Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2023-03-08 02:32:25

Description: 2.แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตระหนักถึงความสำคัญและได้มีการ นำหลักการจัดการโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach) เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ ท้ัง 135 โรงเรียน ได้ไปปรับใช้ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของโรงเรียน โดยกำหนดเป็นพันธกิจ หลกั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) นโยบายด้านส่ิงแวดล้อมศึกษาและโครงสรา้ งการบริหารจดั การ 2) การจดั กระบวนการ เรียนรู้ 3) การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี น และ 4) การมสี ่วนรว่ มและเครอื ข่ายดา้ น สิ่งแวดล้อมศึกษา โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อสร้างผู้เรียนให้เติบโตขึ้นเป็น “พลเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม”และ สนับสนุนกลไกการพัฒนาเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการสร้างวินัยและมีจิตสำนึกที่ดีในด้านการจัดการ ขยะ น้ำเสยี มลพิษทางอากาศ พลังงานและอนุรักษค์ วามหลากหลายทางธรรมชาติให้คงอยู่สบื ไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สรา้ งจติ สำนึกรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มใหแ้ ก่ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา นักเรยี นและชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลติ (Output) 3.1.1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เข้าร่วม โครงการสง่ิ แวดล้อมศึกษาเพื่อการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื ร้อยละ 100 3.1.2 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เข้าร่วม โครงการโรงเรียนอโี คสคลู ระดบั ตน้ รอ้ ยละ 70 3.1.3 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา จำนวน 1 แห่ง 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียนทุกระดับชั้น มีการจัดกาทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม 3.2.2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับการรับรองสำนักงานสีเขียว (Green Office) ปี 2566 4. ผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ 4.1 โรงเรยี นเปน็ แหลง่ เรียนรูส้ ำหรับชมุ ชนการจดั การพลงั งาน ขยะ นำ้ เสีย มลพิษทางอากาศ และความ หลากหลายทางชีวภาพ 4.2 นกั เรียน นำความรู้ท่ีได้ไปประยุกตใ์ ช้จดั การขยะ น้ำเสยี ในโรงเรยี น ชมุ ชน และด้านลดใชพ้ ลงั งาน 4.3 บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความตระหนักรู้ และใช้ พลงั งานอย่างค้มุ คา่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก [ 436 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5. ดัชนชี ้วี ัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เข้าร่วมโครงการสง่ิ แวดล้อมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ยี ั่งยืน จำนวน 135 แห่ง 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียนทุกระดับชั้น มีการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 6. การวิเคราะหค์ วามเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเส่ยี ง 6.1.1 การโอนจัดสรรงบประมาณมีความลา่ ชา้ และไม่เพยี งพอ 6.1.2 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง 6.2.1 ไมม่ งี บประมาณในการดำเนินการอบรม 6.2.2 ไมส่ ามารถดำเนินการอบรมได้ 6.3 แผนรองรบั ความเสย่ี ง 6.3.1 รอจดั สรรงบประมาณเพิ่มเตมิ 6.3.2 ชะลอการประเมนิ 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผทู้ ่ีไดร้ บั ประโยชน์ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และผู้เรียนทุกระดบั ชนั้ 8. พน้ื ท่กี ารดำเนินการ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนิน เมษายน 2566 – กนั ยายน 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ - ไตรมาสที่ 1 -- 5,000 5,000 25,000 - 25,000 - รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสที่ 1 - -- ไตรมาสท่ี 2 1. จดั ทำบันทึกข้อตกลงระหว่างสำนกั งานเขตกับโรงเรียน 135 โรงเรียน 2. ประเมินโรงเรียนสง่ิ แวดล้อมศึกษาเพือ่ การพัฒนาที่ ยง่ั ยืน 3. ถุงนมก้โู ลก - [ 437 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 2 (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม ไตรมาสที่ 3 30,000 - 30,000 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 - -- - - รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสท่ี 4 30,000 30,000 รวมงบประมาณท้ังสน้ิ ส่วนที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 30,000 บาท 2) งบ สพฐ. - บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณทั้งหมด 30,000 บาท แหลง่ เงนิ เงนิ งบประมาณ เงนิ รายได้ของหนว่ ยงาน เงินกู้ อื่นๆ แผน่ ดิน ในประเทศ นอกประเทศ - 30,000 บาท - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 30,000 บาท - บาท พ.ศ. 2566 - บาท ส่วนท่ี 6 : ขอ้ มูลผู้ประสานงาน ช่ือ-สกลุ นางสาววราภรณ์ แปน้ แจง้ โทรศัพท์ 09 5947 7878 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 438 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ข้อมูลท่ัวไป 1. ชอ่ื โครงการ โครงการสรา้ งบา้ น สรา้ งสขุ สลู่ ูกสุพรรณ1 ภายใต้แผนงาน พน้ื ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการที่ใช้งบประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ชง้ บประมาณ 3. วิธกี ารดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยู่ระหว่างดำเนินการ  ยังไม่เริม่ ดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแลว้ สว่ นท่ี 2 : ความเชอ่ื มโยงกับแผนในระดับตา่ งๆ แผนระดับที่ 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ปนี มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม (1) เป้าหมาย ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ สมดลุ ภายในขดี ความสามารถของระบบนิเวศ (2) ประเด็นข้อ 4. พัฒนาพื้นท่ีเมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ มุ่งเน้นความเปน็ เมอื งท่เี ติบโตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขอ้ ย่อย 4.5 พัฒนาเครอื ขา่ ยองคก์ รพฒั นาเมืองและชุมชน รวมทงั้ กลุ่มอาสาสมัคร ด้วยกลไกการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในทอ้ งถน่ิ โดยการสนับสนนุ การพัฒนาเครอื ข่ายองคก์ รพัฒนาเมือง (3) การบรรลุตามเปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) การสนบั สนุนการพฒั นาเครือข่ายองค์กรพฒั นาเมอื ง ชมุ ชนและเครอื ขา่ ย ท่ีประกอบดว้ ย ภาคเครือข่ายตามบริบทของพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม เชื่อมโยงการพัฒนาร่วมกันในทุกระดับและพัฒนา ศกั ยภาพ องค์กร เพ่ือการพฒั นาเมอื ง ชุมชน และเครอื ขา่ ย แผนระดับท่ี 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเด็น ท่ี 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่าง สมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการ เรยี นรู้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต [ 439 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) การเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ให้โรงเรียนในสังกัดและครูผู้รับผิดชอบ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนและสามารถนำไปใช้ดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย สติปัญหาและพฤติกรรมอย่างเหมาะสมตามเป้าหมายของ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (3) ตวั ชวี้ ดั - (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมอ่ื เสรจ็ ส้นิ โครงการ - แผนย่อยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ มาตรการแบบเจาะจงกล่มุ เป้าหมายเพอื่ แกป้ ัญหาเฉพาะกลุม่ (1) เปา้ หมายของแผนย่อย (Y1) - (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคล้อง) - (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) - F (ปจั จยั ) - (4) แนวทางการพฒั นา จัดให้มีระบบและกลไกลในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย โดยพัฒนาระบบและกลไกลในการให้ ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ เพื่อให้สามารถให้ความช่วยเหลือกับ กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและครอบคลุมครบกลุ่ม อาทิ ทั้ง เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้มีความบกพร่องทาง ร่างกาย เหยื่อของความรุนแรงต่างๆ และการค้ามนุษย์ แรงงานในภาคการผลิตที่มีความเสี่ยง ผู้ติดเชื้อ และ บุคคลท่ตี ้องการการดแู ลเปน็ พิเศษ (5) ตวั ช้ีวดั สัดส่วนประชากรไทยทั้งหมดที่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรฐานคุ้มครองทางสังคมอย่ างน้อย 9 กรณี ได้แก่ (1) เจ็บป่วย (2) คลอดบุตร (3) ตาย (4) ทุพพลภาพ/พิการ (5) เงินช่วยเหลือครอบครัว หรือ บุตร (6) ชราภาพ (7) ว่างงาน (8) ผู้อยู่ในอปุ การะ และ (9) การบาดเจบ็ จากการทำงาน (ร้อยละ) (6) Contribution ต่อเปา้ หมายเม่ือเสร็จสนิ้ โครงการ สดั ส่วนเยาวชนคนไทยทั้งหมดไดร้ ับความคุ้มครองตามมาตรการการคุม้ ครองทางสงั คมร้อยละ 90 2. ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ขอ้ -. เรื่อง - 2) ยุทธศาสตร์ที่ - - เป้าหมายที่ - - แนวทางพฒั นา ข้อที่ - [ 440 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมัน่ คงแหง่ ชาติ ข้อที่ - 2) ประเด็น ขอ้ ท่ี - แผนระดบั ที่ 3 (ตามมติ ครม. วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาล  นโยบายหลกั หวั ขอ้ ลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา  นโยบายเรง่ ดว่ น หัวขอ้ การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง  พ.ร.บ.คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546  พ.ร.บ.การปอ้ งกันและการแกไ้ ขการต้งั ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559  พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มติ ครม.ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ  ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี 4 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน  ยทุ ธศาสตร์ สพฐ. ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา นโยบายจงั หวดั  ประเดน็ การพฒั นา การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชน สว่ นท่ี 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดให้มีการเยี่ยมบ้านนักเรียน ซึ่งเป็นกิจกรรมหลัก ของระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น พบว่า นักเรียนจำนวนมากตกอยู่ในภาวะยากลำบาก เชน่ ขาดแคลนทุน ทรัพย์ในการดำรงชวี ติ ไม่มีทอ่ี ยู่อาศัยหรือที่อย่อู าศัยไมค่ วามปลอดภยั ปัญหาการลว่ งละเมดิ และความรุนแรง ของบุคคลใกล้ตัว ซึ่งเป็นผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ จากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียนที่ตกอยู่ในภาวะ ยากลำบากของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ทำให้พบสภาพจริงความต้องการ/ ปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข ตลอดจนการคุ้มครองนักเรียนให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขจำเป็นอย่างยิ่งท่ี [ 441 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 จะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสงั คม และเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันและ การสร้างความร่วมมือร่วมใจในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ต้องมีการประสานความร่วมมือทั้งบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องคก์ รเอกชน สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่นื ซ่งึ มคี วามสามารถให้การสนับสนนุ และใหค้ วามรว่ มมือได้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เห็นความสำคัญในการดูแลช่วยเหลือ นักเรยี น ส่งเสรมิ และพฒั นานกั เรยี น จึงไดจ้ ดั ทำโครงการสร้างบา้ น สรา้ งสุข สู่ลกู สพุ รรณ1 ขน้ึ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ตกอยู่ในภาวะยากลำบาก และเสริมสร้างความปลอดภัยให้นักเรียน มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ได้รับการศกึ ษาเตม็ ตามศกั ยภาพ 2.2 เพื่อสร้างบ้านใหน้ ักเรียนยากจนและดอ้ ยโอกาส อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 หลงั 2.3 เพ่อื สง่ เสริม สนับสนนุ การดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ให้มีความเข้มแข็งและต่อเน่ือง 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลติ (Output) 3.1.1 รอ้ ยละ 100 ของนักเรียนที่ตกอยูใ่ นภาวะยากลำบากได้รับการดแู ลช่วยเหลอื อย่างท่ัวถึง 3.1.2 สรา้ งบ้านอยา่ งน้อยปลี ะ 1 หลงั สำหรับนกั เรียนทีต่ กอยูใ่ นภาวะยากลำบากดา้ นท่ีอยู่อาศัย 3.2 เปา้ หมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 นกั เรยี นท่ีตกอยู่ในภาวะยากลำบาก ไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลอื และสง่ เสริมให้ไดร้ บั การศึกษา เต็มตามศักยภาพ 3.2.2 นกั เรียนทีต่ กอยใู่ นภาวะยากลำบากด้านท่อี ยู่อาศัย มที อี่ ยอู่ าศยั ท่ีมคี วามปลอดภัย มีคุณภาพ ชวี ิตที่ดขี นึ้ 4. ผลทีค่ าดวา่ จะเกิด 4.1 มีเครือข่าย บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน องค์กรเอกชน สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น รว่ มจดั การศกึ ษาและรว่ มสนับสนนุ การดำเนนิ งาน 4.2 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 มกี ารดำเนินงานส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นอย่างเข้มแข็งและตอ่ เนื่อง 5. ดัชนีช้ีวดั ความสำเรจ็ 5.1 ตัวชีว้ ดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 นกั เรียนที่ตกอยูใ่ นภาวะยากลำบากได้รบั การดูแลชว่ ยเหลอื ร้อยละ 100 5.1.2 นกั เรยี นทตี่ กอยใู่ นภาวะยากลำบากด้านท่อี ย่อู าศยั มที อ่ี ยูอ่ าศัยท่มี คี วามปลอดภัย 5.2 ตวั ชว้ี ัดเชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 นกั เรียนทตี่ กอยู่ในภาวะยากลำบาก ได้รบั การดูแลชว่ ยเหลอื และส่งเสริมใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษา เต็มตามศกั ยภาพ [ 442 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.2 นักเรียนทต่ี กอยใู่ นภาวะยากลำบากดา้ นทอี่ ยู่อาศัย มที ี่อยู่อาศัยทมี่ ีความปลอดภยั มีคุณภาพ ชีวติ ท่ีดีข้ึน 6. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสีย่ ง ปฏทิ ินกิจกรรมของกลุม่ งาน และหรอื โครงการอืน่ ๆ มคี วามซำ้ ซอ้ นกัน ทำใหบ้ คุ ลากรทไ่ี ด้รบั การแต่งตง้ั เปน็ คณะทำงานไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเตม็ ท่ีและมปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง ประสานงาน หารือกนั ภายในกลุ่ม และกลุ่มงานอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เพื่อจดั สรรทรัพยากร ท้ังดา้ นเวลาและด้านบุคลากรไม่ให้มีความซบั ซอ้ นกนั โดยใหม้ กี ารทำปฏิทินกจิ กรรมรว่ มกนั 6.3 แผนรองรับความเสี่ยง ตดิ ตามการทำงานอย่างใกลช้ ิด มีข้อมูลเพอ่ื ดำเนนิ การอย่างเหมาะสม ประชาสมั พันธแ์ ละ เพ่ิมช่วงเวลา ในการดำเนินงาน 7. กลมุ่ เปา้ หมาย/ผูท้ ่ไี ด้รับประโยชน์ นกั เรียน 8. พ้นื ท่กี ารดำเนินการ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนิน พฤศจกิ ายน 2565 – ตุลาคม 2566 สว่ นที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอียดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม - ไตรมาสที่ 1 - 1. แจ้งประธานกล่มุ อำเภอฯ คัดเลือกนักเรียนในสถานศกึ ษา - -- - - แตล่ ะอำเภอ - -- - - 2. จดั ทำโครงการสร้างบ้าน สรา้ งสขุ สู่ลกู สุพรรณ1 3. ประชุมผูเ้ ก่ยี วข้อง เพื่อพจิ ารณาคดั เลือก พรอ้ มลง - -- - พนื้ ท่ีเย่ยี มบ้านนกั เรยี นท่ไี ดร้ บั การพิจารณา รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 1. ประชาสัมพันธโ์ ครงการผ่านสอ่ื ต่าง ๆ ในการระดม - -- - ทรัพยากร การขอรับการสนับสนุน จากทกุ ภาคส่วน ดังน้ี - จัดทำเว็บบล๊อก ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นเว็บไซต์ และ ออกหนังสือขอความอนุเคราะห์ [ 443 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสท่ี 2 (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม ไตรมาสที่ 3 - 1. ดำเนินการสร้างบ้านนกั เรียน 3 หลงั - -- - เฉลีย่ หลังละ 170,000 บาทท รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสที่ 3 510,000 ไตรมาสที่ 4 510,000 1. จดั เตรียมพธิ ีมอบบา้ นใหน้ ักเรียนตามโครงการ 2. สรุปรายงานผลการดาเนินการ เผยแพร่ ประชาสม 5100,000 พันธ์และตอ่ ยอดการดำเนนิ โครงการ รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสท่ี 4 รวมงบประมาณทั้งสนิ้ ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ - บาท 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 - บาท 2) งบ สพฐ. 510,000 บาท 3) งบ จากการะดมทรพั ยากรจากทุกภาคสว่ น 510,000 บาท งบประมาณท้งั หมด แหล่งเงนิ เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายได้ของหน่วยงาน เงินกู้ อน่ื ๆ ในประเทศ นอกประเทศ 5100,000 บาท - - -- ไตรมาส 4 310,000 บาท 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท - บาท 200,000 บาท ส่วนท่ี 6 : ขอ้ มูลผู้ประสานงาน ชอื่ -สกลุ นางเดน่ ดวง ขันคำ โทรศัพท์ 06 3223 3067 E-mail address - โทรสาร - [ 444 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 1 : ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1. ชื่อโครงการ สรา้ งความปลอดภัยด้วยมาตรการ 3 ป (ปอ้ งกนั ปลกู ฝัง ปราบปราม) ภายใต้แผนงาน พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการท่ใี ชง้ บประมาณ  โครงการท่ไี มใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยู่ระหว่างดำเนนิ การ  ยงั ไมเ่ รม่ิ ดำเนินการ  ดำเนนิ การเสรจ็ แล้ว ส่วนท่ี 2 : ความเช่ือมโยงกบั แผนในระดบั ต่างๆ แผนระดบั ท่ี 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม (1) เปา้ หมาย อนรุ กั ษ์และรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ใหค้ นร่นุ ต่อไป ได้ใช้อย่างยงั่ ยนื มสี มดุล (2) ประเด็นข้อ 3 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ ข้อย่อย 3.4 พัฒนาและสร้างระบบรับมอื ปรบั ตวั ต่อโรคอบุ ัตใิ หม่และโรคอบุ ัติซ้ำท่ีเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคล้อง) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 เปน็ หน่วยงานสงั กัดสำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีภารกิจในการสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ประชากรวัยเรียนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเสมอภาคและทั่วถึง ความก้าวหน้าทางวิทยาการและ เทคโนโลยีของโลกยุคศตวรรษที่ 21 เป็นพลวัตท่ีก่อให้เกิดความท้าทายในด้านการเปลี่ยนแปลงของบริบท เศรษฐกิจและสังคมเป็นผลให้เกิดการเร่งแก้ไขปัญหา ทั้งยังเกิดภัยคุกคามต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่ส่งผล กระทบต่อประชาชนและประเทศชาติมีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภัยท่ี เกิดแกน่ ักเรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ที่เกดิ ข้ึนซำ้ และสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพรา่ งกายและจติ ใจในลาย ปีที่ผ่านมา เช่น ภัยจากการคุกคามทางเพศ ภัยจากการกล่ันแกล้งรังแก (Bully) รวมถึงภัยที่เกิดจากโรคอบุ ัติ ใหม่ ได้แก่ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นผลให้เป็นอุปสรรคต่อการ เรียนรู้ และสวสั ดิภาพชีวติ ของนักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา [ 445 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนระดับที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Y) - แผนแมบ่ ทประเด็น ที่ - (1) เป้าหมายระดับประเดน็ (Y2) ข้อ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธิบายความสอดคล้อง) - (3) ตวั ชว้ี ัด ดชั นกี ารพัฒนามนษุ ย์ (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมอื่ เสรจ็ ส้นิ โครงการ ค่าคะแนน 0.82 แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ - แผนย่อยของแผนแม่บทฯ. (1) เปา้ หมายของแผนยอ่ ย (Y1) วัยเรยี น/วัยรุน่ มีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถว้ น รู้จกั คิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สอ่ื สาร และทำงานร่วมกับผ้อู ่นื ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลตลอดชีวิตดขี นึ้ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคล้อง) การเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จะช่วยให้โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน ตลอดจนการจัด กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความ กล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร อันนำไปสู่การอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) การพฒั นาทักษะชวี ติ F (ปจั จยั ) หลักสตู รทักษะชวี ติ รอบดา้ นและภมู คิ มุ้ กันทางสงั คม (4) แนวทางการพัฒนา 1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะ ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์ การทำงาน ร่วมกบั ผ้อู ่นื (5) ตัวชี้วัด คะแนนความสามารถในการแข่งขันการพัฒนาทุนมนุษยด์ า้ นทักษะ (Skill) ของ World Economic Forum (WEF) (6) Contribution ต่อเปา้ หมายเมอ่ื เสร็จส้ินโครงการ เพิม่ ข้นึ ร้อยละ 20 [ 446 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ 1 เรอื่ ง คนไทยมีคุณลักษณะเปน็ คนไทยท่สี มบรู ณ์ 2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ย์ - เป้าหมายท่ี 1 คนไทยสว่ นใหญ่มที ัศนคติและพฤตกิ รรมตามบรรทัดฐานท่ดี ีของสังคม - แนวทางพฒั นา ข้อที่ 1 ปรับเปลีย่ นค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มวี ินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรก คุณธรรม จรยิ ธรรม ความมีวนิ ัย และจติ สาธารณะ 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความม่นั คงแห่งชาติ 1) แผนความม่นั คงแห่งชาติ ข้อท่ี 1 เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของมนษุ ย์ 2) ประเด็น ข้อที่ 5 การส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ปลูกฝังวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ค่านิยมที่ดีงาม ความภูมิใจในชาติ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยการเรียนการสอน ทั้งใน ระบบและนอกระบบสถานศึกษา เพ่ือสนับสนนุ กิจกรรมในด้านความมั่นคง แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏิบัตริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลัก หัวข้อ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย (ส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละพฒั นาทักษะทกุ ชว่ งวยั : มง่ั เน้นพัฒนาโรงเรียนควบคกู่ ับการพัฒนาครู  นโยบายเร่งด่วน หวั ข้อ การเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 กฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง - มติ ครม.ท่เี ก่ียวข้อง - นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การจัดการศึกษาเพอื่ ความปลอดภยั นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ด้านความปลอดภัย จุดเน้น เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 โดยเพ่มิ โอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษา ฟืน้ ฟสู ภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ (Learning Loss Recovery) ให้กับ ผเู้ รียนทุกระดับ รวมท้งั ลดความเครยี ดและสขุ ภาพจติ ของผเู้ รียน นโยบายจังหวัด  ประเด็นการพัฒนา การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน [ 447 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 3 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดำเนินการ 1. หลกั การและเหตุผล ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านท่ี 1 การจัดการศึกษาเพอื่ ความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาตมิ วี ัตถปุ ระสงคห์ ลกั ในการเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของคนทุกช่วงวัยจากภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560–2579) จึงได้ตระหนกั ถึงการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาการและ เทคโนโลยีของโลกยุคศตวรรษที่ 21 เป็นพลวัตทีก่อให้เกิดความท้าทายในด้านการเปลี่ยนแปลงของบริบท เศรษฐกจิ และสังคมโลก อันเนือ่ งจากการปฏิวตั ิดจิ ิทัล (Digital Revolution) กระแสโลกาภวิ ตั น์เป็นผลให้เกิด การเร่งแก้ไขปัญหา ทั้งยังเกิดภัยคุกคามต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและ ประเทศชาติมีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น ซึ่งภัยในแต่ละด้านมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วยนโยบาย Quick Win 7 วาระเร่งด่วน ข้อที่ 1 ความปลอดภัยของผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการ มองเห็นภัยที่เกิดแก่นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่เกิดขึ้นซ้ำและส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกาย และจิตใจในหลายปีที่ผ่านมา เช่น ภัยจากการคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกลง้ รังแก (Bully) รวมถึงภัย ที่เกิดจากโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นผลให้เป็น อุปสรรคต่อการเรยี นรู้และสวัสดิภาพชวี ติ ของนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น “การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุง่ เนน้ ความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ที่มคี ุณภาพอย่างเทา่ เทียม และบรหิ ารจัดการศกึ ษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยมุ่งเน้นพัฒนาระบบและกลไกใน การดูแลความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและ ภัยคกุ คามทุกรปู แบบ รวมถงึ การจดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการมีสขุ ภาวะทดี่ ี สามารถปรบั ตัวตอ่ โรคอบุ ัติใหม่ และอุบัติซ้ำส่งเสรมิ ความปลอดภัยสร้างความมั่นใจใหส้ ังคม เพื่อคุ้มครองความปลอดภยั แก่นักเรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้การป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือหรือเยียวยา และแก้ไขปัญหา มีความเป็นเอกภาพ มีข้อมลู สารสนเทศท่เี ป็นระบบ สามารถแก้ไขปญั หาและบริหารจดั การความเสยี่ งได้อย่างยัง่ ยืนด้วยการบริหาร จัดการตามมาตรการ 3 ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม ให้เกิดความปลอดภัยให้มากที่สุด และไม่ให้ เกิดเหตุการณ์นั้นซ้ำอีก เพื่อสร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นให้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป ในการที่จะได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และเกิดความปลอดภัยอย่างมั่นคงและ ยั่งยืน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงจัดทำโครงการสร้าง ความปลอดภยั ด้วยมาตรการ 3 ป (ป้องกนั ปลกู ฝัง ปราบปราม) ขึน้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือสร้างความเขม้ แข็งการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา 2.2 เพอื่ ดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ 2.3 เพือ่ พัฒนาแนวทางการจดั การความเสีย่ งด้านความปลอดภยั สถานศึกษาให้สอดคล้องกบั สถานศึกษา เพือ่ ลดโอกาสในการสูญเสยี ทัง้ ทางตรงหรอื ทางออ้ มตอ่ ชีวติ และทรพั ย์สิน [ 448 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3. เปา้ หมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลิต (Output) 3.1.1 สถานศึกษา จำนวน 135 แหง่ มีแผนความปลอดภัยตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา 3.1.2 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการเสริมสร้างความปลอดภัย สถานศึกษาเพ่ือการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื 3.1.3 นักเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ คน ไดร้ ับการคมุ้ ครองดูแลให้มีความปลอดภยั 3.1.4 รอ้ ยละ 80 ความรว่ มมอื ระหวา่ งสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา สถานศึกษาและภาคีเครือขา่ ย มีสว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานดา้ นความปลอดภัยสถานศกึ ษา 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 สถานศึกษามแี ผนความปลอดภยั ตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา 3.2.2 สถานศึกษามีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการเสริมสร้างความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อการ พัฒนาอยา่ งยั่งยนื 3.2.3 นกั เรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการคมุ้ ครองดูแลใหม้ คี วามปลอดภยั 3.2.4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้าน ความปลอดภยั สถานศกึ ษา 4. ผลท่คี าดว่าจะเกดิ 4.1 ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ คน มีความรู้ความเขา้ ใจระบบการดำเนินงาน 4.2 นักเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทุกคนได้รับการคุม้ ครอง ดูแล จากความไม่ปลอดภยั ที่เกิดขนึ้ ตามมาตรการ 3 ป (ป้องกนั ปลูกฝงั ปราบปราม) 4.3 สถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ โดยความร่วมมือของภาษี เครือขา่ ยที่มสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา 5. ดชั นชี วี้ ัดความสำเรจ็ 5.1 ตวั ชว้ี ดั เชิงปริมาณ 5.1.1 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการเสริมสร้างความปลอดภัย สถานศึกษาเพ่ือการพฒั นาอย่างยั่งยืน 5.1.2 รอ้ ยละ 80 ความรว่ มมอื ระหว่างสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศกึ ษาและภาคเี ครือข่าย มีส่วนร่วมในการดำเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั สถานศึกษา 5.2 ตัวชี้วดั เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 สถานศึกษาทุกแหง่ มีแผนความปลอดภัยตามบริบทของสถานศกึ ษา 5.2.2 นักเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ คน ได้รบั การคุ้มครองดแู ลใหม้ ีความปลอดภยั [ 449 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวเิ คราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสี่ยง 6.1.1 ปฏทิ นิ กจิ กรรมของกลุ่มงาน หรือโครงการอื่น ๆ มคี วามซ้ำซอ้ นกัน ทำให้บคุ ลากรทไ่ี ด้รบั การ แตง่ ต้ังเปน็ คณะทำงานไม่สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างเตม็ ทแี่ ละมีประสิทธภิ าพ 6.1.2 ภาระงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนต้องดำเนินการมีหลายกิจกรรม ซึ่งอาจมีช่วงเวลา ทท่ี บั ซ้อนกันกบั โครงการของสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ทำใหค้ รไู ม่สามารถเขา้ รว่ มโครงการได้ 6.2 ผลกระทบความเสยี่ ง 6.2.1 การจัดโครงการอาจมีปญั หาตดิ ขัดและไมเ่ กิดประสิทธสิ งู สดุ 6.2.2 ครูไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ นำไปสูก่ ารไมบ่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการทีต่ ั้งไว้ 6.3 แผนรองรับความเส่ยี ง 6.3.1 ประสานงาน หารือกันภายในกลุ่ม และกลุ่มงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดสรรทรัพยากร ท้งั ดา้ นเวลาและด้านบุคลากรไม่ใหม้ คี วามซับซ้อนกัน อันนำไปสูก่ ารดำเนินโครงการได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 6.3.2 จัดทำปฏิทินการดำเนินงาน พร้อมทั้งแจ้งให้โรงเรยี นในสังกัดทราบล่วงหน้า เพื่อให้โรงเรียน ได้เตรียมความพร้อม จดั สรรเวลาในการทำกิจกรรมของโรงเรยี น 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ นักเรียนและสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 จำนวน 135 โรงเรยี น 8. พ้ืนที่การดำเนนิ การ สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนนิ ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 ส่วนที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม - ไตรมาสที่ 1 - 1,000 1.1 จัดทำโครงการสร้างความปลอดภยั ดว้ ยมาตรการ 3 ป - --- 1,000 รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสที่ 1 - --- ไตรมาสท่ี 2 2.2 คมุ้ ครอง ชว่ ยเหลอื เยยี วยา สรา้ งความเป็นธรรม - 1,000 - ให้กับนกั เรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาจากความไม่ ปลอดภยั ทีเ่ กิดข้นึ และให้เปน็ ไปตามมาตรการ 3 ปี (ปอ้ งกัน ปลูกฝงั ปราบปราม) - ลงพนื้ ที่เพอื่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง กรณีจำเปน็ และ เรง่ ดว่ น ณ สถานศกึ ษาและบ้านพกั นกั เรียน และ ประสานงานกบั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง รวมงบประมาณทใี่ ช้ในไตรมาสที่ 2 - - 1,000 - [ 450 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ไตรมาสที่ 3 (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม 3.1 ลงพ้ืนท่เี พอ่ื ตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีจำเปน็ และ เรง่ ดว่ น ณ สถานศึกษาและบา้ นพกั นกั เรยี น และ - - 2,000 - 2,000 ประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - - 1,000 - 1,000 3.2 ดำเนินงาน กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล การดำเนินงานด้านความปลอดภัยในสถานศกึ ษา - - 3,000 - 3,000 รวมงบประมาณทใี่ ชใ้ นไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 - - 1,000 - 1,000 4.1 จดั ทำสรุปผลการดำเนนิ งานสรา้ งความปลอดภยั ดว้ ยมาตรการ 3 ป - - 1,000 - 1,000 รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 4 - - 5,000 - 5,000 รวมงบประมาณท้ังสิน้ ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 5,000 บาท 2) งบ สพฐ. - บาท 3) งบ ................................................. - บาท งบประมาณท้งั หมด 5,000 บาท แหล่งเงิน เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายไดข้ องหน่วยงาน เงินกู้ อ่ืนๆ ในประเทศ นอกประเทศ - 5,000 บาท - -- ไตรมาส 4 1,000 บาท 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท 1,000 บาท 3,000 บาท ส่วนท่ี 6 : ขอ้ มูลผู้ประสานงาน ช่อื -สกุล นางเด่นดวง ขนั คำ โทรศัพท์ 06 3223 3067 E-mail address - โทรสาร - [ 451 ]



แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มูลท่วั ไป 1. ชื่อโครงการ การดำเนินงานการประเมินตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ ภายใต้แผนงาน พน้ื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการที่ใชง้ บประมาณ  โครงการท่ไี มใ่ ชง้ บประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนินการ  ยงั ไม่เร่ิมดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแลว้ ส่วนที่ 2 : ความเชือ่ มโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดบั ท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั (1) เป้าหมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส (2) ประเดน็ ข้อ 4 ภาครฐั มคี วามทันสมัย ขอ้ ย่อย 4.2 พฒั นาและปรับระบบวิธีการปฏบิ ตั ิราชการให้ ทนั สมัย (3) การบรรลุตามเป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ (อธบิ ายความสอดคล้อง) ประสานความร่วมมือที่หลากหลาย พัฒนากลไกหรือเครื่องมือในการสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการ ในลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนาระหว่างภาครัฐ และภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม โดยดำเนินการอย่างต่อเนื่องและ มเี ป้าหมายชดั เจน แผนระดับที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1 บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ของผใู้ ช้บรกิ าร (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) มีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและอื่น ๆ เพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการอย่าง มปี ระสิทธภิ าพ มีคณุ ภาพและเป็นท่ียอมรบั และพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ริการ [ 453 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3) ตวั ชวี้ ดั ระดบั ความพึงพอใจในคุณภาพการใหบ้ ริการของภาครฐั (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ ระดับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการ ของภาครฐั ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 90 แผนย่อยของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ. การพัฒนาระบบบริหารงานภาครฐั (1) เปา้ หมายของแผนยอ่ ย (Y1) ภาครฐั มขี ีดสมรรถนะสงู เทียบเท่ามาตรฐานสากลและมคี วามคลอ่ งตวั (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนย่อย (อธิบายความสอดคล้อง) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำโครงการการดำเนินงานการ ประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจมีความ คลอ่ งตัว พฒั นาการใหบ้ รกิ ารให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจ (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ศักยภาพบคุ ลากร F (ปจั จัย) ทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในยคุ ดจิ ทิ ลั (4) แนวทางการพัฒนา 3) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการ บริหารงานใหม่ ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว กระชับ ทันสมัย สามารถตอบสนองตอ่ บริบทการเปลี่ยนแปลงได้ ในทุกมิติ ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสร้างองค์การแบบราชการและวางกฎเกณฑ์มาตรฐานกลางอย่างตายตัว มี ขนาดที่เหมาะสมกับภารกิจ ปราศจากความซ้ำซ้อนของการดำเนินภารกิจ สามารถปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกจิ โครงสรา้ งองคก์ าร ระบบการบรหิ ารงาน รวมทงั้ วางกฎ ระเบียบไดเ้ องอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไปเน้นทำงานแบบบูรณาการไร้รอยต่อและเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกบั ทุกภาคส่วน ทั้งนี้ เพื่อมุ่ง ไปสู่ความเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานและมีผลสัมฤทธิ์เทียบได้กับมาตรฐานระดับ สากล นอกจากนี้ ยังมคี วามเป็นสำนักงานสมยั ใหม่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์ ล่วงหน้าและทำงานในเชิงรุก สามารถนำเทคโนโลยีอันทันสมัยเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ สรา้ งคณุ คา่ ในการทำงาน (5) ตัวช้วี ัด ระดับ Digital Government Maturity Mode (Gartner) สดั ส่วนของหนว่ ยงานท่ีบรรลุผลสัมฤทธิ์ อยา่ งสูงตามเปา้ หมาย (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเมื่อเสร็จสนิ้ โครงการ ระดบั 2 ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 90 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 4 เรื่อง จัดระบบบุคลากรภาครัฐให้มีมาตรฐานกลาง เพื่อสรรหา และรักษาไว้ ซง่ึ กำลังคนท่ีมคี ุณภาพสงู มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการทำงานอยา่ งมืออาชีพ เปน็ ท่ไี ว้วางใจของประชาชน 2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ [ 454 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 - เป้าหมายที่ ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 3) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการ บริหารงานใหม่ ให้มีความยืดหยุน่ คล่องตวั กระชับ ทันสมัย สามารถตอบสนองต่อบรบิ ทการเปลี่ยนแปลงได้ ในทุกมิติ ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสร้างองค์การแบบราชการและวางกฎเกณฑ์มาตรฐานกลางอย่างตายตัว มี ขนาดที่เหมาะสมกับภารกิจ ปราศจากความซ้ำซ้อนของการดำเนินภารกิจ สามารถปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกจิ โครงสรา้ งองคก์ าร ระบบการบรหิ ารงาน รวมทงั้ วางกฎ ระเบียบไดเ้ องอยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไปเน้นทำงานแบบบูรณาการไร้รอยต่อและเชื่อมโยงเป็นเครอื ข่ายกับทุกภาคส่วน ทั้งนี้ เพื่อมุ่ง ไปสู่ความเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานและมีผลสัมฤทธิ์เทียบได้กับมาตรฐานระดับ สากล นอกจากน้ี ยงั มีความเป็นสำนกั งานสมยั ใหม่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เพือ่ วเิ คราะห์คาดการณ์ ล่วงหน้าและทำงานในเชิงรุก สามารถนำเทคโนโลยีอันทันสมัยเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ สร้างคุณคา่ ในการทำงาน 3. ความสอดคลอ้ งกบั แผนความมนั่ คงแหง่ ชาติ 1) แผนความม่นั คงแหง่ ชาติ ข้อที่ - 2) ประเด็น ข้อที่ - แผนระดบั ท่ี 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธนั วาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ัติราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลัก หัวขอ้ -  นโยบายเร่งด่วน หัวขอ้ - กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง - มติ ครม.ทีเ่ ก่ยี วข้อง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน - นโยบายจังหวดั  ประเดน็ การพัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน [ 455 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลักการและเหตผุ ล การพัฒนาระบบราชการ เป็นภารกิจหลักส่วนหนึง่ ของหน่วยงานภาครัฐที่มุง่ เน้นสร้างคุณภาพมาตรฐานการ ปฏิบัติงานของส่วนราชการ และหน่วยงานภาครัฐในการให้บริการประชาชนเพื่อสรา้ งความเข้มแข็งให้กับประเทศ ในการแข่งขัน ซึ่งพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารราชการเพื่อให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชนและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ และกำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชน ผู้รบั บริการ ความคุม้ คา่ ในเชงิ ภารกจิ ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่สำนกั งาน ก.พ.ร. กำหนด 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สามารถบริหารจัดการตามภารกิจ สอดคลอ้ งกบั พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบ้านเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) ตัวชี้วัดตามการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2566 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2566 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีค่าคะแนน 4.00 4. ผลทคี่ าดวา่ จะเกิด ผลคะแนนตัวชี้วัดตามการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับการ รบั รองทกุ ตัวชว้ี ดั 5. ดชั นีชว้ี ัดความสำเรจ็ 5.1 ตวั ช้วี ดั เชิงปริมาณ ทุกตัวชี้วัดมีผลคะแนนผ่านการประเมินตามการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2 ตวั ชว้ี ดั เชงิ คุณภาพ ผลคะแนนรวมการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 [ 456 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6. การวิเคราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ 6.1 ปัจจยั ความเสยี่ ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดตามการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบตั ิราชการ เกบ็ ขอ้ มลู ไมค่ รบถว้ น 6.2 ผลกระทบความเสี่ยง การรายงานไมส่ ามารถดำเนินการใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ได้ 6.3 แผนรองรบั ความเส่ียง จัดทำคมู่ อื แยกตัวช้วี ดั แตล่ ะตัว ให้ผ้รู บั ผิดชอบแต่ละคนศกึ ษาเกณฑ์และแนบข้อมูลใหค้ รบถ้วน ทุก ตวั ช้ีวดั และจัดประชุมกล่นั กรองขอ้ มลู กอ่ นการรายงาน 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 8. พื้นท่กี ารดำเนินการ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอบางปลามา้ อำเภอศรปี ระจันต์ 9. ระยะเวลาดำเนินงาน ตุลาคม 2565 - กนั ยายน 2566 สว่ นที่ 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม - ไตรมาสที่ 1 - - - จดั ทำโครงการการดำเนนิ งานการประเมินตัวชี้วดั ตาม 1 ครง้ั - - - - 1,100 มาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ 1,100 3,700 - ร่วมประชมุ ฯ รับทราบแนบทางการดำเนินงานของ สพฐ. 1 ครง้ั - - - 5,200 รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสท่ี 1 - -- ไตรมาสท่ี 2 1. ประชมุ สร้างความรู้ความเขา้ ใจ และกำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบ 1 ครง้ั - - - ตวั ช้วี ดั (KRS) จำนวน 74 คน จำนวน 1 ครงั้ 2. จดั ซื้อวัสดใุ ชใ้ นการจัดประชุมฯ 1 ครง้ั - - 1,100 รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสที่ 2 - - 1,100 ไตรมาสท่ี 3 1. ประชุมกำหนดผ้รู ับผิดชอบตัวชว้ี ัดการประเมินสถานะ 1 - 3,700 - ของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ครง้ั จำนวน 74 คน จำนวน 1 ครัง้ (74x25x2) 2. ประชมุ คณะกรรมการกลั่นกรองเพื่อจัดทำข้อมลู การ 1 ครง้ั - 5,200 - รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบ ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) จำนวน 40 คน (ครงั้ ที่ 1) (40x25x2)+(40x80) [ 457 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ - 3. สำรวจความพึงพอใจการบริหารและการจัดการศกึ ษา 1 ครง้ั - -- 8,900 - รวมทั้งการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งาน 8,900 - -- - เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 10,000 -- รวมงบประมาณท่ใี ชใ้ นไตรมาสท่ี 3 - 8,900 1,100 ไตรมาสที่ 4 1. ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองเพื่อจัดทำข้อมูลการ 1 ครง้ั - รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบ ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) จำนวน 40 คน (คร้ังที่ 2) รวมงบประมาณทใี่ ชใ้ นไตรมาสที่ 4 - รวมงบประมาณท้ังสิน้ - ส่วนท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนนิ งาน สพป.สพ.1 10,000 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทัง้ หมด 10,000 แหล่งเงิน เงินงบประมาณแผ่นดนิ เงินรายไดข้ องหน่วยงาน เงินกู้ อื่นๆ 10,000 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท 1,100 บาท 8,900 บาท สว่ นที่ 6 : ข้อมลู ผปู้ ระสานงาน ชือ่ -สกุล นางสาววภิ า ประกอบวทิ ย์ โทรศัพท์ 09 2321 2864 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 458 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ขอ้ มูลทัว่ ไป 1. ชื่อโครงการ มาตรฐานสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ภายใต้แผนงาน พ้นื ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (งบเขต) 2.. ลกั ษณะโครงการ  โครงการท่ใี ชง้ บประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจ้าง 4.. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนนิ การ  ยงั ไม่เร่ิมดำเนนิ การ  ดำเนินการเสร็จแลว้ สว่ นที่ 2 : ความเชอ่ื มโยงกบั แผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดับที่ 1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ 1. (หลัก) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั (1) เป้าหมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส (2) ประเดน็ ขอ้ 2 ภาครัฐบริหารงานแบบบรู ณาการโดยมยี ุทธศาสตรช์ าตเิ ป็นเปา้ หมายและเช่อื มโยง การพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพ้ืนที่ ข้อย่อย 2.3 ระบบติดตามประเมินผลที่สะท้อน การบรรลเุ ปา้ หมายยุทธศาสตรช์ าตใิ นทุกระดบั (3) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของยุทธศาสตรช์ าติ (อธิบายความสอดคล้อง) การขับเคลื่อนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสู่มาตรฐาน ดำเนินการตามการติดตาม ประเมินผล การบริหารจัดการตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ซึ่งมีมาตรฐาน 3 มาตรฐาน มีตัว บ่งชี้ ประเด็นการพิจารณา มีเกณฑ์การพิจารณาประเมินการบริหารจัดการ และผลสัมฤทธิ์ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งประเมินเชื่อมโยงกับการประเมินประสิทธิภาพของส่วนราชการ (KRS) และ นโยบายของ สพฐ.และกระทรวงศึกษา ซึ่งหากการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ได้รับผลการประเมินในคุณภาพระดับเยี่ยม ผลสัมฤทธิ์ในด้านการจัดการบริหารสำนักงานเขตและการจัด การศึกษาของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูง นักเรียนมีคุณภาพ ได้รับความพึงพอใจและเป็นที่ยอมรับของ ผรู้ ับบริการ ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี และประชาชนทวั่ ไป [ 459 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การบริการประชาชนและประสทิ ธภิ าพภาครัฐ (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1 บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ของผใู้ ช้บริการ (2) การบรรลุตามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) การขับเคลื่อนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสู่มาตรฐาน ดำเนินการตามการติดตาม ประเมินผล การบริหารจัดการตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ซึ่งมีมาตรฐาน 3 มาตรฐาน มีตัวบ่งชี้ ประเด็นการพิจารณา มีเกณฑ์การพิจารณาประเมินการบริหารจัดการ และผลสัมฤทธิ์ของสำนักงาน เขตพื้นที่ การศึกษา รวมทั้งประเมินเชื่อมโยงกับการประเมินประสิทธิภาพของส่วนราชการ (KRS) และนโยบายของ สพฐ. และ กระทรวงศกึ ษา ซง่ึ หากการขบั เคล่ือนการบริหารจดั การสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ไดร้ ับผลการประเมินในคุณภาพ ระดับเยี่ยม ผลสัมฤทธิ์ในด้านการจัดการบริหารสำนักงานเขตและการจัดการศึกษาของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูง นกั เรยี นมคี ณุ ภาพ ไดร้ ับความพงึ พอใจและเปน็ ท่ยี อมรับของผู้รับบรกิ าร ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี และประชาชนท่ัวไป (3) ตวั ชีว้ ัด ระดับความพงึ พอใจในคุณภาพการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั (4) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเม่อื เสร็จส้ินโครงการ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 85 1. ขา้ ราชการ บุคลากรและลูกจา้ งประจำทุกคน 2. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีสารสนเทศประกอบการ บรหิ ารและการจัดการศกึ ษา 3. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สามารถบริหารและจัดการศึกษา เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ท่ียอมรับและพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผเู้ กี่ยวข้อง 4. เกิดการขบั เคลือ่ นการปฏิบตั งิ านอยา่ งเป็นกระบวนการ 5. บุคลากรในสังกดั มีแนวคิดใหม่ มีนวัตกรรมและมีผลงานที่เปน็ Best Practice ในการปฏบิ ตั งิ าน แผนย่อยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ. การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ (1) เป้าหมายของแผนยอ่ ย (Y1) ภาครฐั มีขดี สมรรถนะสูงเทียบเทา่ มาตรฐานสากลและมีความคล่องตัว (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) ขับเคลื่อนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสู่มาตรฐาน ดำเนินการตามการติดตาม ประเมินผลการ บริหารจัดการตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ซึ่งมีมาตรฐาน 3 มาตรฐาน มีตัวบ่งชี้ ประเด็นการพิจารณา มีเกณฑ์การพิจารณาประเมินการบริหารจัดการ และผลสัมฤทธิ์ของสำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษา รวมทั้งประเมินเชื่อมโยงกับการประเมินประสิทธิภาพของส่วนราชการ (KRS) และนโยบายของ สพฐ.และกระทรวงศึกษา ซึ่งหากการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ได้รับผลการ ประเมนิ ในคุณภาพระดบั เย่ยี ม แสดงใหเ้ ห็นถึงการพฒั นาการบรหิ ารจัดการภาครฐั เปน็ ระบบ มีความคล่องตัว งานประสบความสำเรจ็ เปน็ ไปตามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้ [ 460 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (3) Value Chain V (องค์ประกอบ) ศกั ยภาพองค์กร F (ปัจจยั ) กระบวนการทำงานภายใน และนวตั กรรมการทำงาน (4) แนวทางการพัฒนา 2) กำหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐาน เชิงประจกั ษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์ มีความโปรง่ ใส ยดื หยนุ่ และคล่องตวั สูง นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ มีการพัฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐให้ทุกภาค ส่วนสามารถเข้าถึง แบ่งปัน และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและสะดวก รวมทั้งนำองค์ความรู้ในแบบ สหสาขาวิชาเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าและแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศในการตอบสนองกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างทนั เวลา พร้อมทงั้ มกี ารจัดการความรู้และถา่ ยทอดความรูอ้ ย่างเปน็ ระบบเพ่ือพัฒนาภาครัฐให้ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และการเสริมสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร เพ่ือ สง่ เสริมการพัฒนาระบบบรกิ ารและการบริหารจัดการภาครัฐอยา่ งเต็มศกั ยภาพ (5) ตวั ชวี้ ดั ระดบั Digital Government Maturity Mode (Gartner) (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเม่อื เสรจ็ สนิ้ โครงการ ระดับ 2 1. ขา้ ราชการ บุคลากรและลกู จ้างประจำทกุ คน 2. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีสารสนเทศประกอบการ บริหารและการจดั การศกึ ษา 3. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สามารถบริหารและจัด การศกึ ษาเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ เปน็ ทย่ี อมรับและพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารและผู้เก่ยี วขอ้ ง 4. เกดิ การขับเคลื่อนการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นกระบวนการ 5. บุคลากรในสงั กัด มีแนวคิดใหม่ มีนวตั กรรมและมผี ลงานที่เปน็ Best Practice ในการปฏบิ ัติงาน สัดสว่ นของหน่วยงานที่บรรลุผลสัมฤทธิอ์ ย่างสงู ตามเปา้ หมาย ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90 1. ขา้ ราชการ บุคลากรและลกู จา้ งประจำทกุ คน 2. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีสารสนเทศประกอบการ บริหารและการจัดการศกึ ษา 3. สำนักงานเขตพื้นที่กากรศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สามารถบริหารและจัด การศกึ ษาเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ท่ยี อมรับและพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารและผู้เกย่ี วขอ้ ง 4. เกดิ การขับเคลื่อนการปฏบิ ตั ิงานอย่างเปน็ กระบวนการ 5. บคุ ลากรในสงั กดั มีแนวคิดใหม่ มนี วตั กรรมและมีผลงานทเ่ี ป็น Best Practice ในการปฏิบตั งิ าน 2. ความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 2 เรื่อง จัดโครงสร้างองค์กรให้เพรียว กะทัดรัด แต่แข็งแรง เพื่อให้สามารถ บรู ณาการความรว่ มมอื ของทุกภาคส่วนในการทำงานเพื่อประชาชน โดยยดึ พื้นทเี่ ปน็ หลกั [ 461 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ - เป้าหมายที่ 1 ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส - แนวทางพฒั นา ข้อท่ี 2) กำหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์ิ มีความโปรง่ ใส ยดื หยุ่นและคล่องตัวสงู นำนวตั กรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบ การทำงานที่เป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ มีการพัฒนาข้อมูลเปิดภาครัฐให้ทุกภาค ส่วนสามารถเข้าถึง แบ่งปัน และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและสะดวก รวมทั้งนำองค์ความรู้ ในแบบสห สาขาวชิ าเขา้ มาประยกุ ตใ์ ช้ เพอ่ื สรา้ งคณุ ค่าและแนวทางปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลศิ ในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา พร้อมท้ังมีการจัดการความรู้และถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบเพ่ือพัฒนาภาครัฐให้เป็น องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ และการเสริมสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจ การพัฒนาวัฒนธรรมองคก์ ร เพ่ือส่งเสริม การพฒั นาระบบบรกิ ารและการบริหารจัดการภาครฐั อยา่ งเต็มศกั ยภาพ 3. ความสอดคลอ้ งกับแผนความมนั่ คงแหง่ ชาติ 1) แผนความมั่นคงแห่งชาติ ขอ้ ท่ี - 2) ประเดน็ ขอ้ ที่ - แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบัตริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล  นโยบายหลกั หัวข้อ -  นโยบายเรง่ ดว่ น หัวข้อ - กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง - มติ ครม.ทีเ่ กี่ยวข้อง - นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ - นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน - นโยบายจังหวดั  ประเด็นการพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชน [ 462 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตุผล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศใช้มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2557 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 และได้มีการทบทวน ปรับปรุงมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ. 2557 ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาและ บทบาทภารกิจของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในปัจจุบัน จึงได้ประกาศใช้มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ. 2560 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2560 เป็นมาตรฐานกลาง โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อให้ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบริหารและการจดั การศกึ ษา และใช้เป็นเครอ่ื งมือในการ ประเมนิ ตนเอง เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสเู่ ป้าหมาย รวมทง้ั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา ประกอบกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีนโยบายการบริหาร จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ. 2560 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เล็งเห็นถึงความสำคญั ใน เรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการขับเคลื่อนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสู่มาตรฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพ่ือให้สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ดำเนินการประเมนิ ตนเอง และจัดทำรายงานการติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานของสำนักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย บรรลุตามวัตถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้การบริการ สนับสนุน ส่งเสริม ประสานงาน อำนวยการ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาและสถานศึกษาเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพไดม้ าตรฐาน 2.2 เพื่อให้การดำเนินการประเมินตนเอง และจัดทำรายงานการติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัด การศึกษาขน้ั พื้นฐานของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ตามมาตรฐานสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และภายในกำหนด ระยะเวลาทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานกำหนด [ 463 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3. เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชงิ ผลผลติ (Output) ข้าราชการ บุคลากร ลูกจา้ งประจำ ลูกจ้างช่ัวคราวทุกคน 3.2 เป้าหมายเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีข้อมูลและสารสนเทศ ประกอบการบริหารและการจัดการศกึ ษา 3.2.2 การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 สามารถบริหาร และจัดการศึกษา เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เป็นทย่ี อมรบั และพงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผู้เก่ียวขอ้ ง 3.2.3 เกิดการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานอย่างเป็นกระบวนการ มีขั้นตอนและระยะเวลาในการ ทำงานทช่ี ดั เจนและเปน็ รปู ธรรม 3.2.4 บคุ ลากรในสังกัด มีแนวคิดใหม่ มนี วตั กรรมและมีผลงานท่ีเป็น Best Practice ในการปฏบิ ัติงาน 4. ผลที่คาดว่าจะเกดิ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ได้รับการประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษา ขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2566 ได้รับคะแนนระดับ คุณภาพดเี ยย่ี ม ท้ัง 3 มาตรฐาน 5. ดชั นชี ี้วดั ความสำเร็จ ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ประจำปีงบประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ระดบั คณุ ภาพดเี ยี่ยม 5.1 ตัวช้ีวดั เชงิ ปริมาณ ผลการประเมนิ แต่ละตวั ชว้ี ดั ทกุ ตัวชีว้ ดั 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผลรวมการประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรฐาน สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ 2566 ได้รบั คะแนนระดบั คณุ ภาพดีเยยี่ มทั้ง 3 มาตรฐาน 6. การวิเคราะห์ความเสยี่ งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเสย่ี ง เจ้าหน้าที่ผู้รบั ผิดชอบตัวชี้วัดตามการประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรฐาน สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา เก็บขอ้ มูลไมค่ รบถ้วน 6.2 ผลกระทบความเสย่ี ง การรายงานไมส่ ามารถดำเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้ 6.3 แผนรองรบั ความเสยี่ ง จัดทำคู่มือแยกตัวชี้วัดแต่ละตัว ทั้ง 3 มาตรฐาน ให้ผู้รับผิดชอบแต่ละคนศึกษาเกณฑ์และแนบ ข้อมูลใหค้ รบถว้ น ทุกตวั ช้ีวดั ทัง้ 3 มาตรฐาน และจดั ประชุมกลนั่ กรองข้อมูลกอ่ นการรายงาน 7. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับประโยชน์ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 [ 464 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 8. พื้นที่การดำเนนิ การ อำเภอเมืองสุพรรณบรุ ี อำเภอบางปลาม้า อำเภอศรีประจนั ต์ 9. ระยะเวลาดำเนิน 1 ตลุ าคม 2565 ถงึ 30 กันยายน 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ รายละเอยี ดกิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ - - ไตรมาสที่ 1 -- - -- 3,700 - จัดทำโครงการมาตรฐานสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา 1 ครง้ั - -- 3,700 - ร่วมประชุมฯ รับทราบแนบทางการดำเนินงานของ สพฐ. 1 ครง้ั - 3,700 - 5,200 รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 1 - 1,100 6,300 ไตรมาสที่ 2 - 1. ประชุมสร้างความรู้ความเขา้ ใจ และกำหนดผู้รับผิดชอบ 1 ครง้ั - - ตวั ชว้ี ัด ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา 10,000 จำนวน 74 คน จำนวน 1 คร้ัง (74x25x2) รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสท่ี 2 - 3,700 3,700 5,200 - ไตรมาสที่ 3 1. ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองเพื่อจัดทำข้อมูลการ 1 ครง้ั - รายงานการประเมินผลการดำเนินงานตามตามมาตรฐาน สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา (40x25x2)+(40x80) 2. จ้างทำเอกสารรูปเล่มผลงานความเปน็ เลิศ 10 เลม่ 1,100 - 6,300 - รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสท่ี 3 - -- ไตรมาสท่ี 4 1. ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองเพื่อจัดทำข้อมูลการ 1 - รายงานการประเมินผลการดำเนินงานตามตามมาตรฐาน (ครง้ั ) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา (คร้งั ที่ 2) รวมงบประมาณที่ใช้ในไตรมาสที่ 4 - - - 10,000 - รวมงบประมาณทัง้ ส้ิน - สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 10,000 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณท้ังหมด 10,000 [ 465 ]

แผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แหล่งเงนิ เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายได้ของหนว่ ยงาน เงินกู้ อื่นๆ 10,000 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 พ.ศ. 2566 - บาท 3,700 บาท 6,300 บาท ส่วนท่ี 6 : ข้อมลู ผู้ประสานงาน ชือ่ -สกุล นางสาววภิ า ประกอบวทิ ย์ โทรศพั ท์ 09 2321 2864 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 466 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มลู ท่วั ไป 1. ช่ือโครงการ ติดตามประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในและการจดั ทำแผนบริหารความเส่ยี ง ภายใต้แผนงาน พ้นื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการที่ใชง้ บประมาณ  โครงการท่ไี มใ่ ช้งบประมาณ 3. วิธีการดำเนินงาน  ดำเนนิ การเอง  จดั จ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยรู่ ะหว่างดำเนินการ  ยังไม่เริ่มดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแลว้ สว่ นที่ 2 : ความเช่อื มโยงกับแผนในระดบั ต่างๆ แผนระดบั ที่ 1 1. ยุทธศาสตร์ชาติ (หลัก) ยุทธศาสตรช์ าติ (Z) ด้าน การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั (1) เปา้ หมาย 3. ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ (2) ประเดน็ ข้อ 6 ภาครฐั มคี วามโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ขอ้ ยอ่ ย 6.2 บุคลากร ภาครัฐยดึ มน่ั ในหลกั คุณธรรม จริยธรรมและความซ่อื สัตย์สจุ ริต (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ โดย (1) ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ (2) บุคลากรในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ยึดมั่นใน หลักคณุ ธรรม จริยธรรมและความซอื่ สัตยส์ ุจริต (3) การปราบปรามการทจุ ริตประพฤติมชิ อบมีประสิทธิภาพมี ความเด็ดขาด เป็นธรรมและตรวจสอบได้ (4) การบริหารจัดการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่าง เป็นระบบแบบบรู ณาการ แผนระดับที่ 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (Y) แผนแม่บทประเดน็ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (1) เป้าหมายระดบั ประเด็น (Y2) ข้อ 1 ประเทศไทยปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ [ 467 ]

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเป้าหมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคล้อง) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ โดย (1) ประชาชนและภาคีตา่ ง ๆ ในสังคมร่วมมอื กันในการปอ้ งกนั การทจุ ริตและประพฤติมิ ชอบ (2) บคุ ลากรในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ยดึ มั่นในหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความซือ่ สตั ย์สจุ ริต (3) การปราบปรามการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบมีประสทิ ธิภาพมีความเด็ดขาด เป็นธรรมและตรวจสอบได้ (4) การบริหารจัดการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบแบบ บรู ณาการ (3) ตัวชี้วัด ดชั นกี ารรับรู้การทจุ รติ ของประเทศ (อันดบั /คะแนน) (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ อยู่ในอันดับ 1 ใน 54 และ/หรือได้คะแนน ไม่ตำ่ กวา่ 50 คะแนน 1. แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เลม่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 2. รายงานติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของกลุ่มทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แหง่ ในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 คิดเป็นรอ้ ยละ 100 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยงตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรบั หนว่ ยงาน 4. ทกุ กล่มุ และสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 จัดทำรายงานการควบคุมภายในและสามารถรายงานผลการดำเนนิ งานตอ่ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ได้อย่างรวดเรว็ มีประสทิ ธภิ าพและทันตามกำหนด แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ การป้องกันการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ (1) เปา้ หมายของแผนย่อย (Y1) คดีทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบลดลง (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนยอ่ ย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ โดย (1) ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ (2) บุคลากรในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ยึดมั่นใน หลักคุณธรรม จริยธรรมและความซอ่ื สตั ย์สุจรติ (3) การปราบปรามการทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบมีประสิทธิภาพมี ความเด็ดขาด เป็นธรรมและตรวจสอบได้ (4) การบริหารจัดการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่าง เปน็ ระบบแบบบรู ณาการ (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) การพัฒนาระบบราชการ F (ปัจจยั ) ระบบตรวจสอบภายในท่มี ีประสทิ ธภิ าพ [ 468 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (4) แนวทางการพฒั นา 2) ส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาด ปราศจาก พฤติกรรมที่ส่อไปในทางทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้องเป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ตลอดจนการสร้าง จิตสำนึกและค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์กร โดยการสนับสนุนให้ข้าราชการและ เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การเฝ้าระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเสี่ยงและแจ้งเบาะแส เพื่อสกัดกั้นมใิ ห้เกิดการทุจริตประพฤตมิ ิชอบได้ โดยมีมาตรการสนับสนนุ และคุม้ ครองผูแ้ จง้ เบาะแส (5) ตวั ช้วี ัด 1. จำนวนคดที จุ รติ ในภาพรวม 2. จำนวนคดที จุ รติ รายหนว่ ยงาน – จำนวนข้อร้องเรยี นจากเจา้ หนา้ ทภี่ าครัฐท่ีถูกชีม้ ูลเร่ืองวนิ ัย (ทุจรติ ) 3. จำนวนขอ้ ร้องเรียนเจา้ หน้าทภี่ าครัฐที่ถูกชม้ี ลู ว่ากระทำการทจุ ริต (6) Contribution ตอ่ เปา้ หมายเมอ่ื เสรจ็ ส้ินโครงการ 1. ลดลงร้อยละ 10 (1) แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เล่ม คิดเป็นร้อยละ 100 (2) รายงานติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของ กลุ่มทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึ กษา ประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 คดิ เปน็ ร้อยละ 100 (3) สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสีย่ งตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจดั การความเสี่ยง สำหรบั หน่วยงาน (4) ทกุ กลุ่มและสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำรายงานการควบคุมภายในและสามารถรายงานผลการ ดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและทันตาม กำหนด 2. ลดลงร้อยละ 10 (1) แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เล่ม คิดเป็นร้อยละ 100 (2) รายงานติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของ กลุ่มทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 คิดเป็นร้อยละ 100 (3) สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบตั กิ ารบรหิ ารจดั การความเสีย่ ง สำหรับหน่วยงาน (4) ทุกกล่มุ และสถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำรายงานการควบคุมภายในและสามารถรายงานผลการ ดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและทันตาม กำหนด 3. ลดลงร้อยละ 10 (1) แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เล่ม คิดเป็นร้อยละ 100 (2) รายงานติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของ กลุ่มทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา [ 469 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 (3) สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานและหลักเกณฑก์ ระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏบิ ตั ิการบริหารจัดการความเสยี่ ง สำหรับหน่วยงาน (4) ทุกกลมุ่ และสถานศึกษาในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำรายงานการควบคุมภายในและสามารถรายงานผลการ ดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและทันตาม กำหนด 4. ลดลงร้อยละ (1) แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เล่ม คิดเป็นร้อยละ 100 (2) รายงานติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของกลุ่มทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 คิดเป็นร้อยละ 100 (3) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยงตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรับหน่วยงาน (4) ทุกกลุ่มและสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำรายงานการควบคุมภายในและสามารถรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มปี ระสทิ ธิภาพและทนั ตามกำหนด 2. ความสอดคลอ้ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1) เป้าหมายรวม ข้อ 6 เรื่อง มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอำนาจและมสี ่วนรว่ มจากประชาชน 2) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย - เป้าหมายท่ี 4 ลดจำนวนการดำเนนิ คดกี บั ผู้มิไดก้ ระทำความผดิ - แนวทางพัฒนา ข้อที่ 5 ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ (ป้องกนั การทจุ ริต) 3. ความสอดคล้องกับแผนความมั่นคงแห่งชาติ 1) แผนความม่ันคงแห่งชาติ ขอ้ ท่ี - 2) ประเดน็ ข้อท่ี - แผนระดับท่ี 3 (ตามมติ ครม. วันที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏบิ ตั ริ าชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาล  นโยบายหลัก หวั ข้อ แกไ้ ขปัญหาทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ  นโยบายเรง่ ด่วน หัวข้อการแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมืองและ ฝ่ายราชการประจำ กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง - [ 470 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มติ ครม.ทเี่ ก่ียวขอ้ ง - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร - นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน - นโยบายจังหวดั  ประเด็นการพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ส่วนที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลักการและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงนิ การคลงั ของรฐั พ.ศ.2561 หมวด 4 การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ มาตรา 79 กำหนดให้หนว่ ยงานของรฐั จดั ใหม้ ีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และการบริหารจดั การ ความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดทำ แผนบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐแล้วรายงานใหห้ ัวหน้าหน่วยงาน ของรัฐทราบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และจัดทำรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในทุกปี ดังนั้น เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั เกณฑด์ งั กล่าว สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงกำหนด ดำเนินการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 และ จัดทำรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน โดยมีการ วิเคราะห์ความเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยงและ วธิ ีจดั การความเสีย่ งของสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ซึง่ จะช่วยให้การดำเนินงาน ตามภารกิจหลักของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีความเพียงพอ เหมาะสมและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้จัดทำโครงการการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน และการจัดทำแผนบรหิ ารความเสย่ี ง ของสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยง ตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความ เส่ยี ง สำหรบั หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 2.2 เพื่อให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 กลุ่มทุกกลุ่ม และสถานศึกษา ในสังกดั ดำเนินการรายงานการตดิ ตามประเมินผลการควบคมุ ภายใน อยา่ งต่อเน่อื ง [ 471 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3. เป้าหมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงผลผลิต (Output) 3.1.1 แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 1 เลม่ คดิ เปน็ ร้อยละ 100 3.1.2 รายงานตดิ ตามประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน ของกลมุ่ ทุกกลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม และสถานศึกษา จำนวน 135 แห่ง ในสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 3.2 เป้าหมายเชิงผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีแผนบริหารความเสี่ยง ตาม มาตรฐานและหลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยมาตรฐานและหลกั เกณฑป์ ฏบิ ตั ิการบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 3.2.2 ทุกกลุ่มและสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำรายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน และสามารถจัดทำได้อย่างถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ กำหนด และสามารถรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่างรวดเรว็ มปี ระสทิ ธิภาพและทนั ตามกำหนด 4. ผลที่คาดวา่ จะเกิด 4.1 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 1 มแี ผนบรหิ ารความเส่ยี ง ตามมาตรฐาน และหลักเกณฑ์กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏบิ ัติการบริหารจัดการความเสีย่ ง สำหรับ หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 4.2 ทุกกลุม่ และสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จัดทำ รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน และสามารถจัดทำได้อย่างถูกต้อง ภายในระยะเวลา ที่กำหนด และสามารถรายงานผลการดำเนินงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้อย่าง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพและทันตามกำหนด 5. ดชั นชี ้ีวดั ความสำเร็จ 5.1 ตัวชวี้ ดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 แผนบริหารความเสี่ยง ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าดว้ ยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 จำนวน 1 เลม่ 5.1.2 รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ของทกุ กลมุ่ จำนวน 10 เล่ม และของสถานศกึ ษาในสงั กดั จำนวน 135 เลม่ [ 472 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5.2 ตวั ช้วี ดั เชิงคุณภาพ 5.2.1 แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ถูกต้องตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหาร จดั การความเสีย่ ง สำหรบั หน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2561 มีความสมบรู ณ์ ถูกตอ้ ง ครบถ้วนและทันกำหนดเวลา 5.2.2 รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 ของทุกกลุ่ม และของสถานศึกษาในสังกัด มีความถูกต้องตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 มีความสมบรู ณ์ ถกู ต้อง ครบถว้ นและทนั กำหนดเวลา 6. การวิเคราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 6.1 ปจั จยั ความเสีย่ ง บคุ ลากรขาดความรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการควบคุมภายในตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง วา่ ด้วยมาตรฐานและหลกั เกณฑป์ ฏบิ ตั ิการบริหารจัดการความเสยี่ ง สำหรบั หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 6.2 ผลกระทบความเส่ยี ง การจัดทำรายงานด้านต่าง ๆ ขาดความน่าเชื่อถือ การบริหารจัดการ และการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบงั คบั ตา่ ง ๆ ไมบ่ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ขององค์กร 6.3 แผนรองรบั ความเสีย่ ง ความรู้ความเข้าใจเรื่องการควบคุมภายในตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ให้แก่ บุคลากรในสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 และสถานศกึ ษาในสงั กดั 7. กลมุ่ เป้าหมาย/ผ้ทู ี่ได้รบั ประโยชน์ โรงเรียน ครแู ละบลุ ากรทางการศกึ ษาในสงั กดั 8. พืน้ ทกี่ ารดำเนินการ อำเภอเมอื งสุพรรณบุรี อำเภอบางปลามา้ อำเภอศรปี ระจันต์ จ.สพุ รรณบรุ ี 9. ระยะเวลาดำเนนิ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กนั ยายน 2566 [ 473 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนินการ รายละเอยี ดกจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ รวม (เชงิ ปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ - - ไตรมาสท่ี 1 -- -- - 1. จัดทำโครงการตดิ ตามประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในและ 1 - - -- - การจดั ทำแผนบริหารความเสี่ยง ครง้ั -- - -- 39,130 2. ประชุมสร้างความร้คู วามเข้าใจเร่ืองการควบคุมภายใน 1 - -- 39,130 - 5,000 ตามมาตรฐานและหลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลงั ว่าด้วย ครง้ั 44,130 - 5,000 มาตรฐานและหลกั เกณฑป์ ฏิบัติการบรหิ ารจัดการความ 39,130 5,000 - เส่ียง สำหรับหนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. 2561 ให้แกบ่ คุ ลากรใน -- สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 รวมงบประมาณทีใ่ ช้ในไตรมาสที่ 1 - ไตรมาสที่ 2 1. ตดิ ตามการจัดทำรายงานติดตามประเมนิ ผลการควบคมุ 1 - ภายใน ภาพรวม ของทกุ กลุ่ม ครง้ั 2. ตดิ ตามการจดั ทำแบบประเมินการควบคุมภายในด้วย 1 - ตนเอง (CSA) ของทุกคน ครง้ั รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 2 - ไตรมาสที่ 3 1. ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการสร้างความรูค้ วามเข้าใจเรื่องการ 1 - ควบคุมภายในตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ครง้ั กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏบิ ัติการบริหารจดั การความเสีย่ ง สำหรบั หน่วยงานของ รัฐ พ.ศ. 2561 ใหแ้ กผ่ ูบ้ ริหารโรงเรียนและบคุ ลากร ผู้รบั ผิดชอบงานควบคุมภายในของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 จำนวน 270 คน โดยมีคณะกรรมการดำเนินการจัดประชมุ จำนวน 31 คน (301x25x2)+(301x80) 2. จดั ซื้อวสั ดุเพ่อื จัดทำเอกสารในการจดั ประชมุ ฯ 1- ครง้ั รวมงบประมาณทีใ่ ชใ้ นไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 1. ประชมุ คณะกรรมกล่ันกรองการประเมนิ ผลการควบคุม 1 - ภายใน ของ สพป.สพ.1 ครง้ั [ 474 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอยี ดกิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ รวม (เชิงปรมิ าณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ - 2. จดั ทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ตาม 1 - -- - 44,130 มาตรฐานและหลกั เกณฑก์ ระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยมาตรฐาน ครง้ั -- 39,130 5,000 และหลักเกณฑ์ปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจดั การความเส่ียง สำหรับ หนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. 2561 รวมงบประมาณทใี่ ชใ้ นไตรมาสที่ 4 - รวมงบประมาณทงั้ สน้ิ สว่ นที่ 5 : งบประมาณ 1. วงเงนิ งบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 44,130 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทั้งหมด 44,130 แหลง่ เงนิ เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงนิ รายไดข้ องหนว่ ยงาน เงินกู้ อนื่ ๆ 44,130 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 - บาท 2. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปีงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 - บาท 44,130บาท พ.ศ. 2566 - บาท สว่ นที่ 6 : ข้อมูลผูป้ ระสานงาน ชื่อ-สกลุ นางสาววภิ า ประกอบวิทย์ โทรศัพท์ 09 2321 2864 E-mail address [email protected] โทรสาร 0 3552 1191 [ 475 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สว่ นที่ 1 : ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1. ชอ่ื โครงการ ประชุมผูบ้ ริหารการศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ภายใต้แผนงาน พ้นื ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (งบเขต) 2. ลักษณะโครงการ  โครงการท่ใี ช้งบประมาณ  โครงการทไี่ มใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ ีการดำเนินงาน  ดำเนินการเอง  จัดจา้ ง 4. สถานะโครงการ/การดำเนนิ งาน  อยูร่ ะหว่างดำเนินการ  ยังไม่เริ่มดำเนินการ  ดำเนินการเสร็จแลว้ ส่วนท่ี 2 : ความเชอื่ มโยงกบั แผนในระดับตา่ ง ๆ แผนระดับท่ี 1 1.ยุทธศาสตร์ชาติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Z) การปรบั สมดลุ ละพฒั นาระบบบริหารจดั การภาครัฐ ดา้ น การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครฐั (1) เป้าหมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมตอบสนองความ ต้องการประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส (2) ประเด็นข้อ 5 บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกมี ความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชพี ข้อย่อย 5.2 บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชน มีคณุ ธรรม และมกี ารพฒั นาตามเส้นทางความกา้ วหน้าในอาชพี (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยทุ ธศาสตร์ชาติ (อธิบายความสอดคล้อง) มีการพัฒนาขดี ความสามารถบุคลากรภาครฐั และวางมาตรการทีเ่ หมาะสมกับเสน้ ทางความก้าวหน้า ในสายอาชพี ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานและสร้างคา่ นิยมในการปฏิบัติงานเพ่ือประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม สามารถบูรณาการการทำงานร่วมกับภาคส่วนอื่นได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยการสร้างผู้นำทาง ยุทธศาสตร์ ในหนว่ ยงานภาครัฐทุกระดับอยา่ งตอ่ เนื่องและเป็นระบบเพ่ือรองรับการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว แผนระดับที่ 2 1. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเดน็ การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ (1) เป้าหมายระดบั ประเดน็ (Y2) บริการของรฐั มปี ระสิทธภิ าพและมคี ณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรับ ของผ้ใู ชบ้ ริการ [ 476 ]

แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (2) การบรรลตุ ามเปา้ หมายของแผนแมบ่ ท (อธิบายความสอดคลอ้ ง) บุคลากรในหน่วยงาน ได้รับการพัฒนาภาวะผู้นำในทุกระดับให้มีขีดสมรรถนะสูง มีความ รับผิดชอบและมีความเป็นมืออาชีพ เป็นผู้นำทางความรู้และความคิด ผลักดันภารกิจ นำการเปลี่ยนแปลง พฒั นานโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแบบอยา่ งทีด่ ตี ่อเพ่อื นรว่ มงานและสังคม (3) ตัวชวี้ ดั ระดับความพึงพอใจในคณุ ภาพการใหบ้ ริการของภาครัฐ (4) Contribution ต่อเปา้ หมายเม่ือเสร็จสนิ้ โครงการ 1. ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 85 2. ประชมุ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั จำนวน 180 คน (2 เดอื น/ครง้ั ) 3. ประชุมผู้บริหารการศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่ม ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษาและ ร่วมรับฟังการประชุมพธุ เช้าข่าว สพฐ. จำนวน 27 คน (สปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ ) 4. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สพุ รรณบรุ ี เขต 1 5. บุคลากรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับทราบนโยบาย ยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิรูปการศึกษา สามารถนำความรไู้ ปใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขึ้น 6. รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ผู้อำนวยการ กลุม่ /หนว่ ยประธานกลมุ่ โรงเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และรว่ มมือกนั ขับเคล่อื นนโยบาย สูก่ ารปฏบิ ัตไิ ด้อย่าง ชดั เจน และต่อเนือ่ ง แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การสรา้ งและพฒั นาบุคลากรภาครฐั (1) เป้าหมายของแผนย่อย (Y1 ) บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชน ยึดหลัก คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สำนึก มคี วามสามารถสงู ม่งุ ม่นั และเปน็ มอื อาชีพ (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนย่อย (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) บุคลากรในหนว่ ยงาน มีความรู้ ความสามารถทกุ ดา้ น สามารถขบั เคลอื่ นการบริหารจัดการศกึ ษา ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์จุดเน้นของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) ภาวะผนู้ ำของผบู้ ริหารส่วนราชการทุกระดบั F (ปัจจยั ) ความสามารถในการสรา้ งการเปลีย่ นแปลงและการเป็นแบบอยา่ งท่ีดี [ 477 ]

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (4) แนวทางการพฒั นา สร้างผู้นำทางยุทธศาสตร์ในหน่วยงานภาครัฐทกุ ระดับอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เพื่อให้ผู้นำ และผู้บริหารภาครัฐมีความคิดเชิงกลยุทธ์ มีความเข้าใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมทั้งระดับท้องถ่ิน ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก มีความสามารถในการนำหน่วยงาน และมีคุณธรรม จริยธรรมใน การบริหารงานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เป็นทั้งผู้นำทางความรู้และความคิด ผลักดันภารกิจ นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้ร่วมงานและต่อสังคม เพื่อรองรับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ ระยะยาว โดยต้องได้รับการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางความคิดให้ตนเอง มีความเป็นผู้ประกอบการ สาธารณะ เพิ่มทักษะให้มีสมรรถนะที่จำเป็น และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันจะช่วยทำให้สามารถแสดง บทบาทของการเป็นผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง เพอื่ สรา้ งคุณค่าและประโยชน์สุขให้แกป่ ระชาชน (5) ตัวชีว้ ัด ดชั นีความผกู พันของบคุ ลากรภาครฐั (6) Contribution ตอ่ เป้าหมายเม่อื เสร็จส้นิ โครงการ 1. ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. ประชุมผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั จำนวน 180 คน (ประชุม 2 เดอื น/คร้ัง) 3. ประชมุ ผู้บรหิ ารการศกึ ษา ผอู้ ำนวยการกลุ่ม ศึกษานเิ ทศก์ และบุลากรทางการศกึ ษา และร่วมรับฟงั การประชุมพธุ เชา้ ขา่ ว สพฐ. จำนวน 27 คน (สปั ดาหล์ ะ 1 คร้งั ) 4. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และนโยบายของสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 5. บุคลากรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับทราบนโยบาย ยทุ ธศาสตร์การปฏริ ปู การศกึ ษา สามารถนำความรไู้ ปใช้เป็นแนวทางในการพฒั นางานใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยิ่งข้นึ 6. รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ผู้อำนวยการ กลุ่ม/หนว่ ยประธานกลมุ่ โรงเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และรว่ มมอื กนั ขบั เคล่อื นนโยบาย สกู่ ารปฏบิ ตั ิได้อย่าง ชัดเจน และต่อเนือ่ ง 2. ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 1) เปา้ หมายรวม ขอ้ - เรื่อง - 2) ยุทธศาสตรท์ ่ี - - เปา้ หมายที่ - - แนวทางพฒั นา ข้อท่ี - 3. ความสอดคล้องกับแผนความม่ันคงแหง่ ชาติ 1) แผนความมัน่ คงแหง่ ชาติ ขอ้ ท่ี - 2) ประเดน็ ข้อท่ี – [ 478 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แผนระดับที่ 3 (ตามมติ ครม. วนั ที่ 4 ธันวาคม 2560) 1) แผนปฏิบตั ิราชการ (พ.ศ. 2566 – 2570) ของ สพฐ. 2) แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของ สพฐ. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล  นโยบายหลัก หัวขอ้ สง่ เสรมิ ระบบธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจดั การภาครฐั  นโยบายเรง่ ด่วน หัวขอ้ - กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง - มติ ครม.ท่เี กย่ี วข้อง - นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธิการ - นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน - นโยบายจงั หวัด  ประเด็นการพัฒนา การพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน สว่ นที่ 3 : รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ/การดำเนนิ การ 1. หลกั การและเหตุผล สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 จะบริหารจัดการศกึ ษาให้มีประสิทธภิ าพไดน้ นั้ บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับต้องมีศักยภาพ มีความรู้ความสามารถทุกด้าน และผู้ที่จะเป็นผู้นำที่จะ ขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษา ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กลยุทธ์ จุดเน้นของรัฐบาล กระทรวง หรือหน่วยงานต้นสังกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้าง สถานศึกษาในสังกัด ต้องมีความรู้และความ เข้าใจ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดให้มีการจัดการประชุมเพื่อมอบนโยบายต่าง ๆ พร้อมทั้งช้ีแจงทำความเข้าใจ ถือเปน็ หลกั สำคัญอยา่ งหนึ่งในกระบวนการบรหิ ารจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงได้จัดทำโครงการประชุมผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบคุ ลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 1 ข้ึน เพอ่ื บรหิ ารงานในสถานศึกษา ใหเ้ ป็นไปตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร ผู้บริหารสถานศกึ ษาเป็นบุคคลสำคัญท่ี มีบทบาทและมีอำนาจหน้าท่ีในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่องค์การ ได้กำหนดไว้และสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมายของแผนยทุ ธศาสตร์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี [ 479 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บรหิ ารการศึกษา ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มคี วามร้คู วามเข้าใจ นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ จุดเน้น และความรู้เกี่ยวกับระเบียบใหม่ ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เป็นไปในแนวทางเดยี วกนั และก่อให้เกดิ ประสิทธิภาพต่อผเู้ รยี น 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชงิ ผลผลติ (Output) 3.1.1 ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 180 คน (จำนวน 2 เดือน/ 1 คร้ัง) 3.1.2 ประชุมผู้บริหารการศึกษา ผู้อำนวยการกลุ่ม ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 27 คน และร่วมรับฟังการประชมุ พธุ เช้าขา่ ว สพฐ. (สปั ดาห์ละ 1 ครงั้ ) 3.2 เปา้ หมายเชิงผลลพั ธ์ (Outcome) 3.2.1 สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน และนโยบายของสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 3.2.2 บุคลากรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้รับทราบนโยบาย ยุทธศาสตรก์ ารปฏิรปู การศึกษา สามารถนำความรูไ้ ปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนางานใหม้ ประสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้ 3.2.3 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ผู้อำนวยการกลุ่ม/ หนว่ ย ศกึ ษานเิ ทศก์ ประธานกลุ่มโรงเรียน มีความรู้ ความเขา้ ใจ และร่วมมือกนั ขับเคล่อื นนโยบายสู่การปฏิบัติได้ อยา่ งชัดเจน และตอ่ เน่อื ง 4. ผลทีค่ าดว่าจะเกิด 4.1 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 และสถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจัดการศึกษา ร่วมกันไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 4.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง มี แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และร่วมมือกันขับเคลื่อนนโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ ฯลฯ สู่การปฏิบัติได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ 5. ดัชนชี วี้ ดั ความสำเรจ็ 5.1 ตัวช้ีวดั เชิงปรมิ าณ 5.1.1 ร้อยละของสถานศึกษาที่สามารถนำนโยบายไปปรับปรุง พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา ใน สถานศกึ ษาของตนเองไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขน้ึ และผเู้ รยี นเกดิ ทกั ษะการเรียนรู้ และสามารถพัฒนาตนเอง ให้สามารถอยูก่ บั ผอู้ น่ื ได้ รอ้ ยละ 100 5.1.2 ร้อยละของบุคลากรในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 สามารถ นำความรู้ ไปพฒั นาทกั ษะการทำงานของตนเองและองคก์ รไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ รอ้ ยละ 100 [ 480 ]

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 5.2 ตวั ช้วี ดั เชิงคุณภาพ 5.2.1 สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 1 และสถานศกึ ษาสามารถบริหาร จดั การศกึ ษารว่ มกันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและ ผู้เกี่ยวข้องมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และร่วมมือกันขับเคลื่อนนโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ฯลฯ สู่การ ปฏิบตั ิ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 6. การวิเคราะห์ความเส่ยี งของโครงการ 6.1 ปจั จัยความเสีย่ ง ผบู้ รหิ ารการศึกษา ผ้บู ริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ในสังกัดทุกระดับ ไม่รับทราบนโยบาย ไม่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์การปฏิรูป การศึกษา ของรัฐบาล กระทรวง หรือหน่วยงานต้นสังกัด 6.2 ผลกระทบความเสย่ี ง ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไมส่ ามารถ นำนโยบายไปขับเคลอ่ื นงานตามนโยบาย ส่งผลใหก้ ารบริหารจดั การศึกษาไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 6.3 แผนรองรบั ความเส่ียง ประชุมผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษาในสังกัดทุกระดับ ชี้แจงทำความเข้าใจนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ จุดเน้น และความรู้ เกี่ยวกับระเบียบใหม่ ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันและก่อให้เกิด ประสทิ ธิภาพตอ่ ผ้เู รียน 7. กลุ่มเปา้ หมาย/ผ้ทู ่ีได้รับประโยชน์ ผ้บู ริหารการศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา บคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรยี น 8. พืน้ ทกี่ ารดำเนินการ สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 9. ระยะเวลาดำเนิน ตลุ าคม 2565 - กันยายน 2566 สว่ นท่ี 4 : แนวทางการดำเนนิ การ เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ รายละเอียดกิจกรรม (เชิงปริมาณ) ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ รวม ไตรมาสที่ 1 11 ครงั้ - 6,150 - 6,150 1. ประชุมผบู้ ริหารการศึกษา ผู้อำนวยการกลมุ่ และศกึ ษานิเทศก์ และร่วมรับฟงั การประชมุ พธุ เช้าข่าว - 6,150 - 6,150 สพฐ. (สปั ดาห์ละ 1 ครัง้ ) รวมงบประมาณที่ใชใ้ นไตรมาสที่ 1 [ 481 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดกจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ (เชงิ ปริมาณ) ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม ไตรมาสที่ 2 1. จดั ประชุมผูบ้ รหิ ารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา 2 คร้งั - 46,800 46,800 และบุคลากรทางการศกึ ษาในสังกัด (ประชมุ 2 เดือน/ครงั้ ) 2. ประชมุ ผู้บริหารการศึกษา ผอู้ ำนวยการกล่มุ 13 ครงั้ - 8,775 - 8,775 และศกึ ษานเิ ทศก์ และรว่ มรบั ฟงั การประชมุ พุธเชา้ ขา่ ว สพฐ. (สัปดาห์ละ 1 ครงั้ ) 3. คา่ วัสดุสำหรับการประชุมฯ - - 5,475 5,475 รวมงบประมาณทใ่ี ชใ้ นไตรมาสท่ี 2 - 55,575 5,475 61,050 ไตรมาสที่ 3 1. จัดประชุมผบู้ รหิ ารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา 2 ครง้ั - 46,800 - 46,800 และบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกดั (ประชมุ 2 เดอื น /ครัง้ ) 2. ประชุมผ้บู รหิ ารการศึกษา ผ้อู ำนวยการกลุม่ 13 ครง้ั - 8,775 - 8,775 และศึกษานิเทศก์ และร่วมรับฟังการประชมุ พธุ เช้า ขา่ ว สพฐ. จำนวน (สปั ดาห์ละ 1 ครั้ง) รวมงบประมาณท่ีใชใ้ นไตรมาสที่ 3 - 55,575 - 55,575 ไตรมาสท่ี 4 1. จดั ประชมุ ผบู้ ริหารการศกึ ษา ผู้บริหารสถานศึกษา 1 ครง้ั - 23,400 - 23,400 และบุคลากรทางการศึกษาในสงั กดั (ประชมุ 2 เดอื น/ครงั้ ) 2. ประชมุ ผู้บริหารการศึกษา ผู้อำนวยการกลุม่ 13 ครง้ั - 8,775 - 8,775 และศกึ ษานเิ ทศก์ และร่วมรบั ฟังการประชมุ พุธเชา้ ขา่ ว สพฐ. (สปั ดาหล์ ะ 1 ครั้ง) รวมงบประมาณทใ่ี ช้ในไตรมาสที่ 4 - 32,175 - 32,175 รวมงบประมาณท้งั สนิ้ (ขอถวั จา่ ยทุกรายการ) - 149,475 5,475 154,950 สว่ นท่ี 5 : งบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ 1) งบดำเนินงาน สพป.สพ.1 154,950 บาท บาท 2) งบ สพฐ. - บาท บาท 3) งบ ................................................. - งบประมาณทง้ั หมด 154,950 [ 482 ]

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แหลง่ เงนิ เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงินรายไดข้ องหนว่ ยงาน เงนิ กู้ อนื่ ๆ 154,950 บาท ในประเทศ นอกประเทศ - - -- ไตรมาส 4 32,175 บาท 2. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ (ขอถวั จา่ ยทกุ รายการ) ปงี บประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 55,575 บาท พ.ศ. 2566 6,150 บาท 61,050 บาท ส่วนที่ 6 : ขอ้ มูลผู้ประสานงาน โทรศัพท์ 08 1856 3053 ชื่อ-สกุล นางสาวนศิ รา เจรญิ ผล โทรสาร 0 3552 1191 E-mail address [email protected] [ 483 ]

แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 1 : ข้อมลู ท่ัวไป 1. ช่อื โครงการ งานประชาสมั พันธ์ ภายใต้แผนงาน พืน้ ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (งบเขต) 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการที่ใช้งบประมาณ  โครงการที่ไมใ่ ช้งบประมาณ 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน  ดำเนนิ การเอง  จัดจ้าง 4. สถานะโครงการ/การดำเนินงาน  อยู่ระหว่างดำเนินการ  ยงั ไมเ่ ริ่มดำเนินการ  ดำเนนิ การเสร็จแลว้ ส่วนที่ 2 : ความเชอื่ มโยงกับแผนในระดบั ตา่ งๆ แผนระดบั ท่ี 1 1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Z) ดา้ น การปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั (1) เป้าหมาย 1. ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส (2) ประเด็นข้อ 3. ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วน มสี ่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ขอ้ ยอ่ ย 3.2 ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการพัฒนาประเทศ (3) การบรรลตุ ามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ (อธบิ ายความสอดคลอ้ ง) เป็นการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ เพื่อนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน ได้รับทราบอย่างทั่วถึง เพื่อให้ เกิดความศรัทธา เชือ่ ม่นั เปน็ ที่ยอมรบั ของผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งและสงั คมโดยรวม แผนระดบั ที่ 2 1. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) แผนแมบ่ ทประเด็น การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั (1) เป้าหมายระดับประเด็น (Y2) ข้อ 1. บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ของผใู้ ช้บรกิ าร (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนแม่บท (อธบิ ายความสอดคล้อง) คนไทยมีวินัยต่อตนเองและสังคม มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีจิตสาธารณะ ความมีไมตรี ความเปน็ มติ รและเกิดความรัก ความสามัคคีในชมุ ชน (3) ตัวชวี้ ดั ระดบั ความพงึ พอใจในคุณภาพการให้บรกิ ารของภาครฐั [ 484 ]

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (4) Contribution ต่อเป้าหมายเมอื่ เสร็จสิน้ โครงการ 1. ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 85 2. มีเครือข่ายประชาสัมพนั ธค์ รบทุกโรงเรียน จำนวน 135 โรงเรยี น 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขอ้ มูลขา่ วสาร ใหก้ ับโรงเรียนในสังกัดได้รับทราบกิจกรรม/โครงการตา่ ง ๆ จำนวน 20 ปา้ ย แผนย่อยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปรบั สมดลุ ภาครัฐ (1) เป้าหมายของแผนยอ่ ย (Y1) เปดิ โอกาสให้ภาคส่วนตา่ ง ๆ มสี ว่ นรว่ มในการจดั บรกิ ารสาธารณะ และกจิ กรรมสาธารณะอยา่ งเหมาะสม (2) การบรรลุตามเป้าหมายของแผนยอ่ ย (อธิบายความสอดคล้อง) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้สังคมเกิดการพัฒนา ซึ่งมีปัจจัยหลาย อย่างที่ทำให้สังคมเกิดการพัฒนาและคนในสังคมเองก็มีส่วนสำคัญที่สุดเพราะคนเป็นศูนย์กลางหลักในการ พัฒนาที่จะทำให้สงั คมมกี ารพัฒนาไปในทางท่ีดี ไมม่ ีประเทศไหนท่พี ฒั นาโดยปราศจากการร่วมมอื ของประชาชน ซึ่งการมีส่วนร่วมก่อให้เกิดผลดีกับการขับเคลื่อนองค์กรหรือเครือข่ายเพราะมีผลในทางจิตวิทยาเป็นอย่างยิ่ง กล่าวคือผู้ทเี่ ขา้ มามสี ่วนรว่ มย่อมเกดิ ความภาคภมู ิใจทีไ่ ด้เป็นส่วนหนง่ึ ของการบรหิ ารความคดิ เห็น ถูกรับฟังและ นำไปปฏิบัตเิ พอื่ การพฒั นาเครอื ขา่ ย ความรู้สึกเป็นเจา้ ของจะเป็นพลงั ในการขับเคลื่อนเครอื ข่ายมากทส่ี ุด (3) Value Chain V (องคป์ ระกอบ) การสือ่ สารการรับฟังความคิดเห็น F (ปจั จัย) การเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสาร/ผลการดำเนินการของหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง (4) แนวทางการพัฒนา เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการบริการ สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะอย่างเหมาะสม กำหนดความสัมพันธ์และการพัฒนาบทบาทในฐานะของ หุ้นส่วนการพัฒนาในการดำเนินภารกิจที่สำคัญระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วน ท้องถิ่น และการสนับสนุนให้ภาคีการพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะชุมชน เอกชน ในรูปแบบโมเดลประชารัฐ มาร่วมดำเนินการในบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะต่าง ๆ โดยจัดให้มีการตรวจสอบความซ้ำซ้อน การวิเคราะหแ์ ละทบทวนภารกิจของภาครัฐให้สอดคลอ้ งกับการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์ชาติ เพ่ือกำหนดภารกจิ หลักทใี่ หภ้ าครฐั ดำเนนิ การ อาทิ การกำหนดนโยบาย การตัดสินใจ และการกำหนดแนวทางการพฒั นาภาครฐั ที่สำคัญ สามารถตรวจสอบการทำงานของภาครัฐได้อย่างเหมาะสม การกำกับดูแลการแปลงนโยบายสู่การ ปฏิบัติ การกำกับการให้บริการสาธารณะให้เป็นไปตามมาตรฐานและมีการคำนึงถึงความมั่นคงของมนุษย์และรัฐ และจัดให้มีการยุบเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น รวมทั้งเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาบริการสาธารณะที่สร้างคุณคา่ ร่วมกันระหว่างทุกภาคส่วนให้มีการเตรียมความพร้อมหรือการสนับสนุนภาคส่วนต่าง ๆ ในการร่วมดำเนิน ภารกิจของภาครัฐ ปรับปรุงบทบาทและกลไกภาครัฐให้เป็นผู้สนับสนุนและอำนวยเหมาบริการความสะดวก ในการประกอบการ รวมทั้งการกำหนดกฎระเบียบที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจภาคเอกชนทุกขนาด และสอดคลอ้ งกับทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว (5) ตัวชี้วดั ระดับความสำเร็จการเปิดใหภ้ าคส่วนอื่นเขา้ มาดำเนินการบรกิ าร [ 485 ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook