Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๔๕๐ อาจกล่าวได้ว่า งานแต่งพระมหาเวสสันตรทีปนีน้ี เป๐นดุจการวิจัยทาง วชิ าการทต่ี อ้ งการถอดสตู รองคค์ วามรู้จากพระมหาเวสสันตรชาดก ออกมาให้กระจ่าง มี ความสมบูรณพ์ ร้อมทงั้ พยญั ชนะ [คํา] และอรรถะ [ความ] น่ันเอง๓๕๐ เมอื่ จบการอธบิ ายขยายความเวสสันตรชาดกแล้ว ตอนสุดท้ายพระสิริมังคล จารย์กแ็ ตง่ นิคมกถาต้ังความปรารถนาเอาไว้ ดงั น้ี อรหนตฺ ุ อตุ ฺตมํ ผลํ อรหตตฺ นฺติ สํญฺ ติ ํ ลงกฺ ตํ สพฺพคุณหิ ลเภยยฺ ํ ภวอนตฺ เิ ม ยทหฺยริยเมตฺเตยโฺ ย อปุ ปฺ นโฺ น โลกนายโก ตสฺส ธมฺมํ สุณติ ฺวาน คจเฺ ฉยยฺ ํ ปรมํ ผลํ ตทาหํ ลงฺกโต สิยํ คุเณหิ สกเลหิปิ ฯ แปล ในชาติสุดทา้ ย ขอให้ข้าพเจ้าได้บรรลุเปน๐ อรหนั ต์ ทเ่ี ป๐นอุดม ผล ประกอบด้วยคุณทกุ อยา่ ง ถ้าพระศรีอารยิ เมตไตรย มาตรัสรเู้ ป๐นทพี่ ึ่งของสรรพสตั ว์ เม่ือใด ขอให้ข้าพเจา้ ไดส้ ดบั พระธรรมเทศนาของพระองค์และไดบ้ รรลุผลสูงสุดอัน ประกอบด้วยคุณท้ังมวลเทอญ หมวด ส สมันตปาสาทิกา สมันตปาสาทิกา๓๕๑ เป๐นอรรถกถาแกค้ วามในพระวินัยปฎิ กทั้งหมด ผู้รจนา คือพระพุทธโฆสาจารย์ เป๐นชาวอินเดีย รจนาข้ึนระหว่าง พ.ศ.๙๗๒-๙๗๓ ในสมัยพระ เจ้ามหานามในลังกาทวีป ตัวคัมภีร์แบ่งออกเป๐น ๓ ภาค ขยายความคัมภีร์มหาวิภังค์ คัมภีร์ภิกขุณีวิภังค์ คัมภีร์มหาวรรค คัมภีร์จูฬวรรค และคัมภีร์ปริวารอย่างลึกซึ้ง ทั้งที่ เป๐นความหมายของศัพท์ยาก ความหมายของวลี ประโยค และข้อความท่ีมีนัย สลับซับซ้อนเข้าใจยาก อันอาจส่งผลให้เข้าใจผิด แปลผิด และนําไปใช้ผิดๆ สมันตปา สาทิกาจงึ เปรียบเหมือนกุญแจไขเข้าสหู่ ้องพระวินัยปฎิ กสําหรับนกั ศกึ ษาพระวนิ ัยปิฎกได้ เป๐นอย่างดี เหตุน้ี จึงมีการแปลคัมภีร์นี้เป๐นภาษาต่างๆ แพร่หลายท่ัวโลก รวมถึงใน ๓๕๐ พสิ ิฏฐ์ โคตรสโุ พธ,์ิ “มหาเวสสันตรทีปนี: สาระ คุณค่า และนัยสําคัญต่อวิถีสังคมและ วัฒนธรรมล้านนา”, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://phil-re๔you.blogspot.com/๒๐๑๕/ ๐๖/blog-post_๒.html [๑๓ กันยายน ๒๕๖๒] ๓๕๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สมันตปาสาทิกา แปล ภาค ๑, [กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐], ๗๓๔ หนา้ .

๔๕๑ ประเทศไทย ได้มีการปริวรรตเป๐นอักษรขอม ต่อมาก็ปริวรรตเป๐นอักษรไทย และแปล เป๐นภาษาไทย แม้คณะสงฆก์ ็กําหนดให้เป๐นตําราเรียนในหลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนก บาลตี ง้ั แต่สมยั อยธุ ยา สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ พรรณนาความในพระวินัยปิฎกในปาราชิกกัณฑ์ ท้ังหมด โดยเน้ือหารายละเอียดในเร่ิมต้นด้วยคันถารัมภกถา พาหิรนิทาน ซ่ึง ประกอบด้วยปฐมมหาสังคีติกถา ทุติยสังคีติกถา ตติยสังคีติกถา อธิบายคํากล่าวหาของ เวรัญชพราหมณ์ ปฐมฌานกถา ทุติยฌานกถา ตติยฌานกถา จตุตถฌานกถา ปุพเพ นิวาสกถา ทพิ พจักขุญาณกถา อาสวักขยญาณ เทสนานุโมทนกถา ปสันนการกถา สรณ คมนกถา อุปาสกัตตปฏิเวทนากถา ทุพภิกขกถา มหาโมคคัลลานสีหนาทกถา วินัย ปญ๎ ญตั ิยาจนกถาวรรณนา และพทุ ธาจณิ ณกถา ต่อแต่น้ันจึงเริ่มอธิบายความในปาราชิก กณั ฑ์ ต้ังแต่ปฐมปาราชกิ ถงึ จตุตถปาราชิก สมันตปาสาทิกา ภาค ๒ พรรณนาความในพระวินัยปิฎกในส่วนของ สังฆาทิเสสกัณฑ์ อนิยตกัณฑ์ นิสสัคคิยกัณฑ์ ปาจิตติยกัณฑ์ ปาฏิเทสนียกัณฑ์ เสขิย กัณฑ์ ภิกขุณีวิภังควัณณนา อธิบายความในส่วนของสิกขาบทของภิกษุณีตั้งแต่ปาราชิก กัณฑ์ สังฆาทิเสสกัณฑ์ นสิ สคั คยิ กณั ฑ์ ปาจิตตียกณั ฑ์ จนถงึ ปาฏิเทสนยี กณั ฑ์ สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ พรรณนาความในอีก ๓ คัมภีร์ที่เหลือ คือ คัมภีร์ มหาวรรค คัมภีรจ์ ฬู วรรค และคมั ภรี ปรวิ าร เน้ือหาประกอบด้วยมหาขันธกะ ๑๐ หัวข้อ ได้แก่ อุโปสถักขันธกะ วัสสูปนายิกักขันธกะ ปวารณากขันธกะ จัมมักขันธกะ เภสัชชัก ขนั ธกะ กถินักขันธกะ จวี รักขันธกะ จมั เปยยักขนั ธกะ โกสัมพิกขันธกะ, เน้ือหาในคัมภีร์ จูฬวรรค ๑๒ หัวข้อ ไดแ้ ก่ กมั มักขันธกะ ปริวาสิกักขันธกะ สมุจจยักขันธกะ สมถักขันธ กะ ขุททกวัตถุกขันธกะ เสนาสนักขันธกะ สังฆเภทกักขันธกะ วิตักกขันธกะ ปาฏิ โมกขัฏฐปนักขันธกะ ภิกขุณีขันธกะ ป๎ญจสติกักขันธกะ และสัตตสติกักขันธกะ, และ เนอื้ หาในคมั ภีร์ปรวิ าร ซ่งึ เป๐นเรอ่ื งรายละเอยี ดทีเ่ ป๐นประมวล หรือบทสรปุ ต่างๆ ตัวอยา่ งการอธิบายความในสมันตปาสาทกิ า [๑] การอธบิ ายศพั ท์ยาก ตวั อย่าง คําวา่ สสุ ุ [ชายหน่มุ ] ได้แกช่ ายหนมุ่ คือผมู้ ีเรีย่ วแรง ได้แก่บุรุษผู้อยู่ใน วัยหนมุ่ หนิ ดาํ เรยี กวา่ ก้อนหิน ดาบทข่ี ัดที่กอ้ นหินนน้ั เยกว่า สักขรโธตะ ดาบซ่ึงขัดท่ีก้อน หิมมีอยู่ในมือของบุรุษนั้น เพราะเหตุนั้น บุรุษน้ันจึงช่ือว่ามีมือถือดาบาซ่ึงขัดที่ก้อนหิน

๔๕๒ [สกขฺ รโธตปาณิ] อธิบายวา่ ผู้มมี ือถือดาบซึ่งขัดและลับแล้วท่ีหิน บุรุษผู้ถือดาบนั้นพึงทํา คนอื่นใหส้ ะดุง้ ตกใจได้ฉนั ใด ทา่ นกท็ าํ เราใหส้ ะดงุ้ ได้ฉันน้นั ๓๕๒ บรรดาบทเหล่าน้ัน คําว่า ปุพฺพนฺนนิสฺสิตา [อยู่ใกล้นา] ได้แก่ อาศัย บุพพณั ชาติ คือต้งั อยู่ใกล้นาท่งี อกแหง่ ธัญชาติ ๗ ชนิด แม้ในคําว่า อยู่ใกล้สวน เป๐นต้นก็ นัยนีเ้ หมอื นกัน ก็ในคํานี้ว่า อยู่ใกล้สวน เป๐นต้น ในอรรถกถากุรุนทีเป๐นต้น ท่านแก้ไว้ วา่ ทชี่ ือ่ ตะแลงแกง [อพภฺ าฆาต] ได้แก่ เรือนจาํ คอื บ้านของคนคูเ่ วรทเ่ี ขาสร้างไว้เพ่ือใช้ เปน๐ ท่ฆี า่ พวกโจร สถานท่ีลงโทษตามกฎหมาย เขาเรียกว่า สถานท่ีลงโทษ [อาฆาต] สุสานใหญ่ เขาเรียกว่า ป่าช้า [สุสาน] ทางสัญจรท่ีผ่านทะลุไปได้ เขาเรียกว่า ทาง สญั จร [สสรณ] คาํ ทีเ่ หลือชดั เจนแลว้ ทั้งนั้น๓๕๓ คําว่า อภิสงฺขาริก [จัดปรุงพิเศษ] คือ เขาปรุงด้วยเคร่ืองปรุงต่างๆ ไดแ้ ก่เขาตระเตรียมไวเ้ ปน๐ อยา่ งดี อธิบายว่า ทาํ ใหส้ าํ เร็จอยา่ งงดงาม คาํ วา่ กณาชก [ปลายข้าว] ได้แก่ ข้าวปนราํ คาํ วา่ พลิ งคฺ ทุตยิ [นํา้ ผกั ดอง] ไดแ้ ก่ คูก่ บั นา้ํ ผักดอง คําว่า กลฺยาณภตฺติโก [ผู้ชอบถวายอาหารดี] ได้แก่ อุบาสกนั้น มีภัต อยา่ งดี สวยงามประณีตอย่างยิ่ง เพราะฉะนนั้ อุบาสกนั้นจึงช่ือว่า ผู้มีภัตอย่างดี อุบาสก นน้ั มชี ื่อตามภตั เพราะเป๐นผูถ้ วายภัตอันประณีต คําว่า น จิตฺตรูปํ [ไม่เต็มท่ี] ความว่า ไม่สมกับท่ีคิด ภิกษุ ๒ รูป จําวัด ไม่หลับ เหมอื นอย่างทเี่ คยจําวดั หลับตามที่ตนต้องการ อธิบายว่า จําวัดได้เพียงเล็กน้อย เท่านัน้ คาํ ว่า พหารามโกฏฐฺ เก [ภายนอกซุ้มประตูอาราม] ความว่า ภายนอก ซมุ้ ประตูพระเวฬวุ นั วิหาร๓๕๔ [๒] การอธบิ ายความหมายคา วลี ประโยค ตวั อย่าง ๓๕๒ สมนั ตปาสาทกิ า ภาค ๒, หน้า ๖๘. ๓๕๓ สมันตปาสาทิกา ภาค ๒, หน้า ๗๕. ๓๕๔ สมนั ตปาสาทกิ า ภาค ๒, หน้า ๘๙.

๔๕๓ คําว่า ระดู [ปุปฺผ] เป๐นช่ือโลหิตท่ีเกิดข้ึนในคราวมีระดู จริงอยู่ เวลา มาตุคามมีระดู ต่อมมีสีคล้ายโลหิตต้ังรวมกันอยู่ในฐานมดลูกเจริญข้ึนได้ ๗ วันก็แตก มี โลหิตไหลออกจากต่อมนั้น คําว่า ระดู เป๐นช่ือของโลหิตนั้น โลหิตนั้นเป๐นธรรมชาติมี กําลงั ไหลออกไปมากเพียงใด ปฏิสนธิท่ีบิดาให้ก็ดํารงอยู่ไม่ได้เพียงนั้น ย่อมไหลออกไป พร้อมโลหิตเสีย เม่ือโลหิตเสียไหลออกไป ปฏิสนธิท่ีบิดาให้ในมดลูกที่บริสุทธ์ิย่อมดํารง อยทู่ นั ที๓๕๕ คําว่า ใจหดหู่ [ลีนมโน] ได้แก่ ผู้ทดธุระไม่ขวนขวายในอุทเทส ปริ ปจุ ฉา กมั มัฏฐาน อธิศีล อธสิ มาธิ อธปิ ญ๎ ญา และการบําเพ็ญวัตรปฏิบัติ ใจของพระสุทิน หดหู่ คอื หอ่ เหย่ี ว ดว้ ยความเกียจคร้านโดยแท้ เหตุนน้ั พระสุทนิ จึงชอื่ ว่ามีใจหดหู่๓๕๖ คําวา่ อธิสีลสกิ ขา มีวิเคราะห์ว่า ศลี อันยง่ิ คืออุดม เพราะเหตุน้ันจึงชื่อ วา่ อธศิ ีล อธศิ ลี ช่ือว่าสกิ ขา เพราะควรศกึ ษา ดงั นัน้ จงึ ช่ือว่าอธสิ ีลสิกขา ในอธิจิตตสิกขา อธิป๎ญญาสกิ ขา ก็นัยน้ี ถามว่า ในสิกขาบทนี้ ศีล อธิสีล จิต อธิจิต ป๎ญญา และอธิป๎ญญาเป๐น อย่างไร ตอบว่า ศลี มอี งค์ ๕ และมอี งค์ ๑๐ ชอ่ื ว่า ศลี ทั้งนัน้ ศีลนนั้ เม่อื พระพุทธเจ้าทรง อบุ ตั ิหรอื ยังไม่ทรงอุบัติ ย่อมเป๐นไปในโลก เม่ือพระพุทธเจ้าอุบัติแล้ว พระพุทธเจ้าหรือ พระสาวกยอ่ มให้มหาชนสมาทานศลี นั้น เมอ่ื พระพุทธเจา้ ยังไม่ทรงอบุ ัติ พระป๎จเจกพุทธ เจ้า เหล่าสมณพราหมณผ์ ปู้ ระพฤติธรรม เป๐นกรรมวาที พระเจ้าจกั รพรรดิ มหาราช และ มหาโพธิสัตว์ ย่อมให้มหาชนสมาทาน เหล่าสมณพราหมณ์ผู้เป๐นบัณฑิต สมาทานด้วย ตนเองบ้าง สมณพราหมณ์เหล่านั้นบําเพ็ญกุศลธรรมแล้วย่อมเสวยสมบัติในเทวดาและ มนษุ ยท์ ั้งหลาย ส่วนปาติโมกขสังวรศีลท่านเรียกว่า อธิศีล จริงอยู่ปาติโมกขสังวรศีลนั้น ย่งิ ใหญแ่ ละสูงสง่ ยิ่งกวา่ ศีลทั้งหลายทัง้ ปวง เหมอื นดวงอาทติ ย์ยิ่งใหญ่ และสูงส่งกว่าแสง สว่างท้ังหลาย เหมือนภูเขาสิเนรุย่ิงใหญ่และสูงส่งย่ิงกว่าภูเขาทั้งหลาย และมีใน พุทธุปบาทกาลเท่าน้ัน เว้นพุทธุปบาทกาลย่อมไม่มี เพราะสัตว์เหล่าอ่ืนไม่สามารยก บญั ญตั ิน้ันขึ้นตง้ั ได้ พระพทุ ธเจ้าเท่าน้ันทรงตัดกระแสอัชฌาจารทางกายาทวาร และวจี ทวารได้อย่างส้ินเชิง ทรงบัญญัติสีลสังวรนั้นอันสมควรแก่วีติกมโทษนั้นๆ สีลท่ีสัมปยุต ดว้ ยมรรคและผลเท่าน้นั ที่เป๐นอธศิ ีล แม้กว่าปาติโมกขสงั วรศลี แตศ่ ีลท่ีสัมปยุตด้วยมรรค ๓๕๕ สมนั ตปาสาทิกา ภาค ๑, หน้า ๓๑๐. ๓๕๖ สมนั ตปาสาทิกา ภาค ๑, หน้า ๓๑๖.

๔๕๔ และผลน้ัน ท่านมิได้ประสงค์เอาใสสิกขาบทนี้ แท้จริง ภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยศีลที่สัมปยุต ดว้ ยมรรคและผลนน้ั จะไม่เสพเมถนุ ธรรม๓๕๗ คาํ วา่ ปญฺจมาสกโก ปาโท [ทรัพย์ ๑ บาท เท่ากบั ๕ มาสก] ความว่า สมัยนั้น ในกรุงราชคฤห์ ๒๐ มาสก มีค่าเท่ากับ ๑ กหาปณะ ดังน้ัน ๕ มาสก จึงมีค่า เท่ากับ ๑ บาท โดยลักษณะน้ี พึงทราบส่วนที่ ๔ ของกหาปณะในชนบททุกแห่งว่า “บาท” บาทหน่ึงนั้นพึงทราบด้วยนีลกหาปณะโบราณ ไม่ใช่ด้วยกหาปณะนอกนี้มีรุทร ทามกหาปณะ เปน๐ ตน้ ๓๕๘ คําว่า อรญฺญ นาม ฐเปตฺวา คามญฺจ คามูปจารญฺจ [ท่ีช่ือว่าป่า ได้แกส่ ถานท่ีเว้นหมู่บ้าน และอุปจาระหมู่บ้าน] ความว่า เว้นหมู่บ้านและอุปจารบ้าน ซง่ึ มีลักษณะดังกล่าวมาน้ี สถานท่ีเหลือพึงทราบว่า ชื่อว่าปุา ในอทินนาทานสิกขาบทน้ี สว่ นในพระอภธิ รรม ทา่ นกลา่ วไวว้ ่า “คําว่า ปุา อธิบายว่า สถานท่ีออกไปนอกเขตเมือง ทั้งหมดนี้ ช่ือว่า ปุา” ในอารัญญกสิกขาบท ท่านกล่าวว่า “ชื่อว่าเสนาสนะปุา ได้แก่ เสนาสนะทม่ี รี ะยะ ๕๐๐ ชวั่ ธนูเป๐นอย่างตํา่ ” เสนาสนะนนั้ พึงทราบว่ามีประมาณ ๕๐๐ ชั่วธนูตั้งแต่เสาเขื่อนไป โดยธนูของอาจารย์ท่ีอ้างอิงไว้ พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรง จําแนกเน้ือความน้ันว่า “บ้านก็ดี ปุาก็ดี” จึงทรงแสดงส่วน ๕ ส่วน คือ เรือน อุปจาร เรือน บา้ น อปุ จาระบา้ น ปุา เพอ่ื ปอู งกันเลสและโอกาสของปาปภกิ ษุ ดังนนั้ เม่อื ภิกษุลัก ทรัพย์สินท่ีมีเจ้าของมีราคาตั้งแต่ ๑ บาทไปท่ีเรือน อุปจาระเรือน บ้าน อุปจาระบ้าน หรอื ปุา พงึ ทราบวา่ ตอ้ งอาบตั ปิ าราชกิ ทัง้ น้นั ๓๕๙ บรรดาคําเหล่าน้ัน คําว่า อุรุเวลาย ได้แก่ แดนใหญ่ อธิบายว่า กอง ทรายใหญๆ่ อีกอย่างหน่ึง ทราย ท่านเรยี กว่า อุรุ เขตคัน ท่านเรียกว่า เวลา และพึงเห็น เนอ้ื ความในคําน้อี ยา่ งนว้ี ่า ทรายทีเ่ ขาขนมาเพราะล่วงเขตคนั ช่อื วา่ อุรุเวลา เล่ากันมาว่า ในอดีต เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่อุบัติ กุลบุตร ๑๐,๐๐๐ คน บวชเป๐นดาบสอยู่ในภูมิ ประเทศนั้น อยู่มาวันหนึ่ง ประชุมต้ังกติกาวัตรกันว่า “ธรรมดากายกรรมและวจีกรรม ปรากฏแม้แก่คนเหล่าอ่ืนได้ แต่มโนกรรมไม่ปรากฏ เพราะเหตุน้ัน ผู้ใดตรึกถึงกามวิตก พยาบาทวิตก และวหิ งิ สาวิตก กไ็ มม่ ีคนอ่ืนท่ีช่ือว่าโจทผู้น้ันได้ ผู้น้ันต้องเตือนตนด้วยตน ๓๕๗ สมนั ตปาสาทิกา ภาค ๑, หนา้ ๓๕๙. ๓๕๘ สมันตปาสาทกิ า ภาค ๑, หน้า ๔๓๐. ๓๕๙ สมันตปาสาทิกา ภาค ๑, หน้า ๔๓๕.

๔๕๕ ทีเดียว แล้วใช้ภาชนะคือบาตรขนทรายมเกล่ียลงที่ตรงนี้ โดยคิดว่าว่า “น่ีเป๐นทัณฑ กรรม” ตั้งแต่น้ันมา คนท่ีตรึกอย่างนั้น ใช้ภาชนะคือบาตรขนทรายมาเกล่ียลงในท่ีนั้น ด้วยอุบายอย่างน้ี สถานท่ีนั้นได้มีกองทรายใหญ่ข้ึนตามลําดับ ต่อมา คนในภายหลังได้ ล้อมกองทรายใหญ่นน้ั สร้างเปน๐ เจดีย์๓๖๐ [๓] การอธบิ ายขอ้ ความทีม่ ีนัยซับซ้อนเข้าใจยาก ตวั อย่าง บดั นี้ เพื่อจะแสดงเน้ือความแห่งบทว่า “ถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของมิได้ให้ โดยความเป๐นขโมย” เป๐นต้น ท่านจึงกล่าวว่า “ที่ชื่อว่าทรัพย์ที่เจ้าของเขามิได้ให้ [อทนิ นฺ นาม]” เปน๐ ต้น พึงทราบวนิ จิ ฉยั ในคํานัน้ ดงั นี้ ในทันตโปณสิกขาบท ของเป๐นกัปปิยะท่ีภิกษุไม่ได้รับประเคน แม้เป๐น ของของตน ซึ่งไมค่ วรฉนั ทา่ นเรยี กวา่ ทรพั ยท์ ่เี จ้าของมิได้ให้ [อทนิ ฺน] ส่วนในอทินนาทานสกิ ขาบทนี้ ทรัพยท์ ่ีมเี จา้ ของอยา่ งใดอย่างหนึ่งที่คน อ่นื หวงแหน ก็เรียกว่า ทรัพย์ทีเ่ จ้าของไม่ได้ให้ ทรัพย์ดังว่านี้ ชื่อว่าทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ ให้ เพราะเจา้ ของเหลา่ นัน้ ไมไ่ ดใ้ หด้ ้วยกายหรอื วาจา๓๖๑ ในคาถานัน้ มอี ธิบายดังนี้ ภิกษุ ๔ รปู คือ อาจารยแ์ ละอันเตวาสิกประสงค์จะลักครุภัณฑ์ราคา ๖ มาสก บรรดา ๔ รูปน้ัน อาจารย์กล่าวว่า “เธอลัก ๑ มาสก เธอลัก ๑ มาสก เธอลัก ๑ มาสก ผมจะลัก ๓ มาสก” บรรดาอันเตวาสิกทั้งหลาย รูปหน่ึงกล่าวว่า “ท่านขอรับ ใต้ เทา้ ลกั ๓ มาสก ท่านลัก ๑ มาสก ท่านลัก ๑ มาสก ผมจะลัก ๑ มาสก” แม้อีก ๒ รูปก็ กล่าวอย่างน้ี บรรดาอันเตวาสิกเหล่าน้ัน อันเตวาสิกแต่ละรูปมีรูปละ ๑ มาสก เป๐นสา หตั ถกิ ววหาร อนั เตวาสิกเหล่านัน้ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏด้วย ๑ มาสกนั้น ๕ มาสกเป๐นอาณัตติ กาวหาร อันเตวาสิกทง้ั ๓ รปู ต้องอาบัตปิ าราชกิ ดว้ ย ๕ มาสกเหลา่ นน้ั สว่ นอาจารย์มี ๓ มาสกเป๐นสาหัตถิกาวหาร อาจารย์ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๓ มาสกเหล่านั้น ๓ มาสกเป๐น อาณัตติกาวหาร ต้องอาบัตติถุลลัจเหมือนกัน แม้ด้วย ๓ มาสกเหล่าน้ัน จริงอยู่ ใน อทินนาทานสิกขาบทน้ี สาหัตถิกะไม่เป็นองค์แห่งอาณัตติกะ หรืออาณัตติกะไม่เป็น องคแ์ หง่ สาหตั ถกิ ะ แต่สาหัตถิกะพึงปรับด้วยสาหัตถิกะเหมือนกัน อาณัตติกะก็พึงปรับ ๓๖๐ สมันตปาสาทกิ า ภาค ๓, หน้า ๒-๓. ๓๖๑ สมันตปาสาทกิ า ภาค ๑, หนา้ ๔๓๖.

๔๕๖ ด้วยอาณัตติกะเหมือนกัน เพราะเหตุน้ัน ท่านพระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ๔ รูป ชวนกนั ลกั ครุภณั ฑ์ ๓ รูปต้องอาบัตปิ าราชิก อกี ๑ รปู ไมต่ ้องอาบัตปิ าราชิก ป๎ญหาข้อน้ี ผูฉ้ ลาดทงั้ หลายคดิ กนั แล้ว” ๓๖๒ คําว่า วิกาเล [ในเวลาวิกาล] ได้แก่ ในเวลาเม่ือกาลผ่านไปแล้ว กาล แห่งโภชนะของภิกษุท้ังหลายท่านประสงค์เอาว่ากาล กาลแห่งโภชนะนั้น โดยกําหนด อยา่ งตาํ่ สุด คือเวลาเที่ยงวัน อธิบายว่า เม่ือเวลาเที่ยงวันนั้นล่วงเลยไปแล้ว ด้วยเหตุนั้น นัน่ เอง ในบทภาชนะแห่งบทนน้ั ทน่ พระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า “เมื่อกาลเท่ียงวันล่วงไป แล้วจนถงึ อรุณข้ึนขน้ึ ว่าวิกาล” แมเ้ วลาเทย่ี งตรงกส็ งเคราะห์เข้าเป๐นกาล จําเดิมแต่เวลา เท่ยี งตรงไป ภกิ ษไุ มอ่ าจเคยี้ วหรือฉนั ได้ [แต่] ยังอาจรบี ดืม่ ได้ แต่วา่ ภกิ ษผุ มู้ คี วามรังเกียจ ไม่พึงทํา และเพื่อรู้กําหนดกาลเวลา ควรป๎กเสาเคร่ืองหมายเวลาไว้ แต่ว่าพึงทําภัตกิจ ภายในกาลเทา่ นน้ั ๓๖๓ คณนวเสน ตาว ปจฺฉิมโกฏิยา ปญฺจ ชนา ลภนฺติ, อุทฺธํ สตสหสฺสมฺปิ ปญฺจนฺนํ เหฏฺฐา น ลภนฺติฯ วุตฺถวสฺสวเสน ปุริมิกาย วสฺสํ อุปคนตฺ วฺ า ปฐมปวารณาย ปวารติ า ลภนฺติ, ฉินนฺ วสสฺ า วา ปจฺฉิมิกาย อุปค ตา วา น ลภนฺติ อญฺญสฺมึ วิหาเร วุตฺถวสฺสาปิ น ลภนฺตีติ มหาปจฺจริยํ วุตฺตํฯ ปุรมิ ิกาย อุปคตานํ ปน สพฺเพ คณปูรกา โหนฺติ, อานิสํสํ น ลภนฺติ, อานิสํโส อิตเรสํเยว โหตฯิ สเจ ปุริมิกาย อุปคตา จตฺตาโร วา โหนฺ ติ ตโย วา ทฺเว วา เอโก วา อิตเร คณปูรเก กตฺวา กถินํ อตฺถริตพฺพํฯ อถ จตฺตาโร ภิกฺขู อุปคตา เอโก ปริปุณฺณวสฺโส สามเณโร โส เจ ปจฺฉิมิกาย อปุ สมฺปชชฺ ติ คณปูรโก เจว โหติ อานิสํสญฺจ ลภติฯ ตโย ภิกฺขู ทฺเว สามเณ รา ทฺเว ภิกฺขู ตโย สามเณรา เอโก ภิกฺขุ จตฺตาโร สามเณราติ เอตฺถาปิ เอ เสว นโยฯ สเจ ปุริมิกาย อุปคตา กถินตฺถารกุสลา น โหนฺติ อตฺถารกุสลา ขนฺธกภาณกเถรา ปริเยสิตฺวา อาเนตพฺพา. กมฺมวาจํ สาเวตฺวา กถินํ อตฺถ ราเปตวฺ า ทานญจฺ ภญุ ชฺ ิตฺวา คมิสฺสนตฺ ิ. อานิสํโส ปน อิตเรสเํ ยว โหติฯ กถนิ ํ เกน ทนิ นฺ ํ วฏฏฺ ติ? เยน เกนจิ เทเวน วา มนสุ เฺ สน วา ปญฺจนฺนํ วา สหธมฺมิกานํ อญฺญตเรน ทินฺนํ วฏฺฏติฯ ๓๖๒ สมนั ตปาสาทิกา ภาค ๑, หนา้ ๕๑๖. ๓๖๓ สมนั ตปาสาทกิ า ภาค ๒, หน้า ๔๕๐.

๔๕๗ ในอรรถกามหาปจ๎ จรี ท่านแก้ไว้ว่า “ถามว่า การกรานกฐินใครได้ ใคร ไมไ่ ด้ ตอบวา่ ดว้ ยอาํ นาจจํานวนก่อน อย่างตา่ํ ทสี่ ุด ภิกษุ ๕ รูปยอ่ มได้ อยา่ งสงู สดุ แม้ตั้ง แสนรูปย่อมได้ ตํ่ากว่า ๕ รูปลงมา ย่อมไม่ได้ ว่าด้วยอํานาจภิกษุผู้อยู่จําพรรษา พวก ภกิ ษผุ เู้ ขา้ จาํ พรรษาตน้ ปวารณาในวนั ปวารณาต้นย่อมได้ พวกภิกษุผู้มีพรรษาขาด หรือ พวกภิกษุผอู้ ยจู่ าํ พรรษาหลังย่อมไม่ได้ แม้พวกภิกษุผู้อยู่จําพรรษาในวิหารอ่ืนก็ไม่ได้”ฯ ภิกษุทุกรูป [ผู้อยู่จําพรรษาหลัง] เป๐นคณะปูรณกะของพวกภิกษุผู้อยู่จําพรรษาต้น แต่ พวกเธอไม่ไดอ้ านสิ งส์ อานสิ งสย์ อ่ มเปน๐ ของพวกภิกษนุ อกนี้ [ผู้อยู่จําพรรษาต้น] เท่าน้ัน ฯ ถ้าพวกภิกษุผู้อยู่จําพรรษาต้นมี ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป หรือรูปเดียว พึงนิมนต์พวกภิกษุ นอกนี้มาเป๐นคณปูรณกะแล้วกรานกฐิน ถ้าภิกษุผู้อยู่จําพรรษาต้นมี ๔ รูป สามเณรผู้มี อายุครบบวชรูปหน่ึง ถ้าเธออุปสมบทในวันเข้าพรรษาหลัง เธอจัดเป๐นคณปูรกะและได้ อานิสงส์ด้วย แม้ในคําว่า มีภิกษุ ๓ รูป สามเณร ๒ รูป, มีภิกษุ ๒ รูป สามเณร ๓ รูป, ภิกษรุ ปู เดียว สามเณร ๔ รูป กน็ ัยน้ีเหมอื นกนั ถา้ พวกภิกษุผู้อยู่จําพรรษาต้นไม่ฉลาดใน การกรานกฐิน ควรหาพวกพระเถระผู้กล่าวขันธกะท่ีชํานาญการกรานกฐิน ท่านจักสอน สวดกรรมวาจา แนะให้กรานกฐินและรับทานแล้วก็ไป ส่วนอานิสงส์ก็ยังเป๐นของภิกษุ นอกน้ีอยู่น่นั เอง ถามวา่ ใครถวายกฐนิ ยอ่ มควร ตอบว่า ผ้ใู ดผหู้ นึ่ง จะเปน๐ เทวดา มนุษย์ หรือสหธรรมิก ๕ จาํ พวก คนใดคน หนึง่ ก็ตาม ถวายยอ่ มควร๓๖๔ สยามูปทสมั ปทา สยามปู ทสมั ปทา๓๖๕ เปน๐ จุดหมายเหตุเร่ืองประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ ในลังกาทวีป เป๐นผลงานของสทิ ธารถะ พทุ ธรกั ขิตเถระ แห่งวัดบุปผาราม เมือง ศิริวัฒน บุรี ซึ่งป๎จจุบันเรียกว่า เมืองแคนดี ท่านเป๐นสัทธิวิหาริกของพระสังฆราชสรณังกร ซึ่ง ได้รบั อปุ สมบทจากพระอุบาลี โดยแตง่ ไวเ้ ปน๐ ภาษาสงิ หฬ เม่ือ พ.ศ.๒๓๑๙ หนงั สือเรื่องนี้ พระยาอรรถการประสิทธ์ิ [วลิ เลียม แอลเปรต คุณะดิลก] ได้ แปลออกมาเป๐นภาษาองั กฤษให้ช่ือว่า Syâmûpadasampadâ ต่อมากรมศิลปากรจึงได้ จัดใหม้ กี ารแปลขึ้น โดยใชต้ น้ ฉบับจากภาษาองั กฤษ ผ้แู ปลคอื นางสาวนันทนา สตุ กุล ๓๖๔ สมนั ตปาสาทิกา ภาค ๓, หน้า ๒๔๐. ๓๖๕ สิทธารถะ พทุ ธรกั ขิต, สยามูปทสมั ปทา, นันทนา สุตกุล ผู้แปล, พิมพ์ในงานฌาปนกิจ ศพ นางย้มิ บัวทรัพย์, [พระนคร: มติ รนราการพมิ พ์, ๒๕๐๙], ๕๗ หนา้ .

๔๕๘ เน้อื หาพรรณนาศาสนวงศ์ในลังกา ตั้งแต่ต้นจนถึงยุคเส่ือม และการสูญสิ้น สมณวงศ์ กษัตริย์ลงั กาจึงได้ส่งสมณทูตมาขอพระสงฆ์สยามวงศ์ออกไปให้การอุปสมบท ประดิษฐานสังฆมณฑลให้กลับมีขึ้นในลังกาทวีปดังเดิม โดยก่อนพรรณนาถึงเน้ือหา ดังกล่าวข้างต้น ผู้เขียนได้ท้าวความถึงพระพุทธเจ้าของเราเม่ือคร้ังเสวยพระชาติเป๐น สเุ มธดาบส ได้บาํ เพญ็ บารมใี นพระศาสนาของพระพุทธเจา้ พระนามว่าทีป๎งกร และได้รับ การพยากรณ์เป๐นพระพุทธเจ้าในอนาคต กระทั่งได้เสวยชาติเป๐นพระเวสสันดร และได้ บําเพ็ญบารมี จุติจากอัตภาพน้ันแล้วไปบังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิต เสวยทิพยสุขอยู่ ๕๗๖ ล้านปี ต่อแตน่ ัน้ จงึ ไดร้ ับอาราธนามากาํ เนดิ ในพระครรภข์ องพระนางสิริมหามายา ต่อมา ได้ออกบวชบําเพ็ญสมณธรรม กระทังได้ตรัสรู้เป๐นพระพุทธเจ้า เม่ือตรัสรู้แล้ว ก็ได้ บาํ เพ็ญพทุ ธกจิ อยู่ ๔๕ ปี ในวนั ที่พระพทุ ธเจ้าปรนิ พิ พาน พระเจา้ วิชัยที่ ๑ กับทหาร ๗๐๐ คน ได้ขึ้น บกที่เกาะลังกา ทําลายพวกยักษ์ แลว้ ขึน้ ครองราชสมบตั ทิ กี่ รงุ ตัมเมนนะเป๐นเวลา ๓๘ ปี ต่อมาถึงรัชกาลของพระเจา้ อุปดิส, พระเจา้ ปณ๎ ฑวุ าส, พระเจา้ อภัย, พระเจ้าป๎ณฑุกาภัย, และพระเจ้ามุตสิวะตามลําดับ ภายหลังส้ินแผ่นดินกษัตริย์ ๖ พระองค์น้ีแล้ว พระเจ้า แผ่นดินองค์ท่ี ๗ ทรงพระนามว่า เทวานัมปิยดิส ทรงครองราชสมบัติในแผ่นดินลังกา นบั เปน๐ ปที ี่ ๒๓๖ หลงั จากพุทธปรินิพพาน และเป๐นปีที่ ๑๘ ที่พระเจ้าอโศกครองราชใน ชมพทู วปี จากน้นั พระมหินทร์ก็ได้เดินทางมาประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลงั กาทวีป ถัดจากพระเจ้าเทวานัมปิยดิส มีพระเจ้าแผ่นดินสืบต่ออีก ๑๗ พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าอุตติยะ, พระเจ้ามหาสิวะ, พระเจ้าสุรดิส, พระเจ้าอัสสริยะ, พระเจ้าอเส ละ, พระเจ้าเอฬาระ, พระเจ้ามหานารทะ, พระเจ้ายัตลดิส, พระเจ้าโคฬุอภา, พระเจ้า กาวรรณดสิ , พระเจ้าทุฏฐคามนิ ี, พระเจ้าสัทธาดิส, พระเจ้าถูลถนกะ, พระเจ้าเลมณีดิส, พระเจ้ากาลุนนะ, และพระเจา้ แผ่นดนิ ทเ่ี ป๐นทมฬิ อีก ๕ พระองค์ ถดั จากน้ันจึงมาถึงพระ เจ้าวัฏฏคามินีอภัย ซ่ึงหลังจากครองราชย์ได้ ๕ เดือน ก็เกิดสังครามกับพวกทมิฬ พระ เจ้าวัฏฏคามินีแพ้ จึงหนีเข้าปุาไป ถัดจากน้ันอีก ๑๔ ปี ๗ เดือน พระเจ้าวัฏฏคามินีได้ รวบรวมกองทพั ได้ จึงไดท้ ําลายล้างพวกทมฬิ รวมอาณาจกั รเป๐นอนั หน่งึ อันเดียวกนั พระเจ้าวัฏฏคามินี ทรงร้ืออาศมของดาบสชื่อคิรี จากน้ันทรงสร้างวัดข้ึน แห่งหนึ่ง พระราชทานนามว่า วัดอภัยคิรี แล้วน้อมถวายแด่พระติสสะ ซึ่งได้ช่วยเหลือ เกื้อกูลพระองค์มา ต่อมาพระสงฆ์แห่งมหาวิหารได้ประชุม และกล่าวโทษพระติสสะว่า เขา้ ไปคลกุ คลกี ับคฤหัสถ์ พรอ้ มท้งั ลงปพ๎ พาชนียกรรม ภิกษุหนุ่มรูปหน่ึงชื่อมหาเทลิยดิส ไดค้ ดั ค้าน บรรดาสงฆ์ในมหาวิหารจึงได้ลงอุกเขปนีย กรรม เพราะเข้าข้างคนผิด ทําให้ มหาเทลิยดิสเกิดความแคน้ จึงยุสงฆ์ประมาณ ๕๐๐ รูปให้แตกกัน บางรูปก็แยกไปอยู่ที่

๔๕๙ อภยั คริ ีวหิ าร ต่อมามภี กิ ษรุ ปู หนงึ่ ซง่ึ เปน๐ ศษิ ยข์ องพระธรรมรุจิ อาจารีแห่งวัชชีบุตรนิกาย จากวัดป๎ลลรารามวิหารในชมพทู วีปเดนิ ทางมาหาพระเทลยิ ดิส ทา่ นจึงยอมรบั นับถือวินัย ของนกิ ายนน้ั และใชฉ้ ายาของตนวา่ ธรรมรจุ อิ าจารี แต่นน้ั มาคณะสงฆ์ฝาุ ยอภัยคิรีวิหาร ก็เปน๐ ทร่ี ู้จักวา่ เป๐นธรรมรุจินิกาย เม่ือสิ้นรัชกาลของพระเจ้าวัฏคามินีแล้ว ก็มาถึงรัชกาลของพระเจ้ามหาเท ลิยดิส, พระเจ้าโจรนาค, พระเจ้ากุทะดิส, พลัตสิวะ, วฏุกะ, นีลยปุโรหิต, วาสุกิยะ, ไว ลาดสิ , พระนางอนุลา, พระเจ้ามะกาลันดิส, พระเจ้าตาติยะ, พระเจ้ามหาเทลิยะ, พระ เจ้าอฑคามิน,ี พระเจ้ากณิ ิหริ ิเทละ, พระเจา้ กุทะ อภา, พระนางสงิ หะวัลลี, พระเจ้าเอลุน นะ, พระเจ้าจันทมุชนุ, พระเจ้ายสสิลู, พระเจ้าสุขะพาลตะ, พระเจ้าวสภะ, พระเจ้า วักเนดสิ , พระเจ้าคชพาหุ, พระเจ้ามหาลูมะตะ, พระเจ้าภาติยดิส, พระเจ้าจูฬุดิส, พระ เจ้ากุหนั นะ, พระเจา้ กฑุ นะ, พระเจา้ กุฑสริ นิ า หลังจากพระเจา้ แผ่นดนิ ท้งั ๒๙ พระองคแ์ ล้ว พระเจา้ วยาวะหารดิสก็ได้ข้ึน ครองราชเป๐นพระเจ้าแผ่นดินปกครองประเทศ นับจากพุทธปรินิพพานได้ ๗๕๒ ปี ๔ เดือน ๑๐ วนั ในรัชสมัยน้เี อง พระภิกษุแห่งวัดอภัยคิรวี หิ าร ได้ยอมรับเอาไวตุลยานปิฎก มาใช้ ซ่ึงปฎิ กนี้ พราหมณ์ชือ่ ไวตลยะซ่ึงปลอมนุ่งหม่ ผา้ กาสาวพัตรเพื่อมุ่งทําลายล้างพระ ศาสนา ได้เขียนข้ึนมาในสมัยพระเจ้าธรรมาโศก พระเจ้าวยาวะหารดิสทราบเร่ืองจึงให้ ชําระและตรวจสอบ เม่ือเห็นว่าไม่ใช่พุทธพจน์ จึงรับสั่งให้เผาทิ้ง แล้วสึกบรรดาสงฆ์ อลัชชีทีถ่ ือลทั ธดิ ังกล่าวทงั้ หมด ความพรรณนาเหตุการณ์การเปล่ียนแปลงรัชกาลต่างๆ ท่ีปกครองลังกา และเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขนึ้ ในพระพุทธศาสนาเรื่อยมาโดยลาํ ดับ ซึ่งมีทั้งยุคที่รุ่งเรือง และยุค ท่ีถูกบ่อนทําลายท้ังจากภิกษุผู้เป๐นอลัชชี รวมถึงลัทธิภายนอก ความพรรณนาเร่ือยมา กระทั่งถึง พ.ศ.๒๐๕๔ พระเจ้าวิมลธรรมสุริยะท่ี ๑ ได้ข้ึนครองราช และทรงตระหนัก เห็นว่า ในลังกาไม่มีจํานวนสงฆ์อุปสมบทเพียงพอ จึงส่งทูตไปขอพระภิกษุจากพระเจ้า แผ่นดินเมืองยะไข่ ต่อมารัชสมัยของพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงหะจึงได้มีการส่งทูตไ ปขอ พระสงฆจ์ ากอยธุ ยาเพอ่ื ช่วยฟ๒นื ฟูพระพทุ ธศาสนาครัง้ ท่ี ๑ ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้ากิ รติศิริราชสิงหะ ก้ได้มีการส่งทูตมาขอพระสงฆ์ท่ีอยุธยา นับเป๐นครั้งท่ี ๒ ซ่ึงพระเถระที่ ไดร้ บั การส่งไปลังกาครั้งนี้ ประกอบด้วยพระอุบาลี, พระอารยะมุณี พระมหานามเถระ พระโพรมโชติ พระมหาปุญญะ พระจันทสร พระสรดั วันทะ และพระมณโี ชติ รวมท้งั ๑๘ รปู สามเณรอกี ๗ รปู ความมาส้ินสุดด้วยข้อความว่า

๔๖๐ วนั จันทร์ นบั ตามดิถจี นั ทรคติ ๒ ค่าํ แหง่ เดอื น ๑๑ ในปีมหาศกั ราช ๑๖๘๖ อนั มีฉายาวา่ ตรณุ ะ ซงึ่ เป๐นปีท่ี ๑๘ ในพรหมนักษัตร อันเป๐นปีท่ี ๑๒ แห่งการอุปสมบท ของพระสังฆราชสรณังกร พระเจ้ากิรติศรีราชสิงหะ เจ้าแผ่นดินลังกา รวมทั้งเหล่า อํามาตย์ข้าราชบริพารทั้งหลาย ได้จัดให้มีการอุปสมบทโดยพระสงฆ์ลังกาข้ึน พิธี อปุ สมบทดงั กล่าวกระทาํ กันอย่างใหญโ่ ตมโหฬาร๓๖๖ ลาดับกษัตริย์ที่ปกครองในลังกา [จานวน ๑๕๙ องค์ นับถึงต้ังแต่ ยุค แรกเรม่ิ -พ.ศ.๒๐๕๔] และเหตุการณส์ าคัญเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา - พระเจา้ ชยั ท่ี ๑ พระเจ้าวิชัยกับทหาร ๗๐๐ คน ขึ้นบกบน เกาะลังกา ปราบยกั ษ์ แล้วขึ้นครองราชสมบัติที่กรงุ ตมั เมนนะ เปน๐ ระยะเวลา ๓๘ ปี - พระเจ้าอปุ ดิส - พระเจา้ ปณ๎ ฑุวาส - พระเจา้ อภยั - พระเจา้ ปณ๎ ฑกุ าภยั - พระเจ้ามตุ สวิ ะ - พระเจา้ เทวานัมปิยดสิ พระมหินทร์เถระ ซึ่งเป๐นพระราชโอรสของ พระเจ้าอโศกเดนิ ทางมาประกาศศาสนาในเกาะลังกา ภายหลงั พทุ ธปรนิ ิพพาน ๒๓๖ ปี - พระเจา้ อตุ ตยิ ะ - พระเจ้ามหาสิวะ - พระเจ้าสรุ ดิส - พระเจา้ อสั สรยิ ะ - พระเจ้าอเสละ - พระเจ้าเอฬาระ - พระเจ้ามหานารทะ - พระเจ้ายตั ลดิส - พระเจา้ โคฬุอภา - พระเจา้ กาวรรณดิส - พระเจา้ ทฏุ ฐคามินี - พระเจ้าสทั ธาดสิ - พระเจ้าถูลถนกะ ๓๖๖ สิทธารถะ พุทธรกั ขิต, สยามูปทสมั ปทา, นนั ทนา สตุ กุล ผู้แปล, หนา้ ๕๗.

๔๖๑ - พระเจ้าเลมณีดสิ - พระเจา้ กาลนุ นะ - พระเจา้ แผ่นดินที่เปน๐ ทมิฬ ๕ พระองค์ - พระเจ้าวัฏฏาคมินีอภัย หลังพุทธปรินิพพานแล้ว ๔๓๙ ปี ๙ เดือน ๑๐ วนั ทรงทาํ สงครามกับขนุ พลทมิฬ ๗ คน ซึง่ มาจากต่างเมือง แต่ทรงพ่ายแพ้ จึงถอย หนีเข้าปาุ ไป, พระอรหนั ต์ ๕๐๐ รูป ประชมุ ณ อลวุ หิ ารในแควน้ มาตุละ ได้ทําสังคายนา พระไตรปิฎก และจารเป๐นตัวอักษร เวลาผ่านไป ๑๔ ปี ๗ เดือน จึงทรงรวบกอบทัพ สงิ หล ทําลายล้างพวกทมิฬ รวมอาณาจกั รเปน๐ หน่งึ เดยี วได้อีกครั้ง และทรงสร้างอภัยคิรี วิหารถวายพระตสิ สะ ทาํ ให้ภิกษสุ ํานักมหาวิหารกล่าวโทษว่า คลุกคลีกับคฤหัสถ์ และได้ ลงปพ๎ พาชนยี กรรม นําไปสูก่ ารแตกนกิ าย - พระเจา้ มหาเทลิยดสิ - พระเจา้ โจรนาค - พระเจ้ากทุ ะดสิ - พลตั สวิ ะ - วฏกุ ะ - นลี ิยปุโรหติ - วาสุกิยะ - ไวลาดสิ - พระนางอนลุ า - พระเจ้ามะกาลันดิส - พระเจ้าภาตยิ ะ - พระเจ้ามหาเทลิยะ - พระเจ้าอฑคามนิ ี - พระเจา้ กณิ ิริหริ ิเทละ - พระเจา้ กทุ ะ อภา - พระนางสงิ หวลั ลี - พระเจา้ เอลุนนะ - พระเจา้ จนั ทมุชนุ - พระเจ้ายสสิลู - พระเจ้าสขุ ะพาลตะ - พระเจ้าวสภะ

๔๖๒ - พระเจา้ วักเนดิส - พระเจ้าคชพาหุ - พระเจา้ มหาลูมะตะ - พระเจ้าภาติยดิส - พระเจ้าจฬู ดุ ลิ - พระเจา้ กุหันนะ - พระเจา้ กฑุ นะ - พระเจ้ากุฑสิรนิ า - พระเจา้ วยาวะหารดิส เป๐นกษัตริย์ผู้แตกฉานในกฎหมายและพระ ศาสนา ภกิ ษอุ ภยั คริ วี หิ ารประกาศยอมรับเอาไวตุลยานปิฎก ซึ่งพราหมณ์ไวตุลยะปลอม บวชเพอ่ื มุ่งทําลายพระพุทธศาสนาเขียนเอาไว้สมัยพระเจ้าอโศก พระเจ้าวยาวะหารดิส จงึ ทรงให้ตรวจสอบ ชาํ ระใหถ้ ูกตอ้ ง เหน็ ว่าไม่ใชพ่ ระพุทธพจน์ จงึ รับสงั่ ใหเ้ ผาทําลาย - พระเจ้าอภยั ดสิ - พระเจ้าศริ ินาคะ - พระเจา้ วิชยนิ ฑุ [พระเจา้ วิชยั ที่ ๒] - พระเจา้ สงั ฆดิส - พระเจา้ เทเหมิ - พระเจ้าศริ สิ งั ฆโพธ์ิ - พระเจ้าโคฐาภยะ [พระเจ้าโคฬุอภา] ปีท่ี ๔ แห่งสมัยนี้ เหล่าสงฆ์ อลัชชีแห่งอภัยคิรีวิหารกลับมาถือลัทธิไวตุลยาน พระมหาเถระอุสสิลิยะดิสจึงพาสงฆ์ ๓๐๐ รูป แยกออกจากนิกายธรรมรุจิไปอยู่ท่ีสํานักทักษิณาคิรีวิหาร ต่อมากําเนิดนิกาย สาคลยิ ะในทกั ษิณาคริ วี ิหารตามชื่อของพระมหาเถระองค์หนึ่ง ซ่ึงพํานักอยู่ท่ีทักษิณาคิรี วหิ าร และแสดงหลักพระศาสนาจนมลี กู ศษิ ย์นับถือจํานวนมาก มีการประชุมชําระ และ ลงมตวิ า่ ไวตลุ ยานไม่ใชพ่ ระพทุ ธพจน์ และจับสงฆ์ ๖๐ รปู ทน่ี บั ถือนกิ ายนีส้ ักเคร่ืองหมาย บนร่างกาย และขบั ออกจากประเทศ ภกิ ษุ ๖๐ รปู บางรปู ไปตั้งถน่ิ ฐานอยใู่ นเมืองกะวีรา มีมิจฉาทิฏฐิคนหนึ่งเลื่อมใส ขอบวชรู้จักในเวลาต่อมาว่า พระสังฆมิตร คร้ันต่อมาเห็น รอยสักท่หี ลังภิกษเุ หลา่ นน้ั กท็ ราบความทั้งหมด จึงได้อาสาดําเนนิ การใหน้ ิกายไวตุลยาน ไดร้ บั ความเคารพเชอ่ื ถือ - พระเจ้าเชษฐดสิ - พระเจา้ มหาเสน ทรงเชื่อการปลุกป๑๎นของพระสังฆมิตร ออก ประกาศพระราชกฤษฎีการห้ามทําบุญแก่พระสงฆ์วัดมหาวิหาร หากฝุาฝืนมีโทษปรับ

๔๖๓ ๑๐๐ อนั ทาํ ใหภ้ กิ ษุผูเ้ คร่งครัดวนิ ยั ได้รับความลําบาก ต้องทิ้งวัดไปอยู่ท่ีรหุ ุนุรัตบ้าง พวก กลุม่ ไปอยูท่ ี่แดนมาลยั พระสงั ฆมติ รไดโ้ อกาส จงึ สมคบกับเสนาบดีช่อื โสนะ รื้อถอน ทาํ ลายวัด สํานัก สงฆร์ วม ๓๖๔ วัด รวมท้งั วัดโลวมหาปายะ [โลหปราสาท] ภายหลังพระเจ้ามหาเสนะ ได้รับการชัก จูงไปในทางดีงามจากเสนาบดีผู้ซ่ือสัตย์ชื่อเมฆวรรณอภัย จึงทรงสร้างวิหารข้ึนมาใหม่ แล้วนิมนต์ พระสงฆ์ทหี่ นีไปกลบั คนื มา ทรงสง่ ช่างไม้คนหนึ่งไปตัดศีรษะพระสังฆมิตร นําคัมภีร์ไวตุลยานมาเผา ไฟท้ิง แม้เสนาบดีชือ่ โสนะก็ถูกฆ่าท้ิง ทรงสร้างเทนานกวิหารถวายพระมหาเถระโกหนดิส ผู้ ทุศีลแห่งวัดทักษิณาคิรีวิหาร ด้วยทรงเข้าใจผิด ทําให้ได้รับการคัดค้านจากสํานักมหา วิหาร เพราะวิหารท่ที รงใหส้ ร้างน้นั อยบู่ นพ้ืนที่ของวัดมหาวหิ าร พระเจา้ มหาเสน รับสั่งให้รื้อปาู ยวดั มหาวิหารออก พระภิกษุหลบไปอยู่ อุโมงค์ ส่วนท่ีเหลือก็เล็ดลอดหนีไปจากอาราม สามเณรผู้มีฤทธ์ิรูปหน่ึงเห็นเช่นน้ี จึง แปลงเป๐นรากษสถือกระบองจะทําร้ายภิกษุวัดเทนานกวิหาร ต่างรูปต่างหนีกระจัด กระจาย พระเจ้ามหาเสนต้องการระงับเหตุ จึงถามรากษสว่าจะทําให้เร่ืองสงบลงได้ อยา่ งไร สามเณรในรา่ งรากษสกบ็ อกอบุ ายให้ไปนมิ นตค์ ณะสงฆ์วดั มหาวิหารมาแกไ้ ข ยุคน้ีมีเรื่องราวการประพฤติเสียทําให้เกิดป๎ญหาในพระศาสนาข้ึน บอ่ ยครงั้ และดาํ เนนิ ไปเรื่อยจนถงึ รชั สมัยของพระเจา้ อนุปเหรัณ สลเมวรรณ - พระเอนปุ เหรัณ สลเมวรรณ นกิ ายไวตุลยานกลบั มากอ่ กาํ เนดิ อีก ครัง้ - พระเจ้าเกยี รตศิ ริ เิ มวรรณ - พระเจ้าเชษฐดสิ - พระเจ้าพชุ สั ราชา [พทุ ธทาษ] - พระเจา้ อปุ ดิส - พระเจา้ มหานาม พระพุทธโฆสาจารย์ ได้เดินทางมาจากชมพู ทวีปเพอ่ื แปลอรรถกถา ทําใหค้ มั ภีร์พระพุทธศาสนาเฟอ๑ื งฟใู นยคุ นี้เป๐นอยา่ งมาก - พระเจ้าสงั โคตราชา [โสตถเิ สน] - พระเจ้าเลเมนิดสิ [ลชั ชดี สิ ที่ ๒] - พระเจา้ มิตเสนราชา - กษตั ริย์ทมฬิ ๖ องค์ - พระเจ้าทะเสนกาลิ - พระเจา้ สคิ ริ ิกสั สปะ - พระเจา้ มุคลนั ราชา - พระเจา้ กุมารธาตุ

๔๖๔ - พระเจา้ เกียรตเิ สน - พระเจ้าเมทสิ วิ รุ าชา - พระเจ้าเลเมนิอุปดิส - พระเจา้ อนุปเหรัณ สลเมวรรณ ประมาณ พ.ศ. ๑๐๘๘ พ่อค้าผู้หนึ่ง ชือ่ ปูรณะ เดินทางไปแควน้ กาสี ไดห้ นงั สอื อธบิ ายหลกั ลัทธไิ วตุลยานมาเล่มหนี่ง คิดว่าว่า ดีงาม จึงนํามาลังกา และถวายหนังสือเล่มนั้นแด่พระเจ้าแผ่นดินๆ ขาดป๎ญหาแยกไม่ ออก จึงตรัสสงั่ ให้สงฆ์ทั้งหลายนับถือคัมภีร์นั้น สงฆ์ท่ีรู้ความเป๐นมาโดยเฉพาะคณะสงฆ์ มหาวิหาร ก็รังเกียจไม่สู้เต็มใจ แต่ผู้ที่ยังใหม่ไม่รู้ก็แสดงความเลื่อมใสถือตามคัมภีร์นั้น ตอ่ มาได้อาศัยพระโชตปิ าละเดินทางมาจากชมพทู วีปมาชี้แจงใหเ้ หน็ ขอ้ เท็จจริง เม่ือพระเจ้าแผน่ ดินสวรรคตแล้ว สงฆ์ที่นับถือลัทธิไวตุลยานได้ถูกปรับ ลดบทบาทลงให้มาอย่ภู ายใต้การปกครองของสงฆ์สาํ นกั มหาวหิ าร รวมลทั ธิไวตุลยานเข้า มาสู่ลงั กา ๔ ครัง้ - พระเจ้าทาปุลุเสนราชา - พระเจ้าทลมุกลนั - พระเจ้ากทุ ากติ สริ เิ มวรรณ - พระเจา้ เสเนวมิ หนราชา - พระเจ้าเลเมนิสงิ คานา - พระเจา้ อัครโพธิ มีนักปราชญ์ผู้มีชื่อเสียงเกิดขึ้น ๑๒ ท่าน ประกอบดว้ ย สกั ทมล, อสักทมละ, เทมิ, เพมิริ, ทลพิส, เจ้าชายอนุรุท, เจ้าชายทลโคต, เจา้ ชายทลสะละ, เจ้าชายกิตสิริ, เจ้าชายปุรวท,ุ สรู ยิ พาหุ, และ กสป โอตา เอปา - พระเจ้ากทุ า อกั โพราชา - พระเจา้ สังฆดสิ - พระเจา้ เลเมนโี พนะ - พระเจ้าอสคิ คหกะ - พระเจา้ สิรสงั คโพ - พระเจา้ เลเมนกิ ตสุ ระ - พระเจา้ ทลปดิส - พระเจ้าเปสุลกุ ะสพุ ุ - พระเจ้าทปลุ รุ าชา - พระเจ้าเลเมนทิ ลปดิส - พระเจ้าเปสลุ สิริสังคโพ

๔๖๕ - พระเจ้าวลั ปิติวะสทิ ัตตะ - พระเจ้าหุนนั นรรุ ยิ ันทล - พระเจ้ามหาเลปโน - พระเจา้ อัครโพธิ - พระเจ้าสุลุกะสุพุ - พระเจ้าเปสลุ ุ อคั โพ - พระเจา้ อภัยราชา - พระเจา้ โสมหิ ินทุ - พระเจา้ เมทอิ ักโพ - พระเจา้ กฑุ า ทาปลุ ุ - พระเจา้ เปสลุ ุ อกั โพ - พระเจ้ามตั วละเสน ข้ึนครองราชย์ พ.ศ.๑๓๖๓ รัชกาลของ พระองค์มีนักบวชนกิ ายวชิรปรวตั เดนิ ทางมาจากชมพทู วปี นําเอาทองคํา ๑๕ กะลัน [๑ กะลนั เท่ากับ ๑/๑๒ ออนซ์] มาเป๐นของกํานัลแก่คนครัวของพระเจ้าแผ่นดิน แล้วให้ร้อง เพลงขับสรรเสรญิ ลทั ธถิ วายแดพ่ ระราชา เมื่อพระราชาสดบั เรอ่ื งราว จงึ ไดเ้ ข้าไปหา และ ทรงเลื่อมใสในลทั ธผิ ิดน้ี ทาํ ให้ต้องเสยี เมืองแกพ่ วกทมฬิ ตวั พระองคเ์ องหนีไปลงโปลนนา รวุ ะ และสวรรคตทน่ี นั่ - พระเจ้ามงุ คยนิ เสน เอาชนะพวกทมิฬได้ ทรงปฏิสังขรณ์วัดโลวม หาปายะ ทรงวางข้อปฏบิ ัตสิ ําหรบั ๓ นกิ าย และปรบั ข้อปฏิบตั ินนั้ ๆ ใหเ้ ขา้ รูปศาสนา ท้ัง วางยามไวร้ อบฝง๑๎ ทะเลเพอื่ ปอู งกันมใิ หส้ งฆป์ ลอมเลด็ ลอดเข้ามาในลังกาได้ ตรัสส่ังให้จับ ภิกษุนุ่งผ้าสีคราม และที่ถือคัมภีร์นิลปฏทรรศนะโยนเข้าไปที่บ้านหลังหนึ่งแล้วจุดไฟ คลอกเสยี หนรี อดไปได้เพยี ง ๒-๓ รูปเท่านั้น - พระเจา้ อุทราช - พระเจา้ กสุปราช - พระเจ้าเปสุลุกะสพุ ุ - พระเจ้าทาปลุ ะราช - พระเจ้ากฑุ าทปลุ ุราช - พระเจ้าอทุ ยั ราช - พระเจา้ เสนราช - พระเจ้าอทุ มหราช - พระเจา้ เปสุลเุ สนราช

๔๖๖ - พระเจา้ เมทิเสนราช - พระเจา้ กุทามิเทลราช - พระเจา้ สลเมวรรณราช - พระเจา้ มหิ ินทุราช - พระเจา้ วกิ รมพาหุราช - พระเจ้ามหาเลราช - พระเจา้ วิกรมปณ๎ ฑริ าช - พระเจ้าชคติปาละ - พระเจ้าปรักรมปณ๎ ฑิ - พระเจ้าโลเกศวรเสเนวิ - พระเจา้ มหาฬวุ ิชัยพาหุ ทรงทําลายล้างทมิฬ ทรงแสวงหาพระสงฆ์ท่ี รักษาวินัยได้ถูกต้องให้ได้ครบ ๕ รูป เพ่ือฟื๒นฟูพระศาสนาให้บริสุทธิ์ ทรงเครื่อง บรรณาการไปยงั แว่นแคว้นต่างๆ และทรงได้รับพระสงฆ์ผู้ใหญ่ ๒๐ รูป กับคัมภีร์หลาย เล่มจากประเทศอารมนะ ทรงอุปถัมภ์การอุปสมบทภิกษุในลังกา ๑,๐๐๐ รูป ทรง เผยแพรพ่ ระศาสนาอยา่ งกวา้ งขวาง - พระเจ้าชยั พาหุ - พระเจ้าวิกรมพาหุ - พระเจ้าคชพาหุ - พระเจ้าศรสี ังฆโพธิ ศรีปรากรมพาหุ ทรงสร้างอารามใหญ่ๆ ใน เมืองโปลนนนารุวะ เช่น วัดปุรวาราม, วัดทักษิณาราม, วัดป๎จฉิมาราม, วัดอุตตราราม, วัดกบิลพัสตุ, วัออิสิปตนะ, วัดกุสินาราราม, วุดเวฬุวนาราม, วัดเชตวนาราม, วัดลังกา ตลิ ก, วัดตริวันกะ, วัดเอตุพเลนะ แล้วจัดให้บรรดาพระสงฆ์ผู้เหมาะสมหลายพันรูปเข้า พาํ นกั ในพระอารามเหล่าน้ี ทรงสร้างกุฏิ ๓๖๐ หมู่ พระราชทานช่ือเพ่ือเป๐นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ คร้งั ละหลงั ๆ ไดแ้ ก่ สุตรุราชเจลกุฬานตกะ, อุทธตราชนิมูละ, นิรลาชชิมาธนยะ, ทุรนิติ วารณะ, ประกุตัคนะ ปรกรุตัคนะ, สกลทิควิชัย, อนันตสมรสัพตรูปวิชัย, สรันคตวชิร บัญชร, ปรมันตรประเภท, วิกรมประตาปะ, อักลันกะ, สารวัสตรุสิโลมานิประกฤตยา, นุกฤตยนิสจัย, ปรราชโคธุรชาติ, นริหริเกรวรชหันสะ, ปรนาทิสโหทร, และอาริยราช เวสยภชุ ังคะ ทรงจัดภัตตาหารเลี้ยงพระสงฆ์ ๓,๗๐๐ รูปเป๐นนิจ ทรงสนพระทัยใน การชําระพระศาสนาให้บริสุทธิ์ จึงได้เสด็จไปหาบรรดาสงฆ์มาหวิหารนิกาย ซึ่งมีพระ

๔๖๗ มหากัสยปะเป๐นหัวหน้า แจ้งความประสงค์ให้ทราบ จากน้ันก็รับส่ังให้หาพระสงฆ์ ๓ นิกายคือ ธรรมรุจิ สังคลิยะ และไวตุลยานมารวมกัน และขับอลัชชีไปหมด ชําระพระ ศาสนาใหบ้ ริสทุ ธิท์ ้ัง ๓ นิกายให้สอดคล้องกัน พระเจ้าศรีปรากรมพาหุสวรรคตแล้ว พระศาสนาก็เรมิ่ เส่อื มถอยอกี - พระเจา้ บัณฑิตวชิ ยั พาหุ - พระเจ้ากลิ นิ เกสทามหิ นิ ทุ - พระเจา้ กิรตศิ ริ ินสิ สงั กะ - พระเจ้าวิระพาหุ - พระเจ้าวิกรมพาหุ - พระเจา้ โจฑะคญั คะ - พระนางลีลาวตี - พระเจ้าสหสมลั ละ - พระนางกลั ยาณวตี - พระเจา้ ธรรมาโศก - พระเจ้าอนิยังคณะ - พระนางลีลาวตี - พระเจา้ โลเกสวร - พระนางลลี าวตี - พระเจา้ ปรากรมปาณฑิ - พระเจ้ากาลิงควิชยั พาหุ [มาฆะ] - พระเจา้ วชิ ัยพาหุ ทรงสร้างมหาวหิ ารชอ่ื วสิ ัยสุนทราราม โปรด ให้ชุมนุมพระสงฆ์เพื่อทําสังคายนาจนเป๐นผลสําเร็จ ให้พระสงฆ์ถือปฏิบัติแบบเดียวกัน ไมม่ ีแตกแยกเหมือนยคุ ท่ีผ่านมา - พระเจ้าปัณฑติ ปรากรมพาหุ ทรงสร้างพระอารามงามสง่าข้ึนใน สถานท่ีต่างๆ เช่น ท่ีศรีวารธนปุระ และจัดจตุป๎จจัยอันมีผ้าไตร ภัตตาหาร เสนาสนะ และเคร่ืองดื่มถวายแด่สงฆ์ท้ังหลาย ทรงร่วมมือกับพระสงฆ์ทําการสังคายนาวาง หลกั เกณฑท์ ่ีแทจ้ ริงของพระศาสนาต่อหนา้ ทปี่ ระชุมสงฆ์ ทาํ พระศาสนาให้บริสุทธิ์ ขับไล่ พวกอลัชชี ต้ังกฏเกณฑ์สาํ หรับสอดส่องพระสงฆ์ทล่ี ะเลยวตั รปฏิบตั ิ ส่งเสริมพระสุปฏิบัติ เพื่อธํารงพระศาสนาให้อยู่ได้นานถึง ๕,๐๐๐ ปี ทรงสร้างมหาวิหารขึ้นหลังหนึ่ง พระราชทานนามวา่ พฏุ ะภตั ตเสละ แลว้ อาราธนาบรรดาสงฆ์ผทู้ รงคุณธรรมเข้ามาพํานัก อาศัย ทรงทํานบุ าํ รุงพระศาสนาตลอดรชั กาลของพระองค์

๔๖๘ - พระเจ้าโพสัตวิชัยพาหุ - พระเจา้ มหาภวู ไนกพาหุ - พระเจา้ ปรากรมพาหุ - พระเจา้ วถิมิ ภูวไนกพาหุ - พระเจ้าปณ๎ ฑิต ปรากรมพาหุ - พระเจ้าวณั ณิ ภูวเนกพาหุ - พระเจ้าวิชัยพาหุ - พระเจ้าภวู ไนยกพาหทุ ี่ ๔ ปีที่ ๔ แหง่ รัชกาลของพระองค์ และพุทธ ปรนิ ิพพานลว่ งแล้ว ๑๘๙๔ ปี เสนาบดชี ือ่ เสนาลางกาธกิ าร เสเนวิรัต เช้ือสายเมนวรวงศ์ ไดส้ ่งทรัพย์สมบัติจํานวนมากมาถวายพระเจ้าแผ่นดิน พร้อมทั้งให้สร้างปราสาทจําลอง ศิลาที่กาญจีปุระ ปราสาทจาํ ลอง ๓ ชัน้ ประดิษฐานพระพุทธรูปท่ีเทวนุวร และปราสาท จาํ ลองหลงั ใหญ่ ๑๘ ตารางศอกที่อักโพวิหาร สร้างพระอารามหลวงใหญ่ชื่อ อภินวลาง กาตลิ กบนยอดเขาปรณะไศละในเมืองสิทุรวานะ อนั เป๐นทด่ี ินบรรพบุรษุ ของตน - พระเจา้ ปรากรมพาหุ - พระเจ้าวิกรมพาหุ - พระเจ้าภไู นกพาหุท่ี ๕ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาจนถึงกาล พทุ ธปรนิ ิพพานได้ ๑๙๒๙ ปี - พระเจ้าวีระพาหุ ไม่ประมาท ทรงประกอบกุศล บริจาคข้าว ดอกไม้ และตะเกียงในนามพระพทุ ธเจา้ และพระองค์ไดท้ าํ อุปการะแก่ผู้แตกฉานในทาง ศาสนา ทรงยกหมู่บ้านปุาให้สําหรับพระสงฆ์เพ่ือเป๐นค่าป๎จจัย ๔ ทั้งยังทรงให้พระราช โอรสอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ทรงเป๐นกําลังสําคัญให้มีการชําระอลัชชี ความไม่ บรสิ ุทธ์ิของศาสนาต่างๆ โดยรว่ มมือจากสงฆ์ ๒ ฝุาย มที า่ นพระธรรมกริ ตเิ ป๐นหัวหนา้ - พระเจา้ ปรักกรมพาหุที่ ๖ - พระเจา้ ชัยพาหุท่ี ๒ - พระเจ้าภุวเนกพาหทุ ่ี ๖ - พระเจ้าปณ๎ ฑิตปรักกรมพาหุที่ ๗ - พระเจา้ วีระปรักกรมพาหทุ ่ี ๘ - พระเจา้ ธรรมปรักกรมพาหุที่ ๙ - พระเจา้ วิชยั พาหทุ ่ี ๗ - พระเจา้ ภูวเนกพาหุท่ี ๗ - พระเจ้ามายะทุนเน

๔๖๙ - พระเจ้าราชสงิ หะท่ี ๑ - พระเจา้ วิมลธรรม - พระเจา้ เสเนรัต - พระเจ้าราชสงิ หะท่ี ๒ - พระเจ้าวมิ ลธรรมสรุ ิยะท่ี ๒ - พระเจา้ ศรีวรี ะปรกั กรมนเรนทรสิงหะ - พระเจ้าศรวี ิชยั ราชสิงหะ - พระเจา้ กีรติศรรี าชสิงหะ - พระเจ้าวกิ รมพาหุ ทรงให้สร้างหอพระธาตุขึ้นทางทิศใต้ของ พระราชวงั และใหส้ รา้ งตกึ ๒ ชัน้ บทเสาหนิ เพ่อื ใช้เป๐นที่ปลงอาบัตแิ ละทําสังฆกรรมของ สงฆ์ ให้สร้างวัดต่างๆ รวม ๘๖ วัด ทรงอุปถัมภ์พระสงฆ์ ตรัสให้สาธยายพระธรรม ตลอดเวลา ๕๕ ราตรี โปรดให้ลอกพระไตรปิฎกไว้ ๓๐๐๐๐ ใบลาน สร้างพระพุทธรูป ๑๘๙ องค์ กล่องพระธาตุพระมาณ ๑๔๐ กล่อง เสด็จพระราชดําเนินด้วยพระบาทไป บชู าทศ่ี าสนสถานไมยนั คะนะ ให้สรา้ งบนั ใดหิน ๗๘๐ ขั้นที่เหระมิติปนะ ให้สร้างอาคาร เป๐นจํานวนมากท่ีท่าเกตัมเบ เพ่ือใช้ในการอุปสมบท ทรงถวายการอุปถัมภ์พระศาสนา อย่างยงิ่ - พระเจา้ ราชสงิ หะ ทรงกระทําปิตุฆาต นิมนต์พระสงฆ์มาตรัส ถามว่า ทาํ อยา่ งจะลา้ งบาปได้ เมอื่ พระสงฆถ์ วายวสิ ชั ชนาไปวา่ ไม่สามารถล้างบาปได้ จึง กริ้ว แตเ่ มื่อถามพราหมณ์สิไวตนกิ ายคนหนงึ่ พราหมณ์ก็ตอบเอาพระทัย ทําให้ทรงยินดี และนบั ถอื ศาสนานิกายสิไวตะ และทรงยกเลิกนับถือพระพุทธศาสนา ทรงทําลายคัมภีร์ และพระสงฆ์ ทําให้คมั ภีร์และหนังสอื สูญหายไปเป๐นจาํ นวนมาก - พระเจ้าวมิ ลธรรมสรุ ิยะที่ ๑ ทรงนําลังกาเข้าสู่เศวตฉัตรอัน เดียวกัน สรา้ งกําแพงล้อมรอบ ทําการสักการพระรัตนตรัย ทรงสอบถามเร่ืองพระทันต ธาตซุ ่งึ ประดิษฐานอยู่ท่วี ดั เทลคะมวุ ะ แล้วอัญเชิญมาพระราชวงั ตรัสให้สร้างปราสาท ๒ ชนั้ ประดับประดาดว้ ยรตั นะต่างๆ แล้วนาํ พระทันตธาตุประดิษฐานไว้ ทรงถวายทองคํา เงิน ผา้ เพชร พลอย หมู่บา้ น ไร่ นา ข้าพระหลายคน ววั ควาย ทรงส่งทูตไปขอพระจากเมืองยะไข่ ไดพ้ ระนนั ทจิ ักกะ และพระจันทะวิ สละ พร้อมด้วยคณะสงฆ์ ๑๐ รูป มาเกาะลังกา โดยให้พํานักอยู่ท่ีวัดบุปผารามวิหาร พ.ศ.๒๑๔๐ โปรดให้มีการอุปสมบทกุลบุตรเป๐นจํานวนมาก ตรัสให้สร้างปราสาท ๓ ชั้น หนา้ พระธาตุ ๒ ชั้น

๔๗๐ - พระเจ้าเสนรัตนะ ทรงเป๐นพระอนุชาของพระเจ้าวิมลธรรม สุรยิ ะท่ี ๑ สละจากสมณเพศมาครองราชสมบตั ิ ทรงคุ้มครอง ปกปอู งพระพุทธศาสนา - พระเจ้าราชสงิ หะ รบั ส่งั ให้อญั เชญิ พระทันตธาตุกลับเมืองแคน ดี และให้ประดษิ ฐานไว้ท่ีปราสาท ๒ ช้ัน ซึ่งข้ึนในท่ีแห่งเดิม ถวายหมู่บ้านและไร่นาเป๐น ที่กัลปนาแกป่ ระสาทพระธาตุ - พระเจ้าวิมลธรรมสรุ ยิ ะ ทรงส่งพระราชสาส์นและเคร่ืองบรรณาการ ไปเมืองยะไข่ ได้พระสงฆ์จํานวน ๓๐ รูป มีพระสันทะนะและพระโคลรัคปุคคลิเป๐น ประธาน มาพํานักอยู่ท่ีวัดบุปผาราม และได้รับการต้อนรับเป๐นอย่างดี พ.ศ. ๒๒๔๐ สามเณร ๓๓ รูป ได้รับการอุปสมบทท่ีสีมาวัดเคตัมเบ ทรงถวายการอุปถัมภ์ พระพทุ ธศาสนาเป๐นอย่างมาก ทาํ นองเดยี วกนั กับพระเจา้ วมิ ลธรรมสุริยะท่ี ๑ - พระเจา้ ศรีวรี ะปรักกรมนเรนทรสิงหะ ทรงนับถือพระรัตนตรัย ถวายการอุปถมั ภ์พระศาสนา ทรงเห็นวา่ สามเณรสรณงั กรเป๐นผู้สอดส่องในพระวินัย จึง ทรงให้สามเณรเสนอความแตกต่างทุกๆ อย่างในเร่ืองศาสนา และให้สามเณรชําระให้ เสร็จสิ้น สามเณรแต่งหนังสือสารัตถสังคฤหะ และแปลเรื่องมหาโพธิวงศ์ และไพสัชชะ มันธุสยะ เป๐นภาษาสิงหลถวาย โปรดให้สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิขนาดใหญ่ด้วย ทองแดงฝง๎ ทองคํา และถวายพระไตรหลายสาํ รบั สงิ่ ของอืน่ ๆ เพอื่ บชู าเป๐นจํานวนมาก - พระเจา้ ศรวี ิชัยราชสิงหะ ทรงนับถือพระรัตนตรัย และถวาย โปรดให้สามเณรสรณังกรไปอยู่วัดบุปผาราราม พร้อมเหล่าสานุศิษย์ของท่าน ถวาย เครอื่ งบริขารแก่สามเณร โปรดให้สร้างอุโบสถ สร้างวิหารไว้หลายแห่งในบ้านเมือง ทรง กระทาํ การบชู าเป๐นอเนกประการ เชน่ รับสั่งให้จุดตะเกียง ๗๙๐,๐๐๐ ดวง ในคืนหนึ่งๆ ถวายดอกมไ ๓๐,๐๓๒,๐๐๐ ดอก ในวนั เดียว เปน๐ ต้น - พระเจ้ากิรตศิ รีราชสิงหะ ทรงตระหนักดีว่า ลังกายังไม่มี จํานวนสงฆ์พออปุ สมบท และประสงสคจ์ ะอปุ ถมั ภพ์ ระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองให้มากท่ีสุด จงึ ไดแ้ ตง่ เครื่องราชบรรณาการพร้อมทูตเดนิ ทางไปเมืองสยาม ออกเดินทางวันพฤหัสบดี นับตามจันทรคติ ข้ึน ๕ ค่ํา พระอาทิตย์อยู่ตรงเส้นราศีกรกฏ ในปีมหาศก ๑๖๗๒ และ มาถึงอาวไทยเม่ือวันพุธ นับตามจันทรคติ ๘ คํ่า เดือน ๗ พระอาทิตย์อยู่ตรงเส้นท่ี ๒๐ องศาแหง่ ราศีมถิ ุน ในปีมหาศกั ราช ๑๖๗๓ พระเจ้ากรุงสยามได้มอบหมายให้พระมหาเถระ ประกอบด้วยพระอุ ปาลี ผู้ทรงธรรม พระอริยมุนี ผู้ทรงวินัย และพระมหานามะ ผู้ทรงวิป๎สสนา พร้อม พระภกิ ษอุ ีก ๕ รูป ประกอบด้วย พระพรหมโชติ พระมหาปุญญะ พระจันทสร พระสรัต

๔๗๑ วันทะ และพระมณโี ชติ ผูเ้ ชย่ี วชาญในกรรมวาจา พร้อมพระอันดับอีก ๑๐ รูป สามเณร อีก ๗ รปู เดนิ ทางไปลงั กา สังคีติยวงศ์ สังคตี ิยวงศ์๓๖๗ เป๐นวรรณกรรมบาลีสมยั รตั นโกสินทร์ตอนต้น ผลงานนิพนธ์ ของสมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตพุ น แตง่ ขนึ้ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๓๒ ครั้งดํารงสมณศักดิ์ที่พระ พิมลธรรม โดยมีจุดประสงค์ของการแต่งเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟูาจุฬาโลก รัชกาลท่ี ๑ ในฐานะทรงเป๐นผู้อุปถัมภ์ และจัดให้มีการสังคายนา พระไตรปิฎกซึ่งมีความเสียหายจากการเสียกรุงศรีอยุธยา และซ้ําเติมมาเกิดจลาจลใน ครัง้ ธนบุรีให้กลับมารุ่งเรอื งในสยามประเทศ ต้นฉบับเดิมแต่งเป๐นภาษาบาลี จารลงใบลาน ๗ ผูก ระบุว่า แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๓๓๒ เม่ือคร้ังที่สมเด็จพระวันรัตดํารงสมณศักด์ิที่ พระพิมลธรรม ถือเป๐น วรรณกรรมบาลีทางพระพุทธศาสนาที่มีลักษณะเป๐นพงศาวดาร เน้ือหาว่าด้วยการการ สังคายนาพระธรรมวินัย ลําดับเหตุการณ์ต้ังแต่เมื่อคร้ังพุทธปรินิพพานเป๐นต้นมา พรรณนาเหตุการณ์การทําสังคายนา ต้ังแต่การทําสังคายนาคร้ังที่ ๑, ๒, ๓ ตามลําดับ จนพระพทุ ธศาสนาไดม้ าประดิษฐานในลังกาทวีป และมีการทําสังคายนาสืบต่อๆ กันมา กระท่ังการเดนิ ทางเข้ามาของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย เน้ือหาสาระของสังคีติยวงศ์ แบ่งออกเป๐นปริจเฉท มีทั้งหมด ๙ ปริจเฉท ดงั ตอ่ ไปนี้ ปริจเฉทท่ี ๑ ว่าด้วยการทําสังคายนาในชมพูทวีป ๓ คร้ัง เนื้อหา รายละเอยี ดยอ่ ย ประกอบด้วย คาํ นมัสการ, คําปรารภ, วา่ ด้วยสังคีติกถาโดยย่อ, ว่าด้วย สังคีติกถาโดยพิสดาร, เรื่องพระมหากัสสปเถระประชุมสงฆ์จํานวน ๕๐๐ องค์ ทํา สังคายนาคร้ังที่ ๑, พระยสเถระประชุมสงฆ์จํานวน ๗๐๐ องค์ ทําสังคายนาคร้ังท่ี ๒, พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระประชุมพระอรหันต์ ๑๐๐๐ องค์ ทาํ สังคายนาครั้งที่ ๓ ปริจเฉทท่ี ๒ ว่าด้วยการทําสังคายนาในลังกาทวีป ๔ ครั้ง เนื้อหา ประกอบด้วย พระมหินทเถระประชุมสงฆ์ทาํ สงั คายนาคร้งั ท่ี ๔, พระภิกษุสงฆ์ประชุมกัน ๓๖๗ สมเด็จพระวันรัต, สังคีติยวงศ์, พระยาปริยัติธรรมธาดา [แพ ตาลลักษมณ] ผู้แปล. [คณะสงฆว์ ดั พระเชตพุ น จดั พิมพ์โดยเสดจ็ พระราชกุศลในงานพระราชทานเพลิงศพ พระอุบาลีคุณูป มาจารย์ ๑ เมษายน ๒๕๒๑], คําอธิบาย ๑-๓/ผู้เขียนใช้ฉบับนีในการอ้างอิง และจัดทําคําอธิบาย ตลอดเรอ่ื ง/

๔๗๒ สาธยายพระธรรมวินัย และยกขึ้นสู่ใบลาน เป๐นสังคายนาคร้ังท่ี ๕, ว่าด้วยการจาร พระไตรปิฎกลงในใบลาน นับเป๐นสังคายนาคร้ังท่ี ๖ และพระพุทธโฆสาจารย์แปลคัมภีร์ ท่ีลงั กา ปริจเฉทที่ ๓ ว่าดัวยการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป เนื้อหา รายละเอียดเร่ิมต้ังแต่พระมหินเถรให้สามเณรสุมนะไปเชิญพระรากขวัญเบื้องขวาจาก ดาวดงึ ดึงสม์ าสู่ลังกาทวีป, พระสังฆมิตตาเถรีเชิญพระโพธิพฤกษ์มาสู่ลังกา, พระมหินท เถระเข้าสู่พระนิพพาน, การประดิษฐานพระทันตธาตุเบื้องขวา, พระนลาฏธาตุเสด็จ เสดจ็ มาลังกา, การสร้างมหิยังคสถูป, การสร้างพระมริจจเจดีย์, การสร้างโลหปราสาท, การสร้างพระสวุ รรณมาลิกเจดีย์, พระอรหนั ต์ ๗๐๐ องค์ จารพระพุทธวจนะขึ้นสู่ใบลาน , สดุ ท้ายเรือ่ งราชวงสกถาแลประดิษฐานพระศาสนา ปริจเฉทที่ ๔ ว่าด้วยพระพุทธทันตธาตุไปประดิษฐานในประเทศ ตา่ งๆ รายละเอยี ดเน้ือหาเริ่มต้ังแต่พระวามทันตธาตุไปประดิษฐานในลังกาทวีป, เร่ือง พระพทุ ธทัตกับพระพุทธโฆษเถระไปแปลคัมภีร์ท่ีลังกาแล้วนําพระธาตุมาประดิษฐานไว้ ในชมพทู วีป ปรจิ เฉทท่ี ๕ วา่ ดว้ ยพระราชา ๕๐๐ พระองค์ รายลเอยี ดเนอื้ หาว่าดว้ ยการ สร้างเมอื งหริภุญชัย, พระนางจามเทวไี ด้เสวยราชย์ในเมืองหริภุญไชย, การก่อพระเจีดย์ แข่งขันเพ่ือชิงชัยในระหว่างสงคราม, การผุดข้ึนแห่งพระมหาธาตุในเมืองหริภุญไชย, ลําดบั วงศ์พระเจา้ อาทิจจราช, อานสิ งสอ์ ันพระโบราณกษัตริยไ์ ด้บําเพ็ญมา ปริจเฉทท่ี ๖ ว่าด้วยราชวงศ์ในชมพูทวีปและลาววงศ์ มีรายละเอียดเร่ิม ด้วยลําดบั วงศ์พระเจ้ามังราย, พระสุมนเถระได้พระธาตุแต่สุโขทัยมาไว้เมืองสัชนาไลย, พระเจ้ากิลนาราชส่งทูตไปเชิญพระสุมนเถระทําสังฆกรรมท่ีนัพพิสิปุระ, เรื่องพระสีหฬ ปฏมิ าเสดจ็ มาเมอื งเชียงราย, พระเจ้ากิลนาราชสรา้ งบุพผารามวิหารถวายพระสุมนเถระ, สหี ฬศาสนาได้เนินมาถึงเมืองหริภุญไชย, พระสุรสีห์ได้ถาปนาพระธาตุเจดีย์เก่าในเมือง นัพพิสนิ คร, พระเจา้ สริ ิธรรมจักรพรรดิราชาธิราช ผกู พทั ธสีมาสมบัติ, พระรัตนปฏิมาเจ้า ประดษิ ฐานในสยามประเทศ, พระราชาตลิ กอาราธนาให้พระสงฆช์ าํ ระพระธรรมวินัย คือ สังคีติคร้ังท่ี ๗, การบังเกิดข้ึนแห่งพระสิขิพุทธปฏิมา, การสร้างพระปฏิมาด้วยแก่นไม้ จันทน์, เรือ่ งการก่อกาํ แพงศิลาเมอื งหรภิ ญุ ไชย, และลําดบั ลาววงศ์ ปริจเฉทท่ี ๗ ว่าด้วยทสราชวงศกรุงศรีอยุธยา รายละเอียดประกอบด้วย ทสราชวงศ์คร้ังที่ ๑, ลําดับราชวงศ์คร้ังที่ ๒, ลําดับราชวงศ์ครั้งท่ี ๓, และเรื่องพระนคร ถึงความพินาศใหญ่ หมายถึง การเสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่

๔๗๓ ปริจเฉทที่ ๘ ว่าด้วยการสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ รายละเอียดว่าด้วย เหตกุ ารณต์ ่างๆ และสงั คีตคิ รง้ั ท่ี ๙ ปริจเฉทที่ ๙ ว่าด้วยบอกอานิสงส์และความปรารถนา มีรายละเอียด ๒ เรือ่ ง ประกอบด้วย อานิสงส์ต่างๆ และพระเจดีย์ต่างๆ และป๎ญจอันตรธาน, เรื่องความ ปรารถนาของผู้รจนาสงั คตี ิยวงศ์ ลักษณะคําประพันธ์ เป๐นร้อยแก้วเป๐นส่วนใหญ่ แต่ก็มีบทร้อยกรองแทรก อยู่เป๐นระยะไป ส่วนใหญ่บทร้อยกรองที่พบ มีท้ังที่ผู้รจนายกมาจากคัมภร์อื่น เช่น ใน พระไตรปิฎก อรรถกถา และปกรณ์ต่างๆ ที่โบราณจารย์ท้ังหลายรจนาไว้แล้ว และท้ังท่ี แตง่ ข้นึ ใหม่ เช่น นมสั สนกถา และอารัมภกถา เปน๐ ต้น ตวั อย่าง นมสั สนกถา วิสุทธฺ วิ ํสํ ปวรํจฺ พทุ ฺธํ วเิ สสเขมํ วิมลํฺจ ธมมฺ ํ วสิ ุทฺธสลี ํ อภิวนฺทิ สฆํ ํ กโรมิ สงฺคตี ิยวํสนามํ ฯ แปล ข้าพเจ้า ขอถวายอภิวันท์ซ่ึงสมเด็จพระพุทธองค์เจ้า ผู้เป๐นวิ สทุ ธวิ งศบวร และถวายอภวิ นั ทซ์ ่งึ พระธรรมเจา้ อันพิมลพิเศษเกษม และถวายอภวิ นั ทซ์ ่ึง พระสงฆเ์ จ้า ผู้ทรงพระวศิ ุทธศิ ีล แลว้ และจักแตง่ ปกรณ์ให้ชอื่ วา่ สังคีตยิ วงศ์๓๖๘ ตัวอยา่ ง อารัมภกถา ทอุ นตฺ รายา รตนตตฺ ยมเม สอุ านภุ าเวน ปณามนสฺส วนิ า สิยุ ตํ กุสลมฺมหนตฺ ํ ภเวยยฺ โลกสสฺ หติ ายมยหฺ ฯํ สมาสโต วสํ ปรมฺปรที ํ วรํ วิคนฺเถสุ สสุ ารอตถฺ ํ คเุ ณน สงฺคีติยวสํ นามํ สภุ ํ กรสิ ฺสามิ ยถาพลนตฺ ฯิ แปล ขออันตรายชั่วร้ายท้ังหลายของข้าพเจ้าให้พินาศไปด้วย อานุภาพอันงามท่ีประณามพระรัตนตรัย ขอให้กุศลย่ิงใหญ่บังเกิดแก่ข้าพเจ้า เพื่อทํา ๓๖๘ สมเดจ็ พระวันรตั , สงั คีติยวงศ์, หน้า ๑.

๔๗๔ ประโยชนเ์ กอื้ กูลแก่โลกฯ ขา้ พเจา้ จักแต่งปกรณ์ชื่อสังคีติยวงศ์อันประเสริฐน้ี ตามที่สืบๆ วงศม์ าโดย่อ โดยคณุ มีอรรถเปน๐ สารอันดใี นคันถต่างๆ ใหเ้ พราะพริง้ ตามสตกิ าํ ลังฯ สงั ขยาปกาสกปกรณ์ สังขยายปกาสกปกรณ์ เป๐นคาํ สมาส เกิดจากคํา ๓ คํา คือ สังขยา-ปกาสก- ปกรณ์ แปลตามรูปศัพท์ว่า คัมภีร์อธิบายการนับ เป๐นปกรณ์ภาษาบาลี รจนาเป๐นร้อย กรองโดยพระญาณวิลาสเถระซ่ึงเป๐นพระเถระชาวลาว ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ เน้อื หากล่าวถงึ มาตรา ๖ ประเภท คือ มาตราวัดระยะ มาตราตวง มาตราช่ัง ระบบการ นับสิ่งของ มาตราเงิน และการนับขนาดของนีลกหาปณะ รวม ๗๓ คาถา แบ่ง รายละเอยี ดได้ดังน้ี ๑. อทั ธาสงั ขยา มาตราวดั ระยะ ๑๙ คาถา ๒. ธัญญสงั ขยา มาตราตวง ๙ คาถา ๓. ปมาณสังขยา มาตราชง่ั ๑๐ คาถา ๔. ภัณฑสังขยาย มาตรานบั ๑๓ คาถา ๕. ภัณฑมูลสังขยา มาตราเงนิ ๑๐ คาถา ๖. นีลกหาปณปมาณสงั ขยา การนบั นีลกหาปณะ ๑๒ คาถา จดุ ประสงคข์ องการแต่งสงั ขยาปกาสกปกรณ์ ในคัมภีร์พระญาณวิลาสไม่ได้ระบุวัตถุประสงค์ของการรจนาไว้ อย่างไรก็ ตาม หากพิจารณาธรรมเนียม หรือแบบแผนของคัมภีร์ที่มีลักษณะดังกล่าว เช่น คันถา ภรณมัญชรี เป๐นต้น น่าจะเป๐นการรวบรวมมาตราต่างๆ ที่กระจัดกระจายอยู่ในคัมภีร์ พระไตรปิฎก และอรรถกถาต่างๆ มาจัดเป๐นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกแก่การศึกษา และ ท่องจาํ ลกั ษณะเปน๐ คู่มอื สาํ หรบั การศึกษา ตวั อยา่ งปกรณ์รจนาเป๐นคาถาประพนั ธ์ ดังนี้๓๖๙ [๑] ยา ธุฬี ทิพพฺ จกขฺ ุสสฺ สขุ มุ า วสิ ยารหา น หิ ปสาทจกฺขุสฺส วสิ ยา ปรมาณุ สา ฯ [๑] ฉตฺตสึ ปรมาณู เต เมกาณุ โหติ เต อณู ฉตฺตสึ โหติ ตชชฺ ารี รถเรณุ ตเถว ตา ฯ [๒] ๓๖๙ ดูรายละเอยี ดใน บุญหนา สอนใจ, “สังขยาปกาสกปกรณแ์ ละฎกี า: การตรวจชําระและ การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์”, วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณพิต ภาควิชาภาษาตะวันออก [บัณฑิต วทิ ยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๒๕๒๓], หนา้ ๓๙-๕๘.

๔๗๕ ฉตตฺ สึ เต มตา ลกิ ฺขา สตฺต ตา โอกนามกา สตเฺ ตโก ธํฺญมาโส เต สตตฺ วุตเฺ ตกมงคฺ ุลี [๓] ทวฺ าทสงคฺ ลุ ิโย วุตตฺ า วทิ ตถฺ ิ ตา วิทตถฺ โิ ย ทุเว รตนเมตํฺจ หตฺโถ นามาติ วุจจฺ ติ [๔] แปล ละอองทล่ี ะเอยี ด ควรแกอ่ ารมณข์ องทิพยจกั ษุ หาเป๐นอารมณ์ ของประสาทจกั ษุไม่ ชอ่ื ว่า ปรมาณฯู ๓๖ ปรมาณู เป๐น ๑ อณู, ๓๖ อณู เป๐น ๑ ตัชชารี, ตัชชารีเหล่านน้ั จาํ นวนเทา่ นัน้ เหมือนกนั ช่ือวา่ ๑ รถเรณู ๓๖ รถเรณเู ป๐นที่รู้กันวา่ เป๐น ๑ ลิกขา, ๗ ลิกขา ช่ือว่า ๑ อูกา, ๗ อูกา เปน๐ ๑ ธญั ญมาสะ, ๗ ธัญญมาสะกล่าวกนั วา่ เปน๐ ๑ องคลุ ี, ๑๒ องคุลี กล่าวกนั ว่าเป๐น ๑ วิทตั ถิ, ๒ วทิ ตั ถิ เป๐น ๑ หัตถ, อนงึ่ คําว่า รตน น้นั เรยี กชอ่ื ว่า หตั ถะฯ [๒] กฑุ โว ปสโต เอโก อถวา จตมุ ุฏฐฺ กิ ํ ปํฺจ เต กุฑวา เอก มุฏฐิ เมกาย มฏุ ฐฺ ิยา [๒๐] ภาโค จ ตติโย เจกา นาฬิ มาคธิกาย มตา มาคธกิ าย นาฬยิ า ตินาฬิ วจุ ฺจตาฬหฺ โก [๒๑] กฑุ วา จตุโร วาปิ ปตฺโถ นามาภกิ ิตตฺ ิตา ฉปปฺ สตาถวา ปตโฺ ถ อถวา ปสโต ภเว [๒๒] โส ปตโฺ ต วจุ จฺ เต นาฬิ สา นาฬิ ขุททฺ กา มตา ตาย ขทุ ฺทกนาฬิยา จตุนาฬี วจุ ฺจตาฬหฺ โก [๒๓] แปล ๑ ปสตะ เป๐น ๑ กุฑวะ อน่ึง ๔ มุฏฐิ เป๐น ๑ กุฑวะ, ๕ กุฑวะ เป๐น ๑ มุฏฐิ, ส่วนท่ี ๓ ของมุฏฐิ เป๐นท่ีรู้กันว่าเป๐น ๑ ทะนานของขาวมคธ, ๓ ทะนาน ของชาวมคธ เรยี กกันว่าเปน๐ ๑ อาฬหกะ อน่ึง ๔ กุฑวะ ท่านกําหนดให้เป๐น ๑ ป๎ตถะ อน่ึง ๖ ปสตะ เป๐น ๑ ป๎ตถะ และ ๑ ปสตะ เป๐น ๑ ป๎ตถะ ป๎ตถะน้ัน เรียกว่า เป๐น ๑ นาฬี [ทะนาน] และเป๐นทะนานขนาดย่อม, ๔ ทะนานขนาดย่อมน้นั กลา่ วกนั วา่ เปน๐ ๑ อาฬหกะฯ [๓] จตตฺ าโร วหี โย คณุ ฺชา เทว คณุ ชฺ า มาสกโก ภเว เทว อกฺขา มาสกา ปํฺจ อฏฐฺ กขฺ ํ ธรณํ มตํ [๒๙] สุวณฺณํ ธรณา ปํฺจ นกิ ฺขํ สุวณณฺ ปํจฺ กํ ธรณานิ เทสตานิ ปลํ ปลสตํ ตุลาฯ [๓๐] วีสติ ตา ตลุ า ภาโร เต ภารา สกโฏ ทส คุเณยฺยานํ จตตุ ฺถโํ ส วตถฺ นู ํ ปาทมุจฺจเต [๓๑]

๔๗๖ มาสโก วีหโย อฏฺฐ อกฺขํ วา วหี วิ ีสติ ธรณํ วหี นิ ํ เตสํ สฏฐฺ ยาธกิ ํ สตํ มตํ [๓๒] แปล ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป๐น ๑ คุญชา, ๒ คุญชา เป๐น ๑ มาสกะ, ๕ มาสกะ เปน๐ ๒ อกั ขะ, ๘ อักขะ เปน๐ ทรี่ ูก้ นั ว่าเปน๐ ๑ ธรณะ, ๕ ธรณะ เป๐น ๑ สุวัณณะ , ๕ สวุ ณั ณะ เป๐น ๑ นิกขะ, ๑๐ นกิ ขะเหลา่ นนั้ เปน๐ ๑ ปละ, ๑๐๐ ปละ เป๐น ๑ ตุลา ๒๐ ตลุ า เป๐น ๑ ภาระ, ๑๐ ภาระ เป๐น ๑ สกฎะส่วน ๔ ของวัตถุ ท่ีพึงนับ เรยี กว่า ๑ บาท, ๘ เมล็ดข้าวเปลือก เป๐น ๑ มาสกะ, หรือ ๒๐ เมล็ดข้าวเปลือกเป๐น ๑ อักขะ, ๑๖๐ เมลด็ ขา้ วเปลอื ก เปน๐ ทีร่ ู้กันว่าเปน๐ ๑ ธรณะ เป๐นที่น่าสังเกตว่า สังขายปกาสกปกรณ์ ไม่มีบทปณามคาถา เหมือนขนบ การประพันธ์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาภาษาบาลีโดยท่ัวไป ย่อหน้าแรกก็เร่ิม เนอ้ื หาเลย ผู้เขียนคดิ ว่า ผู้แต่งอาจคิดว่า เป๐นงานที่แต่งข้ึนเฉพาะกิจส้ันๆ ใช้ในวงแคบๆ จึงตัดธรรมเนียมดังกลา่ วออกไป สังขยาปกาสกฎกี า สังขยาปกาสกฎีกา พระสิริมังคลาจารย์รจนาเม่ือ พ.ศ.๒๐๖๓ เป๐นผลงาน ลําดับที่ ๓ ในบรรดาผลงานท้ังหมดของท่าน ๔ เร่ือง ประกอบด้วย เวสสันตรทีปนี, จัก กวาฬทีปนี, สังขยาปกาสกฎีกา, และ มงั คลัตถทปี นี สังขยาปกาสกฎีกา ลักษณะคําประพันธ์เป๐นภาษาบาลีประเภทร้อยแก้ว เน้อื หาประกอบด้วย ๑. ปณามคาถา ๑ คาถา ๒. คําจาํ กดั ความของคาํ วา่ “สงั ขยาปกาสกปกรณ์” ๓. สังขยา ๖ ประเภท และกล่าวว่า แต่ละประเภทพระญาณวิลาสเถระ รจนาโดยใช้คาถาก่ีคาถา ๔. อธิบายคําหรือข้อความต้ังแต่คาถาที่ ๑ จนถึงคาถาสุดท้ายตามแบบ ฉบับของคัมภีรป์ ระเภทฎีกาทั่วๆ ไป ๕. ประวตั ิและคําปณธิ านของพระสิริมงั คลาจารย์ จดุ ประสงค์ของการแต่งสงั ขยาปกาสกฎกี า สังขยาปกาสกปกรณ์ท่ีพระญาณวิลาสรจนาไว้น้ัน ท่านรจนาเป๐นร้อยกรอง เน้ือความถกู จาํ กัดดว้ ยคณะฉันท์ ส้ัน และกระชับ อาจทําให้ยากแก่การเข้าใจ พระสิริมัง คลาจารย์จึงได้รจนาสังขยาปกาสกฎีกาข้ึนมาเพ่ืออธิบายเน้ือความให้ชัดเจนข้ึน ง่ายต่อ การเขา้ ใจ นอกจากนัน้ มาตรามีหลายแบบ หลายมติ ท่านก็นํามติของอาจารย์ต่างๆ มา

๔๗๗ เปรียบเทียบไว้ เพ่ือเป๐นประโยชน์ต่อการศึกษา ทําให้ผู้ศึกษามีความฉลาดรอบรู้ใน สงั ขยาท้ังหลาย ใจความสังเขป สังขยาปกาสกฎีกา เริ่มต้นด้วยบทนมัสการพระรัตนตรัยแบบส้ันๆ ๑ บาท คาถา นมตฺถุ สขํ ฺยาสุ กสุ ลํ พทุ ฺธํ ธมฺมํ สฆํ ํ นิรงคฺ ณํ นมติ วฺ า วณณฺ ยิ สฺสามิ สขํ ฺยาปกาสกํ อหํฯ แปล ขอนอบน้อมจงมแี ดพ่ ระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ ัน้ ข้าพเจ้า ครั้นนอบนอ้ มพระพทุ ธเจา้ ผู้ทรงฉลาดในสังขยาทัง้ หลาย พระธรรม พระสงฆ์ ผู้ปราศจาก กิเลสแล้ว จะพรรณนาปกรณช์ อื่ “สังขยาปกาสกะ” ต่อแต่น้ันก็เริ่มตั้งบทอธิบายโดยใช้โวหารแบบอธิบายโวหาร เป๐นร้อยแก้ว เป๐นเรื่องๆ จบแตล่ ะตอนๆ ไป ตัวอยา่ ง ตตฺถ สํขฺยาปกาสกนฺติ สํขฺยา ปกาเสติ เอตฺถ เอเตนาติ วา สํขฺยาปกาสกํ ปกรณํฯ อตฺถโต ตถา ปวตฺตา อกฺขรานิ สขํ ฺยาปกาสกปกรณํ นามฯ ตํ วณฺณยิสฺสามิ ตสฺสตฺถํ ทีปยิสฺสามีติ อตฺโถฯ ตตฺถ สํขยา นาม ฉพฺพิธา อทฺธาสํขฺยา ธํฺญสํขฺยา, ปมาณสํขฺยา ภณฺฑสํขฺยา ภณฺฑมูลสํขฺยา นีลกหาปณ สฺส ปมาณสํขฺยา จาติฯ ตตฺถ ยา ธุฬี ทิพฺพจกฺขุสฺสาติ เอวมาทิกาย เอกูนวีสติยา คาถาย วุตฺ ตา สํขฺยา อทฺธาสํขฺยา นามฯ กุฑโว ปสโต เอโกติ เอวมาทิกาหิ นวหิ คาถาหิ วุตฺตา ธํฺญสํขยา นามฯ จตฺตาโร วีหโย คญุ ชาติ เอวมาทิกาหิ ทสหิ คาถาหิ วุตฺตา ปมาณสํขฺยา นามฯ อกฺขํ ลกฺขณมลกฺขํฺจาติ เอวมาทิกาหิ เตรสหิ คาถาหิ วุตฺตา ภณฺฑสํขฺยา นามฯ มาสกา จ กหาปณาติ เอวมาทิกาหิ ทสหิ คาถาหิ วุตฺตา ภณฺฑมูลสํขยา นามฯ วินเย วินยํฺํูหีติ เอวมาทิกาหิ ทฺวาทสหิ คาถาหิ วุตฺตา สํขฺยา นีลกหาปณสฺส ปมาณสํขฺยา นามฯ ภวติ เจตฺถ อทฺธาธํฺญปปฺ มานานํ ภณฑฺ สสฺ ภณฺฑมลู กํ นีลกหาปณานํฺจ ฉธา สขํ ยฺ า มตาว สาตฯิ ๓๗๐ ๓๗๐ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๒๓], หนา้ ๖๐-๖๑.

๔๗๘ แปล บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สํขฺยาปกาสกํ ความว่า พระญาณ วลิ าสเถระประกาศสังขยาท้ังหลายในปกรณ์หรือด้วยปกรณ์นั้น เพราะเหตุนั้น จึงช่ือว่า “สงั ขยาปกาสกปกรณ์” สองบทว่า ตํ วณณฺ ยสิ ฺสามิ ความวา่ ข้าพเจา้ จกั แสดงเนื้อความของสังขยาป กาสกปรกณ์นั้นฯ ในสังขยาปกาสกปกรณ์นั้นมีสังขยาอยู่ ๖ ประเภท คือ อัทธาสังขยา [มาตราวัดระยะ] ธัญญสังขยา [มาตราตวง] ปมาณสังขยา [มาตราชั่ง] ภัณฑสังขยา [ระบบการนบั สิง่ ของ] ภัณฑมูลสังขยา [มาตราเงิน] และนีลกหาปณปมาณสังขยา [การ นบั ขนาดของนีลกหาปณะ] บรรดาสังขยาเหลา่ น้นั สังขยาท่ีพระญาณวิลาสเถระกล่าวไว้ด้วยคาถา ๑๙ คาถา มีคําอย่างนี้ว่า ยา ธุฬี ทิพฺพจกฺขุสิส เป๐นต้น ชื่อว่า อัทธาสังขยา, สังขยาท่ีท่าน กล่าวไว้ดว้ ยคาถา ๙ คาถา มีคําอย่างนี้ว่า กฑุ โว ปสโต เอโก เป๐นต้น ชื่อว่า ธัญญสังขยา, สังขยาท่ีทา่ นกล่าวไว้ด้วยคาถา ๑๐ คาถา มีคําอย่างน้ีว่า จตฺตาโร วีหโย คุํฺชา เป๐นต้น ชอ่ื วา่ ปมาณสังขยา, สังขยาที่ท่านกล่าวไว้ด้วยคาถา ๑๓ คาถา มีคําอย่างน้ีว่า อกฺขํ ลกฺ ขมลกฺขํฺจ เป๐นต้น ช่ือวา่ ภัณฑสังขยา, สังขยาท่ีท่านกล่าวไว้ด้วยคาถา ๑๐ คาถา มีคํา อยา่ งน้วี ่า มาสกา จ กหาปณา เปน๐ ตน้ ชื่อวา่ ภัณฑมูลสังขยา, สังขยาท่ีท่านกล่าวไว้ด้วย คาถา ๑๒ คาถา มีคาํ อย่างน้วี ่า วินเย วนิ ยํํฺ ูหิ เป๐นตน้ ช่ือว่า นีลกหาปณปมาณสังขยา ฯ ก็ในสงั ขยาปกาสกปกรณ์นั้น เปน๐ ท่รี ูก้ ันวา่ มสี ังขยา ๖ ประเภท คอื มาตราวดั ระยะ มาตราตวง มาตราชงั่ ระบบการนับสิง่ ของ มาตราเงินและการนับขนาดของ นีลกหาปณะฯ๓๗๑ สรุปตัวอยา่ งมาตราต่าง ๆ ในสงั ขยาปกาสกปกรณ์ [๑] มาตราวัดระยะ ๓๖ ปรมาณู เป๐น ๑ อณู ตชั ชารี ๓๖ อณู เปน๐ ๑ รถเรณู ๓๖ ตัชชารี เป๐น ๑ ลิกขา ๓๖ รถเรณู เป๐น ๑ ๓๗๑ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วเิ คราะห์, หนา้ ๑๘๖.

๔๗๙ ๗ ลกิ ขา เป๐น ๑ อกู า ๗ อกู า เป๐น ๑ ธญั ญมาสะ ๗ ธัญญมาสะ เปน๐ ๑ อังคลุ ี ๑๒ อังคลุ ี เปน๐ ๑ วทิ ัตถฺ ิ ๒ วิทัตถิ เป๐น ๑ หตั ถะ ๔ หตั ถะ เปน๐ ๑ พยามะ ๒๕ พยามะ เป๐น ๑ อุสภะ ๘๐ อุสุภะ เปน๐ ๑ คาวุต เปน๐ ๑ โยชน์๓๗๒ ๔ คาวตุ นอกจากมาตราวัดระยะตามท่ีกล่าวมาแล้ว ยังมีมาตราวัดระยะอีก ๘ แบบ ซึ่งเริ่มต้นมาเหมือนกับแบบท่ีกล่าวมาข้างต้น แต่ต่างกันท่ี “หัตถะ” และกลับมา เหมือนกันอีกที่ “คาวุตะ” ดงั นี้๓๗๓ [๑] ๑๒๕ หัตถะ เปน๐ ๑ กรีสะ ๖๔ กรสี ะ เปน๐ ๑ คาวี ๔ คาวี เปน๐ ๑ โยชนะ [๒] ๕๐๐ ชัว่ ธนู เป๐น ๑ โกสะ ๔ โกสะ เปน๐ ๑ คาวตุ ะ ๔ คาวุตะ เป๐น ๑ โยชนะ [๓] ๑๐๐๐ หตั ถะ เปน๐ ๑ สรูสภะ ๘ สรูสภะ เป๐น ๑ คาวี ๔ คาวี เป๐น ๑ โยชนะ [๔] ๑๔ หัตถะ เปน๐ ๑ พลูสภะ ๘๐ พลูสภะ เปน๐ ๑ คาวี ๔ คาวี เปน๐ ๑ โยชนะ [๕] ๗ หตั ถะ เป๐น ๑ สรรี ูสภะ ๘๐ สรีรูสภะ เปน๐ ๑ คาวี ๓๗๒ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วเิ คราะห์, หนา้ ๒๗-๒๘. ๓๗๓ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วเิ คราะห์, หนา้ ๒๘.

๔๘๐ ๔ คาวี เป๐น ๑ โยชนะ ทณั ฑะ [๖] ๗ หตั ถะ เปน๐ ๑ อสุ ภะ คาวุตะ ๒๐ ทัณฑะ เป๐น ๑ โยชนะ กรีสะ ๘๐ อุสภะ เป๐น ๑ คาวี โยชนะ ๔ คาวุตะ เป๐น ๑ อัพภนั ตระ คาวี [๗] ๑๗๕ รตนะ [ศอก] เป๐น ๑ โยชนะ ๖๔ กรีสะ เป๐น ๑ กุฑวะ ปต๎ ถะ ๔ คาวี เปน๐ ๑ อาฬหกะ โทณะ [๘] ๒๘ หตั ถะ เป๐น ๑ มาณกิ า ชารี ๔๐๐ อัพภันตระ เปน๐ ๑ วาหะ ๔ คาวี เปน๐ ๑ กุฑวะ ป๎ตถะ [๒] มาตราตวง๓๗๔ เปน๐ ๑ อาฬหกะ ๔ มุฏฐิ เป๐น ๑ โทณะ ๔ กุฑวะ เปน๐ ๑ อัมมณะ เป๐น ๑ กุมภะ ๔ ป๎ตถะ เปน๐ ๑ ๔ อาฬหกะ เปน๐ ๑ เป๐น ๑ ๔ โทณะ ๔ มาณิกา เป๐น ๑ ๒๐ ชารี เปน๐ ๑ เปน๐ ๑ อีกแบบหนงึ่ เป๐น ๑ ๔ มฏุ ฐิ เป๐น ๑ เปน๐ ๑ ๔ กุฑวะ ๔ ป๎ตถะ ๔ อาฬหกะ ๑๑ โทณะ ๑๐ อัมมณะ [๓] มาตราช่งั ๓๗๕ ๓๗๔ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วเิ คราะห์, หน้า ๓๐.

๔๘๑ ๔ วหี ิ เปน๐ ๑ คํุ ฺชา ๔ คํุ ชฺ า เปน๐ ๑ มาสกะ เปน๐ ๑ อกั ขะ ๒.๕ มาสกะ เปน๐ ๑ ธรณะ ๘ อกั ขะ เป๐น ๑ สวุ ัณณะ ๕ ธรณะ เปน๐ ๑ นิกขะ เปน๐ ๑ ปละ ๕ สุวัณณะ เป๐น ๑ ตุลา ๐.๔ นกิ ขะ เป๐น ๑ ภาระ เป๐น ๑ สกฏะ [เกวยี น] ๑๐๐ ปละ ๒๐ ตลุ าคม เป๐น ๑ คํุ ฺชา ๑๐ ภาระ เป๐น ๑ มาสกะ เป๐น ๑ อกั ขะ อีกแบบหน่งึ เป๐น ๑ ธรณะ ๔ วหี ิ เป๐น ๑ ปละ เป๐น ๑ ตุลา ๒ คุํฺชา เปน๐ ๑ ภาระ ๒.๕ มาสกะ เปน๐ ๑ สกฏะ ๘ อกั ขะ ๑๐ ธรณะ ๑๐๐ ปละ ๒๐ ตุลา ๑๐ ภาระ [๔] ระบบการนับสิง่ ของ๓๗๖ เอก ๑ ทสะ ๑๐ สตะ ๑๐๐ สหสั สะ ๑,๐๐๐ นยตุ ตะ ๑๐,๐๐๐ ลักขะ ๑๐๐,๐๐๐ ๓๗๕ บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์, หนา้ ๓๑. ๓๗๖ บญุ หนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์, หน้า ๓๒.

๔๘๒ ทสสตสหัสสะ ๑,๐๐๐,๐๐๐ โกฏิ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ปโกฏิ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ โกฏปิ ปโกฏิ ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ นหุตะ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ นินนหตุ ะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อกั โขภนิ ี ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ พนิ ทุ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อัพพทุ ะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ นริ พั พุทะ ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อพพะ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อฏฏะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อหหะ ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ กุมุทะ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ โสคนั ธิกะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อปุ ปละ ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปุณฑรกี ะ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปทมุ ะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ กถานะ ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ มหากกานะ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ อสงั เขยยะ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ [๕] มาตราเงินและการนับขนาดของนลี กหาปณะ๓๗๗ คําวา่ กหาปณะ มาจากคาํ วา่ กรีสาปณะ [กรสี ะ-ปณะ] กรสี แปลว่า ทําให้เป๐นรอย, กส ธาตุ, ลง รี อาคมกลางธาตุ สําเร็จรูปเป๐น กรีสะ เป๐นได้ทง้ั ปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์ แปลวา่ สมอพเิ พก ปณะ แปลว่า เงินเดิมพัน ในที่น้ีหมายถึงเงินตราท่ีใช้สอยหมุนเวียนอยู่ใน ท้องตลาด กรีสะ+ปณ = กรีสปณะ แปลว่า เงนิ ตราทม่ี ขี นาดเทา่ กับผลสมอภิเพก ๓๗๗ สรุปจาก บุญหนา สอนใจ, สังขยาปกาสกปกรณ์และฎีกา: การตรวจชาระและ การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์, หน้า ๒๓๑-๒๓๒.

๔๘๓ เม่ืออาเทศอกั ษร “รสี ” ท่ี “กรีสะ” เป๐น หา เป๐น กหาปณะ, เมื่อไม่อาเทศ อักษร กเ็ ป๐นกรีสปณะ ตามปกติ ความหมายยังคงเดมิ กหาปนะ มีหลายชนิด เช่น นลี กหาปณะ รุทรทามกหาปณะ เป๐นต้น ขนาด ของกหาปณะจึงไมเ่ ทา่ กัน และมีค่าไม่เท่ากัน นอกจากน้ี กหาปณะบางชนิดทําด้วยทอง ล้วน บางชนิดทําด้วยทองแดง ทองแดงและเงินผสมกัน บางชนิดทําด้วยทองแดงอย่าง เดยี ว บางชนิดทําด้วยตะกั่ว น้าํ หนักของกหาปณะก็หนกั เบาไม่เท่ากนั ด้วย มลู ค่าของกหาปณะ ตรี าคาเปรียบเทยี บกบั ทองคําบรสิ ุทธิ์ ไดด้ งั นี้ ๑ กหาปณะ คดิ เป๐นบาทของทองคําได้ ๔ บาท เป๐นมาสกะได้ ๒๐ มาสกะ เป๐นคุญชาได้ ๔๐ คุญชา เป๐นเมล็ดข้าวเปลือกได้ ๑๖๐ เมล็ดข้าวเปลือก หรือเขียนเป๐น มาตราไดด้ ังนี้ ๔ เมลด็ ขา้ วเปลือก เปน๐ ๑ คุญชา ๒ คุญชา เป๐น ๑ มาสกะ ๕ มาสกะ เป๐น ๑ บาท ๔ บาท เปน๐ ๑ กหาปณะ สัทธัมมปชั โชตกิ า สทั ธมั มปกาสนิ ี สทั ธมั มสังคหะ,คมั ภรี ์ คัมภีร์สัทธัมมสังคหะ๓๗๘ เป๐นผลงานของพระธรรมกิตติมหาสามี เป๐นชาว อโยธา หรืออยธุ ยา อาศยั ความเลื่อมใสศรัทธาอย่างแรงกล้า ประกอบด้วยจิตเมตตาที่ใช้ ประชาชนเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จึงได้แต่งคัมภีร์นี้ข้ึน โดยแต่งขึ้นใน สมัยพระบรมราชา [ครองราชระหว่าง พ.ศ.๑๙๑๓-๑๙๓๑] โครงสร้างเน้ือหาเข้าใจว่า อาศัยแนวคัมภีรข์ องลงั กา เพราะมีลักษณะโครงสร้าง ๓ ส่วน คือส่วนที่เป๐นปณามคาถา เนื้อเรอ่ื ง และนคิ มคาถา การแบ่งเนื้อหาในคมั ภรี ์ แบง่ ดังน้ี ๓๗๘ พระมหาวริ ัตน์ รตนญาโณ [ณุศรีจันทร์], สัทธัมมสังคหะ: การตรวจชาระและศึกษา, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลยั , ๒๕๔๙], ๒๓๔หนา้ .

๔๘๔ ปณามคาถา กลา่ วนมัสการพระรตั นตรัย อนปุ ุพพีกถา ความนํา ปริจเฉทที่ ๑ พรรณนาการสังคายนาคร้ังท่ี ๑ ปริจเฉทนี้กล่าวถึง รายละเอียดการทําสังคายนาคร้ังแรกท่ีเมืองราชคฤห์ ภายหลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เนอ้ื ความสว่ นใหญอ่ าศัยเรื่องที่มีอยู่ในคัมภีร์จุลวรรค คัมภีร์ทีปวงศ์ มหาวงศ์ และอรรถ กถาของท่านพุทธโฆสาจารย์ มีข้อความแตกต่างกันระหว่างคัมภีร์สัทธัมมสังคหะ และ คัมภีรท์ รี่ ะบชุ ื่อขา้ งต้นนี้ ปริจเฉทท่ี ๒ พรรณนาการสังคายนาครั้งที่ ๒ ปริจเฉทน้ีมีเนื้อหาสั้น ๆ พรรณนาการทําสงั คายนาคร้ังท่ี ๒ ณ เมืองเวสาลี หลังพุทธปรินิพพาน ๑๐๐ ปี บทท่ี ๒ น้กี เ็ ชน่ เดียวกับบทท่ี ๑ มีข้อความส่วนใหญ่นํามาจากคัมภีร์จุลลวรรค ทีปวงศ์ มหาวงศ์ และอรรถกถาของทา่ นพทุ ธโฆสาจารย์ ขอ้ ความแตกต่างที่ควรสังเกต คือ สัทธัมมสังคหะ ไมไ่ ด้กลา่ วถงึ ระบบอพุ พาหิกา [วธิ รี ะงบั อธกิ รณ์] ดังท่ีเคยพบใน จุลลวรรค และมหาวงศ์ เพยี งกลา่ วถงึ การสอบถามป๎ญหาธรรมวินยั ระหวา่ งพระเรวตเถระและพระสัพพกามีเถระ และกล่าวถึงขอ้ สรปุ มตเิ ก่ียวกบั ขอ้ ขัดแย้ง ๑๐ ประการ ปรจิ เฉทท่ี ๓ พรรณนาการสังคายนาครั้งท่ี ๓ ปริจเฉทที่ ๓ นี้ พรรณนาถึง การทาํ สังคายนาครง้ั ที่ ๓ ทเ่ี มืองปาฏลีบุตรใจความส่วนใหญ่นํามาจากคัมภีร์มหาวงศ์ มี ข้อแตกต่างกันคือ ระยะเวลาของการทาํ สงั คายนา สทั ธัมมสงั คหะกล่าวว่า สังคายนาคร้ัง น้ีจัดทําข้ึนหลังพุทธปริพพาน ๒๒๘ ปี แต่ท่านพุทธโฆสาจารย์ยืนยันว่า พุทธปริพพาน ลว่ งแล้ว ๑๑๘ ปี ส่วนมหาวงศ์ระบุ ๒๓๕ ปี ปริจเฉทท่ี ๔ ว่าด้วยการส่งพระธรรมทูตไปยังนานาประเทศ และการไปสู่ ลังกาของพระมหนิ ทเถระเมื่อพทุ ธปรนิ พิ พานล่วงแล้วได้ ๒๓๖ ปี เป๐นท่ีทราบกันทั่วไปว่า ได้มีการส่งพระธรรมทูตไปยังประเทศต่าง ๆ ภายหลังการทําสังคายนาครั้งท่ี ๓ หาก พจิ ารณาตามคัมภีร์สัทธัมมสงั คหะนี้ ระยะการทําสังคายนาก็เป๐น ๒๒๘ ปี ภายหลังพุทธ ปรนิ พิ พาน และระยะการไปสูล่ ังกาของพระมหนิ ทเถระคอื ๒๓๖ ปี หลังพุทธปรินิพพาน ข้อแตกต่างคือ ๘ ปี จึงไม่อาจเป๐นที่ยอมรับได้ ฉะน้ัน ระยะการทําสังคายนาครั้งท่ี ๓ ตามคัมภีรม์ หาวงศ์ จงึ ถูกตอ้ งมากกว่า เพราะในปีต่อมาหลังการทําสังคายนา พระธรรม ทูตซ่ึงมีพระมหินทเถระเป๐นประธานได้ไปยังลังกา และได้แสดงธรรมให้ประชาชนที่นั้น ทั้งหมดเป๐นชาวพุทธ เรอื่ งเก่ยี วกบั การนับถือพระพทุ ธศาสนาของชาวลังกา และบทบาท กิจกรรม ของพระธรรมทูตส่วนใหญ่ นาํ มาจากขอ้ ความในคมั ภรี ์มหาวงศ์ ปรจิ เฉทที่ ๕ พรรณนาการสงั คายนาครั้งท่ี ๔ หลังจากพุทธปรินิพพานล่วง แล้วได้ ๒๓๘ ปี ในรัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ พระอริฏฐเถระชาวลังกาเป๐นผู้

๔๘๕ สวดวินัยนิทาน จากนั้นพุทธวจนะอื่นๆ ก็เป๐นภาระหน้าที่ของพระเถระรูปอ่ืน ๆ เมื่อ สังคายนาสิ้นสุดลงแล้ว พุทธวจนะอันบริสุทธิ์ถูกต้องก็ต้ังมั่นและเป๐นท่ียอมรับของ พระสงฆช์ าวลงั กา ปริจเฉทที่ ๖ พรรณนาการจารพระไตรปิฎก ภายหลังพุทธปรินิพพาน ได้ ๔๓๓ ปี กษัตริย์ลังกาทรงพระนามว่า วัฏฏคามินีอภัย ได้เป๐นเจ้าแผ่นดิน นับแต่ พระพทุ ธศาสนาแผไ่ ปลงั กาจนถงึ รชั กาลนี้ พระไตรปิฏกและอรรถกถายังมิได้มีการจารึก เป๐นลายลักษณ์อักษร คงใช้การท่องจําด้วยปากเปล่าดุจโบราณกาล พระสงฆ์ลังกา สงั เกตเหน็ ความเสื่อมถอยลงแห่งความทรงจําของชนรุ่นต่อ ๆ มาและเห็นอันตรายที่จะ เกดิ แก่พระพทุ ธวจนะในอนาคต จึงได้ทลู พระเจ้าวฏั ฏคามนิ ีอภยั ให้ทรงตระหนักถึงความ จรงิ ขอ้ น้ี และความจาํ เปน๐ ท่จี ะตอ้ ง จดจารึกพระไตรปิฏกและอรรถกถา เป๐นลายลักษณ์ อกั ษร พระองค์ทรงเห็นดว้ ย จงึ ทรงให้จัดดําเนินการตามที่พระสงฆ์เสนอแนะน้ัน ดังน้ัน การจารกึ พระไตรปฏิ กและอรรถกถาจงึ มมี าแต่สมยั น้ัน ปริจเฉทท่ี ๗ พรรณนาปริทัศน์ชีวิต และผลงานของท่านพุทธโฆสาจารย์ อย่างส้ัน ๆ ใจความส่วนใหญ่ก็อาศัยคัมภีร์จุลลวงศ์ซ่ึงเล่าว่า ท่านพุทธโฆสาจารย์ถือ กําเนิดในตระกูลพราหมณ์ใกล้โพธิมณฑล ในมัชฌิมประเทศ ท่านเป๐นผู้เชี่ยวชาญใน คมั ภรี ์พระเวทและไดท้ อ่ งเท่ยี วโต้วาทะไปท่ัวประเทศ วันหนึ่งท่านเข้าไปสู่วิหารแห่งหนึ่ง ณ ท่ีนัน้ เมื่อไดส้ นทนากับท่านเรวตเถระ ท่านกก็ ลับใจมานับถือพระพุทธศาสนา และได้ อุปสมบทเป๐นภิกษุ ขณะที่พํานักอยู่ที่วิหารนั้น ท่านได้รจนาคัมภีร์ญาโณทัย และคัมภีร์ อฏั ฐสาลนิ ี อรรถกถาธัมมสังคิณี ต่อมาท่านได้ไปสู่ประเทศลังกาตามคําแนะนําของท่าน เรวตเถระ เพื่อศึกษาอรรถกถาซ่ึงภาษาสิงหล และได้พบกับท่านพุทธทัตตเถระในทะเล ระหว่างทาง ท่านได้ไปถึงลังกาในระหว่างรัชสมัยของพระเจ้ามหานาม หลังพุทธ ปรินิพพาน ได้ ๙๕๖ ปี และ ๕๑๖ ปี หลังจากการจารึกพระไตรปิฏกเป๐นลายลักษณ์ อักษร เม่ือถงึ ประเทศลงั กาแล้ว ทา่ นพทุ ธโฆสาจารยไ์ ด้พํานักอยู่ท่ีมหาวิหารเมืองอนุราช ปรุ ะ ท่านมคี วามปรารถนาทจี่ ะแปลคัมภีร์อรรถกถาภาษาสิงหลเป๐นภาษามคธ พระสงฆ์ ลังกาได้ให้คาถา ๒ บทแก่ท่าน เพื่ออธิบายให้แจ่มแจ้งเป๐นการทดสอบความรู้ ท่าน พุทธโฆสาจารย์จึงได้รจนาคัมภีร์วิสุทธิมรรคข้ึนเป๐นการอธิบายบทความน้ัน พระสงฆ์ ลังกามีความพอใจในความสามารถของท่าน จึงได้อนุญาตให้ท่านแปลคัมภีร์อรรถกถา ภาษาสิงหลเป๐นภาษามคธ ท่านได้เริ่มงานของท่าน และได้ทําจนเสร็จสมบูรณ์ภายในปี เดยี ว ปริจเฉทที่ ๘ พรรณนาเร่ืองฏีกาพระไตรปิฎก ท่านกัสสปเถระได้พบ ประเดน็ ท่ีเปน๐ เงื่อนงําในพระไตรปฎิ กและอรรถกถาต่าง ๆ ท่านจึงคิดว่า เป๐นการสมควร

๔๘๖ ท่ีจะต้องจัดทําฎีกา คืออรรถกถาของปิฎกเหล่าน้ัน เพื่อทําให้ประเด็นเงื่อนงําเหล่านั้น แจ่มแจ้ง พระเจ้าปรักกมพาหุทรงเห็นชอบกับความคิดน้ี ด้วยเหตุน้ีพระภิกษุสงฆ์ ผเู้ ชย่ี วชาญเปน๐ นกั ปราชญ์มี ท่านกัสสปะเปน๐ ประมุขจึงไดร้ จนาฎีกาแห่งอรรถกถาต่าง ๆ ปรจิ เฉทที่ ๙ พรรณนาพระเถระผูแ้ ต่งปกรณท์ ง้ั ปวง ปริจเฉทน้ี นบั วา่ ละเอยี ดมาก เพราะเป๐นคาถาล้วน ๆ จึงใชค้ วามพยายามอย่างมากในการนับบท พยางค์ และตวั อักษรของพระไตรปิฎก อรรถกถาและฎกี าดงั นี้ พระไตรปิฎกมี ๑,๑๘๓ บท มี ๒๒๕,๗๕๐ พยางค์ และมี ๙,๔๖๔,๐๐๐ ตวั อกั ษร คัมภรี ์อรรถกถาทีแ่ ตง่ โดยทา่ นพทุ ธโฆ สาจารย์มี ๑,๑๖๓ บท มี ๒๙๐,๗๕๐ พยางค์ และมี ๙,๓๐๔,๐๐๐ ตัวอกั ษร คัมภีรฎ์ กี ามี ๖๓๒ บท มี ๑๕๘,๐๐๐ พยางค์ มี ๕๕๖,๐๐๐ ตัวอกั ษร ส่วนผลงานอื่นว่าด้วยเร่อื งตา่ ง ๆ พรอ้ มด้วยผรู้ จนามีดงั น้ี ชอื่ คัมภีร์ ชอ่ื ผรู้ จนา ๑. วสิ ุทธิมรรค พระพุทธโฆสาจารย์ ๒. กงั ขาวิตรณี พระพทุ ธโฆสาจารย์ ๓. ขุททสกิ ขา พระธัมมสริ ิ ๔. อภิธัมมาวตาร พระพุทธทัตตะ ๕. ปรมตั ถวินิจฉยั พระอนรุ ุทธ ๖. อภิธมั มตั ถสงั คหะ พระอนรุ ุทธ ๗. สัจจสังเขป พระภิกษผุ ู้เปน๐ ศิษยข์ องท่านอานันทะ ๘. เขมปกรณ์ พระเขมะ ๙. สงั ฆนนั ทิ พระกัจจายนะ ๑๐. สงั ฆนนั ทิฎกี า พระวิมลพุทธิ และพระพรหมปุตตะ ๑๑. รูปสทิ ธิ พระพุทธัปปิยะ ๑๒. อภธิ านปั ปทีปกิ า พระโมคคัลลานะ ๑๓. ชนิ าลงั การสตุ ตะ พระพทุ ธรกั ขิต ๑๔. ชินจรติ พระเมธังกร ๑๕. ปรมัตถมัญชสุ า พระธัมมปาละ ๑๖. วนิ ยสงั คหะ พระสาครปติ ๑๗. นิสสยัฏฐกถา พระมหาโพธิ ๑๘. มขุ มัตตกา พระมหาโพธิ ๑๙. ปรมตั ถทปี นี พระธรรมปาละ ๒๐. สุโพธาลงั การ พระสงั ฆรกั ขิตะ

๔๘๗ ๒๑. วตุ โตทัย พระสังฆรักขิตะ ๒๒. ขุททกสกิ ขาฎกี า พระสงั ฆรักขติ ะ ๒๓. สัมพุทธวัณณนา พระสงั ฆรกั ขติ ะ ๒๔. วินัยวนิ จิ ฉยั พระพทุ ธสีหะ ๒๕. กังขาวติ รณีฎกี า พระพุทธนาคะ ๒๖. อภิธมั มัตถสังคหฎีกา พระภกิ ษุผู้เป๐นศิษย์ของทา่ นสารีปุตตะ ๒๗. ธัมมปทฏั ฐกถา พระพุทธโฆสาจารย์ ๒๘. เนตติปกรณ์ พระกัจจายนะ ๒๙. สารัตถสาลนิ ี พระภิกษผุ ู้เป๐นศษิ ย์ของท่านสารปิ ุตตะ ปริจเฉทที่ ๑๐ พรรณนาเรือ่ งอานสิ งส์ของการจารพระไตรปิฎก ในปริจเฉท น้ี ท่านผู้รจนาไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นได้รจนาคัมภีร์นขี้ ้ึน ก็เพื่อส่งเสริมศรัทธาและปีติปราโมทย์ ของพุทธศาสนิกชน และส่งเสริมให้มีการจดจารึกพระไตรปิฎก ในมหาปรินิพพานสูตร พระพุทธองค์ตรัสวา่ หลังพุทธปรินพิ พานแล้ว พระธรรมแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์จะ เป๐นศาสนาแทนพระองค์ พระธรรมขนั ธเ์ หลา่ นี้ พระพทุ ธองค์ เป๐นธรรมกายของพระองค์ เพราะฉะนน้ั บคุ คลผเู้ ขยี นหรือจารึกพระไตรปฎิ ก หรอื เปน๐ เหตุให้มีการเขียน จารึก ย่อม เป๐นเมธี ปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจ้าผู้เป๐นบรมศาสดา บุคคลผู้เขียน หรือจารึก พระไตรปิฎก บําเพ็ญกุศลให้บริบูรณ์ กําจัดทุกข์ได้ทุกประการ ย่อมได้รับชื่อเสียง ถึง ความมั่งค่ัง รุ่งเรือง และบรรลุพระนิพพาน และย่อมบรรลุได้แม้กระท่ังความเป๐น พระพทุ ธเจ้า ปรจิ เฉทท่ี ๑๑ พรรณนาเร่อื งอานสิ งส์ของการฟง๎ ธรรม เริม่ ตน้ ด้วยคาถา อนั เปน๐ ผลของการฟง๎ ธรรมวา่ โย หิ ปสสฺ ติ สทธฺ มฺมํ โส มํ ปสสฺ ติ ปณฑฺ ิโต อปสฺสมาโน สทธฺ มฺมํ มํ ปสสฺ ตปิ ิ น ปสฺสติ. แปล ดูกร วกั กลิ ผูใ้ ดเหน็ ธรรมท่เี รากลา่ วสอน ผนู้ ้ัน ย่อมเห็นเรา เพราะไม่ เห็นธรรม ผู้นนั้ แมเ้ ห็นเราอยู่ กช็ ่อื วา่ ไมเ่ ห็นเรา ธรรมนนั้ พระพุทธองค์ทรงแสดงให้เปน๐ อนั หนง่ึ อันเดียวกนั กบั พระองค์ ความรูอ้ นั หนง่ึ ก็หมายถึงความรอู้ ีกอันหนงึ่ ด้วย เพราะเหตุนน้ั บคุ คลผู้เคารพธรรม ก็ยอ่ ม เคารพพระองค์ดว้ ย พระพทุ ธองคม์ กี ายสองชั้น คือกายหน่ึงได้แก่รา่ งกายทเี่ หน็ ได้ดว้ ยตา อีกกายหนง่ึ ไดแ้ ก่ธรรมทพ่ี ระองค์ตรัสสอน นี่คือธรรมกายของพระพทุ ธองค์ นกั ปราชญ์ แนะนาํ ไวว้ ่า ผทู้ ี่ปรารถนาความสวัสดี ความยิ่งใหญ่ ควรสดบั คาํ สอน คอื ธรรมกายของ พระพทุ ธองคโ์ ดยเคารพ

๔๘๘ นคิ มคาถา คมั ภรี ส์ ทั ธัมมสงั คหะนี้ ในส่วนจบมนี คิ มคาถาหรอื คาํ ลงท้ายคมั ภรี ์ ดงั น้ี “จนโฺ ท ว สาสนากาเส โย วโิ รจิ จ สหิ เฬ โพเธนโฺ ต ญาณรํสหิ ิ ลกํ าวาสีชนมฺทชเฺ ช ธมฺมกิพฺปาภธิ าโน จ สลิ าจารคุณากโร ปากโฏ สหิ เฬ ทเิ ป คตเล วิย จนฺทิมา ปฏิ เกสุ จ สพฺพตฺถ สทธฺ สตฺถาทิเกสุ จ ปารปปฺ ตฺโต มหาปํฺโญ ลงฺกาทปิ ปฺ สาทโก. ตสสฺ สสิ โฺ ส ญาณกิตตฺ ิ มหาสามตี ิ วสิ ฺสุโต ลงกฺ าคมนอสุ สฺ าโห ปตวฺ า ลงฺกมโรมมฺ ํ ตตฺถ ปํุ ฺญํ พหํุ กตฺวา ลทธฺ เถรุปสมฺปทํ ปุณฺณาคโต สกํ เทสํ สมฺปตโฺ ต โยทยํ ปรุ ํ ปรมราชาทปิ าเนน มหาชเนน การเิ ต ลํการามมหาวาเส วสตา สนตุวตุ ตฺ นิ า ธมมฺ กโต รสุ ามนิ า ธมิ ตา รจติ ํ อิทํ สทฺธมมฺ สงคฺ หํ นาม สพพฺ โส ปรินฏิ ฺฐิตํ.๓๗๙ แปล พระเถระรูปใด เมื่อยังชนชาวลังกาให้ ตรัสรู้ด้วยญาณรังสี ย่อมรุ่งโรจน์ในอากาศ คือพระศาสนา ในเกาะสีหล ดุจพระจันทร์ รุ่งเรืองอยู่ในอากาศ ฉะน้ัน. พระธรรมกิตติผู้มีคุณากรคือศีลและอาจาระโดดเด่นในเกาะสีหล ดุจพระจันทร์ โดดเดน่ ในท้องฟูาฉะนน้ั . ทา่ นผูถ้ ึงฝง๑๎ ในพระไตรปิฎก และในคัมภีร์ ท้ังหลายมีคัมภีร์สัท ทศาตร์เป๐นต้น มีป๎ญญามาก ยังชาวลังกาเป๐นต้นให้เล่ือมใสแล้ว. ศิษย์ของท่าน ปรากฏ ว่า พระธรรมกิตติ- มหาสามี มีความอุสสาหะไปลังกา ถึงลังกาอันน่าร่ืนรมย์ใจ. ท่าน ทําบุญในเกาะน้ันเป๐นอันมาก ได้รับการอุปสมบทใหม่จากพระเถระ กลับมาสู่ประเทศ ของตนอีก ถึงเมืองอโยธยา. ท่านพํานักอยู่วัดใหญ่ช่ือว่าลังการาม อันพระเจ้าบรมราชา ทรงให้สร้าง ดําเนินชีวิตอย่างสงบ. พระธรรมกิตติมหาสามี ผู้มีป๎ญญารจนาคัมภีร์น้ี คมั ภรี ช์ ื่อวา่ สทั ธัมมสังคหะ จบบรบิ ูรณ์แล้ว.๓๘๐ สมั พนั ธจินดา, คมั ภรี ์ ๓๗๙ พระมหาวริ ัตน์ รตนญาโณ, สัทธัมมสังคหะ: การตรวจชาระและศกึ ษา, หนา้ ๒๕-๓๑. ๓๘๐ พระมหาวริ ตั น์ รตนญาโณ, สทั ธัมมสังคหะ: การตรวจชาระและศึกษา, หนา้ ๒๑๘.

๔๘๙ คัมภีร์สัมพันธจินดา แปลตามศัพท์ว่า แนวคิดอันเก่ียวด้วยเรื่องวายก สมั พนั ธ์ เปน๐ คมั ภีร์บาลีไวยากรณม์ สี ตู รเลม่ หน่ึง ผลงานของพระสังฆรักขิตมหาสามิเถระ ชาวลังกา ผู้แต่งคัมภีร์สุโพธาลังการ และคัมภีร์วุตโตทัยอันมีช่ือเสียง เป๐นคัมภีร์สายกัจ จายนไวยากรณ์หรือโมคคัลลานไวยากรณ์ รูปแบบการประพันธ์เป๐นร้อยแก้ว ผสมร้อย กรอง ประวัติผู้แต่งปรากฏในนิคมคาถา ซ่ึงศิษย์ของท่านได้เขียนเพิ่มเติมมา ภายหลงั ดงั น้ี๓๘๑ สิสสฺ ํ สหายมาคมมฺ กลยฺ าณมติ ตฺ มตฺตโน โสเธตํฃ สาสนํ สตถฺ ุ ปรกฺกมมกาสิ โย ฯ สสุ ททฺ สิทธฺ ึ โย โยค- นิจฺฉยํ สพฺภวิ ณณฺ ติ ํ อกา สโุ พธาลงกฺ ารํ วุตโฺ ตทยมนากุลํ ฯ สงฆฺ รกฺขติ นาเมน มหาเถเรน ธมี ตา นิวาสภูเตนาเนก- คุณานปฺปิจฺฉตาทินํ ฯ เตเนว รจิตา สาธุ สาสโนทยการินา ขุทฺทสิกขาย ฎกี า จ ตถา สมพฺ นธฺ จนิ ฺตนาฯ แปล พระมหาเถระองค์ใด คร้ันได้อาศัยพระเมธังกรเถระรูป น้ัน ซึ่งเป็นทั้งกัลยาณมิตร และเป็นท้ังศิษย์ของตน มาร่วมเป็นเพื่อน [แต่ง, ชาํ ระหนังสือ] จงึ ได้พากเพยี รพยายามเพอ่ื ชาํ ระพระศาสนาขององค์พระศาสดา ใหห้ มดจดฯ [และ] พระมหาเถระองค์ใด แต่งคัมภีร์สุสัททสิทธิ อันเป็นคัมภีร์ วินิจฉัยประโยค ที่นักปราชญ์สรรเสริญยกย่อง ทั้งยังแต่งคัมภีร์สุโพธาลังการ และคัมภรี ว์ ุตโตทัยใหส้ าํ เรจ็ บรบิ ูรณ์ ฯ พระมหาเถระรูปน้ัน ชื่อว่า พระสังฆรักขิต เป็นผู้มีปัญญา มีคุณ อเนกประการ มีความปรารถนานอ้ ย เปน็ ตน้ ฯ ทา่ นผ้กู ระทําพระศาสนาให้รุ่งเรืองนั้น ยังได้รจนาขุททกสิกขาฎีกา และคัมภีร์สัมพันธจนิ ดา จนสาํ เร็จบรบิ ูรณอ์ กี ด้วย ฯ คาํ ขึ้นต้นคัมภรี ์ หรอื คันถารัมภกถา ผู้แต่งเร่ิมต้นด้วยบทนอบน้อม พระรตั นตรัย และเจตนาของการแตง่ คมั ภีร์ และความหมายของคัมภรี ไ์ ว้ ดงั น้ี ๓๘๑ มานิตย์ ชาวโพธ์เิ อน, การศึกษาเชิงวเิ คราะหค์ มั ภีรส์ มั พันธจินดา, วทิ ยานิพนธ์ อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก, [บัณฑิตวิทยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๓๒], หน้า ๖.

๔๙๐ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ฺธสฺส ฯ นิรุตฺติวสิ ราปาร- สาครนโฺ ตปคํ ชนิ ํ นมสฺสติ วฺ า กริสฺสาม สาธุ สมพฺ นฺธจนิ ตฺ นํฯ กรฺ ยิ าย การกานญจฺ โยโค สมฺพนฺธสมฺมโต ตสฺมาสสฺ จนิ ฺตา สมฺพนธฺ - จินฺตานุตฺตาทินิสฺสิตา ฯ๓๘๒ แปล ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคพระองค์น้ัน ผู้เป็นพระ อรหันต์ ตรัสรูเ้ องโดยชอบ ข้าพเจา้ [พระสงั ฆรกั ขติ มหาสามิเถระ] น้อมนมัสการพระชินเจ้า ผู้ ทรงเขา้ ถงึ ฝั่งมหาสมุทรอนั เขา้ ถงึ ไดย้ าก กล่าวคือนิรุกติศาสตร์ท้ังมวล แล้วจัก รจนาคมั ภรี ส์ ัมพนั ธจนิ ดา ใหส้ ําเร็จเรยี บร้อยเป็นอันดี ฯ ความเก่ียวข้องซ่ึงกัน และกัน ของคํากริยากับการกทั้งหลาย นักปราชญ์ท่านสมมติเรียกว่า วายก สัมพันธ์ เพราะฉะนั้น แนวคิดเกี่ยวด้วยเร่ืองวายกสัมพันธ์ ก็เรียกว่า สัมพันธ จนิ ดา มวี ิภตั ตปิ ระเภทอนุตตะ เป็นต้น๓๘๓ ตวั อยา่ งการแสดงไวยากรณใ์ นคัมภีร์ [๑] กตฺตุกมมฺ ฏฐฺ มทพฺพํ การกคฺคามสาธยิ ํ ปทตถฺ ํ กรฺ ยิ มิจฉฺ นตฺ ิ ตปปฺ ทํ ตวฺ สฺส ทปี กฯํ เอวํ ชาตปิ ทาทโยปิ วกขฺ มานชาตฺยาทิวเสน, กตฺตา จ กมฺมญฺจ กตฺ ตกุ มฺมานิ, เตสุ ติฏฐฺ ติ สมเวตตี ิ กตตฺ ุกมฺมฏโฺ ฐฯ เทวทตตฺ าทกิ ตตฺ คุ โต ปาทุปฺปต นาวปตนาทิลกฺขโณ คมนาคมนาทิโก โอทนาทิกมมฺ คโต มุทุตตฺ าทิ จ คยฺหติ ฯ คาโม ยถาสมภฺ วํ ฯ แปล ปราชญ์ยอ่ มถอื ว่า กริยา คือ ความหมายของคําที่ไม่มี ตวั ตน ดํารงอยู่ในตัวผู้กระทํา [กัตตุฏฐะ] หรือผู้ถูกกระทํา [กัมมัฏฐะ] สําเร็จ ลงได้ด้วยการกตา่ งๆ ส่วนคํากรยิ า ยอ่ มเป็นตัวแสดงถึงกริยาทํานองเดียวกันน้ี ฯ โดยนัยน้ี คําอื่นๆ เช่น คําว่า ชาติ ก็บ่งบอกถึง ชาติกําเนิด เป็น ต้น ดังจะได้กล่าวต่อไป ส่วนความหมายกริยาท่ีเป็นกัตตุฏฐะ และกัมมัฏฐะ หมายความว่า ปรากฏอยู่ ร่วมอยู่ ในตวั กัตตา [ผู้กระทํา] และตัวกัมมะ [ส่ิงท่ี ถูกกระทํา] เหล่านนั้ ฯ ความหมายกริยาที่ปรากฏอยู่ในตัวกัตตา ตัวอย่างเช่น ตัวกัตตาเป็นบุคคลช่ือ เทวทัตต์ ทําอาการไป หรือมา เป็นต้น ก็ได้ ๓๘๒ มานิตย์ ชาวโพธิ์เอน, การศึกษาเชิงวิเคราะหค์ มั ภีร์สัมพันธจินดา, หน้า ๑๐๘. ๓๘๓ มานิตย์ ชาวโพธเิ์ อน, การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์คมั ภรี ์สมั พันธจินดา, หนา้ ๑๗๑.

๔๙๑ ความหมายกริยาท่ีปรากฏอยู่ในตัวกัตตา ก็คือลักษณะมีการยกเท้าข้ึน ลดเท้า ลง เป็นต้น ส่วนความหมายกริยาที่ปรากฏอยู่ในตัวกัมมะ ดังตัวอย่างเช่น ตัวกัมมะเปน็ ขา้ วสุก ความหมายกรยิ าทีป่ รากฏอยู่ในตัวกัมมะ ก็คือ ความอ่อน นมุ่ เปน็ ตน้ กลมุ่ การกกย็ ่อมมขี ้นึ ตามสภาพที่เปน็ ไปได้ [ของแต่ละประโยค] ๓๘๔ [๒] กฺรยิ านิมติ ฺตํ ยํกํิ ฺจิ การกํ ตมุทรี ติ ํ กฺริยาชาตคิ ุณทพพฺ - นามโต ตํจฺ ปํจฺ ธาฯ เตสุ กรฺ ิยา วุตตฺ ลกฺขณา ว, เสเสสุ ปน สามํฺญํ ชาติ วปิ รา- วุตตฺ ี ทพฺพสสฺ โิ ต คุโณ ทพพฺ ํ วิเสสฺสํ ยกํ ํิ ฺจิ สํฺญี นามทิ ํ ปน ปตีติเภทํ นิสฺสาย ทพพฺ ตฺถสฺมา วเิ วจิตํฯ ตตฺถ วิเสสียติ พฺยวจฺฉิชฺชติ กุโตจิ กิญฺจิ อเนนาติ วิเสสนํฯ วุตฺ ตลกฺขณวเิ สสเนน วิเสสียติ อญฺญโต พยฺ วจฺฉชิ ฺชตตี ิ วเิ สสสฺ ํฯ๓๘๕ แปล ความหมายของคําใดก็ตาม เ ป็นเหตุของกิริยา ความหมายของคาํ น้ัน ปราชญ์ท้ังหลายเรียกว่า เป็นการก แบ่งเป็น ๕ อย่าง คือ กริยา ชาติ คณุ ทพั พะ และนามะฯ ท้ัง ๕ อย่างนั้น กริยามีลักษณะดังที่กล่าวมาแล้วส่วนที่เหลือมี อธิบายดงั นี้ ชาติ มคี วามหมายตามสามญั คอื [ทมี่ ีมาแตก่ ําเนดิ ] คุณะ มีอยู่ใน ตัวทัพพะ และย่อมมีการเปล่ียนแปลงไปได้ต่างๆ ทัพพะ คือ คําใดๆ ท่ีนํามา แยกให้เหน็ ความแตกต่าง [จากคําอื่น] ได้ นามะ คือ คําท่ีเป็นชื่อ แต่นามะน้ี โดยเหตทุ ่เี ป็นชอ่ื เฉพาะ ท่านจึงแยกไว้ต่างหาก จากความหมายของทพั พะ คําวา่ วิเสสฺสํ ในคําประพันธ์ข้างบนนี้ อธบิ ายไดด้ งั น้ี วิเสสนะ คือ คําท่ีเป็นเคร่ืองมือช้ีให้เห็นความแตกต่างของคําหน่ึงจากคําหน่ึง [ในลักษณะ เป็นคําขยาย]ฯ ส่วนคําว่า วิเสสสะ ก็คือคําที่ถูกขยาย หรือถูกชี้ให้เห็นความ แตกต่างจากคาํ อืน่ โดยใชค้ าํ วเิ สสนะ ซึ่งมีลกั ษณะตามที่กล่าวแล้วข้างต้น เป็น ตวั ช้ีความแตกต่าง ฯ๓๘๖ อนง่ึ การจดั หมวดหมูเ่ นอื้ หาในคัมภีร์ เรียงลําดับดงั ต่อไปน้ี ๑. กรยิ า หมายถึง กริยาอาการ และคํากริยา ๓๘๔ มานิตย์ ชาวโพธ์ิเอน, การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์คมั ภรี ส์ มั พนั ธจนิ ดา, หนา้ ๑๗๒. ๓๘๕ มานิตย์ ชาวโพธ์เิ อน, การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์คัมภีร์สมั พันธจนิ ดา, หนา้ ๑๑๐. ๓๘๖ มานติ ย์ ชาวโพธิ์เอน, การศึกษาเชิงวเิ คราะห์คัมภีร์สมั พันธจนิ ดา, หน้า ๑๗๓.

๔๙๒ ๒. การก หมายถึง ผู้กระทํา ๒.๑ กัมมการก ๒.๒ กตั ตกุ ารก ๒.๓ กรณการก ๒.๔ สัมปทานการก ๒.๕ อวธกิ ารก ๒.๖ อาธารการก ๓. สมั พนั ธะ อธิบายความหมายของสามีสมั พันธใ์ นฉัฏฐีวิภตั ติ ๔. อนตุ ตะ อธิบายการใช้ทตุ ิตยาวภิ ัตติ ๔.๑ ทุติยาวิภตั ติ ๔.๒ ตตยิ าวภิ ัตติ ๔.๓ ปัญจมีวภิ ัตติ ๔.๔ จตถุ วี ิภัตติ ๔.๕ ปัญจมีวิภัตติ [ตอ่ ] ๔.๖ สัตตมีวภิ ตั ติ ๔.๗ ฉัฏฐวี ิภัตติ ๕. วตุ ตะ การแสดงการใช้ปฐมาวิภัตตใิ นรูปแบบตา่ งๆ ๕.๑ วุตตกัมมะ, วุตตกัตตา ๕.๒ วุตตกัมมกัตตา ๕.๓ วตุ ตกรณะ ๕.๔ วุตตสมั ปทานะ ๕.๕ วุตตาวธิ ๕.๖ วตุ ตาธาระ ๕.๗ วุตตสมั พันธะ สัมโมหวโิ นทนี สัมโมหวิโนทนี๓๘๗ เป๐นอรรถกาอธิบายความพระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ ผู้ รจนาคอื พระพทุ ธโฆสาจารย์ ๓๘๗ มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , อรรถกถาภาษาไทย พระอภธิ รรมปฎิ ก สัมโมหวิโนทนี, [กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐], ๙๒๘ หนา้ .

๔๙๓ คําว่า วิภังค์ หมายถึง การจําแนก หรือการแบ่งสภาวธรรมให้กว้างขวาง พสิ ดารย่ิงข้ึน มีจําแนกไว้ทั้งในฝุายพระวินัย ฝุายพระสูตร และฝุายพระอภิธรรม วิภังค์ ในฝุายพระอภิธรรมมวี ิธีการจาํ แนก ๓ อยา่ งคือ คอื ๓๘๘ ๑. สตุ ตนั ตภาชนียนัย นัยที่จําแนกตามแบบพระสูตร เป๐นการจําแนกและ แสดงตามอธั ยาศัยหรือจรติ ของผู้ฟง๎ ๒. อภิธรรมภาชนีนัย นัยท่ีจําแนกแบบอภิธรรม คือไม่สดงถึงบุคคล เวลา สถานที่ แตแ่ สดงถงึ องคธ์ รรมโดยนัยตา่ งๆ ให้สมบรู ณ์ ตามกระบวนแหง่ องคธ์ รรมนน้ั ๆ ๓. ปญั หาปุจฉกนัย นัยท่ีแสดงโดยการนําเอาติกะและทุกะจากคัมภีร์ธัมม สังคณีมาตั้งเป๐นคําถาม-คําตอบ จากติกะ ๖๖ บท จากทุกะทังหมด ๒๐๐ บท นํามา จําแนกโดยขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ อินทรีย์ ปฏิจจสมุปบาท สติป๎ฏฐาน สัมมัปปธาน อทิ ธบิ าท โพชฌงค์ มัคคังคะ ฌาน อัปปมัญญา สิกขาบท ปฏิสัมภิทา ญาณ ขุททกวัตถุ ธมั มหทย และนิคมคาถา อารัมภกถา จตสุ จฺจทโส นาโถ จตธุ า ธมฺมสงฺคณึ. ปกาสยิตฺวา สมฺพทุ ฺโธ ตสเฺ สว สมนนฺตรํฯ อุเปโต พุทธฺ ธมเฺ มหิ อฏฺฐารสหิ นายโก. อฏฺฐารสนนฺ ํ ขนธฺ าท-ิ วภิ งคฺ านํ วเสน ยํฯ วิภงคฺ ํ เทสยี สตถฺ า ตสสฺ สํวณณฺ นากกฺ โม. อทิ านิ ยสมฺ า สมฺปตฺโต ตสฺมา ตสสฺ ตฺถวณณฺ นํฯ กรสิ ฺสามิ วิคาเหตวฺ า โปราณฏฺฐกถานยํ. สทธฺ มเฺ ม คารวํ กตฺวา ตํ สณุ าถ สมาหติ าตฯิ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป๐นที่พึ่ง [ของสัตว์โลก] ทรงเห็นสัจจะทั้ง ๔ แล้ว ทรงประกาศพระธัมมคณีโดยแบ่งเป๐น ๔ กัณฑ์ ทรงเป๐นนายกประกอบด้วยพุทธ ธรรม ๑๘ ประการ ทรงเป๐นศาสดาแสดงพระวิภังค์อันใดไว้ ด้วยอํานาจวิภังค์ ๑๘ ประการ มีขันธวิภังคเ์ ปน๐ ต้น ในลาํ ดบั แห่งธมั มสงั คณนี ่ันแล บัดน้ี ลําดับแห่งการสังวรรณ นาคัมภรี ว์ ภิ ังค์นัน้ ถงึ พร้อมแล้ว เพราะเหตุนน้ั ข้าพเจา้ อาศัยนัยแหง่ อรรถโบราณแล้ว จัก เรียบเรียงอรรถกถาของคัมภีร์วิภังค์นั้น ขอสาธุชนทั้งหลายจงต้ังใจทําความเคารพ สัทธรรม ฟง๎ อรรถกถาของคัมภรี ว์ ิภังคน์ นั้ เทอญ๓๘๙ ๓๘๘ สมั โมหวิโนทนี แปล, หน้า [๑๕]. ๓๘๙ สัมโมหวิโนทนี แปล, หนา้ ๑.

๔๙๔ ตวั อยา่ งการจําแนกในขนั ธวภิ งั คนทิ เทส๓๙๐ คาํ ว่า ขันธ์ ๕ คอื รปู ขันธ์ เวทนาขนั ธ์ สัญญาขนั ธ์ สังขารขนั ธ์ วิญญาณขันธ์ นี้ ชอ่ื วา่ สตุ ตันตภาชนยี ์ ในขันธวภิ งั ค์อันเปน๐ วภิ ังคแ์ รกแหง่ วิภงั คปกรณ์ ในบรรดาคาํ เหล่านน้ั คาํ ว่า ๕ เปน๐ คาํ กาํ หนดจํานวน ด้วยคําว่า ๕ นั้น พระ ผู้มีพระภาคทรงแสดงว่า ขันธ์ท้ังหลายมีไม่น้อย ไม่มากไปกว่าน้ัน คําว่า ขันธ์ เป๐นคํา แสดงสภาวธรรมที่ทรงกาํ หนดไว้ ว่าดว้ ยขนั ธ-ศัพท์ พระบาลีขันธวิภังค์น้ัน ขนฺธ-ศัพท์นี้ใช้ในฐานะหลากหลาย คือ ในฐานะว่า กอง [ราสมิ หฺ ]ิ ในฐานะวา่ คณุ [คเุ ณ] ในฐานโดยเปน๐ บัญญตั ิ [ปณฺณตตฺ ิย]ํ ในความเป๐นคํา ติดปาก [รุฬฺหิยํ] จริงอยู่ ช่ือว่าขันธ์ โดยฐานะว่า กอง เหมือนในประโยคว่า “ภิกษุ ทง้ั หลาย การกําหนดประมาณของนํ้าในมหาสมุทรว่า น้ํามีประมาณเท่านี้อาฬหกะ นํ้ามี ประมาณเท่านี้ร้อยอาฬหกะ น้ํามีประมาณเท่านี้พันอาฬหกะ หรือน้ํามีประมาณเท่าน้ี แสนอาฬหกะ” ไม่ใช่จะทําได้ง่าย แท้จริง ประมาณของน้ําในมหาสมุทรนั้น ย่อมถึงการ นบั ว่า เป๐นห้วงนาํ้ ใหญ่ ทน่ี ับไม่ได้ ประมาณไม่ไดเ้ ลย แมฉ้ ันใด เพราะว่า นํา้ เพียงน้อยนิด เขาไม่เรียกว่า อุทกขันธ์ [กองน้ํา] จะเรียกเฉพาะน้ําที่มีจํานวนมากเท่านั้น เช่นน้ัน เหมือนกัน ธุลีน้อยนิด เขาก็ไม่เรียกว่าว่า รชักขันธ์ [กองฝุน] โคเพียงไม่กี่ตัว เขาก็ไม่ เรยี กวา่ ควักขนั ธ์ [ฝงู โค] กาํ ลงั พลเพยี งเลก็ นอ้ ย เขากไ็ ม่เรยี กว่า พลกั ขนั ธ์ [กองพล] บุญ เพียงเลก็ นอ้ ย เขาก็ไม่เรียกว่า ปุญญักขันธ์ [กองบุญ] ความจริง ธุลีมีจํานวนมากทีเดียว ทา่ นจึงจะเรยี กวา่ รชกั ขนั ธ์ โค เปน๐ ต้น ฯลฯ รูปักขนั ธนิทเทส อธบิ ายรูปขันธ์ บัดนี้ พระผู้มีพระภาคมีพระประสงค์จะทรงจําแนกแสดงรูปขันธ์เป๐นต้น เหลา่ นั้น จงึ ตรสั พระดํารัสว่า ในขันธ์ ๕ นนั้ รูปขันธเ์ ปน๐ ไฉน [ตตถฺ กตโม รปู กฺขนฺโธ] เป๐น ต้น พงึ ทราบวินจิ ฉัยในคําว่า นัน้ [ตตถฺ ] ไดแ้ ก่ ในขันธ์ ๕ เหล่าน้ัน คาํ วา่ เปน๐ ไฉน [กตโม] เป๐นกเถตุกัมยตาปุจฉา คําว่า รูปขันธ์ [รูปกฺขนฺโธ] เป๐นบทแสดงสภาวธรรมที่ทรงปุจฉา พระผู้มีพระภาคเม่ือจะทรงจําแนกรูปขันธ์นั้นในบัดน้ี จึงตรัสพระดํารัสว่า รูปอย่างใด อย่างหน่ึง [ยงฺกิํฺจิ รูป๏] เป๐นต้น บรรดาคําเหล่านั้น คําว่า อย่างใดอย่งหน่ึง [ยงฺกิํฺจิ] เป๐นคําที่ทรงถือเอาโดยไม่เหลือ คําว่า รูป [รูป๏] เป๐นคํากําหนดสภาวธรรมท่ีเก่ียวข้อง ๓๙๐ สัมโมหวโิ นทนี แปล, หน้า ๒.

๔๙๕ ด้วยคําว่า ยงฺกิํฺจิ รูป๏ แม้ทั้งสองอย่างนี้ ย่อมเป๐นอันทรงทําการกําหนดเอารูปโดยไม่มี ส่วนเหลอื ถามวา่ ในรูปขนั ธ์นน้ั สภาวธรรมทช่ี อื่ วา่ รปู ดว้ ยความหมายว่ากระไร ตอบว่า ทีช่ ือ่ ว่ารปู ด้วยความหมายวา่ ย่อยยบั สมจริงดังพระดํารัสท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ภิกษุทั้งหลาย เพราะ เหตุไร พวกเธอจึงเรียกว่า รูป ภิกษุท้ังหลาย เพราะเหตุที่รูปย่อมสลายไป ฉะนั้น จึง เรียกวา่ รปู รปู ย่อมสลายไปเพราะอะไร ย่อมสลายไปเพราะความหนาวบ้าง ย่อมสลาย ไปเพราะความร้อนบ้าง ย่อมสลายไปเพราะความหิวบ้าง ย่อมสลายไปเพราะความ กระหายบา้ ง ยอ่ มสลายไปเพราะสัมผัสแหง่ เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตทุ ่รี ูปย่อมสลายไป เพราะเหตนุ ัน้ จึงเรียกว่า รปู ฯลฯ๓๙๑ ในคําว่า ตังตังวาปนกนัย [ตํ ตํ วา ปน] นี้ บัณฑิตไม่ควรดูนัยที่กล่าวไว้ ข้างต้น เพราะพระผมู้ พี ระภาคมไิ ดท้ รงแยกอรรถใหเ้ ข้าใจดว้ ยสมมติ แตท่ รงแยกให้เข้าใจ ดว้ ยบคุ คล เพราะฉะน้ัน ดว้ ยอาํ นาจตงั ตงั วาปนกนัยนน่ั แล พระผูม้ พี ระภาคจึงตรัสความ ทรี่ ูปทราม และรูปประณีต เพราะอาศยั การเปรียบเทียบ โดยเฉพาะบุคคล จริงอยู่ รูปของสัตว์นรก จัดเป๐นรูปทรามที่สุด แต่ในจําพวกสัตว์เดรัจฉาน รูปของนาคและครฑุ ก็ยังชอ่ื วา่ ประณีต [กว่า] เม่อื เทยี บรูปของพวกสตั วน์ รกนั้น รูปของนาคและครุฑเหล่าน้ัน จัดว่เป๐นรูปทราม แต่รูปเปรตทั้งหลาย ก็ยัง ชอื่ วา่ ประณึต [กวา่ ] เมอ่ื เทยี บกบั รูปของพวกนาคและครฑุ นัน้ รูปของเปรตแม้เหล่าน้ัน จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของชนชาวชนบท ก็ยัง ชอ่ื วา่ ประณีต [กวา่ ] วเม่อื เทยี บกบั รูปของพวกเปรตน้ัน รูปของชาวชนบทแม้เหล่านั้น จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของนายบ้าน ทัง้ หลาย ก็ยังชื่อว่าประณตี [กว่า] เมอ่ื เทยี บกบั รูปของพวกชาวชนบทน้นั รูปของนายบ้านแม้เหล่านั้น จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของเจ้าชนบท ทัง้ หลาย ก็ยังชื่อว่าประณีต [กว่า] เมอ่ื เทียบกบั รปู ของพวกนายบ้านนัน้ รปู ของเจา้ ชนบทแม้เหล่านั้น จดั ว่าเปน๐ รูปทราม แต่รูปของเจ้าประเทศราช ทัง้ หลาย กย็ ังชื่อว่าประณีต [กวา่ ] เมือ่ เทียบกบั รปู ของพวกเจ้าชนบทน้นั รูปของเจ้าประเทศราชแม้เหล่าน้ัน จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของพระเจ้า จักรพรรดิทงั้ หลาย กย็ ังชอ่ื ว่าประณีต [กวา่ ] เมือ่ เทยี บกับรูปพวกเจา้ ประเทศราชน้นั ๓๙๑ สมั โมหวโิ นทนี แปล, หน้า ๔-๕.

๔๙๖ รูปของพระเจ้าจักรพรรดิแม้น้ัน จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของภุมมเทวดา ทั้งหลาย กย็ งั ชือ่ วา่ ประณตี [กว่า] เมอ่ื เทยี บกบั รูปของพระเจา้ จักรพรรดนิ ัน้ รปู ของพวกภุมมเทวดาแม้เหล่าน้ัน จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของพวกท้าว จตมุ มหราช กย็ ังชื่อวา่ ประณีต [กว่า] เมอ่ื เทียบกับรูปของพวกภุมมเทวดานนั้ รูปของพวกท้าวจตุมมหราชแม้เหล่านั้น จัดว่าเป๐นรูปทราม แต่รูปของพวก เทวดาชน้ั ดาวดงึ ส์ กย็ ังชื่อว่าประณีต [กว่า] เมื่อเทียบกับรูปของพวกท้าวจาตุมมหาราช น้นั ฯลฯ๓๙๒ มนสกิ ารโกศล ๑๐ อยา่ ง พระผู้มีพระภาค ครั้นทรงบอกอุคคหโกศล ๗ อย่าง อย่างน้ีแล้ว จึงพบอก มนสิการโกศล ๑๐ อยา่ ง ดังนี้ คอื ๑. อนปุ พุ ฺพโต โดยลําดบั ๒. นาติสีฆโต โดยไม่รบี ดว่ น ๓. นาตสิ ณิกโต โดยไมช่ า้ เกินไป ๔. วกิ เฺ ขปปฏพิ าหนโต โดยการหา้ มความฟูงุ ซา่ น ๕. ปณฺณตฺติสมติกกฺ มนโต โดยการก้าวลว่ งบญั ญตั ิ ๖. อนุปุพฺพมุํจฺ นโต โดยการปลอ่ ยลําดับ ๗. อปฺปนาโต โดยอปั ปนา ๘. ๙. ๑๐. ตโย จ สุตฺตนตฺ า โดยสุตตันตะ ๓ มนสิการโดยลาดับ บรรดาโกศล ๑๐ ประการเหล่าน้ัน คําว่า โดยลําดับ [อนุปุพฺพโต] ความว่า พระโยคาวจรพึงมนสิการ [ทําไว้ในใจ] กัมมัฏฐานนี้ไปตามลําดับ เร่ิมต้ังแต่การสาธยาย ไป ไมพ่ งึ มนสิการกัมมัฏฐานข้ามลําดับ [สลับลําดับ] เพราะว่าเมื่อมนสิการข้ามลําดับ ก็ จะเหนื่อยใจ ย่อมตกไปจากอารมณ์ เพราะไม่บรรลุธรรมเป๐นที่ชอบใจที่จะพึงบรรลุได้ ดว้ ยอํานาจภาวนาสมบตั ิ ท้ังทาํ ภาวนาไม่ให้สําเร็จ เปรียบเหมือนบุรุษผู้ไม่ฉลาด ก้าวข้ึน บนั ได ๓๒ ขั้น โดยข้ามทลี ะข้ัน กย็ ่อมไมเ่ หน่อื ยกายพลดั ตกลงไป ฉะน้นั มนสิการโดยไม่รีบด่วน อน่ึง แม้เม่ือมนสิการโดยลําดับ ก็พึงมนสิการโดยไม่รีบด่วน เพราะว่าเม่ือ มนสิการโดยรบี ดว่ นเกนิ ไป กมั มัฏฐานย่อถงึ ทีส่ ดุ อย่างเดียว แตไ่ ม่แจม่ แจง้ ท้ังไม่นํามาซ่ึง คณุ วิเศษ เปรยี บเหมอื นบรุ ุษเดินทางตลอด ๓ โยชน์ ไม่ได้กําหนดทางท่ีควรเดินและทาง ๓๙๒ สัมโมหวิโนทนี แปล, หนา้ ๑๗-๑๘

๔๙๗ ที่ควรละ เดินไปเดินมาอย่างรวดเร็วแม้ต้ัง ๗ คร้ัง ทางย่อมส้ินไป แม้ก็จริง ถึงอย่างน้ัน พอละท้งิ ทางที่ควรจะละได้แล้วจึงจะเดินทางไปได้ ฉะนั้น เพราะฉะนั้น พระโยคาวจรพึง มนสกิ ารโดยไมร่ ีบดว่ นเกนิ ไป มนสิการโดยไมช่ า้ เกินไป ก็พระโยคาวจร พึงมนสกิ ารโดยไม่รีบด่วน ฉันใด ก็พึงมนสิการโดยไม่ชักช้า เกินไป ฉันนั้น เพราะวา่ เมื่อมนสิการโดยชกั ช้าเกินไป กมั มฏั ฐานย่อมจะไม่ถึงที่สุด ทั้งไม่ เปน๐ ป๎จจัยแกก่ ารบรรลุคุณวิเศษ เปรียบเหมือนบุรุษประสงค์จะเดินทางไกล ๓ โยชน์น่ัน แล มวั แตช่ ักช้าหยดุ อยพู่ ักตามโคนต้นไม้ เชิงเขา เป๐นต้น ในระหว่างทาง ก็ย่อมจะไม่ถึง การส้ินไป ต้องเดินไป ๒-๓ วนั จงึ จะถึงทีส่ ดุ ทางได้ ฉะนนั้ มนสิการโดยการห้ามความฟงุ้ ซ่าน คําว่า โดยการห้ามความฟุ้งซ่าน [วิกฺเขปปฏิพาหนโต] ความว่า พระ โยคาวจรพึงละกัมมฏั ฐาน แลว้ ห้ามจิตที่ฟูุงไปในอารมณ์ภายนอกมากมายเสีย เพราะว่า เมื่อไม่ห้ามจิตไว้ เมื่อจิตฟูุงไปภายนอก กัมมัฏฐานย่อมเส่ือมสลายไป เปรียเหมือนเมื่อ บุคคลเดนิ ทางริมเหวซ่งึ เป๐นทางเดินได้คนเดียว ไม่กํากหนดทางท่ีเหยียบ มัวแต่เหลียวดู ทางโนน้ ทางน้ี ยอ่ มกา้ วเท้าพลาดได้ เขาจะต้องตกลงไปในเหวลึก ๑๐๐ ช่วงคนจากทาง นั้นฉะนัน้ เพราะฉะนัน้ พงึ มนสกิ ารโดยการหา้ มความฟงุู ซ่านเสยี มนสกิ ารโดยการก้าวล่วงบัญญัติ คําว่า โดยการก้าวล่วงบัญญัติ [ปณฺณตฺติสมติกฺกมนโต] ความว่า พระ โยคาวจรพึงล่วงบญั ญัติท่วี า่ ผม ขน เปน๐ ต้นเสยี แล้วพงึ ตง้ั จิตไว้ว่า นั่นเป๐นสิ่งปฏิกลู เหมือนอย่างว่า ในเบื้องต้น เม่ือพระโยคาวจรมนสิการอยู่ด้วยอํานาจ บญั ญัติว่า ผม ขน เป๐นต้น ความเป๐นปฏิกูลย่อมปรากฏ ลําดับน้ัน พึงล่วงเลยบัญญัติว่า ผม ขน เป๐นตน้ เสียแล้วต้ังจิตไว้ในความเป๐นปฏิกูลเท่าน้ัน เปรียบเหมือนในเวลาที่หานํ้า ได้ยาก พวกมนุษย์เห็นสถานท่ีท่ีมีนํ้าในปุา จึงผูกเครื่องหมายบางอย่าง มีใบตาลเป๐นต้น ไวใ้ นที่นน้ั แลว้ มาอาบและมาดม่ื นาํ้ ตามเครื่องหมายน้ัน ก็แต่ว่าเม่ือใดรอยเท้าท่ีพวกเขา เดินไปเดินมาด้วยการสัญจรอยู่เป๐นประจําปรากฏแล้ว เม่ือนั้น ก็ไม่มีความจําเป๐นด้วย เครอื่ งหมายนน้ั อกี พวกเขายอ่ มไปอาบและไปด่มื ได้ในขณะที่ต้องการๆ ฉะนน้ั ๓๙๓ นคิ มคาถา ก็พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเคารพธรรม ทรงมีหมู่ทวยเทพนับพันห้อม ล้อม ทรงเปน๐ ที่พึง่ พระองคเ์ ดยี วไม่มีบุรษุ เปน๐ สหาย เมือ่ ทรงแสดงพระอภิธรรม จึงได้ตรัส ๓๙๓ สมั โมหวโิ นทนี แปล, หนา้ ๓๘๑-๓๘๓.

๔๙๘ วิภงั คปกรณ์ อนั เปน๐ ปกรณ์ท่ี ๒ ซง่ึ มีคณุ อนั น่าดูดดม่ื ประดบั ประดาดว้ ยวภิ งั ค์ ๑๘ วิภังค์ แก่ทวยเทพผูป้ ระกอบด้วยความเคารพธรรม ในเทพนคร ด้วยพระดํารัสประมาณเทา่ นี้ เพื่อประกาศอรรถแห่งปกรณน์ น้ั ขา้ พเจา้ มีนามวา่ พทุ ธโฆสะ ผู้มีคติไม่ชักช้า มคี วามร้ดู ี อนั คณะสงฆ์ผทู้ รงคุณอันมั่นคง นิมนต์แล้ว จึงได้เริ่มรจนาอรรถกถาชื่อว่าสัม โมหวิโนทนอี ันใดไว้ เพื่อบรรเทาความหลงในอรรถอนั ละเอยี ดอ่อน เพราะถือเอาสาระแห่งอรรถกถาของโบราณจารย์ อรรถกถานี้ จึงถึง ความสําเร็จโดยปราศจากอันตราย ด้วยพระบาลี ๔๑ ภาณวาร ฉันใด ขอมโนรถแม้ท้ัง ปวงของสรรพสตั วท์ ้ังหลาย จงปราศจากมลทนิ ดาํ เนินไปสู่ความสาํ เร็จ ฉนั น้ัน เทอญ ก็บุญใดอันช้าพเจ้าผู้รจนาปกรณ์นี้ เพ่ือความมั่นคงแห่งพระสัทธรรม ได้ ประสบแล้ว ขอสตั วโ์ ลกพร้อมทั้งเทวโลก จงประสบความสาํ เรจ็ ด้วยบุญนั้น ขอพระสทั ธรรมจงตัง้ อยู่ดีตลอดกาลนาน ขอสตั วโ์ ลก จเป๐นผู้ยินดียิ่งในพระ ธรรมทุกเม่ือ ขอชนบททั้งหลาย จงพร้อมด้วยความเกษมสําราญ และมีภิกษาหาได้ง่าย เปน๐ ตน้ ตลอดกาลเป๐นนติ ย์ เทอญฯลฯ๓๙๔ สารตั ถปกาสนิ ี สารัตถปกาสินี๓๙๕ เป๐นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ เขียนเพื่อ อรรถาอธบิ ายความพระไตรปฎิ ก สงั ยุตตนิกาย สคาถาวรรค, นทิ านวรรค, ขันธวารวรรค, สฬายตนวรรค, และมหาวรรค มีท้งั หมด ๓ ภาค ภาคท่ี ๑ อธิบายความในสคาถวรรค ประกอบดว้ ย ๑๑ สังยุต ดงั น้ี ๑] เทวตาสังยุต ประกอบด้วย นฬวรรค ว่าด้วยต้นอ้อ ๑๐ พระสูตร, นันทวรรค ว่าดว้ ยสวนนนั ทวนั ประกอบดว้ ย ๑๐ พระสูตร, สัตติวรรค ว่าด้วยเร่ืองหอก ประกอบด้วย ๑๐ พระสูตร, สตุลลปกายิกวรรค ว่าด้วยพวกเทวดาสตุลลปกายิกา ประกอบ ๑๐ พระสตู ร, อาทติ ตวรรค วา่ ดว้ ยของร้อน ประกอบด้วย ๑๐ พระสูตร, ชรา วรรค ว่าด้วยชรา ประกอบด้วย ๑๐ พระสูตร, อัทธวรรค ว่าด้วยส่ิงครอบงํา ประกอบดว้ ย ๑๐ พระสูตร, ฆัตวาวรรค วา่ ด้วยการฆ่า ประกอบดว้ ย ๑๐ พระสตู ร ๓๙๔ สัมโมหวิโนทนี แปล, หนา้ ๘๗๐-๘๗๑. ๓๙๕ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวัคควัณณนา สารัตถัปปกาสินี ภาค ๑, [กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั , ๒๕๕๓], ๕๖๒ หนา้ .

๔๙๙ ๒] เทวปุตตสังยุต ประกอดด้วย ปฐมวรรคหมวดท่ี ๑๐ พระสูตร, อนาถปณิ ฑิกวรรค จาํ นวน ๑๐ พระสตู ร, นานติตถิยวรรค ประกอบดว้ ย ๑๐ พระสูตร ๓] โกสลสังยตุ ประกอบด้วย ปฐมวรรค มี ๑๐ พระสูตร ทุติยวรรค มี ๑๐ พระสตู ร ตตยิ วรรค มี ๕ พระสูตร ๔] มารสังยุต ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร ทุติยวรรค ๑๐ พระสตู ร ตติยวรรค มี ๕ พระสตู ร ๕] ภกิ ขณุ สี งั ยุต ประกอบด้วย ๑๐ พระสตู ร ๖] พรหมสังยุต ประกอบด้วย ปฐมวรรค จํานวน ๑๐ พระสูตร ทุติย วรรค จํานวน ๕ พระสูตร ๗] พราหมณวรรค ประกอบด้วย อรหันตวรรค ๑๐ พระสูตร อุปสก วรรค ๑๒ พระสูตร ๘] วงั คสี สังยุต ประกอบดว้ ย ๑๒ พระสตู ร ๙] วนสังยุต ประกอบด้วย ๑๔ พระสูตร ๑๐] ยกั ขสงั ยตุ ประกอบดว้ ย ๑๒ พระสูตร ๑๑] สักกสงั ยุต ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร ทุติยวรรค ๑๐ พระสูตร และตตยิ วรรค ๕ พระสูตร ภาคที่ ๒ อธิบายความต่อนับต้ังแต่นิทานวรรค ประกอบด้วย พุทธวรรค ๑๐ พระสตู ร, อาหารวรรค ๑๐ พระสูตร, ทสพลวรรค ๑๐ พระสูตร, กาฬาขัตติยวรรค ๑๐ พระสูตร, คหปตวิ รรค ๑๐ พระสูตร, ทุกขวรรค ๑๐ พระสูตร, มหาวรรค ๑๐ พระ สูตร, สมณพราหมณวรรค ๑ พระสูตร, อันตรเปยยาล ๑ พระสูตร จากนั้นอธิบายใน หมวดสงั ยุตทเ่ี หลอื ประกอบดว้ ย ๑] อภสิ มยสงั ยตุ ประกอบดว้ ย ๕ พระสูตร ๒] ธาตุสังยุต ประกอบดว้ ย นานตั ตวรรค ๑๐ พระสูตร, ทุติยวรรค ๑๒ พระสตู ร, กัมมปถวรรค ๗ พระสูตร, จตตุ ถวรรค ๑๐ พระสูตร ๓] อนมตัคคสังยุต ประกอบปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร, ทุติยวรรค ๑๐ พระสูตร ๔] กสั สปสงั ยุต ประกอบด้วย ๑๓ พระสูตร ๕] ลาภสักการสังยตุ ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร, ทุติยวรรค ๑๐ พระสูตร, ตติยวรรค ๑๐ พระสตู ร, จตุตถวรรค ๑๓ พระสูตร ๖] ราหุลสังยุต ประกอบด้วย ปฐมวรรค ๑๐ พระสูตร ทุติยวรรค ๑๒ พระสตู ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook