรงเรยี นในสังกัดมีระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ [ 219 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5. ดชั นชี ้วี ัดความสำเรจ็ 5.1 ตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 ร้อยละ 100 ของผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบงานประกันฯได้รับการพัฒนาเกี่ยวกับการ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 5.1.2 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แหง่ ไดร้ บั การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษา ปีท่ี 4-6 ที่อา่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง 5.1.3 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทกุ แห่ง จัดทำรายงานผลประจำปีของสถานศกึ ษาท่ีเป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ท่สี มบูรณ์ มีข้อมลู ครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินใหมแ่ ละ กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เป็นประโยชน์ตอ่ การนำไปพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง 5.2 ตวั ช้วี ัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละ 100 ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานประกันและศึกษานิเทศก์มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่าและเห็นประโยชน์ของการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างชัดเจนและถูกต้อง และสามารถพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ 5.2.2 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ไดร้ ับการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ ข้มแขง็ พร้อมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก 5.2.3. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดทำรายงานผลประจำปีของสถานศึกษาที่เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีข้อมูล ครบถ้วน สมบูรณ์ ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินใหม่และ กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561เปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง 6. การวเิ คราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปัจจยั ความเสี่ยง - 6.2 ผลกระทบความเสีย่ ง - 6.3 แผนรองรับความเสย่ี ง - 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผทู้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2) ครผู ู้สอน 3) นกั เรยี น 8. พืน้ ทีก่ ารดำเนนิ การ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต1 จำนวน 135 โรงเรียน (อำเภอเมืองสพุ รรณบุรี อำเภอบางปลามา้ และอำเภอศรีประจันต์) 9. ระยะเวลาดำเนนิ ตลุ าคม พ.ศ. 2565 – กนั ยายน 2566 [ 220 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม ไตรมาสที่ 1 ช่ือกิจกรรม พฒั นาและทบทวนมาตรฐานและระบบประกนั 135 ร.ร. - - - - คุณภาพการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2566 1.1 ส่อื สารให้ความรคู้ วามเชา้ ใจในการจดั ทำมาตรฐานการ ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา และดำเนินงาน (จัดทำเอกสาร ความรู้จัดส่งในการประชมุ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและจัดส่งให้ สถานศึกษาทราบ) 1.2 นเิ ทศ ติดตามการดำเนนิ งาน รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 1 - - -- – ไตรมาสท่ี 2 กจิ กรรม ส่งเสริมประสทิ ธิภาพการจดั ทำรายงานผลการ 135 ร.ร. - - - - ประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) 1.1 พัฒนาแนวทางการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) 1.2 จดั ประชุมปฏบิ ัติการจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเอง 135 ร.ร. 30,000 5,000 35,000 ของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) 1.3 สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษารายงานผลประเมนิ ตนเอง ของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) และการ นำสง่ รายงานในระบบ e - SAR รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 2 - 30,000 5,000 35,000 ไตรมาสที่ 3 กิจกรรม ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั ทำรายงาผลการ 135 ร.ร. - - - - ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) 1.1 ประชุมปฏบิ ัตกิ าร สังเคราะห์ SAR รายงานผลการ ประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) 1.2 รายงานผลการสงั เคราะห์ SAR ตอ่ หน่วยงานต้นสงั กัด และเผยแพร่ให้สถานศกึ ษาในสงั กัดทราบ รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 3 - - -- - ไตรมาสท่ี 4 [ 221 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม กจิ กรรม สง่ เสรมิ และพฒั นาสถานศึกษาเพ่ือรบั รางวัล IQA 135 ร.ร. - - - - Award 1.1 คดั เลือกสถานศกึ ษาเพือ่ รับรางวัล เพื่อรับรางวัล IQA Award 1.2 พัฒนาเครือขา่ ยนวตั กรรม 1 ช่วย 3 1.4 นเิ ทศ กำกบั ติดตาม รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 4 - -- - รวมงบประมาณทง้ั สน้ิ 30,000 5,000 35,000 (รองบประมาณ) สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 35,000 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้งั หมด 35,000 แหลง่ เงิน เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ เงินรายได้ของหน่วยงาน เงนิ กู้ อื่นๆ ในประเทศ นอกประเทศ - 35,000 (รองบประมาณ) - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท 35,000 บาท - บาท (รองบประมาณ) สว่ นท่ี 6 : ข้อมลู ผู้ประสานงาน ชือ่ -สกลุ นางเกสรา อารยะจารุ โทรศัพท์ 08 1736 8561 E-mail address kesaraya2210@gmail.com โทรสาร - [ 222 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ข้อมูลท่วั ไป 1. ชอ่ื โครงการ พัฒนาทักษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพ่อื การศึกษา ภายใต้แผนงาน พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2.ลกั ษณะโครงการ  โครงการท่ีใชง้ บประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนินการ  ยงั ไมเ่ รม่ิ ดำเนนิ การ  ดำเนนิ การเสรจ็ แลว้ ส่วนท่ี 2 : ความเชอื่ มโยงกบั แผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ (หลัก) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย 1. คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็นข้อ 3. การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ข้อย่อย 3.1 การปรับเปลี่ยนระบบกาเรียนรู้ ใหเ้ อ้ือต่อการพัฒนาทักษะสำหรบั ศตวรรษที่ 21 (3) การบรรลุตามเปา้ หมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการพัฒนาทกั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื การศึกษา เปน็ การพัฒนา ครูผู้สอนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการจัดการเรียนรู้ เทคนิคและวิธีการสอนโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ เครื่องมอื เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นเป็น คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรับวถิ ชี วี ิตในศตวรรษท่ี 21 เปน็ การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ แผนระดับท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแม่บทประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1 คนไทยมีการศึกษาทีม่ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมปี ระสิทธผิ ลเพิ่มข้ึน มีนสิ ัยใฝเ่ รียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต [ 223 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคล้อง) โครงการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษามีความสอดคล้อง กับเป้าหมายของแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ความเข้าใจใน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อนำไปพัฒนาทักษะการสอน เทคนิคการสอน การจัดทำแผนการเรียนรู้ให้ผเู้ รียน ซง่ึ เปน็ การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ตามมาตรฐานสากล เพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงาน รว่ มกับผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธผิ ลเพมิ่ ขนึ้ มนี ิสัยใฝเ่ รียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ (3) ตัวช้ีวัด คะแนน PISA ด้านการอ่าน คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ (คะแนนเฉลย่ี ) (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ Contribution ต่อเป้าหมายเมื่อเสร็จสิ้น โครงการ ลดลงร้อยละ 20 แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ท่ตี อบสนองตอ่ การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษ ที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการ เรยี นรู้ และทกั ษะท่จี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิตดขี ้นึ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคล้อง) โครงการมีกิจกรรมที่พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และส่งเสริม ให้ครูผู้สอนจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน ทำให้ผู้เรยี นมที ักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจำเป็นของโลก ศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิตดีข้ึน (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ผ้สู อน (คร/ู อาจารย์) (120101V02) F (ปจั จัย) ผู้สอนยุคใหม่ทมี่ ีทักษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีตอบสนองต่อความต้องการ ของประเทศ (ปรมิ าณ/คุณภาพ) (120101F0201) (4) แนวทางการพฒั นา พัฒนากระบวนการเรยี นร้ขู องผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมถงึ จดั กิจกรรม เสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพ่ือ การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ควรมีคุณลกั ษณะทม่ี ีชวี ิต มีพลวัต มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ การเช่อื มตอ่ และมสี ว่ นร่วม (5) ตวั ชี้วดั อัตราความแตกต่างของคะแนน PISA ในแต่ละกลุ่มโรงเรียนลดลง (6) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอ่ื เสร็จส้นิ โครงการ – [ 224 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 1 เร่อื ง คนไทยมีคณุ ลักษณะเปน็ คนไทยท่ีสมบรู ณ์ 2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนุษย์ - เปา้ หมายท่ี 3 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 6 จัดทำสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่าน ระบบอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนท่ีให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงไดง้ ่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการทางภาษจี งู ใจใหภ้ าคเอกชนผลติ หนงั สอื 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมน่ั คงแหง่ ชาติ ข้อท่ี 15 การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความมน่ั คงทางไซเบอร์ 2) ประเด็น ข้อที่ 1 พัฒนาขีดความสามารถ ทั้งองค์กรภาครัฐ ฝ่ายทหาร พลเรือน และตำรวจ และ ภาคส่วนต่าง ๆ ภายในประเทศ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์ ตลอดจนรองรับสังคม ดิจทิ ัล แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หวั ขอ้ การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั  นโยบายเร่งดว่ น หวั ข้อ ส่งเสริมการวิจัยและพฒั นา นวตั กรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยขี ั้นสงู กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง - มติ ครม.ท่ีเก่ยี วข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน - นโยบายจังหวัด  ประเด็นการพฒั นา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน [ 225 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล ตามท่ีแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติที่ 12 ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้ ไดก้ ำหนด เป้าหมายให้คนไทย มีการศึกษาที่มี คุณภาพตามมาตรฐาน สากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็น ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการ แก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต และในแผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ได้กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาไว้ว่า “คนไทยได้รบั การศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐาน มีทักษะการ เรียนรู้ และทักษะท่ี จำเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเขา้ ถึง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตดขี ้ึน” เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ตามหลักการและเหตุผลดังกล่าว กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำคัญของการ เตรียมความพร้อมและการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการศกึ ษาขน้ึ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศึกษาใหส้ ามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการศกึ ษาได้ 2.2 เพือ่ ให้ครู สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ในการพัฒนางานได้ 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) ครูได้รับการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สารเพ่ือการศึกษา จำนวน 135 คน 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) ครูนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาไป พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ 4.1 ครมู กี ารพฒั นาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือการศึกษา 4.2 ครูนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพ่ือการศกึ ษาไปประยุกต์ใช้ในการพฒั นางาน 5. ดชั นชี ้วี ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ ครูได้รบั การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือการศึกษา จำนวน 135 คน 5.2 ตัวชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ ครูนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อการศึกษาไปพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน [ 226 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวิเคราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเส่ียง 6.1.1 การโอนจดั สรรงบประมาณมคี วามลา่ ชา้ และไมเ่ พยี งพอ 6.1.2 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) 6.2 ผลกระทบความเสีย่ ง 6.2.1 ไม่มีงบประมาณในการดำเนินการอบรม 6.2.2 ไมส่ ามารถดำเนนิ การอบรมได้ 6.3 แผนรองรบั ความเสยี่ ง 6.3.1 รอจดั สรรงบประมาณเพิ่มเตมิ 6.3.2 ชะลอการอบรม หรอื อบรมออนไลน์ 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ท่ไี ด้รับประโยชน์ ครผู ้สู อนจำนวน 135 คน 8. พ้นื ทก่ี ารดำเนนิ การ สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนิน เมษายน 2566 – กันยายน 2566 ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รายละเอียดกิจกรรม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม ไตรมาสท่ี 1 1 ครง้ั - - - - - 1 ครง้ั - - 3,000 3,000 รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 1 1 ครง้ั - 27,000 - 27,000 ไตรมาสที่ 2 - 1 ครง้ั - - - - รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 2 1 ครง้ั - - - - ไตรมาสที่ 3 1. อบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อการศกึ ษา 1.1 แต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนินงาน 1.2 จัดซ้อื วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการอบรม 1.3 จัดอบรม 135 คน + คณะทำงาน 15 คน =150 คน คนละ 180 บาท 1.4 ประเมินผลการอบรม 1.5 จดั ทำรายงานโครงการ รวมงบประมาณท่ีใช้ในไตรมาสที่ 3 [ 227 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ไตรมาสท่ี 4 (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม - รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสท่ี 4 27,000 3,000 30,000 รวมงบประมาณท้ังสิ้น (รองบประมาณ) ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 30,000 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้งั หมด 30,000 แหลง่ เงนิ เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายได้ของหน่วยงาน เงินกู้ อ่ืนๆ ในประเทศ นอกประเทศ - 30,000 บาท (รองบประมาณ) - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท - บาท 30,000 บาท (รองบประมาณ) สว่ นที่ 6 : ข้อมูลผปู้ ระสานงาน โทรศพั ท์ 09 5952 2828 ชอื่ -สกลุ นายชยั ศักดิ์ ต้ังนิตพิ ิฐจักร โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address chaisak@suphan1.go.th [ 228 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ขอ้ มูลท่ัวไป 1. ชือ่ โครงการ ขบั เคล่อื นคุณภาพโรงเรียนคณุ ภาพ ระดับประถมศกึ ษา ภายใต้แผนงาน พน้ื ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ใี ชง้ บประมาณ  โครงการท่ีไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วิธีการดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหวา่ งดำเนนิ การ  ยงั ไม่เรมิ่ ดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแล้ว สว่ นที่ 2 : ความเช่ือมโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดบั ที่ 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์ (1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรับวิถชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 (2) ประเดน็ ขอ้ การปฏิรูปการเรยี นรูปแบบพลิกโฉม ข้อยอ่ ย การเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบริหารจัด การศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) โครงการขับเคลือ่ นคุณภาพโรงเรียนคณุ ภาพ ระดับประถมศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั โรงเรียนคุณภาพให้กับผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของผู้บริหาร โรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการ ขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือขา่ ย สงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนา อย่างสมดุล ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ แผนระดับที่ 2 1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้ [ 229 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มี ทักษะท่จี ำเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ญั หา ปรบั ตัว สือ่ สาร และทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสทิ ธิผลเพิม่ ข้นึ มนี สิ ยั ใฝ่ เรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคล้อง) ประเทศไทยมีระบบข้อมลู เพ่ือการสง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพตาม พหุปัญญา เพื่อประโยชนใ์ น การพฒั นาและการส่งต่อการพัฒนาให้เตม็ ตามศักยภาพเพ่ิมข้นึ (3) ตัวชี้วัด สัดส่วนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนที่สร้างสมดุลทุกด้านและมีการจัด การศึกษาเพอ่ื พัฒนาพหปุ ญั ญารายบคุ คล (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสรจ็ สิ้นโครงการ โรงเรียนคุณภาพ ระดับประถมศึกษา ได้รับการพัฒนาและขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพและ โรงเรยี นเครอื ขา่ ย เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล และมที กั ษะทจี่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 (เฉลยี่ รอ้ ยละ 80) แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1) คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคลอ้ ง) โครงการขับเคลื่อนคุณภาพโรงเรียนคุณภาพ ระดับประถมศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ โรงเรียนคุณภาพให้กับผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของผู้บริหาร โรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการ ขับเคลอื่ นโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือขา่ ย สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนา อยา่ งสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย สตปิ ัญญาและคุณธรรมจรยิ ธรรม เปน็ ผู้ท่มี ีความรู้และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 รกั การเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) กลไกบรหิ ารจัดการเพือ่ สร้างสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อตอ่ การพัฒนาและยกระดับ ศักยภาพแรงงาน F (ปัจจัย) ความรว่ มมอื ระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และภาคการศึกษา (4) แนวทางการพฒั นา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 ดำเนินการขับเคลื่อนคุณภาพโรงเรียน คุณภาพ ระดับประถมศึกษา โดยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรงเรียนคุณภาพให้กับผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและ โรงเรียนเครอื ข่าย สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 และส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมใน [ 230 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 การขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพ เพม่ิ ข้นึ ไดร้ ับการพัฒนาอย่างสมดุล ทงั้ ดา้ นร่างกาย สติปญั ญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะ ในศตวรรษท่ี 21 รกั การเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต (5) ตัวชี้วัด สัดส่วนสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนที่สร้างสมดุลทุกด้านและมีการจัด การศึกษาเพ่อื พัฒนาพหุปัญญารายบุคคล (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเมอ่ื เสรจ็ สน้ิ โครงการ โรงเรียนคุณภาพ ระดับประถมศึกษา ได้รับการพัฒนาและขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ และโรงเรียนเครือข่าย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล และมีทักษะทีจ่ ำเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 (เฉล่ยี รอ้ ยละ 80) 2. ความสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 1 เร่ือง คนไทยมคี ุณลกั ษณะเปน็ คนไทยทสี่ มบูรณ์ 2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ - เปา้ หมายท่ี 1 - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการ ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า 3. ความสอดคล้องกบั แผนความมน่ั คงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ - 2) ประเดน็ ขอ้ ที่ - แผนระดบั ท่ี 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลัก หัวข้อ มุ่งเน้นการพฒั นาโรงเรียนควบคู่กบั การพฒั นาครู  นโยบายเร่งดว่ น หัวข้อ การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 กฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง - มติ ครม.ทีเ่ กีย่ วข้อง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา  จัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบถกั ทอความรู้ ทักษะคุณลักษณะผู้เรียน ทักษะคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active [ 231 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการพฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลเชงิ สมรรถนะ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 3. ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้น สมรรถนะไปใชต้ ามศกั ยภาพของสถานศกึ ษา ใหส้ ามารถอกแบบหลักสูตรทเ่ี หมาะสมกบั ความต้องการและบรบิ ท นโยบายจังหวดั  ประเดน็ การพฒั นา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สว่ นท่ี 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตผุ ล โครงการโรงเรียนคณุ ภาพเป็นนโยบายสำคัญของรฐั บาลทม่ี ุ่งหวังจะเห็นโรงเรียนได้รับการพฒั นาให้มีคุณภาพ และปลอดภัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานหลักท่ี รับผิดชอบ คือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินการโดยพัฒนาต่อยอด จากโครงการเดิม คือ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมืองและโรงเรียนที่สามารถ ดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) โดยได้มีการกำหนดทิศทางขับเคลื่อนโครงการภายใต้กรอบการ ดำเนินงาน และจุดเน้น 8 ด้าน ได้แก่ 1. ความปลอดภัยของผู้เรียน 2. ระบบประกันคุณภาพ 3. หลักสูตรฐาน สมรรถนะ 4. การพัฒนาครู 5. การเรียนการสอน 6. การวัดและประเมินผล 7. การนิเทศกำกับและติดตาม และ 8. Big Data ซึ่งจะพัฒนาโรงเรยี นคุณภาพให้เป็นโรงเรยี นต้นแบบเพื่อแก้ปัญหาดา้ นการศึกษาและความปลอดภยั ของสถานศึกษา รวมถึงลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสเข้าถึงการศึกษาในสังคมเมืองและชนบทให้กับนักเรียน สร้างความพร้อมให้กับครูผู้บริหารและโรงเรียนในการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย ตามบริบท ของโรงเรยี น เพือ่ พฒั นาผู้เรียนให้เปน็ พลเมอื งโลกทม่ี คี ณุ ภาพ ในการนี้ เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาตามนโยบาย 8 จุดเน้น ให้กับโรงเรียนคุณภาพเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้จัดทำโครงการขับเคลื่อน คุณภาพโรงเรยี นคณุ ภาพ ระดบั ประถมศึกษาใหก้ บั โรงเรยี นคณุ ภาพขึ้น 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรงเรียนคุณภาพให้กับผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 2.2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง 2.3 เพื่อให้การขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล [ 232 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลิต (Output) 3.1.1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการ เรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3.1.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 135 คน สามารถจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) 3.2.1 ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สพุ รรณบุรี เขต 1 มีความเขา้ ใจเก่ียวกับโรงเรียนคุณภาพ และทราบแนวทางการดำเนินการเพื่อขับเคลือ่ นโรงเรยี นคณุ ภาพ 3.2.2 ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องมีความเขา้ ใจเกีย่ วกบั โรงเรียนคณุ ภาพ และมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ การขบั เคลอื่ นโรงเรยี นคุณภาพ 3.2.3 โรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบรุ ี เขต 1 มกี ารใชท้ รพั ยากรร่วมกนั 4. ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ 4.1 ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สพุ รรณบุรี เขต 1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในวตั ถุประสงคข์ องโครงการ และมีความร่วมในการดำเนินการขับเคลอ่ื น โครงการดังกล่าว ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์อยา่ งเปน็ รูปธรรม เปน็ ประโยชน์แก่ สถานศึกษา ครู นกั เรียน ชมุ ชน และ องคก์ รทม่ี สี ่วนเก่ียวขอ้ ง รวมถึงประเทศชาติ 5. ดชั นชี ีว้ ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตัวชว้ี ดั เชงิ ปริมาณ 5.1.1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.1.2 ครูผู้สอนกลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 135 คน สามารถจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงปฏิบัติการ (Hands - on) ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 5.2 ตัวชี้วดั เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สพุ รรณบุรี เขต 1 มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกับโรงเรียนคุณภาพ และทราบแนวทางการดำเนนิ การเพอื่ ขบั เคลอ่ื นโรงเรียนคณุ ภาพ 5.2.2 ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้มีส่วน เกย่ี วขอ้ ง มีความเข้าใจเกย่ี วกบั โรงเรียนคุณภาพ และมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ การขบั เคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ 5.2.3 โรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สพุ รรณบรุ ี เขต 1 มกี ารใชท้ รพั ยากรร่วมกนั [ 233 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวเิ คราะห์ความเสี่ยงของโครงการ 6.1 ปัจจัยความเส่ยี ง - 6.2 ผลกระทบความเสีย่ ง -- 6.3 แผนรองรับความเส่ียง-- 7. กลุ่มเปา้ หมาย/ผูท้ ่ีได้รับประโยชน์ 7.1 นกั เรียนในเขตพ้ืนทีร่ บั บริการ ไดร้ บั ความเท่าเทยี มทางดา้ นการศึกษา มีโอกาสไดเ้ รียนในโรงเรยี นที่มคี ุณภาพ 7.2 นักเรียนโรงเรียนเครอื ข่ายไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาจากการใช้ทรัพยากรรว่ มกนั กับโรงเรียนหลัก 7.3 โรงเรียนคุณภาพสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 เปน็ โรงเรยี นท่ีมี คุณภาพและไดร้ ับความไว้วางใจจากชุมชน 8. พ้ืนที่การดำเนินการ อำเภอเมือง จังหวดั สพุ รรณบุรี 9. ระยะเวลาดำเนิน 1 ตุลาคม 2565 – 30 กนั ยายน 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนนิ การ เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ - รายละเอียดกจิ กรรม - -- -- - ไตรมาสที่ 1 -- - -- -- 7,200 รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสที่ 1 1,200 ไตรมาสท่ี 2 - - 1,200 - โรงเรียน กลมุ่ เปา้ รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 2 หมาย ไตรมาสท่ี 3 7,200 - รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 กจิ กรรม พฒั นาบุคลากรโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียน เครอื ข่าย ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 1.1 จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาบุคลากร โรงเรยี นคณุ ภาพและโรงเรยี นเครอื ขา่ ย -คา่ วทิ ยากร 2 วัน ๆ ละ 6 ช่วั โมง (2x6x600=3,600) -ค่าพาหนะ/เดินทางวทิ ยากรเหมาจา่ ย [ 234 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ 5,000 -คา่ อาหารว่างและเคร่อื งดมื่ จำนวน 50 คน ๆ 5,000 8,000 8,000 ละ 4 มอื้ ๆ 25 บาท 10,000 10,000 -คา่ อาหารกลางวนั จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 ม้อื ๆ 80 บาท -ค่าวสั ดแุ ละเอกสาร 1.2 นเิ ทศ กำกับ ติดตามโรงเรยี นคุณภาพและ โรงเรยี นเครอื ข่าย 1.3 สรุป/รายงานผลการดำเนนิ งาน รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 4 - 7,200 14,200 10,000 31,400 รวมงบประมาณทง้ั ส้ิน 31,400 รองบประมาณ สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 31,400 บาท (รองบประมาณ) บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท (รองบประมาณ) 3) งบ ................................................. - งบประมาณทัง้ หมด 31,400 แหล่งเงนิ งบประมาณท่ีหนว่ ยงาน งบประมาณทขี่ อ เงินกู้ งบประมาณจากแหล่งอ่ืน ขอโดยตรง (สพท. สพฐ.) - ผ่านหน่วยงานอื่น ในประเทศ นอกประเทศ 31,400 บาท (รองบประมาณ) - -- 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 - บาท - บาท 31,400 บาท พ.ศ. 2566 - บาท (รองบประมาณ) สว่ นท่ี 6 : ขอ้ มลู ผปู้ ระสานงาน โทรศพั ท์ 08 1995 3961 ชือ่ -สกุล นายอนชุ า คะชาชัย โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address kachachai55@gmail.com [ 235 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ข้อมลู ทวั่ ไป 1. ชอ่ื โครงการ ประเมนิ นโยบายจดุ เนน้ 10 เพมิ่ SPB1 Plus10 ภายใต้แผนงาน พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการทีใ่ ช้งบประมาณ  โครงการทไ่ี ม่ใช้งบประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยู่ระหวา่ งดำเนินการ  ยงั ไม่เรม่ิ ดำเนนิ การ  ดำเนินการเสรจ็ แลว้ สว่ นที่ 2 : ความเช่ือมโยงกับแผนในระดับต่างๆ แผนระดบั ท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ดา้ น ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (1) เปา้ หมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรับวิถีชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็นขอ้ 4.2 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต ข้อย่อย 4.2.2 ช่วงวยั เรียน/วัยรุน่ (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 เปน็ หน่วยงานทางการศกึ ษาทอ่ี ยภู่ ายใต้ การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสถานศึกษาในสังกัดจำนวน 125 โรงเรียน ซึ่ง สถานศึกษาทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตอำเภอ 3 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอศรีประจันต์ และอำเภอ บางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ให้ความสำคัญของการพัฒนาสถานศึกษาอย่างรอบด้านตามนโยบายและจดุ เน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกำหนดเป็น นโยบายจุดเน้น 10 เพิ่ม SPB1 Plus10 ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งได้นำไปเป็นแนวปฏิบัติในการพัฒนา นักเรียน ครู บุคลากร และสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 คือ 1. เพิ่มนักเรียนดีศรีสุพรรณ 2. เพิ่มคุณภาพของนักเรียน 3. เพิ่มศักยภาพนักเรียน 4. เพิ่มการเตรียมความพร้อม เด็กปฐมวัย 5. เพิ่มความปลอดภัย โอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 6. เพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 7. เพิ่มการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน 8. เพิ่มความเข้มแข้งระบบการนิเทศและระบบประกัน คุณภาพการศึกษา 9. เพิ่มการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพการจัด การศึกษาโดยใช้ 3S1C ประกอบด้วย 3S= SPB1 (สพป.สุพรรณบุรี เขต 1), School (โรงเรียน), Social (สงั คม,ชมุ ชน) 10. เพม่ิ ขวญั กำลงั ใจ สวัสดกิ ารและความก้าวหน้าทางวิชาชีพอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม โดยใช้ [ 236 ]