Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๕๕๐ ๑๐. รูปวิภาคนเิ ทศ คําอธิบายรูปเป๐นหมวดหมู่ มีคาถา ๑๔๖ บท สลับกับ คาํ อธบิ ายร้อยแกว้ เปน๐ ตอนๆ ไป ๑๑. นทิ านนเิ ทศ คาํ อธิบายนิทาน มีคาถา ๑๐ บท และอธิบาย นิทานด้วย คํารอ้ ยแก้ว ๑๒. ปญั ญัตตนิ เิ ทศ คาํ อธบิ ายบญั ญตั ติ ส่วนใหญป่ ระกอบด้วย คําร้อยแก้ว มีคาถาเดียว ๑๓. การกปฏิเวธนิเทศ คําอธิบายอัตตาและการแทงตลอดอัตตา เป๐น คาํ อธบิ ายรอ้ ยแกว้ ประกอบดว้ ยคาถา ๔ บทสลับกันไป ๑๔. รปู าวจรสมาธิภาวนานิเทศ คาํ อธิบายการเจรญิ รูปาวจรสมาธิ มีคาถา ๑๙๑ บท ๑๕. อรูปาวจรสมาธิภาวนานิเทศ คําอธิบายการเจริญอรูปาวจรสมาธิ มี คาถา ๒๖๓ บท ๑๖. อภญิ ญานเิ ทศ คาํ อธบิ ายอภญิ ญา มีคาถา ๖๑ บท ๑๗. อภิญญารัมมณนิเทศ คาํ อธบิ ายอารมณ์ของอภญิ ญา มคี าถา ๖๖ บท ๑๘. ทิฏฐิวิสุทธินิเทศ คําอธิบายทิฏฐิวิสุทธิ คือ ทิฏฐิบริสุทธิ์ มีคาถา ๕๗ บท ๑๙ กังขาวติ รณวสิ ุทธินเิ ทศ คาํ อธบิ ายกังขาวิตรณวิสุทธิ คือ ญาณบริสุทธิ์ ทขี่ ้ามพ้นความสงสัย มคี าถา ๓๗ บท สลับคาํ รอ้ ยแก้ว ๒๐. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธนิ ิเทศ คาํ อธิบายมัคคามัคคญาณทัสสนวิ สทุ ธิ คือญาณบรสิ ทุ ธ์ิท่ีเปน๐ เครอื่ งรู้เหน็ วา่ เป๐นทางหรือมิใช่ทาง มีคาถา ๓๕ บท ๒๑. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ คําอธิบายปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ คอื ญาณบรสิ ทุ ธิท์ ีเ่ ป๐นเครอ่ื งรู้เห็นว่า เป๐นทางหรอื มใิ ชท่ าง มีคาถา ๓๕ บท ๒๒. ญาณทัสสนวิสุทธินิเทศ คําอธิบายญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ญาณรู้เห็น บริสทุ ธิ์ มีคาถา ๕๖ บท ๒๓. กิเลสปหานกถา เรือ่ งการละกิเลสด้วยญาณต่างๆ ประกอบด้วยคาถา ๑๗ บท มีรอ้ ยแกว้ ผสมอยดู่ ว้ ย ๒๔. ปัจจยนิเทศ คําอธิบายป๎จจัย ๒๔ เป๐นคําร้อยแก้ว มีคาถาสลับจํานวน ๕ บท นอกจากน้ี ยังมีคาํ ลงท้ายทีเ่ รยี กว่า นคิ มนคาถา ๑๗ บท และร้อยแก้วบอก ช่อื ท่านผูแ้ ต่ง และเมืองท่ีพาํ นักขณะแตง่ คัมภรี ์น้ี

๕๕๑ อรุณวดสี ตู ร อรุณวดสี ูตร๔๔๔ เป๐นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาว่าด้วยกําเนิดจักรวาล และภูมิต่างๆ ต้นฉบับที่ผู้เขียนนํามาจัดทําคําอธิบายในที่น้ี เป๐นฉบับแปลโดย ประสิทธ์ิ แสงทบั กรมศลิ ปากรจดั พิมพเ์ ผยแพร่ พทุ ธศักราช ๒๕๔๓ ในคาํ นาํ ของการตพี มิ พร์ ะบุไว้ วา่ “หนังสืออรุณวดีสูตรน้ี เป๐นคัมภีร์สําคัญเร่ืองหน่ึง ท่ีนักปราชญ์ทางภาษา บาลีในสมัยโบราณได้รจนาไว้ ต้นฉบับเดิมเป๐นคัมภีร์ใบลาน จารด้วยอักษรขอม ภาษา บาลี เนอื้ หาประกอบด้วยร้อยแก้ว และบทคาถาท่ีประพันธ์เป๐นคําฉันท์ป๎ฐยาวัตร เรื่องน้ี ไม่ปรากฎนามของพระเถระผู้รจนา แตเ่ ชอื่ ได้ว่า ตอ้ งเป๐นคัมภีร์ที่มีความสําคัญย่ิงในสมัย สุโขทยั เพราะพระมหาธรรมราชาที่ ๑ [พญาลิไท] กษัตริย์สุโขทัยทรงอ้างอิงในการพระ ราชนิพนธ์หนังสือเตภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง ด้วยมีรายชื่อปรากฏอยู่ในบานแพนก ตอนต้นเรื่อง หนังสืออรณุ วดีสตู รนี้ เร่ิมต้นด้วยบทประณามคาถา จากนั้นได้กล่าวถึงพระ ป๎ญญาบารมีของพระพุทธเจ้า รูปภูมิ อรูปภูมิ และนรกภูมิ ภูเขาพระสุเมรุ ภูเขา สัตบริภัณฑ์ สีทันดรมหาสมุทร การเกิดข้ึนของโลก ตลอดจนโลกพินาศไปด้วยไฟ นํ้า และลม กลา่ วถงึ ทวปี ท้ัง ๔ และไม้ประจําทวีป ดาวนักษัตรทั้ง ๒๗ ดวง การนับอสงไขย ตลอดจนการเรียกชื่อกัปต่างๆ จบลงด้วยการบรรลุมรรคผล นิพพาน ของผู้ได้ฟ๎งพระ สทั ธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า หนังสืออรุณวดีสูตรนี้ ให้สารัตถคติธร รมเกี่ยวกับความเช่ือทาง พระพุทธศาสนา หลกั ปฏบิ ตั ิและปรัชญาชีวิต อันเป๐นหลักธรรมสอนให้ผู้ศึกษาหลีกเลี่ยง ความชั่ว ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ และทําจิตใจให้บริสุทธ์ิผ่องใส ตลอดจนช้ีให้เห็ผลของ กรรมดี และกรรมชั่ว อนั สง่ ผลใหผ้ ปู้ ฏิบัติประสบสนั ตใิ นชีวติ ” ๔๔๔ นายประสิทธิ แสงทับ, ผู้แปล. อรุณวดีสูตร: ว่าด้วยกาเนิดจักรวาลและภูมิต่างๆ, [กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมประวตั ิศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๓], ๑๕๐ หน้า.

๕๕๒ ข้อสังเกตเรื่องประวัติของคัมภีร์ กวี แสงมณี ได้กล่าวไว้ใน อรุณวดีสูตร: การตรวจชําระ และการศึกษาเชิงวิเคราะห์, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก บัณฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ความสรปุ ดงั น้ี๔๔๕ ต้นฉบบั ทุกฉบบั ทพ่ี บ ไมม่ ฉี บบั ใดระบชุ ื่อผู้แต่ง สมัยท่ีแต่ง และสถานท่ีแต่ง จึงสันนิษฐานตามหลักฐานเท่าทีมีว่า พญาลิไททรงอ้างในไตรภูมิพระร่วง ย่อมแสดงให้ เหน็ ว่า อรุณวดีสตู ร เปน๐ ที่รูจ้ ักแพรห่ ลายแลว้ ในสมยั น้ัน และคงแตง่ ก่อนสมยั พญาลิไทมา นานแล้ว อาจเป๐นไปได้ว่า เม่ือพญาลิไททรงทูตไปนิมนต์พระมหาสวามีจากลังกา พระ เถระคงจะนาํ คัมภรี ์นมี้ าจากลังกา ซ่งึ ชาวลังกาเปน๐ ผแู้ ต่งข้ึน เพราะเรานับถือลังกาว่าเป๐น ครทู างดา้ นการแต่งวรรณกรรมพระพุทธศาสนา พญาลิไทอ้างอรุณวดีสูตร ย่อมเป๐นการ สมควรท่ีพระองค์ทรงอ้างหนังสือที่ทรงศึกษาจากพระอาจารย์ของพระองค์ แต่ก็เป๐นท่ี น่าสังกตว่า ถ้าลังกาแต่งเรื่องนี้ ทําไมทางลังกาไม่มีต้นฉบับเร่ืองน้ีปรากฏอยู่เลย แต่ก็ อาจจะมีข้ออ้างได้ว่า ก่อนหน้านั้น พระพุทธศาสนาในลังกาเส่ือมโทรมมากจนถึงกับส้ิน สูญ พระเจ้ากิตติสิริราชสีห์แห่งลังกา ต้องส่งทูตมาของพระสงฆ์จากไทยไปฟื๒นฟูพระ พุทธศานา อาจเปน๐ ไปไดว้ ่า อรณุ วดีสตู รคงจะสูญหายไปในคราวนนั้ ต้นฉบับอรุณวดีสตู รทมี่ ีอยู่ในเมืองไทย จารเป๐นอักษรขอมท้ังส้ิน เช่น ฉบับ ล่องชาดท่ีเจา้ ฟาู กรมหลวงเทพหริรักษ์ โปรดให้สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ.๒๓๓๗ และฉบับอ่ืนๆ ซงึ่ เขา้ ใจว่า จารขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์เช่นเดียวกัน เป๐นไปได้ว่า อรุณวดีสูตรของลังกา ทว่ี ่าสูญหายไปนั้น ยังมีต้นฉบับอยู่ในประเทศไทย และได้คัดลอกกันต่อๆ มาจนถึงสมัย รัตนโกสินทร์ แต่ท่ีไม่ปรากฎในลงั กาอาจเป๐นพระพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไม่ได้ส่งต้นฉบับ ไปให้ลังกา เพราะเกรงเห็นวา่ เปน๐ คัมภรี เ์ ลก็ น้อย เน้อื เรือ่ งสัน้ ๆ ไมส่ ําคัญ เพราะฉะน้ันจงึ มีต้นฉบบั แต่ในประเทศไทย เมืองท่พี ระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก่อนสมยั พญาลิไท คอื เชียงใหม่ และ ลําพูน เมืองเชียงใหม่มีพระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงในการแต่งคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เช่น พระสิริมังคลาจารย์ พระโพธิรังสี และพระรัตนป๎ญญา เป๐นต้น แต่ผู้แต่งอรุณวดี แต่ง ก่อนสมัยทา่ นท้ัง ๓ ประมาณ ๑๐๐ ปี ถ้าเป๐นภิกษุชาวเชียงใหม่แต่ง คงจะต้องจักสํานัก ของท่าน ดงั นน้ั ผ้แู ตง่ อรณุ วดสี ตู รคงไมใ่ ช่ภิกษชุ าวเชียงใหม่ ๔๔๕ กวี แสงมณ,ี อรุณวดสี ูตร: การตรวจชาระ และการศึกษาเชิงวิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,๒๕๒๓], หนา้ ๔-๕.

๕๕๓ เมืองลําพูนสมยั พระเจ้าอาทิจจราช [พ.ศ.๑๕๙๐-๑๖๗๐] เป๐นกษัตริย์ครอง นครหรภิ ญุ ชัย พระพุทธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรืองมาก มกี ารเรียนพระไตรปิฎกอยา่ งแพรห่ ลาย และมีการแต่งฉันท์เป๐นภาษามคธด้วย ดังนั้น อาจเป๐นไปได้ว่า อรุณวดีสูตรท่ีพญาลิไท นํามาอ้าง อาจแต่งข้ึนในสมัยน้ี ซึ่งเป๐นระยะเวลาก่อนสมัยพญาลิไท [๑๘๙๐-๑๙๑๙] ประมาณ ๒๐๐ ปี แต่ระยะเวลาท่ีแต่งควรจะอยู่ไม่เกินสมัยพระเจ้าอาทิจจราช และไม่ ควรอยู่เลยสมัยของพระเจ้าญ่ีบา กษัตริย์องค์สุดท้ายของนครหริภุญชัย [พ.ศ.๑๘๒๕] เน่ืองจากภิกษุชาวเชียงใหม่อยู่ในนิกายสิงหล แต่ภิกษุชาวเมืองหริภุญชัยอยู่ในนิกาย รามัญ งานของพระสงฆใ์ นเมืองลาํ พูนจึงไมไ่ ดร้ ับการยกยอ่ งเช่ือถือเท่าของลังกา และอีก ประการหนงึ่ อรณุ วดสี ูตรมเี นือ้ ความสัน้ เกินไป ไม่ละเอียดเพยี งพอทจ่ี ะนําไปอ้าง ในการ แต่งจกั รวาลทปี นี พระสิรมิ ังคลาจารยจ์ งึ มิไดอ้ ้างถึง จากเหตุผลดังกล่าวมาน้ี สรุปได้ว่า ผู้แต่งอรุณวดีสูตรอาจเป๐นชาวลังกา หรอื ชาวนครหรภิ ญุ ชัย แตแ่ ต่งกอ่ นสมยั พญาลไิ ท รปู แบบการประพันธ์ รปู แบบการประพันธ์ ผ้แู ตง่ อรณุ วดีสตู รแตง่ เป๐นรอ้ ยแกว้ ผสมร้อยกรอง ซึ่ง มโี วหารต่าง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี๔๔๖ ๑. บรรยายโวหาร เชน่ บาลี อรุณวติ นาม นคเร อรุณวติสฺเสว รํฺโญ อคฺคมเหสิยา กุจฉฺ ิสมึ ปฏิสนฺธึ คเหตฺวา ทสมาเส มาตกุ จิ ฉฺ มิ ฺหิ วสิตวฺ า อเนกปกาเรหิ อจฺฉริยภูต ชาเตหิ สทฺธึ นิสฺสภุยฺยาเน มาตุกุจฺฉิโต นิกฺขมิ อุณฺหิสสฺส นลาเต สิขี วิย อุคฺคตตฺ ตา สขิ ตี ิ นามสสฺ อกสํ ุ ฯ แปล พระองคท์ รงถอื ปฏิสนธใิ นพระครรภข์ องอัครมเหสีของ พระเจา้ อรุณวดใี นนครช่ืออรุณวดีน่นั เอง ทรงอยใู่ นพระครรภม์ ารดา ๑๐ เดอื น ก็ ประสูติจากพระครรภ์พระมารดาท่ีนิสสภอุทยาน พร้อมกับมีเหตุอัศจรรย์เป๐น อเนกประการ เพราะพระองคม์ อี ุณหิสเพยี งดังรกู นกยูงปรากฏที่พระนลาติ [พระ ราชบิดาและพระราชมารดา] จงึ ขนานพระนามพระองคว์ ่า สขี ี ๒. เทศนาโวหาร เช่น บาลี อารภถ นิกขฺ มถ ยญุ ชถ พุทฺธสาสเน ธนุ าถ มจจฺ โุ น เสนํ นฬาคารํ ว กุํชฺ โร ๔๔๖ กวี แสงมณ,ี อรณุ วดสี ตู ร: การตรวจชาระ และการศกึ ษาเชิงวิเคราะห์, หน้า ๑๘-๑๙.

๕๕๔ โย อิมสมฺ ึ ธมฺมวนิ เย อปุ ปฺ มตโฺ ต วิหรติ ปหาย ชาติสสํ ารํ ทกุ ฺขสสฺ นฺตํ กรสิ ฺสติฯ แปล ดูกรภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงพากเพียรพยายาม ขมักเขม่น หมายมั่นที่จะพ้นทุกข์ ยํ่ายีมัจจุมารและเสนามารให้หมดส้ิน ประหนึ่งพญากุญชร ยํ่ายี เรือนไมอ้ อ้ ฉะนนั้ บคุ คลใดในพระธรรมวินัยนี้ ประพฤติตนเป๐นผู้ไมป่ ระมาทอยู่ บคุ คลนั้น จักข้ามพ้นสังสารวฏั คือชาติ ทําทส่ี ้ินทกุ ขไ์ ด้สิน้ เชงิ ๔๔๗ ๓. พรรณนาโวหาร เชน่ บาลี ตตถฺ กปฺปวินาสกํ ยสฺมึ สมเย กปปฺ า อคคฺ ินา วินสฺสนฺติ อาทิโต กปฺปวินาสกมหาเมโฆ อฏุ ฐฺ หิตฺวา โกฏิสตสหสฺสจกฺกวาเฬ เอกมหาวสฺสํ วสฺสติ ฯ มนุสฺสา ตุฏฺฐา สพฺพวีธานิ อหริตฺวา วปนฺติ อาทิโต กปฺปวินาสกมหาเมโฆ อุฏฺฐหิตฺวา โกฏิ สตสหสสฺ จกฺกวาเฬ เอกมหาวสฺสํ วสฺสติ มนุสฺสา ตุฏฐา สพฺพวีธานิ อาหริตฺวา วปนฺติ สสฺ เสสุ ปน โคขาทิตมตฺเตสุ ชาเตสุ กทรฺ ภรวํ รวนโฺ ต เอกพนิ ฺทปุ ิ นวสสฺ ตฯิ แปล พงึ ทราบความพนิ าศของกปั ปด์ ังนี้ ในสมัยท่ีกัปป์พินาศด้วยไฟ ครง้ั แรกๆ มหาเมฆท่ีทําให้กัปป์พินาศก่อตัวข้ึนแล้ว บันดาลให้ฝนตกห่าใหญ่ครั้งหนึ่งใน แสนโกฏจักรวาล มนุษย์ทั้งหลายดีใจ นําเอาเมล็ดพืชทั้งปวงไปหว่าน คร้ันข้าวกล้างอก ขึ้นขนาดทโ่ี คพอกนิ ได้แลว้ ฟาู ร้องเหมอื นเสยี งลา ฝนไมต่ กแม้แต่หยดเดยี ว รูปแบบฉันทลักษณ์ บทประพันธท์ ี่เป๐นรอ้ ยกรอง อรณุ วดสี ูตร นอกจากจะร้อยเรียงเป๐นแบบร้อยแก้วแล้ว ยังมีบทร้อยกรอง แทรกอยู่อีก ๖๐ คาถา ซ่ึงส่วนใหญ่เป๐นป๎ฐยาวัตคาถา มีอินทรวิเชียรคาถา เพียง ๔ คาถาเทา่ น้นั รปู แบบฉนั ทลกั ษณ์ ๑. ปฐยาวตั คาถา เชน่ โย มหากรุณาปํญฺ า โยโค สพฺพตฺถสาธโก ตํ พุทฺธมตุ ตฺ มํ ธมมฺ ํ สงฆฺ ํจฺ อภิวนทฺ ยิ ฯ วกขฺ ามหิ ํ อรุณวติ- สงคฺ หํ นาม สาธกุ ํ พุทธญาณมหนตฺ ตตฺ ํ ญาปกญาปกุตตฺ มํฯ ๔๔๗ นายประสิทธิ แสงทบั , ผู้แปล. อรุณวดสี ูตร: ว่าด้วยกาเนิดจักรวาลและภมู ิตา่ งๆ, ๖๕.

๕๕๕ เย ปํญฺ าปารมิปตตฺ า เย จ ปจเฺ จกนายกา เตสํ ญาณํ อตกิ กฺ มมฺ พทุ โฺ ธ ญาเณน ทีปโิ ตฯ แปล ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพทุ ธเจา้ พระผูท้ รงประกอบด้วยพระ กรุณาและพระคุณอันย่ิงใหญ่ พระผู้ให้สําเร็จประโยชน์ในท่ีทุกสถาน พระผู้ยอดเย่ียม พระธรรมที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ดีแล้ว และพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติชอบแล้ว จักพรรณนาพระ สูตรอันไพเราะอย่างยิ่งช่ืออรุณวดีสังคหะ เป๐นพระสูตรประกาศให้แจ่มแจ้งถึงความ ย่งิ ใหญ่แหง่ พทุ ธญาณของพระพุทธเจ้าพระองค์ใด พระผู้ได้บําเพ็ญป๎ญญาบามีมาก็ตาม ได้ตรัสรู้เฉพาะตนโดยไม่มีผู้อ่ืนสอนก็ตาม พระพุทธเจ้าของเราล่วงพ้นพระญาณของ พระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ้นั เสียแล้ว โดยมีพทุ ธญาณเปน๐ เครอ่ื งแสดงใหป้ รากฎ๔๔๘ แผนผังประกอบ ห้าม น,ส ย คณะ ห้าม น,ส ช คณะ ๑๒๓๔๕๖๗๘๑๒๓๔๕๖๗๘ ๐๐๐๐๑๒๒๐๐๐๐๐๑๒๑๐ ๒. อนิ ทรวิเชยี รคาถา เช่น อิมมหฺ ิ ทีปมฺหิ ยทา อเุ ทติ มชฌฺ นฺติโก โหติ วิเทหทเี ป กุรุมฺหิ ทีปมฺหิ อตฺถงฺคเมติ โคยาเน ทปี มฺหิ อฑฺฒรตฺตฯิ วิเทหทปี มหฺ ิ ยทา อุเทติ มชฺฌนตฺ ิโก โหติ อุตตฺ รกรุ ุมฺหิ โคยานทีปมฺหิ อตฺถงฺคเมติ อมิ มฺหิ ทปี มฺหิ จ อฑฺฒรตตฺ ิฯ กุรมุ ฺหิ ทปี มหฺ ิ ยทา อเุ ทติ มชฌฺ นฺติโก โหติ โคยานทเี ป อธิ ชมพฺ ูทีเป อตถฺ งคฺ เมติ วเิ ทหทปี มฺหิ จ อฑฒฺ รตฺตฯิ โคยานทีปมหฺ ิ ยทา อุเทติ ๔๔๘ นายประสทิ ธิ แสงทับ, ผู้แปล. อรณุ วดสี ตู ร: วา่ ด้วยกาเนิดจกั รวาลและภมู ิตา่ งๆ, ๒๕.

๕๕๖ มชฌฺ นฺติโก โหติ อิธ ชมพฺ ูทีเป วเิ ทหทีปมหฺ ิ อตถฺ งฺคเมติ กุรมุ ฺหิ ทีปมหฺ ิ จ อฑฒฺ รตตฺ ฯิ แปล ดวงอาทิตย์ขึ้นในทวีปน้ี เป๐นเวลาเทย่ี งวนั ในวิเทหทวีป เป๐นเวลาคํ่าใน อกุ ตรกรุ ทุ วปี เป๐นเวลาเทย่ี งคนื ในอมรโคยานทวีปฯ ดวงอาทิตยข์ ึน้ ในวิเทหทวปี เป๐น เวลาเทีย่ งวันในอุตตรกุรุทวปี เปน๐ เวลาค่ําในอมรโคยานทวปี เป๐นเวลาเท่ียงคนื ในทวปี น้ี, ดวงอาทติ ย์ข้ึนในอุตตรกุรทุ วีป เป๐นเวลาเท่ยี งวนั ในอมรโคยานทวีป เปน๐ เวลาคาํ่ ในทวีปนี้ เป๐นเวลาเที่ยงคนื ในวิเทหทวปี ดวงอาทิตย์ข้นึ ในอมรโคยานทวปี เป๐นเวลาเท่ยี งวันใน ชมพูทวปี เป๐นเวลาคา่ํ ในวเิ ทหทวปี เปน๐ เวลาเท่ยี งคนื ในอุตตรกุรุทวีปฯ๔๔๙ แผนผังประกอบ ต คณะ ต คณะ ช คณะ ครุ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ อนิ ฺ ทา ทิ กา ตา ว ชิ รา ช คา โค ๒๒๑ ๒๒๑ ๑๒๑ ๒๒ เนื้อหาโดยยอ่ อรุณวดีสูตร เน้ือหาแสดงถึงกําลังของพุทธญาณของพระพุทธเจ้า เพราะ เป๐นการยอ้ นเรอื่ งราวยอ้ นหลงั ไปในอดตี ชาติเมื่อคร้งั พระสขิ ีโพธสิ ตั ว์บําเพญ็ บารมีนานถึง แปดอสงไขยกับอีกแสนกัปป์ จากนนั้ ก็ลงมาจตุ ใิ นครรภ์ของพระมเหสขี องอรณุ วดีราชา ผู้ ครองราชสมบัติ ณ เมืองอรุณวดนี คร อันเปน๐ ทีม่ าของชอ่ื เรอื่ งงานวรรณกรรม คร้ันทรงเล่าเร่ืองจบแล้ว พระอานนท์ก็ได้ทรงจําอรุณวดีสูตรไว้จนคล่อง จากนั้นก็กราบทลู พระพุทธเจา้ ว่า ตนทรงจําทท่ี รงเล่าได้หมด จงึ เกิดความคิดว่า พระสูตร ที่พระศาสดาแสดงก็อยู่ในวิสัยที่สาวกจะแสดงแทนได้ พระศาสดาทราบความดําหริ เช่นน้ัน จึงตรสั เตอื นวา่ ไม่ใช่วสิ ยั ของพระสาวก จากนนั้ ก็ทรงเปรยี บเทยี บกําลังพระสาวก กบั กาํ ลงั ญาณของพระองคโ์ ดยประการตา่ งๆ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงกําลังพระญาณของพระองค์ด้วยการตรัสถึงโลกธาตุ ต่างๆ นับตงั้ แต่โลกธาตุขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ แสดงอายุขัยเหล่าเทวดา ชั้นต่างๆ ระยะทางจากพื้นดินไปถึงภพภูมิต่างๆ โดยละเอียด ทรงพรรณนาถึงสภาพ ความเป๐นอยู่ของเทวดา และมนุษย์ในทวีปต่างๆ ทั้ง ๔ ทวีป รวมถึงเหล่าสัตว์นรกโดย ๔๔๙ นายประสิทธิ แสงทบั , ผู้แปล. อรุณวดสี ูตร: ว่าดว้ ยกาเนิดจักรวาลและภมู ติ า่ งๆ, ๒๕.

๕๕๗ ละเอียด การเกิดขึ้น การดํารงอยู่ และการดับไปของโลกธาตุ การโคจรของดวงดาวต่าง ๆ อรุณวดีสูตร ไม่ได้แบ่งเน้ือหาเป๐นปริจเฉท แต่ผู้เป๐นเร่ืองเดียวกันตลอดทั้ง เร่ือง นับต้ังแต่บทประณามคาถา, อดีตพระโพธิสัตว์, ท้าวมหาพรหมบูชาพระพุทธเจ้า ,พระอภิภูเถระแสดงธรรมเป๐นอัศจรรย์, พุทธวิสัย, พระทศพล, จักรวาล, สัณฐานของ ภูเขาสิเนรุ, ภูเขาใหญ่ท้ัง ๗, อายุของเทวดาชั้นจาตุมหาราช, อายุของพรหม, อายุของ อรูปพรหม, ไฟ ลม และน้ําลา้ งโลก, ดวงอาทิตย์ ๗ ดวง, อานิสงส์ของการบําเพ็ญสัตบท ๗, สระใหญ่ทั้ง ๗, โลกใหม่เกิดข้ึน, อาภัสสรพรหมจุติบนโลก, กําเนิดดวงอาทิตย์ดวง จันทร์, กําเนิดกลุ่มดาวนักษัตร ๒๗ กลุ่ม, อสงไขยและกัปป์, สถานท่ี ๖ แห่งท่ี พระพทุ ธเจา้ บาํ เพ็ญเพียร, มหานคร ๖ เมือง, นรกใหญ่ ๘ ขุม, ทวีปทั้ง ๔, สัณฐานของ ทวีปทง้ั ๔, ภเู ขาทง้ั ๕, สระอโนดาต, ดาวนพเคราะห์ ๙, จกั รราศี, พุทธานุภาพ, และจบ ลงดว้ ยอานสิ งสแ์ หง่ ความเลื่อมใสในพทุ ธธรรม อลงั การโพธนิ ี อลงั การโพธนิ ี๔๕๐ อลงั การนิสสยะ อลงั การนสิ สยะ๔๕๑ อฏั ฐสาลินี,อรรถกถา อฏั ฐสาลนิ ี๔๕๒ เป๐นอรรถกถาแก้ หรืออธิบายความพระอภิธรรมปิฎก ธัมม สังคณี ผ้รู จนาคือพระพทุ ธโฆสาจารย์ รปู แบบการประพันธ์เป๐นแบบวิมิสสะ คือร้อยแก้ว ผสมรอ้ ยกรอง ใชร้ ้อยแกว้ เปน๐ หลักในการอธิบายความ พระพทุ ธโฆสาจารย์เรม่ิ ตน้ คมั ภีรด์ ว้ ยอารมั ภกถา โดยแต่งเป๐นบทร้อยกรอง จาํ นวน ๒๐ คาถา ซึ่งในอารัมภกถาน้ี เนื้อหาประกอบด้วยคํานมัสการพระรัตนตรัย ต่อ แต่น้ัน ไดแ้ สดงประวตั ิความเป๐นมาของพระอภิธรรมปิฎก เริ่มต้ังแต่ทรงแสดงแก่เทวดา มพี ทุ ธมารดาเป๐นประธาน หลังจากน้ันก็ทรงตรัสบอกแก่พระสารีบุตรผู้เฝูาอุป๎ฏฐากพระ ๔๕๐ หฏฐจิต, อลงั การโพธินี, (วัดเขาสนามชัย ๒๕๕๖), หน้า , ๔๕๑ ๔๕๒ พระพทุ ธโฆสาจารย์, อฏั ฐสาลนิ ี, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผ้แู ปล. [กรุงเทพฯ: โรง พิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๐], ๘๔๗ หนา้ .

๕๕๘ พุทธองคท์ ส่ี ระอโนดาต แล้วพระเถระก็นํามาบอกแก่ศิษย์ของตน ศิษย์เหล่านั้นก็นําสืบ ตอ่ ๆ กันมา จนถงึ สมัยสงั คายนา พระมหากัสสปะผู้เป๐นประธาน ก็ได้ยกข้ึนสู่สังคายานา และทาํ อรรถาธิบายไว้ทัง้ หมด กระทั่งต่อมา พระมหินทเถระได้นําไปท่ีลงั กา ไดเ้ รียบเรียง เป๐นภาษาของชาวเกาะ และได้ศกึ ษา สืบทอดกันมาโดยลําดับ ต่อแต่น้ันท่านจึงเริ่มเร่ือง อธิบายความในธรรมสังคณตี ามลาํ ดับทงั้ ๔ กณั ฑ์ ประกอบด้วย ๑. จิตตุปปาทกัณฑ์ กัณฑ์ที่ว่าด้วยเรื่องจิต แบ่งการอธิบายออกเป๐น ๒ ประเภทคือ ๑] บทมาติกา ๒] บทภาชนีย์ ในบทมาติกาและบทภาชนีย์ ยังแบ่งเป๐น ๒ อย่างคือ ติกมาติกา และทุกมาติกา จัดเป๐น ๑๕ ปริจเฉท จําแนกเป๐น ติกมาติกา ๑ ปรจิ เฉท ทุกมาตกิ า ๑๔ ปรจิ เฉท จดั ตามลําดับปรจิ เฉท ดังนี้ ๑. ตกิ มาติกา มี ๒๒ ตกิ ะ มกี ุสลติกะ เป๐นตน้ จัดเปน๐ ๑ ปรจิ เฉท ๒. ทุกมาตกิ า มี ๑๐๐ ทกุ ะ จัดเปน๐ ๑๔ ปรจิ เฉท ตอ่ แตน่ ้นั พรรณนาบทสุตตันตกิ ทกุ มาตกิ า จาํ นวน ๔๒ ทุกะ, พรรณนาจิตที่ เป๐นกุศลซึ่งเป๐นกามาวจร, พรรณนาบทภาชนีย์ว่าด้วยจิตที่เป๐นกุศลซึ่งเป๐นกามาวจร, เรอ่ื งทวารของจิตที่เป๐นกุศลซึ่งเป๐นกามาวจร, พรรณนาทวารแห่งกายกรรม, เร่ืองทวาร แห่งกายกรรม, เร่ืองทวารแห่งวจีกรรม, เร่ืองทวารแห่งมโนกรรม, เรื่องกรรม, เร่ือง อกุศลกรรม, เรื่องเปรียบเทียบกรรมบถ, เรื่องการอธิบายธรรมในจิตท่ีเป๐นกุศลซ่ึงเป๐น กามาวจร, พรรณนากลมุ่ ผัสสะ ๕ หมวดในธัมมทุ เทสวาระ, พรรณนากาลุ่มแห่งองค์ฌาน ในธัมมุทเทสวาระ, พรรณนากลุ่มแห่งอินทรีย์, พรรณนากลุ่มแห่งองค์แห่งมรรค, พรรณนากลุ่มแห่งพลธรรม, พรรณนากลุ่มแห่งกรรมบถ, พรรณนาธรรมคุ้มครองโลก เปน๐ ต้น กระทั่งพรรณนารูปาวจรจิตและอรูปาวจรจิตฝุายกิริยาเปน๐ หวั ข้อสุดท้าย ๒. รปู กัณฑ์ กณั ฑว์ ่าด้วยเรื่องรูป จําแนกเร่ืองพรรณนาออกเป๐น ๑๒ เรื่อง ได้แก่ ๑] อุทเทสวัณณนา พรรณนาหัวข้อธรรมท่ียกขึ้นเป๐นบทต้ัง ๒] เอกวิธรูปสังคห วณั ณนา พรรณนาการรวมรูปหมวดละ ๑ ๓] ทวุ ิธรปู สังคหวัณณนา พรรณนาการรวมรูป หมวดละ ๒ ๔] ติวธิ รปู สงั คหวณั ณนา พรรณนาการรวมรปู หมวดละ ๓, ๕] จตพุ พิธาทิรูป สังคหวัณณนา พรรณนาการรวมรูปหมวดละ ๔ เป๐นต้น ๖] รูปวิภัตติเอกนิเทสวัณณนา พรรณนาการแสดงรูปแต่ละลักษณะแห่งการจําแนกรูป ๗] ทุกนิเทสวัณณนา พรรณนา การแสดงรูป ๒ ลักษณะ ๘] อุปาทาภาชนียกถา เรื่องอึปาทาภาชนีย์ ๙] จตุกกนิทเทส วัณณนา พรรณนาการแสดงรูป ๔ ลักษณะ, ๑๐] ป๎ญจกนิทเทสวัณณนา พรรณนาการ แสดงรูป ๕ ลักษณะ ๑๑] ฉักกาทินิทเทสวัณณนา พรรณนาการแสดงรูป ๖ ลักษณะเป๐น ต้น และ ๑๒ นวกาทนิ ิทเทสวณั ณนา พรรณนาการแสดงรูป ๙ ลักษณะเปน๐ ต้น

๕๕๙ นอกจากนนั้ ยังมเี รือ่ งปกิณณกถา ว่าดว้ ยสูตรในการกาํ หนดเพื่อปูองกันหลง ในการพรรณนารูปเหลา่ นน้ั ๔ ประการ ได้แก่ ๑. สโมธาน การประมวลมา ๒. สมฏุ ฐาน เหตใุ ห้เกิดรูป ๓. ปรนิ ิปผันนะ รูปทเ่ี กดิ จากกรรมแน่นอน ๔. สังขตะ รูปท่ีถูกปจ๎ จยั ปรุงแตง่ ๓. นิกเขปกัณฑ์ กัณฑ์ว่าด้วยเร่ืองข้อสรุปความของติกะ [๒๒ ติกะ], ทุกะ [๑๔๒ ทกุ ะ] แบง่ เปน๐ ๓ หัวข้อหลักคอื ๑] ตกิ นกิ เขปกถา เรือ่ งการสรปุ ความของติก, ๒] ทุกนิกเขปกถา เรื่องการสรุปความของทุกะ และ ๓] สุตตันติกทุกนิกเขปกถา เรื่องการ สรุปความของสุตตนั ติกะและทุกะ ๔. อัฏฐกถากัณฑ์ กัณฑ์ว่าด้วยการยกเอาเน้ือความแห่งพระพุทธพจน์คือ พระไตรปิฎกมาขยายความ คัมภีร์พรรณนาการเกิดขึ้นของอัฏฐกถากัณฑ์ว่า พระสารี บุตรแสดงแก่อันเตวาสิกของตนรูปหน่ึงผู้ไม่สามารถจะกําหนดส่วนท่ีขยายเน้ือความใน นิกเขปกัณฑไ์ ด้ แต่ก็มกี ารตง้ั ข้อสังเกตวา่ อภธิ รรมไมใ่ ชว่ ิสัยของสาวก พระสารีบุตรจึงนํา อันเตวาสิกของตนไปเฝูาพระศาสดาเพ่ือทูลถาม พระศาสดาจึงประทานพระดํารัสแก่ ภกิ ษรุ ูปนัน้ ท้ายคัมภีร์พระพุทธโฆสาจารย์ได้เขียนบทสรุป [นิคมนกถา] ไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงจําแนกจิตตุปปบาทกัณฑ์ รูปกัณฑ์ นิกเขปกัณฑ์ และอัตถุทธารกัณฑ์ ซึ่งรวบรวมสภาวธรรมไว้เรียบร้อยแล้ว ท่านทําหน้าท่ีพรรณนาเนื้อความโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อธํารงพระสัทธรรม และขอให้กุศลที่ได้ทํา จงเป๐นป๎จจัยให้สรรพสัตว์ ทง้ั หลายไดต้ รสั รู้ธรรมของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ สาระในคมั ภรี อ์ ัฏฐสาลินี [๑] คนถฺ ารมภฺ กถา๔๕๓ บาลี กรณุ า วิย สตเฺ ตสุ ปญฺญา ยสฺส มเหสโิ น. เญยยฺ ธมเฺ มสุ สพฺเพสุ ปวตตฺ ติ ถฺ ยถารุจิฯ ทยาย ตาย สตฺเตสุ สมสุ ฺสาหิตมานโส. ปาฏหิ รี าวสานมหฺ ิ วสนโฺ ต ติทสาลเยฯ ปารจิ ฉฺ ตตฺ กมูลมฺหิ ปณฑฺ ุกมพฺ ลนามเก. สิลาสเน สนนฺ สิ ินฺโน อาทิจโฺ จว ยคุ นฺธเรฯ ๔๕๓ อภ.ิ ส.อ. [บาล]ี ๑/๑.

๕๖๐ จกกฺ วาฬสหสฺเสหิ ทสหาคมมฺ สพพฺ โส. สนนฺ ิสินฺเนน เทวานํ คเณน ปริวาริโตฯ มาตรํ ปมขุ ํ กตฺวา ตสสฺ า ปญญฺ าย เตชสา. อภธิ มมฺ กถามคคฺ ํ เทวานํ สมปฺ วตตฺ ยฯิ ตสสฺ ปาเท นมสสฺ ิตวฺ า สมฺพุทธฺ สสฺ สริ ีมโต. สทฺธมฺมญฺจสฺส ปเู ชตวฺ า กตวฺ า สงฺฆสฺส จญฺชลึฯ ฯลฯ กมมฺ ฏฐฺ านานิ สพฺพานิ จรยิ าภญิ ฺญา วิปสฺสนา. วสิ ุทธฺ มิ คเฺ ค ปนทิ ํ ยสฺมา สพฺพํ ปกาสิตํฯ ตสมฺ า ตํ อคคฺ เหตวฺ าน สกลายปิ ตนฺตยิ า. ปทานุกฺกมโต เอว กรสิ สฺ ามตถฺ วณณฺ นฯํ อิติ เม ภาสมานสฺส อภิธมมฺ กถํ อิมํ. อวิกขฺ ติ ตฺ า นิสาเมถ ทุลลฺ ภา หิ อยํ กถาตฯิ แปล อารัมภกถา๔๕๔ วา่ ด้วยการปรารภคัมภีร์ [๑] พระป๎ญญาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหาศีลคุณอันย่ิงใหญ่ พระองค์ใดได้แผ่ไปแล้วในธรรมที่สัตว์ควรรู้ทั้งหมด ตามความพอพระทัยเหมือนพระ กรณุ าคณุ ท่ีแผ่ไปในสัตวท์ ง้ั หลาย [๒] พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองคใ์ ด ทรงมีพระทัยอัน ความเอน็ ดูนัน้ ใหอ้ ุตสาหะข้ึนดว้ ยดีแล้วในสตั วท์ ง้ั หลาย เมอื่ ทรงประทับจําพรรษาในดาว ดึงสเทวโลก ในคราวท่ีทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์ [๓] ทรงประทับนั่ง ณ พระแท่นศิลา อาสน์นามว่าป๎ณฑกัมพล ที่ใกล้โคนต้นปาริฉัตตกะทรงเป๐นดุจดังดวงอาทิตย์เหนือยอด เขายุคันธร [๔] อันหมู่เทพทั้งหลายผู้มาจาก ๑๐,๐๐๐ จักรวาลท้ังหมดน่ังประชุมกัน แวดล้อมไว้แล้ว [๕] ทรงกระทําท้าวสันดุสิตเทพบุตรผู้เคยเป๐นพุทธมารดาให้เป๐น ประธาน แล้วทรงแสดงมรรคด้วยพระอภิธรรมกถาให้เป๐นไปแก่เทพท้ังหลาย ด้วยเดช แห่งพระป๎ญญาน้ัน [๖] ข้าพเจ้า [พระพุทธโฆสาจารย์] ขอนมัสการพระยุคลบาทของ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ผทู้ รงมีพระสิริพระองคน์ ้นั ขอบูชาพระสัทธรรม และขอทําอัญชลี พระสงฆข์ องพระองค์ [๗] ด้วยอานุภาพแหง่ ความนอบน้อมนี้ท่ีข้าพเจ้า [พระพุทธโฆสา จารย์] ได้กระทําแล้วในพระรัตนตรัย ขออันตรายทั้งหลายจงบําราศไป โดยไม่มีส่วน ๔๕๔ อภิ.ส.อ. [ไทย] ๑/๑.

๕๖๑ เหลอื [๘] พระสมั มาสัมพุทธเจ้าผู้อันภิกษุนามว่าพุทธโฆสะ ผู้มีอาจาระและศีลหมดจด ผู้มีป๎ญญาฉลาดหลักแหลม และปราศจากมลทินทูลอาราธนาโดยเคารพแล้ว [๙] พระ สัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้ทรงเป๐นเทพท่ีเหล่าเทพบูชาแล้ว ผู้ทรงเป๐นผู้นํา ทรง แสดงพระอภิธรรมกถาใดแก่เทพท้ังหลายแล้ว ได้ตรัสบอกโดยนัยแก่พระสารีบุตรเถระ อีก [๑๐] พระเถระน้ันทําการอุป๎ฏฐากพระมเหสีเจ้า ณ สระอโนดาต และได้สดับพระ อภธิ รรมกถาใด แล้วนํากลับมายังพ้นื ปฐพี [๑๑] เข้าไปน่ังใกล้ภิกษุท้ังหลาย สอนให้ภิกษุ ท้ังหลายทรงจาํ ไว้แล้ว ด้วยประการฉะนีใ้ นคราวทาํ สังคายนา พระอานนท์เถระผเู้ ป๐นพระ มนุ ชี าวกรุงเวเทหะให้รอ้ ยกรองไวอ้ ีก [๑๒] พระอภธิ รรมอนั บุคคลผู้มญี าณอนั ลกึ ซึ้งจึงจะ หย่ังลงได้เนื่องๆ ซึ่งวิจิตรไปด้วยนัยต่างๆ ต้ังแต่ต้นน้ัน [๑๓] มีอรรถกถาท่ีพระเถระ ผเู้ ช่ียวชาญทัง้ หลายมพี ระมหากัสสปเถระเป๐นต้นร้อยกรองไว้แล้วในเบ้ืองต้น และแม้ใน ภายหลัง พระอรหันต์ทั้งหลายก็ได้ร้อยกรองไว้แล้ว [๑๔] อนึ่ง อรรถกถาแห่งพระ อภธิ รรมใด ทถี่ ูกพระมหนิ ทเถระนาํ มาส่เู กาะอันอดุ มนี้ แล้วไดเ้ รยี บเรียงไว้ด้วยภาษาของ ชนชาวเกาะทั้งหลาย [๑๕] ข้าพเจ้า [พระพุทธโฆสาจารย์] จักปริวรรตภาษาของชนชาว เกาะผ้มู ีฝุามือแดงออกมาจากอรรถกถานั้น แล้วยกขึ้นสู่ภาษาอันไม่มีโทษคล้อยตามนัย ของแบบ [๑๖] ไม่ใหเ้ จอื ปน ไม่ให้สับสนด้วยลัทธิของนิกายอื่น เม่ือจะแสดงการวินิจฉัย ของพระเถระผู้อยใู่ นมหาวหิ ารทง้ั หลาย [๑๗] เม่ือจะถือเอาการวินิจฉัยท่ีควรถือเอา แม้ ในอรรถกถามที่มาทั้งหลาย แล้วยังท่านผู้มีป๎ญญาเห็นประจักษ์ท้ังหลาย ให้ยินดีอยู่จัก ประกาศเฉพาะเนือ้ ความ [๑๘] ก็เพราะเหตุที่เร่ืองท้ังปวงนี้ คือกัมมัฏฐานทั้งหมด จริยา อภิญญา และวิป๎สสนา ข้าพเจ้า [พระพุทธโฆสาจารย์] ได้ประกาศไว้แล้วในปกรณ์วิเส สช่อื วสิ ุทธิมรรค [๑๙] ฉะนน้ั ข้าพเจา้ [พระพุทธโฆสาจารย์] จงึ ไม่ถือเอาเรื่องทั้งปวงน้ัน จากแบบแม้ทั้งหมด จักทําการพรรณาเนื้อความไปตามลําดับบทเท่านั้น [๒๐] เมื่อ ข้าพเจา้ [พระพทุ ธโฆสาจารย์] กลา่ วอยซู่ ่งึ พระอภิธรรมกถาน้อี ย่างนี้ ขอสาธุชนท้ังหลาย จงไม่ฟูงุ ซา่ นแลว้ ตงั้ ใจฟง๎ เพราะวา่ กถานห้ี าไดโ้ ดยยาก [๒] ประโยชน์ของการอยู่โคนต้นไม้ ท่านแสดงประโยชน์ของการอยู่โคน ตน้ ไม้ ๑๐ ประการ ดังตอ่ ไปน้ี๔๕๕ - เข้าไปอยไู่ ดท้ ันที ไมต่ อ้ งทาํ อะไรมาก - ไม่ตอ้ งป๎ดตอ้ งกวาด - ไมต่ ้องมใี ครมาปลกุ ให้ตื่น - ปอู งกนั มใิ หก้ ระทาํ เร่ืองน่าละอาย หรอื น่าติเตียน ๔๕๕ อภิ.ส.อ. [ไทย] ๑/๗๖.

๕๖๒ - รา่ งกายไมม่ คี วามรูส้ ึกเหมือนอยู่กลางแจง้ - ไม่ตอ้ งจับจอง - ตัดความอาลยั ในเรือนเสยี ได้ - ไม่มีใครมาไลอ่ อก - ผู้อยู่ก็เกิดปตี ิยินดี - ไม่มีความหว่ งใยในเมอ่ื ต้องจากไป [๓] จดุ มุง่ หมายของการถาม ๕ ประการ๔๕๖ - อทฏิ ฐฺ โชตนาปุจฉา ถามเพื่อทําให้ชัดในส่ิงที่ยังไม่เคยเห็น คือ โดยปกติ ลักษณะใดที่ตนยังไม่รู้ ยังไม่เห็น ยังไม่ได้เปรียบเทียบ ยังไม่ได้พิจารณา ยังมิได้ทําให้ กระจา่ ง ยังมไิ ด้ทําให้แจ่มแจ้ง ก็ถามเพื่อรู้ เพ่ือเห็น เพ่ือเปรียบเทียบ เพ่ือพิจารณา เพื่อ ทําให้กระจา่ ง เพ่อื ทาํ ให้แจ่มแจง้ - ทฏิ ฐสสนทฺ นาปุจฉา ถามเพือ่ เทียบเคียงสง่ิ ทเ่ี คยเหน็ มาแล้ว คือ ตามปกติ บคุ คลรเู้ ห็น เปรยี บเทยี บ พิจารณา ทําให้กระจ่าง ทําให้แจ่มแจ้งลักษณะแล้ว เขาก็ถาม ป๎ญหาเพื่อเปรยี บเทยี บลกั ษณะนน้ั กับบัณฑิตเหล่าอน่ื - วมิ ตจิ ฺเฉทนาปุจฉฺ า ถามเพื่อตัดความสงสัย คือ ตามปกติ บุคคลย่อมเป๐น ผู้แล่นไปสู่ความสงสัย ความเคลือบแคลง เกิดความคิดเป๐น ๒ แง่ว่า เป๐นอย่างน้ีหรือไม่ หนอ เปน๐ อะไรหรอื เปน๐ อยา่ งไรหนอ - อนุมติปุจฺฉา ถามเพ่ือให้มีความเห็นคล้อย คือ ตามปกติ ในการช้ีแจง อธิบายความ เพื่อนําไปสู่ความเข้าใจอย่างใดอย่างหน่ึง ผู้ชี้แจง หรือผู้อธิบายอาจถาม ความเห็นผู้ฟ๎งว่า เห็นอย่างไร เช่น พระพุทธเจ้าแสดงเร่ืองเรื่องอนัตตา ก็ตรัสถามภิกษุ ทงั้ หลายวา่ รูปเท่ยี งหรือไม่เท่ียง เม่ือได้คําตอบแล้วก็ทรงถามต่อว่า ส่ิงท่ีไม่เที่ยงเป๐นสุข หรือว่าเปน๐ ทกุ ข์ เม่ือไดค้ าํ ตอบแลว้ ก็ทรงถามต่ออกี ว่า สิ่งใดก็ตามท่ีไม่เท่ียง เป๐นทุกข์ ส่ิง นั้นควรเป๐นอตั ตา หรืออนัตตา เปน๐ ตน้ - กเถตกุ มฺยตาปจุ ฉา ถามเพ่ือมงุ่ ชี้แจง เป๐นคําถามท่ีผู้ถามปรารภข้ึน เพื่อ ยกเป๐นเหตใุ นการแสดง เช่น พระดํารัสตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า สติป๎ฏฐาน ๔ เป๐นไฉน จากนัน้ ก็ทรงแจงแจง และอธิบายสติปฏ๎ ฐาน ๔ แต่หัวขอ้ จนจบเทศนา [๔] ตัวอยา่ งกรรมบถและเกณฑ์การตัดสนิ ความขาดแห่งกรรมบถ๔๕๗ ๔๕๖ อภิ.ส.อ. [ไทย] ๑/๑๗๑-๑๗๕. ๔๕๗ อภ.ิ ส.อ. [ไทย] ๑//๒๔๙-๒๕๐.

๕๖๓ สว่ นท่ชี ่อื ว่าอกุศลกรรมบถน้ี มี ๑๐ ประการ คือ ๑] การฆ่าสัตว์ ๒] การลัก ทรัพย์ ๓] การประพฤติผิดในกาม ๔] การพูดเท็จ ๕] การพูดส่อเสียด ๖] การพูดคํา หยาบ ๗] การพูดเพ้อเจ้อ ๘] ความเพ่งเล็งอยากได้ของเขา ๙] ความคิดร้าย และ ๑๐] ความเห็นผดิ บรรดาอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนั้น การทําสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไ ช่ือว่า การฆ่าสัตว์ [ปาณาตปิ าโต] มีคาํ ท่ีท่านอธิบายไวด้ งั นี้ “การฆ่าสัตว์ที่มีชีวิต คือการทําลาย สัตว์ท่ีมีชีวิต ก็คําว่า สัตว์ [ปาโณ] ในคําน้ีว่า การฆ่าสัตว์ โดยโวหาร ได้แก่สัตว์ โดย ปรมัตถ์ ได้แก่ชีวิตินทรีย์ ส่วนเจตนาเป๐นเหตุฆ่าของบุคคลผู้เข้าใจในสัตว์มีชีวิตว่าเป๐น สัตวม์ ีชวี ิต อันเปน๐ เหตเุ กดิ แหง่ ความพยายามในอนั เข้าไปตัดชีวิตินทรีย์ ที่เป๐นไปในทวาร ทางใดทางหนึ่ง บรรดากายทวารและวจีทวาร ช่ือว่าปาณาติบาต บัณฑิตพึงทราบว่า “บรรดาสตั วม์ ีชีวติ ทัง้ หลาย มีสตั ว์เดร้จฉานเป๐นต้นท่ีเว้นจากคุณ ปาณาติบาตน้ันช่ือว่ามี โทษนอ้ ย ในเพราะสัตว์มีชีวติ ตวั เล็ก ชื่อวา่ มีโทษมาก ในเพราะสตั ว์มีชีวติ ตัวใหญ่ ถามว่า เพราะเหตไุ ร ตอบวา่ เพราะมีปโยคะใหญ่ [มวี ิธกี ารมาก มีความพยายามมาก] แมเ้ มอ่ื มีปโยคะเสมอกัน บัณฑิตก็พึงทราบว่า ปาณาติบาทช่ือว่ามีโทษมาก เพราะวัตถุใหญ่ [เป๐นสัตว์ใหญ่] ช่ือว่ามีโทษน้อย ในเพราะสัตว์มีชีวิตมีคุณน้อย บรรดา สัตวม์ ีชีวิตมีมนุษยเ์ ปน๐ ต้นผ้มู ีคุณ ชอื่ ว่ามโี ทษมาก ในเพราะสัตวม์ คี ุณมาก ก็เมือ่ สรีระและ คุณภาวะเสมอกัน บัณฑิตก็พึงทราบว่า ปาณาติบาตชื่อว่ามีโทษน้อย เพราะกิเลลและ ความพยายามอ่อน ชอ่ื ว่ามโี ทษมาก เพราะกิเลลและความพยายามแรงกล้า ปาณาติบาตน้ันมอี งค์ ๕ ประการ คอื ๑. ปาโณ สัตว์มีชีวิต ๒. ปาณสญฺญิตา รู้ว่าสัตว์มชี ีวิต ๓. วธกจติ ตฺ จติ คิดที่จะฆ่า ๔. อุปกกฺ โม มคี วามพยายามในการฆ่า ๕. เตน มรณ สตั วต์ ายเพราะความพยายามน้ัน ปโยคะ ความพยายามในการฆ่ามี ๖ ประการ คือ ๑. สาหตั ถิกประโยค ความพยายามดว้ ยมอื ของตน ๒. อาณัตติกประโยค ความพยายามใชใ้ หผ้ อู้ ืน่ ฆา่ ๓. นิสสคั คยิ ประโยค ความพยายามฆา่ ดว้ ยศัสตราทีป่ ล่อยไป ๔. ถาวรประโยค ความพยายามฆ่าด้วยเครอื่ งมอื ทอ่ี ยู่กับที่ ๕. วิชชามยประโยค ความพยายามฆ่าด้วยอาํ นาจฤทธิ์ ๖. อิทธมิ ยประโยค ความพยายามฆ่าด้วยฤทธิ์

๕๖๔ [๕] การอธบิ ายความหมายอุเบกขา๔๕๘ ในคําน้ีว่า มีอุเบกขา [อุเปกฺโข จ วิหรติ] มีวิเคราะห์ว่า ธรรมชาติใดย่อม เพง่ โดยเหมาะ อธิบายวา่ ย่อมเห็นอย่างสมา่ํ เสมอ คอื เหน็ ไม่ตกไปในฝุายไหนเลย เพราะ เหตุนน้ั ธรรมขาตนิ ัน้ ชอ่ื วา่ ผู้เพง่ โดยเหมาะ [อเุ ปกขา] บคุ คลผู้พร่ังพร้อมด้วยฌานที่ ๓ พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่า มีอุเปกขา [อุเปกโข] เพราะประกอบด้วยอุเบกขานั้น ท่ี ผอ่ งใส ไพบูลย์ ถงึ ความกี ําลังแลว้ กอ็ ุเบกขามี ๑๐ ประการ คอื ๑. ฉฬังคเุ บกขา อเุ บกขามอี งค์ ๖ อเุ บกขาใดเป๐นอาการท่ไี ม่ละความปกติภาพอันบริสุทธิ์ในคลองแห่งอารมณ์ ๖ ทัง้ ท่เี ปน๐ อิฏฐารมณแ์ ละอนิฏฐารมณใ์ นทวารทั้ง ๖ ของพระขีณาสพ ซึ่งมาแล้วอย่างนี้ ว่า “ภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นรูปทางตาแล้วไม่ดีใจ ไม่เสียใจ มีอุเบกขา มี สตสิ ัมปชัญญะอยู่” ๒. พรหมวหิ ารุเบกขา อุเบกขาคอื พรหมวิหาร อเุ บกขาใด เปน๐ อาการที่วางตนเป๐นกลางในสัตว์ท้ังหลาย ซ่ึงมาแล้วอย่างนี้ วา่ “ภกิ ษมุ ใี จ สหรคตด้วยอุเบกขา แผน่ ไปตลอดทศิ หน่ึงอยู่” ๓. โพชฌังคเุ บกขา อเุ บกขาคอื โพชฌงค์ อุเบขาใด มอี าการท่ีเปน๐ กลางของสหชาตธรรมทง้ั หลาย ซึง่ มาแลว้ อย่างนี้ว่า “ภกิ ษเุ จรญิ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ท่ีอาศยั วเิ วก” ๔. วริ ยิ เุ บกขา อเุ บกขาคือวริ ยิ ะ อุเบกขาคือความเพียรท่ีไม่ปรารภเกินไปและไม่หย่อนเกินไปใด ซ่ึงมาแล้ว อย่างนี้ว่า “ภิกษุใฝุใจอุเบกขานมิ ติ ตามกาลอนั ควร” ๕. สังขารุเบกขา อเุ บกขาคือสังขาร อุเบขาในตั้งมั่นดีในการพิจารณาสภาวธรรมมีนิวรณ์เป๐นต้น มีอากรเป๐น กลางในการยึดถือซึง่ มาแลว้ อย่างนว้ี ่า “สังขารเุ บกขาเท่าไร เกิดขึ้นด้วยอํานาจสมถะ สัง ขารุเบกขาเท่าไรเกิดข้ึนด้วยอํานวจวิป๎สสนา สังขารุเบกขา ๘ ประการ เกิดข้ึนด้วย อาํ นาจสมถะ สงั ขารุเบกขา ๑๐ ประการ เกิดขึน้ ดว้ ยอาํ นาจวปิ ๎สสนา” ๖. เวทนเุ บกขา อุเบกขาคือเวทนา อุเบกขาใดท่ีเข้าใจกันวา่ ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุข ซ่ึงมาแล้วอย่างนี้ว่า “ในสมัยใด จิตท่เี ปน๐ กามาวจรซ่งึ เป๐นกศุ ล สหรคตด้วยอุเบกขา กเ็ กดิ ขน้ึ ” ๔๕๘ อภ.ิ ส.อ. [ไทย] ๑/๑๖๓/๓๘๗-๓๘๙.

๕๖๕ ๗. วิปัสสนเุ บกขา อเุ บกขาคือวิปส๎ สนา อุเบกขาใด เป๐นกลางในการค้นหา ซ่ึงมาแล้วอย่างน้ีว่า “ส่ิงใดมีอยู่ ส่ิงใด เป๐นแลว้ ภกิ ษุละสง่ิ น้ัน ยอ่ มได้อุเบกขา” ๘. ตตั รมัชฌัตตเุ บกขา อุเบกขาคืออัตตรมัชฌตั ตเุ บกขา อุเบกขาใดเป๐นสภาวะที่นําสหชาติธรรมทั้งหลายไปอย่างสมํ่าเสมอ ซ่ึง มาแล้วในเปน๐ เยวาปนกะท้ังหลายมีฉนั ทะเป๐นตน้ ๙. ฌานุเบกขา อเุ บกขาคือฌาน อเุ บกขาใด ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความตกไปเปน๐ ฝก๎ เป๐นใฝุในฌานท่ี ๓ น้ัน แม้ท่ีมีสุข อนั เลศิ ซ่ึงมาแลว้ อยา่ งนี้วา่ “ผู้มอี ุเบกขาอยู่” ๑๐.ปารสิ ุทธอิ ุเบกขา อเุ บกขาคือปารสิ ุทธิ อุเบกขาใด บริสุทธิ์จากธรรมที่เป๐นข้าศึกท้ังปวง ไม่มีความขวนขวายแม้ใน การท่ีจะปรารถนาสภาวธรรมที่เป๐นข้าศึกษให้สงบราบาคาบ ซ่ึงมาแล้วอย่างนี้ว่า “เขา้ ฌานท่ี ๔ ที่มสี ตบิ รสิ ทุ ธิ์เพราะอเุ บกขาอยู่”

๕๖๖ บรรณานุกรม ก. หนังสอื กรมศลิ ปากร.ชนิ มหานทิ าน เลม่ ๑ ภาคภาษาบาลี. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ บุคคล สหประชาพานชิ ย,์ ๒๕๓๐. __________. ชินมหานทิ าน เลม่ ๒ ภาคภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: หา้ งหุ้นสว่ นสามัญนิติ บคุ คล สหประชาพานชิ ย์, ๒๕๓๐. __________.ไตรภมู ิกถา พระราชนิพนธ์ พญาลไิ ทย, กรมศิลปากร จัดพิมพ์เผยแพร่ใน การจัดกิจกรรมและการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง คตไิ ตรภมู ิ: อิทธพิ ลตอ่ วิถี สงั คมไทย ๒๘-๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕. __________. พระคัมภรี ถ์ ูปวงศ์ ตานานวา่ ด้วยการสร้างพระสถปู เจดีย์. พิมพเ์ ปน๐ อนุสรณง์ านพระราชทานเพลิงศพ นางอนุ ทองไข่มกุ ข์ ๒๗ มนี าคม ๒๕๑๑. __________. คัมภรี ท์ ีปวงศ์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร จัดพิมพ์, ๒๕๕๗. เจ้าฟูาธรรมธเิ บศ. พระมาลยั คาหลวง. พิมพ์เป๐นอนสุ รณง์ านฌาปนกิจศพ นางเจียน ผดงุ เกยี รติ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๐๙. ประภาส สุระเสน, ผู้แปล. พระคัมภรี อ์ นาคตวงศ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พส์ ุรวฒั น์, ๒๕๔๐. ประสิทธิ แสงทับ. ผ้แู ปล. อรุณวดีสูตร: วา่ ดว้ ยกาเนิดจักรวาลและภูมิตา่ งๆ.กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมประวัตศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๓. พระคันธสาราภวิ งศ์ ผู้แปล/อธิบาย. เนตตปิ กรณ.์ ลําปาง: วดั ท่ามะโอ, ๒๕๕๐. ______________. ผ้แู ปล. เตลกฏาคาถา. กรุงเทพฯ: บริษัท สแควรป์ ริ๊นซ์ ๙๓ จาํ กดั , ๒๕๕๕. ______________. สุโพธาลังการมัญชี. กรงุ เทพฯ: หจก.ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๖. พระธรรมกิตติ. คัมภีร์ทาฐาธาตวุ งศ,์ สวาท เหลา่ อุด ปรวิ รรตและแปล. กรงุ เทพฯ: ธีร พงษ์การพมิ พ์. ๒๕๔๔. พระนนั ทป๎ญญาจารย์. จฬู คันถวงศ.์ สริ ิ เพช็ รไชย ผแู้ ปล. กรงุ เทพฯ: มลู นธิ อิ ภิธรรม มหาธาตุวิทยาลัย, ๒๕๔๖. พระป๎ญญาสามี. ศาสนวงศ,์ แสง มนวทิ รู ผู้แปล. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๐๕. พระภิกษุพรหมราชปญ๎ ญา. รัตนพมิ พวงศ,์ พระยาปริยตั ธิ รรมธาดา [แพ ตาละลักษณ์] ผู้แปล. ธนบรุ :ี สหกาฬการพิมพ์ จํากดั , ๒๕๑๒. พระพิมลธรรม. พงษาวดารกรุงศรีอยุธยา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พไ์ ทย, ๒๔๕๙.

๕๖๗ พระพทุ ธโฆสาจารย์. กังชาวติ รณี คมั ภีรอ์ รรถกถาของปาตโิ มกข์ เล่ม ๑.พระคนั ธสา- ราภวิ งศ์ ผแู้ ปลและอธิบาย. กรุงเทพฯ: ประยรู สาส์นไทย การพิมพ,์ ๒๕๕๖. _______________. อรรถกถาภาษาไทย พระวินยั ปฎิ ก กังขาวติ รณีอรรถกถา, ฉบบั มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _______________. อัฏฐสาลินี. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้แปล. กรุงเทพฯ: โรง พมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๐. _______________. ปปัญจสทู นี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลยั , ๒๕๕๒. _______________. คมั ภีร์วสิ ทุ ธิมรรค. สมเด็จพระพฒุ าจารย์ แปล. [Taiwan: The Corporate Budy of The Buddha Ecucational Foundation,๒๕๔๘. พระพุทธทตั ตเถระ. อภธิ ัมมาวตาร. พระคันธสาราภิวงศ์ ผแู้ ปลและอธิบาย. กรงุ เทพฯ: ไทยรายวันการพมิ พ์, ๒๕๔๙. พระพุทธรักขติ ะ. ชินาลงั การ. พระคนั ธสาราภวิ งศ์ ผแู้ ปล. ลําปาง: ห้างหนุ้ สว่ นจาํ กดั ประยูรสาส์นไทย การพมิ พ์, ๒๕๕๒. พระพุทธรกั ขติ เถระ. ชินาลงั การฎีกา.ผศ.รงั ษี สทุ นต์ และคณะผ้แู ปล. กรงุ เทพฯ: มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘. พระพทุ ธพกุ ามและพระพทุ ธญาณ. ตานานมลู ศาสนา. พมิ พพ์ ระราชทานในงาน พระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๑๔. พระพุทธปั ปยิ ะ.ปัชชมธุ. พระคันธสาราภิงศ์ ผแู้ ปล. กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพมิ พ์, ๒๕๕๐. พระโพธริ งั ษี, จามเทวีวงศ,์ พระยาปริยัติธรรมธาดา ผูแ้ ปล. พมิ พใ์ นงานปลงศพ เจา้ ทพิ เนตร อินทวโรรสสรุ ยิ วงศ์, ๒๔๖๓. พระมหากจั จายนะ. เปฏโกปเทสปกรณ์ ฉบบั ภมู พิ โลภิกขุ. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพม์ ูลนิธิ ภูมิพโลภิกข,ุ ๒๕๕๘. พระยสะ. กัจจายนสารมัญชรี. พระคนั ธสาราภวิ งศ์ ผแู้ ปล. ลําปาง: วัดท่ามะโอ, ๒๕๔๒. พระยาธรรมปรีชา [แก้ว]. ไตรภมู โิ ลกวนิ ิจฉยั . พมิ พใ์ นงานฌานปกิจศพนายทองสุข กาญจนพันธุ์ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๑. พระรตั นปญ๎ ญาเถระ. ชนิ กาลมาลีปกรณ์. ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวิฑูร ผู้แปล, กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.

๕๖๘ พระราชวสิ ทุ ธโิ สภณ [วลิ าศ ญาณวโร].กรรมทปี นี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พฆิ เนศ, ๒๕๒๐. พระสังฆรกั ขิตมหาสามิเถระ. คมั ภรี ์สโุ พธาลงั การนสิ สยะ. สงขลา: วัดหาดใหญส่ ิตาราม, ๒๕๔๓. พระสัทธรรมโฆษเถระ. โลกบญั ญัติ. หอสมดุ แห่งชาติ ตรวจ/ชําระ. กรุงเทพฯ: กรม ศลิ ปากร จัดพมิ พ์เผยแพร่ พ.ศ.๒๕๒๘. พระสริ ิมงั คลาจารย์. จักกวาฬทีปนี. กรงุ เทพมหานคร: กรมศิลปากร จัดพิมพ์, ๒๕๒๓. พระสริ ริ ตั นปญ๎ ญาเถระ. พระคมั ภีร์วชริ สารตั ถสงั คหะ, นาวาเอก [พเิ ศษ] แย้ม ประพัฒนท์ อง. กรงุ เทพฯ: เป๑ยี มศลิ ป์ กราฟฟคิ อาร์ต, ๒๕๕๖. พระศรีวิสทุ ธิโสภณ [วลิ าศ ญาณวโร]. โลกทีปนี. นครหลวง: ห้างหุ้นส่วนจาํ กดั โรงพิมพ์ อกั ษรไทย, ๒๕๑๕. พระอรยิ วงั สะ. คันถาภรณมัญชรี.พระมหาสมลักษณ์ คนฺธสาโร,ผแู้ ปล. ลาํ ปาง: วัดทา่ มะโอ จดั พมิ พเ์ ผยแพร,่ ๒๕๔๑. พระอดุ มมังคลเถระ.จนั ทสรุ ยิ คติทีปนี. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร จดั พมิ พ์, ๒๕ พระอตุ มรามเถระ. จกั รทีปนี. เทพย์ สารกิ บุตร์ เรยี บเรยี ง. อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๔๙๖. พระอุปตสิ สเถระ. วมิ ตุ ติมรรค, พระราชวรมุนี [ประยูร ธมมฺ จิตโฺ ต] และคณะ ผู้แปล. . กรงุ เทพฯ: สํานักพมิ พศ์ ยาม, ๒๕๔๑. พรพรรณ ธารานุมาศ.วรรณคดที ่เี กีย่ วกบั พระพุทธศาสนา. อนุสรณ์งานฌาปนกจิ ศพ คณุ แม่เสง่ยี ม มหธั นกุล. วันเสาร์ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๑๕. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย ชาดก. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๗. ________________. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขทุ ทกนิกายธรรมบท ภาค ๑. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๖. _______________.อรรถกถาภาษาไทย สุตตันตปิฎก ขทุ ทกนิกายา อิติวุตตกะ, กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๖. ________________. อรรถกถาภาษาไทย สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย สุตตนบิ าต ปรมตั ถโชติกา ภาค ๑ , [กรงุ เทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ,๒๕๕๗. _______________. อรรถกถาภาษาไทย สตุ ตันตปิฎก ขุททกนกิ าย เถรคาถา ปรมัตถทปี นี ภาค ๑ . กรงุ เทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗. _______________.อรรถกถาภาษาไทย พระอภธิ รรมปฎิ ก ปญั จปกรณ์. กรุงเทพฯ:

๕๖๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. _________________. สมนั ตปาสาทกิ า แปล ภาค ๑. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐. _________________. อรรถกถาภาษาไทย พระอภิธรรมปฎิ ก สมั โมหวิโนทนี. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐. _________________.อรรถกถาภาษาไทยพระสตุ ตันตปฎิ ก สังยตุ ตนิกาย สคาถวคั ค วัณณนา สารัตถปั ปกาสินี ภาค ๑. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓. ________________. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปฎิ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค. กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗. _______________. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตนั ตปิฎก ขุททนกิ าย อปทาน ภาค ๑. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _______________. อรรถกถาภาษาไทย พระสตุ ตนั ตปิฎก ขุททนกิ าย พุทธวงศ์. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓. ________________. อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก อังคตุ ตรนิกาย. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓. มหามกฏุ ราชวิทยาลัย มิลินทปัญหา.[พมิ พ์พระราชทานในงานพระศพ สมเดจ็ พระอริย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช [จวน อฏุ ฐายี] ณ พระเมรวุ ดั เทพสิรนิ ทรา วาส ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๑๕. _______________. มงั คลัตถทีปนี แปล ภาค ๑. กรุงเทพฯ: มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๔๘๑. มูลนิธภิ มู พิ โลภกิ ขุ, ผ้แู ปล. เนตติปกรณ์ บาลี-ไทย. โครงการปรวิ รรตอกั ษรขอมและ อกั ษรโบราณท้องถน่ิ ชาํ ระและแปลพระคัมภีรท์ างพระพทุ ธศาสนาเปน๐ ภาษาไทย, ๒๕๕๔. แมช่ ีวมิ ตุ ตยิ า [สภุ าพรรณ ณ บางช้าง]. จักกวาฬทปี น:ี ลักษณะเดน่ ภูมิปัญญา และ คณุ ค่า. กรุงเทพฯ : สํานกั งานกองทุนสนับสนนุ งานวิจยั , ๒๕๕๔. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน , ๒๕๕๖. สทิ ธารถะ พทุ ธรักขติ . สยามูปทสัมปทา. นันทนา สตุ กุล ผแู้ ปล. พิมพ์ในงานฌาปนกิจ ศพ นางยม้ิ บวั ทรพั ย์. พระนคร: มติ รนราการพิมพ์, ๒๕๐๙. สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชติ ชโิ นรส. จักรทปี นี. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลง

๕๗๐ กรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๔. ______________. พระปฐมสมโพธิกถา. คณะสงฆ์วัดพระเชตพุ นพมิ พ์โดยเสด็จพระ ราชกุศล ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ พล.ต.อ.พิชัย กุลละวณิชย์ ๙ มนี าคม ๒๕๓๗. สมเดจ็ พระวนั รัต. สงั คตี ยิ วงศ.์ พระยาปริยัตธิ รรมธาดา [แพ ตาลลักษมณ] ผู้แปล. คณะสงฆ์วดั พระเชตพุ น จดั พิมพ์โดยเสดจ็ พระราชกศุ ลในงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระอบุ าลคี ณุ ูปมาจารย์ ๑ เมษายน ๒๕๒๑. ข.งานวิจัย กวี แสงมณี.อรณุ วดสี ตู ร: การตรวจชาระ และการศกึ ษาเชิงวิเคราะห์. วทิ ยานพิ นธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บณั ฑติ วทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ,๒๕๒๓. เกรยี งศักด์ิ ไทยคุรพุ ันธ์. โลกปั ปท์ ีปกสารปริจเฉทท่ี ๑ และ ๒: การตรวจชาระและ การศกึ ษาเชิงวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ แผนวิชกภาษา ตะวนั ออก บณั ฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๒. ทองคาํ สธุ รรม. การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวเิ คราะห์คมั ภีร์โลกสัณฐาน โชตรตนคณั ฐี, วิทยานิพนธอ์ ักษรศาสตรมหาบณั ฑติ ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก, บณั ฑติ วิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๓๓. ธรี โชติ เกิดแกว้ . มิลินทปัญหาฎีกา: การตรวจชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์. วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา. บัณฑิต วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. นพพร เคลา้ ดี. จกั กวาฬทีปนี กัณฑ์ที่ ๖: การตรวจชาระและการศกึ ษาเชิงวิเคราะห์. วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก [บณั ฑิต วิทยาลยั : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๒๓. นยิ ดา เหล่าสุนทร. จันทสุรยิ คตทิ ปี นี. กระทรวงการต่างประเทศ จัดพิมพเ์ ผยแพร่ใน โอกาสครบรอบความสมพันธ์ ๖๕ ปี ระหวง่ ไทย-เมยี นมาร์, ๒๕๖๐. เนทิษ รจุ ิรรจุ นะ. การศกึ ษาเชิงวเิ คราะหค์ ัมภรี ว์ ังสมาลินี. วิทยานพิ นธอ์ ักษรศาสตร มหาบณั ฑิต ภาควชิ าภาษาตะวันออก. บัณฑติ วิทยาลยั : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๒. ประเสรฐิ ใจกล้า, โลกปั ปท์ ีปกสารปรจิ เฉทที่ ๘: การตรวจชาระและการศกึ ษาเชิง วเิ คราะห์. วิทยานิพนธอ์ กั ษรศาสตรมหาบณั ฑิต แผนวชิ กภาษาตะวันออก

๕๗๑ บณั ฑิตวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๗. ปริทัศน์ ศรีรัตนาลยั . โลกัปป์ทปี กสารปริจเฉทที่ ๓ และที่ ๔: การตรวจชาระและ การศึกษาเชงิ วิเคราะห์. วิทยานิพนธอ์ กั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนวิชกภาษา ตะวันออก บณั ฑิตวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๓. บาลี พุทธรกั ษา. จักกวาฬทีปนี กณั ฑ์ที่ ๕. วทิ ยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวันออก บัณฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓. บุญจันทร์ ทพิ ชัย. “การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวเิ คราะหค์ ัมภรี ์ปรติ ต สงั เขป”, วทิ ยานิพนธอ์ ักษรศาสตรมหาบัณฑติ , ภาควิชาภาษาตะวนั ออก, บณั ฑิตวิทยาลัย: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๓. บุญหนา สอนใจ.“สงั ขยาปกาสกปกรณแ์ ละฎกี า: การตรวจชาระและการศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์”. วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณพติ ภาควชิ าภาษาตะวันออก บัณฑิตวทิ ยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๒๓. ผ่าน วงษ์อ้วน. คัมภรี อ์ นาคตวงศ์ อเุ ทศที่ ๑-๑๐: การตรวจชาระและศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์. วิทยานพิ นธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวนั ออก บัณฑติ วทิ ยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๒. พระมหาจรญั อตุ ฺตมธมโฺ ม [บวั ชกู ้าน]. “นมกั การฎกี า: แปลและศึกษาวิเคราะห์”. วิทยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา. บณั ฑิต วิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. พระมหาพรอ้ มเพรยี ง ภูรญิ าโณ [เสารส์ ูงเนิน]. โยชนามลู กัจจายนะ ปริจเฉทท่ี ๑-๒ [สนธิ-นาม]: การตรวจชาระและศึกษา. วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าบาลี. บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. พระมหาภริ ฐั กรณ์ อสํ มุ าลี [พนั นาวา]. มาลัยยวตั ถุทปี นีฎกี า: การตรวจชาระและ ศกึ ษาวิเคราะห์. วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาบาลี. บัณฑิต วิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. พระมหาวริ ตั น์ รตนญาโณ [ณศุ รจี ันทร์]. สัทธัมมสงั คหะ: การตรวจชาระและศกึ ษา, วิทยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบาลี. บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๙. พระมหาวชิ าญ กนตฺ สาโร [มาบ้านไร่]. โลกเนยยปกรณ:์ การตรวจชาระและศึกษา. วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาบาลี, บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาจฬุ า ลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๘.

๕๗๒ พระมหาสรุ พล สงิ คริ ตั น์. “ปฐมสมโพธิ ปรจิ เฉทที่ ๑-๗: การตรวจชาระและศกึ ษา วิเคราะห์”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลีสันสกฤต, บณั ฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๑. พระมหาสําราญ ธีรเมธี [เงินโสม]. มธุรสวาหินี ภาค ๑ [ ชมพูทวีป ] : การตรวจชาระ และศึกษา. วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี. บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๘. พระมหาอรรถเมธ อตถฺ วรเมธี [พฒั นพวงพันธ์]. การตรวจชาระคัมภีรอ์ เผคคุสารทีปนี จูฬฎีกา. วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าบาลี. บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘. พระมหาอดศิ ักดิ์ อภิปํฺโญ [คาํ ตลบ]. โยชนามูลกัจจายนะ ปรจิ เฉทท่ี ๓-๔ [การก- สมาส]: การตรวจชาระและศึกษา, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบาลี. บณั ฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๙. พระมหาอดุลย์ คนแรง. การศกึ ษาเชงิ วิเคราะหม์ ังคลัตถทีปนี. วทิ ยานิพนธศ์ ิลปศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาวิชาจารึกภาษาไทย. ภาควชิ าภาษาตะวันออก.บัณฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๑. พระมหาบรู ณะ ชาตเมโธ. วิสุทฺธิมัคคคณั ฐ:ี การชาระและการศึกษาวิเคราะห์. วิทยานพิ นธด์ ษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา. บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาจฬุ า ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๔. พระราชธรรมเมธี [วสิ ูติ ปํฺญาทีโป]. คาถาธรรมบท: นัยการศึกษาวเิ คราะห์. สาร นพิ นธ์พุทธศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์. บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐. มานติ ย์ ชาวโพธเิ์ อน. การศกึ ษาเชิงวเิ คราะห์คัมภรี ส์ ัมพนั ธจินดา. วิทยานพิ นธ์อกั ษร ศาสตรมหาบณั ฑิต ภาควิชาภาษาตะวนั ออก. บัณฑติ วทิ ยาลยั : จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. วรศกั ด์ิ ศรีบญุ .จักกวาฬทปี นี กัณฑ์ท่ี ๔. วิทยานพิ นธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาตะวนั ออก บณั ฑิตวิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๓. วัลลีย์ ภิงคารวฒั น์. ชินาลงั การ: การตรวจชาระและการศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์. วิทยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตรมหาบัณพิต แผนวชิ าภาษาตะวันออก, [บัณฑติ วิทยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๒๒.

๕๗๓ วาสน์ มุขยานวุ งศ์. การศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์คัมภีรช์ นิ จริต. วทิ ยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตรมหา บณั ฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก. บัณฑติ วทิ ยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๓๑. วิชัย กุลษาบาล. ทันตธาตนุ ธิ า: การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์น. วทิ ยานพิ นธอ์ กั ษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก. บัณฑติ วทิ ยาลัย: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๖. วิโรจน์ คุ้มครอง. คมั ภรี ์สตุ ตสังคหะ: การปรวิ รรต การแปล และการวเิ คราะห์, สถาบนั วิจยั พุทธศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙ สดุภณ จังกาจิตต์. จกั กวาฬทีปนี กัณฑ์ท่ี ๑-๒-๓. วิทยานิพนธอ์ กั ษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวชิ าภาษาตะวันออก บณั ฑติ วทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๐. สภุ าพร มากแจ้ง. มาเลยยฺ เทวตเฺ ถรวตถฺ ุ: การตรวจชาระและศกึ ษาเชงิ วเิ คราะห์. วิทยานิพนธอ์ กั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ แผนกวชิ าภาษาตะวนั ออก. บัณฑิต วิทยาลัย: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๑. สมพงษ์ ปรชี าจนิ ดาวฒุ ิ. การศึกษาเชิงวเิ คราะหเ์ ร่ืองโลกปุ ปตั ติ. วิทยานพิ นธ์อักษร ศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวนั ออก, บัณฑติ วิทยาลัย จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๘. อนันต์ เหลา่ เลิศวรกลุ . “ปฐมสมโพธิกถาภาษาไทยฉบบั สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรม พระปรมานชุ ิตชิโนรส: ความสัมพนั ธ์ดา้ นสารตั ถะกับวรรณกรรมพทุ ธประวตั ิ อื่น”.วิทยานิพนธอ์ ักษรศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาภาษาไทย, (บัณฑติ วทิ ยาลัย: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. อญั ชลี ป๑ีนรอด. คมั ภีรพ์ ระพทุ ธบาทมงคล: การตรวจชาระและการศึกษาเชิง วิเคราะห์. วิทยานิพนธอ์ ักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก, บณั ฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕. อรอนงค์ พดั พาดี. “พระนิพนธ์ประเภทคาหลวงของเจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร”. วิทยานพิ นธ์ อักษรศาสตรมหาบณั ฑิต แผนวิชาภาษาไทย. บัณฑิตวทิ ยาลยั : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๑. ค.บทความทางวชิ าการ/ รุ่งโรจน์ ภิรมยอ์ นกุ ูล, การตรวจชาระคัมภรี ์ปัญจคตทิ ปี นี, วารสารรวมบทความวชิ าการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศิลปากร ฉบับประจําเดอื น ก.ค.-ธ.ค.๕๐ ปีท่ี ๖ ฉบบั ที่ ๒.

๕๗๔ ง. ออนน์ไลน์ “ไทเซน”, ธรรมะวถิ ไี ทยเซน มหาสารคาม, [ออนไลน์], แหลง่ ทีม่ า: http://oknation.nationtv.tv/blog/taimahayan/๒๐๐๙/๐๘/๒๕/entry-๑ [๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒]. “ไตรภมู ิกถาฉบับถอดความ”, [ออนไลน]์ , แหลง่ ที่มา: https://vajirayana.org/ไตรภมู กถาฉบับถอดความ/บทท่ี-๑-แดนนรก/นรกใหญ่ [๑๐ กันยายน ๒๕๖๒] “โวหาร” [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า: http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter ๕-๑๐.html [๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒]. อาจารยส์ ุภา พูนผล. “แบบสรปุ ข้อมูลจากการอบรมหรอื สมั มนาทางวชิ าการ” [ออนไลน]์ , แหล่งทมี่ า: http://arts.payap.ac.th/artsit/attachments/ ๒๒๘_Tripoom_.pdf

๕๗๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook