Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๓๕๐ ปฏุ โหติ ปธานรโต นรโต อิธ โย ปน สารมเต รมเต. จากตวั อย่างนี้ จะเห็นว่า ผู้แต่งใช้คําท่ีพ้องรูป พ้องเสียง และมีความหมาย เหมือนกนั หลายคํา ได้แก่ คําวา่ ปรเม ปรเม ในบาทท่ี ๑ คําว่า นยเน นยเน ในบาทท่ี ๒ คาํ วา่ รโต รโต ในบาทที่ ๓ และคําว่า รมเต รมเต ในบาทท่ี ๔ ตวั อยา่ งอตั ถาลงั การ คัมภีร์สุโพธาลังการได้กล่าวถึงอลังการข้อนี้ไว้ถึง ๓๕ ประเภท แต่ใน งานวิจัยของธีรโชติ เกิดแก้ว ศึกษาวิเคราะห์เฉพาะอุปมาลังการ คือ การใช้โวหาร เปรยี บเทยี บเรื่องที่อธบิ ายใหผ้ อู้ ่านเข้าใจและมองเห็นภาพท่ีชัดเจนย่ิงขึ้นท่ีเรียกในคัมภีร์ สโุ พธาลังการวา่ “อิวาทสิ ัททคัมมา” คอื อุปมาที่พึงรู้ด้วยศัพท์มี อิว ศัพท์เป๐นต้น ซึ่งจาก การศึกษากพ็ บวา่ วา่ คัมภรี ์มิลินทปญ๎ หาฎกี าใชอ้ ปุ มาตามสาํ นวนบาลีที่ว่าด้วยนิบาตบอก อุปมา ได้แก่ ยถา ฉันใด วิย ราวกะ อิว เพียงดังหรือดุจ ศัพท์ที่มีความหมายเชิงอุปมา เช่น สทิส เช่นกับ เป๐นต้น และคําอุปมาในรูปของคําสมาส ตามผลการศึกษาที่กล่าวไว้ แล้ว ในหัวข้ออุปมาโวหาร นอกจากนี้ยังพบว่า ลักษณะของการเปรียบเทียบอีกหลาย ประการ เช่น ๑. การเปรียบเทียบเกี่ยวกับสิ่งท่ีมีสภาวะเหมือนกัน เช่น “สเทวเก โลเก ยถา ธมฺมํ อูมึ วิปฺผาโร, ตถา สเทวเก โลเก พุทฺโธ อคฺโค ภวิสฺสตีติ อนุมาเนน ญาตพฺพํ. แปล: พึงรู้ด้วยการคาดคะเนด้วยเหตุผลว่า พระพุทธเจ้าทรงเป๐นผู้เลิศ [ที่สุด] ในโลก พร้อมท้ังเทวโลกเหมือนอย่างคล่ืนคือพระธรรมที่แผ่ไป” ตัวอย่างนี้เป๐นการเปรียบเทียบ สภาวะความเป๐นเลิศท้ังในโลกน้ีและโลกสวรรค์ของพระธรรมกับพระพุทธเจ้า เรียกว่า “ธมโฺ มปมา” เปรียบเทยี บธรรม ๒. การเปรียบเทียบเรื่องอยู่ในประเภทเดียวกัน เช่น อุปฺปลํ ว ยโถทเกติ เอตถฺ วตุ ตฺ สมจุ ฺจยตฺโถ วาสทฺโท วิย. แปล: ดุจวาศัพท์ท่ีท่านกล่าวในประโยคนี้ว่า อุปฺปลํ ว [วา] ยโถทเก. ผู้แต่งยกเอาวาศัพท์ในประโยคดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับวาศัพท์ใน ประโยคทก่ี ล่าวมาข้างหน้า คอื “วาสทโฺ ท เจตฺถ สมุจฺจยตฺโถ กว็ าศพั ท์ในท่ีน้ีมีความหมาย ว่ารวบรวม.” เพ่อื ให้ผอู้ ่านเขา้ ใจวา่ วา ศัพท์ท้ังสองประโยคทั้งสองเป๐นสมุจจยัตถะ คือ ทาํ หน้าทีร่ วบรวมหรอื แปลวา่ หรอื เหมือนกนั ๓. การเปรียบเทียบเก่ียวกับตัวบุคคล พบในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น อาการคุณสมบัติ เป๐นต้น ตัวอย่างเช่น โส “อิธ ธนนฺ”ติ นิธิฏฺฐานํ อาจิกฺขนฺโต วิย “คงฺ คายํ ปติตฺวา มริสฺสามี”ติ ปลายิตฺวา คงฺคาย ปติ.” แปล: บุรุษน้ันทําเป๐นเหมือนบอกท่ี ซ่อนทรัพย์ว่าทรัพย์อยูต่ รงน้ี พลางคดิ วา่ เราจกั โดดแม่นํา้ ตาย ดังนี้แลว้ ไดห้ นีไปโดดลงใน

๓๕๑ แม่นํ้า ข้อน้ีเป๐นการเปรียบเทียบให้เห็นอาการของบุรุษคนหนึ่งที่แสร้งทําอาการบอก ขุมทรพั ย์ใหแ้ ก่เจา้ หนแ้ี ล้วหนีไปโดดนา้ํ ตาย เพราะไมม่ เี งนิ ใช้หนเี้ ขา.

๓๕๒ หมวด ย โยชนามูลกัจจายนะ โยชนามูลกัจจายนะ๒๗๖ เป๐นคู่มือสําหรับการศึกษาคัมภีร์มูลกัจจายนะ ทํา ให้ทราบถึงคําแปล การขยายความของคําด้วยการตั้งวิเคราะห์ แยกธาตุ บอกถึง ไวยากรณ์ วิธีทําตวั ของแต่ละบท บอกสัมพันธ์ให้รู้ว่า คําไหนเข้ากับคําไหน และบอกตัว โยคของสรรพนาม เปน๐ ตน้ จดั เปน๐ วรรณกรรมภาษาบาลีชั้นท่ี ๔ โดยเรียงลําดับจาก บาลี , อรรถกถา, ฎกี า, อนฎุ กี า, และโยชนา โยชนามูลกัจจายนะ รจนาโดยพระญาณกิตติเถระ ชาวเชียงใหม่ รจนาขึ้น ตามคําอาราธนาของพระญาณรังสี ท่านรจนาคัมภีร์เล่มน้ีขณะจําพรรษาอยู่ที่วัดปนสา ราม [สวนต้นขนุน] อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเชียงใหม่ ท่านเขียนโยชนาข้ึน หลายเล่ม เช่น สมันตปาสาทิกา อัตถโยชนา, อัฏฐสาลินี อัตถโยชนา, สัมโมหวิโนทนี อตั ถโยชนา, ปคุ คลบัญญัติ อัตถโยชนา, อภิธัมมัตถวิภาวินี อัตถโยชนา รวมถึงมูลกัจจาย นะ อัตถโยชนา เปน๐ ต้น สมัยที่แต่งไม่ได้ระบุไว้ มีแต่ข้อสันนิษฐานจากสุภาพรรณ ณ บางช้างว่า พระญาณกิตติเถระจารลงในใบลานดว้ ยอกั ษรขอม ระหว่าง พ.ศ.๒๐๔๖-๒๐๔๗ ในส่วนของเนอ้ื หา และแนวทางในการเขียนตําราไวยากรณ์ในคัมภีร์โยชนา มลู กจั จายนะ เร่ิมด้วยคันถารัมภะ คือบทปรารภของผู้รจนา ซ่ึงผนวกบทประณาม และ ปฏิญญาเขา้ ด้วยกนั ตอ่ แตน่ ้ันก็แจกแจงเน้อื หาตงั้ ตามลําดบั คอื ๑. สนธิ วา่ ด้วยการต่ออกั ขระใหเ้ น่ืองกนั ๒. นาม วา่ ด้วยการกระจายาคาํ นามดว้ ยวภิ ตั ติตามลักษณะแหง่ ลิงค์ ๓. การก ว่าดว้ ยการสัมพันธ์ระหว่างคาํ นามกบั คํากริ ยิ า ๔. สมาส ว่าดว้ ยรวมนามศพั ท์ ตั้งแตส่ องศพั ทข์ ้ึนไปเข้าเป๐นบทเดยี วกนั ๕. ตทั ธติ ว่าด้วยการประกอบป๎จจัยหลังคํานาม เพื่อใช้แทนศัพท์ที่ถูก ลบไป ๖. อาขยาตวา่ ดว้ ยการสร้างคํากรยิ าอาการ ๗. กิตก์ ว่าด้วยการสร้างคํานามกิตก์ และกิริยากิตก์ โดยการลงป๎จจัย ทา้ ยธาตุ ๒๗๖ พระมหาพรอ้ มเพรียง ภูริญาโณ [เสาร์สูงเนิน], โยชนามูลกัจจายนะ ปริจเฉทท่ี ๑-๒ [สนธ-ิ นาม]: การตรวจชาระและศึกษา, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิต วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๙], ๕๗๘ หน้า.

๓๕๓ ๘. อณุ าทิ วา่ ดว้ ยการสร้างคาํ โดยการลงปจ๎ จยั กิตก์กลุม่ หนึ่งมี อุณ ป๎จจัย เปน๐ ตน้ แนวการเขียนเรียงลําดับ ๑] สัมพันธะ แสดงหน้าที่ของบทที่มาในสูตร ๒] ปทัจเฉทะ การตัดบทในสูตร ๓] ปทัตถะ แปลเนื้อความของบท ๔] ปทวิคคหะ การ วเิ คราะห์บท ๕] โจทนา การตัง้ โจทยถ์ าม ๖] ปริหาระ การตอบ ๗] วินจิ ฉยะ การวินิจฉัย และ ๘] รูปสาธนะ การสรา้ งรูปคาํ โยชนามูลกัจจายนะนี้ เปน๐ บทประพันธป์ ระเภทรอ้ ยแก้ว ผสมร้อยกรอง ถึง จะไม่เพรดิ แพรวดว้ ยสทั ทาลังการ อรรถาลังการมากมายนัก แต่ก็มีปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง ในท่ีน้ีขอนําเสนอด้านอลังการเท่าท่ีปรากฏโดยสังเขปพอเป๐นแนวทางการศึกษา ดังต่อไปน้ี๒๗๗ ในโยชนามูลกัจจายนะ ทา่ นผ้รู จนาประพนั ธค์ ันถารัมภะประเภทปณาม คัน ถารัมภะไวด้ ้วยอนุฏฐุภาฉนั ท์ ดังนีค้ ือ [ก] นมสฺสิตวฺ า ชินํ ภูรึ สททฺ สนฺตานการณํ, กจฺจายนํจฺ ธีมนฺตํ สมฺพุทฺเธน ปสํสิตํ. [ข] อตฺถาย กุลปุตฺตานํ ยํ กจฺจายเนน ภาสติ ํ, ตสสฺ นฺยาสตุ ฺตรปู านิ อทุ ฺธรสิ สฺ ามิ สาธกุ ํ. [ค] นฺยาเส วิตถฺ ารโต วตุ ตฺ - รูปานิ จ สนุ ฺทรานิ, หติ านิ สุเขน ญาํตุ น สกฺกา มนทฺ พุทธฺ นิ า. [ง] ตสฺมา ปรตฺถกาเมน ธีมตา นีจวตุ ฺตนิ า, ญาณรสํ ีติ นาเมน เถเรน ถิรสีลนิ า. [จ] สาสนสฺสุปการาย มนทฺ พุทธฺ ิหติ าย จ, ยาจิโต อทุ ฺธรติ วฺ า - ปยิสสฺ ํ ตานิ นฺยาสโตติ. จากคาถาท้งั ๕ นี้ ประดับด้วยสัททาลงั การอยู่ ๙ อยา่ งคอื ๑. ปสาทคณุ คันถารมั ภะทั้ง ๕ คาถานีร้ จนาข้ึนด้วยบทที่สามารถอ่านแล้ว เขา้ ใจความหมายได้อย่างง่ายดาย เพราะมีความชัดเจนด้านเนื้อความ ประหนึ่งมองดูเงา หนา้ ของตนในกระจกเงาท่ที าํ ความสะอาดไว้แล้วอยา่ งดี ๒. โอชคุณ คันถารัมภะทั้ง ๕ คาถาน้ีรจนาขึ้นด้วยบทสมาสเป๐นส่วนมาก และเหมือนแสดงการขยายความให้ชัดเจนด้วยบทวิเสสนะ เช่นใช้บทว่า “ภูรึ” ขยาย ๒๗๗ ดูรายละเอยี ดใน พระมหาพร้อมเพรียง ภูริญาโณ [เสาร์สูงเนิน], โยชนามูลกัจจายนะ ปรจิ เฉทท่ี ๑-๒ [สนธิ-นาม]: การตรวจชาระและศกึ ษา, หนา้ ๔๔-๔๘.

๓๕๔ ความบทว่า “ชินํ” หรือใช้บทว่า “ธีมนฺตํ” ขยายความบทว่า “กจฺจายนํ” ลักษณะการ ประพนั ธ์เชน่ นี้ ย่อมก่อใหเ้ กดิ ความประทับใจในคณุ ของทา่ นผู้ที่ถูกยกข้ึนเป๐นต้นแบบ ใน การศึกษาปฏบิ ตั ิ ๓. มธรุ ตาคุณ จาํ แนกออกเปน๐ ๒ ประการคือ ๑] ปทาสตั ติ ไดแ้ กบ่ ทประพันธ์ท่ีรจนาด้วยเสียงคล้องจองกัน ด้วยการ ประกอบสระพยัญชนะท่ีมีฐาน กรณ์ และมาตรา ใกลเ้ คียงกนั ๒] อนุปปาสะ ได้แก่บทประพันธ์ที่รจนาด้วยสระและพยัญชนะซํ้า ๆ กันสําหรับคันถารมั ภะทง้ั ๕ คาถานี้ รจนาขึ้นด้วยสระพยัญชนะท่ีคล้องจองใกล้เคียงกัน โดยเสียงท่เี ปลง่ ออกและฐานกรณ์ ๔. สมตาคณุ จําแนกออกเปน๐ ๓ ประการคอื ๑] เกวลมทุ สุ มตา ความสม่าํ สมอดว้ ยพยญั ชนะทเี่ ปน๐ สถิ ิลล้วน ๒] เกวลผฏุ สมตา ความสมํ่าสมอดว้ ยพยัญชนะทีเ่ ป๐นธนิตล้วน ๓] มิสสกสมตา ความสมํ่าเสมอด้วยพยัญชนะที่เป๐นสิถิลและธนิตผสม กนั สําหรบั คนั ถารมั ภะทงั้ ๕ คาถานี้ รจนาขึ้นด้วยสระพยัญชนะที่ได้รับการคัด สรรมาเปน๐ อยา่ งดี จึงมพี ยัญชนะท่ีเปน๐ สถิ ลิ และธนติ ผสมกันอย่างเหมาะสม ตัวอย่างเช่น คาถาที่ ๑ บาทแรกว่า “นมสฺสิตฺวา ชินํ ภูรึ” น้ีใช้พยัญชนะที่เป๐นสิถิลโฆสะ ๑ คร้ังคือ ช ใชพ้ ยญั ชนะทธ่ี นิตโฆสะ ๑ คร้ังคือ ภ ใชพ้ ยัญชนะวัคคท่ีเป๐นวิมุตตะ ๓ คร้ังคือ น ม น ใช้พยัญชนะอวรรคโฆสะ ๑ คร้ังคือ ร ใช้พยัญชนะอวรรคอโฆสะ ๑ ครั้งคือ ส ใช้ พยญั ชนะอวรรคที่เปน๐ วิมตุ ตะ ๑ คร้ังคือ อํ บาทท่ี ๒ ว่า “สททฺ สนฺตานการณํ” นี้ ใช้พยัญชนะที่เป๐นสิถิลอโฆสะ ๒ คร้ัง คือ ก, ต ใช้พยัญชนะที่เป๐นสิถิลโฆสะ ๑ ครั้งคือ ท ใช้พยัญชนะวรรคที่เป๐นวิมุตตะ ๒ คร้งั คือ ณ, น ใชพ้ ยัญชนะอวรรคท่ีเป๐นโฆสะ ๑ ครั้งคือ ร ใช้พยัญชนะอวรรคท่ีเป๐นอโฆ สะ ๒ ครง้ั คือ ส, ส ใช้พยญั ชนะอวรรคทีเ่ ป๐นวมิ ตุ ตะ ๑ ครัง้ คือ อํ บาทที่ ๓ วา่ “กจจฺ ายนํฺจ ธีมนตฺ ํ” นี้ ใชพ้ ยัญชนะทเี่ ปน๐ สถิ ลิ อโฆสะ ๔ คร้ัง คอื ก, จ,จ, ต ใช้พยัญชนะที่เป๐นธนิตโฆสะ ๑ คร้ังคือ ธ ใช้พยัญชนะวรรคท่ีเป๐นวิมุตตะ ๒ ครงั้ คอื น, ม ใช้พยญั ชนะอวรรคที่เป๐นโฆสะ ๑ คร้ังคือ ย ใช้พยัญชนะอวรรคท่ีเป๐นวิ มุตตะ ๑ คร้งั คอื อํ บาทท่ี ๔ ว่า “สมฺพุทฺเธน ปสํสิตํ” นี้ ใช้พยัญชนะที่เป๐นสิถิลอโฆสะ ๒ คร้ัง คอื ป, ต ใช้พยัญชนะท่ีเป๐นสิถิลโฆสะ ๑ ครั้งคือ พ ใช้พยัญชนะท่ีเป๐นธนิตโฆสะ ๑ คร้ัง

๓๕๕ คือ ธ ใช้พยัญชนะวรรคท่ีเป๐นวิมุตตะ ๑ คร้ังคือ น ใช้พยัญชนะอวรรคท่ีเป๐นอโฆสะ ๓ ครัง้ คือ ส ใช้พยัญชนะอวรรคทีเ่ ปน๐ วมิ ตุ ตะ ๒ คร้งั คือ อํ ๕. สขุ มุ าลตาคณุ จาํ แนกออกเป๐น ๓ อยา่ งคือ [๑] เป๐นบาทคาถาท่มี สี ถิ ิลพยัญชนะเปน๐ จาํ นวนมาก [๒] เปน๐ บาทคาถาที่มธี นิตพยัญชนะเจือปนอยูบ่ า้ ง [๓] เปน๐ บาทคาถาสามารถเปลง่ เสยี งไดโ้ ดยสะดวกโดยมีสนธิหรือสมาส เปน๐ อันดี ตวั อยา่ งดังน้ี อตฺถาย กลุ ปุตตฺ านํ ยํ กจจฺ ายเนน ภาสิตํ, ตสฺส นยฺ าสตุ ตฺ รปู านิ อทุ ฺธริสสฺ ามิ สาธกุ ํ. จากคาถานีจ้ ะเหน็ วา่ ทา่ นผ้รู จนา หวังให้นกั ศกึ ษาทรงจาํ เนอื้ ความไดอ้ ย่าง งา่ ยเพอื่ เป๐นเคร่ืองคอยเตือนใจว่าแท้ทจี่ รงิ คมั ภีร์นร้ี จนาขน้ึ เพ่ือประโยชนแ์ ก่นิสิตผเู้ ปน๐ มนั ทพทุ ธิบคุ คล แมผ้ เู้ ป๐นตกิ ขบุคคลก็ควรใส่ใจ มนสิการไวใ้ ห้เป๐นอันดี ๖. สเิ ลสคุณ ไดแ้ กบ่ ทประพนั ธ์ทรี่ จนาขนึ้ ดว้ ยลักษณะ ๒ อยา่ งคอื [๑] มบี ทสังโยคฐานเดียวอยู่ใกลก้ นั [๒] มีครอุ ักษร และธนิตพยัญชนะ ตวั อยา่ ง อตถฺ าย กุลปตุ ฺตานํ ยํ กจฺจายเนน ภาสติ ํ, ตสฺส นฺยาสุตตฺ รูปานิ อุทฺธริสสฺ ามิ สาธกุ ํ ในคาถานี้ มบี ทสังโยคฐานเดียวกัน คือ ตถฺ , ตตฺ , สสฺ , นฺย, ตฺต, ทฺธ, และสฺส ซึง่ สงั โยคเหลา่ นลี้ ้วนเกิดในฐานเดียวกนั คอื ทันตฐาน นอกจากน้ียงั มี อตฺ, ปุตฺ, กจฺ, ตสฺ, นฺ ยา, สตุ ฺ, อทุ ฺ, ริสฺ,ซึ่งลว้ นเปน๐ สังโยคาทคิ รุ มที ฆี ครุ คอื ถา, ตา, จา, เน, ภา, ยา, ร,ู ปา, สา , และ สา มนี คิ คหตี ครุคือ นํ, ยํ, ตํ, และกํ และมธี นติ อกั ขระคอื ถ, ภ, ธ, และ ธ อนงึ่ แม้ สระก็ยงั มีเสียงคล้องจองกัน คอื ในบาทที่ ๑ มี ถา มี ตา มี กุ มี ปุ ในบาทที่ ๒ มี จา มี ภา และมี ยํ มตี ํ ในบาทท่ี ๓ มี ยา มี ปา และมี สุ มี รู ในบาทที่ ๔ มี อุ, มี, ธุ, มี สา มี สา และมี ริ มี มิ ดังนนั้ คาถานี้เมอื่ เปลง่ เสียงแล้ว จะมีความคลอ้ งจองไพเราะ ๗. อทุ ารตาคณุ ไดแ้ ก่บทประพันธ์ที่แสดงถึงคุณธรรมอันสูงส่ง หรือการใช้ บทวเิ สสนะทเี่ หมาะสม เพราะปราศจากผรุสโทษ และคามโทสะเป๐นต้น ในคัมภีร์โยชนา มูลกัจจายนน้ี ท่านผู้รจนาประพันธ์คนั ถารัมภะวา่ นมสฺสติ วฺ า ชนิ ํ ภูรึ สททฺ สนตฺ านการณํ, กจฺจายนํจฺ ธีมนตฺ ํ สมฺพุทฺเธน ปสสํ ติ ํ.

๓๕๖ ฯเปฯ สาสนสฺสุปการาย มนทฺ พทุ ธฺ หิ ติ าย จ, ยาจโิ ต อทุ ฺธริตวฺ า - ปยสิ ฺสํ ตานิ นยฺ าสโต. คันถารัมภะทัง้ ๕ คาถานี้ แสดงความการุญอันเป๐นคุณธรรมที่ย่ิงใหญ่ของผู้ อาราธนาและผู้รจนา ท่มี แี ก่สานศุ ิษย์ ผู้จะเป๐นศาสนทายาทในอนาคต โดยหวังความเป๐น อักขรโกสลั ละเพอื่ วินจิ ฉัย ทรงจาํ รกั ษา และถ่ายทอดตอ่ อนชุ นสบื ไป ๘. กันติคุณ ได้แก่บทประพันธ์ที่มีเนื้อความอันก่อให้เกิดความพึงพอใจ ด้วยคณุ งามความดี ในคัมภรี ์โยชนามลู กจั จายนะนี้ ทา่ นผูร้ จนาประพันธค์ นั ถารมั ภะว่า นมสสฺ ติ วฺ า ชินํ ภรู ึ สททฺ สนตฺ านการณํ, กจจฺ ายนํฺจ ธีมนฺตํ สมฺพุทเฺ ธน ปสสํ ติ ํ. ฯเปฯ สาสนสฺสุปการาย มนทฺ พทุ ธฺ ิหติ าย จ, ยาจโิ ต อุทธฺ ริตฺวา - ปยสิ ฺสํ ตานิ นฺยาสโต. คันถารัมภะทั้ง ๕ คาถานี้ แสดงคุณและมหิทธานุภาพของพระรัตนะตรัย และครูอาจารย์ นอกจากน้ี ยงั แสดงความปรารถนาอนั ยิ่งใหญท่ ีเ่ ป๐นเนติแบบแผนสําหรับ ป๎จฉมิ ชนตาชน ๙. อัตถพยัตติคุณ ได้แก่บทประพันธ์ท่ีแสดงเน้ือความอย่างชัดเจนไม่ คลุมเคลือ ทุกคําศัพท์ท่ีนําเสนอเนื้อความมิว่าจะเป๐นโดยมุขยนัยหรืออุปจารนัย ล้วนมี ความชดั เจน อตั ถพยตั ตคิ ุณนี้มี ๒ อยา่ งคือ ๑] อัตถพยัตตคิ ณุ โดยศัพท์ ๒] อัตถพยตั ตคิ ณุ โดยอรรถ ในคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะน้ี จะเป๐นส่วนคันถารัมภะ ส่วนเน้ือความ หรือ ส่วนนคิ มล้วนคัดสรรคําศัพท์ที่แสดงเน้ือความอย่างชัดเจน โดยหวังอํานวยความสะดวก แก่มนั ทพทุ ธบิ คุ คลนั่นเอง อน่ึง แนวทางในการเขียนคําอธิบายโดยเรียงลําดับ ๑] สัมพันธะ แสดง หน้าท่ีของบทที่มาในสูตร ๒] ปทัจเฉทะ การตัดบทในสูตร ๓] ปทัตถะ แปลเน้ือความ ของบท ๔] ปทวิคคหะ การวิเคราะห์บท ๕] โจทนา การต้ังโจทย์ถาม ๖] ปริหาระ การ

๓๕๗ ตอบ ๗] วินิจฉยะ การวินิจฉยั และ ๘] รูปสาธนะ การสรา้ งรปู คาํ น้นั ในงานวจิ ยั ๒๗๘ของ พระมหาอดิศกั ด์ิ อภปิ ํโฺ ญ [คําตลบ] ได้แสดงตัวอย่างไว้ ผู้เขียนขออนุญาตยกมาแสดง เปน๐ ตวั อยา่ งเรือ่ งสมั พนั ธะกรณเี ดียว เพ่ือเปน๐ ข้อสังเกตประกอบการศึกษา ดังตอ่ ไปนี้๒๗๙ คาํ ว่า สมั พนั ธน์ ี้ หมายถงึ ความเชอื่ มตอ่ กันด้วยดี ในการสังวรรณนากัจจาย นะสตู รนนั้ ทา่ นแสดงสมั พนั ธ์ไว้ ๓ ประการ คือ [๑] แสดงความเชื่อมต่อระหวา่ งกัณฑ์ [๒] แสดงความเชอ่ื มตอ่ กันระหว่างสูตรหนา้ กับสูตรหลัง [๓] แสดงความเช่ือมต่อในสูตร เพือ่ ตดั ความสงสยั ของเหล่าศษิ ย์ ในรูปสทิ ธปิ กรณ์ ท่านผรู้ จนาแสดงอนสุ นธิระหว่างนามกัณฑ์กับการกกัณฑ์ ไว้ในรูปแบบของอปรานุสนธิว่า “อถ วิภตฺตีนมตฺถเภทา วุจฺจนฺเต” และแสดงอนุสนธิ ระหว่างการกกัณฑ์กับสมาสกัณฑ์ไว้ว่า “อถ นามานเมว อํฺญมํฺญสมฺพนฺธีนํ สมาโสติ นามนิสสฺ ิตตฺตา สยํจฺ นามติ กตฺตา นามานนตฺ รํ สมาโส วุจจฺ เต” ในคัมภรี ์กัจจายนสุตตนิทเทส ท่านผู้รจนาแสดงอนุสนธิ ระหว่างนามกัณฑ์ กับการกกณั ฑไ์ วใ้ นรปู แบบของปพุ พฺ าปรานสุ นธิว่า “เอวํ เสยฺยตฺถิกานํ สตฺตวิภตฺยนฺตํ ทุวิธํ นามปทํ ทสฺเสตฺวา อิทานิ นามปทสฺส สํฺญาปพุ พฺ งฺคมํ อตฺถํ ทสเฺ สํตํ “ยสมฺ าทเปติ ภยมาทตเฺ ต วา ตทปาทานนฺ”ติ อาทิ อารทธฺ ํ” และแสดงอนสุ นธริ ะหวา่ งการกกณั ฑก์ บั สมาสกณั ฑ์ไวว้ า่ “เอวํ สตฺตวิภตฺยนฺตานํ ทฺวินฺนํ นามปทานํ ฉกฺการกาทิอตฺถเภทํ ทสฺเสตฺวา อถ ตวํ าจกภาเวน อํฺญ ํ นานปปฺ การํ ทสฺเสํตํ นามาน สมาโส ยตุ ฺตตโฺ ถติอาทิ อารทฺธํ” ในคัมภีร์กัจจายนวัณณนา ท่านแสดงอนุสนธิระหว่างนามกัณฑ์กับการก กณั ฑไ์ วใ้ นรปู แบบของปุพพฺ าปรานุสนธิว่า “เอวํ ตโต จ วภิ ตฺติโยตฺยาทนิ า ชินวจนยุตฺตลิงฺคโต วิสยิภูตวิภตฺตุปฺปตฺตึ ทสฺ เสตวฺ า วิสยภูตํ การกาทอิ ตถฺ วเิ สสํ ทสฺเสํตํ ยสมฺ าทเปตีตยฺ าทิกํ การกาการกวิธานมารภีย เต” และแสดงอนสุ นธริ ะหว่างการกกณั ฑ์กบั สมาสกัณฑ์ไวว้ ่า ๒๗๘ พระมหาอดิศกั ดิ์ อภิปํฺโญ [คําตลบ], โยชนามูลกัจจายนะ ปริจเฉทที่ ๓-๔ [การก- สมาส]: การตรวจชาระและศึกษา, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี, [บัณฑิต วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๙], ๓๕๒ หนา้ . ๒๗๙ ดูคาํ อธบิ ายใน พระมหาอดศิ ักด์ิ อภิปํฺโญ [คําตลบ], โยชนามูลกัจจายนะ ปริจเฉทที่ ๓-๔ [การก-สมาส]: การตรวจชาระและศึกษา,หน้า ๒๒-๒๖.

๓๕๘ “เอวํ ยสฺมาทเปตีตฺยาทีหิ วิสยภูตํ ทฺวาทสวิธํ การกาการกํ ทสฺเสตฺวา เตสุ การกาการเกสุ สสมฺพนฺธการกทีปกํ สมาสนามํ ทสฺเสํตํ นามาน สมาโส ยุตฺตตฺโถติ มหา วิสยํ ยตุ ตฺ ตถฺ สมาสสํญฺ าสตุ ฺตมารภียเต” ในคัมภีรกจั จายนตั ถทีปนีท่านพระอนิ ทรยิ าภิวงศแ์ สดงอนุสนธิระหว่างนาม กณั ฑ์กับการกกณั ฑไ์ วใ้ นรปู แบบของปุพพฺ าปรานสุ นธิว่า “เอวํตโต จ วิภตฺติโยตฺยาทินา ชินวจนยุตฺตลิงฺคโต วิสยีภูตวิภตฺตุปฺปตฺตึทสฺ เสตฺวา วิสยภตู ํ การกาทิอตฺถวิเสสํ ทสฺเสํตํ ยสฺมาทเปติตยฺ าทิกํ การกาการกวิธานมารพฺ ภิยเต”และแสดงอนสุ นธิระหว่างการกกัณฑ์กบั สมาสกณั ฑไ์ ว้วา่ “เอวํ ยสฺมาทเปตีตฺยาทีหิ วิสยภูตํ ทฺวาทสวิธํ การกาการกํ สตฺตวิธํ เนว การกนาการํฺจ ทสฺเสตฺวา เตสุ สสมฺพนฺธการกทีปกํ สมาสนามํ ทสฺเสํตุ นามาน สมาโส ยุตตฺ ตโฺ ถติ มหาวสิ ยํ ยตุ ฺตตฺถสมาสสํฺญาสตุ ฺตํ อาห” สําหรับในโยชนามูลกัจจายนะ ท่านแสดงอนสุ นธริ ะหว่างนามกัณฑ์กับการก กัณฑ์ไวใ้ นรูปแบบของปุพพาปรานสุ นธวิ ่า “เอวํ เสยฺยตฺถิกานํ นามกปฺป๏ ทสฺเสตฺวา อิทานิ การกสามิสํฺญาวิธานสหิตํ วิภตฺตนี ํ อตฺถเภทปฺปกาสกํ การกกปฺป๏ ทสฺเสนฺโต “ยสฺมาทเปติ”ตฺยาทิมาห” และแสดง อนุสนธริ ะหว่างการกกณั ฑก์ บั สมาสกัณฑไ์ ว้ว่า “สามํฺญวิเสสสํฺญาวิธายกสุตฺเตสุ สามํฺญาสํฺญาวิธายกสุตฺตํ ปฐมํ วตฺตพฺพนฺติ มนสิกตฺวา “นามาน สมาโส ยุตฺตตฺโถ”ติ สุตฺตมาห. สุตฺตสฺส อตฺถํ วิวรนฺโต “เตสนฺ”ตฺยาทมิ าห” จากข้อความที่ยกมานแ้ี สดงให้เห็นอนุสนธิระหว่างนามกัณฑ์กับการกกัณฑ์ และระหว่างการกกัณฑ์กับสมาสกัณฑ์ของคัมภีร์ นี้ท่านแสดงไว้ เพื่อให้เห็นความ กลมกลนื ลื่นไหลของเน้อื ความ โดยไม่สะดดุ หรือขาดตอน ในขอ้ ท่ีสองทา่ นแสดงอนสุ นธริ ะหว่างสูตร มี๒ นัย เรียกว่า ปุพพปรานุสนธิ คือความเชื่อมตอ่ กันระหวา่ งสูตรหน้ากับสตู รหลงั และอนุสนธิของบทจากสูตรหน้าท่ีตาม เข้ามาในสูตรหลังทีต่ ามเข้ามาเสริมหน้าท่ีหรือจํากัดขอบเขตหน้าที่ของสูตรนั้น ๆ ในที่น้ี ผู้วจิ ัยจักนําเสนอพอเป๐นตัวอย่างดงั นี้ ในคัมภีร์รูปสิทธิ ท่านแสดงอนุสนธิระหว่างสูตรหน้ากับสูตรหลังไว้ใน รูปแบบของปพุ พาปรานสุ นธิว่า -การกกัณฑ์เช่น เยน วา กยิรเต ตํ กรณนฺติ อิโต วาติ วตฺตเต. กฺวจิ ทุติยา, อตฺเถติ จ วตฺตตนฺเต. สมฺปทานนฺติ วตตฺ เต.

๓๕๙ -สมาสกณั ฑ์ เชน่ นามานํ สมาโส ยุตฺติ สมาสวิธาเน สพฺพตฺถ วตฺตเต. อตฺถว สา วิภตตฺ ิวปิ ริณาโมติ วปิ ริณาเมน ยุตฺตตฺถานนฺติ วตฺตเต . ตุลฺยาธิกรเณ, ปเท, อิตฺถิยํ ภา สติ ปมุ ิตฺถี ปุมาว เจติ จ วตฺตเต. ในคัมภรี ์กัจจายนวัณณนา ท่านแสดงอนุสนธิระหว่างสูตรหน้ากับสูตรไว้ใน รูปแบบของปพุ พาปรานสุ นธิว่า -การกกณั ฑ์ เช่น อทิ านิ อวเสเสสุ จตูสุ การเกสุ โอกาสการกสฺส มหาวิสยตฺ ตา ตํ ทสฺเสํตํ โยธาโร ฯเปฯ สนฺติมาห. เอวํ อปฺปฏฺฐานภูเต การเก ทสฺเสตฺวา อิทานิ ปฏฺ ฐานภตู ํ กตฺตุการกํ โย กโรติ ส กตตฺ าติ อาห. -สมาสกัณฑ์ เช่น สพฺพา สาธารณสยํฺญานนฺตรํ วิเสสสํฺญาว วตฺตพฺพา.ต ถาปิ สพฺพสาธารณวิธิทสฺสนตถํ เตส วิภตฺติโย โลปา เจติ วุตฺตํ. โส นปํุสกลิงฺโค “อุปสคฺคปุพฺพโก อพฺยยีภาโว”ติ สุตฺตโต นิกฺขนฺตํ. ฯเปฯ โส กตรลิงฺโค ทฏฺฐพฺโพติ ปุจฺ ฉาย สติ โส นปํสุ กลงิ ฺโคว ทฏฐฺ พโฺ พติ ทสเฺ สนฺโต โส นปํสุ กลงิ ฺโคติ วุตตฺ ํ. ด้วยวิธีแห่งปุพพาปรานุสนธินี้ ทําให้นิสิตนักศึกษาเห็นความต่อเนื่องกัน ระหว่างสตู รหนา้ กบั สูตรหลัง ท้ังน้ีเพอ่ื แสดงความเกี่ยวข้องกันด้วยการส่งต่ออํานาจของ วิธิสูตรและอธกิ ารสตู ร ในข้อที่สาม ท่านแสดงความสัมพันธ์ของบทท่ีอยู่ในสูตรเดียวกัน ว่าแต่ละ บททําหน้าท่ีอะไร ในโยชนามูลกัจจายนะท่านให้ความสําคัญน้อยมาก ผู้วิจัยจะขอ นําเสนอพอเปน๐ ตวั อย่าง ดังต่อไปน้ี ในการกกณั ฑเ์ ช่นฃ นานาติ ปทํ กุลาติ ปทสฺส วิเสสนํ. กุลาติ ปทํ ปพฺพชิตาติ ปเท อปา ทานํ. ในการกกัณฑเ์ ชน่ นามานนฺติ ปทํ สมุทาโยติ ปเท สมฺพนฺโธ. อวีจิโตติ ปทํ อุปรีติ ปเท อปาทานํ. อุปรีติ ปทํ ภวคฺคมนตฺ เรติ ปทสฺส วิเสสนํ. ยสสฺ าติ ปทํ วปิ จุ ฺฉนนฺติ ปเท กมฺมํ. ในสมาสกณั ฑ์เช่น สมาเสติ ปทํ วตตฺ มาเนติ ปเท อาธาโร. ประโยชน์ของการเชอื่ มต่อข้อความ ทําให้นักศึกษาทราบถึงความเก่ียวข้อง กันของบทแต่ละบทในประโยคน้ันได้โดยตลอดไป ต้ังแต่คันถารัมภะ จนถึงนิคม คาถา หรือนิคมวจนะ เพ่ือใช้ประเมินวันเวลาในการศึกษา และความรู้ความ เช่ียวชาญท่ีจะพงึ ได้

๓๖๐ หมวด ร รัตนพมิ พวงศ์ รตั นพิมพวงศ์๒๘๐ เป๐นวรรณกรรมบาลีว่าด้วยเรื่องตํานานพระแก้วมรกต ผู้ รจนาคือพระภิกษุพรหมราชป๎ญญา เป๐นหนังสือสําคัญเรื่องหน่ึงท่ีแต่งขึ้นในดินแดน ล้านนาไทย ซึ่งเคยมคี วามเจรญิ ร่งุ เรืองและสูงส่งดว้ ยวฒั นธรรมมาในสมัยโบราณ ในเรื่อง ระบุไวว้ ่า ท่านแต่งเรอื่ งน้ีเมื่ออายุได้ ๒๓ ปี บวชเป๐นพระภิกษุได้ ๒ พรรษา ขณะพํานัก อยู่ ณ ภูเขาหลวงช่ือเขามหาธรรมราช โดยแต่งเป๐นคาถาประพันธ์จํานวนทั้งส้ิน ๑๐๑ คาถา แต่งแล้วแลว้ เสรจ็ วันพฤหสั บดี เดอื น ๕ ขึน้ ๑๐ คํา่ ปรี ะกา หนงั สอื เร่ืองนี้ ได้รบั การแปลเป๐นภาษาไทยครั้งแรกโดยพระยาธรรมปโรหิต [แก้ว] เม่ือ พ.ศ.๒๓๓๐ สมัยรัชกาลที่ ๑ ต่อมา พระยาปริยัติธรรมธาดา [แพ ตาละ ลักษมณ์] เม่ือยังครั้งดํารงฐานดรศักด์ิเป๐นหลวงประเสริฐอักษรนิติ ได้แปลเป๐นสํานวน ไทยอีกสาํ นวนหนงึ่ แลว้ เสร็จเม่อื พ.ศ.๒๔๔๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ต่อมากรมศิลปากรได้ มอบหมายให้ ร.ต.ท.แสง มนวิทูร เปรียญ แปลขนึ้ ใหม่ แลว้ เสรจ็ เมื่อง พ.ศ.๒๕๐๕ รัตนพิมพวงศ์ แบ่งเนื้อความออกเป๐น ๔ ตอน ตอนแรกด้วยอุป๎ตตถิกถา นอบน้อมพระรัตนตรัย และพรรณณนาความเป๐นมาของพระพุทธรูปที่พระนาคเสนเจ้า ไดท้ ําไว้ดว้ ยแก้วอมรโกฏ และพระเจา้ แผน่ ดินได้อัญเชญิ สบื ๆ กนั ตอ่ มาตามลําดับ ดังนี้ นโม ตัสส์ ภควโต อรหโต สัม์มาสมั ์พทุ ์ธสั ์สฯ ทโยญาเณน สัมพ์ ุทธ์ ํ พทุ ธ์ ํ พุท์เธน เทสติ ํ ธมั ์มํ ธัม์มวรํ ทนั ต์ ํ นตั ์วา สังฆญั ์จ สาทรํ แปล ข้าพเจ้าขอนมัสการด้วยเอื้อเฟื๒อ ซ่ึงพระพุทธเจ้าผู้ถึงพร้อม ดว้ ยพระกรุณาญาณด้วย ซ่ึงพระธรรมท่ีพระพุทธเจ้าแสดงด้วย ซ่ึงพระสงฆ์ผู้มีธรรมอัน ประเสริฐ มีตนอนั ทรมานแล้วด้วย ฯ พิมโ์ พ อมรโกเฏน นาคเสนเถเรน การิโต อาภโต เนกราชูหิ ปรัม์ปราวเสน โย ฐาปิโต โยรฏั ฐ์ มั ห์ ิ นครวรวั ห์ เย สาธหู ิ นรเทเวหิ ปชู โิ ต ยาวชั ช์ ตนาฯ ๒๘๐ พระภิกษุพรหมราชป๎ญญา, รัตนพิมพวงศ์, พระยาปริยัติธรรมธาดา [แพ ตาละ ลกั ษมณ์] ผูแ้ ปล, [ธนบุรี: สหกาฬการพมิ พ์ จาํ กัด, ๒๕๑๒], ๗๘ หน้า.

๓๖๑ แปล โย พิมโ์ พ อนั ว่าพระพิมพ์องคใ์ ดท่ีพระนาคเสนเถระเจ้า ให้ทํา ไวด้ ้วยแก้วอมรโกฏ พระราชาทงั้ หลายไดเ้ ชญิ มาสืบๆ กัน ประดิษฐานไว้ในพระนครโยน รฐั สาธสุ ัปปุรษุ นรเทวดาทั้งหลาย ได้บชู ามาตราบเท่าทกุ วันนี้ ฯ๒๘๑ จากคําพรรณนาเบ้ืองต้นของผู้รจนาคัมภีร์รัตนพิมพวงศ์ ทําให้ทราบว่า ผู้ รจนาได้ใช้ต้นฉบับที่เป๐นภาษาไทย ซึ่งปราชญ์ท้ังหลายได้เรียบเรียงไว้แล้วก่อนหน้าน้ัน รจนาออกมาเป๐นภาษาบาลีอีกทอดหน่ึง เรียกว่า รัตนพิมพวงศ์ จากน้ันก็กล่าวอีกว่า พระพุทธรูปองค์น้ี พระนาคเสนประดิษฐานขึ้นไว้เพ่ือประโยชน์เก้ือกูลแก่ประชุมชน ความยังย้อนต่อไปอีกว่า ได้แก้วอมรโกฏมาจากท้าวเทวานมินทรทรงนํามาจากวิบุล บรรพต ต่อแต่นั้นพรรณนาถึงประวัติพระนาคเสน ความตอนน้ีคล้ายกับที่ปรากฏในมิลิ นทปญ๎ หา กลา่ วคอื ปรารภถงึ ประวตั พิ ระนาคเสนในอดีตเมอ่ื ครัง้ ศาสนาของพระพุทธเจ้า พระนามว่ากสั สปะ ตอนท่ี ๒ เป๐นตอนที่พรรณนาถึงประวัติความเป๐นมาของพระแก้วมรกต ความเริ่มต้นดว้ ยบทร้อยกรอง ดงั น้ี เตชสี โกวโิ ท ชนิ ธัมเ์ มสุ เถโร โส ธมั ม์ รัก์ขิโต มหาขณี าสโว เสฏ์โฐ สพั พ์ สัญ์โญชนกั ข์ โย นิส์สาย ปวรปุรํ ปาตลปี ตุ ์ตนามกํ วสั ์สย ปวราราเม อโสการามนามเก สกลตโมปนโุ ท นรวดร โสมป๎ญ์โญ ตมิ ริ ปทาลโิ ต นีลปเถ นสิ ากโรว ชนิ ปวรสาสเน อตปิ ากโฏปิ เถโร ปหินมลคโณ จ ปรนิ ิพ์พุโต อโหสฯิ แปล พระธรรมรักขติ เถรเจ้าน้นั มีเดชรุ่งเรืองฉลาดในธรรมของพระ ชนิ สีห์เจ้า เปน๐ พระมหาขีณาสพประเสริฐ ส้ินสัญโยชนธ์ รรมทัง้ ปวง ได้อาศัยเมืองอันบวร มนี ามกรว่าปาตลีบุตร พํานกั ในบวรารามนามเรียกว่าอโศการาม ได้บรรเทาความเมามืด ของสัตว์ท้ังส้นิ เป๐นภิกษุผู้ประสริฐกว่านรเทวดา มีป๎ญญาสว่างดังตวงพระจันทร์เม่ือวัน เพ็ญ ทําลายเสยี ซึ่งมืดให้กระจายไป ดังดวงนิสากรผ่องใสอยู่ในห้องนิลบถ พระเถรเจ้าก็ ย่ิงปรากฏในพระในบวรศาสนา เป๐นผู้ปราศจากหมู่กิเลสมลทินอันละเสียได้แล้วก็ดับ ขันธปรนิ ิพพาน๒๘๒ ๒๘๑ พระภกิ ษุพรหมราชป๎ญญา, รตั นพิมพวงศ์, หนา้ ๑. ๒๘๒ พระภิกษพุ รหมราชป๎ญญา, รตั นพมิ พวงศ,์ หนา้ ๒๐.

๓๖๒ ความพรรณนาต่อไปอีกว่า เม่ือพระพทุ ธเจ้าปรินพิ พานแล้ว พระนาคเสนได้ ดาํ หรวิ า่ ทาํ อย่างไรพระศาสนาจกั รงุ่ เรือง จึงได้ดําหรสิ รา้ งพระพทุ ธรูปไว้ ครั้นถ้าจะสร้าง ด้วยเงินหรือทอง ก็จะเป๐นที่หมายปองแก่โจรผู้ประกอบด้วยราคะ โทสะ โมหะ จึงได้ดํา หรคิ ิดสร้างพระพุทธรูปด้วยรัตนทีท่ าํ ลายไดย้ าก ท้าวสักกะได้ทราบความดําหรินั้น จึงได้อาสานํารัตนะมาจากภูเขาวิบุล บรรพต เปน๐ แกว้ สีเขยี ว เมื่อได้มาแล้ว พระเถระกไ็ ด้ดําหริหาชา่ งที่มีความสามารถเพื่อจะ ทําพระปฏมิ า ทา้ ววสิ สกุ รรมทราบความดําหริ จึงได้แปลงเพศเป๐นนายช่างผู้ฉลาด พร้อม ท้ังอาสาทําพระพุทธรูปถวายพระเถระ คร้ันเม่ือองค์พระสําเร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จัดทํา มณฑปในอโศการาม แล้วอัญเชิญพระปฏิมาที่สร้างแล้วนั้นไปประดิษฐานเพ่ือเป๐นท่ี สกั การะแกเ่ หลา่ เทวดาและมนษุ ยท์ ้งั หลาย พรอ้ มกับประกอบพธิ บี ชู าอย่างยิ่งยวด ความพรรณนาด้วยว่า ขณะกระทําการบูชาอยู่นั้น พระพุทธรูปได้แสดง ปาฏิหาริย์ต่างๆ ตลอด ๗ วัน พระพิมพ์ไม่มีชีวิตก็ปรากฏเหมือนมีชีวิต มีรัศมีสว่างไหว เปลง่ ออกจากพระสรรี กาย บางคร้งั กม็ ีแสงสวา่ งเปลง่ ประกายออกมเป๐นสีเขียวเหมือนปีก แมลงภู่บินอยู่ เปน๐ ทศี่ รทั ธาเล่อื มใสแก่มหาชนเปน๐ อย่างยง่ิ ในคมั ภรี ์พรรณนาไว้อีกว่า พระนาคเสน ไดอ้ ธิษฐานจติ อญั เชญิ พระธาตุของ พระพุทธเจ้าประดิษฐานในพระแก้วมรกตไว้ ๗ แห่ง กล่าว ๑] ในพระโมลี ๒] ใน พระนลาฏะ ๓] ในพระนาภี ๔] ในพระกรเบือ้ งขวา ๕] ในพระหัตถ์เบื้องซ้าย ๖] ในพระ ชาณุเบื้องขวา และ ๗] ในพระชานุเบื้องซ้าย พระธาตุเหล่าน้ีได้เหาะขึ้นไปในอากาศ จากน้นั ก็ลงมาประดษิ ฐานในท่ีทีพ่ ระนาคเสนอธษิ ฐานไว้แลว้ เป๐นทอ่ี ัศจรรย์ และเล่ือมใส แกม่ หาชนอยา่ งย่ิง พระนาคเสน ได้ส่งอนาคตญาณ ได้เห็นพระพุทธรูปน้ี จักรุ่งเรืองและ ประดิษฐานใน ๓ ประเทศ ประกอบดว้ ย ๑] ในกัมโพชวงศ์ ๒] ในมลานวงศ์ และ ๓] ใน สยามวงศ์ ความในตอนน้ผี รู้ จนาได้ผกู เปน๐ คาถาประพนั ธ์ ดงั น้ี กมั โ์ พชวเํ ส จ มลานวเํ ส สยามวเํ สติ อยมั ์ปิ พมิ ์โพ ตเี สวว วเํ สสุ วโิ ชตมาโน โลเก ธรนั ์โต วิย พุท์ธเสฏโ์ ฐติฯ๒๘๓ ตอนท่ี ๓ วา่ ด้วยเรอ่ื งราวพระแกว้ มรกตตกทอดมาเมืองนิชนครและอโยชฌ ปุร วชิรปาการ ถงึ ชริ ายปุระ ความเรม่ิ ต้นด้วยบทประพันธคาถาดงั ตอ่ ไปน้ี ๒๘๓ พระภิกษพุ รหมราชป๎ญญา, รตั นพมิ พวงศ,์ หน้า ๒๖.

๓๖๓ ตโตปฏ๎ ฐ์ าย โส เถโร นาคเสโน มหายโส ปากโฏ สพั ์พโลกานํ คคเณว นสิ ากโร หัน์ตวา โมหนั ธการํ โส เถริทธ์ ิญาณรํสิยา อุฏฐ์ โิ ต สาสนกาเล โพธาเปน์โต ชินพมิ ์พํ ปเชต์วา ยาว ชวี ันต์ ิ สพั ์พสโยชนัก์ขโย อนปุ าทณิ ์ณเสสาย ปรินิพ์พานธาตุยา แปล จําเดมิ แตก่ าลน้ันมา พระนาคเสนเถรนั้น มียศใหญ่ปรากฏแก่ โลกท้ังหลายทั้งปวง ดังดวงพระนิสากร อันปรากฏแล้วในคคณากาศ พระเถรน้ัน ครั้น กําจดั เสยี ซงึ่ โมหันธการแล้ว ยังประชุมสาธชุ นให้ตรัสรู้อยู่ ได้ประดิษฐานพระชนิ พิมพ์ขึ้น ไวใ้ นศาสนกาล ด้วยฤทธิ์และญาณและรัศมีของพระเถรเจ้า ได้บูชาแล้วซึ่งพระชินพิมพ์ ตราบเทา่ ตลอดชวี ิต เปน๐ ผู้สนิ้ สญั โญชนทง้ั ปวงแลว้ ได้ปรินิพพานแล้วด้วยธาตุอันเป๐นอนุ ปาทิเศษ๒๘๔ ความในตอนนี้ได้พรรณนาความถึงพระแก้วมรกต ได้รับการบูชาสักการะ สืบต่อๆ กันมา กระทั่งถึงรัชสมัยของพระเจ้าตักกลาธรรมราช ประมาณ ๘๐๐ ปีหลัง พุทธปริพพาน คร้ันสิ้นรัชกาลพระองค์แล้ว พระเจ้าศิริธรรมกิตติราช ก็ได้สืบราชสมบัติ และบูชา บาํ รุงพระแก้วมรกต แต่ตอ่ มาได้เกดิ สงครามข้ึน จึงมีคนอัญเชิญพระแก้วมรกต ลงเรอื ไปลังกา พระพุทธรปู ประดษิ ฐานอยใู่ นลังกาเปน๐ ระยเวลา ๑,๐๐๐ ปี ความต่อมาไดพ้ รรณนาถึงการจารกึ พระไตรปิฎกลงในใบลาน จํานวนอักษร ท้งั สิ้น ๒๘ โกฏิ กับอกี ๗๒ ตัวอักษร และคตินิยมเร่ืองสร้างพระพุทธรูป ๘๔,๐๐๐ องค์ ให้เท่ากับพระธรรมขันธ์ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งเป๐นท่ีมาของอักขระหน่ึงเท่ากับ พระพทุ ธรูปองคห์ นึ่ง พรรณนาความพระเจ้าอนุรุทธะ ทรงทราบข่าวว่าลังการักษาพระ พุทธพจน์ไว้ได้ดี ไม่บกพร่อง จึงได้เดินทางไปพบพระเจ้าลังกินทราช และขอคัดลอก พระไตรปิฎกมา เสร็จแลว้ กท็ รงบรรทุกเรือ ๒ ลํา พร้อมทั้งขอพระราชทานอัญเชิญพระ แก้วมรกตมาประดิษฐานทมี่ ลานนคร [เชยี งใหม่] ดว้ ย แต่ระหว่างทางลมเกิดแปรผัน ทํา ใหเ้ รือแยกออกจากกนั ไปคนละทิศ เรอื บรรจุพระไตรปฎิ ก และเรอื บรรทุกพระแก้วตกไป ถึงนชิ นคร ฝุายพระเจ้าอนรุ ุทธเมือ่ ทราบว่า เรอื ลาํ ท่ีบรรทุกลอยไปทมี่ หานิชนคร ก็ทรง สนิ ธพอาชาไนยเสดจ็ ไปโดยอากาศนนั่ เทียว เม่อื ทราบวา่ ทางนิชนนครมที า่ ทีไม่ยอมคืน ก็ ๒๘๔ พระภิกษุพรหมราชปญ๎ ญา, รัตนพมิ พวงศ์, หน้า ๒๘.

๓๖๔ ทรงแสดงอานุภาพทําชาวเมืองแตกตนื่ ดว้ ยเกรงมรณภัยที่จะเกิดขึ้นแก่ตนๆ จึงได้ไปร้อง ขอให้พระเจ้าแผ่นดินมอบพระไตรปิฎกคืน หากไม่คืนพวกตนก็ถึงความสิ้นไปแห่งชีวิต ดว้ ยการประหารเพียงครั้งเดียวเท่านั้น พระราชาได้สดับเช่นนั้นก็นําพระไตรปิฎกส่งคืน แก่พระเจ้าอนุรทุ ธราชนน้ั พระเจ้าอนุรุทธราชไดพ้ ระไตรปิฎกคืนแล้ว ก็ทรงปราโมทอยู่ มิทันได้คิดถึง พระแกว้ รับเพยี งพระไตรปฎิ กแลว้ ก็เสดจ็ กลับพระนคร สว่ นพระแกว้ กย็ งั คงอยทู่ ีม่ หานิช นคร ชาวเมอื งไดป้ ระชุมกัน และบูชาสบื ๆ กันมา กระทั้งมีเหตุพระราชาไม่ทรงธรรม จับ บุตรปโุ รหิตทา่ นหนี่งถ่วงนํ้าตาย ทาํ ให้พระนาคทราบข่าวพิโรธมาก จึงบรรดาลให้เกิดน้ํา ทว่ มใหญ่ ผ้คู นลม้ ตายเปน๐ จํานวนมาก เวน้ แตพ่ วกอาศยั อยู่ในเรอื พวกชาวเรือท่ียังเหลืออยู่จึงได้อัญเชิญพระแก้วไปออกจากเมือง และไป อาศัยโพธิสมภารของพระเจ้าอาทิตยราชแห่งเมืองอโยชฌมหานคร ประชาชนในเมือง เห็นพระแก้ว ต่างกพ็ ากันบันเทิงร่ืนเริง ตั้งความปรารถนาอยู่เป๐นสุขในสวรรค์ และพระ นพิ พาน ได้ทําการบูชาพระแก้วอย่างยิ่งใหญ่ ต่อมาความทราบถึงเจ้าเมืองวชิรปาการปุ ระ ก็เสด็จมาบูชาและอัญเชิญไปประดิษฐานท่ีเมืองวชิรปาการปุระ โดยนัยนี้ พระแก้ว มรกตกถ็ ูกอญั เชญิ ไปประดษิ ฐานทเี่ มอื งชริ ายปุระในทีส่ ุด ตอนที่ ๔ ความต้ังต้นแต่พระแก้วออกจากเมืองชิรายปุระสู่เมืองนคร [ลําปาง] ความในตอนน้ีมีพรรณนาถึงการนําเอาปูนผสมทรายอ่อนเคล้าด้วยนํ้าผ้ึงและ น้ําอ้อยพวกองค์พระ จากนั้นทาด้วยรักอีกช้ันก่อนปิดด้วยแผ่นทอง มีการสร้างเจดีย์ ประดิษฐานพระแก้วไว้ท่ีวัดปุาญอ มหาชนสักการะบูชาเจดีย์สืบๆ กันเร่ือยมากระทั่ง เจดีย์พงั จึงทราบว่ามีพระพุทธรูปอยู่ขา้ งใน แต่กไ็ ม่ทราบว่าเปน๐ พระแกว้ เทวดาปรารถนา จะใหศ้ าสนารุ่งเรือง จงึ ทาํ ปลายพระกรรณข้างหนง่ึ ให้กระเทาะลง ทาํ ใหค้ นดแู ลไดเ้ ห็นว่า เป๐นพระแก้ว ต่อมาความทราบออกไป มหาชนต่างพากันปรีดาปราโมทย์ ทําการบูชา ด้วยสกั การะใหญ่ ความทราบถึงพระเจา้ นรินทนพสิ ิสามิกราช ทรงเกดิ ศรทั ธา จงึ ได้มาอัญเชิญ ไปประดิษฐานที่พระนคร แต่เกิดเหตุการณ์มหัศจรรย์ มาถึงระหว่างทาง ช้างท่ีอัญเชิญ พระแก้วต่างก็หยุดไม่ยอมเดินต่อ สุดท้ายจึงมีการเส่ียงทายจับฉลาก ทําให้พระแก้วถูก อัญเชญิ มาสูเ่ มอื งนคร [ลําปาง] ยงั ประชุมนิกรมหาชนให้เลื่อมใสไม่เสอ่ื มคลาย ความในรัตนพมิ พวงศ์ จบลงด้วยพระคาถาวา่ อกั ์ขรเอกเมกัญจ์ โลกนาถสั ์ส สาสนํ อกั ์ขรพุทธ์ รูปญ๎ ์จ สมเมว ผลํ สิยา ฯ

๓๖๕ แปล อักษรแต่ละตัวๆ ก็ดี ก็ชื่อว่าเป๐นศาสนาคําสอนของพระ โลกนาถเจ้า อักษรและพระพุทธรูปก็ดี ช่ือว่มีผลเสมอเหมือนกัน ฯ นิทานพระมรกัตต ป๎จจัยจบแล้ว ด้วยอํานาจท่ีได้เขียนเร่ืองน้ี ขอให้ข้าพเจ้าได้เป๐นพระพุทธเจ้าในอนาคต เทอญ.๒๘๕ ๒๘๕ พระภกิ ษุพรหมราชปญ๎ ญา, รัตนพิมพวงศ์, หน้า ๕๓.

๓๖๖ หมวด ล โลกทปี นี โลกทีปนี๒๘๖ เปน๐ บทประพันธ์ของพระธรรมธีรราชมหามุนี [วลิ าศ ญาณวโร ป.ธ.๙] วัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร ถือเป๐นงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาท่ี สําคัญ ๑ ใน ๑๐ เร่ือง โดยวรรณกรรมเร่ืองโลกทีปนี เป๐นวรรณกรรมท่ีอยู่ในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๖ เป๐นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะปี ๒๕๐๖ ท่านมีผลงานออกต่อเน่ืองถึง ๓ เล่ม ได้แก่ โลกทีปนี [กรกฎาคม ๒๕๐๖], มุนีนาถทีปนี [ตุลาคม ๒๕๐๖], และวิป๎สสนาทีปนี [ธนั วาคม ๒๕๐๖] แมท้ ้งั ๓ เลม่ นี้จะไม่ไดร้ บั รางวลั ใดๆ ก็ตาม แต่ผลจากการพัฒนาฝีมือ ด้านการประพันธ์อย่างต่อเนื่อง ทําให้ผลงานของท่านจํานวน ๓ เร่ือง ได้รับรางวัล ชนะเลิศวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาจากธนาคารกรุงเทพ โลกทีปนี เป๐นวรรณกรรมที่มีเน้ือหารพรรณนาเร่ืองของโลกมนุษย์ โลก สวรรค์ โลกพรหม และโลกุตรภูมิ พร้อมกับแสดงเหตุป๎จจัยในการเข้าถึงโลกน้ัน วรรณกรรมเร่ืองน้ี เร่ิมเร่ืองด้วยการพรรณนาถึงความตาย ชี้ให้เห็นว่า ชีวิตมีความตาย เป๐นไปในเบื้องหน้า ภาวะชีวิตหลังจากตายแล้ว เป๐นไปอย่างไร ระหว่างรอยต่อชีวิตกับ ความตายนี้เอง เปิดประเด็นนําไปสู่การพรรณนาภพภูมิต่างๆ โดยละเอียด เริ่มต้ังแต่ อบายภูมิ ๔ ชนดิ ได้แก่ นริ ยภมู ,ิ เปตตวิ สิ ยั ภมู ,ิ อสรุ กายภมู ิ และตริ ัจฉานภมู ิ เม่อื พรรณนารายละเอยี ดของอบายภูมิแล้ว ผู้รจนาได้กล่าวถึงพรรณนาภูมิ ที่สูงขน้ึ ตามลําดับ นับตัง้ แต่มนษุ ยภูมิ ต่อด้วยเทวภูมิช้นั ต่างๆ กระทั่งถงึ พรหมโลก ทั้งรูป พรหม และอรูปพรหมตามลําดับ รวมทั้งหมด ๓๑ ภูมิ แสดงให้เห็นว่า ชีวิตเมื่อยังไม่ถึง ท่ีสุดแห่งทุกข์ ก็ย่อมเวียนวนอยู่ในสังสารวัฏไม่จบสิ้น ควรที่จะสังเวช และมองเห็นภัย ของการเกดิ และควรขวนขวายนําตนออกจากทุกข์ บรรลถุ ึงโลกตุ รภมู ิอนั เปน๐ แดนเกษม ผู้ประพันธ์ไดพ้ ยายามใชโ้ วหารต่างๆ ในการพรรณนาใหเ้ หน็ ภาพของภพภูมิ ทั้ง ๓๑ ประการ อยา่ งละเอยี ด วรรณกรรมโลกทีปนี จึงเป๐นแนวทางหนึ่งท่ีช่วยส่งเสริม ให้คนไดเ้ กดิ ศรัทธาในการละชว่ั ทาํ ความดี และการชาํ ระจิตให้สะอาดผอ่ งใส คล้ายๆ กับ คตินยิ มที่พญาลิไทได้เริม่ ต้นไว้ในบทพระราชนิพนธ์เรอ่ื งไตรภูมพิ ระร่วงในสมยั สุโขทัย ลกั ษณะคาประพันธ์ ๒๘๖ พระศรีวิสุทธิโสภณ [วิลาศ ญาณวโร], โลกทีปนี, [นครหลวง: ห้างหุ้นส่วนจํากัด โรง พิมพอ์ กั ษรไทย, ๒๕๑๕], ๓๖๐ หนา้ .

๓๖๗ โลกทีปนี เป๐นวรรณกรรมประเภทร้อยแก้ว ดําเนินเรื่องตามขนบการ ประพันธว์ รรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาครบ คือมีบทปณามพจน์ อารัมภบท เนื้อเร่ือง และลงท้ายดว้ ยปจ๎ ฉมิ พจน์ แสดงความประวัติผู้แต่ง และเจตนาท่ีรจนาผลงานช้ินน้ี โดย ในตอนทา้ ย ไดป้ ระมวลเป๐นร้อยกรองจํานวน ๔ บาทคาถา ตัวอยา่ งคาประพันธ์ ปฌามพจน์ นมตถฺ ุ รตนตฺตยสสฺ ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการองค์สมเต็จพระพิชิตมาร บรมไตรโลกุตตมาจารย์ สัมมาสมั พทุ ธเจ้า พระองคผ์ ทู้ รงมีพระมหากรณุ าแผ่ไปในไตรภพและพระนพโลกตุ รธรรม อันล้ําเลิศ กับทั้งพระอริยสงฆ์ผู้ ทรงพระคุณอันประเสริฐด้วยเศียรเกล้าแล้ว จะขอ อภวิ าทนบไหว้ซึ่งทา่ นบูรพาจารย์ทั้งหลาย ผู้เป๐นอริยสัปปุรุษมีญาณและพระคุณบริสุทธิ์ ทรงไวซ้ ่งึ นิกายไตรปิฏกนําพระพุทธศาสนาสืบๆ กันมา ด้วยคารวะเป๐นอย่างย่ิงแล้ว จัก รจนาเรียบเรียงอรรถวรรณนา ซ่ึงตั้งช่ือว่า โลกทีปนี เพื่อชี้ แจงถึงโลกต่างๆ อันสัตว์ ทง้ั หลายทีย่ งั ท่องเทย่ี วอยใู่ นวฏั สงสารตอ้ งอบุ ตั ิเกิดพร้อมทั้งแสดงเหตุแห่งการเขัาถึงโลก เหล่านั้นตามสมควร ขอมวลชนคนดีมีป๎ญญาท้ังหลาย จงดั้งใจสดับอรรถวรรณนาของ ข้าพเจา้ ซงึ่ จกั กลา่ วในโอกาสต่อไปน้ดี ว้ ยดเี ทอญ อารัมภบท สมมติว่า ยังมีผู้วิเศษหนื่งซึ่งมีจักษุญาณผ่องใส ไปน่ังเฝ๎าประจําอยู่ ณ สถานที่ลี้ลับแห่งหน่ึง สถานที่ท่ีว่านี้ ก็คือเขตแดนระหว่างความเป๐น กับความตาย นั่งดู อยู่ท่ีนั่นแล้ว เขาก็จะเห็นว่า วันหน่ึงๆ มีผู้คนเดินทางผ่านเขตแดนจากมนุษยโลกนี้หาย วับเขัาสู่แดนมัจจุราชมากมายนักหนา ทุกวันเวลามีอยู่เสมอไม่ว่างเว้น ท่ีเป๐นเช่นน้ีก็ เพราะวา่ กฎธรรมดาของคนเราท่เี กิดมาในโลกน้ี ผลท่ีสุดก็ต้องตายเกิดมาเท่าใดเป๐นต้อง ตายหมดเทา่ นน้ั เมอ่ื พิจารณาดไู ป เราท่านทั้งหลายที่เกิดมาก็เหมือนกับนักโทษท่ีเขาจะ ฆา่ ธรรมดานกั โทษท่ีตอ้ งประหารน้ัน ขณะที่นายเพชฌฆาตนําตัวไปสู่ตะแลงแกง ถ้าขืน ตอ่ สู้ ดรุ ้ายเป๐นบ้าระห่ําพยายามขัดขืนจะหนีไปไม่ให้ฆ่า เขาก็จะตัดศีรษะหรือยิงเสียให้ ตายโดยพลนั ในทีน่ ้นั เอง ไม่ให้ลอยนวลอย่หู นกั แผน่ ดนิ ต่อไปไดถ้ ้าไม่ขดั ขืนเดนิ ตามเขาไป ด้วยหัวใจฝุอห่อเหี่ยวแห้งแลัง ก็เหมือนแกล้งเดินเข้าไปหาความตายทุกฝีก้าว ครั้นถึงที่ ประหารเล่า เขาก็จะมัดเขัากับหลักแน่นหนาแล้วทําพิธีฆ่าลงดาบตัดคอให้ ขาดกระเด็น หรอื เข่นฆ่าด้วยอาชํูาวุธคือ ปีนผาหน้าไม้ ยิงตรงหัวใจให้ ตายลงโดยฉับพลัน ตัวเราก็ เหมือนกันเกิดมาแล้วก็เหมือนนักโทษของพํูามัจจุราช จะตัองขาดชีวิตดับชีพไปด้วย อาการ ๒ อยา่ ง คือ

๓๖๘ ๑. ตายป๎จจุบันทันด่วน เช่น ถูกยิงตาย ถูกแทงตาย ถูกฟ๎นดาย รถชนตาย จมนาํ้ ตาย ถึงแกม่ รณกรรมด้วยอาการตายโหงเหล่าน้ี ก็เหมือนกับนักโทษที่พยายามจะ หนีขัดขืนเพราะไมส่ มคั รใจจะตาย เลยถกู เขาตัดศีรษะเสียฉับพลันให้ ตายโหงในป๎จจุบัน น้ันเอง ๒. ตายธรรมดา เช่น เจ็บปุวยเป๐นไข้ ประกอบไปด้วยทุกขเวทนาใหํู่ เจบ็ ปวดไปทว่ั สรรพางคก์ าย ลกุ นัง่ ไม่ไหว เคลื่อนกายไมไ่ ด้ นอนนิ่งไมไ่ หวติงอย่บู นเตียงท่ี ตาย ยังอยู่แต่ใจส่ันริกๆ คอยอยู่แต่ว่าจะดับจะตายลงไปเม่ือใดเท่าน้ัน อย่างน้ีก็ เหมือนกับนักโทษท่ีใจฝุอใจสั่น ถูกเขามัดเข้ากับหลักมัน รอเวลาท่ีจะลงดาบประหาร กาลใดเขาลงดาบตัดศีรษะ ก็จะขาดใจตายวิญญาณดับไปเม่ือน้ัน นี่แหละท่านท้ังหลาย ความจริงมีอยู่เช่นน้ี และมีมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว ฉะน้ัน การที่เราจะแคล้วจากความตาย เป๐นอนั ไมม่ ี ........ กาลเมอื่ สตั วท์ ้ั งหลายใกลจ้ ะถงึ แก่มรณะ ย่างเขัาไปสู่แดนมฤตยู แล้วจะไป บงั เกดิ อย่ใู นโลกอืน่ ต่อไปนัน้ ในมรณาสันกาล คือ กาลที่ใกล้จะตายนั้น ย่อมมีอารมณ์ ๓ ประการ ปรากฏเป๐นอารมณแ์ ห่งปฏิลนธิจิตก่อน ดังต่อไปน้ี ๑. กรรมารมณ์ ได้ แก่ กรรมที่ ตนเคยกระทําไว แต่ก่อนๆ มาปรากฏให้ ระลกึ ขน้ึ ไดั ในขณะทีถ่ าํ ลังรอ่ แร่จะตายไปในพริบตานี้ ถัาเป๐นผู้มีบาปเคยทําอกุศลกรรม ไว้ ในขณะนกี้ ็จะปรากฏเป๐นภาพให้เห็นชัดเจนในมโนทวาร เช่น ตนเคยฆ่าคนไว้ ภาพที ตนฆ่าคนก็มาปรากฏ ตนเคยเตะถีบด่าว่าพ่อแม่เอาไว้หรือเป๐นคนติดเหล้าดื่มสุราเมรัย เป๐นประจํา เคยทําอทินนาทานลักขโมยและปล้นคนอ่ืน เคยประพฤติกามมิจฉานอกใจ สามภี รรยาเอาไว้ กจ็ ะปรากฏเป๐นภาพให้เห็นขัดเจนอย่างที่ตัวทําไว้ไม่ผิดเพ้ียน แล้วจิตก็ ยึดหนว่ งเอาภาพเหล่านัน้ มาเป๐นอารมณ์ เมอื่ ดับจิตตายลงไปแล้ว กน็ อ้ มนําไปเกิดในทุคติ ภูมิ เช่น โลกนรก เปน๐ ตน้ หากว่าตนเคยทาํ กศุ ลกรรมไว้ ในขณะน้กี จ็ ะปรากฏเปน๐ ภาพให้ เห็นอยา่ งชดั เจนในมโนทวารคือทางใจเหมือนกัน เชน่ ตนเคยบริจาคทานเคยทําบุญเล้ียง พระ เคยขดุ สระสร้างศาลา เคยรกั ษาศีล ก็จกั เห็นเปน๐ ภาพของตัวเองกําลังกระทําส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้นั อย่างแจง้ ชดั จาํ ได้ ทําให้ ใจคอชุ่มชื่น แล้วดับจิตตายลงไปทันใด อารมณ์อันดี งามน้กี จ็ ะน้อมนาํ ไปเกดิ ในสุคติ อารมณเ์ หลา่ นเ้ี รยี กว่า กรรมารมณ์ ท่ปี รากฏแก่คนท่ีใกล้ จะตาย ในขณะท้ีเขากําลังย่างเข้าสู่แดนมฤตยู เขาเห็นของเขาอยู่คนเดียวเท่านั้น เรา ทา่ นเวลาน้ยี งั ไมเ่ ห็น เพราะยงั ไมต่ าย ยังมีชีวิตเป๐นปกติดีอย่ถ้าอยากจะเห็นก็ต้ องอดใจ รอไปก่อน โนน่ จวนจะดบั จติ ตายไปโน่นแหละเป๐นเห็นแน่ แต่ถ้ากรรมารมณ์น้ีไม่ปรากฏ ให้เห็น กจ็ ะปราถฏอารมณ์อกี อย่างหน่งึ คอื

๓๖๙ ๒. กรรมนิมิตตารมณ์ ได้แก่ อุปกรณ์ของการกระทําในอดีตมาปรากฏให้ เห็น เพราะตามธรรมดาในการประกอบกรรมทกุ ชนดิ ย่อมมอี ุปกรณ์เคร่ืองมือท้ังสิ้น เช่น จะทําปาณาติบาตฆ่าสตั ว์ฆ่าคน ก็ตัองมีดาบ มดี ปืน แหลน หลาว เป๐นเครื่องมือ หรือจะ ทาํ บุญทาํ ทาน กต็ ้องมอี าหาร เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ เป๐นเครื่องมือ อุปกรณ์เหล่าน้ีจะมา ปรากฏเปน๐ กรรมนิมติ ในขณะทีจ่ ะดบั จติ มองเห็นเปน๐ ภาพชัดเจนยิ่งนัก ในทางอกุศลก็จะ ปรากฏเคร่ืองมือของการทาํ บาปให้ เห็นในขณะนี้ เช่น เห็นมีด ปืน หอก ดาบ เคร่ืองมือ การพนัน การชนไก่ กดั ปลา เรอื กสวนไรน่ าทโ่ี กงเขาไวั อะไรเหลา่ น้ี เปน๐ ต้น สุดแต่ตนจะ เคยทาํ ชว่ั ดวั ยสิ่งใด กจ็ ะมาปราฏใหเ้ หน็ ระลกึ ได้ จิตยึดหน่วงไว้เปน๐ อารมณ์ ดับจิตตายไป ก็น้อมนําไปเกดิ ในทคุ ตภิ มู ิ ในทางกุศล ถา้ ตนเคยทําบญุ ไว้ดว้ ยสิ่งใด สง่ิ นัน้ ก็จะมาปรากฏ ใหเ้ หน็ เหมอื นกนั เชน่ เหน็ ผา้ ไตรเครื่องกฐินท่ีตนเคยทอดถวายไว้ เห็นเคร่ืองสักการบูชา ตอกไม้ท่ีตนเคยทําการบูชาไว้ เห็นขบวนแห่ในการทําบุญต่างๆ เห็นกุฏิวิหารท่ีตนเคย สร้างไว้ ถ้าเป๐นคนภายนอกศาสนาเช่น ฝร่ังมังค่า ก็เห็นโรงพยาบาลหรือสถานท่ี สาธารณะที่ตนมีนา้ํ ใจ เป๐นกุศลสรา้ งเอาไว้ อะไรเหล่าน้ี อันเป๐นอุปกรณ์เครื่องมือในการ ทาํ กุศลกรรมมาปรากฏให้เห็นอย่างแจ่มชัดทีเดียว จิตยึดเหนี่ยวเอาเป๐นอารมณ์แล้วดับ ลง กต็ รงไปอุบตั ิเกิดในสคุ ตภิ ูมิ อุปกรณแ์ ห่งการกระทําต่างๆ เหล่านี้ เรียกว่า กรรมนิมิต ตารมณ์ยอ่ มจะมาปรากฏให้ คนที่ใกล้จะตายได้ เห็น ในขณะท่ีกําลังย่างเข้าสู่แดนมฤตยู แตถ่ า้ กรรมนมิ ติ ตารมณน์ ี้ ไมป่ รากฏ อารมณ์อีกอย่างหนึ่งกป็ รากฏ นน่ั คือ ๓. คตินิมิตตารมณ์ ไดัแก่ นิมิตต่างๆ อันบ่งบอกถึงคติของโลกที่ตนจะต้อง ไปเกิดในเวลาทด่ี ับจิตไปแล้ว ปรากฏขึ้นให้ เห็นชัดเจนทางมโนทวาร บางทีก็เป๐นภาพที่ ตนเคยเห็น บางทีก็เป๐นภาพที่ตนไม่เคยเห็น แต่ส่วนมากเป๐นภาพที่ตนไม่เคยเห็นท้ังส้ิน แบ่งเปน๐ ประเภทได้ ดงั น้ี ก. ถ้าจะเกดิ ในโลกนรก เมอื่ จะขาดใจตายน้ัน ย่อมเหน็ เป๐นเปลวไฟร้อนระอุ เหน็ หม้อเหลก็ แดง เห็นไม้งิว้ หนามเหลก็ เห็นฝูงผปี ศี าจราชทูต รปู ร่างพกิ ล ไม่เคยเห็นมา กอ่ น ถือไมค้ ้อนเหลก็ จะตกี บาล หรือถือหอกเหล็กโตเท่าลําตาลจะพุ่งมาท่ีทรวงอก หรือ มาฉดุ กระชากลากตวั ไป บางทีเหน็ เป๐นแร้งกากําลงั มาจะฉีกกัดเลือดเน้ือของตัวกิน เขาผู้ จวนจะตายนน้ั ยอ่ มเห็นอย่างชัดเจนทําให้ มีความตกใจสะดุ้งกลัวใจลั่นระรัว ถ้าส่งเสียง ได้ ในขณะนี้ ก็จะร้องโวยวายให้คนทง้ั หลายช่วย เป๐นที่น่าสงสารยิ่งนัก นิมิตน้ีช้ีว่า เขาผู้ นั้นต้องไปตกนรกแนน่ อน ข. ถ้าผู้ ที่ตายนั้นจะไปเกิดเป๐นเปรตอสุรกาย ย่อมเห็นคตินิมิตเป๐นหุบเขา หรือถํ้าอันมืดมิดบางทีก็เห็นเป๐นแกลบและข้าวลีบมากมาย ให้รู้ลึกหิวโหยอาหารและ กระหายนํา้ เปน๐ กาํ ลงั บางคร้ังก็เห็นเป๐นน้าํ เลือดนาํ้ หนอง นา่ รงั เกียจน่าละอิดสะเอียนยิ่ง

๓๗๐ นัก บางครั้งก็เห็นเป๐นเปรตอสุรกายมีร่างใหญ่โตน่าเกลียดน่ากลัว เนื้อตัวสกปรกรุงรัง ภาพดงั กลา่ วน้ีมาปรากฏในมโนทวารใหเั หน็ ชัดเจนแจ่มใส นิมิตน้ีช้ี ให้รู้ว่า เขาผู้นั้นจะได้ ไปเกดิ เป๐นเปรตอสรุ กาย ค. ถ้าผู้ที่ตายนั้นจะไปเกิดเป๐นสัตว์เดรัจฉาน ย่อมเห็นคตินิมิตเป๐นทุ่งหญ้า ปุาไม้ เชงิ เขา ชายนํ้า กอไผ่ ภเู ขา บางทกี เ็ ห็นเป๐นรูปสัตว์ต่างๆ มาปรากฏ เช่น เห็นเป๐น เน้ือถึก โคกระบือ หมู หมา เป๐ด ไก่ เหยี้ นก หนู จ้ิงจก ตุ๊กแก กงิ้ กือ ไสเ้ ดือน เหล่าน้ีเป๐น ต้น มาปรากฏอยา่ งชดั เจนแจม่ ใสทางมโนทวารคือทางใจอย่างนก้ี ็เป๐นนิมติ ช้ี ให้รู้ว่า เขาผู้ นัน้ จะไดไ้ ปบังเกดิ ในกําเนิดสตั ว์เดรัจฉาน ง. ถา้ ผ้ทู ต่ี ายนนั้ จะกลบั มาเกดิ เป๐นมนุษย์ในมนุษยโลกนี้อีก เขาย่อมจะเห็น คตินิมิตในขณะที่จวนจะดับจิตน้ี เป๐นก้อนเนื้อ คือ เห็นเป๐นก้อนเนื้อเล็กๆอยู่ในครรภ์ มารดา หรือเห็นครรภ์มารดาในชาติหน้าซ่ึงจะมาถึงในพริบตาน้ีปรากฏให้เห็นเป๐นภาพ ชัดเจนแจ่มใส เมื่อเห็นไปเช่นนี้ ก็เป๐นนิมิตชี้ให้รู้ว่าเขาผู้นั้นจะต้องมาเกิดเป๐นมนุษย์ใน โลกน้ี จ. ถ้าผู้ที่ตายน้ันจะได้ไปเกิดเป๐นเทพบุตรเทพธิดาในสวรรคเทวโลก เขา ย่อมจะเห็นคตินิมิตเป๐นทิพยวิมาน เห็นปราสาทราชวังอันสวยสดงดงามซึ่งไม่มีในเมือง มนุษย์ บางทีก็เหน็ เป๐นต้นกัลปพฤกษ์และเป๐นต้นไม้สวรรค์ ซ่ึงตนไม่เคยเห็นมาก่อนเลย หรือเห็นสิริไสยาสน์ท่ีนอนอันประเสริฐปรากฏในทิพยพิมาน แล้วไปด้วยแก้วและทองมี ประการต่าง ๆ งดงามนกั หนา บางทีก็เห็นเป๐นเทพบุตรเทพธิดาชาวฟูาชาวสวรรค์พากัน ขับระบํารําฟูอน เป๐นท่ีเริงสราญช่ืนบานย้ิมแย้มแจ่มใส ประดับกายด้วยอาภรณ์อัน ประณตี สวยงามนา่ ดูชมอารมณเ์ หลา่ นม้ี าปรากฏเปน๐ ภาพใหเ้ ห็นชัดเจนทางมโนทวาร ทํา ให้ผู้จะถงึ กาลกิรยิ าตายน้ันมจี ติ ใจเพลดิ เพลิน เกิดความยิมยอ่ งผอ่ งใสโสมนัส บัดนี้ ถ้ามีผู้ สงั เกตดูหนา้ ตากจ็ ะรู้ได้ว่า เขาจะหลับตาตายอย่างสุขสงบไปพบลุคติแน่ในไม่ช้า เพราะ นิมติ นี้ชใี้ หร้ ้วู า่ เขาผนู้ ้นั จกั ไดไ้ ปเกดิ ในสวรรค์เมอื งฟาู เปน๐ เทวดาแนน่ อน ......... ปัจฉมิ พจน์ ข้าพเจ้าผู้ มีนามปรากฏว่า พระมหาวิลาศ ญาณวโร ได้อุปสมบทเมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๙๓ โดยมีพระเดชพระคุณ พระธรรมป๎ญญาบดี ชุตินฺธรเถระเปรียญ ธรรม ๘ ประโยค วัดสามพระยา จังหวัดพระนคร เป๐นพระอุป๎ชฌาย์พระครูสุทธิวรคุณ วดั สทุ ธวิ ราราม จังหวดั พระนคร เป๐นพระกรรมวาจาจารย์และ พระครูกัลยาณวิสุทธ์ิ วัด ดอน จงั หวัดพระนคร เป๐นพระอนุสาวนาจารย์

๓๗๑ นับแตไ่ ด้อปุ สมบทมา ก็ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมตามกําลังสติป๎ญญา สําเร็จการศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยค เมอ่ื ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓ ครั้นเสร็จธุระในด้าน ปริยัติศึกษาแล้ว ก็ใฝุใจในการปฏิบัติธรรมตามกําลังศรัทธา ได้เข้าปฏิบัติวิป๎สสนา กรรมฐาน ๒ ครั้ง โดยมีพระอาจารย์เข่ง อตฺตรกฺโข และพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภ เถระ ธรรมาจรยิ ะ เปน๐ พระวปิ ๎สสนาจารย์ผบู้ อกกรรมฐาน คร้ันออกจากการปฏิบัติวิป๎สสนาแล้ว พอมีเวลาว่างก็คิดรจนาหนังสือโลก ทีปนี นี้ข้ึน ค้นคว้าเอามาจากกถาของท่านบุรพาจารย์แต่ปางก่อน ซึ่งท่านกล่าวไว้ในท่ี ตา่ งๆ ประมวลมาไวต้ ามสมควรแก่เรอ่ื งในท่นี ี้ เพื่อตอ้ งการจะช้ที างปฏิบัติแก่ท่านสาธุชน ท้ังหลายผมู้ ีความเล่อื มใสในพระรัตนตรัย ฉะน้ัน ขอทา่ นท้ังหลายจงอย่าได้เข้าใจว่า กถา เหล่าน้ี เป๐นวิชาความรู้ของข้าพเจ้ากล่าวเอาเองด้วยจินตามยป๎ญญา ความจริงไม่ใช่ เพราะเป๐นความรู้ความเขา้ ใจของท่านบุรพาจารย์ ผู้มีญาณแกล้วกล้าและมีป๎ญญาลึกลํ้า แนะนําพรํ่าสอนไว้ต่างหาก ข้าพเจ้าผู้มีสติป๎ญญาน้อย เป๐นแต่เพียงรวบรวมเรียบเรียง ด้วยสาํ นวนของตนเสียใหม่ เพื่อให้เข้าใจง่ายเท่าน้ัน โดยรจนาเม่ือวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๐๖ และมาจบลงในวันนี้ คือ วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๐๖ รวมเวลา ๕๘ วัน โดย ปราศจากอุป๎ทวนั ตรายใดๆ ต่อจากนี้ไป ก็ได้แต่หวังใจอยู่ว่า หนังสือโลกทีปนีท่ีเรียบเรียงข้ึนนี้ คงจะมี สารตั ถประโยชนแ์ ก่ทา่ นผ้มู ีปญ๎ ญาทีอ่ ตุ ส่าหต์ ิดตามศึกษามาต้ังแต่ตัน จนกระทั่งจบลงใน บดั นีต้ ามสมควร ยํ มยา กสลํ ปตฺตํ กตฺวา หิ โลกทีปนี สตถุโน โลกนาถสสฺ สทธฺ มมฺ ฏฐิติกามตา สทฺธปฺปสนนจติ เฺ ตน กุสลํ อตฺถทายกํ ตสฺส เตเชน สพเฺ พปิ สุขฌเธนตฺ ุ ปาณิโน พทุ เฺ ธ ปสนฺนา จ ปสนนฺ ธมฺมา สงฺเฆ ปสนฺนา อถ โมกขฺ กามา สพเฺ พปิ มุจจฺ นตฺ ุ อปายทุกฺขา นพิ ฺพาน ปปโฺ ปนตุ อนาคเต เต ธมฺมเวปลุ ฺลภาวาย อคคฺ า กลยฺ าณนิสฺสิตา สพเฺ พปิ เม สมชิ ฌฺ นตฺ ุ นริ นตฺ รํ มโนรถาติฯ โลกทีปนี ปรนิ ฏิ ฺฐิตา ข้าพเจา้ ผู้มีนา้ํ ใจใคร่จกั ให้พระสัทธรรมคําส่ังสอนขององค์สมเด็จพระชินวร โลกนาถบรมศาสดาถาวรตั้งมัน่ อย่ตู ลอดกาลนาน จงึ ได้อตุ สาหะรจนาเรียบเรียงโลกทีปนี

๓๗๒ น้ีขึ้น แล้วได้กุศลความดีอันใดบ้าง ด้วยเดชะแห่งกุศลความดีนั้น ขอสรรพสัตว์ทั้งหลาย จงประสบแต่ความสุขสาํ ราญจงทวั่ กนั อนึ่ง บรรดาพุทธมามกะผู้เล่ือมใสพระไตรรัตน์ คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีเจตจํานงใคร่จักพ้นจากกองทุกข์จงพ้นจากทุกข์ไนอบายภูมิ และจงบรรลุถึง พระนิพพานในอนาคตกาลด้วยเถิดขอให้มโนรถความปรารถนาอันประเสริฐซ่ึงเกิดจาก นา้ํ ใจอนั งามของขา้ พเจา้ จงสาํ เร็จผลตามท่ีตั้งไว้นี้ทั้งหมด เพื่อความหมดจดไพบูลย์แห่ง พระสัทธรรมคําสั่งสอน ขององค์สมเด็จพระชินวรบรมโลกุตมาจารย์ ตลอดกาลนิรันดร เทอญ. โลกัปปท์ ปี กสาร,พระคัมภีร์ พระคัมภีร์โลกัปป์ทีปกสาร รจนาโดยพระเมธังกร ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถอื เป๐น ๑ ในบรรดา ๑๒ คัมภีรป์ ระเภทโลกศาสตร์ คือหนังสือที่แสดงเรื่องโลก จักรวาล และสตั วท์ ่ีอย่ใู นโลกนั้นๆ ประกอบดว้ ย โลกบญั ญัติ, มหากัปป์โลกสัณฐานบัญญัติ, ป๎ญจ คติทีปน,ี อรณุ วตีสูตร, โลกุปป๎ตต,ิ จันทสรุ ิยคตทิ ีปนี, โลกปั ป์ทปี กสาร, โลกทีปนี, โอกาส โลกทปี นี, จกั กวาฬทปี นี, โลกสัณฐานโชตรณคนั ถี, และฉคติทปี นี พระเมธังกร ผู้รจนาคัมภีร์โลกัปป์ทีปกสาร เป๐นชาวพม่า เคยเดินทางไป ศึกษาทล่ี งั กาอยรู่ ะยะหนึง่ หลกั ฐานระบุวา่ ทา่ นไปรับการอปุ สมบทใหม่ในสํานักของพระ เถระอรัญญาวาสีในลังกา โดยประกอบพิธีที่สระกลัมพะ เป๐นอุทกเขปสีมา มีพระสังฆา ราชช่อื วนรัตน์เป๐นอุป๎ชฌาย์ พระราหุลภัทเป๐นกรรมวาจา และถือเป๐นเช้ือสายของพระ เถระ ๗ องค์ผู้เป๐นอรัญญาวาสีในลังกา เมื่อกลับมาก็ได้รับการยกย่อง และดํารงฐานะ เป๐นพระอาจารย์พระราชินีภัททา ผู้เป๐นพระมารดาของพระเจ้าเสติภินทะ [พระเจ้า ช้างเผือก] ในนครมุตติมะ อาศัยอยใู่ นวิหารท่พี ระราชมารดาของพระเจ้าเสติภินทะสร้าง ถวาย และแตง่ คมั ภีรโ์ ลกปั ปท์ ปี กสาร ท่ีแผนกอกั ษรโบราณ หอ้ งสมุดวชิรญาณ หอสมุดแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร มคี มั ภีรโ์ ลกัปป์ทีปกสาร ๑๘ ฉบับ๒๘๗ ทกุ ฉบบั จารดว้ ยอกั ษรขอม มีเพียงฉบับเดียวที่จาร ๒๘๗ เกรยี งศกั ด์ิ ไทยคุรุพันธ์, โลกัปป์ทีปกสารปริจเฉทที่ ๑ และ ๒: การตรวจชาระและ การศึกษาเชิงวิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนวิชกภาษาตะวันออก บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย๑ ๒๕๒๒], หน้า ๒๒. อนึ่ง ตัวเลขจํานวนคัมภีร์ยังระบุไม่ตรงกัน เช่นในงานวิจัยของสุชาติ บุญชัย ระบุว่ามี ๒๕ ฉบับ เป๐นอักษรขอม ๒๔ ฉบับ อักษรมอญ ๑ ฉบับ แสดงให้เหน็ วา่ มีการสํารวจในระยะเวลาท่แี ตกตา่ งกนั จาํ นวนท่พี บแตล่ ะครั้งจงึ แตกตา่ งกนั ไปด้วย

๓๗๓ ดว้ ยอักษรมอญ คือฉบับทองทึบลายทองจนี และในบรรดาท้งั ๑๘ ฉบบั น้ี มเี พยี ง ๔ ฉบับ ท่ีระบุปีที่จาร ทําให้ทราบแน่ชัดว่าอยู่ในช่วงสมัยใด กล่าวคือ ฉบับท่ีเก่าที่สุดเพียงสมัย กรุงธนบุรี สมัยรัชกาลท่ี ๑ มี ๑ ฉบับ และสมัยรัชกาลที่ ๒ มีจํานวน ๒ ฉบับ ขณะที่ใน งานวิจัยาของปรทิ ัศน์ ศรีรัตนาลยั ๒๘๘ ระบุวา่ มี ๒๑ ฉบบั เปน๐ อกั ษรขอม ๒๐ ฉบับ และ อักษรรามญั ๑ ฉบบั แสดงวา่ มกี ารพบคัมภรี น์ ี้เพิ่มขึ้น เชน่ กรณพี บทวี่ ดั เพชรพลี จังหวัด เพชรบรุ ี ผวู้ ิจยั ได้เดนิ ทางไปตรวจแลว้ โลกัปป์ทีปกสาร เป๐นคัมภีรท์ ีม่ ีเนือ้ หาแสดงหรอื อธิบายเกี่ยวกับโลก ผู้รจนา ไดน้ ําเนื้อหามาจากหลายคัมภีร์ เช่น พระไตรปิฎก , มิลินทป๎ญหา, คัมภีร์มหาวงศ์ เป๐น ต้น เน้ือหาแบ่งออกเป๐น ๘ ปริจเฉท แต่ละปริจเฉทพรรณนาเน้ือาตามช่ือปริจเฉท ดงั ต่อไปน้ี ปริจเฉทท่ี ๑ สงั ขารโลกนิเทศ รจนาท้ังลักษณะฉันท์และร้อยแก้วสลับกัน ไป อธิบายโลก ๑๒ ประเภท ประกอบไปด้วย สรรพสตั ว,์ นามและรูป, เวทนา ๓, อาหาร ๔, อุปาทานขนั ธ์ ๕, อายตนะภายใน ๖, วญิ ญาณฐติ ิ ๗, โลกธรรม ๘, สัตตาวาส ๙, อาย ตน ๑๐ และอายตนะ ๑๒, โลกธาตุ ๑๘ ปรจิ เฉทท่ี ๒ นิรยคตนิ ิเทศ รจนาในลักษณะฉนั ท์ทั้งหมด ๑๔๗ บท อธิบาย ลักษณะของนรก ๘ ขุม รวมทั้งนรกขุมบริวาร การบังเกิดของสัตว์นรก รูปร่างของสัตว์ นรก ตลอดจนการเสวยทุกข์ของสตั ว์นรกในแตล่ ะขมุ ปริจเฉทท่ี ๓ เปตคตินเทศ รจนาในลักษณะฉันท์ทั้งหมดรวม ๓๔๖ บท อธิบายความบังเกิดขึ้นแห่งเปรต ผลกรรมท่ีทําให้เกิดเป๐นเปรต และยกตัวอย่างเปรต ประเภทตา่ งๆ โดยอ้างองิ จากคมั ภรี เ์ ปตวัตถอุ รรถกถา และคมั ภรี ์สีหลวัตถุปกรณะ ปริจเฉทท่ี ๔ ติรัจฉานคตินิเทศ รจนาในลักษณะฉันท์ทั้งหมด ๑๔๖ บท อธิบายถึงการบังเกิดแห่งสัตว์เดรัจฉาน ประเภทของสัตว์เดรัจฉาน ผลกรรมท่ีทําให้ บงั เกดิ เปน๐ สัตว์เดรัจฉาน เชน่ อสรพษิ ปลาใหญ่ทั้ง ๔ ช้าง ๑๐ ตระกูล สัตว์ประเสริฐ ๔ ประเภท คอื ราชสหี ์ โคอาสภะ โคอสุ ภะ โคนิสภะ ปริจเฉทท่ี ๕ มนุสสคตินิเทศ รจนาเป๐นคําฉันท์ท้ังหมด ๑,๔๕๒ บท อธิบายความบังเกิดแห่งมนุษย์ เหตุท่ีได้ช่ือว่ามนุษย์ การจัดประเภทของมนุษย์ การ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกา พระโมคคัลลีบุตรเถระทําสังคายนาคร้ังที่ ๓ ใน ๒๘๘ ปริทัศน์ ศรีรัตนาลัย, โลกัปป์ทีปกสารปริจเฉทท่ี ๓ และท่ี ๔: การตรวจชาระและ การศึกษาเชิงวิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนวิชกภาษาตะวันออก บัณฑิต วิทยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑ ๒๕๒๓], หนา้ ๖.

๓๗๔ ลังกา การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ การไปสู่สุคติเทวโลกของพระเจ้าทุฏฐคามณีอภัย ประวตั ิเจา้ หญิงจณั ฑาลชอ่ื อโสกมาลนิ ี พระราชประวัติของพระราชกุมารสาระ พระราช โอรสของพระเจ้าทุฏฐคามณอี ภัย ปริจเฉทที่ ๖ เทวตาคตินิเทศ รจนาเป๐นคําฉันท์ท้ังหมด ๒๓๒ บท อธิบาย ความบังเกิดขึ้นแห่งเทวดา เหตุท่ีได้ชื่อว่า เทวะ การจําแนกประเภทเทวดา แสดง รายละเอียดเก่ียวกบั สวรรคท์ ง้ั ๖ ช้ัน ผปู้ กครองสวรรคช์ ้ันนั้นๆ สมบัติเทวดา และผลบุญ ท่ีทาํ ใหไ้ ด้บังเกิดเปน๐ เทวดา ปริจเฉทท่ี ๗ โอกาสนิเทส อธิบายเร่ืองโอกาสโลก คือจักรวาล เหตุเกิด จักรวาล เหตุท่ีทําให้จักรวาลสลายไป ระยะทางระหว่างพ้ืนดินถึงสวรรค์ ๑๖ ช้ัน และ พรหมชั้นต่างๆ อธิบายถึงมาตราวัดระยะทางและมาตราเวลา โดยพรรณนาในลักษณะ ของฉันท์และร้อยแก้วสลับกัน เนื้อหาส่วนใหญ่อ้างอิงจากพระไตรปิฎก อรรถกถา และ ฎกี า ปริจเฉทที่ ๘ ปกิณณกนิเทส รจนาในลักษณะฉันท์ทั้งหมด ๘๙๘ บท อธิบายเร่ืองเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เช่น อธิบายถึงบุคคลผู้หาได้ยาก ๒ ประเภท, พระเจ้า จักรพรรดิ ๓ ประเภท, โพธิสัตว์ ๓ ประเภท, ปฏิหาริย์ท่ีดํารงอยู่ได้ตลอดกัปป์ ๔ ประการ, เสยี งทบ่ี รรลือไปทว่ั ชมพูทวปี ๔ ประเภท, กําลัง ๕ ประการ, อานิสงส์ของการ ฟ๎งธรรม ๕ ประการ เปน๐ ตน้ จากจํานวนฉนั ทลกั ษณ์ทั้งหมด ๘๙๘ บท จําแนกรายละเอียดไดด้ ังนี้๒๘๙ ปฐยาวตั คาถา ๘ จาํ นวน ๘๘๙ บท อนิ ทรวงศฉ์ ันท์ ๑๒ จาํ นวน ๖ บท วสันตดลิ กคาถา ๑๔ จาํ นวน ๖ บท อินทรวเิ ชียรคาถา ๑๑ จาํ นวน ๔ บท วังสัฏฐฉันท์ ๑๒ จาํ นวน ๒ บท อปุ ชาตฉิ ันท์ ๑๑ จํานวน ๑ บท ข้อสังเกตจากงานวิจัยของประเสริฐ ใจกล้า พบว่า โลกัปป์ทีปกสาร ใน ปริจเฉทที่ ๘ มีความขอ้ ความทีอ่ า้ งองิ หรือนํามาจากคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา และ คมั ภรี ์อื่นๆ ดังนี้๒๙๐ ๒๘๙ ประเสริฐ ใจกล้า, โลกัปป์ทีปกสารปริจเฉทที่ ๘: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนวิชกภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย๑ ๒๕๒๗], หนา้ ๑๙

๓๗๕ ๑. พระไตรปิฎก เนื้อหาท่ีนํามาจากพระไตรปิฎก มีจํานวน ๒๘ แห่ง ส่วน ใหญ่คงเนื้อหาไว้ตามเดิม แต่ก็มีตัดทอน และเขียนใหม่บางแห่ง ส่วนรูปแบบการ ประพันธ์มกี ารเปล่ยี นรอ้ ยแกว้ ให้เปน๐ รอ้ ยกรอง สว่ นท่ีเปน๐ ร้อยกรองอยู่แล้ว ก็คงไว้ ๒. อรรถกถา เนื้อหานํามาจากคัมภีร์อรรถกถา ๔ เล่ม คือ คัมภีร์สุมังคลวิ สาลนิ ี, คัมภรี ์สารัตถัปปกาสินี, คัมภีร์ปรมัตถโชติกา, และคัมภีร์มโนรถปูรณี รูปแบบคํา ประพนั ธท์ งั้ หมดทีน่ าํ มาสว่ นใหญ่เป๐นรอ้ ยแกว้ และพระเมธงั กรไดเ้ ปลี่ยนเปน๐ ร้อยกรอง ๓. คมั ภีร์อื่นๆ เน้ือหาท่นี ํามาจากคมั ภีรอ์ ่นื ประกอบดว้ ย คัมภรี ว์ ิสทุ ธิมรรค ๑ แหง่ , มลิ ินทป๎ญหา ๗ แห่ง และคัมภีร์สารสังคหะ ปรากฎ ๒๓ แห่ง ที่นํามาอ้าง ส่วน ใหญเ่ ป๐นร้อยแก้ว มเี พยี งแห่งเดยี วทน่ี ํามาเป๐นรอ้ ยกรองคอื สารสงั คหะ กรณีเป๐นร้อยแก้ว พระเมธงั กรไดเ้ ปล่ียนเปน๐ ร้อยกรอง ที่เป๐นร้อยกรองอยู่แล้วก็คงไว้ตามเดิม นอกจากน้ัน ยงั มีท่อี า้ งมาจากคัมภรี อ์ ืน่ แต่ไม่ระบคุ ัมภีร์ อา้ งแต่เพยี งวา่ บุรพาจารยก์ ลา่ วไว้ กล่าวโดยสรปุ โลกปั ป์ทีปกสาร เปน๐ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่แสดง เร่ืองราวต่างๆ เกี่ยวกับโลก นรก เปรต สัตวเดรัจฉาน มนุษย์ เทวดา และสวรรค์ ซ่ึง เร่ืองราวเหล่าน้ี ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ท้ังในส่วนพระไตรปิฎก อรรถ กถา ฎีกา พระเมธังกรได้นําเร่ืองราวต่างๆ ในคัมภีร์เหล่น้ีมาร้อยเรียง บางคร้ังก็ยก ข้อความที่ปรากฎในคัมภีร์น้ันๆ มาประกอบการอธิบายเพ่ือให้เกิดความชัดเจนยิ่งข้ึน ตามเจตนาของผู้รจนา ซ่งึ ระบุไว้แตใ่ นแตล่ ปริจเฉทคล้ายๆ กันว่า เพื่อความเลื่อมใสและ ความสงั เวชของคนดี โวหารทใี่ ช้ในคมั ภรี โ์ ลกปั ป์ทีปกสาร โวหาร คือวิธีอธิบายเรื่องโดยใช้ข้อความหลายๆ ประโยค และอธิบาย หลายๆ วิธีเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ และยังทําให้ถ้อยคํามีความไพเราะอีกด้วย พระเมธังกร เถระ แต่งคมั ภีรโ์ ลกปั ป์ทปี กสารโดยใชโ้ วหารต่างๆ ประกอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี๒๙๑ ๑. แบบบรรยายโวหาร คือ การอธิบายเรื่องราวอย่างละเอียดตามความรู้ ของผแู้ ต่ง ในคมั ภรี ์พระเมธงั กรใช้โวหารน้ีมากท่ีสุด ท่านมีศิลปะในการแต่งดี เข้าใจง่าย แสดงให้เห็นว่า ท่านเป๐นผู้ทรงความรู้ท้ังด้านหลักธรรม และหลักภาษา เช่นความตอน ๒๙๐ ประเสริฐ ใจกล้า, โลกัปป์ทีปกสารปริจเฉทท่ี ๘: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์, หน้า ๘-๑๐. ๒๙๑ เกรียงศักด์ิ ไทยคุรุพันธ์, โลกัปป์ทีปกสารปริจเฉทที่ ๑ และ ๒: การตรวจชาระและ การศึกษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๖๑-๖๔.

๓๗๖ หน่ึง ท่านพรรณนาถึงความแตกต่างของคนเราแต่ละคนว่าไม่เหมือนกัน แม้จะเป๐นฝา แฝดก็ยังไมเ่ หมอื นกนั อปริมาเณสุ หิ จกฺกวาเฬสุ อปริมาณํ มนุสฺสานํ วณฺณสณฺฐานาทิว เสน เทวปิ เอกสทสิ า นตฺถิฯ เปยิ กตฺถจิ ยมกา ภาตโร วณเณน วา สณฺฐาเนน วา เอกสทิสา โหนฺติฯ เตสํ อาโลกิตวิโลกิตกถิตสิต คมนฏฐานาทสี ุ วเิ สโส โหติ เยวฯ บรรดามนุษย์หาประมาณมิได้ ในจักรวาลอันหาประมาณมิได้ มนุษย์แม้สองคนที่เหมือนเป๐นคนเดียวกันไม่มีเลย ด้วยอํานาจ ผวิ พรรณสัณฐานเป๐นต้น ในบางแหง่ พีน่ อ้ งคู่แฝดคู่น้ันก็ยังแปลกัน อยู่น่นั เองในอาการมีการมอง การเหลยี ว การพดู การหัวเราะ การ ดิน และการยนื เปน๐ ตน้ ๒. แบบพรรณนาโวหาร คอื การยกเอาทอ้ งเรอื่ งในบรรยายโวหารข้อใดข้อ หนึ่งมาพรรณนาให้ละเอียดยิ่งขั้น เพื่อให้ผู้อื่นเกิดภาพภจน์ เน้ือหาในโลกัปป์ทีปกสาร พระเมธงั กรเถระใช้โวหารนีอ้ ยบู่ ้าง ดังตวั อย่าง อโยปาการปรยิ นฺตํ อยสา ปรกิ ุขณติ า เตสํ อโยมยา ภมู ิ ขลติ า เตชสา ยุตตฺ า สมนฺตา โยชนสตํ ผรติ ฺวา ฐนฺติ สพพฺ ทาฯ นรกเหล่านี้มี ๔ มุม ๔ ประตู ท่านจําแนกไว้กําหนดโดยส่วนมี กําแพงเหล็กล้อมโดยรอบ ถูกครอบมิดชิดด้วยเหล็ก พื้นนรก เหล่านัน้ ปดู ว้ ยแผน่ เหล็ก มไี ฟเผาลุกโพลง มีความร้อนแผ่ไปรอบๆ ถงึ ๑๐๐ โยชน์ และมไี ฟอยตู่ ลอดกาล ๓. เทศนาโวหาร คือวิธีการพูดชี้แจง ส่ังสอน เพื่อเกิดความเชื่อถือและ ปฏิบัติตาม โวหารแบบน้ี พระเมธังกรเถระมักจะเขียนตอนที่จะจบแต่ปริจเฉท ดัง ตัวอย่าง อโห โมหานภุ าโวยํ เยนายํ ปรโิ มหโต เอวํ ทกุ ขฺ าวหํ กมฺมํ กโรติ จ สขุ ตฺถโี ก ภายตพฺพํ หิ ปาปาโต เอวํ ทกุ ฺขผลยี โต กสุ เล อาทโร นจิ ฺจํ กตฺตพโฺ พ ทกุ ขฺ ภภิ ูตติฯ โอ น่ีเปน๐ อานุภาพของความหลง อานภุ าพของความหลงนี้เป๐นของ ท่ีบุคคลใดหลงงมงายแล้ว ก็บุคคลน้ัน ผู้ปรารถนาความสุข จะทํา กรรมที่นําความทุกข์มาให้ขนาดนี้ เพราะเหตุน้ัน พึงกลัวแต่บาป

๓๗๗ อนั มผี ลเปน๐ ทุกข์ขนาดนี้ บุคคลพงึ กระทาํ ความเอ้ือเฟื๒อในกุศลเป๐น นติ ย์ จึงจะขึ้นไปจากความทกุ ขไ์ ด้ ๔. อุปมาโวหาร คือการอธิบายความโดยยกสิ่งใดส่ิงหนึ่งมาเปรียบเทียบ เพอ่ื ใหข้ อ้ ความนน้ั ชัดเจน และเขา้ ใจง่ายยิง่ ข้ึน โวหารแบบนี้ พระเมธังกรเถรนํามาใช้อยู่ เนืองๆ และหลายคร้งั ทา่ นเปรียบเทียบได้ชัดเจนมาก ดังตวั อย่าง ตํ เนรยกทุกฺขสสฺ หมิ วาสาสปนฺตรํ ความทกุ ข์ของสัตว์นรก [เมื่อเปรียบเทียบกับทุกข์ในโลกน้ีแล้ว] ก็ เหมือนกับความแตกต่างระหว่างภูเขาหิมพานต์กับเมล็ดพันธ์ุ ผักกาด ๕. สาธกโวหาร คือการอธิบายโดยการยกตัวอย่าง หรือเร่ืองราวข้ึนมา อธบิ ายประกอบ ความตอนหน่ึง พระเมธังกรเถระได้ยกเรื่องนางยักษิณีช่ือปิยังกร และ ยกั ษณิ ีชื่ออตุ ตระ แมเ้ กดิ ในอบาย กส็ ามารถพ้นจากอบายได้ ดังตวั อย่าง เอกจฺเจ วินิปาติกา ปน จตุปายวินิมุตฺตกา อุตฺตรามาตา ยกฺขิณี ปิยงฺกรมาตา ธมฺมภตุ ฺตาติ เอวมาทโย ทฏฺฐพฺพาฯ ส่วนวินิปาติกะบางพวก เป๐นพ้นจากอบาย ๔ ได้แล้ว พึงเห็นเช่น ยักษิณีอุตตรมารดา และยักษิณีปิยังกรมารดาผู้มีธรรมอันบริโภค แล้ว โลกปุ ปัตติ,พระคัมภีร์ พระคัมภีร์โลกุปป๎ตติ๒๙๒ เป๐นผลงานของพระสิริสมันตภัททบัณฑิต พระภิกษุชาวพม่า แห่งอาณาจักรพุกาม แต่งขึ้นเม่ือต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ในสมัยที่ การศกึ ษาบาลใี นอาณาจกั รพกุ ามกาํ ลงั เจริญรุง่ เร่ือง เนอื้ หาในพระคัมภร์พรรณนาถึงโลก ๓ คือ สงั ขารโลก, สัตวโลก, และโอกาสโลก การเกิดข้ึน และการเสื่อมสลายของโลกท้ัง ๓ นอกจากน้ียังได้กล่าวถึงรายละเอียดเก่ียวกับทวีป มหาสมุทร ภูเขา ดวงอาทิตย์ ดวง จันทร์ นักษัตร และวิถีโคจรของดวงดาวในจักรวาล การกําหนดวัน เดือน ปี และยังได้ บรรยายถึงรายละเอยี ดของส่วนประกอบของโลก ตลอดจนสรรพสัตวใ์ นโลกทเ่ี กิดข้ึนและ ดับไปตามหลกั ปฏจิ จสมุปบาท ผู้รจนาไดอ้ าศัยหลกั ฐานจากพระไตรปฎิ ก อรรถกถา และ ๒๙๒ สมพงษ์ ปรีชาจนิ ดาวฒุ ิ, การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรอ่ื งโลกุปปัตติ, วทิ ยานิพนธ์อักษรศา สตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๘], บทคัดยอ่ .

๓๗๘ ฎีกาโดยตลอด คัมภีร์น้ีจึงมีคุณค่าต่องานวรรณกรรมในสมัยหลัง เพราะมีการอ้างถึงใน เรอ่ื งไตรภูมพิ ระร่วง จันทสรุ ิยคติทปี นี จกั กวาฬทปี นี และติโลกทีปนี ในการแตง่ เรอื่ งโลกปุ ปต๎ ติ พระสิรสิ มันตภัททบัณฑิตเถระ ไม่ได้แบ่งเนื้อหา ของเรื่องเป๐นปริเฉทเหมือนกับเร่ืองโลกปปทีปกสาร หรือแบ่งเป๐นกัณฑ์เหมือนเรื่องจัก กวาฬทีปนี แต่ไดล้ าํ ดบั เนื้อหาของเรื่องในลักษณะบรรยายต้ังแต่ต้นจนจบ พอสรุปได้ ๘ สว่ นคอื ๒๙๓ ส่วนที่ ๑ บทปณามคาถา กล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พร้อมท้ังกล่าวว่าได้อาศัยคัมภีรต่าง ๆ ประกอบในการแต่งโดยมิได้บอกช่ือของคัมภีร์ เหล่านัน้ และกล่าวถงึ ความมุ่งหมายในการแต่งเพอ่ื เปน๐ ประโยชนส์ บื ต่อไป ส่วนท่ี ๒ ความหมายของโลก ๓ คือ สังขารโลก หมายถึงสิ่งท่ีมีชีวิตอยู่ได้ เพราะอาหาร สตั ว โลก หมายถงึ โลกเทีย่ งและไม่เท่ียง โอกาสโลก หมายถึงจักรวาลหน่ึง พันจักรวาล ความหมายของคําอุป๎ตติ คอื การเกิดขึน้ เอง ส่วนที่ ๓ การเกิดขึ้นและเสื่อมสลายของโลก ในความหมายของสังขาร โลก คือเมื่อสังขารท่ีเกี่ยวเนื่องด้วยส่ิงท่ีมีชีวิตปรากฏข้ึนเรียกว่าสัตว์เกิด เมื่อสังขารท่ี กําหนดไว้ในภพหนงึ่ ตายเรยี กว่าสัตวต์ าย สภาพที่ช่อื ว่าเปน๐ สัตวไ์ ม่มอี ีก สตั ว์ทเ่ี กิดขึ้นจาก ทุกข์ ดับไปเพราะทุกข์ สังขารท่ีเกิดขึ้นในภพใดก็ดับไปในภาพน้ัน ชีวิตสัตว์เป๐นไปตาม กฎไตรลักษณ์ คือ เป๐นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา การเกิดข้ึนของสังขารโลกตาม กฎปฏิจจสมุปบาท คือ เพราะมีอวิชชาเป๐นป๎จจัยจึงทําให้เกิดสังขารเป๐นต้น และความ เส่ือมสลายของสังขาร โลกตามกฎปฏิจจสมุปบาทโดยปฏิโลมคือ เพราะอวิชชาดับ สังขารจงึ ดับ การดบั โดยไม่เกดิ อีกคือ การบรรลพุ ระนพิ พาน ส่วนที่ ๔ การเกิดข้ึนและการเส่ือมสลายของโลก ในความหมายของสัต วโลก คือ เมื่อสัตว์ทํากรรมอย่างใด ก็ได้รับผลของกรรมท่ีทํานั้น ถ้าทํากรรมท่ีเป๐นกุศล ย่อมเสวยผลท่ีเป๐นสุข ถ้าทํากรรมท่ีเป๐นอกุศลก็เสวยผลที่เป๐นทุกข์ การจุติและปฏิสนธิ วิญญาณของสัตว์จึงเกิดข้ึนบ่อย ๆ ด้วยกัมมวัฏฏและ วิปากวัฏฏนั้น ทางที่จะหลุดพ้น จากการจตุ ิ และปฏิสนธิคือ ดบั อวิชชา เป๐นต้น ตามหลักปฏิจจสมุปบาท และบรรลุพระ นพิ พานในทส่ี ดุ ส่วนท่ี ๕ ความพินาศและการเกิดข้ึนของโลก ในความหมายของโอกาส โลก เนอ้ื หาของเรอ่ื งไดบ้ รรยายความพินาศของโลกกอ่ นกําเนดิ โลกคือ ในมหากัปป์หน่ึงมี ๔ อสงไขยกปั ป์ ได้แก่ ๒๙๓ สมพงษ์ ปรีชาจนิ ดาวุฒิ, การศึกษาเชงิ วิเคราะห์เรื่องโลกุปปตั ติ, หนา้ ๔๔-๔๗.

๓๗๙ สังวัฏฏกับป คือ ระยะเวลาตั้งแต่มหาเมฆท่ีทําให้กัปป์พินาศ จนถึง เพลิง ดับ สงั วัฏฏฐายีกับป คือ ระยะเวลาตง้ั แตเ่ พลงิ ทท่ี าํ ให้กัปป์พินาศไปกบั ลงจนถึง ฝนตกลงมาน้ําท่วมแสนโกฏจิ ักรวาล วิวัฏฏกับป คือ ระยะเวลาตั้งแต่ฝนตกลงมาน้ําท่วมจนถึงดวงจันทร์และ ดวงอาทติ ย์ปรากฏ ววิ ฏั ฏฐายีกัปป์ คือ ระยะเวลาตั้งแต่ดวงจันทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ปรากฎจนถึง มหาเมฆท่ีทาํ ให้กปั ป์พินาศในสังวฏั ฏกปั ป์อกี กัปป์ท่ีเส่ือมมี ๓ สาเหตุ คือเส่ือมเพราะพินาศด้วยไฟ เส่ือมเพราะพินาศ ด้วยน้า และเส่ือมเพราะพินาศด้วยลม เขตของความพินาศคือพรหมโลกชั้นอาภัสสร พรหม ชนั้ สุภกิณนพรหม และชั้นเวหัปผลพรหม เม่ือกัปป์พินาศด้วยไฟอาณาเขตต้ังแต่ ใตช้ น้ั อาภัสราพรหมลงมาถกู ไฟไหมห้ มด เม่อื กัปป์พินาศดว้ ยนา้ํ อาณาเขตใตช้ ั้นสุภกิณหา พรหมลงมาถูกนํ้าทําลายหมด เมื่อกัปป์พินาศด้วยลม อาณาเขตใต้ชั้นเวหัปผลพรหมลง มาถกู ลมทําลายหมด สําหรับพุทธเขตน้นั เมื่อกัปป์พินาศด้วยไฟ ํน้า หรือลม จะพินาศไป ทุกครัง้ สมยั ที่กัปป์พินาศด้วยไฟในสังวัฏฏกัปป์ เริ่มต้นด้วยฝนไม่ตกเป๐นเวลานาน สิ่งมีชีวิตทอี่ าศัยน้ําในการดํารงชีพก็ตาย บางพวกเมือ่ ตายแลว้ ไปเกิดในพรหมโลก เทวดา โลกพยูหะจึงปาวประกาศในท่ีต่าง ๆ เร่ืองโลกจะพินาศ มนุษย์จํานวนมากจึงบําเพ็ญ ธรรมมกี ารเจริญเมตตาและบํารุงบิดาและมารดา เป๐นต้น เม่ือตายไปก็ไปเกิด ในสวรรค์ พวกทไ่ี มบ่ ําเพญ็ ธรรมเมอ่ื ตายก็ไปเกิดในอบาย ต่อมาเกิดดวงอาทิตย์ดวงที่ ๒ จนถึงดวง ที่ ๓ ไฟลุกไหมแสนโกฏิจักรวาล พร้อมกัน ยอดเขาสิเนรุทั้งหมดนับต้ังแต่ยอดเขาที่สูง ๒๐ โยชน์ละลายหายไปในอากาศ เปลวไฟลุกไหม้ไปจนถึง เทวโลกช้ัน จาตุมหาราชิก เผาวิมานทอง วิมานแก้ว วิมานเพชร วิมานพลอยในช้ันจาตุมหาราช แล้วลุกไหม้จนถึง ภพดาวดงึ ส์ ลามไปถงึ พรหมโลกชัน้ ปฐมฌานภูมิ เผาพรหมโลกทั้ง ๓ ชั้น ถึงช้ันอาภัสสร พรหมจงึ หยดุ ไฟไหมทกุ ส่งิ ทกุ อย่างไมเ่ หลอื แม้สกั อณหู น่งึ ต่อจากสมยั ทีโ่ ลกพนิ าศด้วยไฟในสังวัฏฏกัปป์ เปน๐ ระยะเวลาสงั วัฏฐายีกัปป์ ในระยะเวลาดังกล่าวเกิดฝนตกทาํ ให้นํ้าเตม็ ทว่ั จกั รวาลทไี่ ฟไหม้และเกดิ ลมพัดหมุนให้นํ้า เปน๐ ก้อน ลมพดั เอากอ้ นนํา้ ไปตกท่พี รหมโลกช้นั ปฐมฌานภูมิในสมัยท่ีพระพุทธเจ้าจะมา ตรัสรู้ พวกพรหมที่เกิดในชั้นอาภัสสรพรหม จักลงมาเกิดในโลกเป๐นกําเนิดมนุษย์ หลังจากนนั้ เกิดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ฤดู เดือน ปี ภูเขา ทวีป อาหาร ตามลําดับ มนุษย์

๓๘๐ รจู้ ักสรา้ งที่พกั อาศัยเกดิ ครอบครัวและชุมชน ในชุมชนน้ันได้เลือกพระโพธิสัตว์เป๐นมหา สมมติกษัตริย์ ส่วนที่ ๖ ภูมิศาสตร์ของโลก ที่ปรากฏในเรื่องมีดังนี้ คือ ขุนเขาสิเนรุหย่ัง ลงในมหาสมุทรและโผล่พ้นน้ําข้ึนไปในอากาศ มีความลึก และสูงเท่ากันคือ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ และล้อมรอบด้วยภูเขาบริวาร ๗ ลูก คือ ภูเขายุคนธร ภูเขาอิสินธร ภูเขากรวิก ภเู ขาสทุ ัสสนะ ภเู ขาเนมนิ ธร ภูเขาวนิ ตก และภเู ขาอสั สกัณณ์ ทวีป มี ๔ คือ ชมพูทวีป มีอาณาเขต ๑๐,๐๐๐ โยชน์ มีลักษณะเหมือน เกวียน อปรโคยานทวีปมีลักษณะเหมือนกระจก ปุพพวิเทหทวีปมีลักษณะเหมือน พระจันทร์ครงึ่ เสี้ยว และอุตรกรุ ทุ วปี มีลักษณะเหมือนตั่ง แตละทวีปมีอาณาเขต ๗,๐๐๐ โยชน์ กลา่ วกันว่า คนทอี่ ยูใ่ นทวปี ใดใบหน้าของ เขากเ็ หมอื นหวปี นัน้ ภูเขาหิมพานต์ มีอาณาเขต ๓,๐๐๐ โยชน ประดับด้วยยอดเขา ๘๔,๐๐๐ ยอด ประดบั ด้วยแมน่ ํา้ ๕๐๐ สาย ไหลอยู่โดยรอบ มสี ระใหญ่ ๗ สระอย่ภู ายใน คือ สระ สีหปาตนะ สระหังสปาตนะ สระกัณณทุณฑกะ สระรถการะ สระอโนดาต สระฉัททันต์ และสระกุณาละ ส่วนที่ ๗ ดาราศาสตร์ มีปรากฎดังนคี้ ือ ดาวนักษัตรมี ๒๗ ดวง โคจรไป พร้อมกบั ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ ประกอบด้วย อัสสยชุ ะ ภรณี กัตติกา โรหิณี มิคสิระ อัททา ปุนัพพสุ ปุสโส อสิเลสา มฆา ปุพพผัคคุณี อุตรผัคคุณี หัตถะ จิตตา สาติ วิสาขา อนุราชา เชฎฐา มูลา ปุพพาสาฬหะ อุตราสาฬหะ สวณะ ธนิฏฐา สตภิสชะ ปุพพ ภัททปทา อุตรภัททปทา และเรวตี การโคจรของดาวนักษัตร ที่โคจรไปพร้อมกับดวง จนั ทรแ์ ละดวงอาทิตยท์ าํ ให้เกิดการกําหนด เดอื น ปี และฤดู ดวงจันทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ ดวงจันทรม์ ขี นาด ๔๙ โยชน์ ควงอาทิตย์มีขนาด ๕๐ โยชน์ ทั้งสองโคจรไปพร้อมกันโดยดวงอาทิตย์อยู่ข้างบน ดวงจันทร์อยู่ข้างล่าง ทาง โคจรของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่ ๓ ทางคือ อชวิถี [ทางแพะ] นาควิถี [ทางช้าง] และโควิถี [ทางโค] ทางแพะคือ ทางโคจรของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ทําให้ฝนไม่ตก ทางช้างคือ ทางโคจรของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่ทําให้ฝนตกมาก ทางโคคือ ทาง โคจรของดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทิตย์ทท่ี าํ ให้ฝนตกพอประมาณ วัน เดือน ปี ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนกระท่ังรุ่งอรุณนับเป๐นวันหน่ึงกับคืน หนง่ึ ๓๐ ราตรีเป๐น ๑ เดือน ๔ เดอื นเปน๐ ๔ ฤดู ๑๒ เดือน เปน๐ ๑ ปี มณฑล การโคจรของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มี ๓ มณฑลคือ อัพภัน ตรมณฑล มัชฌมิ มณฑล และพาหริ มณฑล

๓๘๑ สว่ นที่ ๘ บอกช่ือผู้แต่ง คือพระสิริสมันตภัททบัณฑิต ท่ีเป๐นศิษย์ของพระ สริ ิสมนั ตภทั ทอัคคมหาบณั ฑติ เนื้อเรอ่ื งของโลกุปป๎ตตทิ ้งั ๘ สว่ นนั้นโดยสรุปแล้วกล่าวถงึ การเกิดและการ เสอื่ มสลายของโลกในความหมายของสังขารโลก สัตวโลก และโอกาสโลก และมีเน้ือหาท่ี แตกต่างไปจากคัมภีรโ์ ลกศาสตรภ์ าษาบาลเี รอ่ื งอ่ืนตรงทค่ี ัมภีรนไ้ี ดเ้ สนอเรื่อง ปฏิจจสมุป บาทและการบรรลพุ ระนิพพาน ดังนัน้ คัมภีรน้ีจึงมีเนื้อเรื่องเด่นกว่าคัมภีร์ โลกป๎ญญัตติ มหากัปป์โลกสัณฐานป๎ญญัตติ และอรุณวตีสูตร เพราะได้กล่าวถึงธรรมะ ชั้นสูงสุดใน พระพุทธศาสนา และเปน๐ การเสนอเน้อื หาทแ่ี ตกต่างไปจากคัมภรี ท์ ี่แตง่ ก่อน เหล่านี้ เนื้อหาที่กล่าวถึง ปฏิจจสมุปบาทและการบรรลุพระนิพพาน ปรากฏใน ตอนท้าย ของส่วนท่ี ๓ และสว่ นท่ี ๔ ของเรอ่ื ง โลกเนยยปกรณ์,คมั ภรี ์ โลกเนยยปกรณ์๒๙๔ แปลว่า ปกรณ์ [ตํารา] สําหรับแนะนําชาวโลก หมายถงึ ตาํ ราท่ีใช้แนะนาํ ชกั นาํ สัง่ สอนหมปู่ ระชุมชนที่นบั ถือพระพุทธศาสนา ให้ต้ังม่ัน อยูใ่ นคณุ งามความดี ในงานวจิ ัยของ ศ.ดร.นิยะดา เหล่าสุนทร เรียกโลกเนยยปกรณ์ว่า ธนญั ชยั บณั ฑติ เพราะพระโพธสิ ัตว์หรอื ตวั เอกในเรื่องมชี ่อื ว่า ธนัญชัย โลกเนยยปกรณ์เป๐นคัมภีร์รจนาถึงอดีตชาติเม่ือครั้งเสวยพระชาติเป๐นพระ โพธิสัตวข์ องพระพทุ ธเจา้ เป๐นคัมภีรน์ อกชาดกท่ีแต่งในประเทศไทย สันนิษฐานว่าน่าจะ แตง่ ในสมัยอยุธยา ระหวา่ ง พ.ศ.๒๐๐๐-๒๓๐๐ ชว่ งระยะเวลาเดี่ยวกับการแต่งป๎ญญาส ชาดกส่วนที่ ๓ เพราะโครงเรอ่ื งยาวซับซ้อน ทํานองเดียวกับป๎ญญาสชาดกส่วนที่ ๓ แต่ ไมร่ ะบุผู้แต่ง เนอื้ หามุ่งเน้นในการถาม-ตอบป๎ญหาแบบใช้โวหาร ซึ่งมีท้ังข้อคิด เตือนใจ แก่ผู้ฟ๎ง สามารถใช้เป๐นแนวทางในการดําเนินชีวิตได้เป๐นอย่างดี โดยผู้แต่งได้ผูกเป๐น ปญ๎ หาถาม-ตอบ รวมทั้งหมด ๔๑ ข้อ ส่วนที่นํามาพิมพ์เผยแพร่นาม “ธนัญชยบัณฑิต” มีปญ๎ หาเพียง ๒๖ ขอ้ ทาํ ให้เหน็ ว่า เนอื้ ความขาดหายไปมากกวา่ ครึง่ หนง่ึ เน้ือหา โครงสร้าง ลกั ษณะการประพนั ธ์ และสานวนภาษา [๑] อปุ ปตั ตคิ าถา ๒๙๔ เรียบเรียงจากงานวิจัยของ พระมหาวิชาญ กนฺตสาโร [มาบ้านไร่], โลกเนยยปกรณ์: การตรวจชาระและศึกษา, วทิ ยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาบาลี, บัณฑิตวิทยาลัย มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘], ๗๙๖ หน้า.

๓๘๒ อุปปต๎ ติคาถา หมายถึง คาถาวา่ ด้วยการเกิดขึ้นของเร่อื ง ซึง่ โลกเนยยปกรณ์ ได้เริ่มต้นด้วยบทปณามคาถา ซึ่งถือเป๐นขนบการประพันธ์วรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนาโดยท่ัวไป จากนั้นแสดงอุปป๎ตติกถา โดยการถามถึงผู้แสดง สถานท่ี เวลา มูลเหตุแห่งการแสดง และผู้ที่ถูกปรารภถึง ซ่ึงเป๐นมาตรฐานท่ัวไปของการแต่ง คัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา บาลี ปํฺญาโต คุณสาคเรหิ สุคโต ปํญฺ าย โลกตุ ฺตโม ปํฺญาทีปตโมนุโท ภวภเว ปํญฺ าย ปารงฺคโต ปํญฺ ายาริยสพพฺ ธมฺมนิปุโณ ปํญฺ าย อคฺคํ คโต ปํฺญาวนฺต นมามิ ตํ ชนิ วรํ ปํญฺ าย มคฺคํ คตํฯ สรณมาธิคตานํ อคคฺ มคฺคปฺปทาปิ สรณมรุรวจนี ํ พฺรหฺมกายานมคฺโค สครทุ ฺธภุชคานํ สคคฺ มคฺคปปฺ ทาตา สมปุ คตสิวํ ตํ ธมมฺ คคฺ ํ นมามฯิ วิวจิ จฺ กาเมหิ อเสสเกหิ จ วิวิจจฺ สพพฺ ากุสเลหิ สพพฺ โส วิรตตฺ จิตโฺ ต ภวสาครมฺหิ โย วิเวกยุตตฺ ํปิ นมามิ หารกํฯ สรเณสุ นมนตฺ สสฺ สพฺพตถฺ ภยปุ ททฺ เว อานุภาเวน โสเสตวฺ า วฑฒฺ นฺตุ สพฺพมงฺคลา โลกเนยยฺ ํ ปวกขฺ ามิ นานานเยหิลงกฺ ตํ ปํฺเหหิ ปรมตถฺ เถหิ วนฺทติ ฺวา รตนตฺตยํฯ ปาสาทชนนํ สาธุ- ชนานํ หิตมาวหํ อิมํ สุภาสิตํ วากฺยํ วุฑฒฺ กิ ามา สณุ าถ เมติฯ โลกนโย ปน เกน เทสิโต, กตฺถ เทสิโต, กทา เทสิโต, กสฺมา เทสิโต, กํ อารพภฺ เทสิโต, เกน ปจุ ฉฺ ิเตน เทสิโตติฯ ตตฺริทํ วสิ ชฺชนํ ฯ คาแปล ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า ซ่ึงปรากฎด้วยพระ ปญ๎ ญาคณุ ดจุ สาคร ผู้เสด็จไปงาม สูงสุดกว่าชาวโลกด้วยพระป๎ญญา มีพระป๎ญญาสว่าง ไสวดุพระอาทิตย์ ในภพน้อยภพใหญ่ เสด็จถึงฝ๎๑งแห่งพระป๎ญญา มีสรรพธรรมอัน ประเสริฐบรบิ รู ณ์ดว้ ยพระปญ๎ ญา เสดจ็ ถงึ ภาวะอนั เลิศด้วยพระปญ๎ ญา ผมู้ ปี ญ๎ ญาชนิ วร รู้ หนทางแห่งมรรคผลด้วยป๎ญญา พระองค์น้ัน

๓๘๓ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้แผ้วถางทางอันเลิศสําหรับสัตว์ ผตู้ อ้ งการทีพ่ ง่ึ พงิ ผู้มกี ายอันประเสรฐิ ดุจพรหม มรี ศั มเี ป๐นที่พง่ึ อันงดงาม บอกทางสวรรค์ ใหเ้ หลา่ นาคผู้มีอันปิดกั้นทางสวรรค์แล้ว เสด็จเข้าถึงท่ีพึงอันดีงาม มีพระธรรมเป๐นที่ไป พระองคน์ น้ั ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระผู้มีพระภาคเจ้า ซ่ึงเว้นจากกามอย่างไม่มีส่วน เหลือ เว้นจากอกุศลทุกอย่าง โดยประการทั้งปวง มีจิตไม่ถูกราคะย้อมไว้ ในห้วงน้ําคือ ภพ ผ้ปู ระกอบด้วยความสงดั พระองค์นน้ั ว่าเป๐นที่พึง่ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย ขอสรรพมงคลจงเจริญ ทําภัยและ อุป๎ทวันตรายในที่ทั้งปวง ให้เหือดแห้งไปแก่ข้าพเจ้าผู้นอบน้อมในสรณะท้ังหลาย ข้าพเจ้า คร้ันนอบน้อมพระรัตนตรัยแล้ว จักกล่าวคัมภีร์โลกเนยยะ ซึ่งประดับด้วยนัย ต่างๆ ด้วยปญ๎ หาอันลกึ ซ้งึ ขอคณุ งามความดจี ึงมีแกเ่ หล่าชนผ้เู ลื่อมใส ขอคุณงามความดี จงนําประโยชน์สุขมาแก่เหล่าสาธุชน ขอท่านท้ังหลาย ผู้ประสงค์ความเจริญ จงฟูง ถอ้ ยคําท่ีเปน๐ สภุ าษิตของข้าพเจ้าน้ีตอ่ ไป ถามว่า ก็พระโลกเนยยะ ใครแสดง? แสดง ณ ที่ไหน ? แสดงในกาลใด? เพราะเหตใุ ดจงึ แสดง? แสดงปรารภใคร? ถูกใครถาม จึงแสดง ? ๒๙๕ เม่ือตั้งคําถาม-ตอบปรารภเบอ้ื งต้นแลว้ จงึ เรม่ิ เข้าสู่ประเด็นคําถาม-ตอบทั้ง ๔๑ ขอ้ ตามลําดับ ดังนี้ ป๎ญหาที่ ๑ ว่าดว้ ยการแก้วิตก ๔ ประการ ป๎ญหาท่ี ๒ ว่าด้วยมลตรธรรม หรอื กลั ยาณธรรม ป๎ญหาท่ี ๓ วา่ ดว้ ยการสรรหาบณั ฑิตเขา้ รบั ราชการ ป๎ญหาท่ี ๔ วา่ ด้วยสิงท่ีมากกลับมนี ้อย สิง่ นอ้ ยกลบั มมี าก ปญ๎ หาท่ี ๕ ว่าดว้ ยส่ิงท่ีเป๐นท่รี ักยิ่งในโลก ปญ๎ หาที่ ๖ วา่ ด้วยสงิ่ ที่มรี สยิ่งกวา่ รสในโลก ป๎ญหาท่ี ๗ วา่ ด้วยธรรมชาตทิ ่เี กดิ มาเพอื่ ฆา่ แม่ ป๎ญหาท่ี ๘ ว่าด้วยบอ่ เกิดแห่งความเส่อื มและความเจรญิ ปญ๎ หาที่ ๙ วา่ ดว้ ยการตัดสนิ คดคี วาม ป๎ญหาที่ ๑๐ วา่ ด้วยส่ิงที่เลน่ แล้วกอ่ ใหเ้ กิดความสขุ ปญ๎ หาท่ี ๑๑ วา่ ดว้ ยการแก้ปญ๎ หาของปุโรหิต ๒๙๕ พระมหาวิชาญ กนฺตสาโร [มาบ้านไร่], โลกเนยยปกรณ์: การตรวจชาระและศึกษา, หน้า ๕๑๗.

๓๘๔ ปญ๎ หาท่ี ๑๒ วา่ ดว้ ยบุคคลท่ีควรรักษานํ้าจติ น้ําใจ ป๎ญหาที่ ๑๓ วา่ ดว้ ยผู้ทสี่ มควรแก่การเป๐นอุปราช ปญ๎ หาท่ี ๑๔ วา่ ด้วยการแข่งขนั ขี่ม้า ปญ๎ หาท่ี ๑๕ วา่ ด้วยคุณธรรมของคนดี ปญ๎ หาที่ ๑๖ ว่าด้วยส่งิ ท่โี กรธแล้วก่อใหเ้ กดิ ความพินาศ ป๎ญหาที่ ๑๗ วา่ ดว้ ยการระแวงใจในพระโพธิสัตว์ ปญ๎ หาท่ี ๑๘ วา่ ด้วยการเพง่ เลง็ สงิ่ ทเ่ี ป๐นประโยชนด์ กี วา่ ป๎ญหาที่ ๑๙ วา่ ดว้ ยการรู้คณุ และไมร่ ู้คุณคน ป๎ญหาที่ ๒๐ ว่าดว้ ยวตั ถุเปน๐ เคร่อื งเสยี บแทงกายและใจ ปญ๎ หาท่ี ๒๑ วา่ ดว้ ยคาํ ว่า ราชา มีความหมายกวา้ ง ปญ๎ หาท่ี ๒๒ วา่ ด้วยการพลัดพรากจากมารดาบิดา ป๎ญหาท่ี ๒๓ วา่ ดว้ ยการอยูน่ อกเมอื ง ปญ๎ หาท่ี ๒๔ ว่าดว้ ยการพบเนอ้ื คู่ ป๎ญหาที่ ๒๕ วา่ ดว้ ยเทวดาทําลางสังหรณ์ ป๎ญหาท่ี ๒๖ วา่ ด้วยการกลับเข้ามายังพระนคร ปญ๎ หาท่ี ๒๗ วา่ ด้วยการอธิบายเสียงกลอง ปญ๎ หาท่ี ๒๘ วา่ ด้วยนางกลั ยาณเี ขา้ เฝูาตอบปญ๎ หา ปญ๎ หาท่ี ๒๙ ว่าด้วยการออกไปทรมานพระเจา้ อาภังคี ปญ๎ หาที่ ๓๐ ว่าดว้ ยนางกัลยาณีข่ม ๔ บัณฑติ ป๎ญหาที่ ๓๑ วา่ ด้วยชัยชนะของพระโพธสิ ตั ว์ ป๎ญหาที่ ๓๒ วา่ ด้วยการตงั้ อุปราช ป๎ญหาท่ี ๓๓ ว่าด้วยการกลับใจของพระราชา ปญ๎ หาท่ี ๓๔ ว่าด้วยการรบกันดว้ ยธรรมะ ปญ๎ หาท่ี ๓๕ ว่าดว้ ยการแก้ปญ๎ หา ๑๒ ข้อ ป๎ญหาที่ ๓๖ ว่าดว้ ยการแก้ป๎ญหาของภูริปญ๎ ญา ๓ ข้อ ป๎ญหาที่ ๓๗ ว่าดว้ ยกรุ ธุ รรม ๑๐ ข้อ ป๎ญหาท่ี ๓๘ วา่ ดว้ ยผทู้ ่ีสมควรไปเกดิ ในสวรรค์ ปญ๎ หาท่ี ๓๙ ว่าด้วยอริยสจั ๔ ป๎ญหาท่ี ๔๐ วา่ ด้วยการประมวลชาดก ป๎ญหาที่ ๔๑ ว่าด้วยพระอนุสาสนีของพระพุทธเจ้า

๓๘๕ เนอ้ื ความแห่งป๎ญหาท้ังหมด มุ่งแสดงสติป๎ญญาของพระโพธิสัตว์ ซ่ึงถูกผูก ให้เป๐นพระเอกของเร่ืองในการแก้ป๎ญหาต่างๆ ซึ่งขณะนั้นทรงมีพระชนม์เพียง ๗ ขวบ การดําเนินการทดสอบป๎ญญาของพระกุมารผู้เป๐นพระโพธิสัตว์ ได้เร่ิมข้ึนโดยพระราช ประสงค์ของพระราชา เร่ิมต้ังแต่ทรงรับสั่งให้อํามาตย์ผู้ฉลาดผู้หนี่งไปท่ีเรือนของ ของธนญั ชัยเศรษฐี เพื่อทดสอบปญ๎ หา เรมิ่ ต้ังแต่วติ กป๎ญหาตามลาํ ดับ ตัวอย่างคาถาม ๑. ราชบุรุษคนหนึ่ง เอาจอบไปขดุ แผน่ ดินทมี่ ีพนื้ เสมอกนั ทําใหเ้ ป๐นหลุมลึก แล้ว เอาดินท้ังหมดมากองรวมกันไว้ ยกเสาต้นหนึ่งใส่เข้าไป เอาดินท้ังหมดกลบลงไป แล้ว เอาสากกระทุ้งๆ ลงไป ดนิ ก็ไม่รจู้ กั เตม็ เพราะเหตุใด หลมุ ที่เตม็ จงึ ไมย่ อมเตม็ ? ๒. ลูกฟ๎กเขียว อาศัยเครือรากเส้นเดียว จึงเจริญเติบโตใหญ่ขึ้นตามลําดับ เครือวลั ย์นั้นกห็ าขาดไม่ ถึงจะมลี ูกใหญ่กวา่ เชือกก็ตาม เพราะเหตใุ ด เครอื วลั ยจ์ ึงไมข่ าด ๓. ตามปกติหญิงทานข้าวสุกวันละ ๒ ทะนาน ต้ังแต่เวลาท่ีรักษาครรภ์ จนกระท่งั คลอดบตุ ร ก็ยังคงทานอยเู่ หมือนอยา่ งแตก่ อ่ น นางทานอยู่อย่างไรก็คงทานอยู่ อย่างนนั้ จะเล้ยี งลกู ชายอย่างไรได้ จะหาอาหารมาแต่ท่ีไหน ? ๔. ขนคิ้วของเหล่าบุรุษ ยังไม่หายไปจากพวกเขา แต่ขนคางถึงจะรักษา เอาไว้ ก็ยังคงหายไปจากพวกเขาเปน๐ ประจาํ แม้ขนคว้ิ กย็ งั ไม่ทันงอก แต่ขนคางกลับงอก ขน้ึ มาเรว็ พลัน ทําไมจึงเป๐นเช่นน้นั [๒] ลักษณะคาประพนั ธ์ คัมภีร์โลกเนยยปกรณ์ เป๐นบทประพันธ์ที่ผสมท้ังร้อยแก้ว และร้อยกรอง เฉพาะอย่างย่ิง ร้อยกรอง มีทั้งหมด ๕๙๖ บท แต่งเป๐นฉันท์ประเภทต่างๆ รวม ๑๔ ชนิด๒๙๖ มีทั้งฉันท์ทป่ี รากฎในคัมภีร์วุตโตทัยปกรณ์ และฉนั โทมัชรีฝุายบาลี แสดงให้เห็น ถงึ ความเปน๐ ผู้แตกฉานในภาษาบาลี โดยเฉพาะบางบท มีการเล่นคําอันแสดงถึงภูมิของ ผู้ประพันธ์ ตวั อย่างการเล่นคา วาเจน อปฺปลาโภ วา วาเจน ธนวา สยิ า วาเจน ภยํ นาเสติ วาเจน ภรยิ ํ ภเช วาเจน ภยํ มคโฺ ค เต วาเจน อทธฺ ํ ฉินเฺ ทยยฺ ๒๙๖ พระมหาวิชาญ กนฺตสาโร [มาบ้านไร่], โลกเนยยปกรณ์: การตรวจชาระและศึกษา, หนา้ ๖๖.

๓๘๖ วาเจน อตตฺ านํ หนตฺ ิ วาเจน ลภิโต ลาโภ วาเจน วฑฺฒเต ปตุ ตฺ ํ วาเจน วฑฺฒเต ภรยิ ํ วาเจน จ สมํ โทสํ วาเจน จคคฺ โสตฺถิโย วาเจน สุขมคโฺ ค เต วาเจน ทุคคฺ ตึ คโต วาเจน สุคตึ คโต วาเจน พลํ ชาเปติ วาเจน นพิ ฺพตฺตึ คโต วาเจน วิสุทธฺ ึ คโต ตสฺมา ปณฑฺ โิ ต โปโส สํญฺ มํ วจนํ ธุวํฯ ฉันทลักษณ์ที่ผู้ประพันธ์ในในคัมภีร์โลกเนยยปกรณ์ ๑๔ ประเภท ประกอบดว้ ย ๑. ปฐั ยาวัตคาถา พบจาํ นวน ๒๔๕ คาถา เชน่ สรเณสุ นมนฺตสฺส สพฺพตถฺ ภยุปททฺ เว อานภุ าเวน โสเสตฺวา วฑฺฒนตฺ ุ สพฺพมงคฺ ลาฯ ๒. วปิ ลุ าฉนั ท์ พบจํานวน ๑๓๗ คาถา เช่น โก นุ มลามลตรํ กึ มลํ มลตรํ ภเว เกน สพฺพตถฺ น ปสฺเส ตํ เม อกขฺ าหิ ปจุ ฺฉิโตฯ ๓. อนิ ทรวิเชยี รคาถา พบจํานวน ๙ คาถา เช่น จณฺฑาลปตุ ฺโต มม สมปฺ ทาสิ ธมฺเมน มนตฺ ปกตํิ ฺจ สสํ ิ มา จสฺสุ เม ปุจฺฉิโต นามโคตรตฺ ํ คุยฺหิตฺถ มา ตํ วชิ เหยฺย มนโฺ ตฯ ๔. อปุ ชาติฉนั ท์ พบจํานวน ๓๖ คาถา เช่น [๑] ทสิ า หิ เม ธมฺมกถํ สุณนตฺ ุ อุ. ทิสา หิ เม ยชุ ฺชนฺตุ พทุ ธฺ สาสเน อุ. ทิสา หิ เม เต มนชุ า ภชนตฺ ุ อุ. เย ธมมฺ า เม วา อปุ ยนฺติ อิ. [๒] อปายปตโฺ ตปิ มนสุ ฺสภโู ต อุ. อปายยโุ ก พฺยาธิกุลาวาโส อิ. ทุปปฺ ํฺญรโู ป วกิ โล วโิ ยโค อิ. ปิเยหิ โย โส ปรมาณฆาโต อุ. ๕. วังสฏั ฐฉันท์ พบจํานวน ๔ คาถา เชน่ สุโขทเย กจิ ฺจกลรี วตตฺ เิ ก

๓๘๗ อกจิ จฺ กิจเฺ จ วทตปํ ิ ภูตปา, นสิ มฺม ราชา สลิ ธมมฺ โต สทา สรุ งคฺ เส อนิ ฺทุ ว ภาสโุ ร สุโกฯ ๖. อินทรวงศ์ฉันท์ พบจํานวน ๑ คาถา คือ ทูราติทโู ร หิตโก สทา สมา ทรู ตฺถทสฺสี ทุรตกิ ฺกโม มนุ ิ, ทูเร ฐติ านํ สทตฺถนายโก ทูรํฺจ นิพพฺ านธรุ ํ คตนตฺ ํ นเมฯ ๗. ทุตวิลัมพติ ฉันท์ พบจาํ นวน ๑ คาถา คือ ผรสุ นาปิ ภุสํ ปรติ จฉฺ โิ ต สุรภเิ รว หิ จนฺทนปาทโป, ผรสุ วากยฺ ปโตปิ จ ขตตฺ ิโย ปิยมุทาหรตี สวนามตํ ฯ ๘. ภุชงั คัปปยาตฉันท์ พบจํานวน ๗ คาถา เชน่ ปทานาธมิ ตตฺ า ทลทิ ทฺ า สมิทธฺ า อนาทาธมิ ตฺตา สมิททฺ า สมิทธฺ า, อทานาธิมตฺตา ทลิทฺทา สมิทฺธา ปทานาธมิ ตตฺ า สมิทฺทา สมิทธฺ าฯ ๙. ปหสั สสินีฉนั ท์ พบจํานวน ๑ คาถา คือ สาธตุ ตฺ ํ ธมกิ สมาคมา ขลานํ สาธูนํ น ขลสมาคมา ขลาน,ํ อาโมทํ กุสมุ ภวํ ธเรติ ภมู ิ ทุคคฺ นฺธํ น จ กุสมุ านิ ธารยนฺตฯิ ๑๐.วสนั ตดลิ กคาถา พบจาํ นวน ๗ คาถาคร่ึง เชน่ เต สาธโว ภวนมณฑลโมฬติ า เย สาธตุ ํ นริ ปุ การสิ ุ ทสสฺ ยนตฺ ,ิ อตถฺ ปปฺ โยชนวสีกตขินนฺ เทโห ปพุ ฺโพปการนิ ิ ขโลปิ หิ สาธกุ ปฺโปฯ ๑๑.มาลินีฉนั ท์ พบจํานวน ๑ คาถา คอื สรณมธคิ ตานํ อคคฺ มคฺคปปฺ ทาปิ สรณมรุวจีนํ พฺรหฺมกายนมคโฺ ค,

๓๘๘ สรครธุ ภชุ คานํ สคฺคมคฺคปฺปทาตา สมุปคตสิวํ ตํ ธมมฺ มคฺคํ นมามิฯ ๑๒.สทั ทูลวกิ กฬี ิตฉันท์ พบจาํ นวน ๒ คาถา เชน่ ปํญฺ าทปี คณุ สาคเรหิ สุคโต ปํฺญาย โลกุตตฺ โร ปํฺญาทีปตโมนุโท ภวภเว ปํญฺ าย ปารงฺคโต, ปํญฺ ายารยิ สพพฺ ธมฺมนปิ โุ น ปํญฺ าย อคคฺ ํ คโต ปํญฺ าวนฺต นมามิ ตํ ชนิ วรํ ปํฺญาย มคคฺ ํ คตฯํ ๑๓.สทั ธราฉนั ท์ พบจาํ นวน ๒ คาถา เชน่ อฏิ ฐตโฺ ถ มนุ ีโน อิสคิ ุณวโร อิจฺฉิตสฺสปฺปทายิ อจิ ฺฉนโฺ ต มคฺคธมฺเม อริยผลทโท อิทฺธมิ นเฺ ตหิ อคโฺ ค, อิจฉฺ าโลภาทิมตุ ฺโต อสิ ิ ตสติ มโท อสิ ฺสโร สพพฺ โลเก อินทฺ ตฺโถ อคคฺ ธมฺเมหิ วรสวิ ปรุ ํ อิทธฺ มิ นตฺ ํ นมามิฯ ๑๔.สมัญญฉันท์ หมายถึงฉันท์ที่แต่งโดยไม่คํานึงถึงกฏเกณฑ์ใด ๆ พบ จํานวน ๑๔๒ คาถา ในข้อนี้ งดไมแ่ สดงตัวอยา่ ง โลกบญั ญตั ,ิ พระคัมภรี ์ ฉบบั บาลีเรยี กว่า โลกปํฺญตฺติปาฐ พระคมั ภรี ์โลกบญั ญัติ๒๙๗ ฉบับตพี มิ พ์โดยกรมศลิ ปากร ระบุเป๐นผลงานของ พระสัทธรรมโฆษเถระ รจนาที่ประเทศพม่า ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ ลักษณะคํา ประพนั ธ์เปน๐ แบบผสมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง [วมิ ิสสะ] ใช้ร้อยแก้วเดินเรื่องเป๐นหลัก มี บทร้อยกรองผูกเปน๐ ประพันธาคาถาแบบป๎ฐยาวัตรเสริมบา้ ง แต่ก็ไม่มากนัก ต้นฉบับเดิม แต่งเป๐นภาษาบาลี จารด้วยอักษรขอม ต่อมาได้มีการชําระ และแปลเป๐นภาษาไทย ผู้ แปลคอื นาวาเอก [พิเศษ] แย้ม ประพัฒน์ทอง ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๘ รวม ๒ ภาค คอื ภาคภาษาบาลี และแปลอย่ใู นเลม่ เดยี วกัน พระคัมภีร์โลกบัญญัติ เป๐นคัมภีร์เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของโลก ซึ่งจัดอยู่ใน หมวดโลกศาสตร์ ว่าด้วยจักรวาล เนอ้ื เร่ืองแบ่งออกเป๐น ๑๖ กัณฑ์ แต่ต้นฉบับบาลีเวลา ๒๙๗ พระสัทธรรมโฆษเถระ, โลกบัญญัติ, หอสมุดแห่งชาติ ตรวจ/ชําระ, [กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร จดั พิมพ์เผยแพร่ พ.ศ.๒๕๒๘], ๓๔๔ หน้า.

๓๘๙ นี้ ขาดกัณฑ์ที่ ๑๓ คงเหลืออยู่เพียง ๑๕ กัณฑ์ แต่ละกัณฑ์มีรายละเอียดพอสังเขป ดงั น้ี๒๙๘ กัณฑท์ ี่ ๑ จลกัณฑ์ ว่าดว้ ยแผน่ ดนิ ไหว เหตทุ ่ีทําให้แผน่ ดินไหว ขนาดของลมและแผน่ ดิน ลักษณะของนรก การแสดงรัศมแี ละเสยี งของพระพุทธเจา้ การเปรียบเทียบรศั มีและเสียงของพระพทุ ธเจ้ากับสาวก กณั ฑท์ ี่ ๒ ชัมพุกณั ฑ์ วา่ ด้วยชมพูทวีป พรรณนาไมห้ ว้า กณั ฑ์ที่ ๓ ฉชนปทกัณฑ์ วา่ ด้วยชนบท ๖ พรรณนาชมพูทวีปและชนบท ๖ กณั ฑท์ ่ี ๔ ยกั ษข์ กณฑฺ ว่าดว้ ยยกั ษ์ พรรณนาเร่ืองยกั ษ์ พรรณนาปญ๎ หาของยกั ษ์ พรรณนาพุทธพยากรณ์ป๎ญหายักษ์ กัณฑท์ ี่ ๕ รจุ าคริ ีกณั ฑ์ วา่ ดว้ ยชา้ ง พรรณนาภเู ขา ๗ เทอื ก พรรณนาชา้ งรจุ าคริ ี กัณฑท์ ี่ ๖ จตุทีปกัณฑ์ วา่ ดว้ ยทวปี ท้งั ๔ พรรณนาชมพทู วปี อมรโคยานทวีป ปุพพวเิ ทหทวีป พรรณนาอุตตรกุรุทวปี กัณฑ์ที่ ๗ นคกัณฑ์ วา่ ดว้ ยภูเขา พรรณนาแผน่ ดนิ และภูเขา กัณฑ์ที่ ๘ เทวโลกกัณฑ์ ว่าด้วยเทวโลก พรรณนาภูเขาสเิ นรแุ ละสุทสั สนนคร พรรณนาเวชยันปราสาทและเทวสภา ๒๙๘ แมช่ ีวิมตุ ตยิ า [สภุ าพรรณ ณ บางชา้ ง], จักกวาฬทีปนี: ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และ คณุ คา่ , หนา้ ๒๙๕.

๓๙๐ พรรณนาสระโบกขรณแี ละสวนนนั ทวนั พรรณนาสวนปารสุ กวัน, และตน้ ปารฉิ ัตตกะ [ตน้ ทองหลาง] พรรณนาชา้ งเอรวณั และภเู ขายุคนธร เรอ่ื งสงครามระหวา่ งเทวดาและอสรู กัณฑท์ ่ี ๙ สรุ ยิ คณกัณฑ์ วา่ ด้วยพระจันทรแ์ ละพระอาทติ ย์ จันทวิมานและสรุ ยิ วิมาน กัณฑท์ ี่ ๑๐ จัณฑกณั ฑ์ ว่าด้วยกลางวนั และกลางคนื พรรณนากลางวนั และกลางคืน วเิ คราะหป์ ก๎ ษ์-ฤด-ู อบายภมู ิ พรรณนาท่ตี ้ังของสตั ว์นรกและพรหมโลก พรรณนาผู้เปน๐ อธบิ ดใี นอบายภูมิ-ในพรหมโลก อายุของสัตว์-มนุษย์-เทวดาในทวีปตา่ งๆ ขนาดรา่ งกายของสตั ว์ในทวีปโลก พรรณนาการดาํ รงชีวิตของชาวชมพูทวปี กัณฑ์ท่ี ๑๑ อปุ ปัตตกิ ัณฑ์ วา่ ดว้ ยสัตวเ์ กิดในนรกและเทวโลก พรรณนาสาเหตทุ ่ีทาํ ใหส้ ตั ว์เกดิ ในอบายและเทวโลก กณั ฑ์ที่ ๑๒ อายุกัณฑ์ ว่าด้วยอายุของสัตว์ผู้เกิดในมนุสสโลก อบายภูมิ พรหมโลก เทียบอายุของมนษุ ย์กับอบายภมู ิ อายุของคนในทวปี ตา่ งๆ เทยี บอายขุ องมนษุ ย์กบั พรหม กับป์ตา่ งๆ ในพรหมโลก กณั ฑ์ที่ ๑๔ นริ ยกณั ฑ์ วา่ ด้วยนครกขมุ ใหญ่ ๘ ขุม พรรณนาลักษณะของนรก ๘ ขมุ พรรณนาลักษณะของอสุ สทนรก กณั ฑ์ท่ี ๑๕ เปตกณั ฑ์ ว่าด้วยเปรต พรรณนาประเภทของเปรต กัณฑท์ ่ี ๑๖ ติรจั ฉานกณั ฑ์ วา่ ด้วยสตั วเ์ ดรัจฉาน พรรณนาประเภทของสตั วเ์ ดรจั ฉาน อสรุ ชาตวิ ภิ าคกณั ฑท์ ่ี ๔ [หลงั ] ว่าดว้ ยกาเนดิ อสรู พรรณนากาํ เนิดอสรู

๓๙๑ มนสุ สวภิ าคกณั ฑ์ วา่ ด้วยปรากฏการณท์ ่เี กดิ ข้นึ ในมนษุ ยโลก พรรณนาความเปน๐ พระเจ้าจักรพรรดิ์ ความโกลาหล ๔ รตั นะปรากฏแก่พระเจา้ สุทัศนะ ลกั ษณะของนางนม เทววิภาคกณั ฑ์ วา่ ดว้ ยเทวดาในเทวโลก พรรณนาเร่ืองมหามเศวรและนางอมุ มา มหามเหศวรแขง่ ดีกบั พระพทุ ธเจ้า มหามเหศวรสร้างศาลาพระปฏิมาบชู าพระพทุ ธเจ้า มหามเหศวรออกบวช มารวภิ าค ว่าด้วยเรือ่ งมารตา่ งๆ พรรณนามารและธิดามาร มารเป๐นพุทธเวไนยในอนาคต ยนตการสรา้ งกรบุ รรจพุ ระบรมธาตุ คน้ หาพระบรมธาตุ ทําลายหุน่ ยนต์ ฉลองพระสถปู ลงทณั ฑพ์ ระอุปคุต พระเจ้าอโศกทรงทดลองกําลงั พระอปุ คุต พระอุปคตุ ทรมานพญามาร พญามารปรารถนาเปน๐ พระพุทธเจา้ และแสดงพระรปู พระพุทธเจา้ พระเจา้ อโศกทรงบูชาพระสถูปด้วยพระวรกาย ใชอ้ บุ ายกาํ จัดผรู้ ูห้ นุ่ ยนต์ จลุ ลสังวัฏฏกณั ฑ์ ๑๑ วา่ ดว้ ยความเสื่อมและความเจรญิ กัปป์ พรรณนาความเจริญและความเสอื่ มของอัตรกปั สังวฏั ฏกณั ฑท์ ่ี ๑๕ วา่ ดว้ ยความสลายของมนษุ ยโลกและเทวโลก เหตุทม่ี นษุ ยโลกและเทวโลกสลาย การเจรญิ ฌานทําใหเ้ กิดในสุคติโลกสวรรค์ และในพรหมโลก โลกแห้งแลง้ และสลายเพราะพระอาทิตย์ ๗ ดวง โลกกบั เจรญิ ขึ้นใหม่ เหตุที่สัตว์เหาะเหินเดินอากาศได้ เหตุท่ีสตั ว์มผี วิ พรรณงามและไม่งาม

๓๙๒ เพศหญงิ -เพศชาย ปรากฏเพราะรับประทานอาหารหยาบ สาเหตุท่ีบุรุษและสตรีรกั กัน วิธสี ะสมอาหารไว้กนิ หลายๆ มื้อ สาเหตทุ ท่ี าํ ให้เกิดการขโมยของกันและกนั ความหมายของคําวา่ ราชาและขตั ตยิ ะเปน๐ ต้น โลกกลับสลายอกี ทกุ ขการกณั ฑท์ ี่ ๑๖ วา่ ดว้ ยความเปลย่ี นแปลงของโลก ลักษณะของธาตุตา่ งๆ เหตุป๎จจยั ท่ีทําใหฝ้ นตกและไม่ตก ตวั อยา่ งเนือ้ หาในพระคัมภรี โ์ ลกบญั ญัติ กณั ฑ์ที่ ๑ จลกัณฑ์ พระผทู้ รงพระภาคเจ้าได้ตรัสข้อความนี้ไว้ ตามท่ีพระธรรมสังคาหกาจารย์ ไดร้ วบรวมไว้เป๐นใจความวา่ ข้าพเจ้าสดับมาแล้วอย่างน้ี สมัยหน่ึงพระผู้ทรงพระภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวันอารามของอนาถปิณฑิกเศรษฐี ในพระนครสาวัตถี ณ ท่ีน้ัน พระผู้ทรงพระภาคเจา้ ตรสั เรียกภกิ ษทุ ้งั หลายว่า ดกู อ่ นภิกษทุ ั้งหลาย พวกภิกษุพากันรับ พระดํารัสว่า พระเจ้าข้า พระผู้ทรงพระภาคเจ้าได้ตรัสพระราชดํารัสน้ีว่า ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย ความปรากฏแหง่ การไวของแผน่ ดินขนาดใหญ่ มีเหตุป๎จจัย ๒ อย่าง เหตุป๎จจัย ๒ อยา่ งเปน๐ ไฉน เหตปุ จ๎ จยั ๒ อยา่ ง คือ แผ่นดินนี้ต้ังอยู่บนนํ้านํ้า น้ําตั้งอยู่บนลม ลมก็ตั้งอยู่บนอากาศ ภิกษุ ทั้งหลาย สมัยน้ัน มีอยู่ท่ีมหาวาตะกระพือพัด เม่ือมหาวาตะกระพือพัดอยู่ เม่ือน้ํา หว่ันไหว แผน่ ดินย่อมไหว นีเ้ ปน๐ เหตปุ จ๎ จยั ที่หนึง่ แหง่ ความปรากฏของแผ่นดินไหวขนาด ใหญ่ ภิกษุทั้งหลาย ยังมีอีก เทวดาผู้มีฤทธ์ิมาก มีอานุภาพมาก แม้เทวดา เหล่าน้ัน เมื่อจํานงแผ่นดินก็ไหว ภิกษุผู้มีฤทธ์ิมาก มีอานุภาพมาก แม้ภิกษุนั้นตั้งจิต อธิษฐาน สําคัญว่าแผ่นดินเป๐นช้ินเล็ก มีความสําคัญว่าแผ่นนํ้าแผ่ไปกว้างอยู่แล้ว ภิกษุ นั้นจํานงอยู่ ย่อมให้แผ่นดินไหวได้ น้ีเป๐นเหตุป๎จจัยที่สองแห่งความปรากฏของ แผน่ ดินไหวขนาดใหญ่

๓๙๓ ภิกษุทั้งหลาย เหตุป๎จจัยแห่งความปรากฏแห่งแผ่นดินขนาดใหญ่ ๒ ประการ นแ้ี ล...๒๙๙ กัณฑ์ที่ ๒ ชมพูกณั ฑ์ ทวปี ปรากฏนามวา่ ชมพทู วีป ดว้ ยต้นชมพู [หวา้ ] ใด ต้นชมพูน้ัน เกิดดีแล้ว ในไหลข่ องชมพูทวปี ทางเหนือ สูงประมาณ ๑,๐๐๐ โยชน์ ในท่ามกลางของลําต้น อยู่ใน ท่ามกลางกลุ่มหมอกอันมีความเย็น มีสัณฐานงามแผ่ไปรอบเป๐นอันดี มีใบมาก มีใบชิด ไมม่ ีช่องหา่ ง เปรยี บเหมอื นพวกดอกไมท้ ่เี ปน๐ เฟื๒อง หรือระย้า ท่ีมาลาการผู้ทักษะกระทํา ดีแล้ว หรือฉัตรที่กางออกโดยรอบ ฉันใด ต้นชมพูก็ฉันนั้นเหมือนกัน เกิดมีสัณฐานงาม แผ่กิ่งกา้ นไปโดยรอบ ใบมมี าก ใบรม่ ชดิ ช่องห่าง เปรียบเหมือนพวงอุบะ หรือพวงระย้า แก้ว ทน่ี ายมาลาการผเู้ ชีย่ วชาญร้อยดีแล้ว เหมือนร่มที่กางไว้ดีแล้ว ฉันใด ต้นหว้าก็เป๐น ฉันน้ัน เกิดดีแล้ว มีสัณฐานดี แผ่คลุมไปโดยรอบ มีใบมาก มีใบชิด ไม่มีช่องว่าง ลําต้น ของตน้ หวา้ นนั้ ปราศจากปุมปม ๕๐ โยชน์ โดยสว่ นสงู ๑๐๐ โยชน์ ค่าคบประมาณ ๕๐ [จากโคนตน้ ] ลาํ ต้นของต้นหว้านั้น วัดโดยเส้นตรง ๕ โยชน์ วัดโดยรอบ ๑๕ โยชน์ ก่ิง แต่ละกง่ิ ของต้นหว้านน้ั เหยียดยน่ื ออกไปกิ่งละ ๕๐ โยชน์ ค่าคบของต้นหว้านั้น วัดโดย ขวาง [วิกฺขมฺเภน] ๕๐๐ โยชน์ โดยรอบ [ปริกฺเขเปน] ๓๐๐ โยชน์ ผลท้ังหลายของต้น หว้าน้ันสมบูรณ์ด้วยรสน้ําผึ้งรวงไม่มีโทษ [หวาน] ฉันใด ผลของต้นหว้าน้ัน ขนาดเท่า ตะโพน กม็ ีรสหวานฉนั น้นั เหมือนกนั เมล็ดของผลหวา้ สุกตามปกติ แต่ละเมล็ดเท่าบาตร ใบหนึง่ ณ ตน้ หว้าน้ัน ฝูงนกใหญ่ขนาดเรือนยอด ฝูงนกใหญ่ขนาดพญาช้างตัวประเสริฐ ซง่ึ จะเสอ่ื มถอยกําลงั เม่อื อายุ ๖๐ ปี ฝงู นกเหลา่ นน้ั พากนั บริโภคผลหวา้ เหล่านน้ั ผลของ กง่ิ ตะวันออก ผลของกิ่งตะวันตก ย่อมหล่นลงไปในชมพูทวีป ผลของก่ิงทางใต้ย่อมหล่น ลงในแม่น้ําสีทา ฝูงปลากินผลเหล่าน้ัน ถามวา่ คนเหล่าไรทราบเรอื่ งน้ี ? เฉลยว่า เร่อื งเคยมมี าแล้ว ทีเ่ มืองราชคฤห์ มีภิกษุ ๒ รูปเป๐นสหายกัน มีฤทธ์ิมาก มีอานุภาพมาก ได้สดับพระดํารัสของพระผู้ทรง พระภาควา่ ไม้หว้าประจําชมพูทวีป ท่านทั้งสองได้มีความคิดว่า พวกเราจะไปดูต้นหว้า กัน ท่านทั้งสองได้ไปถึงต้นหว้านั้น เห็นผลหว้าสุกหล่นลงมาแตก ท่านทั้งสองได้มี ความคิดวา่ เมลด็ ในของผลหวา้ สุกน้ี จะใหญ่เพยี งไรหนอ ภิกษุรูปหน่ึง จึงสอดแขนเข้าไปโอบไปตามส่วนกลมของผล จึงถึงไหล่ ถูกตอ้ งเมล็ดในดว้ ยนิ้วส่วนปลาย ภิกษุนน้ั ดงึ มอื นัน้ คนื กลบั แขนของท่านได้ถกู ย้อมเป๐นสี ๒๙๙ พระสทั ธรรมโฆษเถระ, โลกบญั ญตั ิ, หน้า ๑.

๓๙๔ แดงแล้ว เหมือนกับถูกย้อมด้วยจันทนืแดง กล่ินอันชื่นชูใจของผลหว้านั้น ได้ฟูุงตลบไป ทา่ นได้สดู กล่นิ นน้ั .... ๓๐๐ กณั ฑท์ ่ี ๙ สรยิ คณนกัณฑ์ เหนือขึ้นไปจากนี้ ๔๐,๐๐๐ โยชน์ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ย่อมโคจรไป รอบๆ อย่างสม่ําเสมอ ทางภูเขายุคนธรท่ามกลางภูเขาหลวงสุเมรุ วิมานเหล่าน้ี ๔ หลัง ไม่มีเสียงกลองกึกก้อง จันทรวิมานหนา ๕๐ โยชน์ วัดตรง ๕๐ โยชน์ วัดรอบ ๑๕๐ โยชน์ วิมานนสี้ าํ เร็จด้วยไพทูรย์ กระทําอยา่ งวิจิตรด้วยเงิน มีน้ํามาก พ้ืนเบ้ืองตํ่าของจัน ทรวิมาน มีอาโปธาตุหนาแน่น ทําให้วิมานนั้นสว่าง พ้ืนเบ้ืองบนของจันทรวิมานนั้น ท้งั หมด สาํ เรจ็ ด้วยแก้วไพฑูรยเ์ กลี้ยงใส เมือ่ เหยียบลงไปก็ยุบตามลงไป เม่ือยกเท้าข้ึน ก็ ฟขู ้ึนตามเดมิ เหมือนปุยนุ่นสําลี แวดล้อมด้วยกําแพงทอง มีประตู ๕๐ ช่อง ในประเทศ นัน้ มีสระโบกขรณี มเี ทวดาคลาคลํา่ มีเทวดามาก วิมานนี้ของชาวโลก เรียกใช้ชื่อว่า จัน ทะ เทวบุตรใดท่ีสิงสถิตในวิมานนี้ แม้เทพบุตรน้ัน ชาวโลกก็เรียกว่า พระจันทร์ วิมานน้ี สอ่ งแสงสว่างอยู่โคจรไปทุกเมอื่ เพราะกรรมของสัตว์ผู้จะดํารงอยตู่ ลอดกัปเป๐นอธิบดี แม้ หาวา่ เทพบตุ รนัน้ อยู่ในวมิ านนั้น ดวงจันทรก์ โ็ คจรไปไดใ้ นทางน้ัน แม้หากว่าเทพบุตรน้ัน ไม่มีในวมิ านน้ัน ดวงจันทร์โคจรไปในทใี่ ด ยอ่ มไมข่ นึ้ ในทีน่ ั้น ดงั น้ีแล สุริยวิมาน หนา ๕๑ โยชน์ วัดตรง ๕๑ โยชน์ วัดโดยรอบ ๑๕๓ โยชน์ วิมานนส้ี าํ เรจ็ ดว้ ยแกว้ ผลกึ กระทาํ ใหว้ ิจติ รดว้ ยทอง มีไฟมาก พนื้ เบอ้ื งตาํ่ ของวิมานน้ัน มี เตโชธาตุหนาแน่น ทําให้วิมานน้ันส่องสว่าง พื้นเบ้ืองบนสําเร็จด้วยแก้วผลึกทั้งนั้น มี เทวดาคลาคลํ่า มีเทวดามาก วิมานนี้ชาวโลกเรียกว่า สุริย เทพบุตรแม้ใดท่ีสิงสถิตใน วิมานนี้ แมเ้ ทพบตุ รน้ัน ชาวโลกกเ็ รียกวา่ พระอาทิตย์ รวมทั้งสองอย่างน้ันเรียกว่า ดวง อาทติ ย์ วิมานน้สี อ่ งสวา่ งอยู่ โคจรไปทุกเมื่อ เพราะกรรมของสัตว์ผู้จะดํารงอยู่ตลอดกัป เปน๐ อธิบดี แมห้ ากว่า เทพบุตรน้ันมีอยู่ในวิมานนั้น ดวงอาทิตย์โคจรไปในท่ีใด ก็ย่อมไม่ ข้นึ ในทน่ี ้นั ดงั นีแ้ ล๓๐๑ กณั ฑ์ท่ี ๑๐ จัณฑกณั ฑ์ ถามว่า เพราะเหตุไรจึงเป๐นคืน เพราะเป๐นเหตุจึงเป๐นวัน ตอบว่า เป๐นคืน เพราะเหตแุ ห่งดวงอาทิตย์ เป๐นวันเพราะเหตุแห่งดวงอาทิตย์ [ดวงอาทิตย์ทําให้เป๐นคืน ๓๐๐ พระสัทธรรมโฆษเถระ, โลกบัญญตั ิ, หน้า ๗. ๓๐๑ พระสทั ธรรมโฆษเถระ, โลกบญั ญตั ิ, หนา้ ๔๒.

๓๙๕ เป๐นวัน] ปกติของตมธาตุคือความมืด แสงอาทิตย์ไม่ปรากฏในกาลใด กาลนั้นก็เป๐นคืน แสงอาทติ ยป์ รากกในกาลใด กาลนนั้ ก็เปน๐ วัน เพราะเหตนุ นั้ จึงเปน๐ คนื เป๐นวัน ถามวา่ เพราะเหตุใด จึงเป๐นกาฬปก๎ ษ์ เพราะเหตุไร จึงเป๐นชุณหป๎กษ์ ตอบ ว่าเป๐นกาฬป๎กษเ์ พราะดวงอาทติ ย์ เป๐นชณุ หปก๎ ษ์ เพราะเหตุแห่งดวงอาทิตย์ กาลใดดวง อาทิตย์โคจรเข้าไปใกล้ดวงจันทร์ก็ดี เดินห่างดวงจันทร์ก็ดี วันหน่ึง ๆ ๔๘,๐๐๐ โยชน์ เม่อื ดวงอาทิตย์โคจรใกล้ดวงจันทร์น้นั ยอ่ มบดบังดวงจันทรไ์ ป ๓ โยชน์ และส่วน ๓ ของ โยชน์ ทกุ ๆ วันดว้ ยอบุ ายน้ี พอครบปก๎ ษก์ ็ถูกบดบงั หมดดวง ดวงอาทิตย์นั้นย่อมเดินจาก ดวงจันทร์ไปแต่ละวันประมาณน้ัน คือ ๔๘,๐๐๐ โยชน์ เม่ือดวงอาทิตย์เดินจากดวง จนั ทรน์ ั้น ทําให้ดวงจันทร์ผุดผ่อง ทุกๆ วัน วันละ ๓ โยชน์ และส่วน ๓ ของโยชน์ ด้วย อบุ ายนี้ พอครบป๎กษก์ ผ็ ุดผ่องทั้งหมด เมอ่ื ใดดวงอาทิตยโ์ คจรใกล้ด้านหลังของดวงจันทร์ เม่อื น้นั ก็เป๐นกาฬป๎กษ์ เมื่อใดดวงอาทิตย์โคจรห่างไปทางเบื้องหน้าของดวงจันทร์ ย่อม ทาํ ให้ดวงจนั ทรผ์ ดุ ผอ่ ง เมื่อนั้นกเ็ ปน๐ ชุณหปก๎ ษ์ กาฬป๎กษ์จงึ มีเพราะเหตุนี้ ชุณหป๎กษ์จึงมี เพราะเหตนุ ี้๓๐๒ กัณฑท์ ี่ ๑๒ อายุกัณฑ์ ปีท่นี บั กันในมนษุ ย์ ๑,๐๐๐ ปี เปน๐ ๑ วัน ๑ คืน ในอเวจีมหานรก, ๓๐ วัน และคืนนั้น เป๐น ๑ เดือน, ๑๒ เดือน เป๐น ๑ ปี, [เท่ากับ ๓๖๐,๐๐๐ ปีมนุษย์] สัตว์ ท้ังหลายย่อมหมกไหม้ในนรกหลายพันปี หลายแสนปี ด้วยการนับเป๐นปีน้ัน บางพวก ตง้ั อยตู่ ลอดกปั ก็มี, ๕๐๐ ปี ที่นับกันในมนุษย์ เป๐น ๑ วัน ๑ คืนในนรกที่จัดเป๐นยมโลก, ๓๐ วัน และคืน เป๐น ๑ เดือน ๑๒ เดือน เป๐น ๑ ปี [เท่ากับ ๑๘๐,๐๐๐ ปีมนุษย์] สัตว์ ทั้งหลายย่อมหมกไหมใ้ นนรกหลายพนั ปี หลายแสนป,ี ฝาุ ยดริ จั ฉาน วันเดียว ตายเกิดต้ัง ๖ หนก็มี, ทกี่ ําหนดกนั ในมนษุ ย์เปน๐ ๑ วัน ๑ คืน, ของแดนเปรต ๓๐ วันและคืน เป๐น ๑ เดือน, ๑๒ เดอื น เปน๐ ๑ ป,ี ประมาณอายุของพวกเปรต ๕๐,๐๐๐ ปี ด้วยการนับน้นั นับ อย่างมนษุ ย์ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ปี คนชาวชมพูทวีปมีอายุ ๑๐ ปีบ้าง มีอายุถึงอสงไขบ้าง กําหนดสูงตํ่าอยู่ใน ระหวา่ งนี,้ คนชาวทวีปอมรโคยาน มอี ายุ ๒๕๐ ป,ี คนชาวทวีปบุพพวิเทหะ มีอายุ ๕๐๐ ป,ี คนชาวอุตตรกุรทุ วปี มีอายุ ๑,๐๐๐ ปี ๕๐ ปี ของมนษุ ย์ เป๐น ๑ วัน ๑ คืน ของเทพช้ันจาตุมหาราช, ๓๐ วันและ คนื เปน๐ ๑ เดือน, ๑๒ เดือน เป๐น ๑ ปี, ๕๐๐ ปีทิพย์เป๐นกําหนดอายุของเทพเหล่านั้น ๓๐๒ พระสทั ธรรมโฆษเถระ, โลกบัญญัติ, หนา้ ๔๗.

๓๙๖ เท่ากับ ๙,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนุษย์, ๑๐๐ ปี ของมนุษย์ เป๐น ๑ วัน ๑ คืน ของเทวดาชั้น ดาวดึงส์ ๓๐ วนั และคนื เป๐น ๑ เดือน ๑๒ เดือน เป๐น ๑ ปี, ๑,๐๐๐ ปีทิพย์เป๐นกําหนด อายุของเทวดาชน้ั ดาวดงึ ส์ เท่ากบั ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นุษย์๓๐๓ โลกสณั ฐานโชตรตนคัณฐี,คัมภรี ์ คัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี๓๐๔ เป๐นคัมภีร์โลกศาสตร์ภาษาบาลีที่แต่ง เป๐นคัมภรี ์ประเภทคณั ฐเี พียงเร่ืองเดียวในบรรดาคมั ภรี โ์ ลกศาสตร์ภาษบาลีที่มีอยู่ท้ังหมด ไม่ปรากฏวา่ ใครแต่ง และแต่งขน้ึ ในสมัยใด แตม่ ีข้อสนั นิษฐานว่าอยู่ระหว่าง พ.ศ.๒๐๖๓- ๒๒๙๐ โดยขอ้ สันนิษฐานดังกล่าวมาจากหลักฐานในคัมภีร์เองบางส่วนอ้างอิงจากคัมภีร์ จักกวาฬทีปนี และต้นฉบับที่เก่าแก่ท่ีสุดที่พบมีระบุว่า พระมหาปุณณจันทเถระ เป๐นผู้ จารเม่ือ พ.ศ.๒๒๙๐ เป๐นท่ีน่าสังเกตว่า คัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐีไม่เป๐นที่รู้จักกันใน ประเทศลงั กา และพมา่ ตน้ ฉบับมีอยู่เฉพาะในประเทศไทย มีการสํารวจพบจํานวน ๒๑ ฉบับ บทนมัสการพระรตั นตรัยเปน๐ สํานวนร้อยแก้ว ซ่ึงโดยปกติท่ัวไป คัมภีร์ท่ีแต่งข้ึนใน สมยั ล้านนา ล้วนแต่งบทนมัสการพระรัตนตรัยเป๐นร้องกรอง จึงถือเป๐นรูปแบบการแต่ง บทนมสั การรูปแบบใหม่ท่ีพบ ทําให้สันนิษฐานต่อไปอีกว่า คัมภีร์นี้ น่าจะไม่ใช่ผลงานท่ี แต่งในลา้ นนา แตเ่ ป๐นไปได้ท่ีแต่งในสมัยอยุธยาช่วงรัชกาลใดรัชกาลหน่ึง เพราะสํานวน ภาษาน้ันเป๐นรองคัมภรี ฝ์ ุายลา้ นนาไทยท่ีแต่งยุคเดียวกันมาก เน้อื หาโดยยอ่ คัมภีร์โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐีแบ่งเนื้อหาออกเป๐น ๕ ปริจเฉท โดยเอา มาตกิ าท้ัง ๑๔ มาติกา กล่าวคือ อสงฺเขยฺยกถา, กปฺปกถา, กปฺปวินาสกถา, สํวฏฺฏวิวฏฺฏ กถา, สิเนรุกถา, จตุมหาทปกถา, หิมวนฺตกถา, จนฺทสุริยคติ, สตฺตกถา, นิรยกถา, เปต วสิ ยกถา, ตริ จฉฺ านกถา, และปกิณฺณกถา มาขยาย ดังนี้๓๐๕ ๓๐๓ พระสทั ธรรมโฆษเถระ, โลกบญั ญตั ิ, หนา้ ๖๖. ๓๐๔ ทองคํา สุธรรม, การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคัณฐี, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก, [บัณฑิตวิทยาลัย: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๓๓], ๓๘๙ หนา้ . ๓๐๕ ทองคํา สุธรรม, การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคณั ฐี, หน้า ๔๔-๔๕.

๓๙๗ ปริจเฉทที่ ๑ ประกอบด้วย ๔ มาติกา คือ อสังเขยยกถา กัปปกถา กัปปวิ นาศ และสังวัฏฏววิ ฏั ฏกถา ขยายความมาตกิ าทั้ง ๔ ใหเ้ ข้าใจงา่ ยขึน้ ปริจเฉทท่ี ๒ ประกอบด้วย ๒ มาติกา คือ สตั ตสูริยจักกวาฬกถา และสิเนรุ กถา ขยายมาติกาว่า ดวงอาทติ ย์ ๗ ดวง การปรากฏตัวและการเส่ือมสลายของจักรวาล พรรณนาถึงภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์ ภูเขาสัตบริภัณฑ์อย่างละเอียด ตลอดจน กล่าวถงึ ทวีป ทะเลและมหาสมุทรทั้ง ๔ คือ นีลสาคร ขีรสาคร ผลิกสาคร และปีตสาคร พร้อมท้ังกล่าวถงึ ปลาทห่ี นุนโลกไว้ คือปลาอานนท์ ปลาติมิยะ ปลาอัชฌโรหะ และปลา มหิตมิ วิ ่าแตล่ ะตวั ใหญน่ ับได้พนั โยชน์ อาศัยอยูใ่ นมหาสมทุ ร ปริจเฉทท่ี ๓ ประกอบด้วย ๓ มาติกา คือ จตุมหาทีปกถาและหิมวันตกถา ผูแ้ ตง่ ขยายมาตกิ า ๒ อย่างละเอียด คือ กล่าวถึงแม่นํ้าท่ีมีทวีปใหญ่ทั้ง ๔ และทวีปน้อย ๒,๐๐๐ เป๐นบริวาร สณั ฐานของทวีปทัง้ ๔ คอื อตุ ตรกุรทุ วปี ปุพพวิเทหทวปี อมรโคยาน ทวีป และชมพูทวีป พร้อมท้ังพรรณนาลักษณะ รูปร่าง หน้าตาของมนุษย์ท่ีอาศัยอยู่ใน แต่ละทวีป กล่าวถึงภูเขาหิมพานต์ สระใหญ่ ๗ สระ ภูเขาสัตตบริภัณฑ์ที่ต้องล้อมรอบ สระฉัททันต์ สัตว์เดรัจฉานที่อาศัยอยู่ในปุาหิมพานต์ มีราชสีห์ ช้าง ม้า และนกการเวก เปน๐ ต้น ปรจิ เฉทที่ ๔ ประกอบด้วย ๑ มาตกิ า คือ จันทสุริยคติ ว่าด้ยทางโคจรของ พระจันทร์และพระอาทิตย์ในทวีปท้ัง ๔ ทําให้เวลาในทวีปท้ัง ๔ ไม่ตรงกัน เร่ืองจักราศี ๑๒ ราศีท่ีพระจันทร์และพระอาทิตย์โคจรไปทําให้เกิดวัน เดือน ปี และฤดูต่างๆ กันไป เรื่องดาวนักษัตร ๒๗ กลุ่มท่ีโคจรไปในจักรราศรีต่างๆ และเน้นหนักไปทางด้าน โหราศาสตร์ ปรจิ เฉทที่ ๕ ประกอบด้วย ๕ มาติกา คือ สัคคกถา นิรยกถา เปตวิสยกถา ติรัจฉานกถา และปกิณณกกถา โดยกล่าวถึงภพดาวดึงส์และภพอสูร สุธรรมาเทวสภา นรกและสัตว์นรกในขุมต่างๆ เปรตวิสัย สัตว์เดรัจฉานประเภทต่างๆ เรื่องเบ็ดเตล็ดและ จบลงด้วยจุดประสงค์ของผู้แต่งทีป่ รารถนามนุษย์สมบัติและนิพพานสมบัติ และกล่าวถึง วธิ กี ารแต่ง โดยผู้แต่งอาศัยคาํ วนิ จิ ฉัยของโบราณจารย์มาเป๐นขอ้ มูลในการแต่ง ตวั อย่างเนือ้ หาในคมั ภรี ์ ปริจเฉทที่ ๑ กปปฺ วฏุ ฐฺ านปริจเฺ ฉโท ปฐโม

๓๙๘ [๑] โย ติโลกนฺตปชฺโชโต นาโถ โลกปทีโปฯ ธมฺโม โลกวฑฺฒโนฯ อริยสงฺ ฆา อฏฐฺ ; ตญฺจ โลกปกาสก,ํ ธมมฺ ญจฺ โลกนิยาต,ํ สงฆฺ ํ โลกปราคํฃ วนฺ ทิตวา สิรสา เม โลกโชติกํ ภาสิสสฺ ฯํ [มาตกิ า] [๒] ตตรฺ ายํ มาตกิ าฯ อสงฺเขยฺยกถา กปปฺ กถา กปฺปวินาโส สํวฏฺฏวิวฏฺฏกถา สตฺตสรุ ิยจกฺก วาฬกถา สิเนรุกถา จตุมหาทีปกถา หิมฺวนฺตกถา จนฺทิมสุริยคติ สตฺตกถา นิรยกถา เปตวิสยญจ ปกิณฺณกกถาตฯิ [๓] ตตฺถ อสงฺเขยฺยาติ น สงฺเขยฺโย น คเณตพฺโพติ อสงฺเขยฺโย ฯ เอกาทิวเสน อเนกวิธา ยาว ปมาณตโต ตาว อสงฺเขยฺโย นามฯ ตโต ปรํ ลกฺขณํ วา ปมาณํ วา อกตฺวา อสงฺเขยฺโย นามฯ สา ปเนสา สุญฺญาสุญฺ ญวเสน ทวุ ิธาฯ อตฺตโน นามวเสน อเนกวธิ าฯ ตตฺถ กตมา สญุ ฺญาสุญฺญวเสน ทวุ ิธาฯ ยทา อมฺหากํ ภควา กปฺปสตสหสฺสาธิกานิ วีสติอสงฺเขยฺยานิ ปารมิโย ปเู รตวฺ า พทุ ธฺ ตตฺ ํ ปาปณุ ิฯ เอตฺถนฺตเร สุญฺญาสุญฺญวเสน เวทิตพฺพาฯ วุตฺตํ หิ; สุญฺญาสุญฺญา ทุวิธา อสงฺเขยฺยา ปาสิตา อสุญฺญา จ, อสงฺเขยฺยา พุทฺธุปฺปา เทหิ มณฑฺ ตฺ า พุทฺธปจเฺ จกพุทฺธา จ สาวกา จกกฺ วตฺติโน อสุญฺญสฺมึ อสงฺเขยฺเย อุปฺปชฺชนฺติ มหิทฺธิกาติฯ เอเกกา อสงฺเขยฺยา เอวเมว เวทิตพฺพาฯ กถํฯ ทีฆํ ภนเฺ ต กปฺปนฺติ อานทฺ ตฺเถเรน ปุฏโฺ ฐฯ อติทโี ฆ อานนฺท กปฺโปติฯ กถํ อมฺเหหิ ชานิตพพฺ ํ ภนฺเต อปุ มํ กโรหีติฯ เตนหิ อานนโฺ ท สโุ ณหตี ิ วตวฺ า อิมํ คาถมาห เอก ทส สตพฺโพ ว สหสสฺ ํ ทสสหสฺสกํ ลกฺขญจฺ ทสลกขฺ ญฺจ โกฏิโย ทสโกฏิโย ปโกฏิ ทสปโกฏิ นหุตํ ทสนหตุ ํ นนิ ฺนหุตํ ตถา ทส อกโฺ ขภนิ ี ตถา ทส พินฺทุญฺจ ทสพนิ ทฺ ญุ จฺ ลพภฺ ุทํ ทสอพฺภทุ ํ นริ พฺภุตํ ตถา ทส อหหํ ทสอหหํ อฏฺฏปํ ิ ตถา ทส อพภฺ พพฺ ํ ทสอพภฺ พฺพํ โสภนฺธิทํ ตถา ทส อุปลํ ทสอุปลํ กมุ ุทปํ ิ ตถา ทส ปทมุ ํ ทสปทมุ ํ ปณุ ฺฑรกิ ํ ตถา ทส กถานํ มหากถานํ

๓๙๙ ตเถว จ ทส มหากถานํ ปิ เอวเมว อสงฺเขยฺยํ คณ ยนตฺ ิ วจิ กฺขณาตฯิ ๓๐๖ แปล ปรจิ เฉทที่ ๑ [ว่าด้วยการเกิดข้ึนแห่งกัป] [๑] พระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้ทรงส่องสว่างในโลกท้ัง ๓ ผู้ทรง เป็นที่พ่ึง [ของโลก] ผู้เป็นดุจประทีปของชาวโลก, พระธรรมใด ที่ยังโลกให้ เจริญ, [และ] พระสงฆ์เหล่าใ ที่เป็นพระอริยสงฆ์ ๘ จําพวก ข้าพเจ้าขอ นมัสการพระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ผู้ทรงประกาศ [ธรรม] แก่ชาวโลก, พระ ธรรมน้ันซึ่งเป็นที่พึงของชาวโลก และพระสงฆ์ผู้ยังชาวโลกให้ถึงฝั่ง ด้วยเศียร เกลา้ แล้ว จกั กล่าวปกรณ์ซึง่ ทาํ ใหโ้ ลกสวา่ งไสวฯ [มาตกิ า] ในปกรณน์ ั้น มหี วั ขอ้ ดงั ต่อไปนี้ คอื [๒] เรื่องอสงไขย เร่ืองกัป เรื่องกัปพินาศ เรื่องกับก่อตัวขึ้นใหม่ [สังวัฏฏกวิวัฏฏกัป] เรื่องดวงอาทิตย์ ๗ ดวล และจักรวาล เร่ืองภูเขาสิเนรุ เร่ืองมหาทวีป ๔ เรื่องภูเขาหิมพานต์ เร่ืองทางโคจรของพระอาทิตย์และ พระจันทร์ เรื่องสัตว์ เรื่องนรก เร่ืองเปรตวิสัย เรื่องสัตว์เดรัจฉาน เร่ือง เบ็ดเตลด็ ฯ [เรอื่ งอสงไขย] [๓] ในข้อน้ัน คําว่า อสงฺเขยฺยา มีวิเคราะห์ว่า “ใครๆ ไม่พึงนับ คือไม่พงึ คํานวณ” เพราะเหตนุ น้ั จึงชอ่ื วา่ อสงไขยฯ ทช่ี อ่ื วา่ อสงไขย เพราะมีวธิ ี นับหลายอย่าง ต้ังแต่หน่ึงเป็นต้น จนกระทั่งถึงการประมาณเอาฯ อีกอย่าง หนึ่ง ช่ือว่าอสงไขย เพราะกําหนดนับหรือประมาณมิได้ฯ อสงไขยนั้นมี ๒ อย่าง คือ สุญอสงไขย ๑ อสุญอสงไขย ๑ หากเรียกตามช่ือมีหลายอย่างฯ อสงไขย ๒ อยา่ ง คืออะไรบา้ งฯ เมือ่ ใด พระผู้มีพระภาคของเรา ทรงบําเพ็ญ บารมีตลอด ๒๐ อสงไขยแสนกัปแล้วจึงบรรลุความเป็นพระพุทธเจ้า, ใน ระหว่างนี้ พึงทราบว่าเป็นสุญอสงไขยและอสุญอสงไข จริงดังคําที่ท่าน [พระ อรรถกถาจารย์] กล่าวไว้ว่า “ท่านประกาศอสงไขยไว้ ๒ อย่าง สุญอสงไขย และอสุญอสงไขย, อสุญอสงไขย ประกอบด้ยการเกิดข้ึนของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระสาวกของพระพุทธเจ้า และพระเจ้า จักรพรรดิ ผู้ทรงอานุภาพอันย่ิงใหญ่ ย่อมอุบัติข้ึนในอสุญอสงไขยน้ีฯ ๓๐๖ ทองคํา สุธรรม, การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคณั ฐี, หนา้ ๗๕-๗๖.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook