Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Published by panyawat_mcu_br, 2022-03-20 05:00:53

Description: ลำดับที่ 6 สารานุกรมวรรณพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๑๕๐ หนังสือจามเทวีวงศ์และชินกาลมาลินี [พ.ศ.๒๐๕๙] เพราะเน้ือหาบางแห่งดูเหมือน ดัดแปลงจากตํานานมูลศาสนา รูปแบบการประพันธ์เป๐นคัชชะ คือร้อยแก้ว เน้ือหาใน หนังสือว่าด้วยประวัติพระพุทธศาสนานับตั้งแต่พระพุทธเจ้าของเราเมื่อแรกปรารถนา พุทธภูมิเป๐นต้นมา จนถึงเนื้อหาว่าด้วยอันตรธาน ๕ ประการ นอกจากน้ียังแทรก เรือ่ งราวทางประวตั ศิ าสตร์ กิจการบ้านเมือง และความเป๐นไปของประชาชนในดินแดน สวุ รรณภูมิสมัยโบราณไวอ้ ีกดว้ ย จึงนบั เปน๐ ปกรณส์ าํ คัญสําหรับผู้สนใจ สาระในหนังสือ ตามรายละเอียดในสารบัญ ประมวลเท่าที่น่าสนใจมาพอ สังเขปดงั น้ี พระพทุ ธเจ้าของเราเมื่อแรกปรารถนาพทุ ธภูมิ ความเป๐นมาก่อนภัททกัปป์ ลาํ ดับราชวงศ์พระยามหาสมมติ โกลาหล ๓ ปุพพนมิ ิตร ๕ อาการ ๕ เร่มิ ตน้ พทุ ธประวตั ิ สังเขปตาํ นานศาสนวงศ์ภายหลังพุทธกาล มลู เหตสุ งั คายนา ปฐม-ทุติยะ-ตติยสังคายนา พระราชประวัติพระเจา้ อโศก พระพุทธศาสนามารงุ่ เรอื งในสมันตเมอื งพิง วาสุเทวฤษีเนรมติ มิคสังครนคร พระยากุนาลรสสี ร้างอมรปรุ นคร วาสุเทวฤษแี ละสุกกทนั ตฤษสี รา้ งเมืองลพนุ นางจามเทวไี ปครองเมืองลพุน เจา้ เมอื งหรภิ ุญไชยทาํ ศึกกับเจ้าเมืองละโว้ พระยากมั โพชรบเมืองหรภิ ุญไชย พระยาอาทิตตราชกบั มเหษสี ร้างสวุ รรณเจดี ย์ พระยามงั ราย เมอื งเชยี งราย วางไสศ้ ึกษในเมืองหรภิ ญุ ไชย พระยามังรายสรา้ งเมอื งเชยี งใหม่ รับลัทธิลังกาวงศ์มายังเมืองพนั สํานักสงฆ์สุโขทยั รบั ลัทธลิ งั กาวงศ์

๑๕๑ พระปยิ ทสั สีนําลัทธลิ ังกาวงศ์ไปเผยแผใ่ นอยุธยา เชยี งใหม่รับลัทธิลังกาวงศ์ พยากรณ์ศาสนวงศ์ อนั ตรธาน ๕ ฯลฯ ตวั อยา่ งเนอื้ หาคาประพันธ์ ตอนว่าด้วยพระพทุ ธเจา้ ของเราเม่อื แรกปรารถนาพุทธภูมิ ครั้งเมื่อพระโคดมเจ้าของเรา สร้างสมภารปรารถนาเป๐นพระพุทธเจ้าเป๐น เวลานานถงึ ๑๐ อสงไข ปลายแสนมหากัลป์ พระองค์ปรารถนาแต่ในใจ ๗ อสงไขยมหา กลั ป์ ปรารถนาด้วยวาจา ๔ อสงไขยมหากัลป์ ปรารถนาด้วยออกพระวาจาและด้วยใจ ๔ อสงไขยมหากัลป์ พระองค์ปรารถนาแตใ่ นใจ ๗ อสงไขยนั้นดังน้ี อสงไขยท้ังหลาย ๗ ท่ีกล่าว เบ้ืองต้นนัน้ คือ นันทะอสงไขย ๑ สุนันทะอสงไขย ๑ ปฐวีอสงไขย ๑ มัณฑะอสงไขย ๑ ธรณอี สงไขย ๑ สาครอสงไขย ๑ ปุณฑรกิ อสงไขย ๑ ท้งั ๗ น้ันนักปราชญ์แสดงว่าในนัน ทะอสงไขยนั้น มีพระพุทธเจ้าพระองคห์ น่ึงทรงพระนามวา่ พรหมเทโว มมี ลู อธบิ ายว่า ต่อแต่น้ันมาก็มีพระพุทธเจ้าตลอดมามิได้ขาด เหตุนั้น พระ โพธสิ ตั วเ์ จ้าของเรา จึงได้ปรารถนาแต่ในใจแท้ไซร้ แต่ศาสนาพระพุทธเจ้าตนชื่อว่าทีป๎ง กรเป๐นต้นมา ตราบเท่าถึงศาสนาของพระพุทธเจ้าตนชื่อว่าปทุมมุตตร พระโพธิสัตว์ เจ้าของเรา ได้ปรารถนาด้วยปากด้วยกาย และในระหว่างนี้อสงไขยสูญเสีย ๔ อสงไขย แตศ่ าสนาพระพทุ ธเจ้าตนชื่อปทุมุตตรมา ตราบเท่าถึงศาสนาของพระพุทธเจ้าตนช่ือว่า กุกกุสนธ์ ได้แสนมหากัลป์ อสงไขยท้ังหลายอันบ่ศูนย์นั้น ๑๖ อสงไขย อันศูนย์นั้น ๔ อสงไขยรวมทั้งมวลได้ ๒๐ อสงไขย ปลายแสนมหากัลป์ นักปราชญ์จึงกฎหมายถ้อยคํา อันนี้ อาศัยเป๐นมูลมา เหตุดังน้ัน พระพุทธเจ้าจึงเทศนาว่า พระโพธิสัตว์เจ้ากระทํา ปรารถนาด้วยปาก ๙ อสงไขย แต่พระพุทธเจ้าตนช่ือว่าโบราณสากยมุนี ให้พึงรู้ดังนี้ สัพพภัททะอสงไขย ๑ สัพพผุลละอสงไขย ๑ สัพพรัตนะอสงไขย ๑ อุสภขันธะอสงไขย ๑ มณภี ทั ทะอสงไขย ๑ ปทุมอสงไขย ๑ อสุ ภะอสงไขย ๑ ขธุตตะอสงไขย ๑ อสงไขยท้ัง มวลน้ีบ่ศูนย์สักอัน พระโพธิสัตว์เจ้าของเรา จึงได้กระทําปรารถนาด้วยปาก เพื่ออันส้ิน กัลป์อันมีภายหน้า แต่นั้นช่ือว่าสาครมัณฑะกัลป์ พระพุทธเจ้าทั้งหลายเกิดมา ๔ พระองค์ คอื ตณั หังกร ๑ เมธังกร ๑ สรณังกร ๑ ทีปง๎ กร ๑ ทัง้ ๔ พระองน้แี ท้ไซร้.... ๑๑๓ ๑๑๓ พระพุทธพกุ ามและพระพุทธญาณ, ตานานมูลศาสนา, หนา้ ๑

๑๕๒ ตอนว่าดว้ ยกาเนิดคน คร้ันมาในภัททกัลป์แห่งเราน้ี พรหมทั้งหลายก็ลงมาดูเห็นดอกบัวมีอยู่ใน ก้านเดยี วกนั ถงึ ห้าดอก ก็รู้ว่าพระพทุ ธเจ้ามาบงั เกิดถงึ ๕ พระองค์แท้ไซร้ พรหมทั้งหลาย ท่อี ย่ใู นชัน้ อาภสั สราแต่ก่อนน้ัน คร้ันจตุ ิด้วยสามารถสนิ้ บุญ กล็ งมาถือเอาปฏิสนธิเป๐นอุป ปาติกะ มีร่างกายสูงใหญ่ได้ ๑๐๐ โยชน์ และมีรัศมีรุ่งเรืองเช่นเดียวกับเมื่อยู่ในช้ันอา ภัสสรานั้น เม่ือมาได้ล้ิมรสแห่งดินแล้ว แสงสว่างแห่งรัศมีและฌานที่มีอยู่นั้นก็เสื่อม หายไปท้ังส้ิน ภัยแห่งความมืดก็บังเกิดขึ้นเป๐นท่ีน่ากลัวยิ่งนัก ครั้นน้ัน พระอาทิตย์ก็มี ปรมิ ณฑลอนกวา้ งใหญ่ถึง ๕๐ โยชนก์ บ็ ังเกิดขน้ั กําจัดอากาศอันน่ากลวั ไปเสียให้พ้นแล้ว ก็บังเกิดอากาศอันกล้าหาญปรากฎออกมา เมื่อพรหมท้ังหลายเห็นปริมณฑลแห่งพระ อาทิตย์ปรากฎออกมาดังน้ันก็มีความยินดีย่ิงนัก จึงกล่าวว่า เราทั้งหลายได้เห็นรัศมีอัน แจ้งคราวนี้ ท่านผู้น้ีมากําจัดภัยอันน่ากลัวไปเสียแล้ว ให้บังเกิดความกล้าหาญแก่เรา ฉะน้ัน เหตุนีท้ า่ นผู้นี้จงมีชื่อว่าสุริโยน้ันเถิด พรหมท้ังหลายจึงให้ชื่อพระอาทิตย์ว่าสริยะ น้ันแล ครั้นพระรัศมีแหงพระสุริยอาทิตย์ลับลงไปในทางทิศตะวันตกดังนั้น พรหม ท้ังหลายก็บังเกิดความกลัวขึ้น จึงกล่าวแก่กันว่า รัศมีอันเราได้เห็นน้ีหายไปเสียจากเรา แล้ว ถ้าหากว่ามีรัศมีอันอื่นบังเกิดแก่เราไซร้ เราทั้งหลายจักมีความยินดียิ่งนัก ในขณะ เม่ือพรหมเจรจากันอยู่น้ัน พระจันทร์มีปริมณฑลอันกว้างใหญ่ถึง ๔๙ โยชน์ก็ปรากฎ ออกมา พรหมทัง้ หลายเมื่อได้เห็นปริมณฑลแห่งพระจันทร์ก็มีความยินดีย่ิงนัก จึงกล่าว วา่ ทา่ นผ้นู จี้ งมชี ่อื ว่าจนั ทร์น้ันเถดิ โวหารคําว่าจันทร์นน้ั จึงเรยี กกันตอ่ มาเทา่ กาลบดั นีแ้ ล ในกาลเม่ือพระอาทิตย์และพระจันทร์บังเกิดมาคร้ังนั้น หมู่ดาวทั้งหลายก็ บังเกิดมาพร้อมกบั ด้วยพระจันทร์ สว่ นกลางวนั และกลางคนื และฤดูกาลท้ัง ๓ ก็บังเกิดมี แต่กาลนั้นมา เขาสิเนรแุ ละเขาสัตตภณั ฑ์ จกั รวาล นํ้าในมหาสมุทร ทวีปใหญ่ท้ัง ๔ และ ทวีปน้อย ๒,๐๐๐ ทวปี ปาุ หมิ พานต์ท้ังหลายเหลา่ นีก้ ็บงั เกดิ ขึ้นพรอ้ มกัน ไม่มีก่อนมีหลัง ในวันเพญ็ เดือน ๖ นัน้ แล แผ่นดนิ ใหญ่มีสัณฐานดุจข้าวต้มอันข้น เดือดอยู่ในเวลาท่ียกลงมาไว้ให้เย็น บางแห่งก็สูงกว่าเพ่ือน บางแห่งก็ต่ําๆ สูงๆ บางแห่งก็เป๐นบ่อลึกลงไป อันน้ีมีฉันใด พ้ืน แห่งแผ่นดินก็มีสัณฐานฉันน้ัน ที่สูงกว่าเพื่อนเปรียบเหมือนเขาพระสุเมรุ ท่ีต่ําๆ สูงๆ เปรยี บเหมือนภูเขาน้อยใหญ่ท้ังหลาย ที่ลึกเป๐นร่องลงไปเปรียบเหมือนนํ้ามหาสมุทร ที่ ราบเสมอนนั้ เปรยี บเหมอื นแผน่ ดินธรรมดาฉะน้นั แล

๑๕๓ ฝุายพรหมทั้งหลายท่ีได้บริโภครสแห่งแผ่นดินน้ัน ก็บังเกิดเพราะตัณหา เส่อื มจากฌานและรัศมีแสงสวา่ งอันน้นั ก็ได้ชื่อวา่ คน คาํ ท่ีว่าพรหมๆ นน้ั ก็หายไปจากเขา เหล่านนั้ ต้ังแตก่ าลบดั นน้ั แล..... ๑๑๔ ตอนว่าดว้ ยรับลทั ธลิ งั กาวงศ์มายงั เมอื งพัน ในเมื่อศักราช ๗๙๓ ปีรวงเม็ด วันนั้นชาวเจ้าท้ังหลาย ๑๒ ตน อันมาแต่ เมืองลังกาทวปี พน้ เขาท้ังหลายพากนั ขออนญุ าตแกพ่ ระยาสุตตโสมแล้ว ก็ไปบวชใหม่ใน สํานกั มหากัสสปะเถรเจ้าในลงั กาทวีปพน้ แล คร้ันวา่ พระยาได้ยนิ ขา่ วสาส์นสีลาทิคุณแห่ง มหากัสสปะเถรเจา้ แต่ไกล พระยากม็ ใี จยินดีนกั จกั ใครไ่ ด้ไหว้ จึงได้แต่งสําเภาใช้ให้คนไป นิมนต์เจ้าไทยมา เจ้าไทก็บ่มา จึงให้ลูกศิษย์ตนหนึ่งชื่อว่าอนุมัติอันอยู่ในอุทุมพรกับ สามเณรผ้เู ปน๐ หลานตนหนึง่ กับทง้ั ชาวเมอื งพัน ๑๒ ตนนัน้ เจ้าไทก็แต่งคมกิ วัตต์บริบูรณ์ แล้วทกุ อัน ก็สัง่ อาํ ลาคารวะครูของตนแล้ว ก็ข้ึนข่ีสําเภาข้ามมาอยู่เมืองพัน ตามอาชญา แห่งพระยานั้น เจ้าไทก็กระทําศาสนาเป๐นต้นว่าผู้สีมาอุโบสถกรรม แล้วกระทําอุโบสถ และปรวารณากรรมกบั ดว้ ยชาวเจ้า ๑๒ ตนน้นั ภายหลังก็บวชสิสสานุศิษย์กว้างขวางย่ิง นัก เทียรย่อมรักษาสิกขาบทบริสุทธ์ิทุกตน ศาสนาพระสัพพัญํูเจ้าก็รุ่งเรืองยิ่งนักใน เมืองพนั น้นั แล ถดั น้นั คนเมืองกับพระยานัน้ กย็ ินดีย่งิ นักในสีลาทิคุณแหงเ่ จ้าไทย แล้วใคร จะอุสสาภิเษก เขาจึงสนทนาเจรจาซึ่งกันและกันว่า เราท้ังหลายจะให้นามพิเศษแก่เจ้า ไทยเป๐นดังฤา ทนี ั้นนกั ปราชญ์เจ้าจงไหว้พระยาวา่ ข้าแต่มหาราชเจ้า ช่ือว่าดอกไม้มะเดื่อ นนั้ เป๐นอันหายากนกั ในโลกนแ้ี ละดอกไมม้ ะเดอื่ ทง้ั มวลนน้ั ย่อมหายากนัก มหาอนุมัติเจ้า ทรงสลี าทิคุณเป๐นอนั หายากนกั ประจุดดงั ดอกไม้มะเดื่อฉะน้ันแท้จริง เหตุดังนั้น เราเจ้า ข้าท้ังหลายควรให้นามพิเศษแก่เจ้าไทยว่า อุทุมพรบุบผามหาสวามีแล พระเจ้ากับเจ้า เมืองท้ังมวลก็ถูกใจทุกคน จึงพร้อมกันกระทํานามให้วิเศษว่า อุทุมพรบุบผามหาสวามีน้ัน แล แต่น้ันพระศาสนาพระพุทธเจ้าเป๐นอันรุ่งเรืองงามในเมืองเมง เป๐นดังกล่าวมาแต่ ภายหลงั น้นั แล คร้ันน้ันยังมีมหาเถรเจ้า ๒ ตน อันเป๐นลูกชาวเมืองสุโขทัย ตน ๑ ชื่ออ โนมทัสสี ตน ๑ ช่ือสุมนะ เจ้าไทท้ัง ๒ ตนน้ีเป๐นลูกศิษย์มหาบรรพตะสังฆราชในเมือง สุโขทยั เจา้ ไททัง้ ๒ ลงไปเรียนเอาปิฎกทัง้ ๓ ในเมืองอโยธยาพน้ แล้วกลับมาสู่สํานักของ มหาบรรพตะสังฆราชดังเก่าน้ันแล มหาเถรเจ้าท้ัง ๒ ได้ยินข่าวว่าสีลาทิคุณแห่งอุทุมพร บุบผาสวามเี จา้ อย่ใู นเมืองพัน อันพ่อค้าท้ังหลายออกไปเห็นแล้วบอกมานั้น มหาเถรเจ้า ท้งั ๒ กไ็ ปสสู่ าํ นกั มหาสวามีเจ้าในเมอื งพันน้นั แล ครั้นไปถึงแล้วก็พากันสึกแล้วก็ขอบวช ๑๑๔ พระพุทธพกุ ามและพระพทุ ธญาณ, ตานานมูลศาสนา, หน้า ๓๕-๓๖.

๑๕๔ ในสํานักแห่งอุทุพรบุบผาสวามีเจ้านั้นแล มหาสวามีเจ้าก็บวชเจ้าท้ัง ๒ กับเจ้าสามเณร หลานของตน อันมากบั ดว้ ยตนแตล่ ังกาทวปี ใหเ้ ป๐นภกิ ษนุ ัน้ แล เจ้าไทท้ัง ๒ พ่ีน้องก็เรียน เอาธรรมปิฎกท้ัง ๓ กับท้ังอุปเท่ห์ได้ ๔ วัสสาแล้ว ก็สั่งอําลามหาสวามีเจ้ามาสู่เมือง สุโขทัยน้ันแล มหาสวามีเจ้าก็ให้นัสสัยมุตต์แก่เจ้าไททั้ง ๒ ว่าฉะนี้ว่า แต่น้ีไปท่านทั้ง ๒ อย่าได้เอานิสสัยเลย เมื่อท่านทั้ง ๒ กลับไปอยู่เมืองสุโขทัยโพ้นได้วัสสา ๑ แล้ว จง กลบั มาหาเราๆ จะให้นิสสยั มุตต์แก่ท่านได้ช่ือว่ามหาเถรเจ้าแล คร้นว่ามหาสวามีสั่งแล้ว เจา้ ไททั้ง ๒ ก็สมาทานเอาธุดงควตั รท์ ้งั ๑๓ แล้วกม็ าสเู่ มืองสโุ ขทยั ดังเกา่ เจ้าไทท้ัง ๒ มา อยู่เมอื งสุโขทัยได้ ๔ วัสสาแล้ว เมื่อจักไปสู่สํานักแห่งอุทุมพรบุบผาสวามเจ้าเล่า จึงเอา ชาวเจา้ ท้งั หลาย ๘ ตน คือเจา้ อานนท์ ๑ เจ้าพุทธสาคร ๑ เจ้าสชุ าตะ ๑ เจ้าเขมะ ๑ เจ้า ปิยทัสสี ๑ เจ้าสุวรรณคิรี ๑ เจ้าเวสสภู ๑ เจ้าสัทธาติสสะ ๑ ไปสู่สํานักแห่งอุทุมพรบุบ ผาสวามีเจ้าแล้วขอให้บวชใหม่ทุกตนน้ันแล มหาสวามีเจ้าก็ให้เจ้าอโนมทัสสีเป๐น อปุ ๎ชฌายะแกเ่ จา้ ท้ัง ๓ ตน คอื เจา้ เขมะ เจา้ สุวรรณคิรี และเจ้าปิยทัสสี....ดูราอาวุโสท่าน ทั้งหลาย ศาสนาอันกูนํามาแต่ลังกาทวีปน้ันไม่ม่ันคงในเมืองเมงนี้นา จักไปต้ังม่ันอยู่ท่ี เมืองสูโพน้ ต่อเท่า ๕,๐๐๐ ปีแล เหตุน้ัน ท้ังหลายรีบเอาศาสนากลับไปตั้งในเมืองสูโพ้น เถิด ชาวเจ้าท้ังหลายได้ยินคําเจ้าไทว่าดังนั้นแล้ว ก็ตกแต่งคมิกวัตรแล้วก็ไปไหว้อําลา กลับนั้นแล....๑๑๕ ตอนว่าดว้ ยอนั ตรธาน ๕ ทีนี้จักกล่าวศาสนาอันเป๐นไปภายหน้าเล่า อันว่าศาสนาน้ีมี ๓ คือ ปริยัติ ศาสนา ปฏปิ ต๎ ตศิ าสนา อธิคมศาสนา ปริยัติศาสนานั้น ได้แก่บาลีธรรมของพระพุทธเจ้า ท้งั มวล กับทั้งอรรถกถาอันกุลบุตรท้ังหลายพึงเล่าเรียนเอา ปฏิป๎ตติศาสนานั้นได้แก่อัน กระทําแหง่ กุลบตุ รทั้งหลายนัน้ และอธคิ มศาสนานน้ั ไดแ้ ก่มรรค ๔ ผล ๔ เป๐นต้นว่าโสดา ป๎ตติมรรค โสดาปต๎ ตผิ ลกับโลกตุ ตรทง้ั หลาย และศาสนาพระพุทธเจ้าแห่งเราน้ี ตั้งอยู่ใน กุลบตุ รท้งั หลายๆ ไดร้ บั เรียนเอาฟ๎งเอารู้แล้วและกระทําตามทุกอันน้ัน และแม้นผู้เรียน เอาฟ๎งเอาและบ่กระทําตามคําสอนของพระพุทธเจ้าน้ัน เรียกว่าศาสนานั้นบ่ได้ตั้งอยู่ใน บคุ คลน้ันแล เหตคุ ําสอนของพระพุทธเจา้ ทงั้ มวลนไ้ี ว้ให้เปน๐ สขุ แก่คนท้ังหลายน้ีแล จักให้ ทกุ ข์แก่คนแท้บ่มี เท่าให้เป๐นสุขแก่ผู้กระทําตามน้ันถ่ายเดียว ผู้บ่กระทตามนั้นบ่อาจจัก ได้เลย ศาสนาของพระพุทธเจ้าบริบูรณ์ ๕,๐๐๐ ปี แล้วจักหายไป และจักหายไปด้วย ๑๑๕ พระพุทธพุกามและพระพทุ ธญาณ, ตานานมูลศาสนา, หน้า ๑๙๑-๑๙๒.

๑๕๕ อันตรธาน ๕ คือ อธิคมอันตรธาน ๑ ปฏิป๎ตติอันตรธาน ๑ ปริยัติอันตรธาน ๑ ลิงค อนั ตรธาน ๑ ธาตุอันตรธาน ๑ ...๑๑๖ อันตรธานท้ัง ๕ นี้ ถือเป๐นตอนสุดท้ายของตํานานมูลศาสนา ตํานานได้ อธิบายรายละเอียดของอันตรธานท้ัง ๕ ประการว่าเกิดข้ึนอย่างไร และพัฒนาเป๐น ลาํ ดับๆ อยา่ งไร จบลงดว้ ยคาํ ลงทา้ ยจากผ้รู จนาว่า มลู ศาสนานี้ พระพทุ ธพุกามกบั พระพุทธญาณเจา้ หากรจนาไว้ให้เป๐นที่ไหว้ และสักการะบูชาแก่นรานรชนทั้งหลาย คฤหัสถ์นักบวชเจ้าทั้งหลาย จงทรงไว้ปฏิบัติไต่ ตามทํานองคลองแห่งอริยสัปปุริสเจ้าทั้งหลาย อันปฏิบัติมาแต่ก่อน ก็จะได้ถึงยังสุข ๓ ประการ มีนิพพานธรรมเจา้ เป๐นยอดเป๐นจอมนั้นเทอญ๑๑๗ ไตรภูมกิ ถา ไตรภมู กิ ถา ช่อื เดิมคอื เตภมู กิ ถา ไตรภูมิกถา๑๑๘ แต่งข้ึนเม่ือปีระกา ศักราช ๒๓ เดือน ๔ ข้ึน ๑๕ ค่ํา วัน พฤหัส ตรงกับจุลศักราช ๗๐๗ หรือพุทธศักราช ๑๘๘๘ พญาลิไทยทรงริเร่ิมพระราช นิพนธ์ข้ึน วัตถุประสงค์เพื่อจะนําคําสั่งสอนในพระอภิธรรมของพระพุทธเจ้ามาเทศนา ถวายพระราชชนนี และเพื่อเผยแพร่ธรรมให้เจริญรุ่งเรือง โดยเก็บความจากคัมภีร์อรรถ กถาต่างๆ บทพระราชนิพนธ์ดังกล่าวจึงถือเป๐นการแสดงออกทางภูมิธรรม ทรงรอบรู้ พระไตรปิฎก และอรรถกถาต่างๆ ทไ่ี ดท้ รงศกึ ษาจากสาํ นักพระสงฆ์ท่ีสําคัญๆ หลายแห่ง ในสมัยนั้น นับตั้งแต่พระมหาเถรมุนีพงศ์ พระอโนมทัสสนี พระมหาเถระธรรมปาลเจ้า พระมหาเถรสิทธัตถเจ้า พระมหาเถรพทุ ธพงศ์เจ้า พระมหาเถรป๎ญญานันทะ เปน๐ ต้น ต้นฉบับเดิมเป๐นใบลาน อักษรขอม ภาษาสุโขทัย ของพระมหาบุญช่วย วัด ปากนา้ํ จารขึน้ เมื่อพุทธศักราช ๒๓๒๑ ป๎จจบุ ันเก็บรักษาไวท้ ่ีหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ มีจํานวน ๑๐ ผูก รวม ๒๓๖ ใบลาน ๔๖๑ หน้าลาน แยกตามผูกและอังกา ดังนี้ ผูกท่ี ๑ อังกา ก และ ข มจี ํานวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ๑๑๖ พระพุทธพุกามและพระพทุ ธญาณ, ตานานมลู ศาสนา, หน้า ๒๒๓. ๑๑๗ พระพทุ ธพุกามและพระพทุ ธญาณ, ตานานมูลศาสนา, หนา้ ๒๘๖. ๑๑๘ ไตรภูมิกถา พระราชนิพนธ์ พญาลิไทย, กรมศิลปากร จัดพิมพ์เผยแพร่ในการจัด กิจกรรมและการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง คติไตรภูมิ: อิทธิพลต่อวิถีสังคมไทย ๒๘-๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕

๑๕๖ ผกู ท่ี ๒ อังกา ค และ ฆ มีจาํ นวน ๒๓ ใบลาน ๔๕ หน้าลาน ผกู ท่ี ๓ อังกา ง และ จ มีจํานวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ผกู ที่ ๔ องั กา ฉ และ ช มีจํานวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ผูกท่ี ๕ องั กา ฌ และ ญ มีจํานวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ผูกที่ ๖ อังกา ฏ และ ฐ มจี าํ นวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ผูกท่ี ๗ อังกา ฑ และ ฒ มาํ จนวน ๒๓ ใบลาน ๔๕ หนา้ ลาน ผูกที่ ๘ องั กา ญ และ ต มีจาํ นวน ๒๔ ใบลาน ๔๗ หน้าลาน ผกู ท่ี ๙ อังกา ถ และ ท มจี าํ นวน ๒๔ ใบลาน ๔๖ หนา้ ลาน ผกู ที่ ๑๐ องั กา ธ และ น มีจํานวน ๒๒ ใบลาน ๔๓ หนา้ ลาน ไตรภูมิกถา เนอื้ หาแสดงภูมิ คือสถานที่กําเนิดของสัตว์ทั้งหลาย ท่ีเวียนว่าย ในสงั สารวัฏ จําแนกออกเป๐น ๓ ภูมิ ได้แก่ กามภูมิ, รูปภูมิ, และอรูปภูมิ โดยแต่ภูมิ ยัง จําแนกยอ่ ยในรายละเอยี ด รวมทั้งหมด ๓๑ ภมู ิ เนือ้ นําเสนอในลักษณะเป๐นร้อยแก้วเชิง กวนี ิพนธ์ ยกเว้นคาถานมัสการ เป๐นร้อยกรองเป๐นฉันทลักษณ์ภาษาบาลี มีรายละเอียด ดังนี้ คาถานมสั การ – บานแพนก วนฺทติ ฺวา สริ สา พทุ ธํ สหสฺสธมมฺ คณุตตฺ มํ อิทํ ติภูมิสงฺเขป๏ ปวกขฺ ามิ กถํ อิธ ฯ สุจิรภชติ ุกามํ สชฺชนาลยิ สเมาหํ มธุรสมตทานํ ปารมีปารุฬฺหถา คุณยํ สรคนธฺ ํ กณณฺ ิกาฉกวณฺณํ ชณจรณสเราชํ ปตี ิปาเมาชเฺ ฌภวิ นฺเท ฯ วิกสติ วทิ ติ านํ สชชฺ ราเปารุณฺณนํ สชฺชนหทยสา เม สาวนาคาเม กสุ ลยุเทนฺตํ อกุสลติมรนธฺ ํ ธสนํ ปาภตู ํ มณุ วิ รมวลตถฺ ํ ธมมฺ ทปิ ภวิ นเฺ ทมิ ฯ สชนมนสเราชํ พทุ ธิวารสี ชผลํ อุภรยิ ภชติ ตตฺ - ธมมฺ สการสกํ ติ วิมลธวสลิลํ รสปิ ฺ ายเุ ปต สสธรวสยํ อตุ มตฺเตภวิ นเฺ ท ฯ ชเิ นารณารวิภาเวนฺเตา เหมปาสาทป ฺ วา สทฺธาจลผลา พทุ ฺธํ พาหุสจฺจธนาลโย

๑๕๗ กปู ภูปนฺธยนโฺ ต เยา ราชา สุนุรนฺธชโก สุเขา้ เทยยฺ นรินทฺ สสฺ ลิเทยเฺ ยา นาม อตรฺ เชา อภริ าเมา มหาป โฺ ธติ มิ า จ วิสารโท ทานสิลคุณุเปเตา มาตาปิตภุ เราปิ จ ธมฺมธเรา สกุสโล สพพฺ สตฺเถ จ สปุ ากเฏา อยํ ภูมิกถา นาม ร ฺ า เภเทน จ สชนาลยยฺ ธรมฺหิ ถปิตา ทยภาสฺเตา พุชฌฺ ติ ุสาสน ฺเจว สกกฺ จฺจํ สพพฺ โส สทา ๚๛ แปล ข้าพเจ้า [พญาลิไทย] ขอกราบนมัสการพระพุทธเจ้า พร้อมพระสหัส ธรรม และพระสงฆ์ผู้มีคุณอันอุดมด้วยเศียรเกล้า ณ ท่ีน้ีแล้ว จักกล่าวไตรภูมิกถา โดยสงั เขปนี้ เปน๐ ลาํ ดับไป ข้าพเจ้า ขออภิวาทพระพุทธเจ้า ผู้ทรงประสงค์จําแนก[พระสัทธรรม] ให้ ม่ันคง ให้เป๐นศูนย์กลาง [พุทธศาสนา] แห่งนครศรีสัชนาลัย ประทานอมฤตธรรมอัน ไพเราะ ทรงเตม็ เปีย๑ มดว้ ยพระบารมี มีพระฉัพพรรณรังสีแผ่ซ่านออกดุจช่อฟูา ทรงพระ เกียรติคุณ กล่นิ หอมขจรขจายไปท่ัวสารทิศ ประดุจดอกบัวคือจรณะที่ผุดข้ึนเหนือน้ําให้ เกดิ ความปตี ิและปราโมทย์ ข้าพเจ้า ขอนมัสการดวงประทีปคือพระธรรมท่ีพระมุนีเจ้าผู้ประเสริฐทรง ตรัสแสดงไว้แล้ว อันกําจัดกิเลสคือความมืดมนแห่งอกุศลให้หมดปรากฏได้ ทําให้เกิด กุศลศวามดี เปน๐ ที่ปลูกฝ๎งศรทั ธาความเล่ือมใสแก่ชาวศรสี ัชนาลัยที่มใี จแจ่มใสเบิกบานใน สถานท่ีสดบั พระสทั ธรรมเทศนานั้น ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสงฆ์เจ้าผู้ทรงศีลอันประเสริฐ ผู้เต็มเป๑ียมด้วย ป๎ญญาดุจแสงสว่าง มีความบริสุทธ์ิดุจน้ําที่สะอาดปราศจากมลทิน ผู้เป๐นผลคือทายาท แห่งพระพุทธศาสนา มีดวงใจดุจดังดอกบัวที่เบิกบาน ผู้ปฏิบัติด้วยดีเคารพสักการะใน พระสัทธรรม คําสอนท่ีจําแนกเป๐น ๒ อย่าง [คือพระธรรมและพระวินัย] ด้วยความ เคารพยิง่ พระราชาทรงพระนามวา่ “พญาลไิ ทย” เป๐นพระราชากล้าหาญ มีพระปรีชา แตกฉาน เป๐นพระโอรสพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย [พญาเลอไทย] มีป๎ญญาผ่องใส ไม่ตดิ ขัด มเี รอื นทรัพย์คือพาหสุ จั จะ [ความเปน๐ พหสู ูต] ทรงประกาศพระพุทธศาสนาด้วย ศรัทธาไม่หวั่นไหว อันปราศจากความมืดมน เป๐นพระราชาผู้เป๐นนักปราชญ์ มีความ ร่นื รมย์ มพี ระสตปิ ญ๎ ญามั่นคง และองอาจยง่ิ เป๐นพระราชาผทู้ รงธรรม [ทศพธิ ราชธรรม]

๑๕๘ บาํ เพญ็ ทานและศีลเป๐นคุณูปการ อุปถัมภ์เล้ียงดูบุพการีคือมารดาและบิดา มีพระปรีชา สามารถปรากฏในสรรพศาสตร์ท้งั ปวง พระองค์ผู้ทรงแตกฉาน มีพระประสงค์จะยกย่อง เชิดชู พระ [พุทธ] ศาสนา ด้วยความเคารพตลอดกาลทุกเม่ือ จึงทรงพระราชนิพนธ์ หนงั สอื [ไตร] ภูมกิ ถานีข้ น้ึ ไว้เป๐นภาษาไทย ณ เมอื งศรสี ัชนาลยั ครนั้ ต้ังบทนมัสการพระรัตนตรัย และคําปรารภแล้ว ก็เร่ิมเน้ือหาในไตรภูมิ ตามลาํ ดบั เร่ิมต้ังแต่การต้ังกระทู้ว่า ไตรภูมิกาถาน้ีแต่งขึ้นเม่ือไร อย่างไร มีจุดประสงค์ อยา่ งไร อาศัยหลกั ฐานประกอบจากคมั ภรี ใ์ ดบา้ ง ทา่ นแจกแจงไวโ้ ดยละเอียด จากน้ันจึง พรรณนาถึงภูมิต่างๆ ท่ีสัตว์ท้ังหลายเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏท้ัง ๓๑ ภูมิ โดย แบ่งเปน๐ กามาวจรภมู ิ ๑๑, รปู ภมู ิ ๑๖, และอรูปภูมิ ๔ อน่ึง ถอ้ ยคํา หรือขอ้ ความในไตรภูมิกถา ต้นฉบับเดิมเป๐นภาษาสุโขทัย จึงมี การชําระ และจดั ทาํ ไตรภูมกิ ถาฉบบั ถอดความข้นึ ๑๑๙ เพอื่ สะดวกต่อการศึกษา อย่างไร ก็ตามต้นฉบับเดิม ก็เป๐นอุปกรณ์ให้เราได้ทราบถึงพัฒนาการของภาษาที่ใช้กันอยู่ใน ป๎จจบุ ันได้เปน๐ อยา่ งไร ตัวอยา่ ง เนื้อคฺวามใตฺรภูมมิกถาน้ี มีในการเมิอใดัใส แลมีแต่ในปีระกาโพน เมือสกฺก ราชใดั ๒๓ ปี ปีรกาเดอื น ๔ เพ่งวนั พรฺ ะหศั สฺ บดีวาร ผู้ใดัหากเสาดรู้บฺมีใดัใสัสิ้น เจ้าพฺระ าเลทยยฺ ผู้เปน๐ ลกู แหง่ เจ้าพฺระ าเลลิเทยฺยผู้เสฺวยราชสมฺบตติในเมืองศฺรีสชฺชนาลยฺยแล สุกเขัาเทยฺย แลเจ้าพฺระ าลิเทยฺยนี้ ธ เป๐นหฺลานเจ้าพฺระ ารามราชผู้เป๐นสุริยวงฺส แล เจ้าพฺร าเลเทยฺย ใดัเสวยราชสมฺบตฺติในเมืองสชฺชนาเลยฺยอฺยูใดั ๖ เขัา จึงใดัใตฺรภูมถา มนใสเ่ พือใด ใส่เจพื้อ มีอตฺถพฺระอภิธมฺมแลจใคฺร่เทสนาแก่พฺระมาดาทานอันน่ึง จใคฺร่ จาํ เรอ พรฺ ะธมมฺ โสด พฺระธมฺมใตฺรภูมมิกถาน้ี ธ เอาออกมาแต่พฺระกมฺภีใดบางเล่า เอา มาแตใ่ นพฺระอตถฺ กถาพรฺ ะจตุราคนนั กมีบาง ฯ ในอตฺถกถาฎิกาพฺระอภิธมฺมวดารกมีบ่าง ๆ พฺระอภิธมมฺ สงคฺ หกมีบาง ฯ ในพรฺ ะสุมงฺคลวิลาสนิ ิกมีบางฯ ในพรฺ ะป ฺจสุทธฺ นี้กมีบางฯ ในพฺระสาราฏฺฐปกาสินีกมีบาง ฯ ในพฺระมเนารถปูรณิกมีบ่าง ฯ ในพฺระลีนาเราถปกา สินีกมบี าง ฯ ในพรฺ ะอตฺถกถาฎีกาพฺระวเิ นยยฺ กมีบาง ฯ ในพฺระธมฺมปทกมีบาง ฯ ในพฺระ ธมมฺ มหากถากมีบาง ฯ ในพรฺ ะมธุรตถฺ [ปรุ ณ]ิ วิลาสินกี มบี าง ฯ ในพฺระธมฺมชาฏกกมีบาง ฯ ในพฺระชินาลงฺการกมีบาง ฯ ในพฺระสารตฺถทีปนีกมีบาง ฯ ในพฺระพุทธวงฺษกมีบาง ฯ ๑๑๙ ไตรภมู ิกถา ฉบบั ถอดความ, กรมศลิ ปากร จดั พิมพ์เผยแพรใ่ นการจัดกิจกรรมและการ สมั มนาทางวชิ าการ เรือ่ ง คตไิ ตรภูมิ: อิทธิพลตอ่ วิถีสงั คมไทย ๒๘-๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕.

๑๕๙ ในพฺระสารสงฺคหกมบี าง ฯ ในพรฺ ะมลิ นิ ทป ฺหากมีบาง ฯ ในพฺระมาเลยฺยกมีบาง ฯ ในพฺ ระมหานพิ านกมบี าง ๚ ในพรฺ ะอนาคตวงษฺ กมบี าง ฯ ในพฺระจรยิ าปฎิ กกมีบาง ฯ ในพฺระ เลากป ฺ ตฺติกมีบาง ฯ ในพฺระมหากสฺสปกมีบาง ฯ ในพฺระอรุณวตฺตีกมีบาง ฯ ในพฺระ สมนตฺ ปาสาทิกากมบี าง ฯ ในพรฺ ะจกษฺ ณาภิธมฺมกมีบาง ฯ ในพฺระอนุฏิกาหิงธมฺมกมีบาง ฯ ในพรฺ ะสาริรกฺกภินิจเฺ ฉยยฺ กมบี าง ฯ ในพรฺ ะเลากุปปตฺติกมีบาง ฯ แลพฺระธมฺมทังหลาย น้เี อาออกมาแลแหงแลเนัาย แลเอามาผฺสมกัน จึงสมมฺ ตฺตชิ ่อื วา่ ใตฺรภูมกถาแล ๚ ฉบบั ถอดความ ทา่ นวา่ ดังน้ี เร่อื งไตรภมู ิกถานแ้ี ต่งขึน้ เม่ือใด แต่งขึน้ เม่ือปีระกา ศักราช ๒๓ เดือน ๔ ข้ึน ๑๕ ค่ํา วันพฤหัส พญาลิไทยทรงริเร่ิมพระราชนิพนธ์ข้ึน พญาลิไทยเป๐นโอรสพญาเลลิ ไทย ผคู้ รองเมอื งศรีสชั นาลัยและสโุ ขทัย พญาลิไทยเป๐นราชนัดดาของพ่อขุนรามคําแหง มหาราช พระอยั ยกาเจ้าพญาลไิ ทย เม่ือทรงราชย์ ณ เมอื งศรสี ัชนาลัยได้ ๖ ปี ได้ทรงเร่ิม แต่งไตรภูมกิ ถา เหตใุ ดจงึ ทรงนิพนธเ์ ร่อื งนขี้ ้นึ เหตทุ ีท่ รงพระราชนพิ นธเ์ รอื่ งนขี้ นึ้ กเ็ พอื่ จะ นําคําสอนในพระอภิธรรมของพระพทุ ธเจ้ามาเทศนาถวายพระราชชนนี และเพ่ือเผยแพร่ พระธรรมให้เจรญิ รงุ่ เรอื ง เนื้อเร่อื งไตรภูมิกถา พญาลิไทยทรงเกบ็ ความจากคัมภีร์ใดบ้าง ทรงเก็บความ จากคัมภีร์พระอรรถกถาจตุราคม อรรถกถาฎีกาพระอภิธรรมาวดาร พระอภธิ รรมสงั คหะ พระสุมังคลาลาสนิ ี พระปป๎ญจสทู นี พระสารตั ถปกาสนิ ี พระมโนรถปูรณี พระสีนัตถปกา สินี พระอรรถกถาฎกี าพระวนิ ยั พระธรรมบท พระมหาวัคค์ พระธรรมมหากถา พระมธุ รัตถวิลาสินี พระธรรมชาดก พระชินาลังการ พระสารัตถทีปนี พระพุทธวงศ์ พระสาร สงั คหะ พระมิลินทปญ๎ หา พระปาเลยยะ พระมหานิพาน พระอนาคตวงศ์ พระจรยิ าปฎิ ก พระโลกปญ๎ ญตั ติ ิ พระมหากัลป์ พระอรุณวตี พระสมันตปาสาทิกา พระวิสุทธิมัคค์ พระ ลักษณาภิธรรม พระอนุฎีกาหิงธรรม พระสารีริกพินิจฉัย พระโลกุปป๎ตติ ทรงรวบรวม เนื้อความพระธรรมเหล่านี้มาผสมผสานใหม่ ใหช้ อื่ วา่ “ไตรภูมิกถา” ตวั อยา่ งการพรรณนาเรื่องภมู ิ อนั ว่าสัตฺวทงั หฺลายเยัามเวียรวันใป๎มา แลเกฺอดในภูม ๓ อันนี้แล ฯ อันใดัแล ชื่อภูม ๓ อันนันเล่า อันน้ึงชื่อว่ากามภูม อันน้ึงช่ือว่ารูปภูม อันน้ึงช่ือว่าอรูปภูม นกาม ภูมนันยังอันเป๎นประเภท ๑๑ อันใดัโสด อันนึ้งชื่อว่านรกภูม อันนึ้งชื่อเปฺรตวิสยฺยภูม อนั นง้ึ ช่ือสูรกายภูม ๔ อันนชี้ อ่ื อบายภมู กวา่ ช่ือทคุ ฺคติภูมกวา่ ฯ อันนง้ึ ชอ่ื มนุสสภูม อันนึ้ งชอื่ จาตุมหาราชกิ าภมู อนั นึ้งช่อื ตาวตงิ สภูม อันนงึ้ ชื่อยามาภมู อนั นึง้ ช่อื ดสุ ิตฺตาภมู อันนึ้

๑๖๐ งชือ่ นิมฺมานรตภิ ูม อนั นง้ึ ชอ่ื ปรมิตตฺ วสวตฺติภูม ๗ อันนี้ชื่อนี้ช่ือสุคฺคติภูม ผฺสมภูมทั่ง ๑๑ แห่งนี้ชื่อกามภมู แล ๚ ในรปู ภูมนัน ยังมภี ูมอันเปน๎ ปรฺ เภท ๑๖ อันน้ึงโสด อนั นึง้ ชือ่ พรฺ หฺมปาริสชฺชา ภูม อันน้ึงช่ือพฺรหฺมปโรหิตาภูม อันน้ึงชื่อมหาพฺรหฺมภูม แลพฺรหฺม ๓ ชันนี้ชือปถมฌาน ภมู แล ฯ อนั นึ้งชื่อปริตฺตาภูม อันน้ึง ชื่ออปฺปมานาภูม อันน้ึงช่ืออาภสฺสราภูม แลพฺรหฺม ๓ ชั้นนช้ี ือ่ วาทุติยฌานภูมแล ฯ อันนึ้งช่ือปริตฺตสุภาภูม อันน้ึงชืออปฺปมานสุภาภูม อันน้ึ งชอื สุภกณิ หภูมแล พฺรหฺม ๓ ชันนี้ชื่อตติย าณภูมแล ฯ อันน้ึงช่ือเวหปฺผลาภูม อันนึ้งชื ออส ฺ สิ ตฺตาภูม อนั น้ึงชื่ออเวหาภูม อันนึ้งชืออตปฺปาภูม อันน้ึงช่ือทสฺสาภูม อันน้ึงช่ือ สทุ สสฺ ีภูม อนั น้งึ ช่อื อกนฏิ ฺ าภมู ทั้ง ๗ ช้ันนี้ ชือจตุตฺถ าณภูมแล แต่อเวหาภูมนี้ เถิงอก นษิ ฐาภูม ๕ ชน้ั นนั ชอื ป ฺจสทุ ธาวาศแล ฯ ผฺสมทงั ๑๖ ชนั นี้ชือรูปภูมแล ๚ แลในอรูปภูมนันยังมีปฺรเภททัง ๔ อันโสด อันนึ้งชืออากาสาน จฺ ายตนภูม อันน้ึงชื่อวิ ฺ าณ จฺ ายตภูม อนั นง้ึ ชอื อากิ จฺ ฺ ายตนภูม อันน้ึงชือเนวส ฺ านาส ฺ ายตนภูมแล แลจงึ ผสมภูมทงั หลฺ ายนีใ้ ดั ๓๑ จึงชือวา่ ใตรภมู แล ๚ แลสัตฺวทังหฺลายอันจักเอาเยานีปฺรฏิสนทิเกฺอดในภูม [๓] ๑ น้ี มี เยานปี ฺรฏิสนฺทเิ ทาใดเล่า มีเยานีปฏสิ นทฺ ี ๔ อัน อันน้ึงชื่ออณฺฑชเยานี อันนึ้งชือชลามฺพุช เยานี อันนึ้งชื่อสํเสทชเยานี อันน้ึงช่ืออุปาติกเยานี ฯ อันชือว่า อณฺฑชเยานีนันคือ สัตฺว อันเป๐นแต่ใข เป๐นต้นว่างูแลใก แลนกแลปฺลาทังหฺลาย นันแล ฯ อันนึ้งอันชื่อว่า ชลามฺ พุชนนั ใดัแกส่ ัตวฺ อันเป๐นแต่ปุมเปือก แลมีรกอันหุมหอ นันเป๐นต้นว่า ช้าง ม้า วัว ควาย แล ฯ สํเสทชเยานีนัน ใดัแก่สัตฺวอันเป๐นแต่ใบใมัแลลอองเดากบัวแลหฺ าเนัา เนื้อเน่า เห่ือใคั นันเป๐นต้นวา่ เหนฺานแลแมลฺ ง บุง ริ้น ยุง ปฺลาแล ฯ สัตฺวอันเอาปฏิสนฺธิในเยานี ๓ อนั น้ี คอื เกอฺ ดแต่รกหมุ้ หอ่ กดฺ ี เกอฺ ดแตใ่ ข่กดฺ ี เกฺอดแต่เหฺงอแลใคักฺดี ๓ อันน้ีจึงเค่ายใหฺญ่ ข้ึนโดยอันดับแล ฯ อันนึ้งแลชือว่าอุปาติกเยานีนัน หากเกฺอดเป๐นตัวเป๐นตนใหฺญ่แล้ว ทีเดยี วนัน เปน๐ ต้นว่าเทพยฺ ดาแลพรฺ หฺมแลสตั ฺวแหงนรกนันแล ๚ ฉบบั ถอดความ ท่านว่าดงั น้ี สรรพสัตวท์ ั้งหลายย่อมเวียนว่ายตายเกิดในภูมิสาม ภูมิสามนั้นคืออะไร ภูมิ หนงึ่ ชื่อว่า กามภมู ิ ภมู สิ องชือ่ ว่ารปู ภูมิ ภูมิสามชอื่ ว่าอรูปภมู ิ ในกามภูมินั้นยังแยกย่อยออกเป๐น ๑๑ ภูมิ ซึ่งจัดเป๐น ๒ ภูมิใหญ่ คือ อบายภูมิ ๔ และสุคติภูมิ ๗ อบายภูมิ ๔ น้ัน ได้แก่ นรกภูมิ [ภูมิสัตว์นรก] ติรัจฉานภูมิ [ภูมิสัตว์เดรัจฉาน] เปรตวิสัยภูมิ [ภูมิของเปรต] อสุรกายภูมิ [ภูมิของอสูร] สุคติภูมิ ๗ ไดแ้ ก่ มนสุ สภูมิ [ภูมิของมนุษย์] จาตุมหาราชิกาภูมิ [ภูมิของเทวดาช้ันจาตุมหาราชิกา] ตาวติงษาภูมิ [ภูมิของเทวดาช้ันดาวดึงส์] ยามาภูมิ [ภูมิของเทวดาช้ันยามา] ดุสิตาภูมิ

๑๖๑ [ภูมขิ องเทวดาช้นั ดสุ ิต] นิมมานรติภูมิ [ภูมิของเทวดาช้ันนิมมานรดี] ปรนิมิตวสวัตตีภูมิ [ภูมิของเทวดาช้ันปรนมิ ิตวสวัดดี] ในรูปภูมิอนั เป๐นภมู ิของพรหมนั้นยังแยกย่อยออกเป๐น ๑๖ ภูมิ ซ่ึงจัดเป๐น ๔ ภมู ชิ นั้ ใหญ่ ๆ ดงั นี้ ปฐมฌานภูมิ ๓ ทตุ ิยฌานภมู ิ ๓ ตติยฌานภูมิ ๓ จตตุ ถฌานภมู ิ ๗ ปฐมฌานภูมิ ๓ น้ันได้แก่ ภูมิชั้นพรหมปาริสัชชา ภูมิชั้นพรหมปโรหิตา ภูมิ ชน้ั มหาพรหมา ทุติยฌานภูมิ ๓ ได้แก่ ภูมิชั้นพรหมปริตตาภา ภูมิช้ันพรหมอัปปมาณา ภูมิ ชั้นพรหมอาภัสสรา ตตยิ ฌานภูมิ ๓ ไดแ้ ก่ ภมู ชิ ั้นพรหมปรติ ตสุภา ภูมิช้ันพรหมอัปปาณสุภา ภูมิ ช้นั พรหมสภุ กิณหา จตุตฌานภูมิ ๗ ได้แก่ ภูมชิ ้ันพรหมเวหัปผลา ภูมิช้ันพรหมอสัญญีสัตตา ภูมิ ชั้นพรหมอวหิ า ภมู ิชน้ั พรหมอตัปปา ภูมิชั้นพรหมสุทัสสา ภูมิช้ันพรหมสุทัสสี ภูมิช้ันพร หมอกนิฏฐา ตั้งแต่ภูมิชั้นพรหมอวิหาจนถึงพรหมอกนิฏฐา รวม ๕ ช้ัน เรียกว่าป๎ญจ สุทธาวาส อรูปภูมิน้ันยังแยกย่อยออกเป๐น ๔ ภูมิ ได้แก่ อากาสานัญจายตนภูมิ วญิ ญาณญั จายตนภูมิ อากิญจัญญายตนภูมิ และเนวสญั ญานาสญั ญายตนภูมิ ภมู ิใหญท่ ง้ั ๓ ซึง่ แยกยอ่ ยเปน๐ ๓๑ ภูมิน้ี รวมเรียกวา่ ไตรภมู ิ สรรพสัตว์ท้ังหลายที่เกิดในภูมิ ๓๑ น้ี มีที่เกิดได้ก่ีประการ มีท่ีเกิดได้ ๔ ประการ คอื เกดิ จากไข่ เกิดจากครรภ์ เกิดจากไคล และเกดิ ข้ึนเอง สัตว์ท่ีเกิดจากไข่ เป๐นต้นว่า งู ไก่ นก ปลา สัตว์ที่เกิดจากครรภ์ เป๐นสัตว์ที่ เกดิ จาก มดลกู มีรกห้มุ ห่อ เป๐นต้นว่า ช้าง ม้า วัว ควาย สัตว์ท่ีเกิดจากไคล ได้แก่สัตว์ท่ี เกิดทใ่ี บไม้ ละอองเกสรดอกบัว หญา้ เน่า เนอ้ื เน่า และเหงอื่ ไคล เป๐นต้นว่า หนอน แมลง บุ้ง ริ้น ยุง ปลา สัตว์ที่เกิดจากไข่ ครรภ์ และไคลดังกล่าวแล้วน้ี เม่ือเกิดแล้วจะ เจริญเติบโตขน้ึ ตามลําดับ ส่วนการเกิดประการทส่ี ่ีคอื เกิดเองน้ัน เมื่อเกิดเป๐นตัวแล้วจะมี ลักษณะเตบิ ใหญ่ทันที เป๐นตน้ ว่า พรหม เทวดา และสตั ว์นรก ตวั อย่างการพรรณนาถงึ ปฏิสนธิของสัตว์ ๒๐ จาพวก ฉบบั เดิม อนั วา่ ปรฺ ฏสิ นทฺ มิ ี ๒๐ อันแล อนั นึง้ ช่ืออกุสลพบิ ากอุเปกขฺ าสนตฺ ิรณปฏสิ นฺธิ ฯ อันนึ้งชื่อกุสลวิบากสนฺตีรณปฏิสนฺธิ อันน้ึงเสามนสฺสสหคต าณสมฺปยุตฺตอสํขาริก วิ

๑๖๒ ปากปฏิสนฺธิ ๚ อันน้ึงช่ือเสามมนสฺสสหคต าณสมฺปยุตฺตสสํขารวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึ งช่ือเสามมนสสฺ สหคต าณวิปฺปยุตฺตอสํขารวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชื่อเสามนสฺสสหคต าณวปิ ปฺ ยุตฺตสสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชื่ออุเปกฺขาสหคต าณวิปปยุตฺตอสํขาริกวิ ปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชื่ออุเปกฺขาสหคต าณสมฺปยุตฺตสสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิ ฯ แต่ ๑๐ อันน้ีชือกามาพจรปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชืออุเปกฺขาสหคต าณวิปฺปยุตฺตอสํขารริกวิ ปากปฏสิ นธฺ ิ ๚ อันนึ้งช่ืออุเปกฺขาสหคต าณสมฺปยุตฺตสสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิ ฯ แต ๑๐ อันน้ี ชอื กามาพจรปฏิสนฺธิ ฯ แตฝ่ งู สตั ฺวอันยังมีกามราคเยัามเอาปฏิสนฺธิ ๑๐ อันน้ีแล ฯ อันนึ้งชื่อวิตกฺกา ปฏิสนฺธิ ๚ อันน้ึงชือวิจาราวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชื่อปีตาทิวิ ปากปฏิสนฺธิ ฯ อนั นึ้งช่ือสุกฺขาทิวิบากปฏิสนฺธิ ฯ อันนึ้งชื่ออุเปกฺขากคฺคตาวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชือรูปเมวปฏิสนฺธิ ฯ แต่ฝูงพฺรหฺม ๖ อันน้ีเย่ามเอาปฏิสนฺธิด้วยปฏิสนฺธิ ๖ อันนี้ แล ฯ อันนึ้งชืออากิ จฺ ฺ ายตนวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงช่ือวิ ฺ าณ ฺจายตฺตน วิ ปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชืออากิ จฺ ฺ ายตนวิปากปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงช่ือเนวส ฺ ายตนวิ ปากปฏสิ นธฺ ิ ฯ แตฝ่ ูง ๔ อนั น้ี ชอื อรูปาวจรปฏิสนฺธิ แต่หฺมูพฺรหฺมอันหารูปบมิใดั แลมีแต่ จิตฺร เยัามเอาปฏิสนฺธิ ๔ อันนี้แล ฯ ผฺสมปฏิสนฺธิทังหฺลายใดั ๒๐ จําพฺวกด่งฺงกฺลาวมาน้ี แล ๚ สัตฺวทังหฺลายอันเกฺอดในนรกภูม เยัามเอาเยานีด้วยปาติกเยานีอันเดียวใส่หฺ ยมวา เขัาเอาเยานดี ้วย อุปาติกเยานีนัน เพือเขาั ภลู เกอฺ ด เปน๐ รปู ดายเทยี ว เอาปฏิสนฺธิก เอาด้วยอกุสล วปิ ากอเุ ปกฺขาสหคตสนตฺ ริ ณปฏิสนฺธิ ฯ สัตฺวทังหฺลายอันเกฺอดในเปฺรตวิสยฺ ยภูม กเอาปฏิสนฺธินันแลฯ ปฏิสนฺธินัน คือใจอันเอาปฏิสนฺธินันพิจฺจารณาด้วยบาปแล อุเปกฺขา จิงเอาปฏสิ นฺธแิ ลเกอฺ ดทีนัน ฯ สัตฺวอันเกฺอดในติรจฺฉานภูม สัตฺวอันเกฺอดในอสูร กายภูมท้ัง ๓ ภูมนี้ เยัามเอาปฏิสนฺธิด่งฺงกันแล ฯ เอา เยัานี ๔ จําพฺวกนันใดัทุกอันแล ล่างคาบเอาด้วยชลามฺพุชเยานีกมี ลางคาบเอาด้วยสํเสทชเยานีกมี ลางคาบเอาด้วยอุป ปาติกเยานกี มี เอาปฏสิ นธฺ ดิ ้วยอกุสลวิปาก อเุ ปกขฺ าสหคตสนตฺ ิรณอันเดียวใส ผิว่าผู้มีบุญ ยงั มปี ฏสิ นธฺ ิ เกาั จําพฺวก สัตฺวอนั เกอฺ ดในมนุสสฺ ภมู เยานีด้วยปฏิสนฺธิ ๑๐ อันนันใดัทุกอัน แล เอาปฏสิ นธฺ ิพจิ ฺจารณาบญุ แลเอาปฏิสนฺธิ ๙ จาํ พวฺ ก ผิฝูงคนอันมีมุนฺธิลแล ฯ ฝูงวินิปา ติกาสูร เอาปฏิสนฺธิทีเดียวด้วยอกุสลวิปากอุเปกฺขาสหคตสนฺติรณอันเดียวใส่ สฺ วนปฏิสนฺธินันว่าด่งฺงนี้ ฯ เอาปฏิสนฺธินันพิจฺจารณาบาปแลเอาปฏิสนฺธิจิงเกิดทีนัน ฯ ปฏสิ นฺธินันแต่ ๔ จําพวฺ กนนั เอามีใดคั นผูร้ ู้หฺลักกมี มปี รีชารบู้ ญุ รู้ธมมฺ เป๐นต้นว่า เพาธิสัตฺว เอาปฏิสนฺธิด้วยปฏิสนฺธิ ๘ จําพฺวกนันแล ฯ ฝูงใดัคฺวรแก่ปฏิสนฺธิอันใดั กเกฺอดด้วย ปฏสิ นฺธิอนั นันแล ฯ อันวา่ ปฏสิ นธฺ ิ ๘ อันนัน อันน้ึงชื่อเสามนสฺสสหคต าณสมฺปยุตฺตอสํ ขารกิ วิปากปฏสิ นฺธิ ฯ ปฏสิ สนฺธิ นนั วา่ ดง่ งฺ นี้ ใจอันเอาปฏิปฏิสนฺธินัน เห็นแลรู้ด้วยป๎

๑๖๓ าอันหาบุคคลเบากบมิใดัแลยินดี จิงเอาปฏิสฺนฺธิ ฯ อันนึ้งชือเสามนสฺสสหคต าณ สมฺป ยตุ ตฺ สสขํ าริกวิปากปฏิสนฺธิ ฯ ปฏิสนฺธิว่าฉันน้ี จิตฺรอันเอาปฏิสนฺธินัน มีคนเบากจิงจเห่น แล ฯ เอารูปด้วยปรีชาแลยินฺดีจิงเอาปฏิสนฺธิ ฯ อันนึ้งชื่อว่าเสามนสฺสสหคต าณวิปฺป ยตุ ฺตสํขารกิ วิปากปฏสิ นฺธิ ฯ จติ รฺ อันเอาปฏสิ นฺธินนั บมริ แู้ ท้หาบคุ คลเบากบฺมิใดัแลยินฺดีจิง เอาปฏิสนธฺ ิ ๚ อันน้ึงชื่อเสามนสฺสสหคต าณวิปฺปยุตฺตสสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิ ฯ จิตฺรอัน เอาปฏิสนฺธินัน บฺมิรู้แท้แลมีผู้เบากจิงยินฺดีจิงเอาปฏิสนฺธิ ฯ อันน้ึงชื่ออุเปกฺขาสหคต าณสมฺปยุตฺต อสํขาริกวิปากปฏสิ นฺธจิ ิตฺรนนั ปฏิสนฺธินันแท้แลรู้ด้วยปรีชาหาบุคฺคลเบากบ มใิ ดั จิงเอาปฏิสนธฺ ิด้วยจติ ฺรอนั ปฺรเกาบ ฯ อันนงึ้ ช่อื อุเปกขฺ าสหคต าณสมฺปยุตฺตสสํขาริก วปิ ากปฏสิ นฺธิ ฯ จติ ฺรอนั เอาปฏสิ นฺธินัน คนเบากจงิ จเห็นแลร้ดู ว้ ยปรฺ ชี าจงิ เอาปฏิสนฺธิด้วย อันจกฺวาส ๚ อันน้ึงชืออุเปกฺขาสหคต าณวิปฺปยุตฺตอสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิ จิตฺรอัน เอาปฏสิ นธฺ ินันบมฺ ิรูแ้ ทแล หาคนเบากบฺมิใดัจึ้งปฏิสนฺธิด้วยใจ่อันปฺรเกาบ อันน้ึงช่ืออุเปกฺ ขาสหคต าณวิปฺปยุตฺตสสํขาริกวิปากปฏิสนฺธิใจอันเอาปฏิสฺนฺธินันมีคนเบากบฺมิเห็นมิรู้ แท จิงเอาปฏิสนฺธดิ ้วยใจอนั ปรฺ เกาบ ๚ สตั วฺ อันเกฺอดในกามาพจรภมู เปน๐ ตน้ ว่าจาตมุ มหาราชกิ าภูม เอาปฏิสนฺธิเยานี ด้วย อุปปาติกเยานีอันเดียวใส เอาปฏิสนฺธิด้วยปฏิสนฺธิ ๘ อันด่งฺงกฺลาวมานี้แล ฯ ผฺ สมปฏิสนธฺ ิในกามาพจร ภูมใดั ๑๐ จําพฺวก ผฺสมกันกับเยานี ๔ จาํ พฺวก ๚ สตั ฺวอันเกิดในปถมฌาณภูมเป๐นพฺรหฺมนัน เอาเยานี ด้วยอุปปาติกเยานีใส่ ฯ เอาปฏิสนฺธิด้วยวิตกฺกวิจารปีติสุเขกคตาสหิตํ ปถมฌานวิปากปฏิสนฺธิจิตฺรใจอัน เอาปฏสิ นฺธินันรําพึงดูแลพิจารณา จึงมักยินดียินสุกฺขนักหฺนาตาแลตนใจเป๐นอันเดียวจึง เอาปฏิสนฺธิ ผิว่ารําพึงปฏิสนฺธิเนัายใป๎ใดัใป๎เกฺอดใน พฺรหฺมปาริสชฺชาภูม ผิรําพึงทฺราบ ใป๎ใส่ ใดัใป๎เกฺอดในพฺรหฺมปโร หิตาภูม ผิว่ารําพึงหนักหฺนา เร่ิมอังกา ไกใดัใป๎เกฺอดใน มหาพรฺ หฺมภูม ๆ ทั้ง ๓ นชี้ ือ่ ปถมฌานภมู แล ๚ สัตฺวอันเกฺอดใน่ทุติยฌาณภูม เป๐นพฺรหฺมด้วยอุปปาติกเยานีอันเดียวแล ฯ เอาปฏิสนธฺ ดิ ้วยวจิ ารปีติสุเขกคตาสหิตํทุติยฌานํวิปากปฏิสนฺธิจิตฺร ฯ อันเอาปฏิสนฺธินัน พิจฺจารณาจิงมักยินดียินสุกฺขนักหฺนา จิงตาตนใจใป๎อันเดียวจิงเอาปฏิสนฺธิ ผิว่า ราํ พึงปฏิสนฺธินันสเหฺน่ายใสใดัใป๎เกฺอดในพฺรหฺมปริตฺตาภาภูม ผิรําพึงทฺรามใส่ใดัใป๎เกฺอด ในพรฺ หมฺ อปฺปมาณาภมู ผริ าํ พงึ นักหนฺ าใส่ ใดใั ป๎เกอฺ ดในพรฺ หมฺ อาภสสฺ ราภมู ๆ ท้ัง ๓ ชั้นน้ี ช่ือทุติยฌานภูมแล ๚ สัตฺวอนั เกอฺ ดในตตยิ ฌาณภมู เป๐นพฺรหมฺ เอาเยานีด้วยอุปปาติกเยานีอันเดียว แลเอา ปฏิสนฺธิด้วยปีติสุเขกคตาสหิตตติยฌาณวิปากปฏิสนฺธิจิตฺตํ ใจอันเอาปฏิสนฺธินัน บมิรําพึงพิจจารณาเลย เห็นสากแสก ยินดีสุกฺขนักหฺนาจึงเอาปฏิสนฺธิ ฯ ผิ

๑๖๔ รําพึงปฏิสนฺธินันสเหฺน่าย ใส่ใดัใป๎เกฺอดในพฺรหฺมปริตสุภาภูม ผิรําพึงทฺรามใส่ใดัใป๎เกฺอด ในพฺรหมฺ อปปฺ มาณสภุ าภูม ผิรําพึงนักหฺนาใส ใดัใป๎เกฺอดในพฺรหฺมสุภกิณฺหาภูม ภูมทั้ง ๓ ช้นั น้ชี อ่ื ตติยฌานภมู แล ๚ สัตฺวอันเกฺอดในจตุตถฌานภูมเป๐นพฺรหฺมเอาเยานีอันเดียวใส่ ฯ เอาปฏิสนฺธิ ด้วยอุเปกฺขาคตาสหิตํจตุตถชฺฌานวิปากปฏิสนฺธิจิตฺร ใจอันเอาปฏิสนฺธินัน เห็น ปฏสิ นธฺ ินนั สุกฺขแท้ แลเพิอตําตนใป๎ด้วยอเุ ปกฺขายินดี จึงเอาปฏิสนธฺ แิ ลใดัใปเ๎ กฺอดในเวหปฺ ผลาภูม ฯ สัตวฺ อันเกอฺ ดเอาปฏิสนฺธใิ นอส ฺ ตาภมู นัน เอาปฏิสนฺธิอันเดียวใส่ ฯ ปฏิสนฺธิ จาํ พฺวกนีช้ ือรูปาวจรภมู ปฏิสนธฺ แิ ล ๚ สัตวฺ อันเอาปฏิสนธฺ ิในอรปู าวจรภูม ๔ ชัน้ อนั นึง้ ชือ่ ป ฺจฌานนนั เอาปฏิสนฺธิ ในอากาสาน จฺ ายตนภูมนัน เอาปฏิสนฺธิด้วยอากาสาน ฺจายตนวิปากปฏิสนฺธิอัน เดียวนันใส่ ใจอันเอาปฏิสนฺธิว่าบฺมิรู้ คฺรนอนใดเลยฺย เอาอากาสาน ฺจายนต ฯ เอาใจ จับอฺยูในอากาศเนัายนึงจึงเอาปฏิสนฺธิว่าบฺมิเห่นอากาสเลยฺยจึงเอาปฏิสนฺธิ ฯ สัตฺวอัน เอาปฏสิ นฺธิในอากิ จฺ ฺ ายตนภมู นนั เอาอากิ ฺจ ฺ ายตนวิปากปฏิสนฺธิอันเดียวนันใส่ ใจอันเอาเริ่มอังกา โกปฏิสนฺธินันเอาปฏิสนฺธิด้วยวิ ฺ าณอันลเอิยดแลจึงเอาปฏิสนฺธิ ฯ สัตฺวอันเอาปฏิสนฺธิในเนวส ฺ ายตนภูมนัน เนวส ฺ านาส ฺ ายตนวิปากปฏิสนฺธิอัน เดียวนนั ใส่ใจอันเอาปฏิสนฺธดิ ง่ ฺงจักมีดง่ งฺ จักบมฺ ีจงึ เอาปฏสิ นธฺ ิ ฯ แตฝ่ ูงสตั วฺ ทังหฺลายอันเอา เยานปี ฏสิ นฺธิแหง่ ภูม ๓๑ เปน๐ ปฺรเภทในใตฺรภมู ดง่ ฺงกลฺ าวมานีแ้ ล ๚ ฉบบั ถอดความ ท่านวา่ ดังนี้ ปฏสิ นธิ [การถอื กําเนิด] น้ันมี ๒๐ จําพวก ซ่ึงจัดได้เป๐น ๓ กลุ่มดังน้ี กลุ่มท่ี หนึ่ง คือ กามาพจรปฏิสนธิ ๑๐ กลุ่มท่ีสอง คือ รูปาวจรปฏิสนธิ ๖ กลุ่มที่สาม คือ อรู ปาวจรปฏิสนธิ ๔ กามาพจรปฏิสนธินั้น ได้แก่การกําเนิดของสัตว์ในกามภูมิ จําแนกออกได้ เป๐น ๑๐ จําพวก คือ จําพวกที่หน่ึงเกิดด้วยจิตที่เป๐นผลบาป อารมณ์ท่ีไม่ดีพร้อมด้วย ความวางเฉย จําพวกที่สองเกิดด้วยจิตท่ีเป๐นผลบุญ อารมณ์ท่ีดีพร้อมด้วยความวางเฉย จําพวกท่ีสามเกิดด้วยจิตท่ีเกิดเองโดยไม่มีส่ิงชักจูง พร้อมด้วยความยินดี มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกที่สี่เกิดด้วยจิตที่เกิดโดยมีสิ่งชักจูง พร้อมด้วยความ ยินดี มภี ูมปิ ๎ญญา อุปนสิ ัยรา่ เรงิ ชอบเป๐นผ้ตู าม จาํ พวกที่ห้าเกิดด้วยจิตที่เกิดเองโดยไม่มี สง่ิ ชกั จูง พรอ้ มด้วยความยินดี ไม่มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกที่หก เกิดด้วยจิตท่เี กิดโดยมีสิง่ ชกั จงู พร้อมด้วยความยินดี ไม่มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบ เปน๐ ผตู้ าม จาํ พวกท่ีเจ็ดถือกาํ เนดิ ดว้ ยจิตทเี่ ป๐นผลบุญ เกิดข้ึนเองโดยไม่มีส่ิงชักจูง พร้อม

๑๖๕ ด้วยความวางเฉย มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยเคร่งครัดจริงจัง ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกที่แปดถือ กําเนดิ ด้วยจิตท่เี ปน๐ ผลบุญ เกิดข้ึนโดยมิสิ่งชักชวน พร้อมด้วยความวางเฉย มีภูมิป๎ญญา อุปนสิ ยั เคร่งขรึม ชอบเป๐นผูต้ าม จาํ พวกท่ีเกา้ เกดิ ดว้ ยจติ ท่เี ปน๐ ผลบุญ เกิดขึน้ เองโดยไม่มี สง่ิ ชกั จูง พร้อมดว้ ยความวางเฉย ไม่มภี ูมปิ ญ๎ ญา อุปนิสัยเคร่งขรึม ชอบเป๐นผู้นํา จําพวก ท่ีสิบเกิดข้ึนด้วยจิตท่ีเป๐นผลบุญ เกิดข้ึนโดยมีส่ิงชักจูง พร้อมด้วยความวางเฉย ไม่มีภูมิ ป๎ญญา อปุ นิสยั เครง่ ขรึม ชอบเปน๐ ผตู้ าม รูปาวจรปฏิสนธิ ๖ นั้น ได้แก่การเกิดของสัตว์ในรูปภูมิ จําแนกออกเป๐น ๖ จาํ พวก คือ การเกิดด้วยจิตท่ีเป๐นผลของรูปฌาน ๕ จําพวก และถือกําเนิดด้วยรูปอย่าง เดียว ๑ การเกิดด้วยจิตท่เี ป๐นผลของรปู ฌาน ๕ จําพวกนั้น ได้แก่ จําพวกท่ีหน่ึงเกิดด้วย จิตท่ีเป๐นผลของฌาน อันเกิดพร้อมด้วยความตรึก ความตรอง ความอ่ิมใจ ความสุขใจ และความมีใจเป๐นสมาธิ จําพวกที่สองเกิดด้วยจิตที่เป๐นผลของฌาณ อันเกิดพร้อมด้วย ความตรอง ความอิ่มใจ ความสุขใจ และความมีใจเป๐นสมาธิ จําพวกท่ีสามเกิดด้วยจิตท่ี เป๐นผลของฌาน อันเกิดพร้อมด้วยความอ่ิมใจ ความสุขใจ และความมีใจเป๐นสมาธิ จําพวกท่ีสเ่ี กดิ ดว้ ยจติ ทเ่ี ป๐นผลของฌาน อันเกิดพร้อมด้วยความสุขใจ และความมีใจเป๐น สมาธิ จําพวกที่ห้าเกิดด้วยจิตท่ีเป๐นผลของฌาน อันเกิดพร้อมด้วยความวางเฉย และ ความมีใจเป๐นสมาธิ จําพวกที่หกเกิดด้วยรูปอย่างเดียว พรหมท่ีมีรูปร่างอันเรียกว่ารูป พรหมนนั้ ยอ่ มเกิดด้วยปฏิสนธิ ๖ อยา่ งนี้ อรปู าวจรรปู ปฏสิ นธิ ๔ ไดแ้ ก่การเกิดของสัตวใ์ นอรูปภูมิ คือ การเกิดด้วยจิต ที่เป๐นผลของอรูปฌาน ๔ จําพวก ได้แก่ จําพวกที่หน่ึงเกิดด้วยจิตท่ีเป๐นผลของฌาน ท่ี กําหนดอากาศอันหาท่ีสุดมิได้เป๐นอารมณ์ จําพวกท่ีสองเกิดด้วยจิตที่เป๐นผลของฌานที่ กาํ หนดวิญญาณอนั หาท่สี ุดมิได้เป๐นอารมณ์ จําพวกท่ีสามเกิดด้วยจิตท่ีเป๐นผลของฌานที่ กาํ หนดภาวะไม่มอี ะไร ๆ แมแ้ ต่นอ้ ยเปน๐ อารมณ์ จาํ พวกที่ส่เี กดิ ดว้ ยจติ ท่ีเป๐นผลของฌาน ที่กําหนดภาวะที่มีสัญญาละเอียดย่ิง จะว่ามีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็มิใช่เป๐นอารมณ์ พรหมทัง้ หลายท่ีหารปู มิได้ ยอ่ มเกิดด้วยปฏสิ นธจิ ิต ๔ อย่างนี้ ปฏสิ นธใิ น ๓ ภมู ิ คือ กามาวจรปฏิสนธิ ๑๐ รูปาวจรปฏิสนธิ ๖ และอรูปาว จรปฏิสนธิ ๔ จึงรวมเปน๐ ปฏสิ นธิ ๒๐ สรรพสัตว์ที่เกิดในภูมินรกน้ัน เกิดด้วยกําเนิดผุดข้ึนอย่างเดียว คือ พอเกิด ข้ึนมาก็มีรูปกายโตใหญ่ในทันใด และเกิดด้วยจิตซ่ึงเป๐นผลบาป พิจารณาอารมณ์ท่ีไม่ดี และมีความวางเฉย สรรพสัตว์ท่ีเกิดในภูมิของเปรต ภูมิสัตว์เดรัจฉาน และในภูมิของ อสุรกาย มีลักษณะในการเกิดเช่นเดียวกัน คือมีจิตเป๐นผลบาป พิจารณาอารมณ์ท่ีไม่ดี และมคี วามวางเฉย

๑๖๖ สรรพสัตว์ในภูมิเดรัจฉาน ภูมิเปรต ภูมิอสุรกาย ท้ัง ๓ ภูมินี้เกิดด้วยกําเนิด ๔ อย่าง บางคร้ังเกิดจากไข่ บางคร้ังจากครรภ์ จากไคล หรือเกิดผุดขึ้น มีจิตซ่ึงเป๐นผล บาป พิจารณาอารมณ์ทไี่ ม่ดี และมคี วามวางเฉย สรรพสัตว์ที่เกิดในภูมิมนุษย์ย่อมถือกําเนิดด้วยปฏิสนธิได้ทั้ง ๑๐ อย่าง [กามาวจรปฏิสนธิ ๑๐] ถ้าเป๐นคนมีบุญถือกําเนิดด้วยปฏิสนธิ ๙ อย่าง แลคนท่ีมีบาป และพวกเทวดาชนั้ ตาํ่ ถอื กําเนดิ ด้วยจติ ท่ีเป๐นผลแห่งอกุศลท่ีเกิดพร้อมด้วยความวางเฉย พจิ ารณาอารมณท์ ไี่ มด่ ี ผู้รู้หลักเหตุผล ผู้มีสติป๎ญญา ผู้รู้บุญและบาป และผู้รู้ธรรม เป๐นต้นว่า พระ โพธสิ ัตว์ ย่อมถอื กาํ เนดิ ดว้ ยปฏสิ นธิ ๘ จาํ พวก คือ จําพวกท่ีหน่ึงเกิดด้วยจิตที่เกิดขึ้นเอง มคี วามยินดี มภี มู ปิ ๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกท่ีสองเกิดด้วยจิตท่ีเกิดข้ึน โดยส่ิงชักจูง มีความยินดี มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้ตาม จําพวกท่ีสามเกิด ดว้ ยจติ ที่เกดิ ขึน้ เอง มคี วามยนิ ดี ไม่มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกท่ีสี่ เกิดดว้ ยจิตทีเ่ กิดขึ้นโดยมีสิง่ ชักจูง มีความยินดี ไม่มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยร่าเริง ชอบเป๐นผู้ ตาม จําพวกท่ีห้าเกิดด้วยจิตที่เกิดขึ้นเอง มีความวางเฉย มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยเคร่งขรึม ชอบเป๐นผนู้ ํา จาํ พวกท่หี ก กดิ ด้วยจติ ทเ่ี กดิ ขึน้ โดยมสิ ่ิงชักจูง มีความวางเฉย มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยเครง่ ขรึม ชอบเป๐นผตู้ าม จําพวกที่เจด็ เกิดดว้ ยจติ ท่ีเกิดข้ึนเอง มีความวางเฉย ไม่ มีภูมิป๎ญญา อุปนิสัยเคร่งขรึม ชอบเป๐นผู้นํา จําพวกท่ีแปดเกิดด้วยจิตที่เกิดขึ้นโดยมีส่ิง ชักจูง มีความวางเฉย ไมม่ ีภูมิป๎ญญา อุปนสิ ัยเคร่งขรมึ ชอบเป๐นผตู้ าม สรรพสัตว์ทเี่ กดิ ในภูมขิ องเทวดา ๖ ช้นั เรยี กว่าฉกามาพจร ซ่ึงเริ่มด้วยชั้นจา ตุมหาราชกิ า นั้นเกิดด้วยกําเนดิ ผุดข้นึ อยา่ งเดียวคือ เกิดขึ้นโดยมีรูปกายโตใหญ่ในทันใด และเกิดด้วยปฏิสนธิท้ัง ๘ จําพวกดังกล่าวแล้ว การกล่าวถึงกามาพจรปฏิสนธิ ๑๐ จําพวก และกําเนดิ ๔ ในกายภมู จิ บลงเพยี งเทา่ น้ี ผูเ้ ปน๐ พรหมในฌานภูมิชั้นแรกน้ัน เกิดข้ึนโดยมีรูปกายใหญ่โตในทันใด ด้วย จิตทเี่ ปน๐ ผลของฌานอนั เกดิ พรอ้ มด้วยความตรึก ความตรอง ความอิ่มใจ ความสุขสบาย ใจ และความมีใจเป๐นสมาธิ หากผู้ใดพิจารณาฌานเพียงเล็กน้อยก็จะไปเกิดในพรหมชั้น ปาริสัชชา หากผ้ใู ดพิจารณาฌานปานกลางกจ็ ะไปเกิดในพรหมช้ันปโรหิตา และหากผู้ใด พิจารณาฌานอย่างมาก ก็จะไปเกิดในพรหมชั้นมหาพรหม ภูมิทั้ง ๓ ช้ันดังกล่าวนี้คือ ปฐมฌานภูมิ ผู้เปน๐ พรหมในฌานภูมชิ นั้ ท่สี องน้ัน เกดิ ข้ึนโดยมีรูปกายโตใหญ่ในทันใด ด้วย จิตท่ีเป๐นผลของฌานอันเกิดพร้อมด้วยความตรอง ความอิ่มใจ ความสุขสบายใจ และ ความมใี จเป๐นสมาธิ หากผู้ใดพิจารณาฌานเพียงเล็กน้อยก็จะไปเกิดในพรหมช้ันปริตตา

๑๖๗ ภูมิ หากผู้ใดพิจารณาฌานปานกลางก็จะไปเกิดในพรหมชั้นอัปปมาฌาน และหากผู้ใด พิจารณาฌานอยา่ งมากจะไปเกิดในพรหมชั้นอาภัสสรา ภูมิท้ัง ๓ ชั้นดังกล่าวนี้คือ ทุติย ฌานภมู ิ ผู้เปน๐ พรหมฌานภมู ชิ นั้ ที่สามน้ัน เกดิ ขึ้นโดยมีรปู กายโตใหญใ่ นทนั ใด ดว้ ยจิต ท่ีเป๐นผลของฌานอันเกิดพร้อมดว้ ยความอิ่มใจ ความสุขใจ และความมีใจเป๐นสมาธิ หาก ผูใ้ ดพิจารณาฌานเพียงลางเลือนก็จะได้ไปเกิดในพรหมชั้นปริตตสภา หากผู้ใดพิจารณา ฌานปานกลางก็จะไปเกิดในพรหมช้ันอัปปมาณสภา และหากผู้ใดพิจารณาฌานอย่าง มากกจ็ ะไปเกดิ ในพรหมช้ันสภุ กณิ หา ภูมิท้งั ๓ ช้นั ดงั กลา่ วนีค้ ือ ตติยฌานภูมิ ผูเ้ ปน๐ พรหมในฌานภูมิชน้ั ทีส่ น่ี ้นั เกดิ ขน้ึ โดยมีรปู กายโตใหญใ่ นทันใด ด้วยจิต ท่ีเป๐นผลของฌานอันเกิดพร้อมด้วยความวางเฉย และความมีใจเป๐นสมาธิ และจะได้ไป เกิดในพรหมโลก ช้ันเวหัปผลา และชั้นสุทธาวาส ๕ อันเป๐นที่อยู่ของพระอนาคามีและ พระอรหันต์ อันไดแ้ ก่ชัน้ อวหิ า อตัปปา สุทัสสา สทุ ัสสี อกนฏิ ฐา สว่ นพรหมช้ันอสัญญีสัต ตาภมู ิเกิดด้วยรปู ปฏิสนธอิ ยา่ งเดียว ปฏสิ นธิ ๖ อยา่ งน้ีชือ่ วา่ รปู าวจรปฏสิ นธิ ผู้เป๐นพรหมในอรูปาวจรภูมิ ๔ ช้ัน ซ่ึงเป๐นป๎ญจมฌานภูมินั้น เม่ือเกิดในชั้น อากาสานัญจายตนะ ไมม่ ีรปู กาย เกิดด้วยจิตเพ่งความว่างเปล่า หรืออากาศเป๐นอารมณ์ เมื่อเกิดในชั้นวิญญาณัญจายตนะ ก็ไม่มีรูปกายเช่นกัน เกิดด้วยจิตเพ่งวิญญาณอันหา ที่สดุ มิไดเ้ ปน๐ อารมณ์ เมื่อเกิดในช้ันอากิญจัญญายตนะไม่มีรูปกาย เกิดด้วยจิตเพ่งภาวะ ไม่มีอะไรแม้แต่น้อยเป๐นอารมณ์ เม่ือเกิดในชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่มีรูปกาย เกิดด้วยจิตซงึ่ เพ่งภาวะ มสี ญั ญากไ็ มใ่ ช่ ไม่มีสญั ญากม็ ิใช่ ท่ีกล่าวมาทั้งหมดนี้ เป๐นการเกิดของสรรพสัตว์ท้ังหลายรวมท้ังส้ิน ๓๑ ภูมิ ซงึ่ จดั อยใู่ นไตรภมู ิ อนึ่ง ในการสัมมนาทางวิชาการ เร่ือง คติไตรภูมิ: อิทธิพลต่อวิถีชีวิต สงั คมไทย จดั โดยกรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม เม่ือวันที่ ๒๘-๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ อาจารย์สุภา พูนผล๑๒๐ ในฐานะผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้จัดทําบทสรุปลักษณะเด่นของ วรรณคดเี รอ่ื งไตรภูมพิ ระร่วงไว้ดงั นี้ ๑๒๐อาจารย์สุภา พูนผล “แบบสรุปข้อมูลจากการอบรมหรือสัมมนาทางวิชาการ ” [ออนไลน์], แหลง่ ทม่ี า: http://arts.payap.ac.th/artsit/attachments/๒๒๘_Tripoom_.pdf

๑๖๘ ๑. ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง ถือเป๐นวรรณคดีสุดยอดของไทยในยุค แรกเร่มิ ของอาณาจักร ซึ่งเป๐นการสะท้อนให้เหน็ ถึงภมู ิป๎ญญาและอัจฉริยภาพของบรรพ บุรษุ ไทยในยคุ สมยั นั้น รวมทั้งยงั นับเป๐นวรรณคดีพุทธศาสนาเรอ่ื งแรกของไทยอกี ด้วย ๒. ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง สอนให้คนเข้าใจธรรมชาติหรือความ เป๐นไปของชวี ิตที่แทจ้ ริง โดยเน้นให้คนเข้าใจรากฐานของชีวิต คือ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เน้นเร่ืองการทาความดี และการแสวงหาความสงบสุขของชวี ติ ๓. ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง มีความโดดเด่นท่ีสานวนภาษา เพราะมี ความไพเราะ สละสลวย สะท้อนว่าผู้รจนาน้ันเป๐นผู้ปราดเปรื่องและเช่ียวชาญในทาง ภาษาอย่างแท้จริงเพราะสามารถนาภาษาไทย ภาษาเขมร และภาษามคธ [บาลี] มา รจนาร่วมกนั ได้ ๔. ไตรภูมกิ ถา หรอื ไตรภมู ิพระรว่ ง นับเป๐นวรรณคดีเรื่องแรกท่ีมีการอ้างอิง ที่มา เพราะผู้รจนาไดอ้ า้ งถงึ คัมภีรท์ างพทุ ธศาสนาไว้มากกว่า ๓๐ เรื่อง อีกท้ังยังสะท้อน ถงึ ผูร้ จนา คอื สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาลิไทยวา่ เปน๐ ผทู้ มี่ คี วามพากเพยี รอย่างมาก ๕. ไตรภูมิกถา หรอื ไตรภูมิพระร่วง ถือเป๐นวรรณคดีที่มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อ งานศลิ ปะของไทย หรืออาจจะเรยี กไดว้ ่าเปน๐ วรรณคดที เ่ี ปน๐ จุดกาเนิดของศิลปะไทยก็ว่า ได้ ๖. ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง เป๐นวรรณคดีที่ส่งเสริมคาสอนทาง พระพุทธศาสนา ซ่ึงหากสังเกตให้ดีจะพบว่าคาสอนดังกล่าวเป๐นรากฐานของอุปนิสัยใจ คอของคนไทย โดยเฉพาะในชนชั้นปกครอง เพราะมีอิทธิพลในการวางแผนหลักการ ปกครองทเี่ ปน๐ ธรรม ๗. ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง เป๐นวรรณคดีท่ีสร้างความปึกแผ่นใน ความเป๐นชาติ โดยเน้นการสร้างอุดมคติให้กับประชาชนโดยเฉพาะเร่ืองการสร้างสานึก ผดิ ชอบช่ัวดใี ห้แก่พลเมือง ส่งผลให้บ้านเมืองมีความสงบสุขและเป๐นปึกแผ่นสืบต่อไปได้ ซ่ึงสง่ิ นน้ี ับว่าเปน๐ สิง่ ทสี่ าคญั มากในยุคสมยั ของการเรม่ิ สร้างอาณาจกั ร ในแง่ที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย อาจารย์สุภา พูนผล๑๒๑ ได้สรุปประเด็นไว้ ดงั นี้ ๑. เป๐นวรรณคดที ี่ไดร้ บั ความนยิ มและแพร่หลายไปท่ัวท้ังประเทศไทย ไม่ว่า คนไทยในภูมิภาคไหน ต่างก็รู้จักวรรณคดีเร่ืองนี้เป๐นอย่างดีท้ังส้ิน แม้ว่าวรรณคดีเร่ือง ๑๒๑อาจารย์สุภา พูนผล “แบบสรุปข้อมูลจากการอบรมหรือสัมมนาทางวิชาการ ” [ออนไลน์], แหลง่ ทมี่ า: http://arts.payap.ac.th/artsit/attachments/๒๒๘_Tripoom_.pdf

๑๖๙ ดังกล่าวจะใช้ช่ือแตกต่างกันออกไปตามภูมิภาค และมีเนื้อหาท่ีแตกต่างกันไปตาม ลักษณะเฉพาะทอ้ งถิ่นกต็ าม ทง้ั นค้ี วามนิยมดังกลา่ วยงั สะทอ้ นออกมาผา่ นพิธีกรรม หรือ ขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่นน้ัน ๆ อีกด้วย เช่น ประเพณีชุธาตุ ของภาคเหนือ การลากลอนของหมอลาในภาคอีสาน การนาสมุดภาพไตรภูมิมาใช้ในการแทงเบี้ยเสี่ยง ทายของคนภาคใต้ การสร้างเครื่องรางของขลัง หรือวัตถุมงคลต่าง ๆ โดยพระ เกจิอาจารย์ช่ือดังในวัดทางภาคกลาง การเล่นกิจกรรมสอยต้นกัลปพฤกษ์ การแห่ ขนั หมากในพิธแี ต่งงาน การทาบายศรี เปน๐ ต้น ๒. เป๐นวรรณคดที ่ีทาให้เกดิ การสรา้ งสรรคง์ านตามคติไตรภูมิ กล่าวคอื ๒.๑ มีอทิ ธพิ ลตอ่ ด้านสถาปต๎ ยกรรม ดงั สงั เกตไดจ้ ากการจัดวางแผนผัง ในวัดท่ีสะท้อนมาจากความเช่ือเรื่องจักรวาล มีการสร้างเจดีย์หรือพระปรางค์สาคัญอยู่ ตรงกลาง เนอื่ งจากเชื่อว่าเปน๐ การจาลองเขาพระสุเมรุ หรือการสร้างเขาวงกต การสร้าง พระเมรใุ นพระราชพิธี เปน๐ ตน้ ๒.๒ มีอิทธิพลตอ่ ดา้ นจิตรกรรม ดังสังเกตได้จากภาพวาดจิตรกรรมฝา ผนังในพระวิหารหรืออุโบสถ โดยเฉพาะรูปนรกสวรรค์ นอกจากนั้นแล้วยังพบว่า วรรณคดีเร่ืองน้ีมีส่วนสาคัญย่ิงต่อการสร้างสรรค์จินตนาการให้แก่ศิลปิน เช่น เกิดการ วาดรูปสตั ว์ในปุาหมิ พานต์มากมายหลากหลายชนิด เช่น ครุฑ นาค คชสีห์ ราชสีห์ กินรี นกการเวก โดยท่ีบางชนดิ นัน้ ไม่ไดม้ กี ารกล่าวถึงไวใ้ นวรรณคดเี รือ่ งไตรภูมกิ ถาเลยกต็ าม ๓. มอี ทิ ธิพลต่อการสร้างสรรคว์ รรณคดี โดยพบวา่ อิทธิพลของไตรภมู ิกถานั้น สง่ ผลต่อการสร้างสรรคต์ ัวละคร ฉาก โดยเฉพาะฉากปุาหิมพานต์ แนวคิดหรือแก่นเรื่อง อนุภาคสาคญั บางอนุภาคในเนื้อเร่ือง ทั้งนี้จากการวิเคราะห์พบว่าวรรณคดีเรื่องไตรภูมิ กถามีอิทธิพลต่อวรรณคดีไทยในยุคหลังหลายเรื่องทั้งที่เป๐นวรรณคดีด้ังเดิม เช่น ลิลิต โองการแช่งน้า กากีคากลอน ไตรภูมิโลกวินิจฉัย สมบัติอัมรินทร์คากลอน พระอภัยมณี รามเกียรติ์ มาลัยคาหลวง ฯลฯ และวรรณกรรมสมัยใหม่ โดยพบว่าวรรณคดีเร่ือง ดังกล่าวสามารถส่งอิทธิพลให้กับนักเขียนในวงการวรรณกรรมป๎จจุบันอีกด้วย เช่น นว นยิ ายออนไลน์ทีใ่ ช้ตัวละครเอกเป๐นนาค ครุฑ หรือกินรี การสร้างการ์ตูนโดยใช้ฉากเป๐น นรกสวรรค์ หรือปาุ หิมพานต์ ดังเรือ่ ง ปง๎ ปอนดต์ ะลยุ ปุาหมิ พานต์ หรอื การนามาเป๐นแรง บันดาลใจในการสร้างงานของนักเขียนชื่อดังหลายท่าน เช่น ข้ามสีทันดร ของกฤษณา อโศกสิน ฯลฯ ๔. มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานด้านดนตรี และนาฏศิลป์ไทย แม้ไตรภูมิ กถาหรือไตรภมู ิพระรว่ งจะเป๐นวรรณคดีเกี่ยวกับศาสนา แต่ไม่น่าเช่ือว่าคติไตรภูมิน้ันได้ สง่ อิทธพิ ลตอ่ งานศิลปะทางการแสดงด้วย ไม่ว่าจะเป๐นการเล่นเพลง “ฆ้องสาธุการ” ซ่ึง

๑๗๐ ถอื เป๐นเพลงที่สาคัญมากของวงการดนตรีไทยเนื่องจากจะต้องใช้ในการเล่นพิธีครอบครู และไหว้ครู หรือ “เพลงสาธุการ” ซง่ึ เปน๐ เพลงหน้าพาทย์เพลงสาคัญท่ีนักเล่นดนตรีไทย ทกุ คนจะต้องฝึกเป๐นเพลงแรก หรือในชุดการแสดงทางนาฏศิลป์ ก็มีชุดการแสดงหลาย ชดุ ทีไ่ ด้รับอทิ ธิพลมาจากวรรณคดีเรื่องไตรภูมิกถา เช่น ระบาดาวดึงส์ ระบาไกรลาสสา เรงิ มโนราหบ์ ชู ายัญ ฯลฯ ไตรภมู โิ ลกวินิจฉัย ไตรภูมิโลกวินิจฉัย๑๒๒ เป๐นวรรณกรรมยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ผู้ประพันธ์ พระยาธรรมปรีชา [แก้ว] พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ โปรด เกล้าให้เรียบเรียงข้ึนใหม่ เน่ืองจากไตรภูมิกถาฉบับเดิมนั้นมีถ้อยคํา สํานวน ตลอดจน เนื้อหาไม่สมประสงค์ การเรียงเรียงใหม่คร้ังนี้ พระยาธรรมปรีชาได้ขอให้พระพุทธโฆษา จาย์ เปน๐ ผู้ชว่ ย พระธรรมอดุ มเป๐นผู้สอบ สมเดจ็ พระสงฆร์ าชาธิบดี เปน๐ ท่ีปรึกษา ศักราช ที่แตง่ ระบุ พ.ศ.๒๓๒๖ ฉบับที่ผู้เขียนนํามาเป๐นข้อมูลอ้างอิงในการจัดทําคําอธิบายครั้งนี้ เป๐นฉบับ ตีพิมพ์คร้ังที่ ๒ ปี พ.ศ.๒๕๒๑ กรมศิลปากรมอบให้ทายาทตีพิมพ์ในงานฌาปนกิจศพ นายทองสุก กาญจนพันธุ์ ณ เมรุวัดธาตุทอง ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๑ [ตีพิมพ์ครั้งแรก เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๕] เปน๐ สํานวนที่ ๑ ซึ่งมีเนอ้ื ความย่อกว่าสาํ นวนที่ ๒ ในคํานําของกรมศิลปากร ได้พูดถถึงไตรภูมิโลกวินิจฉัยว่า เป๐นวรรณกรรม ทางพระพทุ ธศาสนาทม่ี ีเนือ้ หามากเรื่องหนึง่ ต้นฉบับเดมิ มี ๒ ฉบับ หรอื ๒ สํานวน ฉบับ แรกมีความยาว ๒๕ ผูก ฉบับท่ี ๒ มีความยาว ๖๐ ผูก และมีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น เต ภูมิกถา หรือไตรภูมิกถาบ้าง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถา หรือไตรภูมิโลกวินิจฉัยบ้าง แต่ที่ นิยมเรียกคือ ไตรภูมิฉบับหลวง ซึ่งเค้าโครงมีที่มาเดียวกันกับพระไตรภูมิพระร่วง พระ ราชนพิ นธ์ของพญาลไิ ทสมัยสโุ ขทัย ในอารมภกถากแ็ สดงความเปน๐ มาของไตรภมู วิ า่ ๑๒๓ ทรงให้นมิ นต์พระสงฆ์ราชาคณะผใู้ หญ่ผนู้ ้อย ฝาุ ยคามวาสี และอรัญญวาสี มี สมเดจ็ พระสังฆราชเป๐นประธาน มาประชุม ณ พระทนี่ ัง่ จักรพรรดพิ มิ าน พร้อมดว้ ยเสนา อาํ มาตย์ ครนั้ ถึงเวลาฟง๎ พระสทั ธรรม ก็มีพระราชปุจฉาตรัสถามพระราชาคณะและราช ๑๒๒ พระยาธรรมปรีชา [แก้ว], ไตรภูมิโลกวินิจฉัย, [พิมพ์ในงานฌานปกิจศพนายทองสุข กาญจนพนั ธ์ุ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๒๑], ๑๑๔ หน้า. ๑๒๓ พระยาธรรมปรีชา [แกว้ ], ไตรภูมิโลกวินิจฉัย, หน้า ๓-๕.

๑๗๑ บัณฑิตยาจารย์ท้ังปวงด้วยกัปปกถา พุทธาภิหารกถา โลกวินาสสัณฐกถา และปกิณณ กถาตา่ ง ๆ พระราชาคณะและราชบัณฑิตท้ังว ถวายวิสัชชนาเปลื้องบ้าง มิได้เปล้ืองบ้าง จึงมีพระราชบริหารดํารัสรับส่ังให้ไปค้นพระไตรปิฎกน้ันออกแต่งเป๐นไตรภูมิกถาฉบับ หนงึ่ เพือ่ ให้สาธุชนท้ังปวงได้รับพระราชทานสวนาการสดับ แล้วจะให้เกิดความเล่ือมใส ในพระบวรพระพุทธศาสนาน้นั ประการหนงึ่ จะใหเ้ กิดความสังเวชว่า สงั ขารธรรมท้ังปวง น้ี บงั เกดิ ข้นึ แล้วก็มีแตค่ วามฉบิ หายเปน๐ เบอื้ งหน้า แสนมหาแม้แต่ว่าพื้นพสุธา ก็ย่อมฉิบ หายประลยั ไปไม่ยง่ั ไม่ยืน จะใหเ้ กิดความสังเวชอีกประการหนง่ึ ครั้นอยู่มา ณ ปีจอจัตวาศก ทรงพระปรารภด้วยพระญาณปรีชาว่า ไตรภูมิ กถา ทแี่ ต่งไว้นัน้ ป๎นแจกออกกันแต่งเป๐นส่วนๆ คารมไม่เสมอกัน ขึ้นๆ ลงๆ กว่ากันอยู่ เป๐นอันมาก ทย่ี ังวปิ ลาสคลาดเคลื่อนว่าเน้ือความไม่สมด้วยพระบาลี และพระอรรถกถา นั้นก็มี ถา้ แตง่ ข้นึ ใหมใ่ หเ้ ปน๐ คารมเดยี วกั ชําระดัดแปลงเสียให้ดี ให้สมด้วยพระบาลีและ อรรถกถา มหาฎีกา และอนุฎีกาท่ีไหนยงั เปน๐ สังเขปกถาย่นย่ออยู่น้ัน แต่งเติมเพิ่มเข้าให้ พิสดาร จะได้เป๐นธรรมทานอันลํ้าเลิศประเสริฐ เป๐นที่เกิดกองการกุศลให้สําเร็จผลแล ประโยชน์แก่ผู้อ่านและผู้ฟ๎งน้ันเป๐นอันมากกว่ามาก ทรงพระราชดําริด้วยพระญาณ สัมปยตุ กามาพจรกุศลเจตนาดังนี้แล้ว ครั้นถึงวันอัฏฐมีอุโบสถศุกลป๎กษ์เดือน ๑๑ เสด็จ ออก ณ พระท่ีนัง่ จักรพรรดพิ ิมาน ถวายสังฆภตั ทานแด่พระภกิ ษสุ งฆ์ มอี งค์พระปฏิมากร เจา้ เปน๐ ประธาน แลว้ จงึ มีพระราชโองการดํารัสส่ัง พระยาธรรมปรีชาจางวางราชบัณฑิต จะให้ชําระดัดแปลงไตรภูมิกถาอย่างพระราชดํารัสน้ัน พระธรรมปรีชาจึงกราบทูลพระ กรุณาของเอาพระพุทธโฆษาจารย์เป๐นช่วย พระธรรมอุดมเป๐นผู้สอบ สมเด็จพระราชาธิ บดี เป๐นที่ปรึกษาไต่ถามข้อความท่ีสนเท่ห์สงสัย แรกจับการชําระดัดแปลงแต่งไตรภูมิ กถาในครั้งนี้ ปีจอจัตวาศกเดือนอ้ายแรมแปดคํ่าวันศุกร์ เพลาบ่าย ๔ โมง พระพทุ ธศาสนาล่วงแล้วสองพันสามร้อยส่ีสิบห้าพระวัสสา เศษสังขยา ๖ เดือนกับ ๒๒ วันโดยกาํ หนด [พ.ศ.๒๓๔๕] ลักษณะคําประพันธ์ของไตรภูมิโลกวินิจฉัย รจนาเป๐นร้อยแก้ว ยกเว้น ตอนต้นเร่ืองในสว่ นของบทนมัสการพระรตั นตรัยเท่าน้ันที่เป๐นร้อยกรอง ตามธรรมเนียม นยิ มของการรจนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ผู้แต่งใช้อินทรวิเชียรคาถา ๔ คาถา คาถาแรกเป๐นบทนมัสการพระพุทธเจ้า คาถาที่ ๒ เป๐นบทนมัสการพระธรรม คาถาที่ ๓ เปน๐ บทนมสั การพระสงฆ์ และคาถาท่ี ๔ แสดงความปรารถนาของผู้รจนาคัมภรี ์ แมจ้ ะเปน๐ ร้อยแกว้ แต่สาํ นวนภาษามีลกั ษณะร้อยแกว้ ทั้งเชิงความเรียง และ รอ้ ยแกว้ เชิงกวนี พิ นธ์ ประกอบด้วยอลังการ และมีสัมผัสระหว่างพยางค์ในแต่ละคํา ส่ง

๑๗๒ ทอดกันเป๐นระยะท้ังในระหว่างวรรค และระหว่างประโยค ทําให้เกิดความเพลิดเพลิน และเกดิ สนุ ทรียะในอรรถรสของภาษา ตวั อย่าง ๑ อธิบายในปณามคาถาวา่ โย นาโถ อนั ว่าสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถศาสดา สมั มาสัมพทุ ธเจ้าพระองค์ใด ผู้มีพระกมลหฤทัยอันประกอบด้วยพระมหากรุณาอันเอิบ อ่ิมซาบซ่านทัว่ ไปในสันดาแห่งเวไนยสรรพสัตว์ กโรนฺโต พระพุทธองค์ทรงบําเพ็ญพระ สมติงสบารมี ๓๐ ทัศ และม่ิงมงกุฏปรมัตถมหาทาน บริจาค ๕ ประการมีชีวิตบริจาค เป๐นต้นเปน๐ ประธาน อันยอดยากยิง่ นกั ที่สามัญชนทงั้ ปวงจะกระทําได้ ตัวอยา่ งที่ ๒ พระโลกุตตรธรรมน้ี มีพระคุณเป๐นอเนกอนันต์ เหลือล้นพ้นที่จะนับจะ ประมาณ ชวี โลกโก ฝูงสตั ว์โลกแตบ่ รรดาท่ีท่องเที่ยวไปในวัฏสงสาร เวียนตายเวียนเกิด เวียนเอากาเนิดในภพน้อยภพใหญ่ เสวยทุกขเวทนา ด้วยชราและพยาธิ ติดตามรัดรึง ตรงึ ตรา บฑี ายายี มรณะตัดชีวิตินทรีย์ให้ขาดให้เด็ด แสนยากแสนลําบาก ตายจากท่ีนี้ ไปเกิดท่ีน้ัน ตายจากท่ีนั้นไปบังเกิดที่โน้น ตายจากท่ีโน้นมาบังเกิดที่นี้ มีแต่ความทุกข์ เปน๐ เบ้ืองหน้า จะหนีไปให้พ้นชาติชราพยาธิ แลมรณะนั้นหนีไปไม่พ้นเลย เสวยทุกข์ไม่ สิ้นไม่สุด ไม่หยุดไม่ย้ัง เป๐นท้ังนี้ก็เพราะเหตุท่ียังมิได้ตรัสผู้พระนพโลกุตตรธรรม ๙ ประการ พิจารณาในแง่สานวนโวหาร ไตรภูมิโลกวินิจฉัย ใช้โวหารหลายประการในการนําเสนอ มีทั้งบรรยาย โวหาร, อธิบายโวหาร, พรรณนาโวหาร, อุปมาโวหาร, สาธกโวหาร, และเทศนาโวหาร ผู้ รจนาเลือกใช้โวหารเหลา่ น้ีในแต่ละจังหวะ และโอกาสไดอ้ ยา่ งเหมาะสม [๑] บรรยายโวหาร คือโวหารท่ีใชบ้ อกกลา่ ว เล่าเร่ือง อธิบาย หรือบรรยาย เรอ่ื งราว เหตุการณ์ ตลอดจนความรู้ต่าง ๆ อย่างละเอียด เป๐นการกล่าวถึงเหตุการณ์ท่ี ต่อเน่อื งกนั ตัวอยา่ ง วิชา ๘ น้ัน ได้แก่อภิญญาทั้ง ๖ วิป๎สสนาญาณ ๑ มโนมยิทธิวิชา ๑ เป๐น ๘ ประการฉะนี้

๑๗๓ จรณะ ๑๕ น้ัน คอื ศีลสังวร ๑ รักษาซง่ึ อนิ ทรยี ์ท้ัง ๖ เปน๐ อนั ดี ๑ รู้ประมาณ ในโภชนะ ๑ กอปรด้วยธรรมอันต่ืนอยู่ด้วยกุศล ๑ ศรัทธ ๑ สติ ๑ วิริยะ ๑ ป๎ญญา ๑ พหสู ูตร ๑ หริ ิ ๑ โอตปั ปะ ๑ ปฐมฌาน ๑ ทุติยฌาน ๑ ตติยฌาน ๑ จตุตถฌาน ๑ เป๐น ๑๕ พระองคท์ รงวิชา ๘ แลจรณะ ๑๕ ดังนี้ จึงทรงพระนามว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺ โน๑๒๔ [๒] อธบิ ายโวหาร คอื โวหารท่ที าํ ให้ความคิดเรือ่ งใดเรื่องหนง่ึ กระจา่ งชัดเจน ขึ้น อธิบายโวหารน้ีมักใช้ในการอธิบายกระบวนการ การวิเคราะห์ หรือจําแนกเนื้อหา ออกเปน๐ ประเภท หรือเปน๐ พวก บางครง้ั ท่านนยิ มใชเ้ สรมิ สว่ นทเี่ ป๐นบรรยายโวหาร ตัวอย่าง ในโลกาสโลกน้ัน ได้แก่แผ่นจักรวาลอันเป๐นที่อาศัยอยู่แห่งสัตว์โลกทั้งปวง กาํ หนดข้างนอ้ ยนั้น จักรวาลแต่ละอันๆ มพี ระอาทิตย์และจันทร์ เวียนรอบเขาพระสิเนรุ ราช ส่องรัศมีไปในท่ีมีประมาณเท่าใด โอกาสโลกก็มีประมาณเท่านั้น ถ้าจะกําหนดข้า งอนนั ตจักรวาลท่แี ผไ่ ปหาทีส่ ดุ มไิ ด้นน้ั เรยี กวา่ โอกาสโลก ชนั้ เทวโลกท่แี ผ่ไป หาท่ีสุดบม่ ิไดน้ ้ันกเ็ รยี กวา่ โอกาสโลกสิน้ ด้วยกัน โอกาสโลกนั้น กาํ หนดประเภทต่างออกเปน๐ ๘ โลก คือ โอกาสวินาสโลก ๑ โอกาสสัณฐหนโลก ๑ นิริยโลก ๑ เปตโลก ๑ ตริ ัจฉานโลก ๑ มนุสสโลก ๑ เทวโลก ๑ พรหมโลก ๑ เปน๐ ๘ โลกดว้ ยกัน๑๒๕ [๓] พรรณนาโวหาร คอื โวหารท่ีใชก้ ล่าวถึงเรื่องราว สถานท่ี บุคคล ส่ิงของ หรืออารมณอ์ ยา่ งละเอยี ด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสาร เกดิ ภาพพจน์ เกดิ อารมณค์ ล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟ๎ง หรือ เขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานท่ี และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ เป๐นต้น ตัวอย่าง ๑๒๔ พระยาธรรมปรีชา [แกว้ ], ไตรภมู โิ ลกวินิจฉัย, หนา้ ๔๐. ๑๒๕ พระยาธรรมปรชี า [แก้ว], ไตรภูมโิ ลกวินจิ ฉยั , หน้า ๕๗-๕๘.

๑๗๔ ถงึ ปริยัติธรรมน้ันก็มีคุณมาก พ้นที่จะนับจะประมาณเหมือนกัน เพราะเหตุ ว่า พระปริยัติธรรมน้ันสําแดงทางสวรรค์แลทางนิพพาน พระโยคาวจรเจ้าท้ังหลายผู้ เหน่ือยหน่ายจากวฏั สงสาร จะปฏิบัติให้ได้สําเร็จมรรคแลผลแลพระนิพพานน้ัน ก็อาศัย ไดพ้ ระปริยัติธรรมเป๐นผ้แู นะนําทาง เปน๐ ผู้ช้ีผู้แจง ถ้าไม่มีพระปริยัติธรรมแล้ว ทางมรรค ทางผลทางนิพพานกจ็ ะลบั จะลจ้ี ะหามใี ครสาํ แดงชแี้ จงไม่ ไม่มีปริยัติธรรมแล้ว อย่าว่าถึง ทางพระนิพพานเลย เพียงแต่ทางสวรรค์ก็รกชัฏ จะหามีผู้ตัดผู้สําแดง จะหามีผู้รู้แห่ง หนทางสวรรค์ไม่ สัตว์ท้ังปวงน้ีอาศัยได้พระปริยัติธรรมชักนําห้เห็นผิดแลชอบ คุณแล ประโยชน์ บญุ แลบาปได้ปฏิบตั ติ ามพระปริยัตธิ รรม จงึ หนพี ้นจากทางอบายบ่ายหน้าเข้า หาหนทางสวรรค์ได้๑๒๖ [๔] อุมาโวหาร คือโวหารท่ีกล่าวเปรียบเทียบ เพ่ือให้ผู้รับสารเข้าใจ ความหมาย อารมณ์ความรู้สึก หรอื เห็นภาพชัดเจนย่ิงข้ึน มักใช้ประกอบโวหารประเภท อื่น เช่น เทศนาโวหาร บรรยายโวหาร โดยเฉพาะพรรณนาโวหาร เพราะจะช่วยให้รส ของถ้อยคําและรสของเนื้อความไพเราะสละสลวยย่ิงขึ้น ท้ังสารท่ีเป๐นรูปธรรมและ นามธรรม ตวั อย่าง สังสารจักรน้ีมีอวิชชา แลภพ แลตัณหาเป๐นดุม มีสังขารท้ังสาม คือ บุญญาภิสังขาร อบุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขารเป๐นกํา มีชราและมรณะเป๐นกง อัน ป๎จจัยแหง่ ตน มเี หตปุ จ๎ จัยเปน๐ ต้น ร้อยเขา้ ดว้ ยเพลาคอื อาสวสมุทัย ประกอบเข้าในรถคือ ภพท้งั สาม มีกามภพเปน๐ อาทิ ขับเข็นไปสน้ิ กาลช้านาน มีทสี่ ุดเบอ้ื งตน้ บมิไดป้ รากฏ๑๒๗ [๕] สาธกโวหาร โวหารท่ีมุ่งใหค้ วามชดั เจนโดยการยกตวั อย่างหรือเรื่องราว ประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทําให้ผู้รับสารเข้าใจเน้ือหา สาระในสิ่งที่พูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรอื น่าเช่อื ถือย่งิ ขน้ึ ตวั อยา่ ง ๑๒๖ พระยาธรรมปรีชา [แกว้ ], ไตรภมู โิ ลกวินจิ ฉยั , หนา้ ๑๔. ๑๒๗ พระยาธรรมปรีชา [แก้ว], ไตรภมู โิ ลกวินิจฉัย, หนา้ ๓๘.

๑๗๕ ในพระคาถาเปน๐ ประถมนัน้ บรุ ุษผูห้ นึง่ ประกอบด้วยมหิทฤทธิ์ นฤมิตศีรษะ ให้มากออกไปถึงพันหน่ึง แต่ละศีรษะๆ นั้นมีปากร้อยหน่ึงๆ แต่ละปากนั้น มีล้ินร้อย หนงึ่ ๆ คดิ เป๐นปากไดแ้ สนปาก คดิ เป๐นลิน้ ได้แสนลน้ิ ไดโ้ กฏลิ ิ้น บุรุษนั้นอายยุ ืนถึงกัปหนึ่ง ไม่ขวนขวายในกิจอันใดอันหนึ่งเลย ตั้งหน้าแต่จะพรรณนาพระพุทธคุณไป สิ้นท้ัง กลางวนั และกลางคนื จะส้ินอายุกัปหนง่ึ แล้ว กม็ ิอาจจะพรรณนาพุทธคณุ ใหส้ ิ้นสดุ ได้๑๒๘ [๖] เทศนาโวหาร โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม เป๐น การกล่าวในเชิงอบรม แนะนําสั่งสอน เสนอทัศนะ ชี้แนะ หรือโน้มน้าว ชักจูงใจโดยยก เหตุผล ตัวอย่าง หลักฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริง สุภาษิต คติธรรมและสัจธรรม ต่าง ๆ มา แสดงเพือ่ ให้ผอู้ ่านเกิดความเข้าใจทีก่ ระจ่างจนยอมรับเชอื่ ถอื มีความเห็น คล้อยตาม และ ปฏิบัตติ าม ตัวอยา่ ง มาตาปิตุกตํํฺ ูกตเวทติ า สาสนทฬหฺ สทฺธา อํฺญมํฺญสามคั คี อสิ ฺสรมุขาทสิ จฺจํ ความกตัญํกู ตวทตี ่อบดิ ามารดา ความเชอื่ มัน่ ในศาสนา ความสามคั คตี ่อกันและกัน ความซื่อสัตว์สุจริตต่อผู้เป๐นใหญ่เป๐นประธาน มีพระมหากษัตริยายาธิ ราชเจ้า เปน๐ ต้น ธรรม ๔ ประการน้ี ถา้ ฝ๎งแน่นอยใู่ นสันดานแห่งบุคคลใด ในวงศต์ ระกูลใด ใน ชนบทใด แลในประเทศบา้ นเมืองใดแลว้ บคุ คลน้นั วงศ์ตระกูลนนั้ ชนบทนั้น แลประเทศ บา้ นเมอื งน้นั ก็จะประกอบไปดว้ ยความเจริญสุขสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล อันเป๐นศุภผลทั้ง ในโลกน้ีและโลกหน้าหาท่สี ดุ มิได้ ดังพรรณนามา ฉะนี้๑๒๙ ๑๒๘ พระยาธรรมปรชี า [แก้ว], ไตรภมู โิ ลกวนิ ิจฉัย, หน้า ๒๔-๒๕. ๑๒๙ พระยาธรรมปรีชา [แกว้ ], ไตรภูมโิ ลกวนิ จิ ฉัย, หน้า ๑๑๔.

๑๗๖ หมวด ถ ถูปวงศ์ บาลีวา่ ถปู วสํ พระคัมภีร์ถูปวงศ์๑๓๐ เป๐นตํานานว่าด้วยการสร้างพระสถูปเจดีย์ ผู้รจนามี นามว่า พระวาจิสสรเถระ เป๐นพระเถระชาวลังกา และเป๐นศิษย์ของพระสารีบุตรผู้มี ช่ือเสียงในสมัยพระเจ้าปรักกมพาหุท่ี ๑ [พ.ศ.๑๕๙๖-๑๗๒๙] ท่านเป๐นผู้มีความรู้ แตกฉานในพระไตรปิฎก มีศิษยานุศิษย์มากมาย ในสมัยพระเจ้าวิชยพาหุที่ ๓ [พ.ศ. ๑๗๗๕-๑๗๗๙] ท่านได้เป๐นประธานสงฆ์ลังกาด้วย มีข้อสันนิษฐานว่า ท่านคงจะรจนา พระคมั ภรี ถ์ ูปวงศน์ ้ีในระหว่าง พ.ศ.๑๗๗๙-๑๙๑๔] ตน้ ฉบบั พระคมั ภีรถ์ ปู วงศ์ในประเทศไทย เป๐นฉบับใบลานอักษรขอม ภาษา บาลี มอี ยใู่ นหอ้ งสมุดแห่งชาติ ๒ ฉบับ คือฉบับสังเขป และฉบับพิศดาร ฉบับสังเขปมี ๒ ผกู คอื ผกู ท่ี ๑ และผูกท่ี ๒ แตไ่ ม่จบความ สว่ นฉบบั พิสดารมี ๕ ผูก เน้อื หาครบสมบูรณ์ ฉบับอื่นๆ ท่ีพบในประเทศไทย๑๓๑ คาดว่า คงจะมีการคัดลอกต่อๆ กันไป ทําให้ข้อความคลาดเคลอ่ื นจากบาลีเดิมไปบ้าง เช่น ถูปวงศ์ อักษรล้านนา ฉบับวัดรัตนา ราม [วัดตน้ แกว้ ] อ.รมิ ใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ แต่ละผูกจารขึ้นต่างกรรมต่างวาร รวมๆ แลว้ ระบอุ ยใู่ นช่วงระหวา่ งพทุ ธศักราช ๒๔๑๖-๒๔๒๙ พระคัมภีร์ถูปวงศ์ เป๐นหนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ทาง พระพุทธศาสนาและโบราณคดี ตลอดถึงศิลปวัฒนธรรม และเหตุการณ์เกียวกับ พระพุทธศาสนาตั้งแต่อุบัติขึ้นในอินเดียและลังกา ผู้รจนาได้คัดเลือกเร่ืองราวท่ีเห็นว่า เป๐นสาระจากนิทานในอรรถกถาชาดก จากคัมภีร์สมันตปาสาทิกา จากคัมภีร์มหาวงศ์ และจากคมั ภีรฎ์ ีกามหาวงศ์ รวมถงึ ตํานานภาษาสิงหฬ มาเรยี บเรียงขน้ึ เปน๐ คมั ภีร์ทีปวงศ์ เนื้อหาพระคมั ภรี ์ถูปวงศ์ ไม่ได้แบ่งเป๐นปริจเฉท หากแต่ผูกเป๐นเรื่องๆ ร้อย เรียงเป๐นร้อยแก้ว แต่ก็มีการยกพระคาถา หรือคาถาที่เป๐นร้อยกรองจากที่ต่างๆ มา อา้ งอิง หรอื ประกอบการอธบิ ายความ บ้างตามความเหมาะสม พรรณนาความเปน๐ ตอนๆ ไปต้งั แต่ต้นจนจบ โดยท่านได้แบ่งเน้ือหามีรายละเอียด นํามาเทียบเคียงท้ังสํานวนบาลี และสํานวนแปลไทยได้ดงั นี้ ๑๓๐ กรมศิลปากร, พระคัมภีร์ถูปวงศ์ ตานานว่าด้วยการสร้างพระสถูปเจดีย์, [พิมพ์เป๐น อนุสรณ์งานพระราชทานเพลงิ ศพ นางอนุ ทองไข่มุกข์ ๒๗ มนี าคม ๒๕๑๑], คาํ นาํ . ๑๓๑ “ถปู วงศ์”, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://lanna-manuscripts.efeo.fr/node/๔๘๗ [เข้าถงึ เม่อื วนั ที่ ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๖๒].

๑๗๗ คาถาปรารภเร่ือง บาลวี า่ อารมภฺ คาถา กลา่ วดว้ ยนทิ าน - นทิ านกถา วา่ ดว้ ยการบําเพญ็ อภนิ ีหารธรรม - อภนิ ีหารกถา ว่าดว้ ยพุทธสถูป - พทุ ธฺ ถูปกถา วา่ ดว้ ยพระจฬุ ามณสี ถูปและพระทุสสะสถปู - จฬุ ามณทิ ุสสฺ ถปู กถา วา่ ดว้ ยพระสถปู ๑๐ องค์ - ทสถปู กถา วา่ ด้วยบรรจุพระบรมธาตุ - ธาตนุ ธิ านกถา ว่าดว้ ยพระสถูป ๘๔,๐๐๐ องค์ - จตรุ าสีติสหสสฺ ถูปกถา วา่ ด้วยพระสถปู าราม - ถูปารามกถา ว่าด้วยอญั เชญิ ไม้ศรมี หาโพธ์ิไปลงั กา - โพธิอาคมนกถา วา่ ดว้ ยพระสถูประยะหนงึ่ โยชน์ - โยธนถูปกถา ว่าดว้ ยมหิยังคณสถปู - มหยิ งคฺ ณถปู กถา ว่าดว้ ยมรจิ วฏั ฏวิ หิ าร - มริจวฏฏฺ ิวิหารกถา วา่ ด้วยการได้วตั ถุปจ๎ จยั ให้สร้างพระมหาสถปู สําเรจ็ โลหปาสาทมหกถา ว่าด้วยการเรม่ิ สรา้ งพระมหาสถปู - ถูปารมฺภกถา ว่าดว้ ยการสร้างหอ้ งบรรจุพระบรมธาตุ - ธาตุคพภฺ จรณกถา วา่ ด้วยการบรรจพุ ระบรมธาตุ - ธาตุนธิ านกถา วา่ ด้วยพระมหาเจดีย์ - มหาเจติยกถา ขนบการประพันธ์คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา นิยมเริ่มต้นด้วยบทนมัสการ พระรัตนตรัย [ปณามคาถา] และคาํ ปรารภ [อารมฺภกถา] ในการรจนาคัมภีร์น้ันๆ โดยทั้ง สองส่วนน้ี ผูร้ จนาอาจร้อยเรยี งเป๐นคาถาประพนั ธ์เปน๐ บทเดยี วต่อเนื่องกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับ ว่า ผรู้ จนาประสงค์จะยกเรื่องใดเป๐นสาระสําคัญในการประพันธ์ ในส่วนของพระคัมภีร์ ถูปวงศ์ ผรู้ จนาตัง้ บทนมัสการพระรัตนตรยั ดว้ ยบทท่ีใช้กันอยู่ท่ัวไป คือ “นโม ตสฺส ภคว โต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสฺส” ต่อแต่น้ันจึงแสดงคาํ ปรารภเปน๐ คาถาประพันธ์ ดังตอ่ ไปนี้ บาลี ยสฺมึ สยึสุ ชนิ ธาตวุ รา สมนฺตา ฉพพฺ ณฺณรํสิวสิ เรหิ สมุชชฺ ลนตฺ า ตสสฺ โกหิตเหตุ ชินสสฺ ถปู ๏ ตํ ถปู มพภฺ ูตตมํ สิรสา นมติ วฺ าฯ วกฺขามหํ สกโลกหติ าวหสสฺ ถปู สสฺ สพฺพชนนนฺทนการณสสฺ วํสํ สรุ าสุรนรินทฺ วเรหิ นิจฺจํ

๑๗๘ สมฺปชู ิตสฺส รตนุชฺชลถปู ิกสฺสฯ กํิ ฺจาปิ โส ยตชิ เนน ปุราตเนน อตฺถาย สีหฬชนสสฺ กโต ปุราปิ วาเกยน สีหฬภเวนภสิ งฺขตตตฺ า อตฺถํ น สาธยติ สพฺพชนสสฺ สมฺมาฯ ยสมฺ า จ มาคธนริ ุตตฺ ิ กโตปิ ถปู - วโํ ส วริ ทุ ธฺ นยสทฺทสมากุโล โส, วตฺตพพฺ เมว จ พหมุ ปฺ ิ ยโต น วุตฺต,ํ ตสฺมา อหํ ปนุ ปิ วํสมมิ ํ วทามิฯ สุณาถ สาธโว สพฺเพ ปรปิ ณุ ณฺ มนากลุ ํ วุจฺจมานํ มยา สาธุ วสํ ถปู สฺส สตถฺ ุโนตฯิ แปล พระบรมธาตุอนั ประเสรฐิ ท้งั หลายของพระพทุ ธเจา้ รุ่งเรืองอยู่ โดยรอบ ด้วยถ่องแถวแห่งพระรัศมี ๖ ประการ ประดิษฐานอยู่ ณ พระสถูปองค์ใด ข้าพเจ้าขอนอบน้อมบูชาพระสถูป อันบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน อันเป๐นเหตุให้เกิดประโยชน์แก่โลก อันน่ามหัศจรรย์ย่ิงน้ัน ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าจัก กล่าวตาํ นานของพระสถูป อนั จกั นํามาซึ่งประโยชนแ์ ก่โลกทัง้ ส้นิ อนั เปน๐ เหตใุ หเ้ กิดความ ชนื่ ชมแก่ชนทง้ั ปวง อนั เหลา่ เทวดา อสูร จอมนรชนบูชาแล้วด้วยดีเป๐นกิจ เป๐นพระสถูป มียอดรุ่งเรืองด้วยรัตนะ เร่ืองราวของพระสถูปนั้น ถึงจะมีพระเถระสมัยโบราณท่านได้ เรียบเรยี งไว้เพอื่ ประโยชนแ์ กช่ าวสงิ หฬแล้วก็จริง แต่ก็ไม่ให้สําเร็จประโยชน์แก่ชนทั่วไป เพราะท่านเรียบเรียงไว้เป๐นภาษาสิงหฬ ถึงแม้มีผู้เรียบเรียงไว้เป๐นภาษามคธ ก็ยังมีนัย และถ้อยคําผิดๆ พลาดๆ อยู่มาก ข้อความท่ีน่าจะกล่าวถึงก็ยังมีอีกมาก แต่ท่านไม่ได้ กล่าวไว้ เพราะฉะนัน้ ข้าพเจา้ จงึ ได้เรยี บเรยี งเร่ืองราวของพระสถูปน้ีเสยี ใหม่ ขอท่านสาธุชนทุกท่านจงต้ังใจฟ๎งเร่ืองราวพระสถูปของพระพุทธเจ้า ที่ ขา้ พเจา้ จะกลา่ วอยา่ งบริบูรณ์เรยี บร้อยดี ตอ่ ไป๑๓๒ จากคําปรารภขา้ งตน้ อนุมานได้ว่า พระคัมภีร์ถูปวงศ์ น่าจะมีเค้าเง่ือนการ แต่งมาก่อนหน้าพระวาจิสสรเถระแล้ว มิเช่นนั้น ท่านคงไม่ใช้คําว่า “ถึงจะมีพระเถระ สมัยโบราณท่านได้เรียบเรียงไว้เพื่อประโยชน์แก่ชาวสิงหฬแล้วก็จริง แต่ก็ไม่สําเร็จ ประโยชนแ์ กช่ นทง้ั หลาย เพราะทา่ นเรียบเรยี งไวเ้ ป๐นภาษาสงิ หฬ” ๑๓๒ กรมศิลปากร, พระคมั ภีรถ์ ูปวงศ์ ตานานวา่ ดว้ ยการสรา้ งพระสถปู เจดีย์, หนา้ ๑.

๑๗๙ พระคัมภีร์ถูปวงศ์สะท้อนแนวคิดเร่ืองถูปารหบุคคล ๔ จําพวก ท่ี พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า เป๐นผู้ควรแก่การเคารพ กราบไหว้บูชาของบุคคลทั่วไป ประกอบด้วย พระพุทธเจ้า, พระป๎จเจกพุทธเจ้า, พระอรหันตสาวก, และพระเจ้า จักรพรรดิ เมื่อคนทําจิตให้เล่ือมใส ย่อมเป๐นเหตุเป๐นป๎จจัยให้เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์๑๓๓ จึงเกิดทําเนยี มการสร้างพระสถูปเพื่อเป๐นท่ีเก็บอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้าในอดีตนับตั้งแต่ พระสถูปเป๐นท่ีเก็บพระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้าพระนามว่าทีป๎งกรเป๐นต้นมา ดังความ พรรรณนาไวว้ า่ “พระอฐั ิธาตุของพระองค์ไม่แตกกระจัดกระจาย ไดร้ วมเป๐นแห่งเดียวกัน เหมือนกับแท่งทองคํา คนท้ังหลายได้สร้างพระมหาสถูปสูง ๓๖ โยชน์ ด้วยอิฐทองคําท่ี หลอมเปน๐ แท่งบรรจพุ ระอฐั ไว้”๑๓๔ ขอ้ มูลเก่ียวกับพระสถูปบรรจุอัฐิพระพุทธเจ้าทั้งหลายในพระคัมภีร์ถูปวงศ์ กลา่ วไวเ้ ป๐นลําดบั เปน๐ ตน้ วา่ พระสถูปบรรจพุ ระอัฐธิ าตุของพระโกณฑัญญพุทธเจ้า สร้าง ดว้ ยแก้ว ๗ ประการ ใช้หรดาลและมโนศิลาแทนดินเหนียว ใช้นํ้ามันและเนยใสแทนนํ้า สูง ๗ โยชน์ ประดิษฐานอยู่ที่วัดจันทาราม อันเป๐นสถานท่ีปรินิพพาน, พระสถูปบรรจุ พระอัฐขิ องพระมังคลพุทธเจ้า มหาชนชาวชมพูทวีปสร้างสูง ๓๐ โยชน์ ประดิษฐานไว้ท่ี อุทยานวัสสระ, พระสถูปบรรจุพระอัฐิของพระพุทธเจ้าพระนามว่าสุมนะ มหาชนชาว ชมพูทวีปสร้างสูง ๔ โยชน์ ประดิษฐานไว้ที่อังคาราม ซึ่งเป๐นสถานที่ปรินิพพาน, พระ สถูปบรรจุพระอัฐิของพระพุทธเจ้าพระนามว่าเรวตะ เม่ือพระองค์ปรินิพพานแล้ว พระ อัฐิได้แตกกระจาย ไม่รวมเป๐นแท่งเดียวกันเหมือนพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ดังกล่าว ข้างตน้ เม่ือแตกกระจายแล้วกไ็ ปประดษิ ฐานทส่ี ธุ ัญญวดรี าชธานี, พระสถูปบรรจุพระอัฐิ ของพระพทุ ธเจา้ พระนามว่าโสภติ ะ เม่อื พระองค์ปรินิพพานแล้ว พระอัฐิได้แตกกระจาย ไปประดิษฐานอยู่ ณ สีหาราม, พระสถูปบรรจุพระอัฐิของพระพุทธเจ้าพระนามว่าอ โนมทัสสี เมื่อปรินิพพานแล้ว พระอัฐิไม่แตกกระจาย ชาวชมพูทวีปได้สร้างพระสถูปสูง ๒๕ โยชน์ บรรจุเอาไว้ ประดิษฐานไว้ท่วี ดั ธรรมาราม มีข้อสังเกตอย่างหน่ึงเก่ียวกับการบรรจุพระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้าคือ ขั้นตอนค่อนข้างซับซ้อน บางครั้งก็มีการอําพราง ในพระคัมภีร์พรรณนาถึงพระ มหากัสสปเถระ กับพระเจ้าอชาตศัตรูได้ทําการบรรจุพระอัฐิ เริ่มต้ังแต่พระมหากัสสป เถระอธิษฐานจิตระบุสถานที่ให้ จากน้ันพระเจ้าอชาตศัตรูก็รับสั่งให้ขุดดินลึกลงไป ๘๐ ศอก เอาดนิ มาปน๒๎ เป๐นอิฐ เวลามคี นถามกใ็ ห้ตอบว่า จะสร้างเจดีย์บรรจุอัฐพระสาวก แต่ ๑๓๓ ท.ี ม.[ไทย] ๑๐/๒๐๖/๑๕๓. ๑๓๔ กรมศิลปากร, พระคมั ภรี ถ์ ปู วงศ์ ตานานวา่ ดว้ ยการสรา้ งพระสถูปเจดีย์, หน้า ๘.

๑๘๐ จรงิ ๆ ในกระบวนการขุดลงไปนัน้ ได้ทรงเอาพระอิฐของพระพุทธเจา้ ไปฝ๎งไวด้ ว้ ย กล่องท่ี ใชส้ าํ หรับบรรจุพระอฐั กิ ใ็ ช้ไม้จนั ทน์เหลือง จันทน์แดง ซอ้ นกนั อยา่ งละ ๘ ชั้น แล้วก็ค่อย นําไปบรรจลุ งในกล่องงาอีก ๘ ชั้น นํากลอ่ งงาไปบรรจุในกล่องแก้ว ๘ ช้ัน เอากล่องแก้ว นัน้ ไปบรรจุในกล่องทองคําอีก ๘ ชั้น เอากล่องทองคําไปบรรจุลงในกล่องเงินอีก ๘ ชั้น เอากล่องเงนิ ใส่กลอ่ งแก้วมณีอีก ๘ ช้ัน เอากล่องแก้วมณีใส่ในกลองแก้วแดง ๘ ช้ัน เอา กล่องแกว้ แดงใสล่ งในกล่องแก้วลาย ๘ ช้ัน เอากล่องแก้วลายใส่ลงไปในสถูปแก้วลาย ๘ ชั้น แล้วจึงใส่ลงไปในเจดีย์แก้วผลึก ท้ังหลายทั้งดังกล่าวข้างต้น ผู้เขียนเข้าใจว่า น่าจะ เปน๐ วธิ กี ารปอู งกนั รักษาพระบรมอิฐใหค้ งอยู่ตราบนานเทา่ นาน อน่ึงช้อความตอนท้ายพระคัมภีร์ กล่าวสรุปไว้ว่า พระคัมภีร์ถูปวงศ์นี้ ผู้ เรียบเรยี งได้รับอาราธนาจากพระป๎ตตจีวรปาทเถระ สํานักมหินทเสนปริเวณะ ซ่ึงเป๐นผู้ แตกฉานในพระไตรปิฎก สมบูรณ์ด้วยคุณคือศรัทธาและศีล ยินดีในการเกื้อกูลแก่สรรพ สัตว์ ตอ่ แต่น้นั กต็ ัง้ ความปรารถนาใหส้ รรพสตั ว์ทั้งหลายได้รับแต่ความร่มเย็นเป๐นสุขโดย ทัว่ กนั ๑๓๕ ๑๓๕ กรมศิลปากร, พระคัมภีรถ์ ปู วงศ์ ตานานว่าด้วยการสรา้ งพระสถปู เจดยี ์, หนา้ ๑๒๒.

๑๘๑ หมวด ท ทนั ตธาตนุ ธิ าน ทันตธาตุนิธาน๑๓๖ รจนาโดยพระภิกษุชาวล้านนา ในรัชสมัยของพระเจ้า ชัยสงคราม [ผู้อาราธนาให้รจนา] โดยอาศัยเร่ืองราวจากคัมภีร์ทาฐาธาตุวงศ์ ซ่ึงเป๐น ผลงานของพระธรรมกิตติ แห่งลังกา แต่ได้มีการเพิ่มเติมเน้ือหาข้ึนหลายตอน คํา ประพันธ์สว่ นใหญ่เป๐นร้อยกรอง ใช้ฉันทลักษณ์ ๕ แบบ คือ ปฐยาวตั คาถา [๔๓๓ คาถา], มาลินีฉันท์ [๖๖ คาถา], วังสัฏฐฉันท์ [๑๓๒ คาถา], อุปชาติฉันท์ [๑ คาถา]และสัทรา ฉันท์ [๑ คาถา] เน้ือหากล่าวถึงการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกา และการเชิญ พระทันตธาตุจากแควน้ กาลงิ ค์ในประเทศอินเดียมาสู่ลงั กาทวีป ต้นฉบับป๎จจุบันเป๐นตัวเขียน ใช้ภาษาบาลี อักษรขอม และอักษรมอญ ถูก เกบ็ รักษาไว้ที่หอพระมณเฑียรธรรม ภายวัดพระศรีรัตนศาสดาราม [มีจํานวน ๒ ฉบับ] และทีห่ อสมุดแห่งชาติ [มีจาํ นวน ๙ ฉบับ] รวม ๑๑ ฉบับ แต่ละฉบับมี ๒ ผูก ๆ ละ ๒๔ ลาน รวม ๔๘ ลาน โดยท้ัง ๑๑ ฉบับนี้ ได้รับการจารไว้ในระยะเวลาที่แตกต่างกัน มี ต้ังแต่สมัยกรุงธนบุรี, สมัยรัชกาลที่ ๑, และสมัยรัชกาลที่ ๓ นอกจากน้ันยังมีฉบับท่ี ถ่ายทอดเป๐นภาษาท้องถิ่นล้านนา สํานวนเทศนาโวหารเพื่อให้คนในท้องถิ่นอ่านเข้าใจ งา่ ย มีแพร่หลายในจงั หวัดภาคเหนอื เช่น เชียงใหม่ เชียงราย ลําปาง และลําพูน คมั ภีรท์ นั ตธาตุนิธาน ผู้รจนาแบ่งเนอ้ื หาออกเป๐น ๔ ปริจเฉท แต่ละปริจเฉท รจนาเป๐นบทร้อยกรองเกือบจะทั้งหมด ที่เป๐นร้อยแก้วบ้าง โดยมากมักปรากฏตอนท้าย ปริจเฉทท่ีเป๐นบทสรุปสน้ั ๆ มคี วามยาวเพียง ๒-๓ บรรทดั เทา่ นนั้ แตล่ ะปริจเฉทมีเนือ้ หาโดยยอ่ ดังตอ่ ไปนี้ ปริจเฉทที่ ๑ เนื้อหาประกอบด้วยบทนมัสการพระรัตนตรัย ประวัติการ บําเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าของเราท้ังหลายนับตั้งแต่เสวยพระชาติเป๐นสุเมธดาบส กระทําความปรารถนาความเป๐นพทุ ธพระเจ้าแทบพระบาทมูลของพระพุทธเจ้าพระนาม วา่ ทปี ง๎ กร และได้บําเพญ็ บารมใี นสาํ นักของพระพุทธเจา้ ๒๔ พระองค์ตามลําดับ จุติจาก อตั ภาพน้ันแล้วก็ได้ท่องเท่ียวไปในสังสารวัฏ กระทั่งพระชาติสุดท้าย ได้รับอัญเชิญจาก เหล่ามาให้มาจุติยงั โลกมนุษย์ ทรงเลือกมาปฏิสนธิในครรภ์ของพระสิริมหามายา เมือง กบิลพัสดุ์ภายใต้เศวตฉัตรในนามสิทธัตถราชกุมาร ได้รับการบํารุงบําเรอด้วยกามคุณ ทง้ั หลาย ตอ่ มาทรงเบื่อหน่าย ได้ออกผนวช แสวงหาโมกขธรรมกระท่ังได้บรรลุเป๐นพระ ๑๓๖ วิชยั กุลษาบาล, ทันตธาตุนิธาน, วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษา ตะวันออก, [บณั ฑติ วทิ ยาลัย: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๒๖], ๓๒๒ หน้า.

๑๘๒ สัพพัญํู ทรงเป๐นธรรมราชา ความส่วนใหญ่ในปริจเฉทที่ ๑ ให้น้ําหนักอยู่ที่การบําเพ็ญ เพียรเพ่อื การตรัสรใู้ นพระชาติสดุ ท้าย ปริจเฉทที่ ๒ ทศพลปรินิพพานปริจเฉท ดําเนินความต่อหลังจากที่ทรง ตรัสรู้แล้ว ได้เสวยวิมุตติสุขภายใต้โพธิพฤกษ์ และบริเวณรอบๆ โพธิพฤกษ์ รวมเป๐น ระยะเวลา ๗ สปั ดาห์ คร้ันพน้ ๗ สปั ดาห์แล้วก็ทรงรับอาราธนาพรหมจํานวน ๑๘ โกฏิ ใหท้ รงแสดงธรรมโปรดเวไนยสตั ว์ ทรงเร่ิมปฐมเทศนา ณ ปุาอิสิปตนมฤคทายวัน ต่อแต่ นน้ั ก็เสด็จตําบลอุรุเวลาเสนานคิ ม ในคัมภรี ์ระบไุ วด้ ว้ ยว่า ในเดือนที่ ๙ นบั แตว่ ันตรสั รู้ ได้ เสด็จไปยังลังกาทวีป ถัดจากน้ันก็พรรณนาความถึงเหตุการณ์เสด็จโปรดพระเจ้าพิม พิสาร ทรงประกาศธรรมวนิ ัยของพระองค์ตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษา กระท่ังเสด็จดับ ขนั ธปรินพิ พาน การถวายพระเพลงิ พระบรมศพ การแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ การบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุของเหล่ากษัตริย์ต่างๆ ที่ได้รับแบ่งไปแล้ว เฉพาะอย่างยิ่งพระเจ้า อชาตศัตรู ไดท้ รงกระทาํ สกั การะอยา่ งย่ิงต่อพระบรมสารรี ิกธาตุ ปริจเฉทที่ ๓ เจดียป์ ริทีปนปริจเฉท กล่าวถึงเมื่อพระพุทธ กาลล่วงแล้วได้ ๒๑๘ ปี พระเจ้าอโศกมหาราชทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และได้ทรงสร้างมหาวิหาร ๘๔,๐๐๐ แห่ง เพ่ือบูชาพระธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และได้นําพระบรม สารรี กิ ธาตทุ ่ีพระเจ้าอชาตศัตรูทรงกระทาํ ธาตุนิธานไว้ แจกจ่ายไปประดิษฐานในวัดและ วิหารที่พระองค์ให้สร้างขึ้น ๘๔,๐๐๐ แห่งนั้น เพ่ือที่จะให้พระพุทธศาสนาแพรหลาย อยา่ งกว้างขวาง ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๓๖ พระมหนิ ทเถระไดน้ าํ พระพุทธศาสนาจากชมพูทวีป เข้ามาประดิษฐานในลังกาทวีป ยังพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ พร้อมท้ังชาวลังกาทวีป ทัง้ ส้นิ ให้ตั้งอยู่ในพระรัตนตรัย พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงสร้างเจดีย์สถูปารามขึ้นท่ี เมืองอนรุ าชบรุ ี เพื่อประดษิ ฐานพระนลาตธาตุ พระทักษณิ กขกธาตุ ต่อมาพระนางสังฆมิตตาเถรี ได้อัญเชิญพระศรีมหาโพธ์ิ จากชมพูทวีปมา ประดษิ ฐานในลังกาทวีป ขณะที่เรืออัญเชิญพระศรีมหาโพธิ์แล่นมาตามทะเล พวกนาค ประสงคจ์ ะบูชาพระศรมี หาโพธิ์ จึงกล่าวออ้ นวอนพระนางสังเมตตาเถรี โดยยกเหตุผลท่ี พระพุทธองค์เคยทรงอนุเคราะห์แก่พวกนาคมีพระยากาฬนาค นาคมุจลินท์ อุรุเวล นาคราช นันโทปนันทนาคราช จุโฬทร มโหทรนาคราช และมณีอักขิกนาคราช เป๐นต้น ใหพ้ ระนางสังฆมติ ตาเถรีฟ๎ง พระนางจงึ อนญุ าตใหพ้ วกนาคนาํ พระศรมี หาโพธิ์บูชาตลอด ๗ วนั ครน้ั ลว่ ง ๗ วนั เรอื อัญเชิญก็ได้เดินทางถึงลังกาทวีป พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะได้ อญั เชญิ พระศรมี หาโพธไิ์ ปประดิษฐานไวในอทุ ยานเมฆวัน

๑๘๓ เมื่อพระพุทธกาลล่วงแล้วได้ ๓๗๒ ปี พระเจ้าทุฏฐคามินีทรงสร้างมริจจ วฏั ฏิวหิ ารและโลหปราสาทสูง ๙ ชั้น ให้เป๐นท่ีพํานักของภิกษุสงฆ์และได้สร้างพระสถูป เจดี ยเ์ พ่ือประดษิ ฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ต่อมาโสณุตตรสามเณรได้ไปนํากล่องพระบรม สารีริกธาตุนาคินทมัณฑกิ รพภิ พ ซ่งึ พระยากาฬนาครักษาไว้มาบรรจุไว้ในพระสถูปเจดีย์ น้ี และทําการฉลองเจดีย์ เมื่อพระเจา้ ทฏุ ฐคามนิ สี ิน้ พระชนม์ ก็ได้อุบัติในสวรรค์๑๓๗ ปริจเฉทท่ี ๔ ธาตุปริทีปนปริจเฉท ได้กล่าวถึงพระเข้ียวแก้ว ๔ องค์ว่า พระเขย้ี วแก้วองค์หนึ่งนาคนําไปบูชา องค์หน่ึงชาวเมืองคันธารนําไปบูชา องค์หน่ึงท้าว สักกะนาํ ไปบชู า อีกองคห์ น่งึ พระเขมเถระนําไปถวายพระเจ้าพรหมทตั ต์แหง่ แควน้ กาลงิ ค์ พระเจ้าแผน่ ดินทค่ี รองแคว้นกาลิงค์ทุก ๆ พระองค์ต่างก็เล่ือมใสได้บูชาสักการพระทันต ธาตุสืบต่อกันมาเป๐นเวลานานจวบจนสมัยของพระเจ้าคุหสีวะข้ึนครองราช พระองค์ เล่ือมใสในศาสนาพราหมณ์ทรงปรนนิบตั พิ วกนคิ รนถ์ และในวนั หนง่ึ พระองค์ทรงแย้มสีห บัญชร ทอดพระเนตรเห็นชาวเมืองกําลังตกแต่งมรรคา เพ่ือทําพิธีสักการบูชาพระทันต ธาตุ จึงตรัสถามอํามาตย์คนหนึ่ง อํามาตย์ผู้น้ันนับถือศาสนาพุทธจึงกราบทูลเร่ืองนั้น ทง้ั หมดให้พระองค์ทราบ พระองค์เปลี่ยนพระทัยมาเล่ือมใสพุทธศาสนา ละทิ้งการบูชา พระนารายณ์และศิวะ เป๐นต้น แล้วทรงขับไล่พวกนิครนถ์ออกจากแคว้นกาลิงค์ พวก นิครนถ์จึงไปเฝูาพระเจ้าปาณฑุราช และกราบทูลเร่ืองพระเจ้าคุหสีวะทอดท้ิงการบูชา พระนารายณ์ เป๐นต้น ให้พระองค์ทราบ พระเจ้าปาณฑุราชโกรธมากจึงตรัส ส่ังให้พระ เจ้าจติ ตยานะให้ไปนาํ พระทันตธาตุและพระเจ้าคหุ สวี ะมาเฝูาด่วน พระเจ้าปาณฑุราชจึง ให้โยนพระทันตธาตุลงเตาไฟ ขณะนั้นดอกปทุมทองก็ยุดขึ้นมารองรับพระทันตธาตุไว้ แลว้ ให้วางพระทันตธาตไุ วบ้ นทง่ั ใหต้ ดี ว้ ยฆ้อนเหล็ก พระทันตธาตุจมลงไปในท่ังครึ่งหน่ึง โผล่ข้นึ มาครึ่งหนง่ึ เปลง่ รัศมสี วา่ งไสว ใคร ๆ ก็ไม่สามารถนําพระทันตธาตุออกมาได้ แม้ พวกนิครนถจะชว่ ยกันพยายามอย่างไร ก็ไม่สามารถนําพระทันตธาตอุ อกมาได้ ครัง้ นั้น สุภัททมาณพ เป๐นพุทธมามกะได้รับอาสาพระเจ้าปาณฑุราชว่า จะ อัญเชิญพระทันตธาตุออกมาให้ได้ ดังนั้นสุภัททมาณพจึงกล่าวพรรณนาพุทธคุณ และ กล่าวสรรเสรญิ พระพทุ ธองคท์ ี่เคยบาํ เพญ็ บารมมี าแต่อดตี ชาติ คือ เม่ือครั้งพระพุทธองค์ เสวยพระชาติเป๐นพญากระต่าย เป๐นพระเจ้าสีพี เป๐นจัมเปยยกนาคราช และเป๐นพระ เวสสันดร เปน๐ ต้น ๑๓๗ วชิ ัย กลุ ษาบาล, ทนั ตธาตนุ ิธาน, หน้า ๖๒-๖๓.

๑๘๔ ต่อมาทันตกุมาร ราชบุตรแห่งกรุงอุชเชนีได้เดินทางมานมัสการท่ีเมืองกา ลิงค์ และต่อมาได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเหมชาลา ราชธิดาของพระเจ้ากาลิงค์ ฝุาย พระเจ้าขีรธาระ [แห่งกรุงสาวัตถี] ได้ยกกองทัพมาประชิดแคว้นกาลิงค์ เพื่อแย่งชิงเอา พระทนั ตธาตุ ท้ังสองฝุายจึงทําสงคราม ในศึกคร้งั น้ี พระเจา้ ขีรธาระสน้ิ พระชนมในสนาม รบ ตอ่ มาบรรดาราชกุมารทั้งหลายที่เป๐นหลาน ของพระเจ้าขีรธาระได้ยกทัพมาประชิด แควน้ กาลิงค์ เพ่ือแย่งชิงเอาพระทันตธาตุ อีกเป๐นคร้ังท่ี ๒ ศึกครั้งนี้ใหญ่หลวงนัก พระ เจ้า คุหสีวะจึงตรัสเรียกทันตกุมารและเจ้าหญิงเหมชาลามาเฝูาแล้วตรัสสั่งว่า ตราบ เท่าที่พ่อยังมีชีวติ อยู่ พ่อจะไมม่ อบพระทันตธาตใุ ห้แก่ใคร พระเจ้ามหาเสนราชแห่งลังกา ทวีปทรงมีความเล่ือมใส ในพระทันตธาตุย่ิงนัก พระองค์ได้ส่งรัตนะอันมีค่าเป๐นเคร่ือง สักการะมาบูชาพระทันตธาตุเสมอมา หากการรบคร้ังน้ีพ่อพ่ายแพ้ ขอเจ้าท้ังสองจงนํา พระทนั ตธาตุนีไ้ ปมอบให้แก่พระเจ้ามหาเสนราชในลังกาทวีปเถดิ ในการรบครั้งน้ี พระเจ้าคุหสีวะส้ินพระชนม์ในสนามรบ ฝุายทันตกุมาร และเจา้ หญิงเหมชาลา จึงได้ปลอมพระองคเ์ ปน๐ พราหมณ์ อัญเชญิ พระทนั ตธาตุไปสู่ลังกา ทวปี ได้อย่างปลอดภยั ครนั้ ถึงลงั กาทวีปแลว้ สองสามีภรรยาได้ทราบข่าวว่าพระเจ้าเสน ราชได้ส้ินพระชนม์ไปแล้ว ต่างก็พากันโศกเศร้าย่ิงนัก แต่เม่ือทราบว่า พระเจ้าแผ่นดิน องคใ์ หมค่ อื พระเจา้ กิตติสริ ิเมฆวณั ณะ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกันจึงพา กันไปเฝูา และมอบพระทนั ตธาตุใหแ้ กพ่ ระองค์ ฝาุ ยพระเจ้ากิตติสิริเมมวัณณะทรงปลาบ ปล้มื พระทยั ยิง่ นกั ประหนึง่ ว่าไดเ้ ป๐นมหาจักรพรรดิ ได้พระราชทานทรัพย์สมบัติมากมาย พรอ้ มทง้ั หมูบ่ า้ นอกี ตาํ บลหนึง่ ให้แก่พราหมณ์สองสามีภรรยา พระเจ้ากิตติสิริเมฆวัณณะ ไดอ้ ญั เชิญพระทันตธาตไุ ว้เหนือพระราชบัลลังก์ ต่อมาภิกษุสงฆ์ชาวเมืองและชาวชนบท ที่อยู่ห่างไกลมีครัทธาเล่ือมใสในพระทันตธาตุต่างก็หล่ังไหล เข้ามาบูชาพระทัน ตธาตุ อยา่ งเนอื งแนน่ พระเจ้ากิตตสิ ริ เิ มมวัณณะจงึ อญั เชญิ พระทันตธาตุข้ึนประดิษฐานราชรถ จัดขบวนแห่ไปประดิษฐานไว้ท่ีวัดอภัยคีรีวิหาร ให้ประชาชนนมัสการแล้วอัญเชิญพระ ทันตธาตแุ หไ่ ปตามถนนเพ่ือใหป้ ระชาชนได้นมสั การเปน๐ ประจําทุกปเี สมอมา๑๓๘ เนือ้ หาบางตอนของคมั ภีรท์ นั ตธาตุนธิ าน ปณามคาถา นมามิ พุทฺธํ ปรมธาตุทวฺ ารํ ธมมฺ ญจฺ ธาตํฃ อมตปปฺ กาสํ สงฺฆญฺจ เสฏฐฺ ํ วรธาตุปูชํ ๑๓๘ วิชัย กุลษาบาล, ทนั ตธาตุนธิ าน, หน้า ๖๔-๖๖.

๑๘๕ หตนตฺ ราโย รตนตตฺ เยน ฯ พทุ ธฺ สาสนโธตตถฺ ํ นราธปิ ตริ าชนิ า เขยฺยสงฺคามนาเมน มหาปุญฺเญน ยาจิโต คมภฺ ีรกฺขรปทสฺส ธาตวุ จนสฺส นิสฺสยํ เทยฺยภาสาย จ อนุ- กริสสฺ ํ สุธโพธยิ า ฯ มหาทินฺกรรสํ ิ หตโมหนฺธการํ สตสตฺตชุ ติ ํ พุทธฺ านํ เขตตฺ ตตฺ ยสฺมึ หตสกลกิเลสํ สนตฺ ิยา ยาตสนฺ ตฺ ึ อปรมิตคุโณฆํ โลกนาถํ นมิตฺวา ฯ ทสพลปภวยํ ปูชยํ โลกนาโถ อขรมรณธมมฺ ํ ยํ ปวิ ิตฺวา นราสฃํ ขิลนิขิลาคเุ ณน เสวติ ํ โยคสญโฺ ญ ขนสวิ มปฺ ิ ธมฺมํ ททุ ฺทสํ ตํ นมติ ฺวา ฯ ยทมลมตมิ ํ โธตจิตเฺ ตน ปสนนฺ า อมรนรสมหุ ายนฺติ สตตฺ า ปวรํ วรํ ปูชกรณิยํ ธมฺมราชสสฺ ปตุ ตฺ ํ ตมปฺ ิ จริยสงฺฆํ ทกฺขเิ ณยยฺ ํ นมติ ฺวาฯ สุณาถ มิทํ มหาสิ ปพุ ฺพกานญฺจ ปาเท ปสตู ิกวิภิวตุ ตฺ ํ ปพุ พฺ วสํ วลมฺหา สุขนชนปสาทํ ปติ ิปามชุ ฺชตถฺ เมว วรํ ทสพลธาตุวสํ ญฺจาหํ กรสิ สฺ ํ ฯ แปล ข้าพเจา้ ขอนอ้ มนมัสการ พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นประตู แห่งพระบรมธาตุ และพระธรรมอันประกาศพราตุอันเป็นอมตะ ตลอดท้ัง พระสงฆ์ผู้ประเสริฐ ผู้บูชาพระธาตุอันสูงสุด ด้วยอํานาจแห่งพระรัตนตรัย ขอใหข้ ้าพเจ้าจงปราศจากอันตรายฯ เพื่อความรุ่งเรืองแห่งพระพุทธศาสนา ข้าพเจ้า อันพระราชาพระ นามว่า พระยาชัยสงคราม ผู้เป็นใหญ่แห่งปวงชน ผู้ทรงมีบุญญาธิการมาก อาราธนาแล้ว จักเรียบเรียงเร่ืองพระทันตธาตุ อันอาศัยถ้อยคําแห่ง [วงศ์] แหง่ พระธาตอุ นั มีอกั ขรบทหน่ึง อันลึกซง้ึ เป็นภาษาไทย เพอื่ ความเขา้ ใจง่ายฯ ข้าพเจา้ ขอน้อมนสั การ พระพทุ ธโลกนาถ ผู้มีรัศมีรุ่งเรอื งประหนง่ี รัศมแี หง่ ดวงอาทิตย์ใหญ่ ผูท้ รงขจดั ความมืดคือโมหะ ผูท้ รงชนะศัตรูต้ังร้อยใน พุทธเขตท้ัง ๓ ผู้ทรงขจัดกิเลสท้ังมวล ผู้ทรงบรรลุถึงความสงบโดยสันติ ผู้มี ห้วงแห่งคณุ อันหาประมาณมไิ ด้ฯ

๑๘๖ พระโลกนาถ ผทู รงทราบวธิ ีประกอบความเพยี ร ทรงบูชาอยู่ซึ่งพระ ธรรมใด อันเป็นบ่อเกิดแห่งทศพลญาณ ที่นรชนด่ืมแล้วไม่แก่ตาย ไม่เส่ือม สลาย มีคุณอันไม่หวั่นไหวดุจเสาเขื่อน อันปราศจากมลทิน ข้าพเจ้าขอน้อม นมัสการพระธรรมน้ัน อันให้ความเยือกเย็นแก่ปวงชน ท้ังเป็นธรรมที่บุคคล เห็นไดย้ ากฯ หมู่สัตว์ท้ังหลาย ทั้งเทวดาและมนุษย์ ที่มีจิตหมดจด เลื่อมใส ยึดถือพระสงฆ์ใด ผู้ปราศจากกิเลส มีปัญญาล้ําเลิศ ผู้ควรแก่การบูชา ผู้เป็น โอรสแห่งพระธรรมราชา ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสงฆ์น้ัน ผู้เป็นอริยทั้ง เปน็ ทกั ขไิ ณยบคุ คลฯ ข้าพเข้าจะยึดถือตามแนวแห่งพระบาทของพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ และวงศ์ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ที่กวีได้รจนาไว้ดีแล้วแต่ด้ังเดิม จักเรียบ เรียงคัมภีร์พระทันตธาตุอันเป็นพระธาตุวงศ์ของพระทศพลผู้ประเสริฐ เพื่อ เพิม่ พนู ความเลื่อมใสและปตี ปิ ราโมทยแ์ ก่สาธชุ น ขอสาธุชนทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ดงั ตอ่ ไปนี้ ฯ๑๓๙ เอวํ โส ธมมฺ ราชา สกรปุ คปทํ ปชหิตวฺ า ปรตถฺ ํ กาตํฃ สํสารวฏฺฏํ ปวิสิย ฆฏมํ จตุสํเธยยฺ ลกฺเข ปเู รตวฺ า ปารมสึ ุ- มตสึ ทสวธิ า เขปยิตฺวา กเิ ลเส ปตฺโต สพฺพญญฺ ุตภาวํ อติว พหุวิธํ ปาฏิเหรํ อกาสตี ิฯ อิติ สาธุชนปีติปามุชฺชตฺภาย กเต ธาตุวํเส โพธิปริทิปนปริจเฉโท นาม ปฐโม ปรจิ เฺ ฉโทฯ๑๔๐ แปล พระพุทธเจ้าเปน็ ธรรมราชา ทรงละทางท่ีไมห่ วลกลับมา เกิดอีกได้แล้ว เพื่อจะกระทําประโยชน์แก่ผู้อื่น จึงเสด็จเข้าสู่สังสารวัฏทรง บําเพ็ญบารมี ๓๐ ประการ ตลอด ๔ อสงไขย ตดิ ตอ่ กัน ทรงขจัดกิเลสท้ังสิบ แล้วได้ตรัสรู้สัพพัญญุตญาณ ทรงกระทําปาฏิหาริย์มากอย่างยิ่งนัก ดัง พรรณนามาฉะน้ี ปริจเฉทที่ ๑ ช่อื ว่า ปริจเฉทที่บรรยายเรื่องการตรัสรู้ในคัมภีร์พระ ธาตุวงศ์ อันข้าพเจ้าได้รจนาไว้แล้ว เพื่อก่อให้เกิดปีติและปราโมทย์แก่สาธุชน ท้ังหลาย จบแล้ว ดว้ ยประการฉะนี้ ฯ๑๔๑ ๑๓๙ วิชัย กลุ ษาบาล, ทันตธาตนุ ิธาน, หน้า ๒๐๙-๒๑๐ ๑๔๐ วิชัย กุลษาบาล, ทนั ตธาตนุ ธิ าน, หน้า ๙๓. ๑๔๑ วชิ ัย กุลษาบาล, ทันตธาตุนิธาน, หน้า ๒๑๙.

๑๘๗ ทาฐาธาตวุ งศ์ บาลวี ่า ทาฐาวํส หรือ ทาฐาธาตวุ ํส คมั ภรี ท์ าฐาธาตวุ งศ์๑๔๒ รจนาโดยพระธรรมกติ ติ ชาวเมอื งปุลตั ติ แหง่ ลังกา เป๐นศิษย์ของพระสารีบุตรเถระ มีความชํานาญในภาษาสันสกฤต และภาษามาคธีเป๐น อย่างดี ต่อมาได้รับการแต่งต้ังเป๐นราชครูประจําราชสํานัก คัมภีร์ทาฐาธาตุวงศ์เดิม [คัมภีร์ดาละดาวงศ์] เป๐นภาษาสิงหลโบราณ ท้ังเน้ือหายาวเกินไป ยากต่อการอ่านและ ทําความเขา้ ใจ ตอ่ มาพระธรรมกิตติเรียบเรียงขึ้นใหม่เป๐นภาษามาคธี โดยการอาราธนา ของปรกั กมะอํามาตย์ ระยะเวลาในการรจนาคัมภีร์ อยู่ในรัชกาลของพระนางลีลาวดี ประมาณ พ.ศ.๑๗๕๔ ทางสมาคมบาลีปกรณ์ได้จัดพิมพ์คําแปลภาษาอังกฤษ เม่ือปี พ.ศ.๑๘๘๔ และทางฝรั่งเศศได้จัดพิมพ์เป๐นภาษาฝรั่งเศสช่ือว่า Le Dathavaca, ou Histoire de la dent religue du Buddha Gotama, peome epique Palli de Dhammakitti๑๔๓ คัมภีร์ทาฐาธาตุวงศ์ในส่วนภาษาโบราณ หอสมุดแห่งชาติ มี ๖ ฉบับ ต้นฉบบั เปน๐ ใบลานจารดว้ ยอักษรขอม ภาษาบาลี ทั้งหมด เป๐นเอกสารโบราณ จัดอยู่ใน หมวดตํานาน-ประวัติศาสตร์ มีเน้ือหาเกี่ยวกับพระบรมาตุเขี้ยวแก้ว หรือที่ชาวบ้าน เรยี กวา่ พระเขี้ยวแก้ว ขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่ีได้อัญเชิญไปประดิษฐาน ไว้ ณ เกาะลงั กา คัมภีรท์ าฐาธาตุวงศ์มีความสําคัญท่ีมีส่วนทําให้เราทราบประวัติศาสตร์ทาง พระพุทธศาสนา ซึ่งเป๐นการบันทึกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์บ้างเมือง รวมทง้ั ช่วยใหเ้ ราทราบวา่ พระเขี้ยวแก้วข้างซ้ายของพระพุทธองค์ ได้ถูกอัญเชิญนําไปสู่ ลังกาในปีท่ี ๙ รัชสมัยของพระเจ้าศิริเมฆวรรณ ผู้เป๐นพระราชโอรสของพระเจ้ามหาทิ เสน ถือว่าเปน๐ พระบรมธาตทุ ี่สําคญั และมีคา่ ที่สดุ คมั ภีร์ทาฐาธาตุวงศ์เปน๐ วรรณกรรมบาลีประเภทร้อยกรอง แบ่งออกเป๐น ๕ ปรจิ เฉท มรี ายละเอียดดังน้ี ๑๔๒ พระธรรมกติ ต,ิ คัมภีรท์ าฐาธาตุวงศ์, สวาท เหลา่ อดุ ปริวรรตและแปล, [กรงุ เทพฯ: ธีร พงษ์การพิมพ์, ๒๕๔๔], คาํ นํา. ๑๔๓ วิชัย กุลษาบาล, ทันตธาตุนิทาน: การตรวจสอบชาระและการศึกษาเชิงวิเคราะห์, [วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๖,] หน้า ๑๘.

๑๘๘ ปริจเฉทที่ ๑ มจี าํ นวน ๖๒ คาถา ๖๐ คาถาแรกเป๐น วังสัฏฐฉันท์ ส่วน ๒ คาถาสดุ ทา้ ย เปน๐ สทั ธราฉันท์ เน้ือหาเร่ิมตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป๐นพราหมณ์ กุมารนามว่าสุเมธ ต่อด้วยพระทีป๎งกรพระพุทธเจ้าประทานคําพยากรณ์ พระโพธิสัตว์ ประสูติ พทุ ธประวตั ใิ นช่วงแรกกระท่งั ถึงพระอญั ญาโกณฑญั ญะไดด้ วงตาเหน็ ธรรม ตัวอย่าง บาลี ชิโน สมิทฺเธ อมราวฺหเย ปุเร กทาจิ หตุ วฺ าน สุเมธนามโก สเวทเวทงคฺ วภิ าคโกวิโท มหทธฺ โน วิปปฺ กุลมหฺ ิ มานโว ฯ อหํ หิ ชาติพฺยสเนน ปีฬโิ ต ชราภภิ โู ต มรเณน โอตฺถโฏ สวิ ํ ปทํ ชาตชิ ราทินสิ ฺสฏํ คเวสยิสสฺ ํ ติ รโห วจิ ตึ ยิ ํ ฯ ถอดความ ในกาลครั้งน้ัน สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้เสวยพระชาติ เปน๐ พราหมณม์ าณพกุมารทรงพระนามว่า สุเมธ ในเมืองอมรวดี อันอุดมสมบูรณ์ เป๐นผู้ ทรัพย์สมบัติมาก มีความเฉลียวฉลาดในเวทท้ังปวง [สําเร็จศิลปศาสตร์ท้ังปวง] สุเมธ มาณพคิดว่า เราก็ถูกความย่อยยับไปเพราะชาติเบียดเบียน ถูกชราครอบงํา และถูก มรณะหอ่ หมุ้ เอาไว้ เราจกั แสวงหาทางอันเกษม อันเป๐นเคร่ืองสลัดออกจากชาติและชรา ฯ๑๔๔ ปริจเฉทท่ี ๒ มีจํานวน ๑๒๔ คาถา แบ่งเป๐น ปฐยาวัตคาถา ๑๒๒, อีก ๒ คาถาสุดท้าย เป๐นมันทักกันตาฉันท์ เนื้อหาพรรณนาความท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จไปลังกา ปราบยกั ษ์ ต่อด้วยเกดิ สงครามแย่งชงิ มณีบัลลังก์ระหวา่ งพวกนาค พระพุทธเจ้าเสด็จไป ลงั กาเพือ่ ปราบนาคอกี พรรณนาถงึ พุทธปรนิ ิพพาน และมีการแบ่งพระธาตุ จบลงท่ีพระ เขย้ี วแก้วแสดงอภนิ ิหาร ตัวอยา่ ง บาลี ตโต ปฏฺฐาย โส สตฺถา วิเนนโฺ ต เทวมานเุ ส โพธโิ ต ผสุ สฺ มาสมหฺ ิ นวเม ปณุ ฺณมาสยิ ํฯ ลงกฺ มาคมมฺ คงคฺ าย ตเิ ร โยชนวติ ฺถเต ๑๔๔ พระธรรมกิตต,ิ คัมภรี ท์ าฐาธาตุวงศ์, หนา้ ๒๓.

๑๘๙ มหานางฺควนยุ ฺยาเน อายาเมน ติโยชเนฯ ถอดความ นับต้ังแต่ตรสั รู้มา พระพุทธเจ้าทรงแนะนําสั่งสอนเทวดาและ มนุษย์ทั้งหลายตลอดมา ต่อมาในเดือนย่ี ในวันข้ึน ๑๕ คํ่า ซ่ึงเป๐นเดือนที่ ๙ หลังจาก ตรสั รแู้ ลว้ พระองคเ์ สด็จไปลงั กาทวีป สถติ อยู่ในเวหา ณ มหานาควดนทยาน ซึ่งกว้าง ๑ โยชน์ ยาว ๓ โยชน์ ต้ังอยู่รมิ ฝ๑ง๎ แม่น้าํ คงคาฯ๑๔๕ ปรจิ เฉทที่ ๓ มจี าํ นวน ๙๗ คาถา ประกอบด้วย อุปชาติฉันท์, อินทรวิเชียร คาถา, อเุ ปนทรวเิ ชียรคาถา, และมันทักกันตาฉันท์ เน้ือหาพรรณนาพระยาจิตตยานะนํา พระเขี้ยวแก้วไปถวายพระเจ้าป๎ณฑราช จบลงที่พระเจ้าป๎ณฑุราชละทิฐิมานับถือพระ รตั นตรยั ตัวอย่าง บาลี ตโต กฬิงฺคาธิปติสฺส ตสสฺ โส จิตฺตยาโน ปรมปฺปตีโต ตํ สาสนํ ปุณฑฺ นุ ราธิปสฺส ญาเปสิ ธโี ร ทุรตกิ ฺกมนตฺ ิฯ ราชา ตโต ทนฺตปุเร ธเชหิ ปุปเฺ ผหิ ธเู ปหิ จ โตรเณหิ อลงฺกริตวฺ าน มหาวิตานํ นวิ าริตาทีจจฺ มรจี ิชาฬํ ฯ ถอดความ ในกาลน้นั พระยาจิตตยานะ ทรงอยากรู้อยากเห็น จึงแจ้งข่าว สาส์นของพระเจ้าบัณฑิราชให้พระเจ้าคุหสิวะทรงทราบ เม่ือพระเจ้าคุหสิวะทรงทราบ แลว้ จึงมรี ับส่ังให้ประดบั ตกแต่งนครทันตบุรี ประดับดว้ ยธง ตกแต่งดอกไม้ของหอม แม้ ระท่งั เสาระเนียด กม็ กี ารประดับประดาฯ๑๔๖ ปริจเฉทที่ ๔ มจี ํานวน ๕๖ คาถา ประกอบด้วย มาลินีฉนั ท์ ๕๕ คาถา และ คาถาสดุ ท้ายเปน๐ สทั ทุลวกิ กีฬิตฉนั ท์ เนื้อหาพรรณนาถึงพระเจ้าป๎ณฑุราชทําสงครามกับ พระเจ้าขีรธาระ พระเจา้ คหุ สิวะรับพระเขี้ยวแก้วกับไปเมืองทันตปุระ การยกทัพไปแย่ง ชิงพระเขย้ี วแก้ว และเหตกุ ารณ์ลักลอบโขมยพระเขีย้ วแก้ว ตวั อยา่ ง ๑๔๕ พระธรรมกิตติ, คมั ภีร์ทาฐาธาตวุ งศ์, หน้า ๒๖. ๑๔๖ พระธรรมกติ ต,ิ คมั ภรี ท์ าฐาธาตุวงศ์, หนา้ ๓๓.

๑๙๐ บาลี จรติ ธรณปิ าเล ราชธมมฺ สุ ตสฺมึ สมรจตรุ เสโน ขรี ธาโร นรินฺโท นิชภุชพลฬีลาราติทปปฺ ปมฺ าถิ วิภวชนิตมาโน ยุทฺธสชโฺ ชภคิ ํฉฺ ิฯ ถอดความ เม่ือพระเจา้ ป๎ณฑรุ าช ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยราชธรรมอยู่ ไดม้ ีพระราชาพระนามวา่ ขีรธาระ พร้อมดว้ ยจตรุ งคเสนา ไดย้ กพลมาประชิดเมืองปาฏลี บตุ ร ทาํ ตัวอาจหาญเพ่อื แยง่ ชิงราชสมบัติ๑๔๗ ปริจเฉทที่ ๕ มจี ํานวน ๖๙ คาถา คาถาท่ี ๑-๖๙ เป๐นวสันตดิลกคาถา และ คาถาที่ ๖๙ เป๐นสัทธราฉันท์ เน้ือความพรรณนาถึงพราหมณ์ ๒ สามีภรรยาถึงเมืองอนุ ราธปรุ ะ พระเจ้ามหาทิเสนะส้ินพระชนม์ จบลงด้วยราชโองการให้มีการฉลองพระทันต ธาตทุ ุกปี และตอ่ ด้วยคําปราถนา และถอ้ ยแถลงของผ้ปู ระพนั ธ์ ตัวอยา่ ง บาลี สํวจฉฺ รมฺหิ นวมมฺหิ มหาทิเสน- ปุตตฺ สสฺ กติ ฺติสริ ิเมคนราธปิ สฺส เต ชมปฺ ตี ตมถ ปฏฏฺ นโมตริตวฺ า เทวาฬเย ปฏวิ สึสุ มโณภภิ าเม ฯ ถอดความ ในปีครองราชย์เป๐นที่ ๙ นับแต่ได้อภิเษกเป๐นกษัตริย์มา ของ พระเจ้ากติ ติสริ เิ มฆ ผเู้ ป๐นพระราชบตุ รของพระเจ้ามหาทิเสนะ พราหมณ์ ๒ สามีภรรยา กไ็ ดข้ ึน้ จากท่าน้าํ ในเวลาเยน็ ไปพํานักแรมค้างคืนอยู่ในเทวาลัย ที่น่าอยู่แห่งหน่ึง ต้ังอยู่ ไม่ไกลจากท่าน้าํ ฯ๑๔๘ รูปแบบฉันทลักษณ์ท่ีพบในคัมภีร์ทาฐาธาตวงศ์ ประกอบด้วย ปฐยาวัต คาถา, วสันตดิลกคาถา, มาลินีฉันท์, อินทรวิเชียรคาถา, และอุเปนทรวิเชียรคาถา เป๐น ส่วนใหญ่ แต่ก็มีฉันทลักษณ์ลักษณะอื่น ซึ่งมีรูปแบบท่ีไม่คอยพบบ่อยนักในงาน วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ได้แก่สัทธราคาถา, มัททักกันตาคาถา และสัท ทุลวิกกีฬิตคาถา จึงได้ถอดรูปแบบฉันทลักษณ์มาเพื่อเป๐นข้อสังเกตเพียง ๓ รูปแบบน้ี เท่านนั้ ส่วนฉนั ทลกั ษณ์อื่นๆ พบเหน็ โดยทั่วไปแลว้ แผนผังสทั ธราคาถา ปกตฉิ นั ท์ ๒๑ พยางค์ [ ม ร ภ น ย ย ย ] ดังน้ี ๑๔๗ พระธรรมกิตติ, คัมภรี ท์ าฐาธาตวุ งศ์, หนา้ ๓๙. ๑๔๘ พระธรรมกิตติ, คัมภรี ท์ าฐาธาตุวงศ์, หน้า ๔๓.

๑๙๑ ม คณะ ร คณะ ภ คณะ น คณะ ย คณะ ย คณะ ย คณะ ๑๒๓ ๔๕ ๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ รา ชินฺ ทา นํ ขิ ลา นํ สุ ก นกม กุ เฏ เส ล ภา เส น ภา สํ ๒๒๒ ๒๑ ๒ ๒๑๑ ๑๑๑ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒ ตัวอย่าง คนตฺ วา โส ธมมฺ ราชา วนํ อสิ ปิ ตนํ สํฺญตานํ นเิ กตํ ปลลฺ ํ ตสฺมึ นิสินฺโน ตหิมวิจลติ ํ ฐานสมฺปีทิตมฺหิ อาสาฬฺเห ปุณฺณมิยํ สิตรุจริ ุจยิ า โชติเต จกกฺ วาเฬ เทวพรฺ หมาทิกานํ ทรุ ิตมลหรํ วตฺตยี ธมฺมจกฺกํฯ แผนผงั มทั ทักกันตาคาถา อจั จัฏฐิฉันท์ ๑๗ พยางค์ [ม ภ น ต ต ครุลอย] ดังน้ี ม คณะ ภ คณะ น คณะ ต คณะ ต คณะ ครุ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ มนฺ ทกฺ กนฺ ตา ม ภ นตต คา โค ยุ คุตฺ วสฺ ส เก หิ ๒๒๒ ๒๑๑ ๑๑๑ ๒๒๑๒๒๑๒๒ ตวั อยา่ ง อจเฺ ฉรํ ตํ ปรมรจุ รํ จติ ฺตายาโน นรนิ โฺ ท ทิสวฺ า หฏฺโฐ จริ ปริจติ ํ ทิฏฺฐชิ าลํ ชหติ วฺ า คนฺตวา พุทธฺ ํ สรณํ อสมํ สพพฺ เสนหี ิ สทธฺ ึ อคคฺ ํ ปุํญฺ ํ ปสวิ พหธุ า ธาตสุ มฺมานนายฯ แผนผังสัททูลวิกกีฬิตคาถา อติธิติฉันท์ ๑๙ พยางค์ [ม ส ช ต ต ต ครุ ลอย] ดังน้ี ม คณะ ส คณะ ช คณะ ส คณะ ต คณะ ต คณะ ครุ ๑๒๓ ๔๕๖ ๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ อกฺ กสฺ เส หิ ย ติ มฺส ชา ส ต ต คา สทฺ ทู ล วิกฺ กี ฬิ ตํ ๒๒๒ ๑๑๑ ๑๒๑ ๑๑๒ ๒๒๑ ๒๒๑ ๒

๑๙๒ ตัวอย่าง อิตฺถํ พุทธฺ สเุ ต ภชุ งคฺ ชนติ า ภิตตฺ ึ สเมตวฺ า คเต สา นาวา ปวนา ปกมปฺ ิตธชา ตุงคฺ ํ ตรงฺคาวฬึ ภินทฺ นตฺ ี คตเิ วคสา ปถุ ุตรํ เมฆาวลีสนฺนิภํ ลงฺกาปฏฏนโมตรติ ถฺ สหสา เถรสสิ ตสสฺ ิทฺธยิ าฯ ทีปวงศ์ คัมภีร์ทปี วงศ์๑๔๙ เป๐นคมั ภีรป์ ระเภทวังสะ หรือพงศาวดารเก่าแก่ที่สุดของ ลังกา ต้นฉบับแต่งเป๐นคาถาภาษาบาลี อักษรสงิ หล มที งั้ หมด ๒๒ ภาณวาร ไม่ปรากฏว่า ใครเป๐นคนแต่ง สันนิษฐานว่า มีผู้เขียนหลายคน และหลายรุ่นสืบเนื่องตกทอดกันมา เดิมอาจจะใช้สวดในลักษณะเป๐นมุขปาฐะ ต่อมาในตอนกลางพุทธศตวรรษท่ี ๙-ปลาย พุทธศตวรรษท่ี ๑๐ จึงไดม้ ีการบนั ทึกเป๐นลายลักษณ์อักษร เน้ือหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาทเ่ี กย่ี วกับประวัติศาสตร์ลังกา ซ่ึงสัมพันธ์กับไทยและประเทศในภูมิภาค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้๑๕๐ เน้อื หาแบง่ ออกเป๐น ๒๒ ภาณวาร แตล่ ะภาณวาร มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ ภาณวารท่ี ๑ อารมภกถาและว่าดว้ ยพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มาลังกาคร้งั ที่ ๑ ภาณวารท่ี ๒ วา่ ด้วยพระพุทธเจ้าเสดจ็ มาลังกาครัง้ ท่ี ๒ และคร้ังที่ ๓ ภาณวารที่ ๓ ว่าด้วยวงศ์พระเจา้ มหาสมมตุ ิ ภาณวารที่ ๔ ว่าด้วยการสงั คายนาครัง้ ที่ ๑ และครง้ั ท่ี ๒ ภาณวารที่ ๕ วา่ ดว้ ยอาจรยิ วาท และการสบื ทอดพระธรรมวนิ ยั ภาณวารท่ี ๖ ว่าด้วยพระเจา้ อโศกทรงสรา้ งพระวหิ าร ๘๔,๐๐๐ แหง่ ภาณวารที่ ๗ ว่าดว้ ยการฉลองพระวิหาร ๘๔,๐๐๐ แหง่ และการสงั คายนา ครั้งที่ ๓ ภา ณวารที่ ๘ ว่าด้ว ยพ ระ โมคคัลลีบุตรส่งพ ระ เถระ ไปเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในดินแดนต่างๆ ภาณวารที่ ๙ วา่ ด้วยพระเจา้ วิชัยเสดจ็ ไปลังกา ภาณวารที่ ๑๐ วา่ ดว้ ยพระเจ้าป๎ณฑกะตน้ วงศ์พระเจา้ มหาสมมุตใิ นลังกา ภาณวารท่ี ๑๑ ว่าดว้ ยพระเจา้ เทวานัมปยิ ดสิ ราชาภเิ ษกครัง้ ท่ี ๒ ภาณวารที่ ๑๒ ว่าดว้ ยพระมหนิ ทเถระไปลังกา ๑๔๙ กรมศิลปากร, คมั ภีรท์ ีปวงศ์, [กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร จดั พมิ พ์, ๒๕๕๗], ๑๐๗ หน้า. ๑๕๐ กรมศลิ ปากร, คัมภีร์ทปี วงศ์, คํานาํ /คาํ อธบิ าย.

๑๙๓ ภาณวารที่ ๑๓ ว่าด้วยพระเจ้าเทวานัมปิยดิสทรงถวายมหาเมฆวโนทยาน เป๐นพระอารามสงฆ์ ภาณวารที่ ๑๔ วา่ ด้วยการรบั เจติยบรรพตมหาวิหาร ภาณวารที่ ๑๕ ว่าด้วยอญั เชญิ พระบรมธาตไุ ปลงั กา ภาณวารที่ ๑๖ ว่าด้วยการเชิญไม้ศรีมหาโพธไิ ปลงั กา ภาณวารท่ี ๑๗ วา่ ด้วยการประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาในภัทรกัปในลงั กา ภาณวารที่ ๑๘ วา่ ด้วยขอ้ ความเบ็ดเตลด็ ในลงั กา ภาณวารท่ี ๑๙ ว่าด้วยจํานวนพระเถรเจา้ ทไ่ี ปลังกา ภาณวารที่ ๒๐ ว่าดว้ ยดําลบั พระราชาในลังกาสร้างถาวรวัตถุ ภาณวารที่ ๒๑ วา่ ด้วยพระเจ้าอภยั ได้เสด็จเข้าทอดพระเนตรห้องพระธาตุ และพระราชศรทั ธาพระเจ้าลังกาต่างพระองค์ ภาณวารที่ ๒๒ ว่าด้วยพระสถปู วิหารท่พี ระเจ้าลังกาต่างพระองค์ทรงสร้าง ไว้ ตวั อย่างเนื้อหาในคัมภีร์ทีปวงศ์ ตํานานว่าด้วยการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป ขอน้อม นมัสการแต่องคส์ มเด็จพระผมู้ ีพระภาคอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจา้ พระองค์น้ัน ภาณวารที่ ๑ อารมั ภกถา และว่าดว้ ยพระพุทธเจ้าเสดจ็ มาลังกาครง้ั ที่ ๑ บัดน้ี จักกล่าวถึงเรื่องพระพุทธเจ้าเสด็จมาประเทศลังกา และการอัญเชิญ พระบรมธาตไุ มศ้ รีมหาโพธิมาประเทศลงั กา การทําสังคายนา ลัทธิอาจริยวาท และเรื่อง พระพุทธศาสนามาสู่ประเทศลังกา ทั้งจะได้ กล่าวถึงวงศ์ของพระเจ้ามหาสมมุติราชไว้ ด้วย ซึง่ เร่ืองน้ีจะทําให้เกิดปีติ ปราโมทย์ น่าเกิดความเล่ือมใส น่าร่ืนรมย์ใจ เป๐นเร่ืองที่ สมบูรณ์ดว้ ย อาการเปน๐ อเนก ขอทา่ นทงั้ หลายจงตัง้ ใจฟง๎ ขา้ พเจ้า ขอท่านทง้ั หลายจงมจี ิตเบิกบาน ร่าเรงิ มใี จบันเทิงช่นื ชม รบั ฟ๎ง คาํ ร้อยกรอง อันว่าด้วยเรื่องราวดังกล่าวนั้นโดยเคารพเถิด ขอทุกท่านจง ต้ังใจฟ๎งให้ดี เรื่องราวที่จะ กล่าวต่อไปน้ี เป๐นเรื่องท่ีสรรเสริญของคน หมู่มาก เพราะเร่ืองน้ี ข้าพเจ้าเรียบเรียงไว้ เรียบร้อยเหมือนกับดอกไม้ นานาพันธุ์ท่ีร้อยกรองไว้ฉะนั้น ท้ังเป๐นเร่ืองที่จะหาเรื่องใด เปรียบมไิ ด้ เป๐นประวัติของชาวลังกา เป๐นเร่ืองที่ผู้รู้ได้แสดงไว้อย่างครบถ้วนเป๐นเร่ืองที่ อริยชนจดจํากันมา เป๐นเร่ืองที่สัตบุรุษช้ันสูงพรรณนาไว้ ขอท่านท้ังหลายจงตั้งใจฟ๎ง เรอื่ งราวสดดุ เี กาะลงั กาตอ่ ไปโดยเคารพเถิด

๑๙๔ พระพุทธเจา้ ผเู้ ป๐นอดุ มบุรษุ ได้ประทับนั่งตั้งความเพียรประกอบด้วยองค์ ๔ ลงที่อาสภัณฐานบัลลังก์อนั ม่นั คง ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลน เมื่อพระพุทธองค์ผู้องอาจ กว่านรชน ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ ได้ประทับน่ังบนบัลลังก์ภายใต้โคนต้น อัสสัตถพฤกษ์น้ัน พระองค์ได้ ทอดพระเนตรเห็นมารพร้อมท้ังเสนามาร ก็ไม่ทรงหว่ัน หวาด ทรงองอาจ เหมือนพระยาไกรสรราชสีห์ ทรงทําลายวาทะของมารแล้ว ทรงกําจัด มารพรอ้ มทงั้ เสนาใหพ้ ่ายแพไ้ ป ครั้นองคพ์ ระมุนีผมู้ ีพระหฤทัยสงบดาํ รงม่ัน ทรงชนะมารแล้ว ก็มีพระหฤทัย โสมนสั ทรงต้ังพระหฤทัยเจริญวิป๎สสนากรรมฐาน ทรงมนสิการซ่ึงธรรมต่าง ๆ เป๐นอัน มาก อนั ประกอบด้วยอาการเป๐นอเนก แลว้ พระองคผ์ ทู้ รงปรีชาญาณและป๎ญญาจักษุ ได้ ทรงบรรลุญาณ ๒ ประการ คือ บุพเพนิวาสญาณ และทิพจักขุญาณ ทรงพิจารณาธรรม อย่ตู ลอด ๓ ยาม ครน้ั ถงึ ยามสุดท้าย ไดท้ รงพิจารณาป๎จจยาการเป๐น อนโุ ลมปฏิโลม ทรง รู้ธรรมที่ควรรอบรู้ ทรงละธรรมที่ควรละ ทรงอบรม ธรรมท่ีควรอบรม พอถึงเวลาอรุณ ขึน้ พระองค์ผทู้ รงสริ ิก็ได้สําเร็จ พระโพธิญาณ หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ พระมหามุนีผู้ได้ สําเรจ็ พระสัพ พญั ํตุ ญาณอันประเสริฐแล้ว ก็ได้ทรงพระนามว่า พุทโธ พระนามนี้เป๐น พระนามแรก๑๕๑ ภาณวารท่ี ๒ ว่าดว้ ยพระพทุ ธเจา้ เสด็จมาลังกาครง้ั ที่ ๒ และครัง้ ท่ี ๓ ส่วนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงสิริ ก็ได้เสด็จไปประทับ อาศัยอยู่ท่ี สุทัตตาราม [คือพระเชตวนาราม] ใกล้กรุงสาวัตถีราชธานีของ ซาวโกศล คราวประทับ อยทู่ สี่ ทุ ตั ตารามน้ัน พระธรรมราชาคือพระพุทธเจา้ ผู้ประกอบด้วยพระรัศมีอันสว่างไสว เม่ือทรงตรวจดูสัตวโ์ ลกทง้ั มวล ได้ ทรงเลง็ เห็นว่า เม่ือ ๕ ปีลว่ งมาน้ี เราได้ไปตามพป๎ณณิ ทวีปกําจัดพวกชั่ว ร้ายทําให้เป๐นทวีปว่างเปล่าไว้แล้ว แต่ในวันน้ี พวกนาคที่อยู่ตามเชิง เขา ทเ่ี กาะนัน้ ไดอ้ อกมาส้รู บกนั ขึ้นใหม่ นาคพวกนั้นล้วนแต่เป๐นผู้มีฤทธ์ิ มาก มีพิษกล้า ดุร้าย หยาบคาย โกรธไว มีเดชมาก หยาบช้า กล้า แข็ง มัวเมาด้วยทิฐิมานะ มุ่งแต่จะ จับผิดผู้อื่น มุ่งแต่จะทํานั่นกัน พระยานาคท้ังสองนั้น คือ มโหทรนาคราชกับจุโฟทร นาคราช ตา่ งก็มี กําลงั มากดว้ ยกนั มที รัพย์มียศมากท้ังสองฝุาย ไม่มีนาคตัวใดจะยิ่งกว่า มโหทรนาคราช มโหทรนาคราชจะทําเกาะน้ัน ภูเขาและปุาไม้ให้พินาศ ไปด้วยเดชของ ตนด้วยมีมานะจัด จึงคิดจะฆ่านาคท่ีเป๐นศัตรูให้หมด ส่วนนาคจุโหทรก็มีมานะแรงกล้า คดิ จะฆ่านาคท่เี ป๐นปฏิป๎กษ์ทั้งปวง แล้วคํารามว่า จงให้นาคต้ังพันมาสู้เรา เราจะฆ่าเสีย ๑๕๑ กรมศลิ ปากร, คมั ภีร์ทปี วงศ์, หน้า ๑-๒.

๑๙๕ ให้สิ้นในทา่ มกลาง สนามรบ จะทําที่ดอนใหส้ ูงจดท้องฟูาต้ังร้อยโยชน์ นาคทั้งสองผู้มีพิษ รา้ ยแรงยากท่ีจะกําจดั ได้ ตา่ งก็มุ่งร้ายต่อกันกพ็ น่ พิษให้ลุกเป๐นไฟ แล้ว จะเข้าต่อสู้กันใน สนามรบ เพราะถือว่าตนเป๐นจอมนาค พระพุทธเจ้า ผู้ทรงประพฤติสิ่งท่ีเป๐นประโยชน์ เกือ้ กลู แก่ชาวโลกทรงเหน็ วา่ นาคทง้ั สองโกรธจัดจักทําใหเ้ กาะพนิ าศไป ทรงดําริท่ีจะทํา ให้เทวดาและมนุษย์ มีความสุขอย่างยิ่ง จึงทรงดําริว่า ถ้าเราไม่ไป พวกนาคก็จะไม่มี ความ สุข นาคท่ีเป๐นศัตรูกันก็จะทําเกาะน้ันให้พินาศ เกาะน้ันก็จะไม่มีประโยชน์ใน อนาคต ถา้ เราไปกจ็ ะไมอ่ าจทําได้ เรามีความเอ็นดูพวกนาค มุ่งความ สุขให้แก่พวกนาค จะต้องไปท่เี กาะน้นั เพ่ือตรวจดคู วามเจรญิ ของเกาะ ครน้ั พระพทุ ธเจ้าทรงเห็นประโยชน์ ในเกาะลังกา ทรงไล่พวกยักษ์ไป หมดแล้ว ก็ทรงดําริว่า เราได้ทําเกาะลังกาไว้ให้เป๐น เกาะท่ีดแี ลว้ อย่า ให้พวกนาคทําให้พินาศเลย ทรงดําริอย่างนี้แล้ว ก็เสด็จออกจากพระ คนั ธกุฎีประทบั ยนื อยทู่ ี่พระทวาร ครั้งน้ันพวกเทวดาท่ีอาศัยอยู่ในเขต พระเชตวนาราม ทั้งส้ิน ก็พากันลุกข้ึนกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้มี จักษุญาณ ข้าพระองค์ท้ังหลายขอ ตามเสด็จด้วย พระพุทธองค์ตรัสตอบ ว่าอย่าเลย พวกเธอทั้งปวงจงพากันยับย้ังอยู่ที่นี่ ใหไ้ ปแตส่ มทิ ธิเทพผูเ้ ดยี วเถิด สมทิ ธเิ ทพจงถอนเอาต้นไม้ยกข้ึนกั้นเหมือนกับร่มตามหลัง เราไป สมิทธิเทพได้ฟ๎งพระพุทธดํารัสแล้ว ก็ถอนเอาต้นไม้ก้ันเป๐นร่มถือตาม หลัง พระพุทธเจ้าไป สมิทธิเทพผู้เป๐นพระราชาแห่งเทวดาผู้มีฤทธิ์มาก ได้ถือต้นไม้แทน เศวตฉตั รไปเบ้อื งหลงั พระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจา้ ผสู้ งู สุดในหมนู่ รชน ผู้ทรงอนุเคราะห์โลก ครั้นเสด็จไปถึงสนามรบของพวกนาคแล้ว ก็ประทับอยู่บนอากาศเบ้ืองบนสนามรบแล้ว ทรงบันดาลให้เกิด ความมืดอย่างน่ากลัวขึ้น คราวน้ันความมืดก็เกิดขึ้นด้วยฤทธิ์ของ พระพทุ ธเจ้า พวกนาคถูกความมืดครอบงําก็ทุกข์ร้อน ต่างก็สะดุ้งกลัวจน ตัวส่ันมองกัน ไม่เห็นกระทั่งตัวของตัวเอง จะสู้รบกันได้อย่างไร พวกนาค ก็ได้แต่ยืนพนมมืออยู่ด้วย ความกลัวเทา่ นั้น พระพุทธเจ้าทรงเห็นพวก นาคมีความกลัวจนขนลุกขนพอง ก็ทรงแผ่ พระเมตตา ทรงเปล่งพระ รัศมีอันอบอุ่นพวยพุ่งออก คราวน้ันจึงเกิดแสงสว่างอย่างน่า มหศั จรรย์ น่าขนพองสยองเกลา้ พวกนาคทงั้ หมดจงึ มองเห็นพระพทุ ธองคป์ ระทบั ยืนอยู่ บนอากาศ เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญปราศจากเมฆ ลอยเด่นอยู่บน ท้องฟูาฉะนั้น พระ พุทธองคท์ รงประกอบดว้ ยฉัพพรรณรงั สี ประทับยนื อยู่ในอากาศ ทรงเปล่งพระรัศมีสว่าง ไสวไปท่วั ๑๐ ทิศ ไดต้ รัสถามพวกนาควา่ มหาบพติ ร พวกนาคทะเลาะววิ าทกันด้วยเรื่อง อะไร เราตถาคต จากชมพทู วปี มาน้ีก็เพราะเอน็ ดูพวกทา่ น นาคจโุ สทรและมโหทรนี้ ต่าง ก็เป๐นลุงและหลานของกันและกัน แต่วิวาทกันขึ้นด้วยชิงทรัพย์กัน พระพุทธเจ้าได้ตรัส ต่อไปวา่ เม่ือคนพาลโกรธกนั แล้ว เรอื่ งเล็กก็กลายเป๐นเรื่องใหญ่ พวกท่านเหน็ อย่างไร จึง

๑๙๖ พากันไดร้ ับทุกข์ใหญ่อย่างน้ี พวกท่านจงอย่าทําลายบัลลังก์อันเล็กน้อยน้ีเสีย พวกท่าน อย่าทําลายกนั อยา่ ลา้ งผลาญชวี ติ กนั เลย ลําดับนนั้ พระพุทธเจ้าก็ทรงทาํ ใหพ้ วกนาคสลดใจ ดว้ ยทรงแสดงให้เห็นทุกข์ ในนรก แล้วทรงแสดงโลกมนุษย์ สวรรค์ นิพพานให้ฟ๎งต่อไป ขณะท่ีพระพุทธองค์ผู้ ประเสรฐิ ว่าเทวดาและมนุษย์ กําลังทรง ประกาศพระสัทธรรมอยู่นั้น พวกนาคท้ังปวงก็ มาประชุมพร้อมกัน ทูลขอขมาโทษต่อพระพุทธองค์ แล้วพวกนาค ๘๐ โกฏิก็พร้อมกัน ปฏิญาณตน นับถือพระรัตนตรยั แลว้ คิดว่าพวกเราจะพนิ าศเพราะเหตุแหง่ บัลลังก์นี้ แล้ว พระยานาคทั้งสองก็พร้อมใจกันทูลถวายบัลลังก์แก่พระพุทธองค์ว่า ขอพระองค์จงทรง อนุเคราะหร์ ับบลั ลงั กอ์ นั ประเสริฐนี้เถิด พระเจ้าข้า พระพุทธเจ้าทรงรับด้วยพระอาการ นง่ิ อยู่ พระยานาคทงั้ สองทราบวา่ พระพทุ ธองคท์ รงรับแล้ว ก็ช่ืนชมยินดีกราบทูลว่า ขอ พระสุคตเจ้าจงเสด็จขึ้นประทับนั่ง บนบัลลังก์แก้วไพฑูรย์อันมีรัศมีสว่างไสว อันเป๐นที่ ปรารถนายง่ิ ของนาคทั้งหลายเถิด พระเจ้าข้า พระพุทธเจ้าผู้เป๐นธรรมราชา ผู้ทําให้เกิด แสงสวา่ ง ก็ไดป้ ระทับน่ังบนบัลลังก์นั้น พวกนาคทั้ง ๘๐ โกฏิ ก็พร้อมกันจัดโภชนาหาร มาถวาย เมือ่ พระพุทธองคเ์ สวยภัตตาหารเสร็จแลว้ พวกนาคก็นง่ั หอ้ มลอ้ มอยู่๑๕๒ ภาณวารท่ี ๓ ว่าดว้ ยวงศ์พระเจ้ามหาสมมตุ ิ ขา้ พเจ้าจักแสดงวงศพ์ ระราชาในกัลปน์ ี้ ยกเว้นพระราชาใน กัลป์ก่อน ๆ จัก แสดงถงึ พระชาติ พระนาม พระโคตร ตลอดถึงพระ ชนมายุโดยส้ินเชิง ขอท่านท้ังหลาย จงฟ๎งตามทจ่ี กั แสดงต่อไปนี้ คือ พระราชาองค์แรกในภัทรกัลป์นี้ ทรงพระนามว่า พระเจ้ามหา สมมติ พระองค์มีพระราชโอรสทรงพระนามว่า โรชะ และมีพระนัดดา เป๐นต้นต่อกันไปเป๐น ลําดับ คือ พระเจ้าวรโรชะ กัลยาณะ วรกัลยาณะ อุโบสถ มันธาตุ จระ อุปจระ เจติยะ มุจละ มหามุจละ มุจลินทะ สาคระ สาครเทวะ ภรตะ ภาคีรสะ รุจิ มหารุจิ ปตาปะ มหาปตาปะ ปนาทะ มหาปนาทะ สุทัสสนะ มหาสุทัสสนะ เนรุ มหาเนรุ อัจฉิมะ รวม เป๐น ๒๘ องค์ ทั้ง ๒๘ องค์น้ี มีพระชนมายุองค์ละหน่ึงอสงไขย ท้ังน้ัน และล้วนแต่เสวย ราชยอ์ ยใู่ นกสุ าวดรี าชธานี คอื มถิ ลิ า ท้ังนน้ั อสงไขยนั้นมีหลักนับตามลําดับว่า สิบสิบเป๐นร้อย สิบร้อยเป๐น พัน สิบพัน เป๐นหม่ืน สิบหม่ืนเป๐นแสน สิบแสนเป๐นล้าน สิบล้านเป๐น โกฏิ สิบโกฏิเป๐นปโกฏิ สิบ ปโกฏิเป๐นปฏิปโกฏิ แล้วเป๐นนหุต นินนหุต อักโขภินี พินทุ อัพพุ นิรัพพุ อหหะ อพพะ ๑๕๒ กรมศิลปากร, คัมภีรท์ ปี วงศ์, หน้า ๑๑-๑๓.

๑๙๗ อฏฏะ โสคันธิกะ อุปละ ปุณฑรกิ ะ ปทุมะ กถานะ มหากถานะ อสงไขย การนับมีลําดับ เพียง เทา่ น้ี เลยนีไ้ ปเรยี กอสงไขย พระราชา ๑๐๑ และพระราชโอรสของพระเจ้าอัจฉิมะ ได้เสวย ราชย์อยู่ท่ีกุ สาวดีท้ังนั้น องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า อรินทมะ พระองค์มีพระโอรสและพระนัตตา เป๐นตน้ สบื ต่อกนั ไปถงึ ๕๖ พระองค์ แตล่ ะองค์ ไดเ้ สวยราชย์ทอี่ ยชุ ฌนครทัง้ นั้น บรรดากษัตริย์เหล่านั้น องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า พระเจ้า ทุปปสหะ พระองค์มีเชอ้ื พระวงศส์ บื ตอ่ ไปอกี ถึง ๖๐ พระองค์ เสวย ราชยท์ นี่ ครพาราณสที ้ังนนั้ บรรดากษัตริย์เหล่าน้ัน องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า พระเจ้า อชิตะ มีเชื้อ พระวงศเ์ สวยราชย์ในกปลนครถงึ ๘๔,๐๐๐ พระองค์ กษัตริย์เหล่านั้น องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า พระเจ้าพรหมทัต มีเชื้อพระ วงศส์ บื ต่อไปอีก ๓๖ พระองค์ เสวยราชย์อยู่ที่หัตถ์บุรี องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า พระ เจา้ กปั ปลิ ะ มีเชอื้ พระวงศ์สืบต่อไปถึง ๓๖ พระองค์๑๕๓ ภาณวารท่ี ๒๒ ว่าด้วยพระสถูปวิหารท่ีพระเจ้าลังกาต่างพระองค์ทรง สร้างไว้ พระเจ้าวสภะโปรดให้สร้างพระสถูปข้ึน ๑๐ องค์ท่ีเจติบรรพตวิหาร และ โปรดให้สร้างวิหารและโรงอุโบสถลงท่ีอิสสริยมานอาราม และให้สร้างวิหารชื่อว่าพลเต ตะ และชื่อว่าปูซละลงไว้อีก และได้ทรงสร้างกลองไว้บูชาประจําพระอาราม และได้ พระราชทานไตรจีวรแก่ภกิ ษุ สงฆเ์ ปน๐ อนั มาก และโปรดให้สร้างกุฏิวิหารลงในอารามเก่า ๆ ทัว่ ไปในลงั กาทวปี ทง้ั โปรดให้สร้างเรือนพระเจดีย์ลงไว้ในถูปาราม พร้อมด้วย เคร่ือง บูชา ๔๔ อย่าง ส่วนในมหาวิหารที่ถูปารามและในเจติยบรรพต วิหาร โปรดให้ตาม ประทปี ไว้แห่งละพนั ดวง แล้วจงึ ให้ขดุ สระทั้งหลาย ๑๑ แหง่ คอื มันติยวาปี ๑ ราชูปสวา ปี ๑ ระหังโกลวาปี ๑ คาม กวาปี ๑ มหานิกขวิชิวาปี ๑ มหาเรมิติวาปี ๑ เกหาลวาปี ๑ กสิวาวาปี ๑ วตุ ตวิ าปี ๑ ถมังคมนวาปี ๑ อตวิ ัฒมานกวาปี ๑ รวมเป๐น ๑๑ แห่ง แล้วให้ ขุดเป๐นลําเหมอื งอีก ๑๒ เหมือง เพอ่ื จะทํานางา่ ยมิใหข้ ้าวแพง และให้กอ่ กาํ แพงพระนคร ใหส้ ูงขนึ้ ใหท้ ําหอรบไวส้ าํ หรบั รักษาพระนคร แล้วใหส้ ร้างพระตําหนักใหญล่ งไว้ ส่วนใน พระนครเลา่ กโ็ ปรดใหข้ ุดสระโบกขรณีไว้ในที่นั้น ๆ และให้ขุดอุโมงค์เป๐นทางนํ้าไหลเข้า ไว้ดว้ ย พระราชาพระองคน์ ้ีเสวยราชยอ์ ยู่ ๔๔ ปี พระราชโอรสของพระเจ้าวสภะผู้ปรากฏพระนามว่า วังกนาสิกติสสะ ได้ โปรดให้สรา้ งพระอารามขึ้นพระอารามหนง่ึ มนี ามวา่ ตัคคละ เสวยราชย์อยู่เพยี ง ๓ ปี ๑๕๓ กรมศิลปากร, คัมภีรท์ ีปวงศ์, หนา้ ๑๐๒-๑๐๗.

๑๙๘ พระราชโอรสของพระเจ้าวังกานาสิกติสสะ ผู้ปรากฎพระนามว่า ตทพาหุคา มณีอภัย ไดโ้ ปรดใหส้ ร้างพระมหาสถูปลงไว้ทีอ่ ภยาราม และใหข้ ุดสระอันชื่อว่า คามิณีไว้ ทั้งให้สร้างพระอารามข้นึ ไว้พระอารามหนง่ึ พระองค์เสวยราชย์อยู่ ๒๒ ปี พระเจ้ามหัลลกนาค [เสนาบดีผู้หน่ึงเป๐นพ่อตาพระเจ้าตทพาหุคามณี] ได้ สร้างพระอารามชอื่ ว่า สชิลกันทกวิหาร ๑ โคตบรรพตวิหาร ๑ ทกปาสาณวิหาร ๑ สาสิ บรรพตวิหาร ๒ ตนั ตเวฬีวหิ าร ๒ นาคบรรพตวิหาร ๑ ทเวกิลิหาลิกวิหารในภายในพระ นคร ๑ ทรงเสวยราชย์อยู่ ๖ ปี พระเจ้าภาตุติสสะผู้เป๐นพระราชโอรสของพระเจ้ามหานาค โปรดให้สร้าง มหาเมฆวโนทยานขึน้ และใหส้ ร้างกําแพงไว้ลอ้ มรอบ กบั ให้สรา้ งพระอารามช่ือว่า ปวระ ขึ้นพระอารามหนงึ่ ทงั้ ให้สร้างสระน้าํ ไว้ถวายแก่พระภกิ ษุสงฆ์ด้วย และโปรดให้สร้างโรง อุโบสถข้ึนไว้ที่ถูปาราม ทั้งได้ถวายมหาทานแก่พระภิกษุสงฆ์ ทรงดํารงอยู่ในราชสมบัติ ๒๔ ปี พระเจ้าติสสะผู้เป๐นพระอนุชาของพระเจ้าภาตุติสสะ โปรดให้ สร้างโรง อุโบสถลงไว้ท่ีอภยาราม และโปรดให้สร้างพระมหาวิหารไว้ ๑๒ แห่ง ทั้งโปรดให้สร้าง พระสถูปลงไวท้ ี่ทกั ขิณาราม ทา้ วเธอได้ทรงทําบญุ อย่างอื่นอีกเปน๐ อนั มาก ทรงเสวยราชย์ อยู่ ๑๘ ปี พระราชโอรสของพระเจา้ ติสสะสองพี่น้อง ไดเ้ สวยราชยอ์ ยู่ ๓ ปี รวมความวา่ พระเจ้าวังกนาสิกติสสะ เสวยราชย์อยู่ในอนุราชบุรี ๓ ปี เมื่อ พระเจ้าวังกนาสิกติสสะล่วงไปแล้ว พระเจ้าตทพาหุคามณีได้ เสวยราชย์อยู่ ๒๒ ปี เม่ือ พระเจ้าตทพาหุคามณีล่วงลับไปแล้ว พระเจ้ามหัลลกนาคผู้เป๐นพระสัสสุระ [พ่อตา] ได้ เสวยราชย์อยู่ ๖ ปี เม่ือพระเจ้ามหัลลกนาคล่วงลับไปแล้ว พระเจ้าภาติกติสสะผู้เป๐น พระโอรสได้เสวย ราชย์อยู่ ๒๔ ปี เมื่อพระเจ้าภาติกติสสะล่วงลับไปแล้ว พระเจ้ากนิษฐ ติสสะได้เสวยราชยอ์ ยู่ ๒๘ ปี เม่ือพระเจ้ากนิษฐติสสะล่วงลับไปแล้ว พระเจ้าขุชชนาคผู้ เปน๐ พระราชโอรสได้เสวยราชย์อยู่ ๒ ปี พระอนุชาของพระเจ้าขุชชนาคผู้ทรงพระนามว่า กุญชนาค ไดป้ ลงพระชนมพ์ ระเชษฐาเสยี แล้วเสวยราชยอ์ ยู่ ๑ ปี พระเจ้าสิรินาคทรงปราบพระเจ้ากุญชนาคได้แล้ว ก็เสวยราชย์อยู่ในอนุ ราชบรุ ี ๑๙ ปี ทรงมีพระราชศรทั ธาสร้างเศวตฉัตรปิดทองงดงาม ก้ันพระมหาสถูป และ ทรงสรา้ งโรงอุโบสถและโลหปราสาท พระราชโอรสของพระเจ้าสิรินาค ผู้ทรงพระนามว่า พระเจ้าอภัย ได้ถวาย รูปยิ ะ ๒ แสน แกพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์ และโปรดสรา้ งกลองเงิน ไว้ทบ่ี ูชาไม้ศรีมหาโพธิ ท้าวเธอ เสวยราชยอ์ ยู่ ๘ ปี

๑๙๙ พระอนุชาของพระเจ้าอภัย ผู้ทรงพระนามว่า พระเจ้าติสสกะ ได้โปรดให้ สรา้ งเศวตฉัตรบชู าพระมหาสถูปไว้ทอ่ี ภยาราม และโปรดให้สร้างพระสถูปทองคําลงไว้ท่ี พระอารามท้งั สอง คอื พระมหาเมฆวนาราม และพระอภยาราม เมอื่ ท้าวเธอได้ทรงสดับคิ ลานสตู รท่ีพระเทวเถรเจ้าแสดงถวาย กไ็ ดถ้ วายคิลานเภสชั อยู่ ๕ ปี อยู่มาคืนวันหนึ่งท้าว เธอได้ ทรงเห็นอัศจรรย์ท่ีไม้ศรีมหาโพธิ ก็ได้ทรงสร้างพระอารามข้ึนพระอารามหน่ึงมี นามวา่ ทสมาลินี ในรัชกาลของพระราชาพระองค์น้ี ได้มีผู้ที่แสดงสิ่งท่ีไม่ควรว่าควรข้ึน เพ่ือ ทําลายพระพุทธศาสนาเป๐นอันมาก ท้าวเธอได้ทรงเห็นพวกปาปฏิกษุท่ีทําลาย พระพทุ ธศาสนา ก็ทรงพากปิลอํามาตยเ์ ที่ยวกําจัดปาปภิกษุ กําจัดเวทัลลวาทเสีย แล้วก็ ทําให้พระศาสนารุ่งเรืองข้ึน และได้ทรงสร้างปราสาทช่ือว่า หัตถป๎ณณี ขึ้นไว้ท่ีเมฆ วโนทยาน ทา้ วเธอเสวยราชย์อยู่ ๒๒ ปี พระราชโอรสของพระเจ้าติสสะผู้ทรงพระนามว่า สิรินาค ได้เสวยราชย์อยู่ ๒ ปีเต็ม ได้โปรดให้สร้างกําแพงและมณฑปกับปราสาทอันชื่อว่า อสังกติสสะ ไว้ใกล้ ๆ พระมหาโพธิ แล้วโปรดให้สร้างเศวตฉัตรทองคําไว้บนยอดพระสถูป และพญานาคแก้ว มณีไวท้ ่ีพระมหาสถปู เมือ่ ทา้ วเธอไดท้ รงสดบั อนั ธก วนิ ทสูตรของพระเทวเถรเจ้าก็ได้เริ่ม จัดใหม้ ีการถวายขา้ วต้มประจาํ ไวท้ ป่ี ระตเู มืองท้งั ๔ พระราชโอรสของพระเจา้ สริ ินาคผทู้ รงพระนามว่า พระวิชัยกุมาร เมื่อพระ ราชบิดาล่วงลับไปแล้ว ก็ได้เสวยราชย์อยู่ ๑ ปี พระเจ้าสังขติสสเสวยราชย์อยู่ ๔ ปี พระองค์ทรงสร้างเศวตฉัตรทองกน้ั เหนือ พระมหาสถูป พระเจา้ สงั ฆโพธิผูท้ รงมัน่ อยใู่ นศีลธรรม เสวยราชยอ์ ยู่ ๒ ปี ท้าวเธอได้โปรด ให้มกี ารถวายขา้ วต้มประจาํ ไวท้ เ่ี มฆวโนทยาน และให้มีการถวายสลากภตั ไวท้ ีม่ หาวิหาร พระเจ้าอภัยผู้ปรากฏพระนามใหม่ว่า พระเจ้าเมฆวัน ได้โปรดให้สร้าง มณฑปไว้ท่ีมหาวิหาร และโปรดให้สร้างที่ทําสมณธรรมไว้หลังมหาวิหาร โปรดให้สร้าง ไพทีศิลาไวล้ ้อมไม้ศรีมหาโพธิ และโปรดให้สร้างเข่ือนศิลาและเสาใต้ขึ้น กับบัลลังก์ศิลา ไว้รอบพระมหาโพธิ โปรดให้สร้างโรงอุโบสถไว้ในทักขิณาราม และได้ถวายมหาทานแก่ พระภิกษุสงฆ์ เวลาทรงสร้างปราสาทขึ้นเพื่อเป๐นที่ประทับของท้าวเธอ ก็ได้ถวายภิกษุ สงฆ์กอ่ นแลว้ ทรงรบั คืนในภายหลัง และได้ทรงทําวสิ าขบูชาในเมฆวนาราม เสวยราชย์อยู่ ๑๓ ปี พระราชโอรสของพระเจ้าเมฆวันผู้ทรงพระนามว่า พระเจ้าเชษฐติสสะ ได้ ถวายแก้วมณอี ันมคี ่ามากไวเ้ ปน๐ เครอื่ งบชู าพระมหาสถปู โปรดให้สร้างโลหปราสาทชื่อว่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook