Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๑๐๐ หนิ น้ี จึงพูดให้กาํ ลงั ใจคนขุดวา่ ถา้ ละความเพียรตอนนี้ ทุกคนก็จะตายหมด ขอให้ลง แรงทุบก้อนหินน้ีให้แตก ก็จะพบตานํ้า ทุกคนก็จะรอดตาย ซึ่งก็เป๐นไปตามนั้น เพราะทนั ทีที่กอ้ นหนิ แตก นา้ํ ก็พวยพุง่ สูงประมาณชัว่ ตน้ ตาล ทกุ คนจึงรอดตาย และ เดินทางตอ่ ดว้ ยความสวัสดี [๓] การเสวยพระชาติ ๓.๑ เป๐นพ่อคา้ ๓.๒ ไมป่ รากฎนาม [๔] ปรัชญา แนวคดิ และคตธิ รรมจากเร่อื ง ๔.๑ ยามท้อถอย หรือหมดหวัง การรู้จักใช้คาพูดปลุก ปลอบโยน และให้กาลังใจเป็นส่ิงสาคัญ : มีบ้างบางสถานการณ์ที่คนทํางานได้ทุ่มเทไปสุดกําลัง ความสามารถแล้ว แต่ยังไม่สามารถบรรลุถึงจุดหมาย หรือเปูาหมาย ทําให้เกิดความ ทอ้ แท้ ส้นิ หวัง ในสถานการณเ์ ชน่ น้ี กําลงั ใจจากคนรอบข้างถือเป๐นสิ่งสําคัญ กําลังใจจะ เป๐นเสมอื นนา้ํ ทพิ ยท์ ่ีจะช่วยโชลมหวั ใจใหเ้ กดิ ความฮึกเหิม พร้อมท่ีจะต่อสู้ หรือเดินหน้า เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปูาหมายที่ประสงค์ ความเพียรจึงต้องคกู่ ับกําลังใจเสมอ ๔.๒ ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์: พ่อค้าเกวียนเดินทางผ่าน ทะเลทรายสุดลูกหูลูกตา ไม่มีเข็มทิศเป๐นเครื่องนําทาง อาศัยเพียงการสังเกตกลุ่ม ดวงดาวบนท้องฟูาเป๐นเคร่ืองกําหนดทิศทาง ข้อน้ีสะท้อนให้เห็นว่า คนในยุคนั้น มี ความร้ใู นเรอื่ งดาราศาสตรพ์ อสมควร ๔.๓ คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร: ชาดกเรื่องนี้สะท้อนให้เห็น กําลังแห่งความเพียรพยายามว่าเป๐นป๎จจัยสําคัญท่ีจะนําพาชีวิตให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมาย หรือผลสาํ เร็จอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เรือ่ งท่ี ๓ เสรีววานชิ ชาดก [๑] สนั ติเกนทิ าน ๑.๑ สถานท่ีปรารภชาดก : เชตวนั มหาวิหาร เมอื งสาวัตถี ๑.๒ นิทาน : ปรารภภิกษุผู้ละความเพียรเหมือนวัณณุปถชาดก เพื่อ กระตุ้นเตือนให้เกิดความเพียรพยายาม จึงยกเร่ืองราวพ่อค้าชื่อเสรีวะผู้โลเลเป๐น อุทาหรณ์ [๒] ทูเรนทิ าน ๒.๑ สถานทีป่ รารภเหตุ : เมอื งอริฏฐปรุ ะ แคว้นเสวิรัฐ

๑๐๑ ๒.๒ นิทาน : มีพ่อค้า ๒ คน ชื่อเหมือนกันคือ เสรีวะ คนหนึ่งเป๐นคน โลเล อีกคนหน่ึงเป๐นบัณฑิต ท้ังสองเท่ียวเร่ขายสินค้าประเภทเคร่ืองประดับ วันหนึ่ง พ่อค้าท้งั ๒ เข้าไปขายสนิ ค้าในหมบู่ ้านเดียวกนั แตแ่ ยกกันไปคนซอย ครั้นมาถึงบา้ นหลัง หนึ่ง มียายและหลานอาศัยอยู่ หลานเห็นเคร่ืองประดับ อยากได้ จึงรบเร้าให้ยายซื้อให้ ยายไม่มีเงินซ้ือ จึงเข้าไปในบ้านไปหยิบถาดเก่าใบหน่ึงมาเจรจาต่อรองเพื่อขอแลก เครื่องประดับ พ่อค้าโลเลพิจารณาแล้วเห็นว่าถาดดังกล่าวเป๐นถาดทองคํา เกิดความ อยากได้ จึงกล่าวมุสา เชิงว่าไม่มีราคาค่างวด จากน้ันก็ทําทีเดินจากไปโดยตั้งใจจะ กลับมาหวา่ นล้อมภายหลัง พ่อค้าโลเลเดินออกไปได้สักพักหน่ึง พ่อค้าผู้เป๐นบัณฑิตก็เดินผ่านมา หลานเหน็ ท่าทีของพ่อค้าบัณฑิตก็รบเร้ายายอีกครั้ง พ่อค้าผู้เป๐นบัณฑิตได้พิจารณาถาด ทองคําแล้ว จึงแจ้งยายตามความเป๐นจริงว่า สินค้าทั้งหมดน้ี ไม่เพียงพอสําหรับค่าถาด ทองคํานี้ จงึ มอบสินค้าทั้งหมด พร้อมท้ังบอกว่าจะนําสินค้ามาแลกให้อีกภายหลัง ยาย เห็นความซื่อสัตย์ของพ่อค้าผู้เป๐นบัณฑิต จึงขอรับแต่เพียงสินค้าเท่าท่ีมีอยู่ และยกถาด ทองคาํ นัน้ ใหพ้ ่อค้าผู้เปน๐ บัณฑิตนั้นไป ฝุายพ่อค้าผ้โู ลเล เมื่อเวลาผา่ นไปสักครู่กย็ ้อนกลับไปด้วยหวังจะได้ถาด ทองคํา แต่ก็ถูกยายตะเพิดกลับ พร้อมกับแจ้งความจริงให้ทราบ จึงได้แต่เสียดาย เดิน จากไปดว้ ยความเสยี ใจ [๓] การเสวยพระชาติ ๓.๑ เปน๐ พ่อคา้ ๓.๒ ปรากฏนามว่า เสรีวะ [๔] ปรชั ญา แนวคิด และคตธิ รรมจากเรอ่ื ง ๔.๑ ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นหัวใจของการประกอบอาชีพ : พ่อค้าผู้ โลเล ขาดความซ่ือสัตย์สุจริต เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว จึงสูญเสียประโยชน์อันยิ่งใหญ่ท่ี ตนพงึ จะได้ ทงั้ ยังขาดความน่าเช่อื ถอื ในการทําการคา้ ขายคราวต่อไป ขณะท่ีพ่อค้าผู้เป๐น บัณฑิต ทําการค้าขายด้วยความซื่อสัตย์สุจริต พูดตามความเป๐นจริง แม้ตนจะเสีย ประโยชน์ แตก่ ารพดู ความจริง กลบั ส่งผลใหย้ ายเกิดความซึ้งในนํ้าใจ และตอบแทนด้วย การยกถาดทองคํานั้นให้ ๔.๒ วาจาสุภาษิตยังประโยชน์ให้สาเร็จ: ถ้อยคํา หรือคําพูดที่ดีงาม เปรยี บเสมือนสะพานเช่อื มไมตรีระหวา่ งกัน คําพูดทําให้เกิดกําลังใจก็ได้ ทําให้เกิดความ ท้อแท้ก็ได้ ทําให้รักก็ได้ ทําให้เกลียดก็ได้ ทําให้เกิดความสามัคคีก็ได้ ทําให้เกิดความ แตกแยกกไ็ ด้ ทําใหเ้ กิดศรทั ธา หรือเสื่อมศรัทธากไ็ ด้ ผหู้ วงั ประโยชน์ไมว่ ่าจะในระยะใกล้

๑๐๒ หรอื ไกล จงึ ควรใสใ่ จการใชค้ ําพูดให้ถกู ต้อง เหมาะสม และละเวน้ การใชว้ าจาที่ไม่ถูกต้อง ไมเ่ หมาะสมไมว่ ่ากบั ใคร และในกาลใด ๆ เร่อื งที่ ๔ จลุ ลกเศรษฐีชาดก [๑] สันติเกนทิ าน ๑.๑ สถานทป่ี รารภชาดก : ชวี กมั พวัน กรุงราชคฤห์ ๑.๒ นิทาน : ปรารภพระจุลลป๎นถกะ ซ่ึงมีสติป๎ญญาโง่เขลา เรียน คาถาเพียง ๔ บรรทดั ระยะเวลาถึง ๔ เดือนก็ไม่อาจทรงจําไว้ได้ จึงถูกพระพี่ชายขับไล่ ออกจากสํานัก แต่อาศัยพระพุทธเจา้ เพยี งไม่ถึงข้ามวัน ก็บรรลุพระอรหัตผล พร้อมด้วย ปฏิสัมภิทา ภิกษุท้ังหลายเห็นเช่นนั้นจึงเกิดความอัศจรรย์ใจ จึงทูลถามเหตุกับ พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าตรัสว่า ข้อนี้ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์ เพราะคร้ังก่อน จุลลป๎นถกก็ อาศยั พระองคจ์ ึงสามารถต้งั ตัวได้ [๒] ทูเรนิทาน ๒.๑ สถานท่เี กดิ เหตุ : รัชสมัยของพระเจ้าพรหมทัต ครองราชย์สมบัติ ในเมืองพาราณสี แควน้ กาสี ๒.๑ นิทาน : จุลลกเศรษฐีกลับจากที่บํารุงของพระราชา ระหว่างทาง เหน็ หนูตายตัวหนึ่ง ครั้นคํานวณฤกษ์ยามแล้ว ก็เอ่ยขึ้นว่า คนมีสติป๎ญญาอาศัยหนูตัวน้ี เพยี งตวั เดยี ว ก็สามารถต้ังตัวได้ ชายเข็ญใจผู้หนึ่ง ได้ยินถ้อยคําของจุลลกเศรษฐี เกิดความเช่ือมั่นว่า เศรษฐคี งจะไมพ่ ดู อะไรลอย ๆ เปน๐ แน่ จึงได้เก็บหนูตายตัวน้ันติดตัวไป คร้ันได้โอกาส ก็ ขายหนตู ายใหค้ นเลี้ยงแมว ไดเ้ งินมา ๑ กากณึก นําไปซื้อนํา้ อ้อยเก็บไว้ วันหนึ่ง เห็นพวกช่างดอกไม้ออกจากปุา จึงได้ตักน้ําให้ด่ืม พร้อมกับ นํ้าอ้อย ช่างดอกไม้เหล่าน้ันตอบแทนน้ําใจด้วยการมอบดอกไม้ให้คนละ ๑ กํา เขานํา ดอกไมเ้ หลา่ นั้นไปขาย ได้เงินเพิ่ม ๘ กหาปณะ จากนั้นนําเงินที่ได้ไปซ้ือนํ้าอ้อยเพ่ิมเติม อกี ต่อมาอีกวันหน่ึง เกิดลมพายุพัดกระหน่ํา ทําให้ต้นไม้ในพระราช อุทยานโคน่ คนเฝาู อุทยานไม่ทราบจะเอาไปทิง้ ไดอ้ ย่างไร เขาจงึ ขอไมแ้ ละอาสานําไปเอง เมือ่ คนเฝูาพระราชอทุ ยานอนุญาต เขาจึงนําน้ําอ้อยไปแจกจ่ายเด็กท่ีกําลังว่ิงเล่นอยู่ใกล้ ๆ พร้อมกับขอรอ้ งให้ช่วยขนฟนื ไปกองไว้ทแ่ี ห่งหนงึ่ ตอ่ มา ช่างหม้อเท่ียวหาฟืน เห็นกอง ฟนื เหลา่ น้นั จงึ ขอซ้อื ในราคา ๑๖ กหาปณะ

๑๐๓ ชายเข็ญใจ ได้เงินเพิ่มด้วยวิธีการต่าง ๆ เรื่อย ๆ ด้วยอาการอย่างนี้ ภายในระยะเวลา ๔ เดือน ก็มเี งินถึง ๒ แสนกหาปณะ และเพื่อเป๐นการตอบแทนจุลลก เศรษฐี เขาจึงนําเงินคร่ึงหนึ่งไปมอบให้ จุลลกเศรษฐีได้สอบถามว่าทําอย่างไรจึงได้เงิน มากมายขนาดน้ี เขาเล่าความเป๐นมาให้ฟ๎งตัง้ แต่ตน้ สรา้ งเล่อื มใสแก่เศรษฐีเป๐นอย่างมาก จึงไดย้ กลูกสาวให้เป๐นภรรยา คร้ันจลุ ลกเศรษฐลว่ งลบั ไป กไ็ ด้ครองตําแหน่งเศรษฐีแทน [๓] การเสวยพระชาติ ๓.๑ เป๐นเศรษฐี ๓.๒ ปรากฏนามวา่ จลุ ลกะ [๔] ปรชั ญา แนวคิด และคตธิ รรมจากเรื่อง ๔.๑ ผมู้ ปี ญั ญา ย่อมหาทรัพย์ได้ไม่ยาก : ชาดกเรื่องน้ีสะท้อนให้เห็น วิสัยทศั นข์ องคนทีจ่ ะทําธุระกจิ การคา้ ขายว่า จะตอ้ งประกอบดว้ ยคุณสมบัติอย่างน้อย ๓ ประการ คือ ๑.จกั ขุมา เป๐นผู้มสี ายตายาวไกล ๒.วิธุโร ขยันเอาการเอางาน ต้องตื่นตัวอยู่ ตลอดเวลา และ ๓. นิสสยสัมป๎นโน ถึงพร้อมด้วยท่ีพักพิงอาศัย ข้อน้ีอาจตีความหมาย ๒ นัย คอื นยั หน่งึ คอื มีนิสยั ทางด้านค้าขาย อีกนยั หนึง่ คอื มแี หลง่ ทนุ ในการดําเนินการ ผู้ ประกอบด้วยคุณสมบัติดังกล่าวน้ี พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ไม่นานก็ถึงความเป๐นผู้ยิ่งใหญ่ ไพบลู ย์ในโภคทรัพย์” อน่ึง หากไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว หรือมีแต่ไม่ครบ ก็ต้องมีท่ีปรึกษา หรอื ทีมงานคอยชว่ ยเหลือเกอ้ื ให้ถูกตอ้ ง เหมาะสมกบั ลักษณะงานนั้น ๆ ๔.๒ ความรูท้ างด้านโหราศาสตร์: วชิ าโหราศาสตรถ์ อื เปน๐ วิชาท่ีเก่าแก่ สมัยโบราณมกั นยิ มใชว้ ิชาความรู้ดงั กลา่ วในการดําเนินกิจกรรมต่าง ในคัมภีร์มีเรื่องระบุ ถึงความแม่นยําในการทํานายตามหลักโหราศาสตร์ค่อนข้างจะมาก ผู้มีความรู้ดังกล่าว ย่อมได้รับความเช่ือถือ และยกย่อง ในราชสํานักจึงมักนิยมต้ังผู้มีความรู้ทางด้าน โหราศาสตรไ์ ว้ปรกึ ษาหารือขอ้ ราชการตา่ ง ๆ นับตั้งแตอ่ ดตี กระทง่ั ถงึ ปจ๎ จุบัน ชินกาลมาลีปกรณ์ ชินกาลมาลีปกรณ์๖๗ เป๐นวรรณกรรมสมัยล้านนา รจนาเป๐นภาษาบาลี ลักษณะงานประพันธ์เดินเร่ืองหลักเป๐นร้อยแก้ว แต่ก็มีบทร้อยกรองเป๐นฉันทลักษณ์ ประเภทตา่ งๆ เสริมเป๐นบางชว่ งบางตอนตลอดทัง้ เรอื่ ง ผรู้ จนาเป๐นปราชญใ์ นยุคล้านนามี ๖๗ พระรัตนป๎ญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวิฑูร ผู้แปล, [กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๐], ๓๙๖ หน้า.

๑๐๔ นามว่า พระรัตนป๎ญญาเถระ ฉบับที่ผู้เขียนใช้อ้างอิงในการจัดทําคําอธิบาย เป๐นฉบับ แปลโดย ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวฑิ รู ตีพิมพ์คร้ังที่ ๒ ปี ๒๕๔๐ โดยเสด็จพระราช กศุ ลในการออกเมรุพระราชทานเพลิงศพ พระพรหมคุณาภรณ์ [เจียม จิรปุํฺโญ/กุลละ วณิชย์] อดตี เจ้าอาวาสวดั โสธรวราราม หนังสือเร่ือง ชินกาลมาลีปกรณ์ นี้ พระรัตนป๎ญญาเถระ ชาวล้านนา แต่ง ข้ึนเป๐นภาษาบาลี ช่ือ ชินกาลมาลีปกรณํ รจนาจบเมื่อพุทธศักราช ๒๐๖๐ [จุลศักราช ๘๗๘] ในรัชสมัยของพระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ขณะที่ท่านมีพรรษาได้ ๒๓ พรรษา แต่ เน้ือหาในคัมภีร์ยังมีเล่าเหตุการณ์มาถึง พ.ศ.๒๐๗๑ ซ่ึงแสดงว่า มีการเพิ่มเติมมาโดย ลําดับเพื่อให้สมบูรณ์ย่ิงข้ึน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลก ทรงพระ กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ าชบณั ฑติ ๕ ท่าน คอื พระยาพจนาพิมล, พระวิเชยี รปรีชา, หลวง อุดมจินดา, หลวงราชาภิรมย์ และหลวงธรรมาภิมณฑ์ ร่วมกันแปลเป๐นภาษาไทย เรียกวา่ ชนิ กาลมาลนิ ี ต่อมา พุทธศักราช ๒๔๙๗ กรมศลิ ปากรได้มอบให้ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวฑิ ูร ขณะรับราชการอยทู่ ่หี อสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร แปลจากต้นฉบับภาษาบาลี เดยี วกันกับทีแ่ ปลครงั้ แรกอีกครั้งหนึ่ง เป๐นคร้ังที่สองโดยเรียกชื่อตามต้นฉบับภาษาบาลี ว่า ชนิ กาลมาลีปกรณ์ การแปลครั้งน้ี ได้อาศัยฉบับเดิมท่ีราชบัณฑิต ๕ ท่านแปลไว้แล้ว เป๐นแนวทาง ในส่วนที่เป๐นประเด็นข้อสงสัยภายในคัมภีร์ท่ีตรวจพบ ก็มีการตรวจทาน จากต้นฉบับตา่ งๆ กระทัง่ ลงรอยกนั ทกุ ประการ หนังสือเร่ือง ชินกาลมาลีปกรณ์ นี้ กล่าวถึงประวัติของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า คือ พระสมณโคดมไว้อย่างละเอียด โดยเริ่มตั้งแต่พระพุทธองค์ทรงตั้งความ ปรารถนาที่จะเป๐นพระพุทธเจ้า ทรงบําเพ็ญบารมีในพระชาติต่างๆ ที่เป๐นพระโพธิสัตว์ และไดร้ ับพุทธพยากรณจ์ ากอดีตพระพทุ ธเจ้ามาโดยลําดับ ในพระชาติสุดท้ายซึ่งประสูติ ในราชสกลุ ศากยวงศ์ โคตมโคตรน้ัน ได้เสด็จออกมหาภิเนษกรม ทรงบําเพ็ญเพียรจนได้ ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ เป๐นพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงบําเพ็ญพุทธกิจ จนถึงเวลาดับขันธปรนิ พิ พาน นอกจากนั้น ยังได้กล่าวถึงประวัติศาสตร์แคว้นล้านนา มีเมืองเชียงใหม่ เชียงราย เชียงแสน และลําพูน เป๐นต้น ตลอดถึงเร่ืองราวของบุคคล สถานท่ี และ เหตกุ ารณ์บา้ นเมอื งในสมยั น้นั ๆ อกี ดว้ ย

๑๐๕ อน่ึงในการแปลคัมภีร์เร่ืองนี้ ผู้แปลคือ ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวิฑูร ได้เขยี นคาํ ชแ้ี จงประกอบไว้ สรุปความได้วา่ ๖๘ ชนิ กาลมาลีปกรณ์ ตน้ ฉบับทีพ่ บในประเทศไทย มีอยู่ ๓ ฉบับ ฉบับแรกจาร ขึน้ สมัยกรุงศรีอยุธยา ผูแ้ ปลเรยี กว่า ฉบับลานเดมิ ถูกเก็บไว้ท่หี อวชิรญาณ ทั้งคัมภีร์มีอยู่ ๕ ผกู แต่ขาดหายไปผูกท่ี ๓, ฉบับที่ ๒ จารข้ึนสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ ๑ ผู้ แปลเรยี กวา่ ฉบบั ลานรอง ถกู เก็บรกั ษาไว้ทหี่ อพระมนเทียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดา ราม มีจํานวน ๕ ผูก ๑๔ ลาน, ฉบับที่ ๓ เป๐นฉบับท่ีได้รับการตีพิมพ์สมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๕๑ ผู้แปลเรยี กวา่ ตน้ ฉบับพมิ พ์ หนงั สอื ชินกาลมาลปี กรณ์ กล่าวถงึ กาลของพระพุทธเจ้า โดยเรียบเรียงเป๐น ลําดับอย่างมีระเบียบว่าพระองค์มีประวัติความเป๐นมาอย่างไร ผู้รจนาได้กล่าวถึงกาล ก่อนตรัสรู้ไว้อย่างละเอียด เพื่อแสดงให้เห็นถึงเจตนาท่ีจะเป๐นพระพุทธเจ้า และทรง กระทําทุกอย่างเพ่ือสะสมบารมี กระทั้งได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าในอดีต พระองคก์ ่อนๆ จนลําดับพระชาติสุดทา้ ยได้มาบังเกิดเป๐นมนุษย์ในศากยวงศ์ และได้ตรัส รู้เปน๐ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประทับอยู่ที่ไหน บําเพ็ญพุทธกิจอย่างไร ตลอดถึงกาล ปรินิพพาน เม่ือปรินิพพานแล้วได้มีการประชุมทําสังคายนามาโดยลําดับ การแผ่ขยาย ของพระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทย บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ บ้านเมืองในสมัยน้ันนับต้ังแต่แคว้นล้านนาไทย, เมืองเชียงแสน, เชียงราย, ลําพูน เชียงใหม่ เปน๐ ต้น รวมอยดู่ ้วย เน้ือในคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ ไม่ได้กําหนดเป๐นปริจเฉท หากแต่กําหนด เปน๐ เร่อื งๆ เรียงลาํ ดบั ไปตามลําดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ซึ่งต้นฉบับ ภาษาบาลี พระรัตนป๎ญญาเถระ ใช้คําว่า “กถา” ส่วนฉบับแปลภาษาไทยใช้คําว่า “เรื่อง” โดยเริ่มต้นจากบทปณามคาถา [บทไหว้ครู] อันเป๐นขนบการประพันธ์ท่ีสําคัญ ของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา จากนัน้ ก็เรียงลาํ ดบั เนือ้ หาไป ดังน้ี ปณามคาถา พาหิรนิทานกถา มหานิทานกถา จติ ตฺ ุปปฺ าทกถา ทูเรนทิ านกถา วสํ กถา ๖๘ ดูรายละเอยี ดใน พระรตั นปญ๎ ญาเถระ, ชินกาลมาลปี กรณ์, หนา้ ๑๔๑-๑๕๓.

๑๐๖ โพธคิ มนกาลกถา นิทานกถา ธาตุกถา ปฐมสงฺคีตกิ ถา ทุตยิ สงฺคีติกถา ตตยิ สงคฺ ีตกิ ถา มหินทฺ ตฺเถรสสฺ ทปี าคมนกาลกถา มหาโพธฺยาคมนปุ ฺปตฺตกิ าลกถา อกฺขาธาตาคมนกาลกถา ฯลฯ หริ ปํุ ฺชยนครสสฺ สิลาปาการอุปจนิ กาลกถา สีหลสาสนโชตนกาลกถา คชปุ ปฺ ตตฺ กิ าลกถา จนฺทนปฏมิ าปรจิ ฺเฉทกถา ตวั อยา่ งฉบับแปลภาษาไทย ตง้ั หัวข้อ และเรียงลําดับเนื้อหา ดงั ตอ่ ไปนี้ นมัสการพระรตั นตรัย พระโพธิสตั ว์ ๓ จติ ตุปบาทกาล มโนปณธิ าน มหานทิ าน ลกั ษณะอสงไขย เรอ่ื งอตทิ ูเรนทิ าน เร่ืองทเู รนิทาน เร่อื งวิทเู รนิทาน เรื่องสนั ตินเิ กนทิ าน เรอ่ื งโปรดชฏลิ เร่ืองเทศนาธรรมจักร เรอ่ื งเสด็จไปเมอื งกบิลพสั ด์ุและแสดงยมกปาฏหิ าริย์ เรอ่ื งพุทธกจิ กลา่ วด้วยเสดจ็ สถานทตี่ ่างๆ รวมทัง้ ในลังกาทวีป

๑๐๗ เรอ่ื งอคั รมหาสาวกนพิ พาน เรื่องพทุ ธปรนิ ิพพาน เร่อื งพระบรมสารรี กิ ธาตุ เรื่องเบ็ดเตลด็ เร่ืองสงั คายนาครง้ั ที่ ๑ เรอ่ื งสังคายนาคร้งั ที่ ๒ ฯลฯ เรื่องเสดจ็ ไปเมอื งเชยี งแสน เร่ืองพระสขิ พี ทุ ธปฏิมา เรื่องกาลก่อกาํ แพงศลิ าแลงหริปุญชัย เรื่องกาลแหง่ พุทธศาสนานิกายสีหลรงุ่ เรอื ง เรอ่ื งกาลบังเกดิ ช้าง เรอ่ื งพระพทุ ธรูปแกน่ จนั ทน์ เร่ืองตํานานพระพุทธรปู แก่นจนั ทน์ เรือ่ งพรรณนาความตอนจบ สาระบางตอนในชนิ กาลมาลีปกรณ์ [๑] บทปณามคาถา โมหนฺธการํ ตฆิ นํ ปหนตฺ ฺวา ญาณงฺสุนา ธมมฺ วรงสฺ ุนา โย เวเนยยฺ พนฺธตุ ฺตยปงฺกชนตฺ ํ โพเธสิ วนเฺ ท ชนิ ปส๏ มุ าลี ฯ ราคาตเุ ร เสฏฺฐคโท ตโิ ลเก โมหนฺธกาเร วรทปี มาลี โทสคคฺ โิ ต โย รตนาวลวี ํ ฆมมฺ าภติ ตเฺ ต ปณมามิ ธมมฺ ฯํ เขตฺตํว ปํุ เฺ ญสุนุพุทธฺ วํโส พุทฺธสสฺ พมิ ฺพาวรมินทรฺ โิ ย โย นรามรนู ํ วรทกฺขิเณยโฺ ย คณุตฺตโม ตํ ปณามามิ สงฺฆํฯ พทุ ฺโธปิ พุทฺธสฺส สโุ ตมภาสิ

๑๐๘ กาลาปเทสํปิ วิจิตฺรานํ อาเนกมาลี ปน โส สมตฺโถ ญาตํฃ กวนี ํ มตโต สเุ ขนฯ พทุ ฺธํฺจ ธมมฺ ํ สคณํ นมิตวฺ า ปญุ ฺญาภิสนทฺ ํ อลภึ พหํฃ ว หตนตฺ ราโย กุสเลน เตน วกขฺ ามิ คนถฺ ํ ชินกาลมาลึฯ แปล พระพทุ ธพระองค์ใด ละความมดื คือโมหะอันหนาทึบในภพท้ัง สามด้วยพระรัศมีคือพระป๎ญญาตรัสรู้ ยังเผ่าพันธ์ุเวไนยชน เปรียบเหมือนดอกบัว ๓ เหล่า ให้คลี่บาน คือให้ตรัสรู้ด้วยพระรัศมีอันประเสริฐ คือพระธรรม ข้าพเจ้า [ผู้ช่ือ วา่ รตั นปญ๎ ญาเถระ] ขอนมสั การพระพทุ ธพระองค์น้ัน ผู้ทรงชนะแล้ว มีละอองพระบาท เปน๐ พวงมาลา ระเบยี บอันดงี าม ฯ สภาพใด เหมอื นยาอันประเสริฐ บาํ บัดความกระวนกระวาย มีราคะเป๐นต้น ท้งั สามโลก เหมือนแสงประทีปอันประเสริฐ ส่องสว่างในที่มืดคือโมหะ เหมือนสายพาน แก้วซึ่งพานออกนอกจากไฟคือโทสะเป๐นต้น ในภาวะดังว่าความรุ่นร้อนในฤดูแล้ง ข้าพเจา้ ขอนมสั การสภาพน้ันคือพระธรรม บคุ คลใดเป๐นพทุ ธบตุ รสบื เนื่องมาแต่พระพุทธ เหมือนเน้ือนาบุญ มีอินทรีย์ สงบเหมอื นพระพุทธรูป เป๐นผู้ควรแก่ทักษิณาอันประเสริฐของเทวดาแลมนุษย์ทั้งหลาย เป๐นผสู้ ูงสุดกว่าคณะท้ังหลาย ขา้ พเจ้าขอนมสั การซึง่ บุคคลนนั้ ผเู้ ปน๐ พระสงฆ์ แมพ้ ระพทุ ธกไ็ ดท้ รงตรสั สรรเสริญพระพทุ ธ และตรสั ชี้แจงลาํ ดบั กาละ และ เทศะซง่ึ เปน๐ ดงั พวงมาลยั มากมายดีงามต่างๆ กัน พระองค์สามารถที่จะทําให้นักปราชญ์ ท้ังหลายทราบโดยง่ายตามแนวความคิดเห็น ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แลว้ ขอให้ได้อานิสงสส์ ่วนบุญมากพอท่ีจะเป๐นการกาํ จดั อันตรายตา่ งๆ ได้ดว้ ยบุญกุศลน้ัน จะไดก้ ลา่ วถึงคัมภรี ์ชินกาลมาลตี อ่ ไป๖๙ คาอธิบาย ๑. บทปณามคาถา ประกอบด้วย ๕ คาถา รูปแบบฉันทลักษณ์ เป๐นอินทร วิเชียรคาถา ๑๑ พยางค์ ทั้ง ๕ คาถา โดย ๓ คาถาแรกอุทิศต่อพระรัตนตรัย ประกอบด้วยพุทธรัตนะ ๑ คาถา ธรรมรัตนะ ๑ คาถา และสังฆรัตนะ ๑ คาถา ส่วน ๒ ๖๙ พระรตั นปญ๎ ญาเถระ, ชนิ กาลมาลปี กรณ์, หนา้ ๑๕๔-๑๕๖.

๑๐๙ คาถาสุดท้าย เปน๐ บทนมสั การรวมทั้ง ๓ รัตนะ เน้ือหาแสดงความปรารถนาขออานุภาพ แห่งพระรัตนตรัยให้สามารถแตง่ คมั ภีร์สําเร็จลุล่วงโดยปราศจากอนั ตรายต่างๆ รปู แบบอินทรวเิ ชยี รคาถา ดังน้ี ต คณะ ต คณะ ช คณะ ครุ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ อินฺ ทา ทิ กา สา ว ชิ รา ช คา โค ๒๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๒ เทียบพยางค์ โม-หนฺ-ธ,กา-รํ-ต,ิ ฆ-นํ-ป, หนฺ-ตวฺ า ญา-ณงฺ-สุ,นา-ธมฺ-ม, ว-รงฺ-ส,ุ นา-โย เว-เนยฺ-ย,พนฺ-ธตุ -ฺ ต, ย-ปงฺ-ก, ชนฺ-ตํ โพ-เธ-ส,ิ วนฺ-เท-ช,ิ น-ป๏-สุ, มา-ลี ฯ ๒. บทปณามคาถาน้ี ประกอบด้วยโอชาคุณหลายบท คือผู้รจนาเขียนให้มี บทสมาสมากๆ ในทางประพันธ์ถือว่าเป๐นการประกาศภูมิรู้ทางด้านการประพันธ์ของ ผ้ปู ระพันธ์ เชน่ โมหนธฺ การ,ํ ญาณงสฺ นุ า, ธมฺมวรงฺสุนา,เวเนยฺยพนฺธุตฺตยปงฺกชนฺตํ, ราคา ตเุ ร, เสฏฺฐคโท, ปุํเฺ ญสนุ ุพทุ ฺธวํโส, พมิ พฺ าวรมินทรฺ โิ ย, นรามรูนํ เป๐นตน้ [๒] จติ ตปุ บาทกาล จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคของเราท้ังหลาย ทรงปรารถนาเป๐นพระพุทธ ด้วย ใจ ๒ อสงไขย ดว้ ยวาจา ๔ อสงไขย ดว้ ยกายและวาจา ๔ อสงไขยแสนกัป พระโพธิสัตว์ ของเรามีขณะจิต ที่ต้ังความปรารถนาเป๐นพระพุทธครั้งแรก แต่ยังมิได้เคยพบเห็นพระ พุทธองคใ์ ด ๆ เลยนน้ั นับชาติ ไมถ่ ้วนมาแลว้ เรื่องนี้โปรดทราบดังตอ่ ไปน้ี ในคร้ังอดตี กาล พระโพธิสัตว์เกิดเป๐นคนยากจนคนหน่ึง อยู่ในเมืองคันธาร เก็บผัก หกั พ้นื ดว้ ยตนเองจากปาุ มาขายเลยี้ งมารดา อยมู่ าวันหน่ึง กําลังแบกของหนักมา ถกู แดดแผดเผา กระหายนา จึงน่ังพกั ที่โคนต้นนโิ ครธ [ตน้ ไทรหรือตน้ กร่าง] แห่งหนึ่ง รา ฟ๎งวา่ ขณะน้ีเรายัง มีเรี่ยวแรงกําลงั อยู่ กพ็ อทนความทุกข์ร้อนนี้ได้ เม่ือเวลาแก่เฒ่าลงไป แล้ว หรือในเวลาเจ็บไข้ เราจะไม่อาจทนความทุกข์ได้ อย่ากระนั้นเลย เราไปเมือง สวุ รรณภมู ิ ขนเอาทองมาเลีย้ งมารดา ให้มีความสุขเถิด เมื่อคิดดังนี้แล้ว จึงพามารดาไป ลงเรือสําเภา โดยขอเป๐นลูกจ้างประจําเรือแล้ว ไปเมืองสุวรรณภูมิพร้อมกับพ่อค้า ทง้ั หลาย เรือสาํ เภาได้อปั ปางลงในวนั ท่ี ๒ ครง้ั น้นั พวกพ่อคา้ ได้ ถงึ มหาวนิ าศกันสิ้น พระ โพธสิ ตั วแบกมารดาของตนว่ายนาข้ามมหาสมุทร คร้ังนั้น ท้าวมหาพรหม ชั้นสุทธาวาส เลง็ แลดูสตั วโลกทั่วไป คิดวา่ ลว่ ง ๙ อสงไขยมาแล้ว บุรุษใดที่จะบังเกิดเป๐นพระพุทธ แม้

๑๑๐ สักองคห์ นงึ่ สามารถตรัสรู้เป๐นพระพุทธ จะมีไหม จึงเห็นพระโพธิสัตว์กําลังสละชีวิตพา มารดา ของตนว่ายข้ามมหาสมุทรอันลึกล้ากว้างใหญ่หาท่ีสุดมิได้ ก็รู้ว่า มหาบุรุษผู้นี้ มี ความเพียร มั่นคงนัก มีอัธยาศัยช่วยเหลือผู้อื่น พระโพธิสัตว์ โดยพรหมดลใจ เกิด ความคดิ ข้ึนในใจวา่ เราตรสั รูแล้วจะให้ผอู้ ่ืน ตรัสรดู้ ้วย เราพ้นแล้วจะให้ผู้อ่ืนพ้นด้วย เรา ข้ามไว้แล้วจะให้คน ข้ามได้ด้วย ดังนี้ ว่ายข้ามมหาสมุทร ๒-๓ วัน ก็ถึงฝ๑๎งพร้อมด้วย มารดา ต้ังแต่นั้นมา พระโพธิสัตว์เล้ียงดูมารดาจนสิ้นชีพ ก็ได้ไปเกิดในเทวโลก ฝุาย มารดาของพระโพธิสตั ว์ ไดไ้ ปตามยถากรรม นีค้ อื กาลท่ีตง้ั ความปรารถนาเปน๐ พระพุทธข้นึ ในใจเปน๐ ครงั้ แรก เรียกว่าปฐม จิตตุปบาทกาล๗๐ [๓] เรอ่ื ง พุทธกิจกลา่ วดว้ ยการเสดจ็ สถานท่ตี ่างๆ รวมทั้งในลงั กาทวปี ในปีท่ี ๒ ปีที่ ๓ ปีท่ี ๔ พระองค์ทรงประทับอยู่ในวิหารเวฬวัน ปีท่ี ๕ ประทับอยู่ใน ศาลากูฎาคารปุามหาวันในเมืองเวสาลี ในปีนั้นเม่ือถึงวันอุโบสถสิ้นเดือน จิตตะ [ราวเดือน ๕ ไทย] พระองค์เสด็จจากวิหารเชตวันไปนาคทวีป [เกาะนาค] เพ่ือ ปราบพญานาค ๒ ตน คือ จุโฬทร ๑ และมโหทร ๑ ในปีที่ ๖ พระองค์ประทับอยู่ที่ ภูเขามกุละ ในปีที่ ๗ ประทับอยู่ในพิภพดาวดึงส์ ในปีนั้น เมื่อถึงกลางเดือนอาสาฬหะ [ราวเดือน ๘ ของไทย] พระจันทร์ประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์ พระผู้มีพระภาคทรง กระทํายมกปาฏิหาริย์ที่โคนต้นมะม่วงชื่อคัณฑามพฤกษ์ ใกล้ประตูเมืองสาวัตถี เมื่อ ประชาชนมาประชุมกันในบริเวณเน้ือท่ี ๓๖ โยชน์ ทรงเนรมิตที่จงกรมบนอากาศ ยาว ประมาณ ๑ จักรวาล พระผูม้ พี ระภาคทรงกระทําปาฏิหารยิ บ์ นท่ีจงกรมนนั้ ครน้ั แล้วทรง ยกพระบาทขวาเหยยี บยอดภเู ขายุคนธร ยกพระบาทอีกเมืองหน่ึงเหยียบยอดภูเขาสิเนรุ ระยะย่าง ๓ ก้าว เป๐นเน้ือท่ี ๖๘,๐๐๐ โยชน์ พระศาสดาประทับนั่งท่ามกลางชุมนุม เทวดาทรงปรารภ พระมารดา [เป๐นเหตุ] ตรัสเทศนาพระอภิธรรมปิฎก พระองค์ทรง แสดงพระอภธิ รรมปิฎก ติดต่อกันเร่อื ยไป ตลอด ๓ เดือน ครั้นออกพรรษาปวารณาแล้ว ถึงเดือนอัสสยุชะ [ราว เดอื น ๑๑ ไทย] พระจันทร์ ประกอบด้วยอัสสยุชฤกษ์ ในวันมหา ปวารณาได้เสด็จลงจากพิภพดาวดึงส์ ประทับอยู่ใกล้ประตูนครสังกัสสะ ในปีท่ี ๔ ประทบั อยใู่ นปุาถงึ สกวัน [ปาุ ไม้สเี สยี ด] แควน้ ภคั คะ ในปีนั้นเอง พระผู้มีพระภาคแวดล้อมด้วยพระมหาขีณาสพ ๕๐๐ องค์ ซึ่ง เป๐นชาวเมืองกบิลพัสดุและชาวเมืองโกลิยะ มีพญานาคช่ือสุมนะพร้อมด้วยบริวารนาค ของตนประมาณ ๖ โกฏิ ถอื ตน้ จําปากําลงั มีดอกบานสะพรั่งกันเบื้องบนพระตถาคตเพื่อ ๗๐ พระรตั นป๎ญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, หนา้ ๑๕๖-๑๕๗.

๑๑๑ บังแสงแดด พระองค์เสด็จจากวิหารเชตวันไปสู่ประเทศกัลยาณีในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ เพ่ือทรงอนุเคราะห์พญานาคช่ือมณีอักขิกะ คร้ังนั้นพญานาคมณีอักขิกะ ได้นิมนต์ พระภิกษุสงฆ์มพี ระพุทธเป๐นประมุข ฉันอาหารทิพย์แล้วน่ังเฝูาอยู่ด้านหน่ึง พระศาสดา ทรงอนุโมทนาการถวายอาหารน้ันแล้ว ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนยอดภูเขาสุมนกูฏ ทรงพักกลางวันบนภูเขาน้ัน เสด็จออกจากท่ีประทับน้ันแล้ว ก็ทรงเข้านิโรธสมาบัติในท่ี ซึ่งเปน๐ ทีฆวาปีเจดยี ์ แล้วมอบใหม้ หาเสนเทวบุตรดแู ลรักษาที่น้ันไว้ คร้ันออกจากสถานท่ี นั้นแล้ว ทรงเข้านิโรธสมาบัติในท่ีซึ่งเป๐นถูปารามเจดีย์อีก แล้วมอบให้ปุถุวิมาลเทวบุตร ดูแลรักษาท่ีน้ันไว้ ครั้นออกจากสถานท่ีนั้นแล้ว ทรงเข้านิโรธสมาบัติในที่ซึ่งเป๐นมริจจ เจดยี ์ แล้วมอบให้อินทเทวบุตรดูแลรักษาไว้ ครั้นออกจากสถานท่ีนั้นแล้ว ทรงเข้านิโรธ สมาบัติอีกในท่ีซ่ึงเป๐นการามเจดีย์ แล้วมอบให้มหาโฆสเทวบุตรดูแลรักษาท่ีน้ันไว้ คร้ัน ออกจากสถานที่นน้ั แลว้ ทรงเข้านิโรธสมาบัติอีกในท่ีซึง่ เป๐นตสิ สมหาวิหารเจดยี ์ แล้วมอบ ใหม้ ณิภารเทวบุตรดูแลรักษาทน้ันไว้ คร้ันออกจากสถานท่ีนั้นแล้ว ทรงเข้านโรธสมาบัติ อกในทซ่ี ึง่ เป๐นนาคมหาเจดีย์ แล้วมอบให้มหินทเทวบุตรดูแลรักษาที่นั้นไว้ คร้ันออกจาก สถานท่ีนั้นแล้ว ทรงเข้านิโรธสมาบัติอีกในที่ซึ่งประดิษฐานพระธาตุกระดูกพระนลาฏะ แล้วมอบให้สุมนนาคราชดูแลรักษาท่ีน้ันไว้ เม่ือเข้าสมาบัติทุกแห่ง แผ่นดินใหญ่ก็ไหว สะเทอื น [ทุกครั้ง] พระผู้มีพระภาคทรงประทานโอวาทแก่พญานาคสุมนไม่ให้ประมาท แลว้ แวดลอ้ มดว้ ยพระภิกษุสงฆ์ ๕๐๐ องค์ เสด็จไปวิหารเชตวัน ในปีที่ ๒ ประทับอยู่ใน เมืองโกสัมพี ในปีที่ ๑๐ ประทับอยู่ในราวปุาชื่อปาลิไลยกะ ในปีที่ ๑๑ ประทับอยู่ใน หมู่บ้านพราหมณ์ช่ือตําบลนาลา ในปีท่ี ๑๒ ประทับอยู่ ในเมืองเวรัญชา ในปีท่ี ๑๓ ประทับอยู่ที่ภูเขาปาลิยะในนครราชคฤห์ ในปีท่ี ๑๔ ประทับอยู่ในวิหารเชตวัน ในปีที่ ๑๕ ประทับอยู่ในเมอื งกบลิ พัสดุ ในปที ี่ ๑๖ ประทบั อยู่ในเมืองอาฬวี ทรงปราบอาฬวกะ ยักษ์ ยังประชุมชน ๘๔,๐๐๐ ให้ด่ืมนํ้าอมฤตคือพระนิพพาน ในปีท่ี ๒๐ ประทับอยู่ใน นครราชคฤห์ ในปที ่ี ๔ และปที ี่ ๑ ประทับทภ่ี ูเขาปาลิยะ ในปีที่ ๑๗ ประทบั อยู่ในนครรา ชคฤห์ ในปีท่ี ๑๘ และปีท่ี ๑๙ ประทับที่ภูเขาปาลิยะ ในปีท่ี ๒๐ ประทับอยู่ในนครรา ชคฤห์ พระผ้มู ีพระภาคมิได้ประทบั อยู่เป๐นประจํา ที่ไหนสะดวกสบายก็ทรงประทับอยู่ที่ นัน่ เช่นนต้ี ลอดเวลา ๒๐ ปี ต่อจากนั้นมาก็เสด็จประทับประจําอยู่ ๒ แห่งเท่าน้ัน คือที่ วิหารเชตวนั และท่วี หิ ารปุพพาราม

๑๑๒ ทําไมจึงประทับอยู่ ๒ แห่งเท่าน้ัน ? เหตุที่พระองค์ประทับอยู่ในวิหาร ๒ แหง่ นี้ เพราะ ตระกลู ท้งั สอง [คอื เศรษฐีอนาถบิณฑิกะกับมหาอุบาสิกาวิสาขา] น้ันมีคุณ มาก๗๑ [๔] เรอื่ ง สมมตสิ มี าวัดมหาโพธาราม ต่อจากนั้นมา พระเจ้าพิลกปนัดดาธิราช โปรดให้สร้างโรงอุโบสถขึ้นหลัง หนึ่งทรงอสุ ภลักษณ์ กว้าง ๓๒ ศอกกับ ๑ คืบ ส่วนยาว ๗๗ ศอกกับ ๑ คืบในวัดมหาโพ ธาราม ซึง่ พระเจ้าพิลก พระราชป๎ยกาทรงสร้างไว้ในสถานท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระราชบิดาของพระองค์ [พระเจ้ายอดเชียงราย ] ท่ีตั้งปาสาณนิมิตของโรงอุโบสถน้ัน กว้าง ๕๑ ศอก ยาว ๑๑๖ ศอก ส่วนเขตที่จดหมู่บ้าน กว้าง ๓๐ วา ยาว ๔๙ วา โดย พระองคป์ ระทานทีแ่ ปลงหนึ่งแลกกับทด่ี งั กล่าวแล้วนนั้ เนื้อทที่ แี่ ลกเปลีย่ นน้ี ยังเป๐นท่ีลุ่ม อยู่ ยาว ๖๑ วา พระมหากษตั ริย์ทรงประทานท่ีแลกเปล่ียนกับเน้ือที่มีเขตจดหมู่บ้านน้ัน เม่ือแรม ๘ ค่ํา เดือน ๕ ปีมะเมีย จุลศักราช ๘๗๒ ตรงกับปีท่ีพระศาสดาปรินิพพานได้ ๒๐๕๕ ปี และในเวลาผูกสมาน้นั พระองค์ทรงนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ท้ังหมดมาจากทุกวัด ในนคร [เชยี งใหม่] ประชมุ กนั ทวี่ ัดมหาโพธาราม พระภิกษุสงฆ์ทเ่ี ป๐นพระวินัยธร [รู้วินัย] ได้กระทําวินัยกรรมซึ่งเป๐นกิจจําเป๐นในพิธีผูกสีมาน้ัน ต่อจากน้ัน ในปีที่ ๒ พระองค์ผูก สีมานั้นด้วยสีมาสมมติกรรมวาจาอันถูกต้องตามหลักวินัย เม่ือวันอาทิตย์ยามปลอด พระจันทร์เสวยอัสวณีนักษัตรฤกษ์ ขึ้น ๓ ค่ํา เดือน ๖ ปีมะแม จุลศักราช ๘๗๑ [พ.ศ. ๒๐๕๕] จรงิ อยู่ ในครัง้ นัน้ พระเจา้ พิลกปนัดดาธิราช ตรสั วา่ สถานที่น้ขี อให้เป๐นเขตแยก จากเขตบา้ น ตรสั ตอบสง่ มว่า ปาสาโณ ภนั เต แปลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ หลักเขตนั้น คือ แผ่นหิน พระอภยสารทมหาสามีกับพระมหาเถรเจ้าอาวาสวัดมหาโพธาราม ก็สวดสีมา สมมติกรรมวาจา ในกาลเมื่อทําพิธีสวดสมมติสีมานั้น พระเจ้าพิลกปนัดดาธิราชมพระ ชนมพรรษาได้ ๓๐ ปีบรบิ ูรณ์ พระอภยสารทมหาสามี มีพรรษาได้ ๕๗ พรรษา พระมหา เถรเจ้าอาวาสวดั มหาโพธาราม มพี รรษาได้ ๔๗ พรรษา คร้ังน้ัน ยังมีพระเถระอ่ืน ๆ อีก คือ พระสุมงคล, พระพรหมทตั , พระญาณสิทธิ, พระสุริยะ, พระญาณรังสี, พระธรรมวงศ์ , พระทีป๎งกร, พระอานันทะ, พระสหัสสรังสี, พระสรภังคะ, พระพุทธาทิจ, พระวชิร ป๎ญญา เหลา่ นี้เปน๐ พระเถระเมอื งเชยี งใหม่ พระญาณมงคล เป๐นพระเถระนครหริภุญชัย พระญาณลังกา เมืองเชียงราย พระญาณวิลาส, พระญาณสิทธิ, พระสัทธัมมรังสี เมือง เชียงแสน พระรตนป๎ญญา, พระสีลวิลาส นครพะเยา พระจันทรังสี, พระรตน ป๎ญญา ๗๑ พระรตั นป๎ญญาเถระ, ชนิ กาลมาลปี กรณ์, หน้า ๒๐๗-๒๐๙.

๑๑๓ นครเขลางค์ พระอุปคุต เมืองน่าน พระเทวจูฬ เมืองจาง อนึ่ง พระมหาเถระเหล่านั้น ล้วนเปน๐ รตั ตญั ญ คือ มีความชาํ นาญและค้นุ เคย มคี วามเชย่ี วชาญในพระไตรปิฎก รู้วินัย เป๐นปกติ เป๐นเจ้าคณะใหญ่ และเป๐นอาจารย์ของคณะสงฆ์ ต่างมาสันนิบาตในวัดมหาโพ ธารามพรักพร้อมกัน เมื่อสวดสมมติสีมาเสร็จแล้ว พระมหากษัตริย์ทรงปรารถนา อานิสงส์อันย่ิงใหญ่ เพื่ออุทิศถวายพระราชบิดาพระราชมารดาของพระองค์ จึงเผดียง พระภิกษสุ งฆ์ให้ทาํ อุปสมบทกรรมในวัดมหาโพธารามน้ัน พระสงฆ์นิกายสีหลทั้งหมดได้ ยังกุลบุตรให้อุปสมบทในสีมาที่สมมติแล้วในวัดมหาโพธารามน้ัน เม่ือวันพุธขึ้น ๖ ค่ํา เดอื น ๖ ปีมะแม จุลศักราช ๘๗๓ [พ.ศ. ๒๐๕๕] ประกอบด้วยโรหิณีนักษัตรฤกษ์ และ อุปสมบทกรรมน้ันเสร็จเมื่อวันเพ็ญเดือน ๖ ครั้งน้ัน พระมหากษัตริย์ได้ทรงถวายมหา ทานด้วยจตุป๎จจัย มีผ้าสีจันทน์ขาวจันทน์แดง ผ้าแพร และผ้าสีดอกจําปา เป๐นต้น แก่ พระภกิ ษุสงฆท์ มี่ าจากนอกเมือง และท่ีเป๐นชาวเมืองเชียงใหม่ด้วย นับ ตั้งแต่กาลสมมติ สีมาวดั มหาโพธารามมา พระเจ้าพิลกปนัดดาธิราชได้เผดียงสงฆ์ให้ทําสังฆกรรม ภายใน พรรษา เพื่อให้กองการกุศลอันย่ิงใหญ่เจริญย่ิง ๆ ข้ึนแก่พระราชป๎ยกาและพระราช บดิ า๗๒ [๕] ตอนทา้ ยคัมภีร์ ตอนท้ายคมั ภร์ชนิ กาลมาลีปกรณ์ เลา่ เร่อื งเหตกุ ารณก์ ารอญั เชญิ พระพุทธรูป องค์ใหญ่ ไปประดิษฐานที่หอปราสาทคํา ท่ามกลางวิหารหลวงหริปุญชัยเพื่อให้ชาวโลก ได้หว่านพชื คือบญุ กศุ ลกนั ถ้วนหนา้ โดยประพนั ธเ์ ป๐นคาถา แปลความได้ดังน้ี พระเจ้าแผ่นดนิ ติลก ทรงสมภพในวงศ์ของพระเจา้ มงั ราย ปรากฎพระนามใน ที่ทวั่ ไปว่า พระเจา้ สิริธรรมจักรพรรดิ ส่วนพระราชาผู้เป๐นพระราชปนัดดา [เหลน] ของ พระองค์ [คอื พระเมอื งแกว้ ] ทรงดํารงอยู่ในธรรม นับถือพระพุทธศาสนา เป๐นเจ้าเหนือ หัวประชาชน ทรงปกครองแผ่นดิน มีพระประสงค์จะให้พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง โปรด ใหก้ ระทาํ ความดีงามไวใ้ นกุฏิวัดปุาแดงมหาวิหาร พระภิกษุผู้ชื่อว่า รตนป๎ญญา เพราะมี ป๎ญญาเพียงดังว่ารัตนะ ได้รับการอุปถัมภ์บํารุงจากพระปนัดดาธิราชน้ัน อยู่กุฏิที่ พระปนัดอาธิราชสร้างถวาย ขณะน้ัน มีพรรษาได้ ๒๓ พรรษา กําลังอยู่ในระหว่าง พรรษา ไดเ้ พ่ิมเติมตกแต่งคัมภรี ใ์ นชนิ กาลใหเ้ ปน๐ คมั ภีรอ์ นั งดงาม [คอื เพมิ่ เติมตกแต่ง ให้ สมบูรณ์ข้ึน] . เพราะเหตุท่ีคัมภีร์น้ัน เพ่ือรู้ง่าย ได้รวบรวมกาลแห่งพระพุทธสืบต่อ ตามลําดับกันมา ท่ีนักปราชญ์ช้ีแจงไว้ในคัมภีร์ต่างๆ คัมภีร์นั้นจึงช่ือว่า ชินกาลมาลี ๗๒ พระรัตนปญ๎ ญาเถระ, ชนิ กาลมาลีปกรณ์, หนา้ ๓๒๓-๓๒๕.

๑๑๔ คมั ภีรช์ ินกาลมาลนี ้ีนั้น มขี ้อความบันทึกไว้ย่อ ๆ ตามความประสงค์ เสนอแก่ประชาชน ท้ังหลาย โดยปราศจากอันตรายฉันใด ข้าพเจ้าจึงหวังให้ประชาชนทั้งหมดเหล่านั้น จง ปราศจากอนั ตรายอันน้ันเถดิ ขอพระมหากษัตริย์ท้ังหลาย จงมีนํ้าพระทัยยินดี ในความ สามัคคีกันทั่วพ้ืนแผ่นดิน และขอจงทรงปกครองรักษาประชาราษฎร์ของพระองค์ตาม พระราชกําหนดกฎหมาย ขอฝนจงตกมาบนพ้ืนแผ่นดินตามฤดูกาล ขอประชาชน ท้งั หลาย จงไดร้ ับความสขุ กนั ทัว่ หนา้ ขอใหข้ ้าพเจ้า ซ่ึงเป๐นผู้สามารถรอบรู้กาลเวลาของ พระพทุ ธ ครน้ั ได้รู้เห็นกาลเวลานแี้ ล้ว ขอให้เกิดมีญาณคติ [แนวความรู้] โดยง่าย เมื่อฟ๎ง ธรรมอันประเสริฐของพระศรีอารยเมตไตรย ขอให้ข้าพเจ้าได้ตรัสรูมรรคผลเป๐นขิปปา ภิญญา [ตรสั รู้เร็วพลนั ] ในอนาคตกาล เทอญ คมั ภีรชนิ กาลมาลปี กรณน์ ี้ ขา้ พเจา้ รจนาไว้เพ่อื ให้พระพุทธศาสนาย่ังยืนนาน จบบริบรู ณ์เมื่อปีชวด จุลศักราช ๘๗๘ ตรงกับพระศาสดาปรินิพพานแล้วได้ ๒๐๖๐ ปี ดงั นีแ้ ลฯ [๖] ฉันทลักษณ์ในชนิ กาลมาลปี กรณ์ ในชินกาลมาลีปกรณ์ ผู้รจนาได้ใช้ฉันทลักษณ์หลายประเภท สลับกันไปได้ อยา่ งเหมาะสม ใช้ภาษาท่ีสละสลวย ประกอบด้วยอลังการต่างๆ ท้ังสัททาลังการ [การ ตกแต่งเสียง] และอัตถาลังการ [การตกแต่งความหมาย] แสดงถึงความเป๐นผู้มีปรีชา สามารถในเชงิ วรรณศิลป์ รปู แบบฉันทลักษณ์ท่ีปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์ต่อไปนี้ เป๐น เพียงบางส่วนที่คัดมาเพ่ือเป๐นกรณีศึกษาเท่านั้น ยังมีฉันทลักษณ์อีกหลายประเภทที่ ผู้เขียนไม่ได้นํามาแสดงไว้ ผู้สนใจสามารถศึกษารายละเอียดได้ในคัมภีร์ชินกาลมาลี ปกรณ์โดยตรง ๑. ปัฐยาวัตคาถา อนุฏฐภุ าฉันท์ ๘ พยางค์ มรี ูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ ดงั นี้ หา้ ม น,ส ย คณะ หา้ ม น,ส ช คณะ ๑๒๓๔๕๖๗๘๑๒๓๔๕๖๗๘ ๐๐๐๐๑๒๒๐๐๐๐๐๑๒๑๐ ตวั อย่าง มุตฺโตหํ โมจเย ปเร พุทฺโธหํ โพธยิสสฺ ามิ สสํ าโรฆา มหพฺภยาตฯิ ตณิ โฺ ณหํ ตารยสิ ฺสามิ

๑๑๕ แปล เราตรสั ร้แู ลว้ จะให้ผอู้ น่ื ตรสั ร้ดู ว้ ย เราพ้นจากกิเลสแล้ว จะให้ ผู้อืน่ พน้ ดว้ ย เราขา้ มโลกได้แล้ว จะใหผ้ ู้อื่นขา้ มไดด้ ้วย มหาสมทุ รคือวัฏฏสงสารมีภัยมาก ฯ๗๓ ๒. อนิ ทรวิเชยี รคาถา ตฏิ ฐภุ าฉนั ท์ ๑๑ พยางค์ มรี ปู แบบฉันทลักษณ์ ดังนี้ ต คณะ ต คณะ ช คณะ ครุ ครุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ อนิ ฺ ทา ทิ กา ตา ว ชิ รา ช คา โค ๒๒๑๒๒๑๑๒๑๒๒ ตัวอย่าง โมหนฺธการํ ตฆิ นํ ปหนตฺ วฺ า ญาณงฺสุนา ธมมฺ วรงสฺ นุ า โย เวเนยยฺ พนธฺ ตุ ตฺ ยปงกฺ ชนฺตํ โพเธสิ วนฺเท ชินป๏สุมาลี ฯ แปล พระพทุ ธพระองคใ์ ด ละความมืดคือโมหะอันหนาทึบในภพทั้ง สามด้วยพระรัศมีคือพระป๎ญญาตรัสรู้ ยังเผ่าพันธ์ุเวไนยชน เปรียบเหมือนดอกบัว ๓ เหล่า ให้คล่ีบาน คือให้ตรัสรู้ด้วยพระรัศมีอันประเสริฐ คือพระธรรม ข้าพเจ้า [ผู้ชื่อ วา่ รัตนป๎ญญาเถระ] ขอนมัสการพระพุทธพระองค์นั้น ผู้ทรงชนะแล้ว มีละอองพระบาท เป๐นพวงมาลา ระเบยี บอนั ดีงาม๗๔ ๓. อุเปนทรวิเชียรคาถา ติฏฐุภาฉันท์ ๑๑ พยางค์ มีรูปแบบฉันทลักษณ์ ดงั นี้ ช คณะ ต คณะ ช คณะ ครุ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ อุ ปา ทิ กา สา ว ช ตา ช คา โค ๑๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๒ ตวั อย่าง ตถานุรทุ โฺ ธ ปนุ มณุ ฑฺ นาโม ๗๓ พระรัตนป๎ญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, บาลี หนา้ ๖. คาํ แปล, หน้า ๑๕๙. ๗๔ พระรัตนปญ๎ ญาเถระ, ชนิ กาลมาลีปกรณ์, ๑๕๔.

๑๑๖ ๔. อุปชาติคาถา คือฉันท์ผสมต้ังแต่ ๒ รูปแบบเป๐นต้นไปในคาถาเดียวกัน คาถาที่ผสมคาถาหลายชนิด ซึ่งมีพยางค์ไม่เท่ากันในแต่ละฉันท์ ก็เรียกว่า อุปชาติ โดยนัยน้ี อุปชาติจึงมีมากมายนับไม่ถ้วน แต่ในคัมภีร์วุตโตทัย แสดงไว้ ๑๔ ประเภท ตวั อยา่ ง อชาตสตฺตทู ยภททฺ ราชา อุ. ตถานรุ ุทฺโธ ปนุ มุณฑฺ นาโม อุ. ปุตฺตปปฺ ปตุ โฺ ต ปุน นาคทาโส อิ. อถาปิ ราชา สุสูนาคนาโมตฯิ อุ. แปล กษัตริย์ ๖ พระองค์เหล่าน้ีคือ พระเจ้าอชาตศัตรู พระเจ้า อุทัยภัททะ พระเจ้าอนุรุทธะ พระเจา้ มุณฑะ พระเจ้านาคทาสะ ผู้สืบสันตติวงศ์ต่อๆ กัน มากบั พระเจ้าสุสนู าคะ ไดเ้ สวยราชสมบัตใิ นนครปาฏลีบุตร ถัดๆ กนั มา๗๕ ในตัวอยา่ ง เปน๐ การผสมรูปแบบอนิ ทรวเิ ชียรคาถา กับ อเุ ปนทรวิเชียรคาถา บาทตน้ บาทท่ี ๒ และบาทสดุ ทา้ ย เป๐นอุเปนทรวิเชียรคาถา บาทท่ี ๒ เป๐นอินทรวิเชียร คาถา ๕. โตฏกฉนั ท์ ๑๒ พยางค์ มีรูปแบบฉนั ทลักษณ์ ดังนี้ ส คณะ ส คณะ ส คณะ ส คณะ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ อิ ห โต ฏ ก มมฺ พุ ธิ เส หิ มิ ตํ ๑๑๒ ๑๑๒ ๑๑๒ ๑๑๒ ตัวอยา่ ง อถ เถรวรมหฺ ิ สโุ ขทยโต นครา มิคเต สยเน สยเน มนุ ิโน กิร ธาตุ วรา สปุ ภา ปรมจฺฉริยํ ววิ ิธํ อกรฯิ อนลิ วํ กทา กนกวํ กทา อฬุ ุรสํ ิ กทา วิปลุ ํ ว กทา สุชนนตฺ รตฏุ ฐฺ ิกวา รจุ ิรา ๗๕ พระรตั นปญ๎ ญาเถระ, ชนิ กาลมาลปี กรณ์, ๒๑๙.

๑๑๗ ชินธาตุ วรา อนหุ ํ ยกริ ฯ แปล เม่ือพระเถระออกจากเมืองสุโขทัย ไม่ว่าจะนอนในที่ใดๆ ได้ ยินว่า พระบรมธาตุของพระพุทธ เปล่งรัศมีอันประเสริฐ แสดงปาฏิหาริย์ต่างๆ น่า อัศจรรย์อยา่ งย่งิ บางคราวเปน๐ พายุ บางคราวเป๐นเหมอื นสีทอง บางคราวเป๐นเหมือนแสง ดาว บางคราวแผ่รัศมีกว้างขวาง พระชินธาตุอันประเสริฐงดงาม ทําความปลาบปล้ืมให้ เกิดขน้ึ ในระหว่างสาธชุ น กระทําปาฏิหาริย์ทุกวันฯ๗๖ ๖. วสันตดิลกคาถา สกั กรฉี ันท์ ๑๔ พยางค์ มรี ูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ ดังน้ี ต ภ ช ช ครุ ครุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ วุตฺ ตา ว สนฺ ต ติ ล กา ต ภ ชา ช คา โค ๒๒๑๒๑๑๑๒๑๑๒๑๒๒ ตวั อยา่ ง โส สชชฺ นาลยปเุ ร ปวโรรุ ถปู ๏ ปาสาณอิฏฺฐกมยํ ว สธุ านลุ ติ ตฺ ํ เหมานุสติ ตฺ ถริ ตมฺพมยํ อเสลํ กาเรสิ ภมู ปิ ติ ทิพพฺ วมิ านรูป๏ฯ แปล พระเจ้าแผ่นดินผู้ประเสริฐน้ัน โปรดให้สร้างพระปรางค์ขึ้น องค์หนึ่งในเมืองสัชชนาลัย ล้วนแล้วด้วยศิลา [แลง] และอิฐ โบกปูนขาว หุ้มแผ่น ทองแดงแน่นหนา ปดิ ทอง ไมใ่ ช่แลเหน็ เป๐นหนิ งาม ดงั รปู ทิพยพิมาน ฯ๗๗ ๗. มาลินีคาถา อติสักกรีฉันท์ ๑๕ พยางค์ มรี ปู แบบฉันทลักษณ์ ดังนี้ น คณะ น คณะ ม คณะ ย คณะ ย คณะ ๑๒๓ ๔๕๖ นนม ย ย ยุ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๑๑ ๑๑๑ ตา ยํ มา ลิ นี โภ คิ สี หิ ๒๒๒๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ตัวอย่าง นรวรปติ เหโส วนทฺ เนยฺยาหเุ นยเฺ ย คณุ วรนิกโร ภาวนนฺ โิ ย อายตีน ๗๖ พระรัตนป๎ญญาเถระ, ชินกาลมาลปี กรณ์, ๒๙๑. ๗๗ พระรัตนปญ๎ ญาเถระ, ชนิ กาลมาลีปกรณ์, ๒๙๔.

๑๑๘ สกลทิสมเสเส กิตฺติมนฺโต ชลนฺโต วิมลสรทกาเล ภาณมุ าลึว ขมหฺ ิ ฯ แปล จรงิ อยู่ พระมหาเถระผู้เป๐นเจ้าอันประเสริฐของนรชน เป๐นผู้ ควรกราบไหว้ และควรรับจตุปจ๎ จยั ไทยธรรม เป๐นทปี่ ระชุมคณุ ธรรมอันประเสริฐ ควรแก่ ความสรรเสริญแห่งพระภิกษุทั้งหลาย มีเกียรติยศช่ือเสียง มีความรุ่งเรืองไปท่ัวทุกทิศ เหมอื นแสงพระอาทิตย์รงุ่ เรอื งบนฟากฟูาในฤดูสารทกาลอันสดใส๗๘ ๘. สทั ธราคาถา ปกติฉนั ท์ ๒๑ พยางค์ มีรูปแบบฉนั ทลักษณ์ ดังน้ี ม คณะ ร คณะ ภ คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ รา ชินฺ ทา นํ ขิ ลา นํ สุ ก นกม กุ เฏ เส ล ภา เส น ภา สํ ๒๒๒ ๒๑๒ ๒๑๑ ๑๑๑ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒ ตวั อย่าง ราชนิ ทฺ านํ ขลิ านํ สกุ นกมกุเฏ เสลภาเสน ภาสํ ราคปฺปตฺโต ภุปานํ อสทิสสรณํ เนกสาตํ นิยาตี เสฏเฺ ฐมํ ราชวํเส สุวมิ ลตุเล ยาว จงฺคาธิราชา ตสเฺ สวาลกิ ิภโู ต ปุถลวรธโช ภูตเลโก วิภาคี ฯลฯ แปล มหาบพิตรพระสมภารเจ้า ซ่ึงสืบสันตติวงศ์มาในวงศ์พระ เจ้ามังราย อันประเสริฐบริสุทธิ์หาที่เปรียบมิได้ ตั้งแต่พระเจ้าลาวจังคอธิราช ทรงส่อง แสงสว่างเหนือสุวรรณมกุฏแห่งจอมราชาทั้งหมด เสมือนดั่งดวงอาทิตย์ส่องแสงสว่าง เหนอื ยอดภเู ขา ทรงถงึ แล้วซง่ึ ภาระอันนา่ ยนิ ดี คอื ครองราชสมบตั ิ ทรงมอบความสุขเป๐น อเนกอันประเสริฐนี้ ให้เป๐นท่ีพ่ึงพํานักแก่กษัตริย์ท้ังหลายหาที่จะเสมอเหมือนมิได้ ทรง เป๐นเหมือนอลังการเคร่ืองประดับของราชตระกูลน้ัน และทรงเป๐นเหมือนธงชัยผืนใหญ่ อันประเสรฐิ ทรงแจม่ จา้ เป๐นเอกอยู่เหนือพน้ื แผ่นดิน๗๙ ๗๘ พระรัตนป๎ญญาเถระ, ชนิ กาลมาลีปกรณ์, ๓๔๔. ๗๙ พระรตั นป๎ญญาเถระ, ชนิ กาลมาลปี กรณ์, ๓๔๓.

๑๑๙ ชนิ จริต ชินจริต๘๐ โดยความหมายของศัพท์ หมายถึง ความประพฤติของพระชินะ เป๐นคัมภีร์ประเภทกาพย์ในวรรณกรรมบาลี ผู้รจนาคือพระเมธังกร หรือพระวันรตนเม ธงั กร พระเถระชาวลังกา รจนาไว้ระหว่าง พ.ศ.๑๘๒๐-๑๘๓๑ เน้ือหาพรรณนาประวัติ ของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ครั้งเสวยพระชาติเป๐นสุเมธดาบส บําเพ็ญบารมีมาโดยลําดับ จนกระทงั่ ได้ตรัสรู้อนตุ รสัมมาสมั โพธญิ าณ โดยอาศัยเน้ือเร่ืองที่มีอยู่แล้วในคัมภีร์ต่าง ๆ เชน่ พระไตรปฎิ ก อรรถากถา เป๐นตน้ นาํ มาเรยี บเรยี งใหม่ลกั ษณะย่อความ ร้อยความให้ เป๐นเนอ้ื เดยี วกันตลอดทั้งเรอ่ื ง ในด้านเนอ้ื หาจงึ ไมม่ ีอะไรโดดเดน่ ลักษณะพิเศษของคัมภีร์ชินจริตอยู่ท่ีวิธีการนําเสนอเน้ือหา น่ันคือรูปแบบ การประพันธ์เป๐นฉันทลักษณ์ทั้งหมด ๔๗๒ คาถา เป๐นฉันท์วรรณพฤติ ๑๒ ชนิด เป๐น ฉันท์ท่ีปรากฏในคัมภีร์วุตโตทัย ๑๑ ชนิด ไม่ปรากฏท้ังฝุายบาลี และสันสกฤต ๑ ชนิด ตลอดเน้อื หาของการประพนั ธ์ มีการใชอ้ ลงั การศาสตร์ ท้ังสัททาลงั การ และอัตถาลังการ ได้อย่างยอดเย่ียม แสดงให้เห็นถึงความเป๐นปราชญ์ทางด้านอักษรศาสตร์ของพระเม ธงั กรเถระท่สี ามารถใชค้ ํา เล่นคํา สร้างคํา เพ่ือใช้ในการสรรเสริญพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในลกั ษณะตา่ งๆ จํานวนฉันทลักษณท์ ่ใี ช้ในคัมภรี ์ชินจรติ มรี ายละเอียดดังนี้๘๑ ๑. ปฐยาวัตฉันท์ จํานวน ๓๑๓ คาถา ๒. วสันตดลิ กคาถา จํานวน ๕๐ คาถา ๓. อปุ ชาติฉันท์ จํานวน ๔๓ คาถา ๔. วังสัฏฐฉันท์ จํานวน ๑๙ คาถา ๕. วิปลุ าฉนั ท์ จาํ นวน ๑๕ คาถา ๖. อินทรวิเชียรคาถา จํานวน ๙ คาถา ๗. มาลนิ ฉี นั ท์ จํานวน ๘ คาถา ๘. อุเปนทรวเิ ชียรคาถา จํานวน ๗ คาถา ๙. ภชุ งคปยาตฉันท์ จํานวน ๕ คาถา ๑๐.รโธทตาฉันท์ จํานวน ๑ คาถา ๘๐ วาสน์ มขุ ยานุวงศ,์ การศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์คัมภีร์ชินจริต, วิทยานิพนธ์อักษรศาสต รมหาบณั ฑิต ภาควชิ าภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๑], ๒๘๗ หน้า. ๘๑ วาสน์ มขุ ยานวุ งศ,์ การศึกษาเชิงวเิ คราะหค์ ัมภีรช์ ินจรติ , หน้า ๖๔.

๑๒๐ ๑๑.สทั ทุลวกิ กีฬติ ฉันท์ จํานวน ๑ คาถา ๑๒.วริวสิตาฉนั ท์ จํานวน ๑ คาถา [น อ ก คัมภี ร์ วุ ต โตทยั ] อนึ่ง การประพนั ธ์ไมไ่ ด้แบง่ เป๐นบท หรอื ปริจเฉท หากแต่รจนาติดต่อกันไป โดยวางโครงสร้างเรื่องไว้เป๐น บทปณาม-ปฏิญญา เนื้อเร่ือง [แบ่งเป๐น ๓ ตอน คือ ทูเร นิทาน, อวิทูเรนิทาน และสันติเกนทิ าน] และคํานคิ มคาถา ตวั อยา่ ง นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ สสฺ ฯ [ปณาม-ปฏญิ ฺญาคาถา] อตุ ฺตมํ อตุ ตฺ มงเฺ คน นมสฺสติ ฺวา มเหสโิ น นิพฺพานมธทุ ํ ปาท- ปงกฺ ชํ สชชฺ นาลินํ มหาโมหตมํ โลเก ธํเสนตฺ ํ ธมฺมภากรํ ปาตภุ ูตํ มหาเตชํ ธมมฺ ราโชทยาจเล ขนตฺ จุ ติ ตฺ สเร ชาตํ ปสาทกมุ ทุ ํ สทา โพเธนตฺ ํ สํฆจนฺทํฺจ สโี ลรุกิรณชุ ฺชลํ ตหึ ตหึ สุวิตฺถิณณฺ ํ ชนิ สสฺ จริตํ หิตํ ปวกฺขามิ สมาเสน สทานสุ ฺสรณตถฺ ิโก ปณีตํ ตํ สรนตฺ านํ ทุลฺลภนิปิ สวิ ํ ปทํ อทุลลฺ ภมภฺ เว โภค- ปฏิลาภนตฺ ิ กา กถา ตสฺมา ตํ ภํฺญมานํ เม จติ ฺตวุตฺตปทกฺกมํ สนุ ทฺ รํ มธรุ ํ สทุ ฺธํ โสตุโสตรสายนํ โสตฑตูลปฎุ า สมฺมา คเหตฺวาน นริ นตฺ รํ สาธโว ปริภํุ ชฺ ถ ฯ๘๒ ลชรามรปจิ ฉฺ นฺตา แปล ขา้ พเจ้า [พระเมธงั กรเถระ] ปรารถนาจะระลึกถึงพระพุทธเจ้า ทุกเมื่อ จึงขอน้อมเศียรเกล้านมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสูงสุด ผู้ประทานพระ นิพพานแก่สาธุชน เหมือนดังดอกอุบลให้น้ําหวานแก่หมู่ภมรฉะน้ัน [ขอน้อมเศียรเกล้า นมัสการ] พระสัทธรรมของพระธรรมราชาอันทรงพระมหิทธานุภาพปรากฏเด่นชัด สามารถขจัดความลุ่มหลงอย่างใหญ่หลวงของปวงสัตว์ [ให้สิ้นไป] เหมือนดวงอาทิตย์ท่ี อุทยั เหนอื ยอดเขา ส่องแสงสว่างรุง่ เรืองปรากฏเด่นชัด พร้อมกับการขจัดความมืดไปท่ัว ๘๒ วาสน์ มุขยานวุ งศ,์ การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์คมั ภีร์ชนิ จรติ , หน้า ๑๐๕.

๑๒๑ โลก [และขอน้อมเศียรเกล้านมัสการ] พระอริยสงฆืผู้มีจริยาวัตรงดงามด้วยศีลซึ่งทํา ความเลื่อมใสทีเ่ กดิ ขึ้นในดวงใจของหม่สู ตั วใ์ หเ้ บิกบาน เหมอื นดังดวงจันทร์ท่ีรุ่งเรืองด้วย แสงสว่างทาํ ให้ดอกโกมุทที่เกิดในสระน้ําแย้มบานทุกเม่ือ แล้วจักรวบรวมพุทธประวัติท่ี ปรากฏแพร่หลายอยู่ในคัมภีร์ต่างๆ น้ันมารจนาโดยย่อเป๐นคัมภีร์ชินจริต เพื่อให้เกิด ประโยชน์ [อย่างใหญห่ ลวงแก่ผู้เรยี น] เมื่อสาธุชนมาระลกึ ถึงพระชนิ จริต [พุทธประวัติ] อย่างละเอียดถี่ถ้วน พระ นิพพานแม้จะเปน๐ สภาวธรรมทรี่ ู้ไดโ้ ดยยาก ก็กลับจะพึงรไู้ ดโ้ ดยง่าย [ดงั น้ัน] จงึ ไม่จําต้อง พูดถงึ การไดโ้ ภคสมบัติ [โลกียสมบัติ] เพราะเหตุนั้น ขอเหล่าสาธุชนทั้งหลายผู้ปรารถนาความไม่แก่ ไม่ตาย จงเงี่ยโสตประนมหัตถ์ แล้วต้ังใจศึกษาคัมภีร์ชินจริตไปตามลําดับบทท่ีข้าพเจ้ารจนาไว้ อยา่ งวจิ ิตรงดงามไพเราะสละสลวย และเสนาะโสตของผู้สดบั อยูต่ ลอดกาล๘๓ รปู แบบฉนั ทลักษณ์ในชินจริต ในท่ีนําเสนอเฉพาะรูปแบบฉันทลักษณ์ท่ียัง ไม่เคยนํามาแสดงในงานนี้เท่านั้น ส่วนฉันทลักษณ์อื่นนอกเหนือจากนี้ ผู้สนใจ สามารถ คน้ หาได้จากคําอธิบายในคมั ภีร์อืน่ ๆ ทอี่ ย่ใู นเลม่ น้ี ๑. วริวสิตาฉันท์ ๑๓ พยางค์ เป๐นฉันท์ที่ไม่ปรากฏในคัมภีร์วุตโตทัย คัมภีร์วฤตรตนากร หรือคัมภีร์ฉันท์อ่ืนๆ ท่ีว่าด้วยเร่ืองฉันทศาสตร์ แต่ในงานวิจัยของ วาสน์ มุขยานวุ งศ์ ได้ใหข้ อ้ เสนอวา่ เป๐นฉันท์สังกัดในกลุ่มอติชคตีฉันท์ เป๐นสมปาทฉันท์ แตล่ ะบาทมี ๑๓ พยางค์ ประกอบดว้ ย ส คณะ ๒, น คณะ ๒ และครุ ๑ เขียนแผนผังได้ ดังนี้๘๔ ส คณะ ส คณะ น คณะ น คณะ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ อิ ห เสา ย ทิ โน คุ รุ ว ริ ว สิ ตา ๑๑๒ ๑๑๒ ๑๑๑ ๑๑๑๒ ตวั อยา่ ง กุสมุ ากลุ สุนฺทรตรุปวเน [๔๐๔] ปทุมุปฺปลภาสรุ สรนิกเร ปถุ จุ งกฺ มมณฑฺ ติ สิตสกิ เต ๘๓ วาสน์ มุขยานุวงศ์, การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์คัมภรี ์ชินจริต, หนา้ ๒๐๒. ๘๔ วาสน์ มขุ ยานุวงศ์, การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์คัมภรี ์ชนิ จรติ , หนา้ ๖๖.

๑๒๒ สภุ สีตวเน วิหรติ สคุ โต ฯ แปล พระสุคตเข้าประทับอยู่ท่ีปุาสีตวันอันงดงาม กอปรด้วยต้นไม้ ใหญ่ท่งี ามสลา้ ง มีดอกท่ีส่งกล่ินหอมอบอวล ดารดาษด้วยสระนํ้าละลานตาด้วยดอกบัว หลวง ดอกบัวเขียว ประดับด้วยสถานที่กว้างใหญ่สําหรับจงกรม ปูลาดด้วยทรายขาว ละเอียด๘๕ ๒. สัททุลวกิ กีฬิตฉันท์ ๑๙ พยางค์ ฉันท์ท่ีมีลีลาก้าวย่างดั่งพญาเสือโคร่ง ประกอบดว้ ย ๖ คณะ คอื ม, ส, ช, ส, ต, ต, และ ครุ เขยี นแผนผงั ประกอบดังน้ี๘๖ ม คณะ ส คณะ ช คณะ ส คณะ ต คณะ ต คณะ ครุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ อกฺ กสฺ เส ทิ ย ติมฺ ส ชา ส ต ต คา สทฺ ทู ล วิกฺ กี ฬิ ตํ ๒ ๒ ๒ ๑๑๒ ๑๒ ๑๑ ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ตวั อยา่ ง [๔๑๘] นิจจฺ ํ กงิ กฺ ณิ ิชาลนาทรจุ ริ ํ สงิ ฺคีว สิงฺคากุลํ รมฺมํเนกมณหี ฉิ นฺนฉทนํ อามตุ ฺตมตุ ตฺ าวลึ นานาราควติ านภาสุรตรํ ปุปผฺ าทนิ าลงฺกตํ จิตรฺ ํ คนฺธกุฏึ วรํ สุวปิ ุลํ กาเรสิ ภูเสขรํ ฯ แปล [อนาถปิณฑกิ เศรษฐี] ให้สรา้ งพระคันธกฎุ ี อันประเสริฐล้ําเลิศ วิจิตรยอดเย่ียมในแผ่นดิน มุงด้วยแก้วมณีอันงามระยับ มีแก้วมุกดาประดับเอาไว้ เรียบร้อย ประดับด้วยช่อฟูาใบระกางดงามราวกับทองคํา กังวาลด้วยเสียงกระด่ิงอยู ตลอดเวลา รงุ่ โรจน์ดว้ ยผา้ เพดานนานาชนดิ ท่ีน่ายินดี ตกแต่งด้วยดอกไม้ประดับเป๐นต้น ฯ๘๗ [๓] รโธทตาฉันท์ ๑๑ พยางค์ ฉันท์ที่เรียง ร คณะไว้ข้างหน้าและหลัง ร คณะตัวหน้าเป๐น รโธ, ร คณะตัวหลังเปน๐ อุทธงั เขยี นแผนผงั ได้ดงั นี้ ร คณะ น คณะ ร คณะ ลหุ ครุ ๑๒๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ โร น รา อิ ท ร โถทฺ ธ ตา ล คา ๒๑๒ ๑๑๑๒๑๒๑๒ ๘๕ วาสน์ มขุ ยานุวงศ์, การศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภรี ช์ ินจรติ , หน้า ๒๔๓. ๘๖ วาสน์ มขุ ยานุวงศ,์ การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์คัมภีร์ชนิ จรติ , หน้า ๒๔๓. ๘๗ วาสน์ มุขยานุวงศ์, การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์คมั ภรี ช์ ินจรติ , หน้า ๒๔๔.

๑๒๓ ตวั อยา่ ง [๑๗๒] เปสลานนกรงฆฺ ปิ งฺกชา หาสเผนภมุวจี ิภาสรุ า เนตตฺ นลี กมลา ยโสธรา โกมุทวี นยานาฬิปตฺถิตาฯ แปล พระนางยโสธรา มีพระพักตร์ พระหัตถ์ และพระบาทอ่อนนุ่ม สลวยงามดุจดอกบวั มีพระชงงดงามเหมอื นระลอกเกลยี วคลืน่ ที่แตกกระจาย มีพระเนตร งามดงั ดอกอุบลเขียว และมขี นพระเนตรเป๐นแถวเรียบดุจเกสรดอกโกมุทฯ๘๘ [๔] ภุชงคปยาตฉันท์ ๑๒ พยางค์ แปลว่า ฉันท์ท่ีมี ย คณะ ๔ คณะ ดําเนินไปไม่ขาดสายเหมือนพญางูเลื้อยติดต่อกันไม่ขาดสาย คือเป๐นฉันท์ท่ีมี ย คณะ ล้วนๆ ทา่ นจดั เป๐นฉนั ทต์ ลก เขียนแผนผงั ประกอบไดด้ งั น้ี ย คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ภุ ชงฺ คปฺ ป ยา ตํ ภ เว เว พ เย หิ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒ ตวั อย่าง [๑๖๐] นิสินโฺ นวเนกปฺปการํ วิการํ ปทสิ ฺวาน นทิ ฺทปู คานํ วธนู ํ คมสิ ฺสามิ พานีติ อพุ พฺ คิ ฺคจติ ฺโต ภเว ทวฺ ารมูลมปฺ คนตฺ วฺ าน รมมฺ ฯํ แปล [พระมหาสัตว์] ขณะที่ปรับนั่งน้ัน ทรงทอดพระเนตรเห็น อาการแปลกๆ หลายแบบของเหล่านางสนมกํานัลผู้หลับไหล จึงมีความดําหริอย่างกล้า ขึน้ ว่า “เราจักออกมหาพิเนษกรมณ์ในคืนวนั นี้” จึงเสดจ็ ไปทพี่ ระทวารฯ๘๙ อลงั การในคมั ภรี ์ชินจรติ ๘๘ วาสน์ มขุ ยานุวงศ์, การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะหค์ ัมภีร์ชินจริต, หนา้ ๒๒๐. ๘๙ วาสน์ มขุ ยานวุ งศ์, การศกึ ษาเชิงวเิ คราะห์คมั ภรี ช์ ินจรติ , หนา้ ๒๑๙.

๑๒๔ อย่างท่ไี ดก้ ลา่ วแลว้ ข้างต้น คัมภีร์ชินจริต ไม่ได้โดดเด่นทางเนื้อหา หากแต่ โดดเด่นในเรื่องของอลังการ ซึ่งนําเสนอผ่านบทร้อยกรองด้วยฉันทลักษณ์ต่างๆ ถึง ๑๒ ประเภท ผู้รจนาได้บรรจงแต่งศัพท์ และแตง่ ความหมายได้อยา่ งครบเครอ่ื ง ตวั อย่างสทั ทาลังการ [๑] โอชคณุ สัททาลงั การประเภทใชบ้ ทสมาสยาวๆ อนั แสดงถึงความฉลาด ในไวยากรณข์ องผู้ประพนั ธ์ [๒๔๙] อจฺจนตฺ ภมี นลอจจฺ สิ มชุ ชฺ โลรุ- ปาสาณภสมฺ กลายุธวสฺสธารา องคฺ ารปชชฺ ลติ วาวกุ วสูสธารา วสิสาปยิตฺถ สกลานิ อิมานิ ตานิฯ แปล พญามารได้เนรมิตรสายฝนกรวด ฝุนละออง โคลนตม อาวุธ และฝนทราย ซง่ึ ลุกโชติชว่ งดั่งถา่ นเพลิง สว่างโรจน์โชตนาการดว้ ยแสงเพลิงและเปลวไฟ ท่นี า่ กลัวหนกั หนา ใหต้ กลงทว่ั สถานทเี่ หล่านัน้ ทุกแหง่ ฯ๙๐ [๒] สิเลสคุณ หมายถึงคุณอันเกิดจากการพรรณนาคุณท่ีน่ายินดีด้วย ถอ้ ยคําทสี่ ละสลวย และมคี วามหนกั แนน่ ในข้อความของตนเอง [๕๔] โคตโม นาม นาเมน สมฺพทุ โฺ ธยํ อนาคตํ ภวสิ ิสตตี ิ พยฺ ากาสิ สาวเก จ ปรู าทเิ ก [๕๕] อิทํ วตฺวาน กตวฺ าน สสโํ ฆ ตํ ปทกขฺ ณิ ํ ปูเชสิ อฏฐฺ มุฏฐฺ หี ิ กสุ เุ มหิ คณุ ปปฺ ิโย ฯ แปล [พระตถาคตทีป๎งกร] ตรัสพยากรณ์กะพระสวกทั้งหลายที่อยู่ เฉพาะพระพกั ตรว่า “ในอนาคตกาล พระดาบสรูปนี้ จักตรัสรู้เป๐นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า พระสมณโคดม” ฯ พระตถาคตเจ้าผู้ทรงคุณความดีอันเป๐นท่ีรัก ครั้น ตรัสพยากรณ์น้ีแล้ว จึงพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ กระทําประทักษิณสุเมธดาบสแล้วบูชา ด้วยดอกโกสมุ ๘ กํามอื ฯ๙๑ [๓] กันติคุณ หมายถึง คุณท่ีเกิดจากการพรรณนาถึงส่ิงที่ทุกคนปรารถนา และไม่เกิดความเป๐นจริง หรือไมน่ ้อยกวา่ ความเปน๐ จรงิ [๗๗] พมิ ฺพาธราย วิกจุปปฺ ลโลยจนาย เทวนิ ฺทจาปรติวทธู นภูลตาย ๙๐ วาสน์ มขุ ยานวุ งศ,์ การศึกษาเชงิ วิเคราะห์คมั ภีร์ชนิ จรติ , หน้า ๒๒๗. ๙๑ วาสน์ มขุ ยานุวงศ์, การศึกษาเชงิ วิเคราะหค์ มั ภรี ์ชนิ จริต, หนา้ ๒๐๖.

๑๒๕ สมปฺ ุณฺณโสมฺมวมิ ลนิ ฺทุวรานนาย โสวณฺณหสํ ยุคจารปุ โยธรายฯ [๗๘] ปาทารวนิ ฺทกรปลลฺ วสนุ ทฺ ราย โสวณณฺ วณณฺ ตนวุ รณฺณวิราคชติ าย สีลาทิเนกคุณภสู นภูสิตาย มายาย ราชาวนิตายปุ คํฉฺ ิ กจุ ฺฉฯึ แปล [พระโพธิสัตว์] มีพระเนตรงามฉายด่ังดอกอุบลแย้มบาน มี พระขนงโกง่ ดงั่ คันศรของพระองคอ์ มรนิ ทร์ มีพระพักตรง์ ามผดุ ผ่องด่งั ดวงจันทรว์ ันเพญ็ ท่ี ปราศจากเมฆหมอก มีพระถนั ทัง้ คงู่ ามราวกับอกหงสท์ อง มีพระบาทงามด่ังรูปกลีบบัว มี พระกรกลมกลึงอ่อนช้อยดุจเครือวัลย์ มีพระฉวีวรรณผุดผ่องเป๐นสีทอง พระวรกายงาม เพริศพร้ิงประดับด้วยวิภูสิตาลังการ พระราชหฤทัยเปล่ียมด้วยคุณะรรมเป๐นอเนก ประการมศี ีลเป๐นตน้ ทรงสุบนิ เห็นพญาช้างเผือกสีขาวนวลดัง่ ดวงจันทร์ ใช้งวงรวบจับกํา ดอกปณุ ฑริกท่งี ามย่งิ ปราศจากมลทนิ โทษ น่าชวนชม ราวกับสายสรอ้ ยท่ีทําด้วยเงินและ แก้วเพทายฯ๙๒ [๔] สมาธิคุณ คณุ ทใี่ ช้คําพูดโดยอ้อม กล่าวส่ิงที่ไม่มีให้เหมือนมี เช่น การ ยกเอาสภาพของการนอนหลับของสงิ่ มีชวี ิต แต่นําไปใช้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต โดยการนําไปใช้ นั้น ความหมายต้องตรงกับโวหารท่ีชาวโลกท่ัวไปใช้อยู่ ในคัมภีร์สุโพธาลังการนิสสยะ ระบุวา่ สมาธิคุณเป๐นชีวิต หรือเป๐นสาระของการประพันธ์ [พนฺธสาโร] โดยให้เหตุผลว่า หากบทประพันธไ์ ม่มคี ุณลักษณะดงั กล่าว ก็คือวา่ เป๐นบทประพันธ์ท่ตี ายแลว้ [๘๔] สรุ ภิกสุ ุมสณฺฑาลงฺกตสสฺ าลสณฑฺ ํ สมทภมรมาลาคยี มานคิคนาหํ นยนวหคสเํ ฆ อวหฺ ยนฺตํว ทสิ วฺ า วปิ ุลรตินิวาสํ ลุมพฺ ินีกานนตฺ ํ ฯ แปล ระหว่างทาง พระนาง [สริ มิ หามายา] ทอดพระเนตรปุาลุมพินี อันตั้งอยู่ ณ หนทางที่ราบเรียบเพียงดังทางทิพย์ เป๐นสถานท่ีอยู่ของชนผู้มีจิตยินดีเต็ม เปี๑ยม มีราวปุาสาละประดับด้วยแนวดอกโกสุมท่ีหอมกรุ่น กระห่ืมอยู่ด้วยเสียงขยับปีก ของแมลงภู่ที่เกล้าเกสรดอกไมอ้ ย่างเพลนิ เพลนิ ประหนึ่งจะขานเรียกหมู่วหิ คมาให้ชื่นชม ฯ ๙๒ วาสน์ มุขยานวุ งศ,์ การศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์คมั ภรี ช์ นิ จรติ , หน้า ๒๐๙.

๑๒๖ โดยธรรมชาติ ปุา พูดไม่ได้ ร้องไม่ได้ แต่ผู้รจนาก็แต่งให้ดูเหมือนประหนี่ง วา่ ปุามชี วี ติ ตัวอยา่ งอัตถาลงการ๙๓ [๑] อัพยเปตปฐมาทาทิยมก – ซํา้ บาทตน้ [๑] อตุ ฺตมํ อุตตฺ มงเฺ คน นมสสิ ติ ฺวา มเหสโิ น นิพฺพานมธุหํ ปาท- ปงฺกชํ สชฺชนาลนิ ํฯ [๔] ตหึ ตหึ สุวติ ฺถกณิ ณฺ ํ ชนิ สสฺ จรติ ํ หิตํ ปวกฺขามิ สมาเสน สทานุสิสรณตฺถิโกฯ [๓๖๕] ทหเร ทหเร ราช- กุมาเร อทิ มพรฺ วํฃ ตุมเฺ ห วนทฺ ถ สิทธฺ ตฺถํ น วนฺทาม มยนตฺ ิ ตํ ฯ [๔๑๒] โยชเน โยชเน จารุ- จติ ฺตกมมฺ สมุชฺชเล วิหาเร ปวเร ทตฺวา การาเปตวฺ า พหํฃ ธนํฯ [๒] อพั ยเปตปฐมทตุ ิยปาทาทิยมก –ซํา้ บาท่ี ๑ บาทท่ี ๒ [๓๕๘] ทิเน ทิเน วสิตฺวาน โยชเน โยชเน ชิโน ทฺวีหิ มาเสหิ สมฺปตฺโต พุทโฺ ธ ชาตปรุ ํ วรํ [๓] ปาทจตุกกาทิยมกเมกรูปพยเปตันทุกร – ซ้ําต้นบาทท้ัง ๔ รปู เดียวกัน มคี ําสลับ [๒๒๙] มโนรมา กนิ ฺนรกินฺนรงคฺ มา มโนรมงฺคา อุรโครรคงฺคนา มโนรเน ตมฺหิ จ นจจฺ คตี ิโย มโนรมาเนกวธิ า ปวตฺตยฃํ ฯ [๔] อนปุ าสาลงั การ หมายถึงการซ้ําอักษร รจนาโดยซ้ํารูปอักษร ในบาทนัน้ ๆ เพอ่ื ความไพเราะของบทรอ้ ยกรอง [๔๑๘] นิจจฺ ํ กิงกฺ ิณิชาลนาทรจุ ิรํ สงิ คฺ ีว สิงคฺ ากุลํ รมฺมํเนกมณีหฉิ นนฺ ฉทนํ อามุตฺตมตุ ตฺ าวลึ นานาราควิตานภาสุรตรํ ปุปผฺ าทินาลงฺกตํ จติ ฺรํ คนฺธกฏุ ึ วรํ สวุ ิปุลํ กาเรสิ ภเู สขรํ ฯ แปล [อนาถปิณฑิกเศรษฐี] ใหส้ ร้างพระคนั ธกุฎี อันประเสริฐเลิศ วจิ ติ รยอดเย่ยี มในแผน่ ดิน มงุ ด้วยแกว้ มณอี ันงามระยบั มีแก้วมุกดาประดับเอาไว้ ๙๓ วาสน์ มขุ ยานุวงศ,์ การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์คัมภีรช์ นิ จรติ , หนา้ ๗๗ เปน๐ ต้นไป.

๑๒๗ เรียบร้อย ประดับด้วยชอ่ ฟาู ใบระกางดงามราวกบั ทองคํา กังวาลด้วยเสยี งกระดง่ิ อยู่ ตลอดเวลา รุ่งโรจนด์ ้วยผา้ เพดานนานาชนิดท่ีนา่ ยินดี แตกแตง่ ดว้ ยไม้ดอกไมป้ ระดับ เปน๐ ตน้ ฯ [๕] อปุ มาลงั การ หมายถึง อลังการท่ีใชค้ ําเปรียบเทียบส่ิงหน่ึงกับ อกี สิง่ หนง่ึ [๖๔] สตฺตานํ กปปฺ รกุ โฺ ขว จนิ ฺตามณวี กามทโท อจิ ฉติ ิจฉฺ ติ มนนฺ าทึ ททนโฺ ต ททตํ วโรฯ แปล [พระสุเมธดาบส] ได้บําเพ็ญทานบารมีด้วยการการให้ ทานวัตถุมีข้าวเป็นต้นตามความปรารถนาของทุกคนท่ีมาขอ ประดุจต้น กัลปพฤกษ์ และแก้วสารพัดนึกให้สมบัติตามท่ีต้องการแก่สรรพสัตว์ท้ังหลาย ฉะน้นั ฯ [๓๙๕] มโนสลิ าจุณณฺ สมานเทห- มรีจชิ าเลหิ วริ าชมานา ปกมฺปิตา เหมลตาว พิมฺพา พิมฺพาธรา สตถฺ ุ สมีปมาค แปล พระนางพิมพายโสธราผมู้ ีพระโอษฐ์สีแดงดังผลตําลึงสุก ผู้สง่างามด้วยข่ายแห่งพระรัศมีพระวรกายเสมอด้วยเคร่ืองกระแจะจันทน์แห่ง มโนศิลา ผู้อ่อนไหวคล้ายๆ กับผ้ากํามะหย่ีที่กําลังระยิบระยับ เสด็จเข้าไปเฝ้า พระศาสดาอย่างใกลช้ ิดฯ [๔๒๕] สมชุ ฺชลานเิ นกานิ ธชานายทาย สุนทฺ รา กมุ ารา ปุรโต สตฺถุ นกิ ฺขมึสุ สรุ า ยถาฯ แปล เหล่ามาณพท่ีเพ่ิงแรกรุ่นแต่งตัวสวยงาม ถือธงงาม รุ่งโรจนจ์ าํ นวนมาก ออกมาต้อนรบั เสดจ็ พระบรมศาสดา ดรู าวากับเทวดา ฯ [๖] รปู กาลังการ แสดงอปุ มานะและอปุ ไมยเป๐นสิง่ เดียวกัน เป๐นรูปแบบ หนึ่งของอุปมา แต่เป๐นเร่ืองปกปิดความต่างกันโดยยกเอาแต่ความไม่ต่างกันของวัตถุที่ เป๐นอุปมานะและอปุ ไมยขึ้นกลา่ วไว้ ก็เป๐นทเ่ี ข้าใจกนั ดีโดยไมต่ ้องมีศทั ท์อปุ มาระบใุ ห้เห็น เหมือนอุปมาลงั การ [๑] อุตตฺ มํ อุตตฺ มงฺเคน นมสิสติ ฺวา มเหสโิ น นิพพฺ านมธุหํ ปาท- ปงฺกชํ สชชฺ นาลินฯํ [๒] มหาโมหตมํ โลเก ธํเสนตฺ ํ ธมฺมภากรํ ปาตภุ ูตํ มหาเตชํ ธมมฺ ราโชทยาจเล ฯ [๓] ชนตฺ จุ ติ ติ สเร ชาตํ ปสาทกมุ ุทํ สทา

๑๒๘ โพเธนตฺ ํ สํฆจนทฺ ญฺจ สโี ลรกุ ริ ณชุ ชฺ ลํ ฯ แปล ขา้ พเจ้า [พระเมธงั กรเถระ] ปรารถนาจะระลกึ ถึงพระพุทธเจ้า ทุกเมื่อ จึงขอน้อมเศียรเกล้านมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสูงสุด ผู้ประทานพระ นิพพานแก่สาธุชน เหมือนดังดอกอุบลให้น้ําหวานแก่หมู่ภมรฉะนั้น [ขอน้อมเศียรเกล้า นมัสการ] พระสัทธรรมของพระธรรมราชาอันทรงพระมหิทธานุภาพปรากฏเด่นชัด สามารถขจัดความลุ่มหลงอย่างใหญ่หลวงของปวงสัตว์ [ให้ส้ินไป] เหมือนดวงอาทิตย์ท่ี อทุ ัยเหนือยอดเขา ส่องแสงสวา่ งรงุ่ เรืองปรากฏเด่นชัด พร้อมกับการขจัดความมืดไปทั่ว โลก [และขอน้อมเศียรเกล้านมัสการ] พระอริยสงฆ์ผู้มีจริยาวัตรงดงามด้วยศีลซ่ึงทํา ความเลื่อมใสท่เี กิดข้นึ ในดวงใจของหมสู่ ัตว์ให้เบกิ บาน เหมือนดังดวงจันทร์ท่ีรุ่งเรืองด้วย แสงสวา่ งทําให้ดอกโกมทุ ทเ่ี กดิ ในสระนํ้าแย้มบานทุกเม่ือ ฯ เหล่าน้ีเป็นเพียงตัวอย่างเก่ียวกับอลังการในคัมภีร์ชินจริต ผู้สนใจ พงึ ศกึ ษารายละเอียดในคัมภีร์ และศึกษาจากแนววิเคราะห์ของวาสน์ มุขยานุวงศ์ ในงานวจิ ัยเรอ่ื ง การศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์คมั ภีรช์ นิ จริต ชินมหานิทาน ชินมหานิทาน เป๐นคัมภีร์ประเภทตํานานหรือประวัติ มีเรื่องราวของ พระพุทธเจ้าตั้งแต่อดีตครั้งเสวยพระชาติเป๐นพระโพธิสัตว์บําเพ็ญบารมีมาโดยลําดับ จนกระทัง่ ถงึ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ ิพพาน และแจกพระบรมสารรี ิกธาตุ กรมศิลปากรจัดพิมพ์ เผยแพร่ท้งั ในรูปภาษาไทย๙๔ และภาษาบาลี๙๕ เพื่อเฉลิมพระเกยรติแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ในคํานําของกรมศิลปากร ได้ให้รายละเอียดเก่ียวกับคัมภีร์น้ี สรุปความได้ ดังน้ี ชินมหานิทาน คือเรื่องอันย่ิงใหญ่ของพระพุทธเจ้า เดิมเป๐นอักษรขอม ภาษาบาลี รูปแบบการประพันธ์มีท้ังร้อยแก้ว และร้อยกรอง แต่ส่วนมากเป๐นร้อยแก้ว ภาษาทใ่ี ช้ในการประพนั ธม์ ีความสะลวย และมอี รรถรสดีมาก คัมภีร์นี้ได้รับการจารลงใบ ลานต้ังแตส่ มัยรัชกาลที่ ๑ เป๐นต้นมาจนถึงรัชกาลที่ ๓ มีอยู่ในหอสมุดแห่งชาติ ๙ ฉบับ ๙๔ กรมศิลปากร, ชินมหานทิ าน เลม่ ๒ ภาคภาษาไทย, [กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บคุ คล สหประชาพานชิ ย์, ๒๕๓๐], ๓๒๓ หน้า. ๙๕ กรมศลิ ปากร, ชนิ มหานิทาน เล่ม ๑ ภาคภาษาบาลี, [กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บุคคล สหประชาพานิชย,์ ๒๕๓๐], ๒๙๑ หนา้ .

๑๒๙ หรอื ๙ หอ่ มเี นอ้ื เรอื่ งเหมอื นกันทุกฉบับ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง และแต่งเม่ือใดไม่ปรากก แตพ่ อสนั นิษฐานไดว้ ่า คมั ภรี น์ ีแ้ ตง่ โดยนักปราชญ์สมัยกรุงศรอี ยุธยา เพราะคัมภรี ์เริม่ จาร ลงในใบลานสมยั รัชกาลที่ ๑ เนื้อหาเบ้ืองต้นพรรณนาถึงความปรารถนาพุทธภูมิ และการบําเพ็ญบารมี ของพระโพธิสัตว์ ครั้งเสวยพระชาติเป๐นพราหมณ์ช่ือสุเมธ และด้ับการพยากรณ์จาก พระพทุ ธเจา้ ๒๔ พระองค์ โดยลําดับ กระทั่งได้ลงมาจุติ และได้ตรัสรู้เป๐นพระสัมมาสัม พุทธเจา้ ถือได้ว่า เปน๐ คัมภรี พ์ รรณนาพุทธประวัติที่สมบูรณ์ที่สุดเล่มหนึ่ง ทั้งเรื่องที่ยังไม่ เคยรมู้ าก่อนกม็ ีแจ้งในชินมหานิทานน้ี ในตอนต้นของคัมภีร์ พรรณนาถึงพระพุทธเจ้าท้ัง ๒๔ พระองค์ เรียง ตามลําดับนับต้ังแต่ พระทีปง๎ กรพุทธเจา้ , พระโกญญฑัญญพุทธเจ้า, พระมังคลพุทธเจ้า, พระสุมนะพุทธเจ้า, พระเรวตะพุทธเจ้า, พระโสภิตะพุทธเจ้า, พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า, พระปทุมะพุทธเจ้า, พระนารทะพุทธเจ้า, พระปทุมุตตรพุทธเจ้า, พระสุเมธพุทธเจ้า, พระสชุ าติพุทธเจ้า, พระปิยทัสสพี ุทธเจ้า, พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า, พระสิทธัตถะพุทธเจ้า, พระตสิ สะพุทธเจ้า, พระปสุ สะพทุ ธเจา้ , พระวปิ ส๎ สพี ทุ ธเจ้า, พระสิขีพทุ ธเจ้า, พระเวสสภู พทุ ธเจ้า, พระกกุสันธะพุทธเจา้ , พระโกนาคมนะพุทธเจา้ , พระกสั สปะพทุ ธเจา้ ตอ่ แต่นนั้ จงึ กล่าวถึงประวตั ขิ องพระพุทธเจา้ ของเราทง้ั หลาย เร่ิมตั้งแต่มหา ปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ประสูติ เฉลิมพระนาม มหาภิเนษกรมณ์ ทรงเอาชนะมาร เหตกุ ารณห์ ลังตรัสรตู้ ลอด ๗ สัปดาห์ การประกาศศาสนาตั้งแต่เร่ิมแรก กระท่ังถึงเสด็จ ดบั ขนั ธปรินิพพาน การแบง่ พระบรมสารรี กิ ธาตุ ขนบการประพันธ์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา คัมภีร์มักเร่ิมต้นด้วยบท ปณามคาถา ชนิ มหานิทาน ก็ดาํ เนนิ ตามขนบการประพันธ์ทุกประการ เน้ือหาบทปณาม คาถา แตง่ เปน๐ ร้อยกรองในรูป ปฐยาวตั ฉนั ท์ ดงั น้ี บาลี วนฺทติ วฺ า สริ สา พทุ ธฺ ํ ธมมฺ นฺเตน สุเทสิตํ สงฆฺ ํ นิรงคฺ ณํ เจว ปํุ ญฺ กฺเขตตฺ มนตุ ฺตรํ ปวกฺขามิ สมาเสน ชินนิทานมุตฺตมํ อวิกขฺ ิตตฺ า นิสาเมถ ทุลฺลภา หิ อยํ กถาฯ๙๖ แปล ข้าพเจ้า ขอถวายนมัสการพระพุทธเจ้า กับท้ังพระธรรมที่ พระองคแ์ สดงไวด้ ีแลว้ และพระสงฆ์ผู้หมดกิเลส เป๐นเน้ือนาบุญอย่างยอดเยี่ยม แล้วจัก ๙๖ กรมศิลปากร, ชินมหานิทาน เลม่ ๑ ภาคภาษาบาลี, หนา้ ๑.

๑๓๐ กลา่ วแตโ่ ดยย่อซ่ึงเรอื่ งชนิ มหานทิ าน อันเป๐นเร่ืองสําคัญ ขอท่านท้ังหลายอย่าได้ฟูุงซ่าน จงตั้งใจฟง๎ เถิด เพราะชินมหานทิ านกถาน้ี หา [สดับ] ได้ยาก อันชินนิทานน้ี พึงทราบว่า เป๐น [เรื่องแสดง] ชัยชนะของพระพุทธเจ้า [แสดง] เหล่ากอ [หน่อแนว] ของพระพุทธเจ้า ความปรารถนาและจริยาวัตรของ พระพุทธเจ้า [และแสดงความเป๐นไปของพระพุทธเจ้า ความจริงนิทานกถา [อันแสดง เรื่อง] แห่งพระพุทธเจ้าของเราท้ังหลายนับต้ังแต่บําเพ็ญบารมี จนถึงเสด็จดับขันธปริ นพิ พาน จดั ว่าเป๐น “ชินนทิ าน” ในชนิ นิทานน้ัน มีเร่ืองตามลาํ ดบั ดังต่อไปนี้๙๗ อนึ่ง นทิ านมี ๓ ประเภท คอื ทเู รนิทาน อวทิ ูเรนทิ าน สันติเกนทิ าน ทูเรนิทาน ถ้อยคําเล่าเร่ืองตั้งแต่พระมหาสัตว์ปรารถนาอย่างจริงจัง ณ บาทมูลของพระพุทธเจ้าพระนามว่าทีป๎งกง จนถึงจุติจากอัตภาพท่ีเป๐นพระเวสสันดร แลว้ ไปบงั เกดิ ในสวรรค์ชนั้ ดุสิต อวทิ เู รนทิ าน ถ้อยคาํ เล่าเรอื่ งตั้งแต่สวรรคช์ น้ั ดุสิต จนถึงเสด็จออกผนวช ได้ บรรลพุ ระสพั พญั ํตุ ญาณที่ควงไม้โพธิ์ สันติเกนทิ าน ถ้อยคาํ เล่าเร่อื ง หรือเหตกุ ารณเ์ ม่อื ครั้งพระพทุ ธองคย์ ังมีพระ ชนมอ์ ยู่ นบั ต้ังแต่เสวยวิมุตติสุขหลังการตรัสรู้ตลอด ๗ สัปดาห์ ทรงตัดสินพระทัยเสด็จ ออกประกาศศาสนา จนถงึ คราวเสดจ็ ดับขนั ธปรนิ พิ พาน ตัวอย่างทเู รนทิ าน ดําเนินความพสิ ดารว่า นับถอยหลังแต่ภัทรกัปนี้ไป สี่อสงไขยกําไรแสนกัป พระผมู้ พี ระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย [เกิด] เป๐นพราหมณ์กุมาร ช่ือสุเมธ ในเมืองอมรวดี นคร เรียนจบไตรเภท เมื่อมารดาบดิ าหาชวี ติ ไม่แล้ว ได้ตรวจดูทรัพย์นับจํานวนมิได้ เกิด ความสลดใจว่า “น่าอนาถ บรรพชนมีบิดาและปุูเป๐นต้น เมื่อจะไปสู่ปรโลกก็หาได้นํา ทรัพย์นี้ไปด้วยไม่ แต่เราควรจะนําเอาไปให้ได้” เพราะเหตุน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง ตรัสไว้ในคัมภีร์พุทธวงศ์ว่า “เรา [ได้เกิด] พราหมณ์นามว่า สุเมธ ในเมืองอมรวดี สั่ง สมโภคทรัพย์ไว้หลายโกฏิ มที รพั ยส์ มบตั ิมากมาย เปน๐ ผคู้ งแกเ่ รียน ทรงมนต์ จบไตรเพท ถึงความสําเร็จในคัมภีร์ทํานายลักษณะและคัมภีร์ติติหาส [ประวัติศาสตร์] อันเป๐นวิชา ประจําตระกูลพราหมณ์ คร้ังน้ันเราผู้นั่งอยู่ในที่ลับได้คิดอย่างน้ีว่า “การเกิดในภพใหม่ และการแตกสลายแห่งร่างกาย เป๐นทุกข์ ครั้งน้ัน เรามีความเกิดเป๐นธรรมดา ความแก่ ๙๗ กรมศิลปากร, ชนิ มหานิทาน เลม่ ๒ ภาคภาษาไทย, หน้า ๑.

๑๓๑ และความเจ็บเปน๐ ธรรม [แต่] จักแสวงหาพระนพิ พานอันไม่แก่ ไมต่ าย ปลอดภัย ก็ถ้าเรา พึงเป๐นผไู้ มม่ คี วามหว่ งใย หมดความตอ้ งการ ละท้ิงกายทเี่ น่าเตม็ ดว้ ยซากศพนไ้ี ปเสีย [จะ มดิ ีดอกหรือ] หนทางที่ใครๆ ไม่สามารถจะไปได้เพราะไม่มีเหตุอยู่ น่าจะมี มีอยู่ มีแน่ๆ เราจะแสวงหาทางเพ่ือความหลุดพ้นไปจากภพ เมื่อมีภพ ก็ควรปรารถนาความไม่มีภพ เปรียบเหมือนเมื่อมีทุกข์ แม้ความสุขก็ย่อมมีฉะนั้น เมื่อมีไฟสามกกอง [คือราคะ โทสะ โมหะ] ก็ควรจะปรารถนานิพพาน [ความดับ] เปรียบเหมือนเมื่อมีความร้อน ก็ย่อมมี ความเย็นแก้ ฉะน้ันเม่ือมีความเกิด ก็ควรปรารถนาความไม่เกิด เปรียบเหมือนเม่ือมี ความชั่วแมค้ วามดกี ย็ อ่ มมี ฉะนนั้ เมื่อสระน้ําอมฤตอันเป๐นท่ีชําระมลทินคือกิเลสมีอยู่ ผู้ ตอ้งการจะชําระกิเลสไม่แสวงหาสระนํ้านั้นก็ไม่ใช่ความผิดของสระนํ้าอมฤต เปรียบ เหมอื นคนเป๒ือนคถู เห็นสระนาํ้ แลว้ ไมแ่ สวงหาสระนา้ํ นน้ั ก็ไมใ่ ช่ความผดิ ของสระนํ้า.....” ๙๘ ตวั อย่างอวิทูเรนิทาน ในลําดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงพิจารณาดูประเทศว่า “ข้ึนช่ือว่าชมพูทวีป กวา้ งใหญ่ประมาณถงึ หมื่นโยชน์ พระพทุ ธเจ้าท้ังหลายย่อมเสด็จอุบัติขั้นในประเทศไหน หนอ” ทรงพิจารณาเหน็ มัชฌิมประเทศ มชั ฌิมประเทศน้ัน ได้แก่ในทิศตะวันออก มีนิคม ช่ือชังคละ ถัดจากชังคลนิคมน้ันไป มีมหาสาลนคร ต่อจากมหาสาลนครน้ันไป เป๐นป๎จ จันตชนบท ส่วนในมัชฌิมชนบท ในทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีแม้นําช่ือสฬวดี ถัดจาก แมน่ ํ้าสฬวดีน้นั เป๐นปจ๎ จนั ตชนบท ส่วนในเป๐นมัชฌิมชนบท ในทิศใต้มีนคมชื่อเสตกนิกะ ส่วนในเป๐นมัชฌิมชนบท ในทิศตะวันตกมีบ้านพราหมณ์ ถัดจากบ้านพราหมณ์น้ันไป เป๐นป๎จจันตชนบท ส่วนในเป๐นมัชฌิมชนบท ในทิศเหนือมีภูเขาชื่ออุสีรัทธชะ ถัดจาก ภูเขาอสุ ีรทั ธชะนน้ั ไป เป๐นป๎จจันตชนบท ส่วนในเปน๐ มัชฌิมชนบท ก็มชั ฌมิ ชนบทนั้นยาว ๓๐๐ โยชน์ กว้าง ๑,๒๕๐ โยชน์ โดยรอบ ๙๐๐ โยชน์ ในประเทศนั้น พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าท้ังหลาย ทรงบําเพ็ญมารมี ๔ อสงไขย ๘ อสงไขย ๑๖ อสงไขย กําไรแสนกัป จึง บังเกิดข้ึน พระป๎จเจกพุทธเจ้าทั้งหลายบําเพ็ญบารมี ๒ อสงไขย กําไรแสนกับจึงบัง เกิดขึ้น พระอัครสาวกบําเพ็ญบารมี ๑ อสงไขย กําไรแสนกัป จึงบังเกิดขั้น พระ มหาสาวกเป๐นต้นก็เหมือนกัน พระเจ้าจกั รพรรดิผู้ครองความเปน๐ ใหญ่แหง่ ทวีปใหญ่ท้ัง ๔ มีทวปี นอ้ ย ๒,๐๐๐ เป๐นบริวารย่อมเสด็จอุบัติขึ้น พระมหาสัตว์ ทรงตลงพระทัยว่า “ก็ ในมชั ฌิมประเทศน้ี มีพระนครชอื่ กบลิ พัสด์อุ ยู่ เราพงึ เกิดในเมืองกบิลพัสดนุ์ นั้ ” ๙๙ ๙๘ กรมศิลปากร, ชนิ มหานทิ าน เลม่ ๒ ภาคภาษาไทย, หน้า ๒. ๙๙ กรมศลิ ปากร, ชนิ มหานทิ าน เลม่ ๒ ภาคภาษาไทย, หนา้ ๓๙-๔๐.

๑๓๒ ตัวอยา่ งสันติเกนิทาน เมื่อพระโพธิสตั วท์ รงบรรลพุ ระสัพพัญํุตญาณแล้ว หม่ืนโลกธาตุทั้งส้ิน ได้ ประดับตกแต่งอย่างเรียบร้อย ท่ีขอบจักรวาลด้านทิศปราจีน ธงชัยและธงแผ่นผ้าก็ถูก ยกข้ึน ที่ขอบจักรวาลด้านทิศป๎จฉิม ทิศอุดรและทิศทักษิณ ธงชัยและธงแผ่นผ้าก็ได้ถูก ยกขึ้นไปหมด ธงชัยและธงแผ่นผ้าที่ถูกยกขึ้นที่พื้นดินได้ตั้งอยู่จรดถึงพรหมโลก ธงชัย และธงปฏากซง่ึ ตดิ อยใู่ นพรหมโลก ได้ตั้งอยู่ที่พ้ืนดินในแสนจักรวาล ต้นไม้ดอก ก็มีดอก บานสะพร่ัง ต้นไม้ท่ีมีผล ก็ดาดาษไปด้วยผล บรรดาต้นไม่ที่มีกอ ดอกปทุมก็บานที่กอ บรรดาต้นไม้ที่มีกิ่งก้านสาขา ก็บันดาลให้ดอกปทุมบานข้ึนที่กิ่ง บรรดาต้นไม้เถา ก็ บนั ดาลใหด้ อกปทมุ บานที่เถา ในอากาศก็ห้อยยอ้ ยไปดว้ ยดอกปทุม ปทุมท่ีมีก้าน ชําแรก พ้ืนศิลาแตกเป๐นเจ็ดเสี่ยงผุดข้ึนข้างบน หม่ืนโลกธาตุ ได้เป๐นเหมือนกลุ่มดอกไม้ที่เขา โปรยไป และเหมือนสณั ฐานดอกไม้ทเ่ี ขาร้อยเป๐นพวงติดกัน๑๐๐ ชินาลงั การ ชนิ าลังการ๑๐๑ ถือเป๐นวรรณกรรมบาลีประเภทร้อยกรองท่ีย่ิงใหญ่และใช้ ภาษาที่ซบั ซ้อน ถอื เปน๐ แนวทางให้ผศู้ กึ ษาบาลไี ด้เรียนรู้แนวทางในการประพันธ์คาถาให้ มีอลังการหลากหลาย เจตนาในการประพันธ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความย่ิงใหญ่ของ พระพุทธเจ้า เร่ิมตั้งแต่การสร้างบารมี ๓๐ ทัศ หลังจากที่ได้รับพุทธพยากรณ์เม่ือ เสวยพระชาติเป๐นสุเมธดาบส จนถึงการประสูติ เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ การตรัสรู้ การประกาศศาสนา และการปรินิพพาน คัมภีร์น้ีเปรียบเหมือนผอบทองที่รองรับของ หอมคือพระพุทธคุณอันทรงคุณค่าเพ่ือให้กุลบุตรผู้มีศรัทธาได้เก็บรักษาไว้ และใช้เป๐น แนวทางในการเจรญิ รอยตามปฏปิ ทาของสตั บรุ ษุ ผแู้ สวงหาโมกษะในกาลกอ่ น ผู้ประพันธ์คือ พระพุทธรักขิตเถระ เป๐นชาวสิงหล มีชีวิตอยู่ในช่วงพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๗ ตรงกบั รัชสมัยของพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๑ [พ.ศ.๑๖๙๖-๑๗๒๙] ท่าน เกดิ ที่โรหนชนบท ต่อมาได้พํานักอยู่ในแคว้นโจลิยตัมพะบนเกาะลังกานั่นเอง ท่านเป๐น ปราชญ์ทางศาสนาที่มีช่ือเสียงเล่ืองลือ และเป๐นคณาจารย์สอนพระอภิธรรมให้แก่หมู่ ภิกษุ ยุคน้ีถือเป๐นยุคทองของวรรณคดี เพราะพระมหาษัตริย์ได้ทรงทํานุบํารุง พระพทุ ธศาสนาเปน๐ อยา่ งดี ปรากฎหลักฐานคัมภรี ส์ ําคัญจาํ นวนมากเกิดข้ึนในยคุ นี้ ๑๐๐ กรมศิลปากร, ชินมหานิทาน เล่ม ๒ ภาคภาษาไทย, หนา้ ๑๐๑. ๑๐๑ พระพุทธรกั ขติ ะ, ชินาลังการ, พระคันธสาราภิวงศ์ ผู้แปล, [ลําปาง: ห้างหุ้นส่วนจํากัด ประยรู สาส์นไทย การพมิ พ์, ๒๕๕๒], ๓๒๔ หน้า.

๑๓๓ ชนิ าลงั การ แบ่งเนอ้ื หาออกเป๐น ๔ ตอน ดังนี้๑๐๒ ตอนที่ ๑ ปณามคาถา คือบทไหว้ครู และการแสดงความมุ่งหมายของผู้ รจนาวา่ จะรจนาคัมภรี ์นีไ้ ปในแนวใด ตอนท่ี ๒ พุทธประวัติ เขียนสดุดีพระพุทธเจ้าในหัวขอ้ ต่อไปนี้ ประสตู ิ กล่าวถึงบุพนิมิต ๓๒ ประการ ที่มหาบุรุษจะมาประสูติ การ ประสูติท่ีลุมพินีวัน เหล่าเทวดา พรหม และมนุษย์พากันรับด้วยสิ่งต่างๆ พราหมณ์ได้ ทํานายลกั ษณะ และขนานพระนาม มหาภิเษกรมณ์ เขียนสดุดีท่ีมหาบุรุษทรงละทความรื่นรมย์ต่างๆ และ หมู่สตรไี ปได้ และการบําเพ็ญบารมขี องพระองค์ ตรัสรู้ การผจญมารและเสนามาร และการแสดงปาฏิหาริย์ของ พระพุทธเจา้ จนชนะมาร เสวยวมิ ุตตสิ ุข ด้วยปตี ิต่างๆ ตลอดเจด็ วัน ประกาศศาสนา ทรงแสดงธรรมจักรกัปปวัตนสูตรที่ปุาอิสิปตน มฤคทายวนั ปรนิ ิพพาน เมื่อพระองคป์ รินพิ พานแลว้ ให้ตง้ั พระบรมสารีริกธาตุและ พระศรมี หาโพธิ์ไว้เป๐นที่บูชา ตอนที่ ๓ ปณิธานของผู้รจนา และการแสดงความนอบน้อมบูชาของผู้ รจนา ต่อพระพทุ ธองค์ พระธรรมคาํ สอน และสังเวชนียสถาน ตอนที่ ๔ ผรู้ จนาใหน้ ามผู้รจนาและปที ี่รจนาคัมภีร์ ตอนที่ ๕ คาํ ตักเตอื นสั่งสอนของผ้รู จนา ชินาลังการ มีคาถาประดับ ๒๗๙ บท ประกอบด้วย ๒๘ ภาณวาร นับได้ ๒๒๔,๐๐๐ พยางค์ [๑ ภาณวาร=คาถา ๒๕๐ บท หรือ ๘,๐๐๐ พยางค์] จําแนกเป๐น ฉนั ท์ ๑๒ ชนดิ คือ ๑. กลุ่มวัตตะ คาถา ๘ พยางค์ มีป๎ฐยาวัต เป๐นต้น ประกอบด้วย ย ช ย ช คณะ [๑๒๒ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๑] ตัวอยา่ ง วิสสฺ ชเฺ ชสสฺ ามิ ตํ สาธุ อวริ ุทฺธ‖มนากุลํ ๑๐๒ วัลลีย์ ภิงคารวัฒน์, ชินาลังการ: การตรวจชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณพิต แผนวิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๒], หนา้ ๔.

๑๓๔ สหํ รติ วฺ า ยถาวตุ ติ ํ มนุ ินา จ มนุ ีหิ จฯ ๒. วิชชุมาลาคาถา ๘ พยางค์ ประกอบด้วย ย ช ย ช [๑๒๒ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๑] ตวั อยา่ ง สทเฺ ธยยฺ า เต จนิ เฺ ตยยฺ า เต วนฺเทยยฺ า เต ปเู ชยฺยา เต พุทฺธาโลกาโลเก โลเก ชาเตเนตํ ปตฺเถนเฺ ตน ฯ ๓. อินทรวิเชียรคาถา ๑๑ พยางค์ ประกอบด้วย ต ต ช คณะ และครุ ๒ พยางค์ [๒๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๒] ตวั อยา่ ง โย มคฺคปสเฺ ส มธุรมพฺ พีชํ ฉายาผลตฺถาย มหาชนานํ โรเปติ ตสฺมึ ห ขเณว เตน ฉายาผเล ปุํฺญ‖มลทธฺ ‖มทุ ฺธฯํ ๔. อเุ ปนทรวิเชยี รคาถา ๑๑ พยางค์ ประกอบด้วย ช ต ช คณะ และครุ ๒ พยางค์ [๑๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๒] ตัวอย่าง อนนฺตสตตฺ าน‖มนนตฺ กาเล มนํ คเหตวฺ าน ชโิ ต อนงโฺ ค ปราชิโต นูน หิ เอกกสสฺ ตทา คโต โส น ปุนาคโตวฯ ๕. อุปชาติคาถา ๑๑ พยางค์ เป๐นฉันท์ท่ีผสมระหว่างอินทรวิเชียรและอุเป นทรวิเชยี รคาถา ตัวอยา่ ง มหาปรจิ จฺ าค‖มกตฺว ปํฺจ สมโพธิมคฺคํ อวริ าธยนโฺ ต เฉตฺวา กเิ ลเส ชติ ปํจฺ มาโร พทุ โฺ ธ ภวิสฺสามิ อนาคเตสุฯ ๖. วังสัฏฐะคาถา ๑๒ พยางค์ ประกอบด้วย ช ต ช ร คณะ [๑๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๑๒] ตวั อย่าง ชเิ นนฺทรฺ มตเฺ ตภสกุมฺภจารินี ชิโนรสานํ มุขปงกฺ ชาลินี สรสฺวตี เม มุขคพภฺ คพภฺ ินี รมตวฺ ‖นายาสสทตฺถสูทนฯี

๑๓๕ ๗. โตฏกคาถาคาถา ๑๒ พยางค์ ประกอบดว้ ย ส ส ส ส คณะ [๑๑๒ ๑๑๒ ๑๑๒ ๑๑๒] ตัวอย่าง ภชิตํ จชิตํ ปวนํ ภวนํ ชหิตํ คหิตํ สมลํ อมลํ สคุ ตํ อคตํ สุคตึ อคตึ นมิตํ อมิตํ นมตี สมุ ตี ฯ ๘. วสันตดิลกคาถา ๑๔ พยางค์ ประกอบด้วย ต ภ ช ช คณะ และครุ ๒ พยางค์ [๒๒๑ ๒๑๑ ๑๒๑ ๑๒๑ ๒๒] ตวั อย่าง โส สาคเร ชลธิกํ รุธิรํ อทาสิ ภมู ึ ปราชิย สมํสมทาสิ ทานํ เมรปุ ปฺ มาณมธิกํจฺ สโมฬิสีสํ เข ตารกาธกิ ตรํ นยนํ อทาสิ ฯ ๙. มาลินีคาถา ๑๕ พยางค์ ประกอบด้วย น น ม ย ย คณะ [๑๑๑ ๑๑๑ ๒๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒] ตวั อย่าง อิติ วิตต‖มนนตฺ ํ กติ ฺติสมฺภารสารํ สกลทสสหสฺสโี ลกธาตมุ หฺ ิ นจิ จฺ ํ อปุ จติ สุภเหตุ ปสสฺ ตานนฺกาลํ ตทิธ สคุ ตโพธํ สาธุกํ จินตฺ นยี ฯํ ๑๐. มันทักกันตาคาถา ๑๗ พยางค์ ประกอบด้วย ม ภ น ต ต และครุ ๒ พยางค์ [๒๒๒ ๒๑๑ ๑๑๑ ๒๒๑ ๒๒๑ ๒๒] ตวั อย่าง ปาเท‖ปาเท วลยวริ วา เมขลาวีณณาทา คตี ํ‖คตํ ปตริ ติกรํ คายตี คายตี‖สา หตฺเถ‖หตเฺ ถ วลยจลติ า สมฺภมํ สมภฺ มนตฺ ี ทสิ วฺ า‖ทสิ ฺวา อติ ิ รติกรํ ยาติ หา หา กิมิหาฯ ๑๑. สัททลู วกิ กีฬติ ะคาถา ๑๙ พยางค์ ประกอบด้วย ม ส ช ส ต ต และครุ ๒ พยางค์ [๒๒๒ ๑๑๒ ๑๒๑ ๑๑๒ ๒๒๑ ๒๒๑ ๒๒] ตัวอยา่ ง ชาโต โย นวเม ขเณ สุตธดร สเี ลน สุทฺธนิ ทฺ รโิ ย สสํ ารํ ภยโต ภวกฺขยกรํ ทิสวฺ า สวิ ํ เขมโต ตํ สมปฺ าทกมคคฺ เทสกมนุ ึ สมปฺ ูชยนโฺ ต ตโต พุทธฺ านสุ ฺสติภาวนาทิกมโต สมปฺ าทเย ตํ สิวํฯ

๑๓๖ ๑๒. สัทธราคาถา ๒๑ พยางค์ ประกอบด้วย ม ร ภ น ย ย ย คณะ [๒๒๒ ๒๑๒ ๒๒๑ ๑๑๑ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒] ตัวอยา่ ง โย โลกตถฺ าย พทุ ฺโธ ธนสตุ ภรยิ าองคฺ ชีวํ จชติ วฺ า ปูเรตฺวา ปารมิโย ตทิ ส‖มนุปเม โพธิปกฺขิยธมเฺ ม ปตวฺ า โพธึ วิสทุ ฺธํ สกลคุณททํ เสฏฐฺ ภโู ต ตโิ ลเก กตฺวา ทกุ ฺขสฺส อนตฺ ํ กตสุภชเนตํ ทกุ ขฺ โต โมจยิตฺถฯ อน่ึง คัมภีร์น้ีเป๐นที่ยอมรับของนักวิชาการมาโดยตลอดว่ามีคุณค่าทาง วรรณศลิ ป์ เพราะแต่งด้วยภาษาที่มีความงดงาม แยบคาย มีลีลาการประพันธ์ท่ีกระชับ กอปรด้วยพลัง อีกทั้งมีจังหวะที่ไพเราะสละสลวย เพียบพร้อมด้วยรสคําและรสความ และการผสมผสานคาถาประเภทต่างๆ เข้าด้วยกัน ก็โดดเด่ นอย่างไม่มีใดเปรียบ โดยเฉพาะการใชค้ าถาทแ่ี ตง่ เป๐นกลบท คือคําหรอื สมั ผัสทเ่ี ป๐นช้ันเชิงยิ่งกว่าธรรมดา การ แสดงสัมผัสใน การใช้เสียงซํ้า การใช้คําซ้ํา หรือการใช้คําอ่านออกเสียงเหมือนกันโดย อ่านจากซ้ายไปขวา หรืออ่านจากขวาไปซา้ ย เป๐นตน้ ดงั ตัวอยา่ งต่อไปนี้๑๐๓ ๑. ปทาสัตติ การแสดงสัมผสั ใน คอื มีเสียงคลอ้ งจองกัน เชน่ [๖๗] ทิสวฺ า นมิ ติ ฺตานิ มทจฺฉิทานิ ถีนํ วิรูปานิ รติจฉฺ ิทานิ ปาปานิ กมฺมานิ สุขจฺฉทิ านิ ลทธฺ าน ญาณานิ ภวจฉฺ ทิ านิ ฯ แปล พระมหาบุรุษนั้น ทรงเห็นนิมิตที่ขจัดความเมา เห็นความไม่ งามของหมสู่ ตรอี ันขจัดความยินดี เห็นกรรมช่ัวอันขจัดความสุข ทรงได้รับญาณอันขจัด ภพฯ ๒. อนุปปาสะ คือ การใชเ้ สียงซํ้า หรอื กลา่ วซ้ําเสียง เช่น [๑๐๓] นานาสนานิ สยนานิ นิเวสนานิ ภาภานิภานิ รตนากรสนนฺ ิภานิ ตตรฺ ุสฺสติ านิ รตนทธฺ ชภสู ิตานิ หิตฺวา คตานิ หมิ พนิ ทฺ ุสฺมานิ ตานิฯ แปล พระแท่นประทับน่ังนานาชนิด พระแท่นบรรทม และปราสาท อันเปรียบด้วยประกายของหมู่ดารา ประดับประดาด้วยธงแก้วท่ีป๎กไว้ในปราสาท ๑๐๓ พระพุทธรกั ขติ ะ, ชินาลงั การ, พระคันธสาราภวิ งศ์ ผแู้ ปล,ดู หน้า [๕] เปน๐ ตน้ ไป

๑๓๗ เหลา่ น้นั ทงั้ หมดน้ี เปรียบเหมอื นหยาดน้ําค้าง ถูกพระมหาบุรุษน้ันทรงละวางแล้วเสด็จ ไป [๑๑๔] ตถาคตจเฺ ฉร‖มโห สิตสฺส ตถา หิ มาโรปิตทาหสนตฺ ึ ตถา หิ มาโรปิ ตทาห สนฺตึ ตถา หิ มา‖โรปิ ตทา หสนตฺ ึฯ แปล การเสด็จไปอย่างน้ันของพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์น่าอัศจรรย์ หนอ โดยแท้จริงแล้ว พระนิพพานท่ีระงับความเร่าร้อน อันพระองค์ให้ปรากฏแล้วน่า อศั จรรย์ แม้มารกก็ ล่าวชมเชยศานติคุณในคร้ังนั้น การเสด็จไปอย่างน้ันของพระองค์น่า อัศจรรย์ พระมหาบรุ ษุ มิได้สนใจธดิ ามารผ้ยู ว่ั ยวนอยูใ่ นคร้งั นนั้ กาลเสด็จไปอย่างนั้นของ พระองค์ น่าอศั จรรย์ฯ ๓. ยมก คอื การใชค้ ําซ้ํา เป๐นการเลน่ คําท่ีมีเสียงซํ้าเป๐นจังหวะ เหมือนเสียง สะท้อน โดยซ้ําหลายแบบ ท้ังในต้นบาท และปลายบาท ในปลายบาทและต้นบาท ใน ปลายบาทอยา่ งเดียว หรือ ทัง้ คาถา เชน่ [๑๑๖] รเวรเวโร‖รภิมารเวรเว รเวรเวเรรวิ เภรเว รเว รเว รเว สทู ติ คารเว รเว รเว‖รเวเทสิ ชิโน‖รเวรเวฯ แปล พระชนิ เจา้ ผู้ปราศจากเวรในผรุสวาทมีในยุทธนาการท่ีเกิดขึ้น ดว้ ยผรสุ วาทของพญามาร ทรงประกาศเสียง [ธรรม] อันเว้นจากบาปท่ีเกิดจากผรุสวาท แก่ผู้หวาดกลัว [ทกุ ข]์ ดุจความหวาดหวั่นของดวงสุริย์ในราหูคู่เวร ผู้มีเสียง [สาธุ] เพราะ ความเคารพที่ประจักษ์ดใี นเสียง [ธรรม] แต่ละเสยี ง [๖๘] ปทิตฺตเคหา วยิ เภรวํ รวํ รวํ สมุฏฐาย คโต มเหสิ มเหสิ มาโลกิย ปุตฺต‖มตฺตโน ตโนสิ โน เปมมโหฆ‖มตตฺ โนฯ แปล พระองค์ผูแ้ สดงหาคณุ อันย่ิงใหญเ่ สด็จลุกขึ้นออกไป ทรงเปล่ง เสียงอนั แสดงความหวาดกลัวภพอยู่ เสด็จเย่ยี มชมมเหสีและโอรสของพระองค์ ได้ทรงข่ม ห้วงความรกั อันยง่ิ ใหญ่ของพระองค์ไว้ฯ ๔. ปฏิโลมยมก คือ คําอ่านออกเสียงเหมือนกันจากซ้ายไปขวา หรืออ่าน จากขวาไปซ้าย เชน่

๑๓๘ นโม ตสสฺ ยโต มหมิ โต ยสฺส ตโม น ฯ [๖๖] แปล กองกิเลสดุจความมืดย่อไม่มีแก่พระสุคตพระองค์ใด เพราะ อานภุ าพทก่ี ล่าวมาแล้วนัน้ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระสคุ ตพระองค์น้นั ๕. การใช้คาทม่ี เี สียงพยัญชนะต้นซา้ กัน เช่น [๑๒๓] โน‖ นานโิ น น นนู านิ นา‖เนนานิ น‖นานโิ น นุนนฺ าเนนานิ นูนนฺน นา‖นนนนฺ า‖นเนนโน ฯ แปล กุศลบารมีของพระผู้นําชาวโลกของเราทั้งหลาย มิได้บกพร่อง โดยแท้ บาปท่ีถูกพระอิศวรผู้นําชาวโลก [คนมีมิจฉาทิฏฐิ] ซ่ึงมิใช่ผู้นําของเราทั้งหลาย ขจัดแล้วหามีไม่ พระพักตร์ของพระอศวรมิได้เสมอกับพระพักตร์ของพระผู้นําชาวโลก ของเราทัง้ หลาย ๖. การใชป้ ฏโิ ลมกะ โดยให้บาทคาถาหลัง มเี สียงเหมือนบาทหน้า เมื่ออ่าน กลบั หลัง เชน่ [๑๑๘] ราชราชยโสเปต- วเิ สสํ รจิตํ มยา ยาม ตํ จิรสเํ สวิ- ตเปโสย‖ชรา‖ชราฯ แปล ข้าพเจ้าได้ประพันธ์คัมภีร์ชินาลังการอันพิเศษ ประดับด้วย เกยี รตยิ ศทีไ่ ดร้ ับแล้วโดยความเป๐นพระจักรพรรดิ ข้าพเจ้านั้น ขอถึงพระองค์ผู้ทรงตบะ บาํ เพญ็ มาช้านาน เปน๐ ทีพ่ ง่ึ ในชาติตอ่ ไปจวบจนบรรลุนิพพานฯ ๗. สมตา คือการใช้เสียงท่ีมีฐานเดียวกันมีกัณฐฐาน คือฐานลําคอเป๐นต้น ล้วนๆ ไม่ระคนกบั อกั ษรฐานอน่ื เช่น [๑๑๙] อากงฺขากฺข อกงขฺ างฺค กงขฺ าคงโฺ คฆคาหก กงขฺ าคาหกกงฺขาฆ หา หา กงฺขา กหํ กหํฯ แปล ข้าแต่พระองค์ผู้มีอินทรีย์เน่ืองด้วยพระประสงค์ ผู้มีพระ วรกายไม่ควรเคลือบแคลง ผูทรงขจัดกระแสสินธ์ุคือความกังขา ผู้ทรงขจัดความกังขา ของผูย้ ดึ มั่นความกงั ขา ความกงั ขาในพระองคจ์ ะมีไดอ้ ยา่ งไรในท่ไี หนๆ เล่าฯ ๘. โอชคุณ คือการผูกบทหลายบทเป๐นสมาสยาวๆ เพ่ือทําคําให้สั้น แต่จุ ความมาก เช่น [๓] ชเิ นนทฺ รฺ มตเฺ ตภสกุมฺภจารนิ ี ชโิ นรสานํ มขุ ปงกฺ ชาลนิ ี สรสวฺ ตี เม มุขคพฺเภ คพภฺ ินี รมตฺว‖นายาสสทตฺถทสูทนฯี

๑๓๙ แปล ขอพระวาจาอันเปรียบดั่งแมลงภู่ในวาริชคือโอษฐ์ของชิโนรส ท้ังหลาย ซ่งึ ท่องเทยี่ วไปรว่ มกบั กระพองของชา้ งตกมัน คอื พระชนิ เจา้ ผู้ย่ิงใหญ่ อันแสดง เนื้อความของตนโดยสะดวก อันตั้งครรภ์ [คืออรรถของบท] ในครรภ์แห่งโอษฐ์ โปรด รื่นรมยใ์ นโอษฐ์ของขา้ พเจา้ เถดิ ฯ ชินาลงั การฎกี า ชนิ าลงั การฎกี า๑๐๔ เปน๐ ผลงานของพระพุทธรักขิต ชาวสิงหล รจนา ท่านมี ชีวิตอยู่ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ เนื้อหาอธิบายคาถาในคัมภีร์ชินาลังการท่ีพรรณนา ประวัติของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ประสูติจนถึงปรินิพพาน รวมทั้งหมด ๒๒ หมวด ประกอบด้วย ๑. พรรณนาคาถาแสดงความนอบน้อม ๒. พรรณนากลุ บตุ รผู้เปน๐ โยคาวจร ๓. พรรณนาคาถาชําระเรอื่ ง ๔. พรรณนาพทุ ธเขต ๓ ๕. พรรณนาอสาธารณญาณ ๖. พรรณนาอภินิหารในกาลก่อน ๗. พรรณนาการพยากรณ์ ๘. พรรณนาโพธสิ มภาร ๙. พรรณนาการถือปฏิสนธใิ นพระครรภ์ ๑๐.พรรณนาสิรมิ งคลของพระโพธสิ ตั วเ์ มือ่ คราวประสตู ิ ๑๑.พรรณนาสมบตั ขิ องพระโพธสิ ตั วผ์ ดู้ าํ รงอยูใ่ นฆราวาสวสิ ัย ๑๒.พรรณนาการบําเพญ็ เพยี รอยา่ งยิ่งใหญ่ ๑๓.การตดั ใจจากความรกั ภายนอก ๑๔.การตดั ใจจากความรกั ภายใน ๑๕.พรรณนาความปราชยั ของมาร ๑๖.พรรณนาการตรสั รู้ ๑๗.พรรณนาเทศนาญาณ ๑๘.พรรณนาปาฏหิ ารยิ ์ ๓ ๑๐๔ พระพุทธรักขิตเถระ, ชินาลังการฎีกา, ผศ.รังษี สุทนต์ และคณะผู้แปล. [กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘], ๕๓๒ หนา้ .

๑๔๐ ๑๙.พรรณนาพระพทุ ธคุณ ๙ ๒๐.พรรณนาการบูชาพระพทุ ธเจ้า ๒๑.คาถาแสดงความปรารถนา ๒๒.คาถาแสดงคาํ ลงทา้ ย วธิ กี ารนาเสนอคัมภีร์ชนิ าลงั การฎกี า ผู้รจนาคัมภีร์ชินาลังการฎีกา ยกบาลีจากคัมภีร์ชินาลังการมาเป๐นบทต้ัง จากน้ันก็อธบิ ายคาํ ศพั ท์ทเ่ี ห็นว่าสมควรขยายความ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจย่ิงขึ้น ในการ อธิบายบางครงั้ ก็มีการยกข้อความจากบาลี หรืออรรถกถามาสนับสนุนจนครับท้ัง ๒๗๙ คาถา ตัวอยา่ ง [๑] สุขํฺจ ทุกขฺ สมตายุเปกฺข เนวจิ ฉฺ ิ โย กาม‖มกามนตี อสงฺขตํ สงขฺ ตสมภฺ ว ภว หิตวฺ า คโต ตํ สคุ ตํ นมามิฯ ฎีกา ในคาถาน้ันมอี ธบิ ายดังต่อไปนี้ คําว่า สุข: สุข คือความสุขทางกายและทางใจ ได้แก่โสมนัส สุขในราช สมบัตขิ องพระเจ้าจกั พรรด์ิ ที่เกิดขนั้ ด้วยกาํ ลังแหง่ กศุ ลอนั ส่งั สมมาตลอดสมัยอันกําหนด นบั มไิ ด้ ซ่ึงความสขุ ยอดในโลกอันใด พระสุคตเจ้าก็ไม่ทรงปรารถนาซ่ึงความสุขน้ัน พระ พทุ ธรกั ขติ าจารย์ ยอ่ มแสดงการละกามสขุ ัลลิกานุโยค ดว้ ยคาํ วา่ สขุ น้ัน คาํ ว่า ทุกฺข: ทกุ ข์ ได้แก่ ทกุ ขท์ ่พี ระพุทธเจ้าทรงได้รับจากการบําเพ็ญเพียร เป๐นเวลา ๖ ปี ทุกข์ท่ีเกิดข้ึนเพราะการบริจาคพระเนตรในคราวบําเพ็ญบารมีมิให้ บริบูรณ์เป๐นต้น และทุกข์ในการเวียนว่ายตายเกิดมีทุกข์ในนรกเป๐นต้น พระสุคตเจ้าไม่ ทรงปรารถนาแล้วซึ่งทุกข์เหล่านั้น พระพุทธรักขิตาจารย์ย่อมแสดงการที่พระโพธิสัตว์ ทรงละอตั ตกลิ มถานโุ ยคดว้ ยคาํ ว่า ทุกฺข นั้น คําว่า สมตายุเปกฺข : อุเบกขาด้วยปฏิปทาท่ีมีความเหมาะสม ความว่า จตุตถฌานมีสติบริสุทธ์ิเพราะอุเบกขาอันใด ที่ได้ด้วยมัชฌิมาปฏิปทาอันเว้นจากส่วน สุดโตง่ ๒ ประการ และอุเบกขามีองคป์ ระกอบ ๕ ประการ ที่ได้ด้วยวิมุตติคือ อรหัตตผล ซ่ึงมจี ตตุ ถฌานน้ันเปน๐ บาท พระสุคตเจ้าก็ไม่ทรงปรารถนา แม้ซง่ึ อเุ บกขาด้วยปฏิปทาท่ีมี ความเหมาะสมนัน้ อธิบายว่า พระสุคตเจ้าทรงปรารถนา เฉพาะซึ่งอนุปาทาปรินิพพาน เท่าน้นั

๑๔๑ คําว่า กามนีต : สมบัติที่กามชักจูง ได้แก่ พระสุคตเจ้าไม่ทรงปรารถนา สมบัติในภพท่กี ามตัณหาชักนําไป คําว่า อกามนิติ : สมบัติที่กามชักจูงไม่ได้ ได้แก่ พระ สุคตเจา้ ไม่ทรงปรารถนาโลกุตตรสมบัตทิ ี่ทรงได้มาด้วยการละกามฉนั ทะ อีกนัยหนึ่ง คําว่า กามนีต : สมบัติท่ีกามชักจูง ได้แก่ พระสุคตเจ้าไม่ทรง ปรารถนาสมบัติที่ความปรารถนาของพระองค์ชักนํา คือ ความเป๐นพระพุทธเจ้าท่ี พระองค์ต้องทรงกระทําอภินิหาร [ความปรารถนา] แทบบาทมูลของพระทีป๎งกร พุทธ เจ้าแล้วอดกล้ันทุกข์อันเกิดข้ึนในเพราะการบริจาคดวงตาเป๐นต้น ในกาลที่กําหนด ประมาณมิได้แล้วได้มาด้วยความยากลําบากใหญ่หลวง พระสุคตเจ้าทรงสละแล้วซ่ึง ความอาลัยในทุกขท์ ท่ี รงไดร้ ับเพราะความปรารถนาของพระองค์น้ัน และซ่ึงความ อาลัย ในความเป๐นพระพุทธเจา้ ทที่ รงได้มาด้วยทกุ ข์น้ัน คําว่า อกามนีต : สมบัติที่กามชักจูงไม่ได้ ความว่า พระสุคตเจ้าไม่ทรง ปรารถนาอรหัตตผลท่ีมีนิพพานเป๐นอารมณ์ อีกอย่างหน่ึง จึงทําคํา [คือแปลคํา] ว่า กามมกามนีตํ เป๐นวิเสสนะของบาทแรก พึงสมั พนั ธค์ ําวา่ อสงขฺ ต: ทไี่ ม่ถูกปัจจยั ปรุงแต่ง และคําวา่ สงขฺ ตสมภฺ ว: ท่ถี กู ปัจจยั ปรงุ แต่ง เขา้ กับคาํ ว่า ภว: ภพ ก็ในคําว่า ภว: ภพ น้ี หมายถงึ สมบัติและการเข้าถงึ อธบิ ายว่า พระสุคตเจ้า พระองค์ใด ไม่ทรงปรารถนาเลยซึ่งสมบัติมีมรรคผลและสัพพัญํุตญาณเป๐นต้นที่ทรง ได้มาด้วยการกระทําให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ญาณสมบัติซึ่งมีส่ิงที่ถูกบัญญัติเป๐นอารมณ์ และโภคสมบัติในภพที่ถูกป๎จจัยปรุงแต่ง อันเกิดจากบุญที่กําหนดนับมิได้อันใด ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสุคตเจ้าพระองคน์ ัน้ ๑๐๕ [๓๖] อปุ ปฺ นินุปปฺ นนฺ เก โส ชินวรมตเุ ล ปชู ยติ ฺวา อเสสํ พุทโฺ ธ เอโส หิ โปโส ภวติ นยิ มโต พยฺ ากโต เตหิ เตหิ เตสํ เตสํ ชนิ านํ วจนมนุปมํ ปูชยติ ฺวา สเิ รน ตํ ตํ ทุกขฺ ํ สหติ ฺวา สกลคุณทท ปารมึ ปรู ยติ ถฺ ฯ ฎกี า ในคาถาน้ัน มีอธิบายดังน้ี พระโพธิสัตว์ของเราทั้งหลายบูชา แล้ว ซ่ึงพระชินวรทั้งหลาย ผู้หาใครเทียบมิได้ท่ีเสด็จอุบัติข้ึนแล้วเสด็จอุบัติขึ้นแล้ว แม้ ชีวิตก็ไมเ่ หลอื คอื ไมม่ สี ่วนเหลือ อันพระพุทธเจา้ ทงั้ หลายน้นั ๆ กําหนดพยากรณ์แล้ว คือ ตรัสแล้ว โดยส่วนเดียวนั่นแลว่า “มหาบุรุษนั้น จะเป๐นพระพุทธเจ้า คือว่า จักเป๐น พระพทุ ธเจา้ ในอนาคต” คาํ วา่ ภวติ : จะเป็น ในที่น้ี กล่าวถึงป๎จจุบันกาล ดุจจะพึงมีใน ๑๐๕ พระพทุ ธรักขติ เถระ, ชินาลงั การฎีกา, หน้า ๑-๓.

๑๔๒ ขณะนน้ั ท่านกลา่ วไวเ้ พ่ือแสดงภาวะที่มคี วามเป๐นไปโดยสว่ นเดียว แม้ในพระบาลี ท่านก็ กลา่ วไวโ้ ดยคาํ เป๐นป๎จจุบันกาลอยา่ งนี้วา่ ดว้ ยอธกิ าร [คอื กุศลอันย่งิ ใหญ่] น้ี ทเ่ี ราไดท้ ําแล้วในพระพุทธเจา้ ผทู้ รงเป๐น ผู้สูงสุดแหง่ บุรษุ เราจะบรรลพุ ระสัพพญั ํตุ ญาณ จะชว่ ยหมูช่ น เป๐นอนั มากให้ข้ามพน้ พระโพธิสัตว์บูชาแล้วซ่ึงพระดํารัสอันไม่มีเหมือน คือไม่ท่ัวไปของพระชิน เจ้าท้ังหลายนั้นๆ ด้วยเศียรเกล้า คือด้วยอวัยวะอันสูงสุดของตน คิดแล้วว่า “อัน พระพุทธเจ้าท้ังหลาย ทรงเป๐นผู้มีพระดํารัสไม่เป๐นสอง เราจักตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้า แน่นอน แตค่ วามเป๐นพระพทุ ธเจ้ายอ่ มไมส่ าํ เรจ็ ด้วยข้อปฏิบัติทั่วไป แต่จะสําเร็จได้ด้วย กําลังแห่งบารมีทีไ่ ม่ทัว่ ไป และความเป๐นพระพทุ ธเจ้าน้นั ยอ่ มไม่มีแกผ่ ทู้ ่ีขาดขันติ เมตตา และความกรณุ า เพราะฉะน้นั เราจะไม่โกรธบคุ คลอ่ืน แม้เขาจะตัดมือ เท้า หู จมูก และ ศรี ษะ จะอดกล้นั ทุกข์นน้ั ๆ ท่สี ตั วผ์ ้บู าปท้งั หลายนน้ั ๆ ทําให้” อดกล้ันทุกข์นั้นๆ แล้ว คํา ว่า สกลคณุ ทท : ที่ประทานคุณท้ังสิ้นให้ มีอธิบายว่า บําเพ็ญบารมี ๓๐ ทัศท่ีประทาน พุทธคณุ แม้ท้ังสิ้นให้ จริงอย่างนั้น ภายหลังจากพระพุทธเจ้าทีป๎งกร ล่วงไป ๑ อสงไขย ในกัป หนึ่ง พระศาสดาพระนามว่าโกณฑัญญะ เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว ในครั้งน้ัน พระโพธิสัตว์นี้ เสวยพระชาติเป๐นพระเจ้าจักรพรรดิพระนามว่าวิชิตาวี ได้ถวายมหาทานแด่พระสงฆ์มี พระพุทธเจ้าทรงเป๐นประธาน เป๐นเวลา ๓ เดือน ได้รับการพยากรณ์ แล้วบวชในพระ ศาสนา เรียนจบพระไตรปฎิ ก ยังพระศาสนาให้รงุ่ เรืองแลว้ จากพระศาสนาของพระพุทธเจ้าทีป๎งกรนั้น ล่วงไปอีก ๑ อสงไขย ใน กัป หนึ่ง พระพุทธเจ้า ๔ พระองค์ คือ พระพุทธเจ้ามังคละ พระพุทธเจ้าสุมนะ พระพุทธเจ้าเรวตะ พระพุทธเจ้าโสภิตะ บังเกิดข้ึนแล้ว ในบรรดาพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ในกาลแหง่ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้ามงั คละ มหาบรุ ุษเสวยพระชาติเป๐นพราหมณ์ชื่อว่า สุรุจิ มียศนับมิได้ มีโภคะนับมิได้ ศึกษาจบไตรเพท มหาบุรุษนั้นได้ฟ๎งธรรมของพระผู้มีพระ ภาคแลว้ เลอื่ มใส ไดน้ มิ นตภ์ ิกษุ ๑ แสนโกฏิ ซึ่งมีพระพุทธเจ้าทรงเป๐นประธาน ให้นั่งใน มณฑปทีท่ า้ วสักกะเนรมติ ไว้ได้ถวายมหาทานควปานะ ๗ วัน ทานที่ช่ือว่าควปานะ เป๐น โภชนะท่ีผู้ปรุงใส่นํ้านมเต็มตุ่มใบใหญ่ๆ แล้วยกขึ้นวางบนเตาไฟ เม่ือนํ้านมสุกแห้งจับ ก้อน ก็ใส่ขา้ วสารทลี ะนอ้ ยแลว้ ปรงุ ดว้ ยนํ้าผึง้ นํ้าตาลกรวด และฟองเนยใสจนสกุ โภชนะ นแี้ ละ ชอื่ วา่ โภชนะมขี องอรอ่ ย ๔ ชนดิ พวกมนุษยไ์ ม่อาจปรงุ เลี้ยงดู เทวดาทัง้ หลายปรุง เลี้ยงดู มณฑปกวา้ ง ๑๒ โยชน์ไม่เพียงพอ ภิกษุทั้งหลายนั่งด้วยอานุภาพของตนๆ ในวัน สุดท้าย มหาบุรุษได้ถวายเนยใส เนยข้น น้ําผึ้ง น้ํางบอ้อยเต็มบาตร แก่ภิกษุทั้งปวง ได้

๑๔๓ ถวายผ้าสาฎก พอจะตัดเย็บไตรจีวรแก่ภิกษุท้ังปวง ผ้าสาฎกท่ีพระนวกะในสงฆ์ได้รับ ถวาย มรี าคาแสนกหาปนะ พระผู้มีพระภาคทรงพยากรณ์ในสมาคมน้ันว่า “พราหมณ์น้ี จกั ตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดมในอนาคต”..... ๑๐๖ [๔๖] โส สาคเร ชลธกิ ํ รธุ ิรํ อทาสิ ภมู ึ ปราชิย สมสํ มทาสิ ทานํ เมรุปฺปมาณมธกิ ํจฺ สโมฬสิ สี ํ เข ตารกาธกิ ตรํ นยนํ อทาสฯิ ฎีกา พงึ ทราบอธบิ ายในคาถานี้ อยา่ งนีว้ ่า ในคําเหล่าน้ัน คําว่า โส : น้ัน คือ พระโพธสิ ตั วน์ น้ั ผู้เป๐นอย่างน้ี คําว่า สาคเร : ในทะเล ได้แก่ในมหาสมุทรทั้ง ๔ คําว่า ชลธกิ : มากกวา่ นา้ คอื กระทําใหม้ ากกว่าํน้า คาํ วา่ รุธิร อทาสิ : ได้ให้โลหิต คือ ได้ให้เลอื ดเป๐นทาน คาํ ว่า ภมู ึ ปราชยิ : จนชนะแผน่ ดนิ มีอธิบายว่า พระโพธิสัตว์นั้นได้ ให้เน้ือในร่างกายของตนมากกว่าฝุนบนแผ่นดินฝุน [มากกว่าดิน บนแผ่นดิน] อันมี ประมาณกําหนดเท่าภูเขาจักรวาล โดยส่วนกว้าง โดยส่วนหนา ประมาณ ๒๔๐,๐๐๐ โยชน์ คําว่า เมรุปปมาณมธิก : มากกว่าประมาณแห่งภูเขาสุเมรุ ประมาณแห่งภูเขา สิเนรุ ขา้ พเจา้ ไดก้ ล่าวไว้แล้วข้างตน้ พระโพธิสัตว์ได้ให้ศรี ษะมากกว่าภเู ขาสิเนรุนั้น คําว่า สโมฬิสีส : ศีรษะพร้อมทั้งโมลี คือ ได้ให้ศีรษะที่อภิเษกแล้ว คําว่า เข : ในท้องฟ้า คือ ในอากาศที่กาํ หนดดว้ ยภูเขาจกั รวาล คาํ วา่ ตารกาธิกตร : มากกว่าดวงดาว คือ กระทํา ให้มากกว่ารูปแห่งดวงดาว คําว่า นยน อทาสี : ได้ให้นัยน์ตา คือ ได้ให้ดวงเนตรเป๐น ทาน๑๐๗ ๑๐๖ พระพุทธรกั ขิตเถระ, ชินาลงั การฎกี า, หนา้ ๑๙๙-๒๐๑. ๑๐๗ พระพุทธรักขติ เถระ, ชินาลังการฎกี า, หน้า ๒๒๙.

๑๔๔ หมวด ฌ, ญ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ

๑๔๕ หมวด ต เตลกฏาหคาถา,คัมภีร์ คัมภีร์เตลกฏาคาถา๑๐๘ ตามศัพท์แปลว่า “บทร้อยกรองท่ีกล่าวในกะทะ น้ํามัน” เป๐นวรรณกรรมบาลีประเภทร้อยกรอง มีคาถา ๑๐๐ บท แต่งเป๐นคาถา วสันตดิลก ๑๔ พยางค์ล้วนๆ ท่านผู้ประพันธ์ได้ตกแต่งเสียง และความหมายไว้อย่าง ไพเราะสละสลวย มีเรียงราบรื่นคล้องจองสัมผัสเป๐นเสาวพจน์ จัดเป๐นวรรณกรรมที่ ยิ่งใหญแ่ ละเป๐นแบบฉบบั ในการแตง่ บาลีของอนุชนรนุ่ หลงั คมั ภรี ์น้ี แต่งข้ึนในประเทศศรลี ังกา แต่ไม่สามารถหาต้นฉบับลังกา หรือแม่ แต่ฉบบั เทวนาครไี ด้ คงมหี ลกั ฐานเพียงฉบับโรมันซี่งปริวรรตมาจากฉบับลังกา เป๐นฉบับ ของสมาคมบาลีปกรณ์ ประเทศอังกฤษ ซ่ึงมี ๙๘ คาถา ขณะที่ฉบับพม่ากับฉบับไทยท่ี ปริวรรตมาจากอกั ษรเทวนาครี มี ๑๐๐ บท ตรงกบั ข้อความในคมั ภรี ์รสวาหินี เนื้อหาของคัมภีร์กล่าวถึงหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เร่ิมต้นแต่พระ พทุ ธคณุ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ การระลึกถึงความตาย พระไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทกุ ขัง และอนัตตา ตลอดจนโทษจากการทาํ บาป โดยทา่ นผู้ประพนั ธ์มุ่งเตือนสติชาวพุทธ ไม่ใหป้ ระมาทในการบาํ เพญ็ คณุ งามความดี ประวัติความเป๐นมาของคัมภรี ์ มรี ะบไุ วใ้ นคมั ภรี ์รสวาหนิ ี ดังนี้ พระเจ้ากัลยาณิยติสสะครองเมืองกัลยาณี ณ ประเทศศรีลังกา ระหว่าง พทุ ธศกั ราช ๒๓๗-๒๓๘ ทรงมีพระอนชุ าเป๐นอุปราชซึ่งได้ ศึกษาศิลปวิทยาในสํานักของ พระกัลยาณิยเถระและเขียนลายพระหัตถ์ คล้ายคลึงกับลายมือของพระเถระ เมื่อใน หลวงทรงทราบว่าพระอนุชา เกิดความสิเนหาในพระมเหสี จึงมีรับส่ังให้ตามจับพระ อนชุ าซง่ึ ได้เสดจ็ หนไี ป ตอ่ มาพระอนุชาให้คนปลอมตัวเป๐นพระถือสาส์นรักไปเฝูา พระมเหสี พระ ปลอมถือโอกาสติดตามพระกัลยาณิยเถระเข้าพระราชวัง เม่ือพระปลอมฉันภัตตาหาร แล้วก่อนจะลุกกลับไป ได้แอบโยนสาส์นรักไปให้พระมเหสี แต่บังเอิญพระราชาได้ ทอดพระเนตรเห็นและ เข้าพระทัยว่าเป๐นสาส์นของพระเถระ จึงรับสั่งให้จับพระเถระ โยนใส่ กะทะนํ้ามนั ที่เดือดพลา่ น ๑๐๘ พระคันธสาราภิวงศ์, ผู้แปล. เตลกฏาคาถา, [กรุงเทพฯ: บริษัท สแควร์ปร๊ินซ์ ๙๓ จํากดั , ๒๕๕๕], ๑๗๖ หน้า.

๑๔๖ ในขณะน้ันปรากฏมแี กว้ อินทนลิ ผุดข้นึ เปน๐ ทนี่ ่ังรองรับในกะทะ ํน้ามัน พระ เถระไดเ้ จริญวปิ ส๎ สนาจนบรรลุอรหัตผล เมื่อได้พิจารณา กรรมเก่าของตนจึงทราบว่าใน ชาติก่อนเคยเกดิ เป๐นเดก็ เล้ียงวัวและได้โยนแมลงวันตัวหน่ึงเข้าไปในนํ้ามันท่ีเดือดพล่าน ครัง้ นจ้ี ึงไมอ่ าจจะหลีก เล่ียงผลกรรมได้ ท่านจึงกล่าวคาถาเพื่อส่ังสอนชาวพุทธไม่ให้มัว เมา ประมาทก่อนที่จะปรินิพพานในท่ีนั้น เน่ืองจากท่านกล่าวคาถาในกะทะ ํน้ามัน จึง ปรากฏนามว่า เตลกฎาหคาถา คือ บทรอ้ ยกรองทก่ี ลา่ วใน กะทะนาํ้ มนั ๑๐๙ ตัวอย่างคาประพันธ์ คัมภีรเ์ ตลกฏาคาถา ประกอบดว้ ยคาถา ๑๐๐ บท แต่งเป๐นคาถาวสันตดิลก ๑๔ พยางค์ ความพรรณนาถึงหลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา ยกมาเปน๐ ขอ้ ศึกษาพอสังเขป ดังนี้ บทไหว้ครู หรือปณามคาถา [๑] โย สพพฺ โลกมหโิ ต กรณุ าธวิ าโส โมกฺขากโร รวิกลุ มพฺ รปณุ ฺณจนฺโท เญยโฺ ยทธึ สวุ ปิ ลุ ํ สกลํ วพิ ทุ ฺโธ โลกุตตฺ มํ นมถ ตํ สริ สา มนุ ินทฺ ฯํ แปล พระจอมนุนีท่ีชาวโลกท้ังปวงบูชา ทรงเพียบพร้อมด้วยพระ กรุณาเปน๐ บอ่ เกิดแหง่ ความหลุดพน้ เปรียบดัง่ พระจนั ทร์เพ็ญทา่ มกลางนภาอันเป๐นอาทิต ยวงศ์ ทรงตรัสรู้เญยยธรรมท้ังหมดอันไพศาลด่ังมหาสมุทร เชิญท่านท้ังหลายนมัสการ พระจอมมนุ ผี ปู้ ระเสรฐิ ในโลกพระองค์นน้ั ฯ ข้อสังเกต คาถาท่ี ๑ น้ี คล้ายกับหลักฐานศิลาจารึกเนินสระบัว บริเวณ เมืองพระรถ ตําบลโคกปีบ อําเภอศรีมหาโพธ์ิ จังหวัดปราจีนบุรี จารึกระบุมหาศักราช ๖๘๓ ตรงกับ พ.ศ.๑๓๐๔ นักโบราณคดีมีความเห็นว่า เป๐นศิลาจารึกท่ีเก่าแก่ที่สุดที่ ค้นพบในประเทศไทย จารึกด้วยอักษรป๎ลลวะ เน้ือความเป๐นคําสดุดีพระรัตนตรัย ๒๗ บรรทัด บรรทัดที่ ๑-๓ จารึกเป๐นภาษาขอม หรือเขมรโบราณ บรรทัดที่ ๔-๑๖ เป๐น ภาษาบาลี แตง่ เป๐นฉนั ท์ ๑๔ พยางค์ บรรทดั ท่ี ๑๗-๒๗ เปน๐ ภาษาเขมรโบราณ สว่ นท่ีมเี นื้อหาตรงกบั คาถาที่ ๑ ในคมั ภีร์เตลกฏาหคาถา คือบรรทัดท่ี ๔-๘ คาถาท่ี ๒ ตรงกบั บรรทัดท่ี ๙-๑๒ คาถาที่ ๓ ตรงกบั บรรทัดท่ี ๑๓-๑๖ ๑๐๙ พระคนั ธสาราภวิ งศ์, ผ้แู ปล. เตลกฏาคาถา, หน้า ๗.

๑๔๗ ตวั อยา่ ง๑๑๐ บรรทัดท่ี ๔ ฯฯ ศรี ฯฯ โย สววฺ โลกโมหิโต ก บรรทดั ที่ ๕ รณุ าธวิ าโส โมขํา กโร [นริ ม] บรรทดั ที่ ๖ ลํ วรปณฺณจนโฺ ท โญยโฺ ย ท [โม น] บรรทดั ท่ี ๗ วกิ ุลํ สกลํ วิวทุ ฺโธ โลกุตฺตโร บรรทดั ที่ ๘ นมตฺถ ตํ สริ สา มุเนนทฺ ํ ฯ ศาสตราจารย์ฉํ่า ทองคําวรรณ ได้ปรับแต่งให้เข้ากับคณะฉันทลักษณ์ตาม แบบท่ที ่านเข้าใจใหม่ดังน้ี ฯฯศรีฯฯ โย สพฺพโลกโมหโิ ต กรุณาธิวาโส โมกฺขํ กโร นิรมลํ วรปุณณฺ จนโฺ ท เญยโฺ ญ ทโม นวกิ ุลํ สกลํ วิพทุ โฺ ธ โลกตุ ตฺ รโร นมตถฺ ิ ตํ สิรสา มุเนนทฺ ฯํ แปล ความสวสั ดีจงมี ฯ พระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้มีพระหฤทัยเต็ม ไปด้วยความกรุณา ต้ังลงในสรรพสัตว์ ทรงหลุดพ้นบริสุทธิ์ ดุจพระจันทร์เต็มดวงอัน ประเสริฐ ทรงรู้ไญยธรรม ทรงทรมาน ทรงรู้แจ้งธรรมท้ังสิ้นอย่างไม่คลาดเคลื่อน ทรง ขา้ มโลก ขอนอ้ มเศยี รนมสั การพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ ้ัน [๕] ลงกฺ สิ สฺ โร ชยตุ วารณราชคามี โภคนิ ทฺ โภครจุ ิรายตปีณพาหุ สาธูปจารนิโต คณุ สนนฺ ิวาโส ธมฺเม ฐิโต วคิ ตโกธมทาวเลโปฯ แปล ขอกษัตริย์แห่งลังกาจงประสบชัยชนะ พระองค์ทรงข้างเป๐น ราชพาหนะ มพี ระพาหาสมส่วนและยาวงามดงั่ ขนดแห่งพญานาค ทรงรื่นรมย์ในการเข้า ใกล้สัตบุรุษ เป๐นที่ตั้งแห่งคุณธรรม ดํารงอยู่ในธรรม และปราศจากการแปดเป๒ือนด้วย ความโกรธ และความหลงระเริง [๘] ธมฺโม ติโลกสรโณ ปรโม รสานํ ธมโฺ ม มหคฆฺ รตโน รตเนสุ โลเก ธมโฺ ม หเว ตภิ เว ทกุ ขฺ วนิ าสเหตุ ธมฺมํ สมาจรถ ชาครกิ านุยุตฺตาฯ ๑๑๐ พระคนั ธสาราภวิ งศ์, ผแู้ ปล. เตลกฏาคาถา, หน้า ๑๒๔.

๑๔๘ แปล พระธรรมเป๐นสรณะในโลกสาม ยอดเยี่ยมกว่ารสท้ังหลาย พระธรรมเปน๐ รัตนะทรงคา่ กวา่ รัตนะอื่นในโลก พระธรรมแลเป๐นเหตุแห่งการกําจัดทุกข์ ในภพสาม ท่านทง้ั หลายจงเป๐นผ้มู ีสติขวนขวาย ประพฤตธิ รรมอย่เู สมอเถดิ ฯ [๒๖] นจิ จฺ าตรุ ํ ชคทิทํ สภยํ สโสกํ ทสิ วฺ า จ โกธมทโมหชราภภิ ตู ํ อุพเฺ พคมตตฺ มฺปิ ยสฺส น วิชชฺ ตี เจ โส ทารโุ ณ น มรโณ วต ตํ ธริ ตฺถฯุ แปล หากบุคคลใดปราศาจากแม้มาตรว่าความสะดุ้งกลัว เพราะ เห็นโลกน้ีมีทุกข์ภัยเศร้าโศกอยู่เสมอ ถูกความโกรธ ความหลงมัวเมา และความแก่ ครอบงํา บคุ คลน้ันเปน๐ ผูโ้ หดรา้ ยเอง หาใช่ความตายไม่ น่าตาํ หนเิ ขาจริงๆ [๔๖] โลเก น มจฺจสุ ม‖มตฺถิ ภยํ นรานํ น พยาธิทกุ ขฺ มสม‖มตถฺ ิ จ กํิ ฺจิ ทุกขฺ ํ เอวํ วริ ปู กรณํ น ชราสมานํ โมเหน โภ รติ‖มเุ ปติ ตถา เทเหฯ แปล ท่านผู้เจริญ ภัยอันเสมอด้วยมฤตยู ย่อมไม่มีมีแก่ชนในโลก ทกุ ขใ์ ดๆ อนั เสมอด้วยพยาธิทกุ ข์ ยอ่ มไม่มี สงิ่ ท่ที ําใหร้ ูปรา่ งหมดความสวยงามเสมอด้วย ชรา ไมม่ ี ถึงกระนน้ั ชาวโลกกย็ งั ยนิ ดีในร่างกายด้วยความหลง [๕๒] อปปฺ ๏ สขุ ํ ชลลวํ วิย โภ ตณิ คเฺ ค ทกุ ฺขํ ตุ สาครชลํ วิย สพฺพโลเก สกํ ปฺปนา ตทปิ โหติ สภาวโต หิ สพพฺ ํ ติโลก‖มปิ เกวลทุกขฺ ‖เมว ฯ แปล ความสุขมีเพียงเล็กน้อย ด่ังหยาดน้ําค้างบนยอดหญ้า แต่ ความทุกข์ในโลกท้ังมวลเหมือนนํ้าในสาคร ความจริงความสุขนั้น เกิดจากจินตนาการ โลกสามทั้งหมดลว้ นเปน๐ ทกุ ข์โดยแท้ [๙๙] ลทธฺ าน พทุ สฺ มยํ อตทิ ุลลฺ ภํ จ สทธฺ มฺม‖,มคคฺ ‖มสมํ สิวทํ ตเถว กลยฺ าณมติ ฺตปวเร มติสมฺปทํฺจ โก พุทธมิ า อวิรตํ น ภเชยฺย ธมฺมํฯ แปล ธีรชนคนใดเล่า เม่ือได้พบพระพุทธศาสนท่ีหาได้ยากย่ิง พระ สัทธรรมอันประเสริฐให้ความเกษมไม่มีสิ่งใดเปรียบ กัลยาณมิตรที่ดีงาม และความ ไพบูลย์แห่งปญ๎ ญา จะไมพ่ ึงซ่องเสพพระธรรเป๐นนติ ย์หรือ

๑๔๙ สรุปเน้ือหาในคัมภีรเ์ ตลกฏาหคาถา ประกอบดว้ ย๑๑๑ ๑. พระพทุ ธคุณ คาถาที่ ๑ ๒. พระธรรมคุณ คาถาท่ี ๒ ๓. พระสงั ฆคณุ คาถาท่ี ๓ ๔. อานุภาพแห่งพระรัตนตรยั คาถาท่ี ๔ ๕. เกยี รติคณุ แห่งกษตั ริย์ลงั กา คาถาท่ี ๕-๗ ๖. คาํ ชกั ชวนในการปฏบิ ตั ิธรรม คาถาท่ี ๘-๙ ๗. มรณานสุ สติ คาถาที่ ๑๐-๒๘ ๘. อนจิ จลักษณะ คาถาที่ ๒๙-๔๓ ๙. ทุกขลกั ษณะ คาถาที่ ๔๔-๕๕ ๑๐.อนตั ตลักษณะ คาถาที่ ๕๖-๖๓ ๑๑.อสภุ ลกั ษณะ คาถาที่ ๖๔-๗๗ ๑๒.โทษของปาณาติบาต คาถาที่ ๗๘ ๑๓.โทษของอทินนาทาน คาถาที่ ๗๙ ๑๔.โทษของกาเมสมุ จิ ฉาจาร คาถาที่ ๘๐ ๑๕.โทษของมุสาวาท คาถาท่ี ๘๑ ๑๖.โทษของสุรา คาถาที่ ๘๒ ๑๗.โทษของอกศุ ล คาถาท่ี ๘๓ ๑๘.อารักขกรรมฐาน คาถาท่ี ๘๔-๘๘ ๑๙.การบําเพญ็ บุญ คาถาท่ี ๘๙ ๒๐.ปฏิจจสมุปบาท คาถาท่ี ๙๐-๙๒ ๒๑.กิจทช่ี าวพุทธควรทํา คาถาท่ี ๙๓-๙๙ ๒๒.คําลงทา้ ย คาถาท่ี ๑๐๐ ตานานมลู ศาสนา ตํานานมูลศาสนา๑๑๒ เป๐นผลงานของพระพุทธพุกาม และพระพุทธญาณ สมัยที่แต่งยังไม่ปรากฏแน่ชัด แต่พิจารณาเค้าเร่ืองและโวหารแล้ว น่าจะแต่งข้ึนก่อน ๑๑๑ พระคนั ธสาราภิวงศ์, ผแู้ ปล. เตลกฏาคาถา, หน้า ๑๒๑. ๑๑๒ พระพุทธพุกามและพระพุทธญาณ, ตานานมูลศาสนา, [พิมพ์พระราชทานในงาน พระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๑๔], ๓๕๖ หน้า.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook